22.11.2014 Views

4.5 Angular Momentum of the System - ภาควิชาฟิสิกส์ - มหาวิทยาลัย ...

4.5 Angular Momentum of the System - ภาควิชาฟิสิกส์ - มหาวิทยาลัย ...

4.5 Angular Momentum of the System - ภาควิชาฟิสิกส์ - มหาวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

่<br />

Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-38<br />

จากที่สูง h และ b) วงแหวนรัศมี R มวล M กลิ้งลงพื ้นเอียงที่มีแรงเสียดทาน จากความสูง h<br />

เช่นกัน จงเปรียบเทียบอัตราเร็วของวัตถุทั ้งสอง เมื่อเคลื่อนที่มาถึงพื ้น<br />

บอกใบ้ ใช้กฎการอนุรักษ์พลังงาน<br />

เฉลย a) กล่องไถล vcm<br />

2gh b) วงแหวนกลิ้ง vcm<br />

gh<br />

<strong>4.5</strong> <strong>Angular</strong> <strong>Momentum</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> <strong>System</strong><br />

การเคลื่อนที่แบบหมุน ถือว่าเป็นลักษณะการเคลื่อนที่อีกแบบหนึ ่งที่มีความสําคัญ และ "angular<br />

momentum" เป็นปริมาณทางฟิสิกส์อีกอันหนึ ่งที่ให้ในการศึกษาสมบัติของอนุภาคที่เกี่ยวข้องกับการ<br />

หมุน ดังจะได้ทบทวน angular momentum ของอนุภาคที่กําลังเคลื่อนที่ในลําดับต่อไปนี<br />

ทบทวน <strong>Angular</strong> <strong>Momentum</strong> ของ 1 อนุภาค<br />

พิจารณาอนุภาคมวล m ซึ ่งกําลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v และในขณะนั ้น สมมุติให้มีตําแหน่งอยู<br />

ณ พิกัด r ซึ ่งวัดโดยผู้สังเกต ณ จุดกําเนิด จะได้ว่า<br />

<br />

angular momentum ของอนุภาค คือ L rp<br />

___________________ สมการ (4.34)<br />

เมื่อ p คือ linear momentum ของอนุภาคนั ้นๆ และเพื่อที่จะให้เข้าใจ angular momentum L ดัง<br />

นิยามในสมการ (4.34) ได้มากขึ ้น เราลองสมมุติกรณีตัวอย่างของการเคลื่อนที่ ซึ ่งอนุภาคมวล m<br />

เคลื่อนที่เป็นวงกลม รอบจุดกําเนิด ด้วยอัตราเร็วคงที่ ดังแสดงในภาพ<br />

ทั ้งนี ้สมมุติว่านักศึกษามีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ว่าด้วย cross product<br />

มาพอสมควร จะเห็นว่า ในกรณีตัวอย่างเช่นนี ้ ทิศทางของ angular momentum แสดงให้เห็นถึงแกน<br />

ของการหมุนนั่นเอง ส่วนขนาดของ angular momentum นั ้นขึ ้นอยู ่กับรัศมี, มวลของอนุภาค, และ<br />

ความเร็วในการเคลื่อนที่ ดังแสดงในสมการ (4.34)<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-39<br />

อย่างไรก็ตามบทสรุปข้างต้น จะเป็นจริงได้ ก็ต่อเมื่อจุดศูนย์กลางของการหมุนนั ้น อยู ่ ณ จุดกําเนิด<br />

พอดี อันที่จริงแล้ว เนื่องจากคํานิยามของ angular momentum ในสมการ (4.34) ที่ขึ ้นอยู ่ตําแหน่ง r <br />

ของอนุภาค ซึ ่งก็ขึ ้นอยู ่กับว่าเราจะกําหนดจุดใด ให้เป็นจุดกําเนิด ทําให้ในท้ายที่สุดแล้ว L มีค่า<br />

แตกต่างกันออกไป เมื่อวัดโดยผู้สังเกตที่ใช้จุดกําเนิดแตกต่างกัน<br />

เพราะฉะนั ้น ในการคํานวณ angular momentum L <br />

จะต้องบ่งบอกให้ชัดเจนว่า เราใช้จุดใด เป็นจุดกําเนิด เสมอ<br />

_________________________ สมการ (4.35)<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

อนุภาคมวล m เคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยรัศมี a ในระนาบ ณ ความ<br />

