28.12.2014 Views

enin0252si_ch2

enin0252si_ch2

enin0252si_ch2

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2.1 ทฤษฎีเรื่องการจําลองแบบปญหา<br />

2.1.1 ระบบงาน<br />

บทที่ 2<br />

หลักการและทฤษฎี<br />

กลไกสําคัญหนึ่งในการจําลองแบบปญหาอยูที่แบบจําลอง การจะสรางแบบจําลองไดผูสราง<br />

ตองมีความเขาใจในระบบงานจริงเปนอยางดี ระบบงาน หมายถึง กลุมขององคประกอบ (Elements) ที่<br />

มีความสัมพันธ โดยที่ความหมายของระบบงานจะบอกเฉพาะวามีลักษณะอยางไรโดยไมไดบอกรูปราง<br />

หนาตาที่แนชัด ดังนั้นเมื่อศึกษาระบบงานใดจําเปนตองบอกรูปรางหนาตาที่ชัดเจนของระบบงานที่<br />

กําลังศึกษา ซึ่งมักจะบอกโดยกําหนดขอบเขตของระบบงาน (System Boundaries) คือ กําหนด<br />

องคประกอบของระบบ แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบและกําหนดองคประกอบอื่นๆที่อยู<br />

นอกระบบแตมีผลกระทบตอการทํางานของระบบ องคประกอบอื่นๆนอกระบบเรียกวา สิ่งแวดลอม<br />

ระบบงาน (System Environment) องคประกอบตางๆทั้งในและนอกระบบงานจะมีลักษณะเฉพาะตัว<br />

(Attributes) ที่ทําใหเกิดกิจกรรม (Activities) ภายใตเงื่อนไขบางประการซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

สถานภาพระบบงาน (System Status) ดังนั้นนอกจากการกําหนดขอบเขตของระบบงานแลวจะตองมี<br />

การกําหนดลักษณะเฉพาะตัวขององคประกอบกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นจากองคประกอบเหลานี้ดวย การ<br />

เปลี่ยนแปลงสถานภาพของระบบงานอันเนื่องมาจากกิจกรรมขององคประกอบแสดงดังตารางที่ 2-1<br />

ตารางที่ 2-1 แสดงองคประกอบ ลักษณะเฉพาะตัว และกิจกรรมของระบบการกําหนดงานผลิต<br />

องคประกอบ ลักษณะเฉพาะตัว กิจกรรม<br />

คนงาน ความชํานาญ เงินเดือน ความสามารถในการ ทํางาน หยุดงาน<br />

ผลิต ชื่อหรือหมายเลข ฯลฯ<br />

วัตถุดิบ ชนิด คุณภาพ ราคา จํานวนที่มีอยู ฯลฯ การถูกเปลี่ยนรูป<br />

เครื่องจักร ประเภท ขีดความสามารถในการผลิต ทํางาน หยุดงาน<br />

หมายเลข สภาพเครื่อง ฯลฯ<br />

ใบสั่งผลิต ปริมาณที่ตองผลิต ความสําคัญกอนหลัง อยูระหวางการผลิต<br />

กําหนดสงงาน สถานภาพ ฯลฯ


ประเภทของระบบงาน<br />

6<br />

1. ระบบตอเนื่องหรือระบบเปนชวง (Continuous versus Discrete Systems)<br />

พิจารณาจากพฤติกรรมการเปลี่ยนสถานภาพของระบบเทียบกับเวลา ถาการเปลี่ยนสถานภาพ<br />

ของระบบเปนการเปลี่ยนไปตามเวลาอยางตอเนื่อง ระบบงานนั้นก็จะเปนระบบตอเนื่อง แตถาการ<br />

เปลี่ยนสถานภาพของระบบเกิดขึ้นที่ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งไมตอเนื่อง ระบบงานนั้นก็เปนระบบเปนชวง<br />

2. ระบบตายตัวหรือระบบไมแนนอน (Deterministic versus Stochastic Systems)<br />

ระบบตายตัว หมายถึง ระบบซึ่งการเปลี่ยนแปลงสถานภาพที่ระดับใหมสามารถอธิบายจาก<br />

สถานภาพและกิจกรรมที่ระดับกอน ระบบไมแนนอน หมายถึง ระบบที่มีการเปลี่ยนสถานภาพแบบสุม<br />

บางกรณีสามารถหาความนาจะเปนการเปลี่ยนแปลงสถานภาพ ถาให S i หมายถึง สถานภาพของระบบ<br />

S’ n<br />

S n<br />

S n<br />

S n<br />

ระบบตายตัว<br />

ระบบไมแนนอน<br />

S’’ n<br />

2.1.2 แบบจําลอง<br />

ภาพที่ 2-1 แสดงความแตกตางระหวางระบบตายตัวและระบบที่ไมแนนอน<br />

แบบจําลอง หมายถึง ตัวแทนของวัตถุ ระบบ หรือแนวคิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งแบบจําลอง<br />

อาจนําไปใชงานในหลายลักษณะดังนี้<br />

1) เปนเครื่องชวยคิด (An aid to thought) เชน แบบจําลองโครงขาย (Network Model) ชวยทําให<br />

ผูสรางแบบจําลองไดมองเห็นวาจะมีกิจกรรมอะไรที่ตองทําบางและทํากิจกรรมอะไรกอนหรือหลัง<br />

2) เปนเครื่องสื่อความหมาย (An aid to communication) แบบจําลองจะชวยใหเขาใจพฤติกรรม<br />

ของระบบงานและชวยใหสามารถอธิบายพฤติกรรม ปญหา และการแกปญหาของระบบงาน<br />

3) เปนเครื่องชวยสอนและฝกอบรม (Purpose of training and instruction) เชน แบบจําลองเครื่อง<br />

ควบคุมการบิน ชวยใหนักบินเขาใจและคุนเคยกับระบบการควบคุมเครื่องบินจริงกอนขึ้นฝกบินจริง


7<br />

4) เปนเครื่องมือสําหรับการทํานาย (A tool for prediction) แบบจําลองชวยใหเขาใจพฤติกรรม<br />

ของระบบงาน ผูสรางแบบจําลองจึงสามารถคาดคะเนหรือทํานายไดวาเมื่อมีเหตุการณที่มีผลกระทบตอ<br />

องคประกอบของระบบเกิดขึ้นจะมีผลอะไรเกิดขึ้นในระบบ<br />

5) เปนเครื่องมือสําหรับการทดลอง (An aid to experimentation) โดยที่แบบจําลองเปนสิ่งซึ่งสราง<br />

ขึ้นแทนระบบงานจริง กรณีที่ตองการทดลองเงื่อนไขตางๆแตทําไมไดก็จะนําเงื่อนไขนั้นๆมาทดลอง<br />

กับแบบจําลองดูวาจะใหผลอยางไร เพื่อการตัดสินใจวาควรจะนําเงื่อนไขนั้นใชระบบงานจริงหรือไม<br />

ก) ประเภทของแบบจําลอง<br />

การจําลองแบบปญหาสามารถจําแนกประเภทตามคุณลักษณะพิเศษดังนี้<br />

1) แบบจําลองทางกายภาพ (Physical or Iconic Model) เปนแบบจําลองที่มีรูปรางหนาตาเหมือน<br />

ระบบงานจริง อาจมีขนาดเทากับของจริงหรือมีขนาดที่เล็กกวาหรือใหญกวา (Scaled Models) อาจเปน<br />

แบบจําลองของระบบงานจริงในมิติใดมิติหนึ่ง (Dimension) หรือทั้งสามมิติ<br />

2) แบบจําลองอนาลอก (Analog Model) มีพฤติกรรมเหมือนระบบงานจริง ตัวอยางของแบบ<br />

จําลองประเภทนี้คือ อนาลอกคอมพิวเตอรที่ใชควบคุมการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารสัตวและ<br />

อุตสาหกรรมเคมีซึ่งใชการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาซึ่งแสดงบนแผงบอกใหรูถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุ<br />

ในระบบงานจริง การใชกราฟแสดงความสัมพันธของสิ่งตางๆที่วัดคาได<br />

3) เกมการบริหาร (Management Games) เปนแบบจําลองการตัดสินใจ (Decision Model) ใน<br />

กิจกรรมตางๆ ใชแสดงผลเมื่อมีการตัดสินใจแบบตางๆเพื่อใชเปนขอมูลสําหรับการตัดสินใจ<br />

4) แบบจําลองทางคอมพิวเตอร (Computer Simulation Model) เปนแบบจําลองที่อยูในรูปของ<br />

คอมพิวเตอรโปรแกรม ซึ่งกอนนั้นแบบจําลองอาจอยูในรูปของแบบจําลองประเภทหนึ่งประเภทใด<br />

5) แบบจําลองทางคณิตศาสตร (Mathematical Model) คือใชสัญลักษณ ฟงกชันทางคณิตศาสตร<br />

แทนองคประกอบในระบบงานจริง เชน ให X แทนคาใชจายในการผลิต Y แทนจํานวนสินคาที่ผลิต<br />

ข) โครงสรางของแบบจําลอง<br />

1) องคประกอบ (Components) ในทุกระบบงานประกอบไปดวยองคประกอบในแบบจําลองที่ใช<br />

แทนระบบงานก็จะตองประกอบไปดวยองคประกอบที่จําเปนสําหรับการทํางานของระบบงาน<br />

2) ตัวแปรและพารามิเตอร (Variables and Parameters) พารามิเตอร คือ คาคงที่ซึ่งผูใชแบบจําลอง<br />

เปนผูกําหนดให อาจเปนคาที่กําหนดขึ้นเองเพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากคาของพารามิเตอรนั้น หรือเปน<br />

คาที่วัดหรือประเมินไดจากขอมูล สวนตัวแปรนั้นเปนคาที่ผันแปรมีคาไดหลายคาตามสภาวะจริงของ


8<br />

การใชงาน จําแนกไดเปนสองประเภท คือ ตัวแปรจากภายนอก (Exogenous Variables) หรือตัวแปร<br />

นําเขา (Input Variables) หมายถึง ตัวแปรจากภายนอกระบบซึ่งเขามามีผลกระทบตอสมรรถนะของ<br />

ระบบหรือเปนตัวแปรที่เปนผลเนื่องมาจากปจจัยภายนอกระบบและตัวแปรภายใน (Endogenous<br />

Variables) หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นภายในระบบ ตัวแปรภายในอาจอยูในลักษณะตัวแปรสถานภาพ<br />

(Status Variables) ซึ่งเปนตัวแปรที่ใชบอกสภาพหรือเงื่อนไขของระบบ หรืออยูในลักษณะของตัวแปร<br />

นําออก (Output Variables) ซึ่งก็คือผลที่ไดจากการใชงานระบบในทางสถิติ ตัวแปรภายนอกหรือตัว<br />

แปรอิสระ (Independent Variables) และตัวแปรภายในคือตัวแปรตาม (Dependent Variables)<br />

3) ฟงกชันความสัมพันธ (Functional Relationships) คือ ฟงกชันที่ใชอธิบายความสัมพันธ<br />

ระหวางตัวแปรกับพารามิเตอร โดยที่ฟงกชันความสัมพันธนี้อาจอยูในลักษณะแนนอนตายตัว<br />

(Deterministic) ซึ่งเปนลักษณะที่เมื่อใสขอมูลนําเขาจะสามารถหาไดวาผลลัพธจะเปนเทาไหรแนนอน<br />

และอาจอยูในลักษณะไมแนนอน (Stochastic) ซึ่งเมื่อใสขอมูลนําเขาใหกับฟงกชันไมแนวาจะได<br />

ผลลัพธออกมาเทาไหร ลักษณะของฟงกชันความสัมพันธมักจะอยูในรูปของสมการทางคณิตศาสตร<br />

เชน Y = 4 + 0.7X ซึ่งฟงกชันความสัมพันธเหลานี้อาจหามาไดจากสมมติฐานหรือประเมินจากขอมูล<br />

รวมกับวิธีทางสถิติหรือทางคณิตศาสตร<br />

4) ขอบขายจํากัด (Constraints) คือ ขอจํากัดของคาของตัวแปรตางๆ ซึ่งอาจเปนขอจํากัดที่ผูใช<br />

แบบจําลองเปนผูกําหนด เชน ขอจํากัดของทรัพยากรตางๆ ที่มีอยูของระบบ ขอจํากัดของปริมาณที่ผลิต<br />

ได หรือเปนขอจํากัดของระบบงานจริงโดยธรรมชาติ เชน เราไมอาจจําหนายสินคาไดมากกวาปริมาณที่<br />

ผลิตได ของไหลไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา<br />

5) ฟงกชันเปาหมาย (Criterion Function) หมายถึง ขอความ (Statement) ที่บอกเปาหมาย (Goals)<br />

หรือวัตถุประสงค (Objectives) ของระบบงานและวิธีประเมินผลตามเปาหมายวัตถุประสงคของ<br />

ระบบงานอาจแบงไดเปนสองประเภท คือ การคงสภาพของระบบงาน (Retentive) ซึ่งเปนวัตถุประสงค<br />

ที่จะทําใหระบบสามารถคงสภาพการใชทรัพยากร เชน เวลา พลังงาน ความชํานาญ ฯลฯ หรือคงสภาพ<br />

ของระบบ เชน ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ฯลฯ และวัตถุประสงคประเภทการแสวงหา<br />

(Acquisitive) ซึ่งเปนวัตถุประสงคที่จะทําใหระบบสามารถเพิ่มทรัพยากรตางๆ เชน กําไร ลูกคา ฯลฯ<br />

หรือเปลี่ยนสถานภาพของระบบ เชน ไดสวนแบงของตลาดเพิ่มขึ้น


ค) ขอไดเปรียบของการใชแบบจําลองปญหา<br />

9<br />

การจําลองปญหานั้นเปนเครื่องมือ ซึ่งใชบอกผลตางๆอันจะเกิดจากระบบภายใตเงื่อนไขตางๆ<br />

ผลที่ไดจากการจําลองแบบปญหานั้นอาจนําไปใชงานไดโดยตรงหรืออาจจะตองนําไปวิเคราะหตอ<br />

การจําลองแบบปญหานั้นเปนวิธีการหนึ่ง ที่อาจใชชวยในการแกปญหาในการดําเนินงานของ<br />

ระบบงานได ดังนั้นเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นจึงตองวิเคราะหปญหานั้นๆเสียกอนวาควรจะใชเครื่องมือใดเขา<br />

ไปชวยแกปญหา เมื่อเปนดังนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองทราบถึงขอดีขอเสียของเครื่องมือเพื่อชวยในการ<br />

ตัดสินใจวาเครื่องมือนั้นๆเหมาะสมเพียงใดในการนําไปใชแกปญหา โดยที่แบบจําลองนั้นเปนตัวแทน<br />

ของระบบงานจริงในเมื่อมีระบบงานจริงอยูแลว สาเหตุที่ไมทําการทดลองกับระบบจริง คําตอบอาจ<br />

สรุปไดเนื่องจากมีขอดี ดังนี้ (ศิริจันทร ทองประเสริฐ, 2536)<br />

ง) ขอดีของการใชแบบจําลองปญหา<br />

1) การทดลองปญหาโดยการใชแบบจําลองชวยลดคาใชจายในการแกปญหาเมื่อเทียบกับการ<br />

ทดลองแกปญหากับระบบงานจริง<br />

2) การที่ทดลองแกปญหากับระบบงานจริงอาจทําใหการดําเนินงานของระบบงานจริงขัดของ<br />

3) การที่จะดําเนินการทดลองแกปญหากับระบบงานจริงเปนการยากที่จะควบคุมเงื่อนไขตางๆ<br />

โดยเฉพาะปจจัยทางดานมนุษย<br />

4) การทดลองแกปญหาโดยการใชแบบจําลองชวยประหยัดเวลาในการแกปญหาเมื่อเทียบกับการ<br />

ทดลองแกปญหากับระบบงานจริง<br />

5) การทดลองแกปญหาโดยการใชแบบจําลองสามารถที ่จะทําการทดลองกับเงื ่อนไขไดหลายๆ<br />

รูปแบบในการแกปญหาเมื่อเทียบกับการทดลองแกปญหากับระบบงานจริง<br />

ประโยชนที่สําคัญประการหนึ่งของการจําลองแบบปญหาก็คือ เปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ<br />

สูงสําหรับการศึกษา และฝกอบรมเกี่ยวกับระบบงานเพราะผูทําการทดลองจะสามารถทราบถึงความ<br />

เปนไปและการเปลี่ยนแปลงตางๆภายในระบบงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอม รวมไปถึง<br />

องคประกอบตางๆของระบบงานซึ่งจะชวยใหเขาใจถึงปญหาตางๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบงาน รวมทั้ง<br />

ผลที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการนําเอาวิธีการใหมเขาไปใชในการดําเนินงานของระบบงาน ซึ่งจะทําใหการวาง<br />

แผนการดําเนินงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น


จ) ขอเสียของการใชแบบจําลองปญหา<br />

10<br />

1) การที่จะไดมาซึ่งแบบจําลองที่ดีนั้นจะตองใชเวลา และคาใชจายจํานวนมากรวมทั้งตองอาศัย<br />

ความสามารถอยางสูงในการเก็บขอมูล<br />

2) แบบจําลองที่ไดมาบางครั้งดูเหมือนวาสามารถใชเปนตัวแทนของระบบงานจริงไดแตในความ<br />

เปนจริงนั้นอาจไมใชตัวแทนของระบบนั้นๆและการที่จะบอกไดวาแบบจําลองนั ้นใชไดหรือไมไมใช<br />

เรื่องงาย<br />

3) ขอมูลที ่ไดจากการใชแบบจําลองไมมีความแมนยําและไมสามารถวัดขนาดของความแมนยําได<br />

แมจะทําการวัดความไวของขอมูลเหลานั้นก็ไมสามารถทําใหขอเสียขอนี้หายไปได<br />

4) การใชแบบจําลองจะไมสามารถบอกไดวาวิธีการที่ไดเปนวิธีการที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงตองสราง<br />

แบบจําลอง (Model) หลายๆแบบจําลองเพื่อหาวิธีการแกปญหาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด<br />

2.1.3 กระบวนการจําลองแบบปญหา<br />

การออกแบบและการสรางแบบจําลองในการจําลองแบบปญหา ไมมีทฤษฎี หลักเกณฑ หรือ<br />

สูตรที่แนนอนตายตัว การออกแบบจําลองตองอาศัยความรูความเขาใจในโครงสรางของระบบงานจริง<br />

และปญหาที่เกิดขึ้นอยางถองแท นอกจากนั้นยังตองอาศัยศิลปะในการแปลงลักษณะของโครงสรางของ<br />

