บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ บทที่ 1 เมทริก ซ

mathstat.sci.tu.ac.th
from mathstat.sci.tu.ac.th More from this publisher
05.01.2015 Views

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 112 ตัวอย่าง 6.20 จงหาค่าของ lim x→0 +xlnx วิธีทำ ......... หมายเหตุ อีกวิธีหนึ่งของการหาค่าลิมิตของตัวอย่าง 6.20 คือเขียนลิมิตใหม่ในรูป x lim x→0 +xlnx = lim x→0 + 1/lnx ซึ่งลิมิตทางขวามือมีรูปแบบยังไม่กำหนด 0/0 แต่การใช้หลักเกณฑ์โลปีตาลในกรณีนี้จะมีความ ยุ่งยากมากกว่า เพราะต้องหาอนุพันธ์ของ 1/lnx ดังนั้นโดยทั่วไปการเปลี่ยนรูปแบบยังไม่กำหนด จาก 0 · ∞ เป็นรูปแบบยังไม่กำหนด 0/0 หรือ ∞/∞ ควรเลือกกรณีที่นำไปสู่การหาลิมิตที่ง่าย กว่า ตัวอย่าง 6.21 จงหาค่าของ lim x→π/4 (1−tanx)sec2x วิธีทำ ......... 6.4.4 รูปแบบยังไม่กำหนด ∞−∞ ถ้าค่าลิมิต lim x→a [f(x)−g(x)] อยู่ในรูป (+∞)−(+∞), (−∞)−(−∞), (+∞)+(−∞), (−∞)+(+∞) แล้วจะเรียกลิมิตรูปแบบนี้ว่า รูปแบบยังไม่กำหนด ∞−∞ ( indeterminate form of type ∞−∞ ) การหาค่าลิมิตในรูปแบบนี้ บางครั้งสามารถหาได้โดยการเปลี่ยนรูปลิมิตของผลต่างเป็นลิมิต ของผลหาร ซึ่งจะได้ลิมิตที่มีรูปแบบยังไม่กำหนด 0/0 หรือ ∞/∞ [ 1 ตัวอย่าง 6.22 จงหาค่าของ lim x→0 ln(x+1) − 1 ] x วิธีทำ ......... ตัวอย่าง 6.23 จงหาค่าของ lim x→(π/2) −(secx−tanx) วิธีทำ ......... 6.4.5 รูปแบบยังไม่กำหนด 0 0 ,∞ 0 ,1 ∞ รูปแบบยังไม่กำหนดหลายรูปแบบเกิดขึ้นมาจากลิมิตในรูป ซึ่งแบ่งเป็นกรณีได้ดังนี้ [ ] g(x) lim f(x) x→a 1. lim x→a f(x) = 0 และ lim x→a g(x) = 0 จะได้รูปแบบยังไม่กำหนด 0 0

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 113 2. lim x→a f(x) = ∞ และ lim x→a g(x) = 0 จะได้รูปแบบยังไม่กำหนด ∞ 0 3. lim x→a f(x) = 1 และ lim x→a g(x) = ±∞ จะได้รูปแบบยังไม่กำหนด 1 ∞ ในแต่ละกรณีเราสามารถหาค่าลิมิตได้ เริ่มด้วยการให้ จากนั้นหาลิมิตของ lny เนื่องจาก y = [ f(x) ] g(x) lny = ln [ f(x) ] g(x) = g(x)·ln[f(x)] ดังนั้นลิมิตของ lny จะมีรูปแบบยังไม่กำหนด 0·∞ ซึ่งสามารถหาค่าลิมิตได้ โดยวิธีการที่กล่าวมา ข้างต้น หลังจากที่ทราบค่าลิมิตของ lny แล้วเราสามารถหาค่าลิมิตของ y = [ f(x) ] g(x) ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ตัวอย่าง 6.24 จงหาค่าของ lim x→0 (tanx) sinx วิธีทำ ......... ตัวอย่าง 6.25 จงหาค่าของ lim x→+∞ (ex +x) 1 x วิธีทำ ......... ตัวอย่าง 6.26 จงหาค่าของ lim 1 x→1 +x x−1 วิธีทำ ......... แบบฝึกหัด 6.4 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้ x+2 1. lim x→−2 x 2 −4 3x 2 +2 3. lim x→+∞ x 2 −4 e x −1 5. lim x→0 sinx sinx−x 7. lim x→0 x 3 x 3 9. lim x→+∞ e x 2. lim x→−2 x+1 x 2 +4x+3 x+1 4. lim x→−∞ x 2 +4x+3 sinx 6. lim x→0 x 3 √ x−1 8. lim x→1 x−1 e x −1 10. lim x→0 x

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 113<br />

2. lim<br />

x→a<br />

f(x) = ∞ และ lim<br />

x→a<br />

g(x) = 0 จะได้รูปแบบยังไม่กำหนด ∞ 0<br />

3. lim<br />

x→a<br />

f(x) = 1 และ lim<br />

x→a<br />

g(x) = ±∞ จะได้รูปแบบยังไม่กำหนด 1 ∞<br />

ในแต่ละกรณีเราสามารถหาค่าลิมิตได้ เริ่มด้วยการให้<br />

จากนั้นหาลิมิตของ lny เนื่องจาก<br />

y = [ f(x) ] g(x)<br />

lny = ln [ f(x) ] g(x)<br />

= g(x)·ln[f(x)]<br />

ดังนั้นลิมิตของ lny จะมีรูปแบบยังไม่กำหนด 0·∞ ซึ่งสามารถหาค่าลิมิตได้ โดยวิธีการที่กล่าวมา<br />

ข้างต้น หลังจากที่ทราบค่าลิมิตของ lny แล้วเราสามารถหาค่าลิมิตของ y = [ f(x) ] g(x)<br />

ดังตัวอย่าง<br />

ต่อไปนี้<br />

ตัวอย่าง 6.24 จงหาค่าของ lim<br />

x→0<br />

(tanx) sinx<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 6.25 จงหาค่าของ lim<br />

x→+∞ (ex +x) 1 x<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 6.26 จงหาค่าของ lim<br />

1<br />

x→1 +x x−1<br />

วิธีทำ .........<br />

แบบฝึกหัด 6.4<br />

จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้<br />

x+2<br />

1. lim<br />

x→−2 x 2 −4<br />

3x 2 +2<br />

3. lim<br />

x→+∞ x 2 −4<br />

e x −1<br />

5. lim<br />

x→0 sinx<br />

sinx−x<br />

7. lim<br />

x→0 x 3<br />

x 3<br />

9. lim<br />

x→+∞ e x<br />

2. lim<br />

x→−2<br />

x+1<br />

x 2 +4x+3<br />

x+1<br />

4. lim<br />

x→−∞ x 2 +4x+3<br />

sinx<br />

6. lim<br />

x→0 x 3<br />

√ x−1<br />

8. lim<br />

x→1 x−1<br />

e x −1<br />

10. lim<br />

x→0 x

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!