สูง b ดังแสดงในภาพ ถ้าในขณะนั ้นมันอยู ่ ณ มุม และมี<br />

อัตราเร็วเท่ากับ v จงคํานวณหา angular momentum L โดยให้<br />

บอกทั ้งขนาดและทิศทางของ vector ดังกล่าว<br />

วิธีทํา จากคํานิยามของ เราสามารถเขียนตําแหน่งของอนุภาค ในขณะนั ้นได้ว่า<br />

<br />

r acosˆiasin<br />

ˆj bkˆ<br />

จะเห็นว่าพิกัดตามแกน z มีค่าเท่ากับ b เสมอ เพราะอนุภาคเคลื่อนที่อยู ่แต่ในระนาบ และเพื่อความ<br />

สะดวกในการวิเคราะห์ความเร็ว v ของอนุภาคในขณะนั ้น เราจะวาดภาพของระบบ เมื่อมองจาก<br />

ด้านบน (top view) ดังภาพ<br />

จะได้ว่า v<br />

ก็คือ<br />

x<br />

vsin<br />

และ v vcos<br />

y<br />

หรือเขียนในรูปของ vector ได้<br />

<br />

vvsinˆi vcos<br />

ˆj 0kˆ<br />

เพราะฉะนั ้นแล้ว linear momentum ของอนุภาคมีค่าเท่ากับ<br />

<br />

pmvsin<br />

ˆi<br />

mvcos<br />

ˆj<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


้<br />

Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-40<br />

เมื่อทราบข้อมูลทั ้ง 2 ชิ้น ทําให้เราสามารถคํานวณ angular momentum ได้ว่า<br />

<br />

Lrp<br />

acosˆi asinˆj bk ˆ mvsinˆi mvcos<br />

ˆj<br />

2 2<br />

amvcos ˆ ˆ amvsin ˆ ˆ bmvsinˆ<br />

ˆ bmvcosˆ<br />

ˆ<br />

<br />

<br />

L ij ji ki kj<br />

ในสมการข้างต้น เราใช้สมบัติการกระจายของ cross product จากนั ้นตัดเทอมที่เป็นศูนย์ ซึ ่งก็คือ<br />

ˆi<br />

ˆi และ ˆ j<br />

ˆ j ทิ้งไป นอกจากนี ้ถ้าเราอาศัยสมบัติที่ว่า 1) ˆ i ˆ j ˆ j<br />

ˆ i , 2) ˆ i ˆ j k ˆ , 3)<br />

k ˆ ˆ i ˆ j, และ 4) ˆj kˆ<br />

ˆi จะทําให้ angular momentum ลดรูปเหลือเพียง<br />

<br />

Lbmvcosˆi bmvsin<br />

ˆj amvkˆ<br />

2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2<br />

และมีขนาดเท่ากับ L L L b m v a m v mv<br />

b a<br />

L <br />

x y z<br />

หรืออาจจะเขียนแสดงเป็นภาพของ L เมื่ออนุภาคอยู ่ ณ ตําแหน่ง ต่างๆกันได้ดังนี<br />

ตอบ<br />

หมายเหตุ: จากภาพจะเห็นว่า ในกรณีนี ้ ทิศทางของ vector L มิได้แสดงถึงแกนของการหมุน แต่<br />

อย่างใด ซึ ่งก็เพราะว่า จุดกําเนิด มิได้เป็นจุดศูนย์กลางของการหมุน ในตัวอย่างโจทย์ข้อนี ้นั่นเอง<br />

แบบฝึ กหัด 4.12 อนุภาคมวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ u ดังภาพ จงแสดงให้เห็นว่า<br />

ขึ ้นอยู ่กับการวางจุดกําเนิด ว่าอยู ่ถัดมาเป็นระยะ b เท่าใด ขนาดของ total angular momentum มีค่า<br />

