05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 109<br />

y<br />

2<br />

1<br />

x<br />

(f) เพิ่มขึ้น: (0,π/2)∪(π,3π/2); ลดลง: (π/2,π)∪(3π/2,2π)<br />

ค่าสูงสุดสัมพัทธ์: f(π/1) = f(3π/2) = 1; ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์: f(π) = 0<br />

เว้าบน: (0,π/4)∪(3π/4,5π/4)∪(7π/4,2π)<br />

เว้าล่าง: (π/4,3π/4)∪(5π/4,7π/4)<br />

จุดเปลี่ยนเว้า: (π/4, 1 2 ),(3π/4, 1 2 ),(5π/4, 1 2 ),(7π/4, 1 2 ) x<br />

y<br />

1<br />

0<br />

π<br />

2<br />

π<br />

3π<br />

2<br />

2π<br />

6.4 รูปแบบยังไม่กำหนดและหลักเกณฑ์โลปีตาล<br />

ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงวิธีการทั่วไปในการหาลิมิตโดยใช้อนุพันธ์ ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมใช้มากใน<br />

การหาลิมิตโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสามารถหาลิมิตได้หลากหลายรูปแบบ<br />

6.4.1 รูปแบบยังไม่กำหนด 0/0<br />

โดยทั่วไปถ้าลิมิตอยู่ในรูปแบบ<br />

f(x)<br />

lim<br />

x→a g(x)<br />

โดยที่ f(x) → 0 และ g(x) → 0 เมื่อ x → a แล้วจะเรียกลิมิตรูปแบบนี้ว่า รูปแบบยังไม่กำหนด<br />

0/0 ( indeterminate form of type 0/0 ) และค่าของลิมิตอาจจะหาค่าได้หรือหาค่าไม่ได้<br />

เราได้พบลิมิตในรูปแบบนี้มาแล้วบ้างในบทที่4 ตัวอย่างเช่น<br />

x 3 +2x−5<br />

lim<br />

x→2 x 2 −3<br />

= 7 และ lim<br />

x→0<br />

sinx<br />

x = 1<br />

ลิมิตแรกเป็นลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ ซึ่งสามารถหาค่าลิมิตได้โดยการตัดทอนตัวประกอบร่วม สำหรับ<br />

ลิมิตที่สอง เราสามารถใช้วิธีการเชิงเรขาคณิตในการหาค่าลิมิต อย่างไรก็ตามมีรูปแบบลิมิตหลาย<br />

รูปแบบที่ไม่สามารถใช้วิธีการทางพีชคณิต หรือวิธีการเชิงเรขาคณิตหาค่าลิมิตได้<br />

ดังนั้นในหัวข้อนี้เราจะเรียนรู้วิธีการที่เรียกว่า หลักเกณฑ์โลปีตาล (L’Hospital’s Rule) ซึ่ง<br />

จะใช้ในการหาลิมิตในรูปแบบยังไม่กำหนด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!