ระบบงานใหอยูในลักษณะแบบจําลองที่สามารถนําไปใชศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานจริง<br />

ก) ขั้นตอนการสรางแบบจําลอง<br />

1) ตั้งปญหาและการใชคําจํากัดความของระบบงาน (Problem Formulation and System<br />

Definition) เปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดในการจําลองแบบปญหา ขั้นตอนนี้เปนการกําหนดวัตถุประสงค<br />

ของการศึกษาระบบการกําหนดขอบเขต ขอจํากัดตางๆและวิธีการวัดผลของระบบงาน<br />

2) สรางแบบจําลอง (Mode Formulation) จากลักษณะของระบบงานที่ตองการทําการศึกษาเขียน<br />

แบบจําลองที่สามารถอธิบายพฤติกรรมของระบบงานตามวัตถุประสงคที่จะศึกษา<br />

3) จัดเตรียมขอมูล (Data Preparation) วิเคราะหขอมูลตางๆที่จําเปนสําหรับแบบจําลองและ<br />

จัดเตรียมใหอยูในรูปแบบที่จะนําไปใชงานกับแบบจําลองได<br />

4) แปรรูปแบบจําลอง (Model Translation) เปนการแปลงแบบจําลองใหอยูในรูปของโปรแกรม<br />

คอมพิวเตอร


11<br />

5) ทดสอบความถูกตอง (Validation) เปนการวิเคราะหเพื่อชวยใหผูเขียนหรือผูใชแบบจําลอง<br />

มั่นใจวาแบบจําลองที่ไดนั้นสามารถใชแทนระบบงานจริงตามวัตถุประสงคของการศึกษาได<br />

6) ออกแบบการทดลอง (Strategic Planning) เปนการออกแบบการทดลองที่ทําใหแบบจําลอง<br />

สามารถใหขอมูลที่ใชในการวิเคราะหหาผลลัพธตามที่ตองการ<br />

7) วางแผนการใชงานแบบจําลอง (Tactical Planning) วางแผนวาจะใชงานแบบจําลองในการ<br />

ทดลองอยางไร จึงจะไดขอมูลในการวิเคราะหผลเพียงพอ (ดวยระดับความเชื่อมั่นในผลการวิเคราะหที่<br />

เหมาะสม) เปนการบอกวาจะตองทดลองตามเงื่อนไขดังกลาวกี่ครั้งจึงจะไดจํานวนขอมูลที่เหมาะสม<br />

8) ดําเนินการทดลอง (Experimentation) เปนการคํานวณหาขอมูลตางๆที่ตองการและความไว<br />

ของการเปลี่ยนแปลงขอมูลจากแบบจําลอง<br />

9) ตีความผลการทดลอง (Interpretation) จากผลการทดลองจะตีความวาระบบงานจริงมีปญหา<br />

อยางไรและการแกปญหาจะไดผลอยางไร<br />

10) นําไปใชงาน (Implementation) จากผลการทดลองเลือกวิธีการที่จะแกปญหาไดดีที่สุดไปใชกับ<br />

ระบบงานจริง<br />

11) จัดเปนเอกสารการใชงาน (Documentation) เปนการบันทึกกิจกรรมในการจัดทําแบบจําลอง<br />

โครงสรางของแบบจําลอง ซึ่งวิธีการใชงานและผลที่ไดจากการใชงานเพื่อประโยชนสําหรับผูที่จะ<br />

นําไปใชงาน และเพื่อประโยชนในการปรับปรุงดัดแปลงแบบจําลองเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบ<br />

ข) การทดสอบความถูกตองของแบบจําลอง<br />

ความถูกตองของแบบจําลอง คือความมั่นใจวาเปนแบบจําลองที่ถูกตองใชงานได ความมั่นใจ<br />

ดังกลาวจะไดมาโดยความเขาใจระบบงาน ความละเอียดในการตรวจสอบ ความเหมาะสมองคประกอบ<br />

พฤติกรรมตางๆองคประกอบ คาเชิงปริมาณที่ใชแทนองคประกอบ และความสัมพันธตางๆ การ<br />

ทดสอบไดมาจากการนําพฤติกรรมของแบบจําลองเทียบกับพฤติกรรมขององคประกอบของระบบงาน<br />

จริง ซึ่งวิธีที่ใชในการทดสอบความถูกตองของแบบจําลองที่ใชกันอยูประกอบดวย 3 วิธี คือ


12<br />

1) การพิสูจนยืนยัน (Verification)<br />

การทําใหแนใจวาแบบจําลองมีพฤติกรรมอยางที่ตองการซึ่งมีวิธีการที่ใชในขั้นตอนนี้ไดแก<br />

1.1) ถามความเห็นผูเชี่ยวชาญระบบงานนั้นๆ (Face Validity) วาองคประกอบและพฤติกรรม<br />

ในแบบจําลองสอดคลองกับระบบงานจริงหรือไม<br />

1.2) ทดสอบความถูกตองของกลไกภายในแบบจําลอง (Internal Validity) โดยใหเงื่อนไขแลว<br />

ดูผลที่ไดหลายๆครั้งวามีความแปรปรวนมากนอยแคไหน ถามากก็ไมควรจะถูกตองและ<br />

ควรมีการแกไข<br />

1.3) ทดสอบความถูกตองของตัวแปรและพารามิเตอร (Variables-Parameters Validity) เปน<br />

การทดสอบความไว (Sensitivity Testing) การเปลี่ยนแปลงคาของตัวแปรและพารามิเตอร<br />

วามีผลกระทบตอผลลัพธที่ไดจากองคประกอบในแบบจําลองและแบบจําลองอยางไร<br />

1.4) การทดสอบความถูกตองของสมมติฐาน (Hypothesis Validity) ทดสอบทางสถิติวาผลที่<br />

ไดจากแบบจําลองเทียบกับงานจริงในอดีต สามารถยอมรับวาเหมือนกันโดยมีระดับ<br />

นัยสําคัญที่ยอมรับได<br />

2) การทดสอบความถูกตอง (Validation)<br />

การทดสอบความสอดคลองระหวางพฤติกรรมแบบจําลองกับระบบงานจริง โดยเปรียบเทียบ<br />

ขอมูลที่ไดจากแบบจําลองกับขอมูลในอดีตของระบบงานจริง ที่เงื่อนไขของการใชงานที่เหมือนกัน<br />

การวิเคราะหการกระทําโดยใชเทคนิคทางสถิติ ไดแก<br />

2.1) ทดสอบสมมติฐาน การเปรียบเทียบคาพารามิเตอรของแบบจําลองกับของระบบงานจริง<br />

2.2) ทดสอบสมมติฐานลักษณะการกระจายของความนาจะเปนของขอมูลเทียบกับงานจริง<br />

2.3) ประมาณคาพารามิเตอรของแบบจําลองเทียบกับคาประมาณของพารามิเตอรงานจริง<br />

2.4) พยากรณความสัมพันธระหวางตัวแปรและพารามิเตอรในแบบจําลองเทียบกับงานจริง<br />

3) การวิเคราะหปญหา (Problem Analysis)<br />

การทดลองใชแบบจําลองพยากรณพฤติกรรมตางๆของระบบงาน เทียบกับพฤติกรรมจริงของ<br />

ระบบงานการวิเคราะหอาศัยเทคนิคทางสถิติ<br />

จากวิธีการตางๆ ชวยใหผูสรางแบบจําลองมีความมั่นใจในแบบจําลองที่สรางขึ้นวานาจะใช<br />

แทนระบบงานจริงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว


13<br />

2.1.4 การจําลองแบบปญหาดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

การจําลองสถานการณดวยระบบคอมพิวเตอร เปนการศึกษาระบบงานดวยแบบจําลองซึ่งอยูใน<br />

รูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยการจําลองสถานการณนั้นเปนกระบวนการจําลอง (Model) ของ<br />

ระบบการทํางานจริง (Real system) แลวดําเนินการใชแบบจําลองนั้นเพื่อการเรียนรูพฤติกรรมของ<br />

ระบบงานหรือเพื่อประเมินผลการใชวิธีการตางๆ ในการดําเนินงานของระบบภายใตขอกําหนดที่วางไว<br />

การจําลองแบบปญหาดวยคอมพิวเตอรนี้เปนที่นิยมใชที่สุดของการจําลองแบบปญหา เพราะ<br />

สามารถใชไดกับปญหาของระบบงานไดมากมายหลายประเภท ปจจุบันเปนเทคนิคที่ไดรับการนําเอา<br />

ไปใชอยางกวางขวาง หลักการที่ใชกับการจําลองแบบปญหาทางคอมพิวเตอร จะเปนหลักการแบบ<br />

เดียวกับที่ใชกับการจําลองแบบปญหาอื่นๆ ความจําเปนที่จะสรางเปนแบบจําลองทางคอมพิวเตอร<br />

หรือไมขึ้นอยูกับความยุงยากในการคํานวณของปญหานั้นๆ<br />

โดยที่การจําลองแบบปญหาทางคอมพิวเตอรจะตองมีการคํานวณ มีขอมูลทั้งที่เปนขอมูลนําเขา<br />

และผลลัพธจากแบบจําลอง และโดยปกติขอมูลตางๆในระบบงานจะเปนขอมูลซึ่งมีความผันแปรไม<br />

แนนอนและมีการแปรเปลี่ยนตามเวลา ดังนั้นการจัดเตรียมและการวิเคราะหขอมูลตางๆรวมทั้งขั้นตอน<br />

ตางๆที่ใชกับการจําลองแบบปญหานี้จึงตองอาศัยวิธีการตางๆทางสถิติเขาชวย<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอรที่นํามาใชในการจําลองปญหานั้นมีมากมายใหเลือกใช ตัวอยางเชน<br />

โปรแกรม GPS, Arena, ProModel, Sigma เปนตน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ไดเลือกใชโปรแกรม อารีนา<br />

(Arena) มาใชในการจําลองแบบปญหา ซึ่งโปรแกรมอารีนาเปนแบบจําลองสถานการณ ซึ่งสามารถ<br />

จําลองสถานการณไดใกลเคียงกับระบบงานจริง และยังเปนโปรแกรมที่สามารถนําไปประยุกตใชกับ<br />

ระบบงานไดหลายประเภท ไมวาจะเปนระบบงานบริการหรือการผลิต นอกจากนี้โปรแกรมอารีนายัง<br />

สามารถวิเคราะหกระบวนการตางๆได เชน ระบบแถวคอย ระบบกระบวนการผลิต ซึ่งจะทําใหการ<br />

วิเคราะหขอมูลมีความสมบูรณยิ่งขึ้น รวมทั้งเปนโปรแกรมที่มีความซับซอนไมมากนัก สามารถเขาใจ<br />

ไดงาย สะดวกตอการใชงาน มีการแสดงภาพเคลื่อนไหว (Animation) ทําใหระบบการจําลอง<br />

สถานการณนั้นเขาใจไดมากขึ้น<br />

โปรแกรมอารีนา (Arena) ถูกออกแบบมาบนโปรแกรม Windows ทําใหมีความคลองตัวในการ<br />

ใชงานสูง เมื่อเปดโปรแกรมหนาจอจะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนคือ


14<br />

Project Bar พื้นที่ที่มีเครื่องมือพื้นฐานไวสําหรับการสรางสถานการณ ประกอบดวย<br />

เครื่องมือ 3 ชนิดคือ Basic process panel / Report panel / Navigate panel<br />

Flow chart View พื้นที่วางสําหรับการวาดแบบจําลองระบบแถวคอย และแสดงการทํางานของ<br />

ระบบใหผูใชงานไดเห็น<br />

Spreadsheet View เปนพื้นที่ที่แสดงรายละเอียดของขอมูลแตละหนวยวัตถุที่อยูในแบบจําลอง เชน<br />

การกระจายของขอมูล หนวยของเวลา คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนของขอมูล<br />

1. Project Bar 2. Flow<br />

chart view<br />

3.<br />

Spreadsheet<br />

ภาพที่ 2-2 ตัวอยางการจําลองของโปรแกรม ARENA


15<br />

ภาพที่ 2-3 แสดงขั้นตอนการสรางแบบจําลองอารีนา (Arena software)


16<br />

จากภาพที่ 2-3 อธิบายรายละเอียดไดดังนี้<br />

1) การกําหนดรูปแบบของปญหาเพื่อแกปญหาแบบใดก็ตาม แรกสุด คือตองกําหนดปญหาวามี<br />

อะไรบาง ผูกําหนดนโยบายตองพิจารณาอยางมั่นใจวาปญหานั้นครอบคลุมปญหาทั้งหมดแลว<br />

2) การกําหนดจุดมุงหมายและวางแผนสําหรับโครงงาน เพื่อใหแนชัดวาจะทําแบบจําลองอยางไร<br />

กําหนดขอบเขตของโครงงาน ขอจํากัดตางๆ<br />

3) การสรางแบบจําลอง ตองคํานึงถึงลักษณะของระบบงานที่เราจําลองและตัวแบบจําลองนี้ตอง<br />

สามารถอธิบายพฤติกรรมของระบบได<br />

4) การเก็บขอมูล ตัวแปรของระบบทั้งหมดจะเปนขอมูลที่เราตองเก็บรวบรวม<br />

5) การลงรหัส เปนการเปลี่ยนตัวแบบจําลองใหเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

6) การตรวจสอบความถูกตองของโปรแกรม วาโปรแกรมนี้ทํางานไดหรือไม<br />

7) การตรวจสอบความถูกตองของระบบจําลองวาใหผลลัพธที่ถูกตองหรือไม<br />

8) การวางแผนการทดลอง โดยวางแผนการใชตัวแบบจําลองอยางไรเพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหได<br />

9) การใหตัวแบบทํางานและวิเคราะหผล เมื่อวางแผนการทดลองอยางไร ก็สั่งใหตัวแบบทําตาม<br />

แผนที่วางไว และวิเคราะหผลออกมา<br />

10) การพิจารณาวาตองทําเพิ่มหรือไม บางครั้งตัวแบบจําลองใหผลออกมาไมดีนัก หรือความ<br />

ตองการใหผลการวิเคราะหมีความถูกตองมากยิ่งขึ้น ก็ใหตัวแบบทํางานเพิ่มได<br />

11) การทําคูมือการใชงานและทํารายงานผล ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่จะทําใหผูใชงานทราบขอจํากัด<br />

ตางๆ ของตัวแบบจําลอง หากมีการนําตัวแบบจําลองไปใชงาน และจัดทํารายงานผลการทดลอง<br />

12) การนําไปใชงานดวยการนําผลสําเร็จในการรายงาน มาชวยในการตัดสินใจตอไป<br />

ขั้นตอนการสรางแบบจําลองโดยใชโปรแกรม เริ่มจากการเก็บขอมูลแลวนําขอมูลมาทําการ<br />

วิเคราะหการแจกแจงของขอมูล จากนั้นจึงออกแบบจําลองโดยการสรางรูปในพื้นที่ที่โปรแกรมกําหนด<br />

ไวให (Flowchart View) แลวใสขอมูลของสวนตางๆ ลงไปในแบบจําลองใหครบถวน สุดทายเปนการ<br />

ทดลองทําขอมูลในแบบจําลอง โดยโปรแกรมจะดําเนินการตามขอมูลและรูปแบบของแบบจําลองที่เรา<br />

สรางขึ้น โดยการทดลองใหโปรแกรม ทําซ้ําๆกันตามที่ตองการ และกําหนดระยะเวลาในการทดลอง<br />

แบบจําลองตามตองการ การกําหนดระยะเวลาการทดลองและทําซ้ําๆกันจํานวนครั้งมากขึ้น จะยิ่งทําให<br />

ผลลัพธที่ไดใกลเคียงสถานการณจริง และมีความนาเชื่อถือสูง


17<br />

รายละเอียดของการจําลองแบบปญหาในโปรแกรม Arena<br />

กอนที่จะเริ่มใชโปรแกรม Arena นั้นเราจะตองเขาใจหลักการของโปรแกรม เพื่อใหการใช<br />

ขอมูลเปนไปอยางถูกตอง ซึ่งจะกลาวถึงหลักการบางอยางที่จะตองทําความเขาใจกอนที่จะเริ่มใช<br />

โปรแกรม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้<br />

• Entities<br />

Entities หมายถึง สวนที่กําลังจะถูกผลิต สวนที่กําลังจะรับบริการ หรือสวนที่กําลังจะสรางการ<br />

ทํางานในระบบ ตัวอยางของ Entities ไดแก เอกสารที่ถูกสงผานไปตามขั้นตอนตางๆในบริษัท ลูกคาที่<br />

ตองกรเขารับบริการในราน ชิ้นสวนที่ถูกสงเขามาในกระบวนการผลิต<br />

• Attributes<br />

ในระบบจะมี Entities โดยแตละ Entity ก็จะมีคุณลักษณะ (Character) ซึ่งเรียกวา Attributes ติด<br />

อยูกับ Entity เพื่อแสดงคุณลักษณะที่สําคัญจะเปนการแสดงถึงการใหคาความสําคัญ ของแตละ Entities<br />

เชน ประเภทของลูกคา ขนาดของชิ้นสวน เวลาที่ใชในระบบงาน กิจกรรมหรือตัวแปรทั้งหมด จะถูกตั้ง<br />

Attribute ไวในที่นี่จะเปนการให Attribute ซึ่งสามารถเขาใจได และนําไปประยุกตใชดังนี้<br />

Entity Type คือ ชนิดของ Entity จะตองถูกบงชี้อยางชัดเจน เชน คน รถยนต<br />

Entity Picture คือ รูปภาพจะถูกแสดงออกมาในรูปแบบของ Animation ซึ่งจะเปนรูปอัตโนมัติ<br />

ที่เปนภาพพื้นฐานที่มีกันอยูในกระบวนการทั่วไป<br />

Entity Create Time คือ เวลาที่เรากําหนดลงไปเพื่อนําไปประมวลผล และรวบรวมขอมูล<br />

Entity Station คือ สถานีงานแตละจุดที่ Entity (Product Material Customer) เคลื่อนที่ผาน<br />

Entity Sequence คือ การวางตําแหนงหรือ ดัชนี ใน sequence วา Entity จะตองทํางานเรียงกัน<br />

ตามลําดับสถานีงานตางๆอยางไร<br />

Entity JobsStep คือการระบุตําแหนงดัชนีใน sequenceวาในปจจุบัน Entity กําลังทํางานอยูที่ใด<br />

• Resource<br />

ขอมูลที่เราใสเขาไปใน Model เชน ตองการศึกษาคนที่มากดเงินระบบตู ATM Resource ก็คือ<br />