เท่ากับ L mb u<br />

<br />

<br />

L<br />

r p<br />

sin<br />

z<br />

y<br />

b<br />

r <br />

sin<br />

<br />

r <br />

<br />

x<br />

<br />

<br />

p<br />

<br />

m<br />

u<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-41<br />

แบบฝึ กหัด 4.13 วัดโดยกรอบอ้างอิงอันหนึ ่งพบว่า อนุภาคมวล m กําลังเคลื่อนที่โดยมีพิกัดเท่ากับ<br />

<br />

r acostˆibsin<br />

tˆj<br />

เมื่อ ab , , คือค่าคงที่ a) จงอธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาค<br />

b) จงคํานวณ angular momentum L ณ เวลาใดๆ<br />

<br />

เฉลย: a) รูปวงรี b) L<br />

abm<br />

kˆ<br />

<strong>Angular</strong> <strong>Momentum</strong> ของ ระบบหลายอนุภาค<br />

จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ค่าของ angular momentum ของ 1 อนุภาคที่คํานวณได้นั ้น ขึ ้นอยู ่กับกรอบ<br />

อ้างอิงที่เราใช้ว่าจะกําหนดให้จุดกําเนิดอยู ่ ณ ตําแหน่งใด ในระบบที่ประกอบด้วยอนุภาคจํานวน<br />

มาก ก็เช่นเดียวกัน และในลําดับต่อไปนี ้ เรามาศึกษา total angular momentum ของระบบ ซึ ่งแทน<br />

ด้วยสัญลักษณ์ L <br />

tot ซึ ่งวัดโดยผู้สังเกต 2 คน ที่มีกรอบอ้างอิงแตกต่างกัน คือ 1) ใช้จุดใดก็ได้เป็น<br />

จุดกําเนิด และ 2) กําหนดให้จุดกําเนิด อยู ่ ณ จุดศูนย์กลางมวล<br />

ในทํานองเดียวกันกับการวิเคราะห์ kinetic energy ของระบบที่ผ่านมา จากภาพ (4.7) แสดง system<br />

<strong>of</strong> particles ซึ ่งถ้าพิจารณาอนุภาค i ซึ ่งอยู ่ภายในระบบ เราสามารถแสดงตําแหน่งของมันโดยอาศัย<br />

กรอบอ้างอิงทั่วไป แทนด้วยสัญลักษณ์ r <br />

i หรือโดยอาศัยกรอบอ้างอิงซึ ่งมีจุดกําเนิดอยู ่ ณ center <strong>of</strong><br />

mass แทนด้วยสัญลักษณ์ r i <br />

เราสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งของอนุภาค วัดโดยกรอบอ้างอิงทั ้งสองนี ้ได้ว่า<br />

