05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 15<br />

วิธีทำ .........<br />

สังเกตได้ว่าตัวประกอบร่วมเกี่ยว และไมเนอร์ของ a ij จะแตกต่างกันเฉพาะเครื่องหมาย นั่น<br />

คือ C ij = ±M ij วิธีการที่ง่ายและรวดเร็วในการพิจารณาว่าจะใช้เครื่องหมาย + หรือ − อาศัย<br />

ข้อเท็จจริงที่ว่า เครื่องหมายที่สัมพันธ์กับ C ij และ M ij คือ เครื่องหมายในแถวที่ i และหลักที่<br />

j ของการจัดเรียงต่อไปนี้<br />

⎡ ⎤<br />

+ − + − + ···<br />

− + − + − ···<br />

+ − + − + ···<br />

⎢<br />

⎣− + − + − ··· ⎥<br />

⎦<br />

. . . . .<br />

ตัวอย่างเช่น C 11 = M 11 , C 21 = −M 21 , C 13 = M 13 และ C 32 = −M 32<br />

การกระจายตัวประกอบร่วมเกี่ยว<br />

สำหรับบทนิยามของดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์มิติ 3 × 3 ในรูปของไมเนอร์และตัวประกอบร่วม<br />

เกี่ยวคือ<br />

det(A) = a 11 M 11 +a 12 (−M 12 )+a 13 M 13<br />

= a 11 C 11 +a 12 C 12 +a 13 C 13 (2.1)<br />

จากสมการ (2.1) ดีเทอร์มิแนนต์ของ A สามารถหาได้จากการคูณสมาชิกในแถวที่ 1 ของ A<br />

ด้วยตัวประกอบร่วมเกี่ยวของสมาชิกนั้น แล้วนำมาบวกกันสำหรับกรณีทั่วไป ดีเทอร์มิแนนต์ของ<br />

เมทริกซ์มิติ n×n คือ<br />

det(A) = a 11 C 11 +a 12 C 12 +···+a 1n C 1n<br />

วิธีการคำนวณ det(A) นี้เรียกว่า การกระจายตัวประกอบร่วมเกี่ยว ตามแถวที่ 1 ของ A<br />

⎡ ⎤<br />

1 5 0<br />

⎢ ⎥<br />

ตัวอย่าง 2.2 กำหนดให้ A = ⎣2 4 −1⎦ จงหา det(A) โดยใช้การกระจายตัวประกอบ<br />

0 −2 0<br />

ร่วมเกี่ยวตามแถวที่ 1 ของ A<br />

วิธีทำ .........

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!