ตูเอทีเอ็ม ซึ่งอาจจะมีขอจํากัด (Constraint) เชน ชวงตัวเลขที่เราสามารถทําได หรือรับได เชน จํานวน<br />

คนที่รับได ลูกคา) หรือพนักงานที่สามารถรับได, พื้นที่ที่ใช, ความสามารถของเครื่องจักรซึ่งจะตองระบุ<br />

ความสามารถไว


18<br />

Resource Capacity คือ การกําหนดจํานวนความสามารถในการรับชิ้นงานใน 1 กระบวนการ<br />

ของ Resource เชน เครื่องจักร A สามารถทํางานไดทีละ 10ชิ้นในเวลาเดียวกัน Resource Capacity ของ<br />

เครื่องจักร A คือ 10<br />

Entities seize Resource คือ การกําหนดจํานวนขั้นตอนในกระบวนการของ Resource<br />

Entities release Resource คือ การจบสิ้นการทํางาน<br />

• Queue<br />

คือ พื้นที่ที่ Entity รอที่จะผานที่ทํางานที่ Resource หรือรอที่จะผานกระบวนการรวมชิ้นงาน<br />

ดวยคําสั่ง Batch<br />

• Seize Delay and Release<br />

ในทุกๆ Model ที่จะ simulation จะตองมีการจัดวาง Resource ซึ่งก็คือ เครื่องมือ เครื่องจักร<br />

หรือตัวแปรใดๆที่เปนกระบวนการทํางานที่ Entity จะตองผานและยังรวมถึงพื้นที่ที่ใชจัดเก็บ รอคิว<br />

และในโปรแกรม Arena จะตองมีคําสั่ง 3 คําสั่งที่ใชอยูทั่วไปกับ Resource เสมอคือ<br />

Seize คือ การจํากัด จอง Resource ที่จะเขาสูกระบวนการควบคุม เพื่อควบคุม Resource ถาไมมี<br />

การจองหรือบงบอกวา Entity เทาไหรที่จะเขาสูกระบวนการจะสงผลใหความสามารถของ Resource<br />

ลดลง<br />

Delay คือ เมื่อ Resource ซึ่งอาจจะหมายถึงเครื่องจักรถูกจอง (Seized) โดยชิ้นงานซึ่งเปน<br />

Entity เครื่องจักรก็จะทําการดําเนินงานซึ่งจะใชระยะเวลาสวนหนึ่ง ซึ่งอาจจะคงที่หรือไมคงที่ก็ได การ<br />

แสดงการหนวงของเวลาในการทํางานนี้จะใชคําสั่ง Delay นั่นเอง<br />

Release คือ การยกเลิกการจอง หลังจากทํางานเสร็จผูใชงาน โปรแกรมตองแสดงสถานะวาวา<br />

เครื่องจักรไดอยูในสภาวะที่อิสระ คือ ไมไดตกลงใชงานนั่นเอง ซึ่งก็คือ การใชคําสั่ง Release Module<br />

หลังจากนั้นโปรแกรมก็จะให Entity group ตอไปถูก seize เพื่อเขาสูกระบวนการ<br />

ภาพที่ 2-4 แสดงกระบวนการพื้นฐานการสรางบล็อกพื้นฐาน (Module)


19<br />

จากภาพที่ 2-4 จะเห็นวาตัวโปรแกรมจะมีบล็อกคําสั่งดังตอไปนี้<br />

• Create Flow Chart Modules<br />

การใชงาน Entities จะเริ่มตนจากกําหนดคาใหแก Entities วาจะใหสรางการเขามาของวัตถุดิบ<br />

ที่จะนํามาใชในกระบวนการหรือผูเขาใชบริการวาจะใหมีรูปแบบการเขาสูระบบการทํางานเราอยางไร<br />

การสราง Create Model การใชงานโปรแกรม Arena เริ่มจากการกําหนด Create Model กอน ทําไดดังนี้<br />

1. ที่หัวขอ Basic Process เลื่อน mouse ไปที่ Create Model กดคางที่รูป แลว ลากมาวางไวใน<br />

พื้นที่ทํางาน จะได ลักษณะดังภาพที่ 2-5<br />

ภาพที่ 2-5 การสรางCreate Model


20<br />

2. เมื่อ Double click เขาไปที่ Create จะพบกับหนาตางที่ใหกําหนดคา Entities ดังตอไปนี้<br />

ภาพที่ 2-6 หนาตางในการกําหนดคา ของ Entities<br />

ใหพิมพคาตางๆลงไปดังตัวอยาง ซึ่งภายใน Create ประกอบไปดวย หัวขอตางๆดังนี้<br />

o Name คือ การใสชื่อ ของ Module Create ที่เราสรางขึ้น อาจจะเปนชื่อวัตถุดิบที่เขามา<br />

ในระบบ จากตัวอยางใชชื่อ วา “loan application arrive”<br />

o Entity type เปนการกําหนด ชนิด ของ Entity ของเรา ซึ่งจะแบงออกเปน 3แบบ คือ<br />

• Random (expo) เปนการสุมขอมูลขึ้นมา<br />

• Schedule เปนการกําหนดการเขาของขอมูลที่แนนอนตามรูปแบบที่กําหนด<br />

• Constant เปนการกําหนดการเขาของขอมูลแบบคงที่<br />

• Expression เปนการใชสูตรคาคงที่จากการวิเคราะห<br />

o Time between Arrivals ในสวนนี้จะประกอบไปดวย หัวขอยอย ดังตอไปนี้<br />

• Type จะเปนการกําหนดลักษณะรูปแบบของการกระจายตัวหรือการเขามาของ<br />

ชิ้นงานซึ่งในที่นี้ กําหนดเปน Random<br />

• Value กําหนดเปน 5 เนื่องจาก ตัวอยางกําหนดวา จะมีวัตถุดิบเขามาทุกๆ 5 นาที<br />

• Unites หนวยเวลา กําหนดเปน minutes<br />

o Entity per arrival กําหนดเปน 1 หมายถึงเขามาทีละชิ้น<br />

o Max Arrivals เปนการกําหนดจํานวนชิ้นของการเขาของชิ้นงานสูงสุด กําหนดเปน<br />

infinite หมายถึง ไมจํากัดจํานวนชิ้นของ Entity ที่เขามาในระบบ<br />

o First Creation หมายถึง เวลาที่ Entity สามารถเขาสูระบบไดเริ่มตั้งแต Start


21<br />

• The Process Flowchart Module<br />

หมายถึง บล็อกคําสั่ง Process เปนตัวแทนเครื่องจักรหรือวิธีการประกอบเปนคําสั่ง<br />

หลังจากมีชิ้นสวนเขาสูระบบแลว และเมื่อตองการกําหนดคุณลักษณะของ Process<br />

ใหเปด Dialog โดย double click ที่ Process Module จะปรากฏหนาตาง ดังภาพที่ 2-7<br />

ภาพที่ 2-7 หนาตางของ Process Module<br />

o Name คือ ชื่อของกระบวนการหรือเครื่องจักรหรือกรรมวิธี<br />

o Type คือ ความหมายทางตรรกวิทยาสําหรับการปฏิบัติงานที่อธิบายขบวนการ<br />

o Action คือ จากตัวอยางเลือก Seize Delay Release เพื่อทดสอบใหรูวาเราตองการใหรู<br />

วาเราตองการใหมีการทํางานกับการเขามาของชิ้นงานนี้ตามจํานวนของเครื่องจักร<br />

o Resource คือ การแสดงชื่อของเครื่องจักรหรือกระบวนการ<br />

o Delay Type คือ ลักษณะการกระจายตัวของขอมูลเวลาการทํางานของเครื่องจักรที่<br />

ทํางานตอชิ้นงาน 1 หนวย<br />

o Value คือ เวลาการทํางานของเครื่องจักรที่ทํางานตอชิ้นงาน 1 หนวย


22<br />

• The Dispose Flowchart Module<br />

การใช Dispose จะใชก็ตอเมื่อสิ้นสุดการทํางานของกระบวนการแลวซึ่งสามารถทํา<br />

การบันทึกสถิติขอมูลของ Entity ได<br />

ภาพที่ 2-8 หนาตางหลักของ Dispose<br />

ในหนาตางหลัก ของ Dispose กําหนด ดังนี้ ให check box ของ Record Entity Static ให check<br />

Data Module Entity Module จะใชในการกําหนดคา ตางๆใหแก Entity เชน คาตนทุนของ Entity ที่เขา<br />

มาในกระบวนการ<br />

• การเชื่อม Module (Connecting Flowchart Module)<br />

การเชื่อมตอบล็อก Create Process และ Dispose นั้นจะเปนการเชื่อมดวยเสนสั้นๆที่เรียกวา<br />

Connection ซึ่งเปนตัวกําหนดใหชิ้นงานผานจาก Module หนึ่งไปยังอีก Module หนึ่ง เปนลักษณะของ<br />

Process การสรางเสน Connection สามารถเลือกที่ Object/Connect โดยที่<br />

หมายถึง ตําแหนง Module ที่ชิ้นงานออกจาก Module นั้น<br />

• หมายถึง ตําแหนง Module ที่เปนจุดหมายของชิ้นงาน<br />

• Setting the Running Module<br />

Run Setup จะระบุถึงตัวแปรตางๆที่นํามาทดลองประมวลผลโดยโปรแกรม ซึ่งจะประกอบไป<br />

ดวยระยะเวลาของการทดลองประมวลผล, จํานวนของ ชั่วโมงทํางานตอวัน จํานวนรอบของการทดลอง<br />

จําลองการทํางาน ซึ่งใน Run Setup จะสามารถใหกําหนดไดวาจะเลือกแสดงขอมูลจากการประมวลผล<br />

ในดานใดบาง เชน Process Entity Resource และสถิติของแถวคอย ซึ่ง Run Setup สามารถเลือกไดโดย<br />

ดูที่หัวขอบนเมนูแลวเลือกไปที่ run แลวไปที่ set up


23<br />

ภาพที่ 2-9 หนาตางของ Run Setup<br />

• Running Model<br />

เมื่อกําหนดคาตางๆเสร็จแลวจะเริ่มการทดลอง ประมวลผลแบบจําลองไดโดยการกดที่ปุมดัง<br />

รูปในวงกลมสีแดง<br />

ภาพที่ 2-10 ปุมประมวลผล<br />

ในการกดครั้งแรกระบบจะทําการตรวจสอบความถูกตองของ Model ที่สรางไววามีการกําหนด<br />

ตัวแปรตางๆถูกตองหรือไมและเมื่อกดปุมในวงกลมสีแดงอีกครั้ง ระบบจะเริ่มการประมวลผลซึ่งใน<br />

ระหวางการประมวลผล เมื่อตองการจะหยุดการประมวลผลสามารถทําไดโดยการกดปุม<br />

ภาพที่ 2-11 ปุมหยุดการประมวลผล


24<br />

• Viewing the Reports<br />

ในสวนของการรายงานผลการทดลองประมวลผลไดมีการรายงานผลในหลายดานของขอมูล<br />

ดังแสดงในภาพที่ 2-12 ซึ่งผลของการประมวลผลนี้จะแยกตามหมวดหมูตางๆ ซึ่งแตละหมวดหมูจะมี<br />

รูปแบบของการายงานที่แตกตางกันออกไป ซึ่งขึ้นอยูกับรูปแบบของ แบบจําลองระบบที่สรางขึ้น<br />

ภาพที่ 2-12 การเลือกหัวขอการรายงานผล<br />

คาทางสถิติที่จะแสดงในผลลัพธจะแบงตามลักษณะดังนี้<br />

o Tally Statistic ที่มีผลลัพธจากการหาคาเฉลี่ยหรือคาต่ําสุดหรือคาสูงสุดของคาตางๆ ที่<br />

จะทําการวัด เชน เวลาเฉลี่ยทีชิ้นงานอยูในระบบ<br />

o Tally Statistic จะแสดงคาเฉลี่ยและเวลารวมทั้งหมด 5 สวน และจํานวนที่แสดงโดย<br />

Tally Statistic จะมีลักษณะที่เรียกวา Discrete-Time-Statistic เพราะจะมีลักษณะเปน<br />

จํานวนนับ<br />

o Time-Persistent Statistic จะแสดงผลลัพธจากการคํานวณของการเขียนกราฟ ซึ่ง<br />

Time-Persistent Statistic จะมีลักษณะเปน Continuous-Time-Statistic Counter<br />

Statistic จะมีการรวมผลของเวลาที่เกิดขึ้นและจํานวนชิ้นงานที่ออกจาก Process และ<br />

สามารถนับจํานวนที่ไมใชจํานวนเต็ม เชน เวลารวมในการที่ชิ้นงานรอเทากับ 15.17<br />

เปนตน Counter Statistics จะแสดงผลตัวแทนของผลรวมที่ไมใชคาเฉลี่ย


คาตางๆที่เกี่ยวของกับการสรางแบบจําลอง<br />

25<br />

การสรางแบบจําลองสถานการณนอกจากจะใชเวลาในแตละกิจกกรมแลว ยังจําเปนตอง<br />

กําหนดคาอื่นๆอีก เพื่อใหผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมีความถูกตอง นาเชื่อถือ และสามารถยอมรับ<br />

ได คาอื่นๆที่เกี่ยวของไดแก<br />

1. คาความผิดพลาดที่สามารถยอมรับได (Half width)<br />

คาความผิดพลาดที่สามารถยอมรับได หรือเรียกวา Half width คือ คาที่เปนเกณฑในการยอมรับ<br />

ผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลดวยโปรแกรม Arena 10.0 ภายใตความเชื่อมั่น 95% (คามาตรฐานใน<br />

โปรแกรม Arena 10.0) ถาผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมีคา Half width เกินกวาที่กําหนดไว ก็แสดง<br />

วาแบบจําลองที่สรางขึ้นยังไมนาเชื่อถือและไมสามารถยอมรับได<br />

สําหรับการประมวลผลดวยโปรแกรม Arena 10.0 สามารถลดคา Half width ใหต่ําลงดวยการ<br />

กําหนดจํานวนรอบการทําซ้ํา (Number of Replication) ใหมากขึ้น หรือ กําหนดความยาวในการ<br />

ประมวลผล (Replication Length) ใหยาวขึ้น หรือ ทําทั้งสองอยาง<br />

2. ความยาวในการประมวลผล (Replication Length)<br />

การประมวลผลแบบจําลองสถานการณจะตองกําหนดความยาวในการประมวลผลแตละรอบ<br />

หากวาไมมีการกําหนดคานี้แลวการประมวลผลจะดําเนินการไปเรื่อยๆโดยไมมีจุดสิ้นสุด (Infinite)<br />

3. จํานวนรอบการทําซ้ําในการประมวลผล (Number of Replication)<br />

เพื่อใหผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลแบบจําลองสถานการณมีคาความผิดพลาดที่สามารถ<br />

ยอมรับได หรือ Half width ไมเกินคาที่กําหนดจึงตองมีการกําหนดรอบการทําซ้ํา (Number of<br />

Replication) ในการประมวลผลใหสอดคลองกับเงื่อนไข เชน กําหนดคาจํานวนรอบการทําซ้ําใหเทากับ<br />

1 รอบ จากนั้นทําการประมวลผลแบบจําลอง ถาผลลัพธที่ไดมีคา Half width ไมเกินที่กําหนด ก็แสดง<br />

วารอบการทําซ้ํา (Number of Replication) เทากับ 1 แตถาผลลัพธที่ไดมีคา Half width เกินกวานั้น ก็<br />

จะตองทําการกําหนดจํานวนรอบการทําซ้ําใหเพิ่มขึ้น จนกวาผลลัพธที่ไดจะมีคา Half width ไมเกินนั้น


การกําหนดรูปแบบการรัน<br />

26<br />

การกําหนดรูปแบบการรันแบงไดเปน 2 ระบบคือ ระบบที่มีการสิ้นสุด (Terminating System)<br />

และระบบที่อยูในสภาวะสมดุล (Steady-State System)<br />

• ระบบที่มีการสิ้นสุด (Terminating System) ระบบที่มีการสิ้นสุดการรันที่แนนอนดวยเงื่อนไข<br />

ที่กําหนดหรือดวยเวลาที่กําหนดซึ่งระบบนี้จะไมมีคาชวงเวลาที่มีการแกวง (warm-up period เทากับ<br />

ศูนย) แตสามารถทําซ้ําการรันไดมากกวาหนึ่งครั้ง (Number of Replications) เพื่อความถูกตองแมนยํา<br />

ของผลที่รันออกมา โดยความยาวของการรัน (Replication Length) ขึ้นกับเวลาที่ระบบทํางาน เชน<br />

ธนาคารเปดทําการตั้งแต 8.30 – 17.30 น. จะเห็นวา ระบบนี้เปนระบบที่มีการสิ้นสุดเมื่อธนาคารเปดไป<br />

ได 9 ชั่วโมง (Replication Length) เปนตน<br />

• ระบบที่อยูในสภาวะสมดุล (Steady-State System) ระบบที่เขาสูสภาวะสมดุล เมื่อผาน<br />

ชวงเวลาที่มีการแกวง (warm-up period) เนื่องจากเมื่อเริ่มระบบในชวงแรกอาจมีการแกวงของขอมูล ทํา<br />

ใหประสิทธิภาพการทํางานของระบบยังไมเต็มที่ จึงไมควรนําผลการทดลองชวงแรกมาทําการวิเคราะห<br />

เพราะอาจทําใหสรุปผลผิดพลาดได ซึ่งระบบแบบนี้จะรันเพียงหนึ่งครั้งดวยความยาวของการรันที่<br />

ตองการอานผลลัพธทางสถิติ เชน ระบบอินเตอรเน็ตเปดระบบตอลด 24 ชั่วโมงทุกวัน โดยเมื่อเปด<br />

ระบบใหมๆระบบยังไมเสถียรแตพอเปดทํางานไปได 5 วัน ระบบจะเขาสูสภาวะสมดุล ดังนั้นระบบนี้<br />

จะเขาสูสภาวะสมดุลเมื่อผานชวงเวลา 5 วัน (warm-up period) ถาตองการทดสอบระบบเปนระยะเวลา<br />

1 ปก็กําหนดใหความยาวของการรันเทากับ 365 วัน


2.1.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับความนาจะเปน<br />

27<br />

ทฤษฎีเกี่ยวกับความนาจะเปนมีความสําคัญในกระบวนการจําลองแบบปญหา ซึ่งนํามาใชใน<br />

การวิเคราะหการแจกแจง การกระจายตัว และการสุมขอมูล ในการจําลองแบบปญหามีการแจกแจง<br />