r <br />

i r cm r <br />

i <br />

_________________________ สมการ (4.36)<br />

พิจารณา angular momentum ของอนุภาคดังกล่าว วัดโดยกรอบอ้างใดๆ จะได้ว่า<br />

d <br />

Li ripi rimi ri<br />

dt<br />

_________________________ สมการ (4.37)<br />

d<br />

เมื่อ i<br />

มันนั่นเอง ถ้าเรานิยาม<br />

dt r หมายถึงความเร็วของอนุภาค ซึ<br />

d<br />

่งจะมีผลทําให้ mi r i หมายถึง linear momentum ของ<br />

dt<br />

L tot <br />

total angular momentum ของระบบ ซึ ่งวัดโดยกรอบอ้างอิงใดๆ<br />

N<br />

L <br />

i1<br />

_________________________ สมการ (4.38)<br />

i<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-42<br />

จากสมการ (4.37) จะได้ว่า<br />

N<br />

d <br />

tot <br />

imi i<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

N<br />

d <br />

<br />

rcm<br />

rim i rcm<br />

ri<br />

i1<br />

<br />

dt <br />

<br />

N N N<br />

d d d<br />

tot cm mi cm cm mi i<br />

<br />

imi<br />

cm<br />

dt dt dt<br />

i1 i1 i1<br />

1st term 2nd term = 0 3rd term = 0<br />

<br />

L r r<br />

<br />

d <br />

L<br />

<br />

r r<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

r r<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

r r<br />

<br />

<br />

i mi i<br />

<br />

<br />

r<br />

r<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

<br />

N<br />

4th term<br />

_________________________ สมการ (4.39)<br />

ในสมการข้างต้น เราแทน r i r<br />

cm r<br />

i จากนั ้นใช้สมบัติการกระจายของ cross product ที่ว่า<br />

<br />

ABCDACADBCBD<br />

เมื่อ ABCD , , , คือ vector ใดๆ ผลลัพธ์<br />

ที่ได้ก็คือ total angular momentum L <br />

tot ในสมการ (4.39) แบ่งออกเป็น 4 เทอมด้วยกัน<br />

ในจํานวนนี ้เราจะพิสูจน์ว่า มีอยู ่ 2 เทอมด้วยกันที่เป็นศูนย์ กล่าวคือ เทอมที่สอง<br />

N<br />

<br />

<br />

r<br />

<br />

i1<br />

cm<br />

<br />

d<br />

mi<br />

dt<br />

<br />

ri<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

r<br />

<br />

และ เทอมที่สาม N i<br />

i rcm<br />

i1<br />

d <br />

m dt<br />

<br />

<br />

<br />

อันดับแรกนั ้นพิจารณาเทอมที่สาม<br />

N<br />

N<br />

d d <br />

rimi rcm<br />

mi i cm<br />

dt <br />

r<br />

r<br />

dt<br />

i1 i1 <br />

<br />

d d d <br />

m1r1 rcm m2r2 rcm mNrN<br />

rcm<br />

dt dt dt<br />

N<br />

N<br />

d d d <br />

rimi rcm m1 1m2 2 mN N cm mi i<br />

cm<br />

dt <br />

r r r r<br />

dt <br />

r r<br />

dt<br />

i1 i1<br />

<br />

ในการจัดรูปข้างต้น เราทําการกระจาย summation ให้อยู ่ในรูปผลบวกเพื่อสะดวกต่อการสังเกต<br />

จะเห็นว่าทุกเทอมที่ปรากฏนั ้น ล้วนมีการ cross product อยู ่กับ<br />

แยก<br />

d<br />

cm<br />

dt r<br />

d<br />

cm<br />

dt r<br />

ออกมาข้างนอก summation ดังกล่าว ซึ ่งจากสมการ (4.31)<br />

ดังนั ้นเราสามารถทําการ<br />

<br />

<br />

<br />

N<br />

mii<br />

r <br />

i1<br />

<br />

0<br />

<br />

<br />

วกกลับมาที่การวิเคราะห์เรื่อง total angular momentum L tot จากที่ได้กล่าวมาแล้วในสมการ<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-43<br />

(4.39) ว่า L tot ประกอบด้วย 4 เทอมด้วยกัน จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะพบว่าเทอมที่สาม<br />

3rd Term<br />

N<br />

N<br />

d d <br />

ri<br />

mi rcm<br />

mi i cm<br />

dt <br />

<br />

r r<br />

dt<br />

i1 <br />

i1<br />

<br />

0<br />

0<br />

นอกจากนี ้ เทอมที่สอง<br />

2nd Term<br />

N N N<br />

d d d <br />

<br />

r m r <br />

r <br />

<br />

m r <br />

r mr0<br />

<br />

<br />

cm i i cm i i cm i i<br />

dt dt dt<br />

i1 i1 <br />

i1<br />

0<br />

เพราะฉะนั ้น total angular momentum<br />

L <br />

tot<br />

ในสมการ (4.39) ลดรูปเหลือเพียง<br />

N<br />

L d d <br />

m<br />

<br />

<br />

<br />

m<br />

<br />

r r <br />

<br />

r r <br />

<br />

<br />

tot cm i cm i i i<br />

dt<br />

dt<br />

i1 i1<br />

N<br />

______________ สมการ (4.40)<br />

เพี่อที่จะตีความผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ในสมการข้างต้นได้ง่ายขึ ้น เราลองจัดรูป 2 เทอมที่<br />