ความนาจะเปนของขอมูลดังนี้<br />

ก) การแจกแจงแกมมา<br />

ตัวแปรสุม X มีลักษณะการแจกแจงหรือกระจายแกมมา ถามีฟงกชันความหนาแนนเปน<br />

f<br />

( x)<br />

α −1<br />

⎧ x e<br />

⎪ α<br />

⎪<br />

β Γ<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩ 0<br />

− xβ<br />

( x)<br />

x > 0<br />

x ≤ 0<br />

( α,<br />

β > 0)<br />

ภาพที่ 2-13 แสดงกราฟการแจกแจงแกมมา<br />

สําหรับคาเฉลี่ยและความแปรปรวนถูกกําหนดโดย<br />

2 2<br />

μ = αβ<br />

σ = αβ<br />

ฟงกชันที่ใหโมเมนตและฟงกชันคุณลักษณะกําหนดโดย<br />

M () t = ( 1 − βt) −α<br />

−<br />

φ( ω) = ( 1 − βi<br />

) α<br />

โดยทั่วไปการแจกแจงแกมมาจะคลายกับการแจกแจงแบบ Erlang และปกติจะใชกับเวลาใน<br />

การทํางาน เชน เวลาการทํางานของเครื่องจักร หรือเวลาซอมแซมเครื่องจักร<br />

ω


ข) การแจกแจงเบตา<br />

28<br />

ตัวแปรสุมมีการแจกแจงหรือมีการกระจายเบตา ถามีฟงกชันความหนาแนนดังตอไปนี้<br />

f<br />

( x)<br />

⎧ x<br />

⎪<br />

⎪<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩<br />

α −1<br />

β<br />

( 1 − x)<br />

( α,<br />

β )<br />

0<br />

β −1<br />

0 < x < 1<br />

otherwise<br />

เมื่อ β ( α, β ) คือ ฟงกชันเบตา โดยที่เขียนแทนดวย β ( m, n)<br />

นิยามโดย<br />

1<br />

m−<br />

( m n) u<br />

1 n−1<br />

, ( 1−<br />

u) du<br />

β = ∫<br />

m > 0 , n > 0<br />

0<br />

จากความสัมพันธในสมการ ความสัมพันธระหวางฟงกชันแกมมาและฟงกชันเบตา การแจก<br />

แจงเบตาสามารถนิยามฟงกชันความหนาแนนได<br />

f<br />

( x)<br />

⎧ Γ<br />

⎪<br />

⎪<br />

Γ<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩<br />

( α + β )<br />

( α ) Γ( β )<br />

X<br />

( 1−<br />

X )<br />

α −1 β −1<br />

0<br />

0 < x < 1<br />

otherwise<br />

ภาพที่ 2-14 แสดงกราฟการแจกแจงเบตา


29<br />

เมื่อ α, β มีคาเปนบวก คาเฉลี่ยความแปรปรวนคือ<br />

α −1<br />

μ =<br />

α + β<br />

2<br />

α<br />

=<br />

αβ<br />

2<br />

( α + β ) ( α + β + 1)<br />

สําหรับ α > 1 , β > 1 ฐานนิยมจะมีคาเดียวคือ<br />

X<br />

mod e<br />

α −1<br />

=<br />

α + β − 2<br />

การแจกแจงแบบนี้มักมีรูปรางที่แตกตางกันในชวงกวางจึงนิยมใชในตัวแบบที่คอนขางไม<br />

สมบูรณหรือตัวแบบที่มีขอมูลนอยเพราะมีชวงกวาง (Range) ของการแจกแจงอยูระหวาง 0 ถึง 1 การ<br />

แจกแจงแบบนี้มักนิยมใชกับอัตราสวน เชน อัตราสวนของจํานวนของเสีย เปนตน


30<br />

ค) การแจกแจงเอ็กซโปเนนเชียล<br />

f<br />

( x)<br />

⎧<br />

−<br />

⎪ae<br />

⎪<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩ 0<br />

αx<br />

x > 0<br />

x ≥ 0<br />

μ<br />

1<br />

α<br />

2 1<br />

=<br />

2<br />

σ = M () t<br />

α<br />

α<br />

= α −1<br />

ตัวแปรสุมขางตนที่มีฟงกชันความหนาแนนดังกลาวจะมีการแจกแจงเอ็กซโปเนนเชียลหรือมี<br />

การกระจายเอ็กซโปเนนเชียล<br />

โดยปกติการแจกแจงแบบนี้จะใชกับตัวแบบเกี่ยวกับเวลาระหวางเหตุการณในการมาถึงและ<br />

การเสียหายของขบวนการ แตไมเหมาะกับตัวแบบที่เกี่ยวกับเวลาลาชาของกระบวนการ<br />

ภาพที่ 2-15 แสดงกราฟการแจกแจงเอ็กซโปเนนเชียล


ง) การแจกแจงไวบูล<br />

31<br />

ตัวแปรสุมที่กลาววามีการแจกแจงหรือการกระจายไวบูลหรือ ถามีฟงกชันความหนาแนนคือ<br />

f<br />

( x)<br />

⎧<br />

b−1<br />

⎪abx<br />

e<br />

⎪<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩ 0<br />

b<br />

−ax<br />

x ≤ 0<br />

x > 0<br />

[ ]<br />

1<br />

= a − b 2 2<br />

μ Γ( 1+<br />

1 b)<br />

a b 2<br />

σ = − Γ( 1+<br />

2 b) − Γ ( 1+<br />

1 b)<br />

การแจกแจงไวบูลจะใชในตัวแบบที่มีความนาเชื่อถือเกี่ยวกับเวลาของระบบ เชน ถาระบบ<br />

ประกอบดวยชิ้นสวนจํานวนมากและมีความเสียหายที่เปนอิสระตอกันและถาระบบเสียหายเมื่อมีเพียง<br />

ชิ้นสวนเดียวที่เสียหาย ดังนั้นเวลาของการเสียหายที่ตอเนื่องสามารถเหมาะสมกับการแจกแจงแบบ<br />

ไวบูล<br />

ภาพที่ 2-16 แสดงกราฟการแจกแจงไวบูล


จ) การแจกแจงแบบ Erlang<br />

32<br />

ตัวแปรสุมที่กลาววามีการแจกแจง Erlang หรือมีการกระจาย Erlang ถามีฟงกชันความ<br />

หนาแนนดังตอไปนี้<br />

f<br />

( x)<br />

−k<br />

k −1<br />

⎧β<br />

x e<br />

⎪<br />

⎪<br />

( k −1 )!<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩ 0<br />

− x β<br />

x > 0<br />

otherwise<br />

ชวงกวาง (Range) [ 0 ,+α )<br />

คาเฉลี่ย (Mean) k β<br />

ความแปรปรวน (Variance)<br />

2<br />

k β<br />

โดยที่การแจกแจงแบบนี้ใชกับกิจกรรมในขั้นตอนที่สมบูรณ และแตละขั้นตอนมีการแจกแจง<br />

แบบเอ็กซโปเนนเชียลในขนาด k มากๆ การแจกแจง Erlang จะเขาใกลการแจกแจงแบบปกติ สวนมาก<br />

แลวการแจกแจงแบบนี้จะใชกับเวลาที่ตองการใหงานสมบูรณ<br />

ภาพที่ 2-17 แสดงกราฟการแจกแจง Erlang


ฉ) การแจกแจงแบบ Lognormal<br />

33<br />

ตัวแปรสุมที่กลาววามีการแจกแจง Lognormal หรือมีการกระจาย Lognormal ถามีฟงกชัน<br />

ความหนาแนนดังตอไปนี้<br />

f<br />

( x)<br />

⎧<br />

⎪<br />

⎪σx<br />

= ⎨<br />

⎪<br />

⎪<br />

⎩<br />

1 2<br />

−<br />

e<br />

2Π<br />

2<br />

( ln( x)<br />

−μ<br />

) / ( 2σ<br />

)<br />

0<br />

x > 0<br />

otherwise<br />

ภาพที่ 2-18 แสดงกราฟการแจกแจง Lognormal<br />

ชวงกวาง (Range) [ 0 ,+α )<br />

คาเฉลี่ย (Mean) μ+σ 2<br />

2<br />

e<br />

2 2<br />

2μ+ σ σ<br />

ความแปรปรวน (Variance) e ( e −1)<br />

การแจกแจง Lognormal มักใชการสุมในกระบวนการที่มีการผลิตจํานวนมากหรือใชกับ<br />

ปริมาณเวลา การแจกแจงแบบนี้มักสัมพันธกับการแจกแจงแบบปกติ


2.2 ทฤษฎีการวางแผนการผลิต<br />

34<br />

การประเมินความตองการกําลังการผลิตในอนาคต เปนกระบวนการที่ทําไดคอนขางยากทั้งนี้<br />

เนื่องจากขึ้นอยูกับความตองการของลูกคาในอนาคต หากสามารถพยากรณความตองการของลูกคาใน<br />

สินคาหรือบริการไดอยางถูกตองแมนยํา ก็จะสามารถกําหนดความตองการกําลังการผลิตไดอยาง<br />

เหมาะสมมากยิ่งขึ้นได สิ่งที่ตองพิจารณาอีกประการหนึ่งก็คือ ความตองการของลูกคาอาจเพิ่มขึ้นทีละ<br />

นอยแตการเพิ่มกําลังการผลิตไมสามารถเพิ่มทีละนอยได แตมักเพิ่มขึ้นทีละมากหรือตามขนาดกําลัง<br />

การผลิตของเครื่องจักรหรือสายการผลิต สิ่งนี้จึงทําใหการเพิ่มกําลังการผลิตทําไดยากและจะตองถูก<br />

พิจารณาอยางรอบคอบ<br />

ฝายวางแผนการผลิตในระบบการผลิต มีหนาที่รับผิดชอบในการวางแผนและควบคุมการ<br />

ดําเนินงานของระบบการผลิต ในการวางแผนการผลิตฝายควบคุมการผลิตจะทําการแบงแผนการผลิต<br />

ออกเปน 3 ระดับ โดยมีวัตถุประสงคใหสอดคลองกับเปาหมายขององคกรอยางเปนระบบ คือ<br />

• แผนการผลิตรวม (Aggregate Planning) เปนการวางแผนเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากร<br />

การผลิตในชวงระยะเวลา 6 เดือนหรือ 1 ปขางหนาที่เกี่ยวกับการกําหนดระดับการผลิต<br />

ระดับแรงงานหรือกําลังการผลิตและระดับสินคาคงคลัง<br />

• การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Scheduling) หรือแผนการผลิตรายเดือนหรือราย<br />

สัปดาหเปนการกําหนดแผนการผลิตที่ชัดเจนลงไปในแผนการผลิตแตละเดือนหรือแตละ<br />

สัปดาหวาตองการผลิตอะไร จํานวนเทาไร ตองการเวลาใด<br />

• การกําหนดรายละเอียดตารางการผลิต (Detail Scheduling) คือ การกําหนดกิจกรรมที่<br />

ตองการในชวงเวลาตางๆในแตละวันวาใครเปนคนทํา ใชเครื่องจักรเครื่องใด ตั้งแตเวลา<br />

ใดถึงเทาใด<br />

การพยากรณความตองการของลูกคามี 3 ระยะ ไดแก ระยะยาว ระยะกลางและระยะสั้น การ<br />

พยากรณในระยะยาวจะชวยใหผูบริหารสามารถตัดสินใจในเรื่องเกี่ยวกับกลยุทธ และกําลังการผลิตที่<br />

เหมาะสมได โดยปกติแลวงานที่เกี่ยวของกับผูบริหาร คือ การตอบคําถามตางๆ ไดแก ที่ตั้งสถาน<br />

ประกอบการ การขยายกําลังการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑใหม การจัดสรรงบเพื่อการวิจัย และการ<br />

ลงทุนอื่นๆตลอดชวงหลายปขางหนา


35<br />

เมื่อสามารถกําหนดแผนระยะยาวเสร็จสิ้นเรียบรอยแลว แผนระยะกลางจะถูกพัฒนาเปนลําดับ<br />

ตอไป แผนระยะกลางนี้เปนหนาที่ของผูจัดการฝายปฏิบัติการจะตองตัดสินใจโดยใหปริมาณผลผลิตที่<br />

ผลิตไดมีความสอดคลองกับความตองการของลูกคาที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การตัดสินใจสําหรับ<br />

แผนระยะกลางนี้จะตองสืบเนื่องมาจากการตัดสินใจตางๆของแผนระยะยาว เชน จํานวนพนักงาน<br />

ระดับของสินคาคงคลัง เปนตน ซึ่งแผนระยะกลางดังกลาวนี้จะสําเร็จไดดวยการสราง “แผนการ<br />

ปฏิบัติการรวม”<br />

สําหรับการวางแผนระยะสั้นนั้นมักจะวางแผนการปฏิบัติการไวในระยะเวลาไมเกิน 1 ป แต<br />

โดยทั่วไปจะไมเกิน 3 เดือน แผนระยะสั้นจะบอกถึงความรับผิดชอบของพนักงานแตละคนในระดับ<br />

ปฏิบัติ โดยหัวหนางานหรือหัวหนาแผนกจะเปนผูที่แปลงแผนระยะกลางและกระจายมาสูตารางการ<br />

ทํางานในรายสัปดาห รายวัน รายกะ และรายชั่วโมง ซึ่งเปนการกระจายหนาที่ในการปฏิบัติการใหแก<br />

พนักงานทุกคน งานของการวางแผนระยะสั้นนี้จะเกี่ยวของกับการมอบหมายงาน การจัดลําดับงาน


36<br />

ภาพที่ 2-19 งานทางดานการวางแผน และผูรับผิดชอบ


37<br />

ความตองการ<br />

ของตลาด<br />

การวางแผน<br />

ผลิตภัณฑ<br />

ฝายวิจัยและ<br />

เทคโนโลยี<br />

ขอมูลคาพยากรณความ<br />

ตองการและคําสั่งซื้อ<br />

การวางแผนกระบวน<br />

การและตัดสินใจใน<br />

ดานกําลังการผลิต<br />

การวางแผนการ<br />

ปฏิบัติการรวม<br />

ขอมูลบริษัท<br />

ภายนอก<br />

ขอมูลปริมาณ<br />

สินคาคงคลัง<br />

ตารางการปฏิบัติการหลักและ<br />

การวางแผนความตองการ<br />

การวางแผนการปฏิบัติการ<br />

ในรายละเอียด<br />

ภาพที่ 2-20 ความสัมพันธของแผนการปฏิบัติการรวม


2.2.1 การจัดตารางการผลิต (Scheduling)<br />

38<br />

การจัดตารางการผลิต หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรการผลิต เชน กําลังการผลิตและวัตถุดิบ<br />

เปนตน ใหแกชิ้นงานเพื่อทําการผลิตสินคาตามที่ไดกําหนดไวแลว ผลของการจัดตารางการผลิตจะ<br />

ปรากฏออกมาใหเห็นเปนมิติทางดานเวลาของการใชกําลังการผลิตและทรัพยากรอื่นๆโดยบงบอกวาจะ<br />

ผลิตอะไร เมื่อไร โดยใคร และมีการใชอุปกรณอะไรบาง ยาวนานแคไหน เปนตน<br />

ก) วัตถุประสงคการจัดตารางผลิต<br />

1) การเพิ่มประโยชนการใชงานของหนวยงาน ซึ่งก็คือการลดชองวางของหนวยงานสําหรับกรณี<br />

ที่มีการกําหนดจํานวนงานที่แนนอน เปอรเซ็นตการใชประโยชนของหนวยงานจะเปนสัดสวน<br />

กลับกับเวลาตั้งแตเริ่มงานแรกจนกระทั่งเสร็จสิ้นงานสุดทาย<br />

2) การลดการสะสมของงานในหนวยงานตอหนวยงาน (In Process Inventory) คือ การพยายามลด<br />

จํานวนงานโดยเฉลี่ยที่คอยอยูในคิวขณะที่หนวยงานนั้นกําลังทํางานอื่นอยู<br />

3) การลดจํานวนงานที่เสร็จชากวากําหนดหรือพยายามทําใหใบสั่งงานทุกใบเสร็จในระยะเวลาที่<br />

กําหนดไว<br />

ในหลายๆสถานการณ ใบสั่งการผลิตทุกใบหรือบางใบจะกําหนดเวลาสงงาน (Due Date) หรือ<br />

เสนตาย (Deadline) และความผิดพลาดในการทําชิ้นสวนแตละชิ้นใหเสร็จสิ้นภายในชวงเวลาที่กําหนด<br />

จะทําใหตารางการผลิตหลัก (Master Scheduling) ไมถูกตองตามไปดวย มีหลายวิธีที่จะเขาสู<br />

วัตถุประสงคที่กลาวขางตนได บางวิธีสามารถลดเวลาสูงสุดของเวลาสงงานไมทันกําหนดเวลาและบาง<br />

วิธีก็สามารถลดจํานวนของงานที่สงไมทันตามกําหนด แตมีวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) ที่มี<br />

แนวโนมที่จะใหผลลัพธที่ดีในวัตถุประสงคที่ใหมา หลักเกณฑตางๆตามวิธีการสุมอยางมีเหตุผล<br />

(Heuristic) ที่กลาวตอไปนี้เปนหลักเกณฑที่นิยมใชกันอยูในปจจุบัน และหลักเกณฑที่กําหนดขึ้นเพื่อ<br />

ลดคาใชจายอยางใดอยางหนึ่งตามวัตถุประสงค 3 ขอขางตน


ข) กระบวนการจัดตารางการผลิต<br />

39<br />

การจัดตารางการผลิต ผูจัดตองพยายามจัดตารางการผลิตใหเหมาะสมเพื่อที่จะลดปญหาเรื่อง<br />

ประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องจักรซึ่งขั้นตอนการจัดตารางการผลิต สรุปไดมีดังตอไปนี้<br />

ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดงานหรือชนิดของงานใหกับหนวยผลิต (Job Assignment) เปนการกําหนดวา<br />

งานใดหรือใบสั่งผลิตใดทําโดยหนวยผลิตใดบาง ซึ่งเทคนิคตางๆที่ไดมีการนํามาใชชวยใหการกําหนด<br />

งานงายขึ้น ไดแก<br />

1) แผนภูมิภาระงาน (Loading Chart) คือ การใชแผนภูมิชวยในการกําหนดชนิดของงานใหกับ<br />

หนวยผลิต เปนวิธีที่นิยมใชในงานทั่วๆไปซึ่งจะแสดงไดเฉพาะงานที่กําลังทําเทานั้น<br />

2) แผนภูมิแกนต (Gantt Chart) คือ การใชแผนภูมิแสดงถึงการกําหนดตางๆบนหนวยผลิตแตละ<br />

หนวย แลวยังใชสําหรับการจัดรายละเอียดของตารางการผลิต และใชเปนเครื่องมือในการ<br />

ติดตามความกาวหนาของการทํางานอีกดวย ซึ่งเปนวิธีที่งายและใชกันมานานแลว โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งในกรณีที่เปนปญหาการกําหนดงานใหกับหนวยงานผลิตจํานวนไมมากนัก<br />

3) การใชตัวแบบการมอบงาน (Assignment Model) คือ ตัวแบบการมอบงานเปนปญหาโปรแกรม<br />

เชิงเสนตรงที่มีลักษณะพิเศษแบบหนึ่ง สามารถนํามาใชประยุกตกับปญหาการกําหนดชนิดของ<br />

งานใหกับหนวยผลิตได<br />

4) การใชวิธีการกําหนดดัชนี คือ การกําหนดเปาหมายของการกําหนดงาน โดยการตั้งรูปแบบของ<br />

ปญหาซึ่งขอมูลตางๆที่จะนํามาใชในการตัดสินใจกําหนดงานนั้น จะตองถูกตองและสอดคลอง<br />

กับสภาพความเปนจริง<br />

ขั้นตอนที่ 2 การประเมินปริมาณของงาน (Evaluate Work Load) เมื่อไดกําหนดลงไปแลววา<br />

หนวยงานใดบางที่ใชในการผลิต ก็ศึกษาในรายละเอียดวางานที่กําหนดใหแตละหนวยงานจะตองใช<br />

แรงงานเทาไร ใชเวลาของเครื่องจักรเทาไรและจะตองใชวัสดุชนิดใดบาง เปนจํานวนเทาไร จากนั้น<br />

จะตองเปรียบเทียบความสามารถกับหนวยงานนั้นวาสามารถทํางานตามที่กําหนดใหไดหรือไม ถาทํา<br />

ไมไดจะทําอยางไรจึงจะทําใหงานที่ผานหนวยงานนั้นๆสําเร็จลงได<br />

ขั้นตอนที่ 3 การจัดลําดับการผลิต (Sequencing) เนื่องจากบริษัทไมไดรับคําสั่งเพียงใบเดียว เมื่อมี<br />

ใบสั่งผลิตหลายๆใบจะเกิดปญหาเหมือนแถวคอย (Waiting Line) ดังนั้นจึงตองมีการจัดลําดับวางานใด<br />

ควรทํากอนและควรทําหลัง หลังจากจัดลําดับงานใหแกหนวยงานแลวหนวยผลิตแตละหนวยก็จะ


40<br />

ทํางานตามที่ไดจัดลําดับไว การจัดลําดับกอนหลังของงานหรือใบสั่งผลิตมักขึ้นอยูกับวัตถุประสงคที่<br />

ตองการ และหลักเกณฑที่ใชในการตัดสินใจ<br />

ขั้นตอนที่ 4 การจัดทํารายละเอียดตารางการผลิต (Detail Scheduling) กลาวคือ เปนการจัดทํา<br />

ตารางเวลาเพื่อแสดงวางานใดจะตองเริ่มเมื่อไหร และควรจะเสร็จเมื่อไรบนหนวยผลิตตางๆ การจัดทํา<br />

รายละเอียดของตารางการผลิตมักจะทําไปพรอมๆกับการจัดตารางการผลิตและตองคํานึงถึงเวลาซอม<br />

บํารุงเครื่องจักร เวลาหยุดการทํางาน การหยุดชะงักของเครื่องจักเนื่องจากเครื่องจักเสียหรือมีความ<br />

เสียหายเกิดขึ้น กลาวคือ ควรมีความยืดหยุนเพียงพอ การจัดแสดงรายละเอียดของตารางการผลิตอาจ<br />

แสดงไดในรูปของตารางและแผนภูมิแกนต


2.2.2 การจัดลําดับการผลิต (Sequencing)<br />

41<br />

ในหลายๆสถานการณ ใบสั่งการผลิตทุกใบหรือบางใบจะกําหนดเวลาสงงาน (Due Date) หรือ<br />

เสนตาย (Deadline) และความผิดพลาดในการทําชิ้นสวนแตละชิ้นใหเสร็จสิ้นภายในชวงเวลาที่กําหนด<br />

จะทําใหตารางการผลิตหลัก (Master Scheduling) ไมถูกตองตามไปดวย ซึ่งการจัดลําดับกอนหลังของ<br />

งานหรือใบสั่งผลิตจึงตองขึ้นอยูกับวัตถุประสงคที่ตองการเชน<br />

• เพื่อใหไดจํานวนงานลาชานอยที่สุด (Number of Tardy Jobs)<br />

• เพื่อใหมีเวลาลาชาของงานโดยเฉลี่ยต่ําที่สุด (Mean Tardiness)<br />

• เพื่อใหมีเวลาสายของงานโดยเฉลี่ยต่ําที่สุด (Mean Lateness)<br />

• เพื่อใหไดเวลาการไหลของงานโดยเฉลี่ยมีคาต่ําที่สุด (Mean Flow time)<br />

• เพื่อใหชวงกวางของเวลาการทํางานทั้งหมดนอยที่สุด (Makespan)<br />

ทั้งนี้มีหลายวิธีการจัดลําดับการผลิต (Sequence) ที่จะเขาสูวัตถุประสงคที่กลาวขางตนไดหลาย<br />

วิธี แตไมมีวิธีใดโดยเฉพาะ จึงมีวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) ที่มีแนวโนมที่จะใหผลลัพธที่ดีใน<br />

วัตถุประสงคที่ใหมา หลักเกณฑตางๆตามวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) ที่กลาวตอไปนี้เปน<br />

หลักเกณฑที่นิยมใชกันอยูในปจจุบันไดแก<br />

1) รับกอนทํากอน (First Come – First Served – FCFS / First In – First Out) งานที่เขามาที่หนวย<br />

งานหรือเครื่องจักรจะเขาแถวคอยบริการตามลําดับกอนหลังของการมาถึงที่หนวยงาน<br />

2) ทํางานที่ใชเวลานอยที่สุดกอน (Shortest Processing Time - SPT) งานใดที่ใชเวลาทํานอยที่สุด<br />

จะไดรับการจัดเขาเครื่องจักรเปนอันดับแรก<br />

3) ทํางานที่ใชเวลานานที่สุดกอน (Longest Processing Time - LPT) งานใดที่ใชเวลาทํามากที่สุด<br />

จะไดรับการจัดเขาเครื่องจักรเปนอันดับแรก<br />

4) ทํางานที่จะถึงวันกําหนดสงเร็วที่สุดกอน (Earliest Due Date - EDD)<br />

5) ทํางานที่มีเวลาเหลือสําหรับการทํางานที่นอยที่สุดกอน (Minimum Slack Time – MST / Least<br />

Slack Time - LST)<br />

6) เขาทีหลังทํากอน (Last Come – First Served – LCFS / Last In – First Out - LIFO) งานที่เขามา<br />

ในหนวยงานหลังสุดจะไดรับการจัดเขาเครื่องจักรกอนงานอื่น


42<br />

หลักเกณฑตางๆ ที่กลาวมาแลวขางตนนี้มีผลดีหรือผลเสียแตกตางกันไป ตามแตสภาพของ<br />

เงื่อนไขและสภาพแวดลอมของการผลิต ซึ่งบางสถานการณหลักเกณฑหนึ่งอาจจะใหผลลัพธที่ดีใน<br />

วัตถุประสงคหนึ่ง แตอาจจะมีผลเสียในอีกวัตถุประสงคหนึ่ง ดังนั้นกอนที่จะนําหลักเกณฑเหลานั้นไป<br />

ใช จึงตองมีการศึกษาถึงผลลัพธที่ไดเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคนั้นๆ<br />

นอกจากนี้ยังมีกฎเกณฑอื่นๆอีกที่ยังสามารถนํามาใชได โดยเฉพาะในระบบการผลิตแบบไหล<br />

เลื่อน (Flowshop)<br />

ก) ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อน (Flowshop)<br />

ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อนประกอบดวยเครื่องจักรหลายเครื่อง ที่นํามาตอกันอยางอนุกรม<br />

ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การดําเนินงานแรกจะไมมีการดําเนินงานที่ตองทํากอนหนา และมีการดําเนินงาน<br />

ที่ตามมาโดยตรงเพียงการดําเนินงานเดียวเทานั้น การดําเนินงานหลังจากนี้จะมีการดําเนินงานที่ตองทํา<br />

กอนหนาโดยตรงและการดําเนินงานที่ตามมาโดยตรงอยางละหนึ่งเทานั้น สําหรับการดําเนินงาน<br />

สุดทายจะมีการดําเนินงานกอนหนาโดยตรงเพียงหนึ่งงานและจะไมมีการดําเนินงานที่ตามมาโดยตรง<br />

ซึ่งพบวาการที่จะทํางานหนึ่งใหสําเร็จไดตองดําเนินงานทั้งหมดตามลําดับที่กําหนดใหจนหมด ใน<br />

บางครั้งเรียกโครงสรางนี้วา โครงสรางลําดับกอนหลังของการดําเนินงานแบบเชิงเสน (Linear<br />

Precedence Structure)<br />

i,1 i,2 i,m<br />

ภาพที่ 2-21 โครงสรางของงานในระบบผลิตแบบไหลเลื่อน<br />

ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อนจะประกอบดวย m เครื่องจักรที่แตกตางกันแตละงานจะ<br />

ประกอบดวย m การดําเนินงานซึ่งทําบน m เครื่องจักรที่แตกตางกัน การไหลของงานในระบบผลิต<br />

แบบไหลเลื่อนจะเปนไปในทิศทางเดียวเทานั้น ซึ่งหมายความวา สามารถกําหนดหมายเลขใหกับ<br />

เครื่องจักรโดยที่ ถาการดําเนินงาน j อยูหนาการดําเนินงาน k แลว หมายเลขของเครื่องจักรที่ใชในการ<br />

ดําเนินงานที่ j จะตองนอยกวาหมายเลขของเครื่องจักรที่ใชสําหรับทําการดําเนินงานที่ k กําหนดให<br />

เครื่องจักรในระบบผลิตแบบไหลเลื่อนถูกกําหนดหมายเลขเปน 1,2,3,…,m และการดําเนินงานของงาน<br />

i จะถูกกําหนดหมายเลขเปน (i,1), (i,2), (i,3),…, (i,m)


43<br />

ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อนสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อนบริสุทธิ์ (Pure Flow Shop) คือ งานทุกระดับงานในระบบนี้จะมี<br />

หนึ่งการดําเนินงานที่จะตองทําบนแตละเครื่องจักร ดังแสดงในภาพที่ 6ก<br />

2. ระบบการผลิตแบบไหลเลื่อนทั่วไป (General Flow Shop) คือ งานแตละงานอาจจะมีการ<br />

ดําเนินงานนอยกวาจํานวนเครื่องจักรก็ได ดังนั้นเครื่องจักรที่ใชในการทําการดําเนินงานที่อยูถัดมา<br />

โดยตรงอาจจะไมใชเครื่องจักรที่กําหนดหมายเลขใหมีคาถัดไปก็ได นอกจากนั้นแลว การดําเนินงาน<br />

เริ่มตนและการดําเนินงานสุดทายอาจจะไมเกิดขึ้นที่เครื่องจักรแรกและเครื่องจักรสุดทายก็ได ดังแสดง<br />

ดังภาพที่ 6ข<br />

Input<br />

MC1 MC2 MC3<br />

Input<br />

ก<br />

Input<br />

Output<br />

Input<br />

MC1 MC2 MC3<br />

Output<br />

Output<br />

ข<br />

Output<br />

ภาพที่ 2-22 การไหลของงานในระบบผลิตแบบไหลเลื่อน


44<br />

ข) วิธีการหาลําดับการผลิตของระบบการผลิตแบบไหลเลื่อน<br />

ปญหาของระบบการผลิตแบบไหลเลื่อน มีลักษณะปญหาเปนแบบ NP-Hard (Nonpolynomial<br />

Hard) หมายถึง ปญหาที่ใชเวลาในการหาคําตอบยาวนานและเมื่อขนาดของปญหาเพิ่มขึ้นก็จะใชเวลา<br />

ในการหาคําตอบเพิ่มขึ้นอยางเอ็กโปเนนเชียล ทําใหไมสามารถหาคําตอบที่ดีที่สุดไดในรูปแบบของตัว<br />

แบบทางคณิตศาสตรและจําเปนตองอาศัยวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic Approach)<br />

วิธีการหาคําตอบแบบสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) เหมาะสําหรับการแกปญหาที่ซับซอนและมี<br />

ขนาดใหญ โดยอาศัยการคํานวณทางคณิตศาสตรที่จํากัด นอกจากนั้นแลว ถามีการกําหนดขนาดของ<br />

ปญหามาให สามารถประมาณเวลาที่จะใชในการหาคําตอบไดอยางคอนขางจะถูกตอง ขอเสีย คือ<br />

วิธีการนี้ไมไดประกันวาจะตองไดคําตอบที่ดีที่สุด และเปนการยากที่จะประเมินถึงประสิทธิภาพของ<br />

วิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) ซึ่งที่จะกลาวถึง เปนวิธีการที่สามารถหาคําตอบไดอยางรวดเร็ว<br />

และถึงแมวาคาเวลาปดงานของระบบที่ไดอาจจะไมใชคําตอบที่ดีที่สุด แตเปนคาที่ยอมรับไดทางปฏิบัติ<br />

วัตถุประสงคของการจัดลําดับงานเขาสายการผลิตแบบการไหลของสายงาน เพื่อใหเวลาการ<br />

ทํางานเสร็จสิ้น (Makespan) นอยที่สุด<br />

การจัดลําดับของสายการผลิตแบบไหลเลื่อน เปนการจัดลําดับงาน n งาน เขาทําการผลิตบน<br />

เครื่องจักร m เครื่อง โดยลําดับงานที่เขาทําการผลิตบนเครื่องจักรแตละเครื่องเหมือนกันจํานวนคําตอบ<br />

ที่เปนไปได (Feasible Solution) จะเทากับ ( n! )m<br />

ปญหาการจัดลําดับงานของสายการผลิตแบบการไหลของสายงาน สามารถแบงออกตาม<br />

ลักษณะของขอมูลที่ใชในการจัดลําดับงานไดเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. Deterministic Flow Shop Problem เปนปญหาที่มีการตั้งสมมติฐานวาทราบคาเวลาการทํางาน<br />

(processing time) ที่แนนอนเปนคาคงที่<br />

2. Stochastic Flow Shop เปนปญหาที่ตั้งสมมติฐานวาเวลาการทํางานมีการแปรผันไปตมลักษณะ<br />

การกระจายแบบตางๆไมคงที่แนนอน


ปญหาการจัดลําดับงานของสายการผลิตแบบการไหลของสายงาน<br />

เครื่องจักรในสายการผลิตไดเปน 2 ประเภท คือ<br />

45<br />

แบงตามจํานวนของ<br />

• การจัดลําดับงานกรณีมีเครื่องจักร 2 เครื่อง (Two-Machine Flow Shop Problem)<br />

• การจัดลําดับงานกรณีมีเครื่องจักร m เครื่อง (m-Machine Flow Shop Problem)<br />

การแกปญหาการจัดลําดับการผลิตเหลานี้ มีวิธีการตางๆที่มีการพัฒนาขึ้นมา ดังนี้<br />

1) การจัดลําดับงานกรณีที่มีเครื่องจักร 2 เครื่อง<br />

ลักษณะของปญหาสําหรับกรณีนี้ คือ มีงาน n งาน เขาทําการผลิตในเครื่องจักร 2 เครื่องที่วาง<br />

เรียงกัน โดยตองผานเครื่องที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ซึ่งวัตถุประสงคของการจัดลําดับงานเพื่อใหเวลาการ<br />

ทํางานเสร็จสิ้น (Makespan) นอยที่สุด โดยกรณีที่มีเครื่องจักร 2 เครื่องจะใชกฎของจอหนสัน<br />

(Johnson’s Rule) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยจอหนสันในป 1954 เปนวิธีที่ทําใหไดคําตอบที่เปนคําตอบที่ดีที่สุด<br />

(Optimal Solution) โดยมีวัตถุประสงคในการลดเวลาในการปดงานทั้งหมดใหนอยที่สุด ซึ่งขั้นตอนการ<br />

แกปญหา คือ กําหนดใหเวลาที่ใชในการทํางาน j ที่เครื่องจักร 1 เปน t j1 และเวลาที่ใชในการทํางาน j ที่<br />

เครื่องจักรที่ 2 เปน t j2 โดยในกฎของจอหนสันนี้ งาน i จะเขากอนงาน j และอยูในลําดับที่ดีที่สุด ถา<br />

รูปแบบของงานเปนไปตามสมการที่ 1<br />

min{<br />

i1,<br />

t<br />

j2}<br />

min{ ti2,<br />

t<br />

j1}<br />

t ≤ (1)<br />

วิธีการจัดตารางการผลิตแบบจอหนสัน<br />

ขั้นตอนที่ 1: หาเวลาที่ใชในการผลิตที่นอยที่สุด สําหรับงานทุกงาน ( min{ t<br />

i1,<br />

ti2}<br />

)<br />

ขั้นตอนที่ 2a: ถาเวลาที่นอยที่สุดอยูที่เครื่องจักรที่ 1 กําหนดใหเวลาที่นอยที่สุดนั้นอยูในลําดับแรก<br />

สุดที่ยังไมมีงานอยูในลําดับนั้นๆแลวไปที่ขั้นตอนที่ 3<br />

ขั้นตอนที่ 2b: ถาเวลาที่นอยที่สุดอยูที่เครื่องจักรที่ 2 กําหนดใหเวลาที่นอยที่สุดนั้นอยูในลําดับ<br />

หลังสุดที่ยังไมมีงานอยูในลําดับนั้นๆแลวไปที่ขั้นตอนที่ 3<br />

ขั้นตอนที่ 3: เอางานที่มีการลงลําดับงานแลวออกจากการพิจารณา และกลับไปที่ขั้นตอนที่ 1<br />

จนกระทั่งทุกระดับไดรับการจัดครบถวนแลว


46<br />

2) ปญหาการจัดลําดับงานกรณีที่มีเครื่องจักร m เครื่อง<br />

ในการจัดตารางการผลิตที่มีจํานวนสถานีงานเทากับ m สถานี ไมสามารถที่จะทําไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพนักดวยวิธีการกระจายที่ควบคุมได ดังนั้นจึงตองมีการใชวิธีการอื่นๆมาใชในการ<br />