หลงเหลืออยู ่ให้เป็น<br />

และ<br />

<br />

N<br />

N<br />

d d <br />

<br />

rcm mi<br />

rcm cm mi<br />

cm cm tot<br />

dt <br />

r r r p<br />

dt<br />

i1 i1<br />

<br />

<br />

pi<br />

<br />

เพราะฉะนั ้นแล้ว<br />

นิยาม<br />

N<br />

(cm) d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

ri<br />

mi ri<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

(cm)<br />

Ltot rcm ptot Ltot<br />

___________ สมการ (4.41)<br />

___________ สมการ (4.42)<br />

________________ สมการ (4.43)<br />

จากสมการข้างต้นจะพบว่า total angular momentum ของระบบหลายอนุภาคนั ้น ประกอบด้วย 2<br />

ส่วนด้วยกันคือ<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-44<br />

<br />

1) rcm ptot<br />

เป็น angular momentum ที่เสมือนว่าเรายุบรวมระบบให้เป็น 1 อนุภาคซึ ่งมีมวล M<br />

และกําลังเคลื่อนที่ด้วย total linear momentum p <br />

tot ในมุมมองเช่นนี ้ angular momentum ก็จะมี<br />

รูปแบบดังได้อธิบายในสมการ (4.34) นั่นเอง<br />

2)<br />

N<br />

(cm)<br />

d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

dt <br />

<br />

i1<br />

เป็น total angular momentum ที่นับเอาจุดศูนย์กลางมวลเป็นจุด<br />

กําเนิด ดังที่ได้แสดงโดย super-script (cm) เทอมดังกล่าวนี ้จะมีค่าเป็นศูนย์ ในกรณีที่อนุภาค<br />

ภายในระบบ ไม่มีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กับ center <strong>of</strong> mass ดังจะได้แสดงในตัวอย่างโจทย์ต่อไปนี ้<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

ภาพแสดงการเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุหลายรูปทรง จงวิเคราะห์ให้เห็นว่า เมื่อทําการคํานวณ<br />

total angular momentum L <br />

tot ซึ ่งวัดโดยกรอบอ้างอิงดังแสดงในภาพแล้วนั ้น ทั ้ง 2 เทอมที่ปรากฏ<br />

ในสมการ (4.43) เทอมใดเป็นศูนย์ เพราะเหตุใด<br />

วิธีทํา<br />

(1) ในขณะที่กล่องเคลื่อนที่ พิจารณากล่อง ณ เวลาต่างกันคือ t t1<br />

และ t t2<br />

จะพบว่าอนุภาค<br />

ทั ้งหมด ยกตัวอย่างเช่นอนุภาค i เคลื่อนที่ไปพร้อมกันกับจุดศูนย์กลางมวล ดังจะสังเกตเห็นได้<br />

จาก vector r i <br />

d<br />

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา เพราะฉะนั ้นแล้ว r 0 และส่งผลให้<br />

dt<br />

i<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-45<br />

N<br />

(cm)<br />

d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

dt <br />

<br />

i1<br />

นอกจากนี ้ เทอม rcm ptot 0<br />

<br />

<br />

ดังแสดงให้เห็นในภาพ ตอบ<br />

(2) อย่าลืมว่าวงล้อกําลัง "ไถล" มิได้มีการกลิ้ง เพราะฉะนั ้นการเคลื่อนที่มีลักษณะไม่แตกต่างจาก<br />

ข้อ (1) เพียงแต่ผิวสัมผัสกับพื ้นมิได้แบนราบเหมือนกล่อง แต่มีลักษณะเป็นจุดในกรณีของวงกลม<br />

d<br />

r <br />

i<br />

dt<br />

จากภาพเมื่อพิจารณาอนุภาคภายในวงล้อ ยกตัวอย่างเช่นอนุภาค i จะพบว่า 0 และทําให้<br />

N<br />

(cm) d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

เช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ เทอม rcm ptot 0<br />

<br />

<br />

ตอบ<br />

(3) ในกรณีที่มีการกลิ้ง จากภาพจะพบว่าเมื่อพิจารณาอนุภาค i ใดๆ ที่ประกอบกันขึ ้นเป็นระบบ<br />

ตําแหน่งของมันเมื่อวัดโดยผู้สังเกต ณ center <strong>of</strong> mass หรือแทนด้วย vector r i นั ้น จะมีการ<br />

d<br />

เปลี่ยนแปลงกับเวลา ทําให้ r 0 และระบบจะมี angular momentum รอบจุดศูนย์กลางมวล<br />