แกปญหา วิธีการบรานซแอนดบาวด (Branch and Bound) และวิธีแบบ Integer Programming จึงไดถูก<br />

นํามาใชเพื่อใหสามารถจัดตาราง สําหรับลักษณะการผลิตแบบการไหลของสายงานที่มีจํานวนสถานี<br />

งานมากๆอยางไรก็ตามวิธีการแบบบรานซแอนดบาวดนั้น ก็มีขอเสียที่หลีกเลี่ยงไมไดอยู 2 ประการ คือ<br />

มีความตองการการคํานวณที่ซับซอนมากในปญหาใหญๆและถึงแมวาปญหานั้นจะมีขนาดเล็กก็ตาม ก็<br />

ไมสามารถรับประกันไดวาผลลัพธของปญหานั้นจะไดรับมาอยางรวดเร็ว เนื่องจากปญหาประเภทนี้มี<br />

ลักษณะเปนแบบ NP-hard ทําใหตองใชเวลาในการหาคําตอบที่ยาวนาน (Mitsuo Gen, and Runwei<br />

Cheng. 1997) นอกจากนี้ยังมีการกระจายการคํานวณแบบยอยๆซึ่งการกระจายแบบยอยๆที่เพิ่มขึ้นนั้นก็<br />

จะขึ้นอยูกับขอมูลของปญหานั้นๆ ดังนั้นวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) จึงไดถูกนํามาใชเพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงขอเสีย 2 ประการดังกลาว ซึ่งสามารถสรางผลลัพธสําหรับปญหาขนาดใหญออกมาไดดวยการ<br />

คํานวณที่ไมซับซอนนัก และความตองการในการคํานวณสําหรับปญหาใดๆก็สามารถคาดการณได ซึ่ง<br />

มีวิธีการสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) เหลานี้ไดแก<br />

2.1) วิธีการของพาลเมอร (Palmer’s Heuristic Sequence)<br />

วิธีการของพาลเมอรนี้ จะใหความสําคัญกับงานที่มีแนวโนมสูงสุดในการเพิ่มเวลาที่ใชใน<br />

สถานีงานตอเนื่องตามขั้นตอนการผลิตขึ้นเรื่อยๆ คือ ใหงานที่มีเวลาการเพิ่มขึ้นตามลําดับของสถานี<br />

งานที่เขาทํางานเขาสูลําดับการผลิตกอน และงานที่มีเวลาการทํางานลดลงตามลําดับของสถานีงานที่เขา<br />

ทํางานจะถูกจัดใหเขาสูลําดับการผลิตหลัง ซึ่งมีวิธีการคํานวณไดหลายๆรูปแบบ ซึ่งพาลเมอรไดเสนอ<br />

วิธีการคํานวณดัชนีความชัน (S j ) ของแตละงาน ตามสมการที่ 2<br />

S<br />

j<br />

= ( m −1)<br />

t<br />

j, m<br />

+ ( m − 3) t<br />

j,<br />

m− 1<br />

+ ( m − 5) t<br />

j,<br />

m−2<br />

+ ... − ( m − 3) t<br />

j,2<br />

− ( m −1)<br />

t<br />

j,1<br />

(2)<br />

เมื่อ m = จํานวนสถานีงาน<br />

t<br />

j , x<br />

= เวลาที่ใชในการผลิตงาน j ที่สถานี x<br />

หลังจากมีการคํานวณดัชนีความชันของแตละงานแลว การจัดตารางก็จะถูกเรียงลําดับจากมาก<br />

ไปนอย ดังนี้<br />

S[ 1 ] ≥ S[ 2] ≥ ... ≥ S[ n]


47<br />

2.2) วิธีการของกุปตา (Gupta’s Heuristic Approach)<br />

วิธีการของกุปตาเปนการถายทอดการจัดลําดับงานในรูปแบบของการจัดตารางเรียงตามดัชนี<br />

ความชัน ในการปรับโครงสรางจากกฎของจอหนสัน วิธีการของกุปตาไดเสนอสูตรการคํานวณสําหรับ<br />

สถานีงานที่มากกวา 2 สถานีงานดัชนีความชันของงานจะถูกคํานวณตามสมการที่ 3<br />

j<br />

e<br />

j<br />

=<br />

min1 ≤ k≤m−1{<br />

t<br />

j,<br />

k<br />

+ t<br />

j,<br />

k + 1}<br />

S (3)<br />

เมื่อ e<br />

j<br />

= 1 ถาt j, 1<br />

< t<br />

j,<br />

m<br />

และ e<br />

j<br />

= (−1)<br />

ถา t<br />

j, 1<br />

≥ t<br />

j,<br />

m<br />

m = จํานวนสถานีงาน<br />

t ,<br />

= เวลาที่ใชในการผลิตงาน j ที่สถานีงาน x<br />

j x<br />

หลังจากนั้น งานก็จะถูกเรียงลําดับเหมือนวิธีของพาลเมอรโดย<br />

S[ 1 ] ≥ S[ 2] ≥ ... ≥ S[ n]<br />

2.3) วิธีการของซีดีเอส (CDS: Campbell, Dudek and Smith Heuristic Approach)<br />

วิธีการซีดีเอสเปนวิธีที่มีขอดีใน 2 จุดคือ วิธีนี้ใชกฎของจอหนสันในรูปแบบของการจําแนก<br />

แยกแยะ และวิธีนี้จะสรางตารางหลายๆแบบ ซึ่งสามารถเลือกแบบที่ดีที่สุดได<br />

วิธีการซีดีเอส เปนการใชกฎของจอหนสันในหลายๆขั้นตอน ซึ่งจะเริ่มประยุกตกับเวลาที่ตอง<br />

ใชในการผลิตในกระบวนการแรกสุดและหลังสุดกอน โดยแผนการผลิตที่ 1 จะหาจากสูตร<br />

t ' = t<br />

j1<br />

j,1<br />

t '<br />

j 2<br />

= t<br />

j,<br />

m<br />

แผนการผลิตที่ 2 จะบวกเวลาที่ตองใชในการผลิตในสถานีงานแรกสุดและหลังสุดดวยเวลาที่ตอง<br />

ใชในสถานีงานที่ 2 และสถานีกอนหลังสุดเขาไปตามลําดับ โดยจะได<br />

t ' = t + t<br />

t<br />

j1<br />

j,1<br />

j,2<br />

'<br />

j 2<br />

= t<br />

j,<br />

m<br />

+ t<br />

j,<br />

m−1<br />

ซึ่งจากสูตรเหลานี้ จะสามารถสรุปสูตรการคํานวณไดตามสมการที่ 4 และ 5


48<br />

แผนการผลิตที่ I t' j1<br />

= ∑t<br />

j,<br />

k<br />

(4)<br />

t<br />

i<br />

k = 1<br />

i<br />

'<br />

j2<br />

= ∑t<br />

j,<br />

m−k<br />

+ 1<br />

(5)<br />

k = 1<br />

(i = 1, 2, …, m-1)<br />

เมื่อ m = จํานวนสถานีงาน<br />

t ,<br />

= เวลาที่ใชในการผลิตงาน j ที่สถานีงาน x<br />

j x<br />

สามารถสรุปขั้นตอนของวิธี CDS ไดดังนี้<br />

ขั้นตอนที่ 1 ให k=1 แลวทําการคํานวณหาคา t ' j 1<br />

และ t ' j 2<br />

โดยใชสมการที่ 4 และ 5<br />

ขั้นตอนที่ 2 จัดตารางเวลางาน n ชนิด โดยใชกฎของจอหนสัน แลวคํานวณคาเวลาเสร็จสิ้น<br />

(Makespan)<br />

ขั้นตอนที่ 3 ถา k = m-1ใหหยุด แตถา k ยังไมเทากับ m-1 ใหเพิ่มคา k อีก 1 แลวกลับไปทําขั้นตอน 1<br />

หลังจากมีการจัดตารางทั้งหมด m-1 ขั้นตอนแลว ก็จะเลือกขั้นตอนที่มีเวลาที่งานตัวสุดทาย<br />

เสร็จเร็วที่สุด (Minimum Makespan) มาเปนผลลัพธสําหรับการจัดตารางจริง<br />

2.4) อัลกอริทึม HFMECA<br />

อัลกอริทีม HFMECA (Hybrid Flowshop under Machine Eligibility Constraint Algorithm) ถูก<br />

พัฒนาขึ้นโดยโดยอาศัยธรรมชาติของสายการผลิตตอเนื่องแบบผสมและกฎการจัดลําดับงานพื้นฐานคือ<br />

Shortest Processing Time Rule (SPT rule) นั่นคือ HFMECA เปนการจัดลําดับงานโดยแบงงาน<br />

ออกเปน 2 กลุมคือ กลุมงานที่มีเงื่อนไขและกลุมงานที่ไมมีเงื่อนไข กลาวคือ เนื่องจากโดยทั่วไปแลว<br />

เครื่องจักรในสถานีงานเดียวกันบางเครื่องจักร มีเงื่อนไขหรือความเหมาะสมในการผลิตงานที่แตกตาง<br />

กัน เชนบางเครื่องจักรสามารถผลิตสินคาไดเฉพาะกลุมหรือมีขอจํากัดในดานของขนาดและรูปแบบ ซึ่ง<br />

ทําใหการจัดลําดับงานตองมีเงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับกลุมงานที่จําเปนตองผลิตภายใตเครื่องจักรใดๆ<br />

เทานั้น ซึ่งเรียกวากลุมงานที่มีเงื่อนไข สําหรับกลุมงานที่ไมมีเงื่อนไขคือกลุมงานที่สามารถผลิตภายใต<br />

เครื่องจักรทุกประเภทซึ่งสามารถจัดกลุมงานดังกลาวนี้ไดอยางไมมีเงื่อนไข


รายละเอียดของ HFMECA<br />

49<br />

ตัวแปรและสัญลักษณที่ใชในการสราง HFMECA แสดงไดดังนี้<br />

i, j<br />

= ดัชนีของผลิตภัณฑ<br />

M '(<br />

j,<br />

s)<br />

= เซตของเครื่องจักรในสถานีงานที่ s ที่มีขอยกเวนในการผลิตสําหรับงาน j<br />

U = เซตของงานที่ไมมีเงื่อนไขในการผลิต (unrestricted jobs) นั่นคืองานเหลานี้<br />

สามารถผลิตบนเครื่องจักรใดก็ไดในที่สถานีงานใดๆ<br />

R = เซตของงานที่มีเงื่อนไขในการผลิต (restricted jobs) นั่นคืองานเหลานี้จะไม<br />

สามารถผลิตไดสําหรับในบางเครื่องที่สถานีงานใดๆ<br />

R<br />

1<br />

= เซตของงานในเซต R ที่มีเวลารวมของการผลิตจากสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงาน<br />

กอนสุดทายที่มีคานอยกวาหรือเทากับคานอยที่สุดของงานในเซต U ที่มีเวลารวม<br />

ของการผลิตสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงานกอนสุดทาย<br />

⎪⎧<br />

S −1<br />

⎛<br />

S −1<br />

= ⎨i<br />

∑t<br />

≤ Min⎜<br />

∑t<br />

S = 1; j∈R<br />

⎪⎩<br />

⎝ S = 1; j∈U<br />

( j,<br />

m,<br />

s) ( j,<br />

m,<br />

s)<br />

R<br />

2<br />

= เซตของงานในเซต R ที่มีเวลารวมของการผลิตจากสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงาน<br />

กอนสุดทายที่มีคามากกวาคานอยที่สุดของงานในเซต U ที่มีเวลารวมของการ<br />

ผลิตสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงานกอนสุดทาย<br />

⎪⎧<br />

S −1<br />

⎛<br />

S −1<br />

= ⎨i<br />

∑t<br />

> Min⎜<br />

∑t<br />

S = 1; j∈R<br />

⎪⎩<br />

⎝ S = 1; j∈U<br />

( j,<br />

m,<br />

s ) ( j,<br />

m,<br />

s )<br />

A = เซตของงานในเซต R<br />

1<br />

ที่มีเวลารวมของการผลิตจากสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงาน<br />

กอนสุดทายที่มีคานอยที่สุด<br />

⎪⎧<br />

⎛<br />

S<br />

= ⎨ = ⎜<br />

∑ − 1<br />

i i Min t<br />

⎪⎩ ⎝ S = 1; j∈R<br />

( j,<br />

m,<br />

s )<br />

⎞⎪⎫<br />

⎟<br />

⎬<br />

⎠⎪⎭<br />

B = เซตของงานในเซต U ที่มีเวลารวมของการผลิตจากสถานีงานที่ 1 ถึงสถานีงาน<br />

กอนสุดทายที่มีคานอยที่สุด<br />

⎪⎧<br />

⎛<br />

S<br />

= ⎨ = ⎜<br />

∑ − 1<br />

i i Min t<br />

⎪⎩ ⎝ S = 1; j∈U<br />

( j,<br />

m,<br />

s )<br />

⎞⎪⎫<br />

⎟<br />

⎬<br />

⎠⎪⎭<br />

⎞⎪⎫<br />

⎟<br />

⎬<br />

⎠⎪⎭<br />

⎞⎪⎫<br />

⎟<br />

⎬<br />

⎠⎪⎭


50<br />

C = เซตของงานในเซต R<br />

2<br />

ที่เปนงานที่เปนเงื่อนไขของสถานีงานสุดทาย (สถานีงาน<br />

s) หากไมมีงานที่เปนเงื่อนไขของสถานีงานสุดทายใหเลือกงานที่เปนเงื่อนไขของ<br />

สถานีงานกอนสุดทาย (สถานีงาน s-1) แตถาไมมีงานที่เปนเงื่อนไขของสถานีงาน<br />

กอนสุดทายก็ใหเลือกงานที่เปนเงื่อนไขของสถานีงานที่ s-2 ดังนี้ไปเรื่อยๆ<br />

การทํางานของ HFMECA สามารถแบงออกเปน 9 ขั้นตอน ซึ่งแสดงรายละเอียดไดดังนี้<br />

ขั้นตอนที่ 1: แบงงานออกเปน 2 กลุม คือ กลุมงานในเซต R และเซต U จากนั้นไปทําตอใน<br />

ขั้นตอนที่ 2<br />

ขั้นตอนที่ 2: ตรวจสอบวา R = ∅ หรือไม ถาใช ใหนํางานในเซต U มาจัด โดยขามไปทํา<br />

ขั้นตอนที่ 6 ถาไมใช ใหจัดงานในเซต R กอน โดยทําตอในขั้นตอนที่ 3<br />

ขั้นตอนที่ 3: แบงงานในเซต R เปน 2 เซต คือ เซต R1<br />

และเซต R 2<br />

จากนั้นไปทําตอในขั้นตอนที่ 4<br />

ขั้นตอนที่ 4: ตรวจสอบวา R1<br />

= ∅ หรือไม ถาใช ใหขามไปทําขั้นตอนที่ 6 ถาไมใช ใหจัดงานใน<br />

เซต R1<br />

กอนโดยทําตอในขั้นตอนที่ 5<br />

ขั้นตอนที่ 5: นํางานในเซต R<br />

1<br />

มาจัดลําดับในการผลิต โดยมีขั้นตอนยอยดังนี้<br />

5.1 เลือกงานเพื่อประกอบเปนเซต A จากนั้นไปทําตอที่ขั้นตอนที่ (5.2)<br />

5.2 ตรวจสอบดูวามีจํานวนงานในเซต A มากกวา 1 งานที่แตกตางกันหรือไม ถามีงานใน<br />

เซต A มากกวา 1 งานใหทําตอในขั้นตอนที่ (5.3) แตถาไมมีใหขามไปทําที่ขั้นตอนที่<br />

(5.4)<br />

5.3 ตรวจสอบดูวาสถานีงานสุดทาย (สถานีงาน s) มีงานในเซต A หรือไม ถามีใหไป<br />

ขั้นตอนที่ (5.4) ถาไมมีใหตรวจสอบดูวาสถานีงาน (สถานีงาน s-1) มีงานในเซต A<br />

หรือไม ถาไมใหตรวจสอบดูวาสถานีงาน s-2 มีงานในเซต A หรือไม โดยทํา<br />

กระบวนการนี้ไปเรื่อยๆจนพบงานในเซต A จากนั้นใหไปขั้นตอนที่ (5.4)<br />

a a Min t เขาผลิตกอน ถายังมีงานมากกวา 1 งานที่ให<br />

5.4 ใหเลือกงาน ; = (<br />

j,<br />

m,<br />

s=<br />

1<br />

)<br />

j∈A<br />

คา ( t )<br />

Min เทากัน ใหเลือกงานไหนเขาผลิตกอนก็ไดจากนั้นไปทําขั้นตอนที่ 5.5<br />

j∈A<br />

j, m,<br />

s=<br />

1


51<br />

5.5 จัดงาน a เขาผลิตบนเครื่องจักร<br />

m; m ∈ M '( j,<br />

s)<br />

ที่ทําใหเวลาแลวเสร็จของงานที่ต่ํา<br />

ที่สุด ถา M '( j,<br />

s)=<br />

∅ ใหจัดงาน a เขาผลิตบนเครื่องจักรใดก็ไดที่ทําใหเวลาแลว<br />

เสร็จของงานที่ต่ําที่สุด จากนั้นไปทําตอในขั้นตอนที่ (5.6)<br />

5.6 Update เซต R<br />

1<br />

โดย R = 1<br />

R1<br />

/{ a}<br />

จากนั้นยอนกลับไปทําขั้นตอนที่ 4<br />

ขั้นตอนที่ 6: ตรวจสอบวา U = ∅ หรือไม ถาใชใหขามไปทําขั้นตอนที่ 8 ถาไมใชใหทําตอใน<br />

ขั้นตอนที่ 7<br />

ขั้นตอนที่ 7: นํางานในเซต U มาจัดลําดับ ซึ่งมีขั้นตอนยอยดังนี้<br />

7.1 เลือกงานเพื่อประกอบเปนเซต B<br />

7.2 ตรวจสอบดูวามีจํานวนเซตใน B มากกวา 1 งานที่แตกตางกันหรือไม ถามีจํานวนงาน<br />