หรือ อีกนัยหนึ ่ง<br />

i<br />

dt<br />

N<br />

(cm) d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

<br />

r p<br />

มวลก็ยังคงเคลื่อนที่ในแนวราบ ส่งผลให้ cm tot 0<br />

นอกจากนี ้ เนื่องจากในขณะที่กลิ้ง จุดศูนย์กลาง<br />

อยู ่เช่นเดิม<br />

ตอบ<br />

(4) ระบบมีลักษณะคล้ายกับข้อ (1) เพียงแต่มีการนิยามกรอบอ้างอิงขึ ้นใหม่ เพื่อให้จุดศูนย์กลาง<br />

มวลของวัตถุอยู ่ในแนวระดับ y 0 (ซึ ่งก็ไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด เพราะเราสามารถสร้างกรอบอิงได้<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-46<br />

โดยอิสระ)<br />

r <br />

cm<br />

ในกรณีนี ้นั<br />

ในข้อนี ้<br />

N<br />

(cm)<br />

d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

dt <br />

<br />

i1<br />

ด้วยเหตุผลเดียวกันกับข้อ (1) และเนื่องจาก<br />

้น ขนานไปกับ total linear momentum p จึงทําให้ rcm ptot 0<br />

tot<br />

<br />

<br />

ตอบ<br />

(5)<br />

N<br />

(cm) d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

i1<br />

dt <br />

<br />

เหตุผลเดียวกันกับข้อ (4)<br />

ตอบ<br />

ด้วยเหตุผลเดียวกันกับข้อ (2) และ rcm ptot 0<br />

<br />

<br />

ด้วย<br />

(6)<br />

N<br />

(cm)<br />

d <br />

Ltot<br />

<br />

<br />

rim i ri<br />

0<br />

dt <br />

<br />

i1<br />

เดียวกันกับข้อ (4)<br />

ตอบ<br />

ด้วยเหตุผลเดียวกันกับข้อ (3) และ rcm ptot 0<br />

<br />

<br />

ด้วยเหตุผล<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

dumbbell (ซึ ่งมีแกนกลางที่เบามาก จนไม่ต้องนํามาพิจารณาร่วมด้วย) มีการหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม<br />

จงคํานวณ total angular momentum ของระบบโดย 2 วิธีด้วยกัน คือ 1) คํานวณ angular<br />

<br />

momentum ของมวลแต่ละก้อน แล้วนํามารวมกัน หรือ Ltot L1 L2<br />

และ 2) โดยอาศัยสมการ<br />

(4.43)<br />

วิธีทํา (1) ขั ้นแรกคือเราต้องคํานวณ L 1 และ L 2 ด้วยวิธีที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างโจทย์ที่ผ่านมา<br />

โดยที่เราเขียน<br />

<br />

r ˆ ˆ ˆ<br />

1 acosiasinjbk<br />

และ 2<br />

<br />

r acosˆiasin<br />

ˆj bkˆ<br />

จากนั ้นวาดภาพของระบบในมุมมองจากด้านบน (top-view) เพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์ และ<br />

ถ้าสมมุติว่า อัตราเร็วของแต่ละอนุภาคมีค่าเท่ากับ v จะได้ว่า<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-47<br />

<br />

v ˆ ˆ ˆ<br />

1 vsin<br />

ivcos<br />

j0k<br />

และ 2<br />

<br />

v vsinˆivcos ˆj 0kˆ<br />

และส่งผลให้ linear momentum ของแต่ละอนุภาคคือ<br />

ทําให้<br />

และ<br />

<br />

p ˆ ˆ<br />

1 mvsin<br />

imv cos<br />

j<br />

<br />

L1 r1p1<br />

และ 2<br />

<br />

p mvsin<br />

ˆimvcos<br />

ˆj<br />

acosˆi asinˆj bk ˆ mvsinˆi mvcos<br />

ˆj<br />

<br />

<br />

<br />

L ˆ ˆ ˆ<br />

1 bmvcos<br />

ibmvsin<br />

jamvk<br />

<br />

L2 r2p2<br />

acosˆi asinˆj bk ˆ mvsinˆi mv cos<br />

ˆj<br />

<br />

<br />

<br />

L ˆ ˆ ˆ<br />

2 bmvcos<br />

ibmvsin<br />

jamvk<br />

ทําให้ในท้ายที่สุด total angular momentum ของระบบมีค่าเท่ากับ<br />

L tot L 1 L <br />

2 2amvˆ<br />

k<br />

ทั ้งนี ้เราสามารถคํานวณอัตราเร็ว v ให้อยู ่ในรูปของอัตราเร็วเชิงมุม ที่โจทย์กําหนดให้ ได้จาก<br />

v = (ระยะทางทั ้งหมด, 2 a ) (เวลาเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ,<br />

T<br />

2<br />

) a<br />

<br />

เพราะฉะนั ้นแล้ว<br />

2<br />

L L L 2a mˆ k<br />

tot 1 2<br />

ซึ ่งเป็น vector ที่ชี ้ขึ ้นในแนวแกน z ตอบ<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


่<br />

Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-48<br />

(2) ทําการคํานวณโดยอาศัยสมการ (4.43) เริ่มด้วยการสังเกตว่า ในขณะที่ระบบมีการเคลื่อนที่อยู<br />

นั ้น จุดศูนย์กลางมวล r <br />

cm อยู ่นิ่งกับที่ ทําให้ total linear momentum p <br />

tot 0 ส่งผลให้<br />

<br />

rcm ptot 0<br />

ในคราวนี ้เราพิจารณามวล m 1 และ m 2 โดยใช้ center <strong>of</strong> mass ของระบบเป็นจุดกําเนิด ดังแสดงใน<br />

ภาพ<br />

จะพบว่า เนื่องจาก r 1 ตั ้งฉากกับ v1<br />

1<br />

d<br />

r ดังนั ้น r 1 <br />

mv<br />

1 <br />

dt<br />

r <br />

mv <br />

m r <br />

v <br />

<br />

sin 90 ma<br />

v<br />

ภาพ และมีขนาดเท่ากับ 1 1 1 1 <br />

มีทิศชี ้ขึ ้นในแนวแกน z ดังแสดงใน<br />

ซึ ่งเมื่อแทน v a<br />

จะได้ว่า<br />

และในทํานองเดียวกัน<br />

2<br />

r1mv1<br />

a mkˆ<br />

2<br />

r2<br />

mv2<br />

a mkˆ<br />

ส่งผลให้<br />

N<br />

(cm) d 2<br />

L ˆ<br />

tot <br />

<br />

rimi ri 1m 1 2 m 2<br />

2a m<br />

dt <br />

r v r v k<br />

i1<br />

<br />

(cm)<br />

r p<br />

และ L <br />

tot เข้าด้วยกัน จะได้ว่า<br />

(4.43) ในการรวมเทอม cm tot<br />

และถ้าใช้สมการ<br />

(cm) 2<br />

Ltot rcm ptot Ltot<br />

2a mˆ k<br />

ซึ ่งก็ตรงกันกับวิธีที่ (1) ตอบ<br />

แบบฝึ กหัด 4.14 คํานวณ total angular momentum ของวงแหวนที่หมุนรอบจุดศูนย์กลาง<br />

2<br />

เฉลย L MR มีทิศขนานกับแกนของวงแหวน<br />

tot<br />

ที่ผ่านมาเราได้ทําการทบทวนการคํานวณ total angular momentum ของ 1 อนุภาค ด้วยลักษณะที่<br />

<br />

เป็นจุดอนุภาค เมื่อมันมีการเคลื่อนที่ total angular momentum ของมันมีค่าเท่ากับ rp<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-49<br />

ในทางตรงกันข้าม สําหรับวัตถุที่มีรูปทรงนั ้น เราจําเป็นจะต้องนําลักษณะเชิงรูปร่างของมันเข้า<br />

มาร่วมพิจารณาในการคํานวณ total angular momentum L <br />

tot กล่าวคือ นอกจากจะมีเทอม<br />

<br />

(cm)<br />

rcm<br />

ptot<br />

ปรากฏอยู ่แล้ว ก็ยังมีเทอมที่แสดงถึง total angular momentum L tot ที่วัตถุหมุนรอบ<br />