ในเซต B ที่แตกตางกันมากกวา 1 งานใหทําตอในขั้นตอนที่ (7.3) แตถาไมมีใหขาม<br />

ไปที่ขั้นตอนที่ (7.4)<br />

b b Min t เขาผลิตกอน ถายังมีงานมากกวา 1 งานที่ใหคา<br />

7.3 ใหเลือกงาน ; = (<br />

j,<br />

m,<br />

s=<br />

1<br />

)<br />

j∈B<br />

( t )<br />

Min<br />

j, m,<br />

s=<br />

1<br />

เทากัน ใหเลือกงานไหนเขาผลิตกอนก็ไดจากนั้นไปทําขั้นตอนที่ (7.4)<br />

j∈B<br />

7.4 จัดงาน b เขาผลิตบนเครื่องจักร m; m ∈ M '( j,<br />

s)<br />

ที่ทําใหเวลาแลวเสร็จของงานที่ต่ํา<br />

ที่สุด ถา M '( j,<br />

s)=<br />

∅ ใหจัดงาน a เขาผลิตบนเครื่องจักรใดก็ไดที่ทําใหเวลา แลว<br />

เสร็จของงานที่ต่ําที่สุดจากนั้นไปทําตอในขั้นตอนที่ (7.5)<br />

7.5 Update เซต U โดย U = U /{ b}<br />

จากนั้นยอนกลับไปทําขั้นตอนที่ 6<br />

ขั้นตอนที่ 8: ตรวจสอบวา R2<br />

=<br />

ขั้นตอนที่ 9<br />

∅ หรือไม ถาใชจบการจัดลําดับงาน ถาไมใชใหไปทําตอใน<br />

ขั้นตอนที่ 9: นํางานในเซต<br />

2<br />

R มาจัดลําดับ ซึ่งมีขั้นตอนยอย ดังนี้<br />

9.1 เลือกงานเพื่อประกอบเปนเซต C จากนั้นไปทําตอที่ขั้นตอนที่ (9.2)<br />

9.2 ตรวจสอบดูวามีจํานวนงานในเซต C มากกวา 1 งานที่แตกตางกันหรือไม ถามีงานใน<br />

เซต C มากกวา 1 งานใหทําตอในขั้นตอนที่ (9.3) แตถาไมมีใหขามไปทําขั้นตอนที่<br />

(9.4)


⎛<br />

s 1<br />

52<br />

⎞<br />

9.3 ใหเลือกงาน = ⎜<br />

∑ − c;<br />

c Min t( )⎟ ⎟ j,<br />

m,<br />

s<br />

เขาผลิตกอน ถายังมีงานมากกวา 1 งานที่ให<br />

⎝ s=<br />

1, j∈R2<br />

⎠<br />

⎛<br />

s−<br />

∑<br />

คา ⎜<br />

t( )⎟ ⎟ j,<br />

m,<br />

s<br />

⎝ s=<br />

1, j∈R2<br />

⎠<br />

⎞<br />

1<br />

Min เทากันใหเลือกงาน c; c = Min( t<br />

j,<br />

m,<br />

s=<br />

1<br />

)<br />

j∈C<br />

มากกวา 1 งานที่ใหคา ( t )<br />

j∈C<br />

j, m,<br />

s=<br />

1<br />

เขาผลิตกอน ถายังมีงาน<br />

Min เทากัน ใหเลือกงานไหนเขาผลิตกอนก็ได จากนั้น<br />

ไปทําตอในขั้นตอนที่ (9.4)<br />

9.4 จัดงาน c เขาผลิตบนเครื่องจักร m; m ∈ M '( j,<br />

s)<br />

ที่ทําใหเวลาแลวเสร็จของงานที่ต่ํา<br />

ที่สุดถา M '( j,<br />

s)=<br />

∅ ใหจัดงาน c เขาผลิตบนเครื่องจักรใดก็ไดที่ทําใหเวลาแลว<br />

เสร็จของงานที่ต่ําที่สุดจากนั้นไปทําตอในขั้นตอนที่ (9.5)<br />

9.5 Update เซต R2โดย R = 2<br />

R2<br />

/{ c}<br />

จากนั้นยอนกลับไปทําขั้นตอนที่ 8


2.3 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

2.3.1 การจําลองแบบปญหา<br />

53<br />

การจําลองแบบปญหา (Simulation) เปนวิธีหนึ่งซึ่งใชในกระบวนการแกปญหาในดานตางๆ ที่<br />

ไดรับความสนใจและนํามาใชแกปญหาในหลายสาขาวิชาชีพอยางแพรหลายในปจจุบัน โดยเปนการ<br />

จําลองระบบงานจริงแลวดําเนินการใชแบบจําลองนั้นเพื่อการเรียนรูพฤติกรรมของระบบงาน และเพื่อ<br />

ประเมินผลการใชวิธีการตางๆในการดําเนินงานของระบบภายใตขอกําหนดที่วางไว (ศิริจันทร ทอง<br />

ประเสริฐ, 2536)<br />

การจําลองแบบปญหานั้นเปนเครื่องมือซึ่งใชบอกผลลัพธที่เกิดจากระบบ ภายใตเงื่อนไขที่<br />

กําหนดไว ผลที่ไดจากการจําลองแบบปญหานั้นอาจนําไปใชไดโดยตรงหรืออาจตองนําไปวิเคราะหตอ<br />

ยอด ซึ่งเปนวิธีที่ชวยใชในการแกปญหาการดําเนินงานของระบบได ดังนั้นเมื่อเกิดปญหาขึ้นจึงตอง<br />

วิเคราะหปญหานั้นกอนเพื่อหาเครื่องมือที่จะเขาไปชวยแกไข การใชแบบจําลองเพื่อเปนตัวแทนของ<br />

ระบบงานจริงในการทดลองการแกปญหาจะชวยลดคาใชจาย ประหยัดเวลาการแกปญหาและสามารถที่<br />

จะทําการทดลองกับเงื่อนไขไดหลายรูปแบบเมื่อเทียบกับการทดลองแกปญหากับระบบงานจริง รวมถึง<br />

การทดลองแกปญหากับระบบงานจริงนั้นเปนการยากที่จะควบคุมเงื่อนไขตางๆ ซึ่งอาจสงผลใหการ<br />

ดําเนินงานของระบบงานจริงขัดของได นอกจากนั้นยังเปนการทดลองสมมติฐานเพื่อทํานายผลที่อาจ<br />

เกิดขึ้นในระบบที่สนใจ ซึ่งจะเปนประโยชนอยางมากในการวางแผน การวิเคราะห และการแกปญหา<br />

การวิเคราะหและจําลองสถานการณแบบปญหามีการประยุกตใชหลายดาน ทั้งในดานของ<br />

อุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมการบริการ ซึ่งผลที่ไดพบวาการจําลองแบบปญหาชวยในการ<br />

แกไขและปรับปรุงระบบการทํางานไดเปนอยางดี ในสวนของอุตสาหกรรมการผลิต การจําลองแบบ<br />

ปญหาสามารถนําไปใชไดในหลากหลายกิจกรรมของการผลิต ตั้งแตการนําเขา (Input) กระบวนการ<br />

ผลิต (Process) การนําออกหรือการสงมอบผลิตภัณฑ (Output) ซึ่งรวมไปถึงกิจกรรมที่สนับสนุน<br />

กระบวนการผลิต กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการนําเขาที่สําคัญไดแก การบริหารคลังวัตถุดิบและสินคา<br />

(Gregory R. Clay et al., 1997) โดยวิเคราะหวิธีการจัดการหวงโซอุปทานในสวนการใหบริการของ<br />

บริษัทผูผลิตรถยนต รวมไปถึงสวนของการขนยายจากคลังสินคาไปยังผูสงมอบ และจากผูสงมอบไปยัง<br />

ผูสงมอบรายถัดไป โดยอาศัยการจําลองสถานการณมาชวยในการพยากรณการขนยายสินคาและการ<br />

จัดการกับระดับสินคาคงคลัง โดยมีเปาหมายเพื่อลดระดับสินคาคงคลังใหเหลือนอยที่สุดและหาวิธีการ<br />

ที่ดีที่สุดในการควบคุมคลังสินคา สําหรับการจําลองสถานการณการผลิต (สุนทร เพิ่มศิริพันธ, 2540) ใช


54<br />

การจําลองสถานการณเพื่อหาเวลามาตรฐานและเลือกเวลามาตรฐานที่ดีที่สุด พรอมทั้งศึกษาแนว<br />

ทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ซึ่งแบบจําลองสามารถหาทาง<br />

เลือกที่ดีที่สุดที่สามารถลดเวลาการผลิต ลดความแปรปรวนของระบบ ลดจํานวนสถานีในการผลิตลง<br />

ลดเวลาในการขนยายงานระหวางสถานี และปรับปรุงกระบวนการผลิต เชนเดียวกับ การสราง<br />

แบบจําลองระบบการผลิต เพื่อแสดงคาเวลาเฉลี่ยในกระบวนการผลิตและเปอรเซ็นตการใชงานของ<br />

เครื่องจักร หาปญหาคอขวดที่เกิดขึ้นในระบบรวมทั้งปญหาของระบบการผลิตที่ตองการแกไขเพื่อให<br />

ระบบดีขึ้น (ทองอินทร มัตตะวงษและคณะ, 2546) โดยทําการสรางแบบจําลองที่มีลักษณะคลายกับผัง<br />

โรงงานจริง จากนั้นหาแนวทางปรับปรุงกระบวนการผลิตดังกลาว ทั้งนี้กระบวนการผลิตจะประสบ<br />

ความสําเร็จไดตองไดรับการสนับสนุนจากกิจกรรมอื่นๆ เชน การวางผังโรงงานหรือเครื่องจักร<br />

(Chaiporn Vongpisul et al., 2005) ซึ่งไดมีการนําเอาโปรแกรมทางคอมพิวเตอรมาชวยในการแกปญหา<br />

การวางผังของเครื่องจักร โดยสรางเปนแบบจําลองสถานการณขึ้นมา มีเปาหมายเพื่อลดตนทุนในการ<br />

ขนยายสินคา การใชเครื่องจักรใหเกิดประโยชนสูงสุดและศึกษาเวลาในการไหลของสินคารวมถึงงาน<br />

ในกระบวนการผลิตเพื่อกอใหเกิดผลผลิตมากที่สุด ซึ่งแบบจําลองที่ไดแสดงใหเห็นวาสามารถปรับปรุง<br />

การทํางานตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดทําระบบบํารุงรักษาเครื่องยนต การวางแผนการ<br />

แกปญหาของการวางแผนการผลิตโดยใชการจําลองสถานการณ (Robert Gatland et al., 1997) เพื่อ<br />

กําหนดขอบเขตและเปาหมายของการจัดทําระบบ ซึ่งการจําลองสถานการณจะทําใหทราบถึงความ<br />

สามารถของการบํารุงรักษาเครื่องยนตเทียบกับความสามารถของการบํารุงรักษา ณ ปจจุบัน โดยแบบ<br />

จําลองสามารถทดลองบรรทุกเครื่องยนตซึ่งจะทําใหทราบถึงรอบระยะเวลาที่ตองซอมแซมได สําหรับ<br />

กิจกรรมการสงมอบสินคาใหกับลูกคาก็สามารถนําแบบจําลองไปประยุกตใช เชน การจัดระบบขนสง<br />

สินคาใหกับลูกคา (Guilherme Ernani Vieira, 2004) โดยพัฒนาระบบเพื่อชวยในการบริหารจัดการ<br />

ระบบโลจิสติกส โดยการประเมินหวงโซอุปทาน ซึ่งใชการจําลองสถานการณทางคอมพิวเตอรในการ<br />

ควบคุมความตองการที่แทจริงของลูกคา ซึ่งแตละครั้งเกิดความแปรปรวนของความตองการรวมถึงเปน<br />

ตัวชวยควบคุมระดับของสินคาคงคลัง และการใหบริการใหดีที่สุด<br />

ในสวนของอุตสาหกรรมการบริการ ไดมีการทดลองสรางแบบจําลองการเขารับการตรวจของ<br />

ผูปวยที่แผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยซินซินาติ (M.L. Wong และ A.A. Houshmand,<br />

1999) โดยทําการเก็บขอมูลในสวนของอัตรากําลังคนของแผนกตางๆ และคาใชจายของผูปวยหนึ่งราย<br />

ของแผนกตางๆเพื่อใหใชประโยชนจากแบบจําลองสูงสุด ผลการศึกษาพบวาระยะเวลาการรอคอยของ<br />

ผูปวยในระบบลดลงและการสูญเสียคาใชจายในสวนคาจางบุคลากรลดลงเชนกัน เชนเดียวกับโรง


55<br />

พยาบาลศรีวิชัย 3 (มงคล วณิชภักดีเดชา, 2545) ซึ่งทําการศึกษาการใชแบบจําลองระบบแถวคอย เพื่อ<br />

วิเคราะหหาทางเลือกที่เหมาะสม ในการลดเวลาการรอคอยในแถวของแผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลศรี<br />

วิชัย 3 ซึ่งเปนโรงพยาบาลของภาคเอกชน โดยมุงหมายเพื่อใหผูปวยใชเวลาอยูในระบบนอยที่สุดและ<br />

แพทยใชเวลาทํางานอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด แลวไดนําผลการวิเคราะหเสนอใหกับโรงพยาบาล<br />

เพื่อทําการวิเคราะหตอไป<br />

การจําลองแบบปญหาดวยระบบคอมพิวเตอร เปนที่นิยมใชที่สุดในการใชจําลองแบบปญหา<br />

เนื่องจากสามารถใชไดกับปญหาของระบบงานไดหลายประเภท ไมวาจะเปนระบบงานบริการหรือการ<br />

ผลิต โปรแกรมอารีนาเปนโปรแกรมหนึ่งที่ใชกันอยางแพรหลายเนื่องมาจากเปนโปรแกรมที่สามารถ<br />

จําลองสถานการณไดใกลเคียงกับระบบงานจริง รวมทั้งเปนโปรแกรมที่มีความซับซอนไมมากนัก<br />

สามารถเขาใจไดงาย สะดวกตอการใชงาน และมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวทําใหระบบการจําลอง<br />

สถานการณนั้นเขาใจไดมากขึ้น<br />

โปรแกรมอารีนาไดถูกนําไปใชงานที่หลากหลายวัตถุประสงค โดยเฉพาะการลดระยะเวลาการ<br />

รอคอยซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือการบริการได หรือแมกระทั่งการนําโปรแกรมอารีนา<br />

มาชวยในการวางแผนกลยุทธ (Mesut Ozgurler et al., 2003)โดยใชจัดการวัสดุคงคลังแบบตางๆ<br />

แกปญหาคุณภาพของสมดุลการผลิต ชวยในการตัดสินใจการวิเคราะหระบบรวมถึงวางผังโรงงานใหม<br />

ผลที่ไดแสดงใหเห็นภาพปญหาตางๆไดอยางชัดเจนขึ้น ทั้งเห็นภาพปริมาณวัตถุดิบละสินคาที่อยูใน<br />

สมดุลสายการผลิต หรือการสรางสายการผลิตแบบลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (อธิป เอื้อทรง<br />

ธรรม และคณะ, 2548) โดยใชโปรแกรมอารีนาเพื่อหาแนวทางการสรางสายการผลิตแบบลีน เพื่อลด<br />

การรอคอยของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสในสายการผลิตและเพื่อลดระยะเวลาในการผลิตสินคา มีแนวทาง<br />

ในการแกปญหาแบงเปน การเพิ่มกําลังคน และนําอุปกรณการตรวจสอบอัตโนมัติมาใช เพื่อนําไปสูการ<br />

ตัดสินใจในการแกปญหาที่เหมาะสมและรวดเร็ว สําหรับการเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการ (ปญญ<br />

พัฐน ลีอังกูลเสถียร และคณะ,2545) ไดใชเทคนิคการจําลองแบบปญหา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

กระบวนการผลิต และการดําเนินงานการบริการแกผูปวยแผนกผูปวยนอกของโรงพยาบาลสันกําแพง<br />

จังหวัดเชียงใหม ดวยโปรแกรมอารีนาโดยนําเสนอแนวทางในการแกปญหาออกเปน 3 กรณี คือ ปรับ<br />

ตารางการตรวจของแพทย เพิ่มพยาบาลในสวนการใหคําปรึกษาหลังจากพบแพทยและนําทั้งสองกรณี<br />

ขางตนมาทําพรอมกัน ซึ่งคําตอบจากการเพิ่มประสิทธิภาพจากแบบจําลองทั้งหมดปรากฏวา การจัด<br />

ตารางการทํางานของแพทยใหมจะมีความคุมคามากที่สุดและไดประสิทธิภาพการทํางานที่ดีขึ้น


56<br />

นอกจากนั้นโปรแกรมอารีนายังใชเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผังโรงงาน (สมชาติ พงษ<br />

มณี และคณะ, 2547) โดยวิเคราะหเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตระหวางผังโรงงานเดิมและผัง<br />

โรงงานใหมของบริษัท ซีเอ็มดี วูดเด็น โปรดักส จํากัด ทั้งนี้เพื่อเลือกผังโรงงานที่มีประสิทธิภาพมาก<br />

ที่สุด หรือเพื่อวัตถุประสงคในการคัดเลือกวัตถุดิบ (สายธาร กลิ่นลูกอิน และคณะ,2548) ซึ่งนําเทคนิค<br />

การจําลองสถานการณโดยใชโปรแกรมอารีนามาใชในการคัดเลือกวัตถุดิบที่จะเปนกลยุทธในการสราง<br />

โซอุปทานของโรงงานตัวอยาง ผลที่ไดจากการจําลองสถานการณทําใหเห็นถึงปจจัยหรือวัตถุดิบที่มี<br />

ผลกระทบตอระยะเวลาในการสงมอบผลิตภัณฑ เชนเดียวกับการนําไปใชเพื่อควบคุมคลังวัสดุ (S.C.L.<br />

Koh and S.M. Saad,2003) ที่นําเอาโปรแกรม อารีนามาใชในการจําลองสถานการณในการควบคุมการ<br />

วางแผนวัสดุคงคลัง ตั้งแตวัสดุที่นําเขามาจนถึงผลิตภัณฑที่ไดเปนลําดับสุดทายภายใตความไมแนนอน<br />

ในการผลิต โดยการแกไขตองลดความลาชาที่เกิดจากวัตถุดิบเขาและจากการผลิตรวมถึงควบคุมการใช<br />

วัสดุคงคลังใหสมดุลมากที่สุด<br />

2.3.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดตารางการผลิต<br />

การจัดตารางการผลิต (Scheduling) ในกระบวนการผลิตมีความสําคัญตอระบบการผลิตใน<br />

อุตสาหกรรมเปนอยางยิ่ง องคกรที่จะสามารถแขงขันไดในตลาดจําเปนตองมีการบริหารและการจัดการ<br />

ระบบการผลิตใหมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุนสูง และมีตนทุนการผลิตต่ํา เพื่อใหสามารถรองรับการ<br />

เปลี่ยนแปลงของตลาดทั้งรูปแบบและปริมาณไดเปนอยางดี การจัดลําดับการผลิต (Sequencing) เปน<br />

กิจกรรมหนึ่งที่สําคัญในขั้นตอนของการจัดตารางการผลิต ซึ่งความยุงยากซับซอนโดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

เมื่อจํานวนผลิตภัณฑที่จะผลิตมีหลายชนิด ในสายการผลิตที่มีจํานวนสถานีงานมากกวาหนึ่งสถานีงาน<br />

ซึ่งการแกปญหาดังกลาวจะทําไดโดยใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรซึ่งพบวา เมื่อเปนปญหาขนาดใหญ<br />

ที่มีตัวแปรและขอจํากัดเปนจํานวนมาก แบบจําลองทางคณิตศาสตรจึงไมเหมาะสมที่จะใชในทาง<br />

ปฏิบัติวิธีการหาคําตอบแบบสุมอยางมีเหตุผล (Heuristic) ซึ่งเหมาะสําหรับการแกปญหาที่ซับซอนและ<br />

มีขนาดใหญ โดยอาศัยการคํานวณทางคณิตศาสตรที่จํากัด ใชในการหาคําตอบไดอยางคอนขางจะ<br />

ถูกตอง แตไมไดประกันวาจะตองไดคําตอบที่ดีที่สุด<br />

วิธีการหาคําตอบแบบฮิวริสติก สําหรับปญหาของการจัดตารางการผลิตสําหรับระบบการผลิต<br />

แบบไหลเลื่อนเพื่อหาคาเวลาปดงานของระบบที่นอยที่สุด ซึ่งฮิวริสติกประเภทที่ทําใหเกิดลําดับ ไดแก<br />

วิธีการของ Johnson คือ ตําแหนงตางๆของลําดับงานที่ดีที่สุดจะถูกระบุโดยใชกลไกแบบผานครั้งเดียว<br />

(Single Pass Mechanism) โดยแตละขั้นของการตัดสินใจนั้นกลไกจะระบุวา งานที่กําลังพิจารณาควรจะ


57<br />

ถูกจัดใหอยูในตําแหนงแรกหรือตําแหนงสุดทายในตําแหนงทั้งหมดที่เหลืออยู ซึ่งไดทําการพิสูจนแลว<br />

วา สามารถหาคาเวลาปดงานของระบบที่ดีที่สุดไดสําหรับปญหาขนาด 2 และ 3 เครื่องจักร สําหรับ<br />

ปญหาที่มีมากกวา 3 เครื่องจักร วิธีฮิวริสติกประเภทที่ทําใหเกิดลําดับไดแก วิธีการของ Palmer โดย<br />

กําหนดความสําคัญใหกับงาน ตามแนวโนมที่จะดําเนินการไปขางหนาจากเวลาที่สั้นที่สุดไปสูเวลาที่<br />

นานที่สุดในลําดับของการดําเนินงาน วิธีการของ Gupta เปนการนําแนวคิดของ Johnson มาประยุกตใช<br />

กับปญหาขนาดมากกวา 3 เครื่องจักร วิธีการของ Campbell, Dudek และ Smith เสนอวิธีฮิวริสติก CDS<br />

โดยใชแนวคิดเดียวกับ Johnson โดยการสรางตารางจํานวนมากขึ้นมาเพื่อผูตัดสินใจจะเลือกตารางที่ดี<br />

ที่สุดได และ Nawaz, Enscore และ Ham เสนอวิธีฮิวริสติก NEH โดยมีสมมติฐานวางานที่มีเวลาการ<br />

ดําเนินการรวมจากทุกสถานีงานมากกวา จะมีสิทธิกอนงานที่มีเวลาการดําเนินการรวมนอยกวาซึ่งเปน<br />

วิธีฮิวริสติกประเภทที่ทําใหเกิดลําดับที่ดีที่สุด ดวยฮิวริสติกเดียวกันไดมีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ<br />

ของวิธีการฮิวริสติก ในการหาคาที่ดีที่สุดของการจัดตารางการผลิตภายใตสถานการณที่ทุกงานผาน<br />

เครื่องจักรหลายเครื่องและมีกระบวนการผลิตที่เหมือนกัน (Pongchanun and Atipon, 2004) โดย<br />

จุดประสงคเพื่อจัดลําดับการผลิตเพื่อเปรียบเทียบหาเวลาปดงานที่นอยที่สุดจาก 5 ฮิวริสติก คือ Gupta,<br />

Campbell Dudek and Smith (CDS), NEH และ Rajendran and Chaudhudi (RC) ซึ่งทําการทดสอบที่<br />

ปริมาณทรัพยากรตางกัน 3 ระดับ ผลที่ไดพบวาวิธีการ NEH มีประสิทธิภาพมากที่สุดเมื่อทรัพยากรที่<br />

ใชอยูในระดับต่ํา<br />

สําหรับการจัดตารางการผลิตโดยงานอิสระเขากับเครื่องจักรที่วางเรียงขนานกัน (Guinet และ<br />

Solomon, 1996) โดยมีเปาหมายเพื่อหางานที่ชาที่สุดและเวลาเสร็จสิ้นนานที่สุดที่มีคานอยที่สุดและได<br />

อธิบายถึงการพัฒนาวิธีการในการสรางอัลกอริทึม (Algorithm) โดยพิจารณาถึงเวลาที่งานเขา จํานวน<br />

งานกอนหนา และเวลาการขนสง ผลการทดลองไดนําไปเปรียบเทียบวิธีของ Campbell, Nawaz,<br />

Townsend และกฎลําดับความสําคัญ (Priority Rule) ในรูปของอัตราสวนเฉลี่ยระหวางความแตกตาง<br />

ของฮิวริสติกแตละวิธีกับขอบเขตต่ําสุด (Lower Bound) ซึ่งพบวาวิธีของ Nawaz ดีที่สุด ในการจัดลําดับ<br />

งานที่มีทั้งเครื่องจักรและงานจํานวนมาก (Debora P. Ronconi, 2005) ไดมีการใชอัลกอริทึม GRASP<br />

รวมกับวิธีฮิวริสติกที่ไดปรับปรุงขึ้นมาจากอัลกอริทึมของ NEH และอัลกอริทึมของบรานซแอนดบาวด<br />

(Branch and Bound) ซึ่งเมื่อนําไปวิเคราะหปญหาการจัดลําดับงาน พบวาลําดับงานที่ไดสามารถลด<br />

เวลาลาชาในการผลิตไดมากกวาวิธีทางฮิวริสติกแบบดั้งเดิม และยังสามารถนําไปประมาณคาเวลาที่ใช<br />

ในการผลิตไดอีกดวย อีกทั้งมีการวิเคราะหเงื่อนไขหลาย ๆ เงื่อนไขของเครื่องจักรในการจัดลําดับการ<br />

ผลิตแบบ Job Shop (Yan Zuo et al.,2007) โดยทําการแยกเครื่องจักรที่มีเงื่อนไขในการผลิตมาวิเคราะห


58<br />

การจัดลําดับการผลิตโดยใชวิธีฮิวริสติก (JSPMC) สวนเครื่องจักรที่ไมมีเงื่อนไขในการผลิตใชกฎการ<br />

ทํางานที่จะถึงวันกําหนดสงเร็วที่สุดกอน (EODD) ผลที่ไดพบวาสามารถลดเวลาในการผลิตจากวิธีการ<br />

จัดลําดับงานแบบเดิมลงได นอกจากนั้นไดมีการจัดลําดับโดยอาศัยหลายเกณฑวัตถุประสงคสําหรับการ<br />

ผลิตแบบผสม (Mix Shop) และการผลิตแบบไหลเลื่อน (Ahson, 1997) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุง<br />

วิธีการวางแผนผลิตและจัดลําดับการผลิตที่ใชอยูใหดีขึ้น ไดศึกษาการผลิตรองเทากีฬาซึ่งมีหลากหลาย<br />

รุนและกระบวนการผลิตมีทั้งแบบผสมและแบบไหลเลื่อน โดยทําการจําลองสถานการณ (Simulation)<br />

และใชทฤษฎี SPT, LPT และ MST มาเปรียบเทียบกันโดยใชโปรแกรม SIMPLE++ และใชขอมูลการ<br />

สั่งผลิต 9 สัปดาหเพื่อทดสอบ หาคาเฉลี่ยเวลางานอยูในระบบ (Mean flow shop) เวลาทําเสร็จสูงสุด<br />

(Maximum completion time) และจํานวนของงานที่เสร็จไมทันตามกําหนด (Number of tardy batch)<br />

ซึ่งผลที่ไดจากการจําลองสถานการณจะนําไปเปนขอมูลในการวิเคราะหประสิทธิภาพแบบหลายเกณฑ<br />

วัตถุประสงค โดยใชทฤษฎีโปรแกรมเปาหมาย (Goal Programming) ซึ่งผลที่ไดพบวาทฤษฎี SPT มี<br />

ความเหมาะสมที่สุด<br />

สําหรับในประเทศไทยไดมีนําวิธีการหาคําตอบแบบฮิวริสติกดังกลาวมาประยุกตใช และศึกษา<br />

เชน ในกระบวนการผลิตแบบไหลเลื่อนซึ่งไมมีสถานที่เก็บงานระหวางกระบวนการ (ศรันยา อุดมศรี,<br />

2547) ไดมีการวิธีการหาคําตอบแบบฮิวริสติกมาประยุกตใช เพื่อหาลําดับของงานที่ทําใหเวลาปดงาน<br />

ของระบบดีที่สุด โดยในงานวิจัยแบงออกเปน 2 สวน ในสวนแรกคือการพัฒนาวิธีการคนหาคําตอบ<br />

แบบฮิวริสติก เปนการเปรียบเทียบวิธีฮิวริสติก NEH และวิธีฮิวริสติกที่ไดทําการพัฒนาโดยใชขอมูล<br />

เวลาการดําเนินงานที่เปนคาคงที่จาก OR-Library และในสวนที่สองเปนการนําวิธีฮิวริสติก NEH และ<br />

วิธีฮิวริสติกที่พัฒนามาประยุกตใชกับสายการผลิตของโรงงานกรณีศึกษา ซึ่งพบวาวิธีที่พัฒนาจากวิธีฮิว<br />

ริสติกของ Palmer, วิธี Sum Absolute Differences และวิธี Sum Absolute Residuals สามารถหาคา<br />

คําตอบที่ดีกวาวิธีฮิวริสติก NEH และวิธีฮิวริสติกที่พัฒนาขึ้นเหลานี้มีประสิทธิภาพในการหาคําตอบที่<br />

ไมตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 90% ในสวนที่ 2 พบวาวิธีฮิวริสติกที่พัฒนาสามารถหาลําดับงานที่ทําให<br />

เวลาปดงานของระบบนอยลงกวาแผนการผลิตในปจจุบันของโรงงานกรณีศึกษา และจากการวิเคราะห<br />

ความไวของฮิวริสติกที่พัฒนาพบวาวิธีฮิวริสติกที่พัฒนาจากฮิวริสติกของ Palmer มีความไวตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงที่นอยที่สุด เชนเดียวกับในอุตสาหกรรมลออัลลอยซึ่งไดมีการพัฒนาระบบการจัดตาราง<br />

การผลิตใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพเพื่อลดเปอรเซ็นตจํานวนงานลาชา (ปาริฉัตร ปนทอง, 2545)<br />

โดยทําการสรางฐานขอมูลที่จําเปนตอการจัดตารางการผลิต และเสนอการสรางโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

เพื่อชวยลดเวลาในการวางแผนการผลิต วิธีการจัดตารางการผลิตสําหรับการผลิตแบบไหลของสายงาน


59<br />

ไดถูกนํามาใชโดยเสนอวิธีการในแบบฮิวริสติก 3 วิธีไดแก วิธีการของพาลเมอร วิธีการของกุปตา และ<br />

วิธีการของซีดีเอส มาทดสอบดวยขอมูลคําสั่งซื้อจริงโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรที่จัดทําขึ้น จากนั้น<br />

จะทําวิธีการทั้งสามมาเปรียบเทียบกับวิธีการจัดตารางการผลิตของโรงงานตัวอยาง ซึ่งผลการจัดตาราง<br />

การผลิตดวยวิธีการทั้ง 3 วิธี พบวาวิธีการของกุปตาเปนวิธีที่ใหตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด<br />

โดยใหคาจํานวนงานลาชา คาเวลาลาชาของงานโดยเฉลี่ย และคาเวลาสายของงานโดยเฉลี่ยลดลงจาก<br />

วิธีการแบบเดิม 57.14%, 26.77% และ 34.03% ตามลําดับ และยังลดเวลาที่ใชไปในการเตรียมเครื่องจักร<br />

ในจุดที่เปนคอคอดของการผลิตลง 2400 นาทีหรือ 11.3% จากวิธีการแบบเดิม<br />

ในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต (สุรสิทธิ์ โสภณชัย, 2543) มีการจัดตารางการผลิตเพื่อ<br />

หาวิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพ พรอมทั้งจัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับจัดตารางการ<br />

ผลิตชิ้นสวน เพื่อหาวิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับวัตถุประสงคในการจัด<br />

ตารางการผลิต คือใหคาเวลาลาชาของงานโดยเฉลี่ยต่ําที่สุด ไดนําทฤษฎีการจัดตารางการผลิตแบบตาม<br />

สั่งมาประยุกตใชดวยวิธีการสรางตารางการผลิตแบบนอนดีเลยรวมกับวิธีการเชิงฮิวริสติก โดยนําเอา<br />

กฎเกณฑฮิวริสติกทั้ง 5 วิธี ไดแก EDD, SLACK, SLACK/RO SMT SPT มาทําการทดสอบกับขอมูล<br />

การผลิตจริงดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรที่จัดขึ้น ผลการทดลองพบวากฎเกณฑฮิวริสติกแบบ EDD เปน<br />

วิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด โดยเมื่อทําการเปรียบเทียบกับวิธีการจัดตารางการผลิต<br />

เดิมไดคาเวลาลาชาของงานโดยเฉลี่ยลดลง 26% จํานวนงานลาชาลดลง 33% และคาเวลาสายของงาน<br />

โดยเฉลี่ยลดลง 55% ซึ่งฮิวริสติกทั้ง 5 นับเปนวิธีการพื้นฐานทั่วไปที่ใชกันอยางแพรหลายเชนเดียวกับ<br />

ในโรงงานผลิตชิ้นสวนงานปมขึ้นรูป (พัชราวลัย แสงอรุณ, 2545) ซึ่งใชฮิวริสติกพื้นฐาน 7 วิธีไดแก<br />

SPT (Shortest Processing Time), LPT (Longest Processing Time), WSPT (Weighted Shortest<br />

Processing Time), SDT (Smallest Ratio by Dividing Total Processing Time), SMT (Smallest Ratio by<br />

Multiplying Total Processing Time) และ LMT (Longest Ratio by Multiplying Total Processing Time)<br />

เพื่อจัดตารางการผลิตที่เหมาะสําหรับโรงงานกรณีศึกษา ซึ่งเปนโรงงานผลิตชิ้นสวนงานปมขึ้นรูป<br />

(Press Part) ในการผลิตคอมเพรสเซอร ซึ่งพบวาการจัดตารางการผลิตดวยฮิวริสติกแบบ LPT มีคา<br />

ประสิทธิภาพการจัดตารางการผลิตดีที่สุดซึ่งใหคาเฉลี่ยเวลางานในระบบลดลง 11.5% และกฎที่ใหคา<br />

ประสิทธิภาพรองลงมาคือ WSPT และ SPT ตามลําดับ พรอมทั้งไดจัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับ<br />

การจัดลําดับการผลิต และเพื่อเปนระบบการจัดการฐานขอมูลพื้นฐานในการจัดตารางและควบคุมการ<br />

ผลิต ทั้งนี้การคํานวณฮิวริสติกตางๆ สวนใหญใหความสําคัญกับการพัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อใช<br />

ในการคํานวณลําดับตามวิธีการฮิวริสติกตางๆ แตทั้งนี้การใชโปรแกรมสําเร็จรูปที่มีอยูทั่วไปแลวก็


60<br />

สามารถทําไดเชนโปรแกรม Excel, Access หรือ MATLAB เชน การ พัฒนาอัลกอริทึมเกี่ยวกับการจัด<br />

ตารางการผลิตแบบฮิวริสติกในระบบการผลิตแบบขนานดวยการใชโปรแกรม MATLAB (กริชชนะ<br />

คันธนู และสมชาย แกวแกนตา, 2547) โดยวิธีการจัดตารางการผลิตมีปจจัยที่เกี่ยวของคือ เวลาทําการ<br />

ผลิต ความเร็วในการผลิตของเครื่องจักร เวลาเตรียมการผลิตแบบไมเปนอิสระ และเครื่องจักรวางขนาน<br />

กัน ซึ่งมีวิธีการจัดตารางการผลิตแบบฮิวริสติกที่ใช คือ SSPJ SPAST SPACT SPASCR และ SPASPR<br />

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบอัลกอริทึมที่ทําใหเวลาปดงานของระบบ (Makespan) ต่ําที่สุด ซึ่งผล<br />

ของการศึกษาจะทําใหสามารถเลือกอัลกอริทึมที่เหมาะสมและเปนไปตามวัตถุประสงค<br />

สําหรับการพัฒนาวิธีการแกปญหาแบบฮิวริสติกในประเทศไทย ไดมีการนําเสนอการจัดลําดับ<br />

การผลิตในระบบการผลิตตอเนื่องแบบผสม (Hybrid flowshop) ภายใตขอจํากัดการผลิตของเครื่องจักร<br />

(machine eligibility constraints) (กาญจนา เศรษฐนันท, 2547) ซึ่งสายการผลิตที่พิจารณาประกอบดวย<br />

S สถานีงาน ซึ่งในแตละสถานีงานจะประกอบดวยเครื่องจักรที่เหมือนกัน (identical machines) อยาง<br />

นอย 1 เครื่องจักร และมีวัตถุประสงคการจัดลําดับคือเพื่อใหเวลาปดงานของระบบ (Makespan) มีคา<br />

ต่ําสุด โดยรูปแบบทางคณิตศาสตรและอัลกอริทึม (Hybrid Flowshop under Machine Eligibility<br />

Constraint Algorithm (HFMECA)) ไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใชแกปญหาซึ่งพบวาอัลกอริทึมมีประสิทธิภาพ<br />

คอนขางดีโดยมีคาแตกตางจากคําตอบที่ดีที่สุดโดยเฉลี่ย 5.20%

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!