จุดศูนย์กลางมวลของมันอีกด้วย ดังแสดงในสมการ (4.43)<br />

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในขณะเดียวกันก็หมุนรอบตัวเองนั ้น total angular<br />

<br />

momentum ของมันประกอบด้วย 2 เทอมด้วยกัน คือ 1) rcm<br />

ptot<br />

แสดงถึงการโคจรของโลกรอบ<br />

ดวงอาทิตย์ ซึ ่งในที่นี ้ r (cm)<br />

cm ก็คือระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ และ 2) L <br />

tot แสดงถึง<br />

angular momentum มีเกิดจากการหมุนรอบตัวเอง หรือ รอบจุดศูนย์กลางมวลของโลกนั่นเอง<br />

Torque และ <strong>Angular</strong> <strong>Momentum</strong><br />

แรงบิด<br />

<strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles<br />

<br />

(ext)<br />

d<br />

net L <br />

dt<br />

tot<br />

จากตัวอย่างโจทย์ที่ผ่านมา เราได้เห็นว่า total angular momentum ของระบบ สัมพันธ์โดยตรงกับ<br />

อัตราเร็วเชิงมุม ของการหมุน ยิ่งหมุนเร็วมาก L tot ก็ยิ่งมีค่าสูง<br />

system <strong>of</strong> particles ถ้าปราศจากอิทธิพลภายนอก จะมี total angular momentum คงที่ อาทิเช่น<br />

หัวน็อตและประแจที่ยึดติดอยู ่กับแผ่นวัสดุ มี L <br />

tot 0 และก็จะเป็นศูนย์อยู ่เช่นนี ้ตลอดไป<br />

ก็ต่อเมื่อมีแรงบิด หรือ torque มากระทํา จึงจะทําให้ L tot มีการเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ เดิม<br />

เป็นศูนย์ กลายเป็นมีค่าเพิ่มขึ ้น ส่วนจะหมุนเร็วหรือช้านั ้น ก็ขึ ้นอยู ่กับขนาดของ torque ที่เข้ามา<br />

กระทํากับระบบ และเนื ้อหาในส่วนนี ้ เราจะพิสูจน์ให้เห็นว่า ในระบบที่ประกอบด้วยหลาย<br />

อนุภาคนั ้น total angular momentum จะเปลี่ยนแปลงกับเวลา ถ้ามี torque จากภายนอกมากระทํา<br />

หรือ อีกนัยหนึ ่ง<br />

d<br />

L <br />

tot<br />

dt<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

net<br />

<br />

(ext)<br />

เมื่อ net<br />

<br />

total external torque ที่กระทํากับระบบ<br />

N<br />

(ext)<br />

ri<br />

F <br />

i<br />

i1<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-50<br />

______________________ สมการ (4.44)<br />

คําว่า torque หรือ แรงบิด มีความคล้ายคลึงเป็นอย่างมากกับ force หรือ แรง เพียงแต่ torque จะ<br />

สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่แบบหมุน ในขณะที่ force สัมพันธ์อยู ่กับการเคลื่อนที่ในแนวตรง<br />

ในทางคณิตศาสตร์นั ้น เรานิยาม<br />

<br />

τ r F <br />

Torque <br />

จุดหมุน<br />

จุดหมุน<br />

r <br />

r <br />

r จุดที่แรงกระทํา F <br />

จุดที่แรงกระทํา F<br />

<br />

r <br />

F<br />

F <br />

ที่เป็นเช่นนี ้ก็เพราะว่า เมื่อพยายามที่จะทําให้เกิดการหมุนนั ้น แรง F เพียงอย่างเดียวไม่ใช่ปัจจัย<br />

ตัดสิน ตําแหน่ง r ของการออกแรงก็มีความสําคัญเช่นเดียวกัน อาทิเช่น การโยกนํ ้าดาบาล หรือ<br />

การหนีบด้วยคีม จุดที่แรงกระทําจะต้องอยู ่ห่างออกมาจากจุดหมุน จึงจะทําให้เกิดการบิดได้ง่าย<br />

ยิ่งขึ ้น<br />

วกกลับมาที่การเปลี่ยนแปลงของ total angular momentum L tot เมื่อเวลาผ่านไป เริ่มด้วยการ<br />

พิจารณาอนุภาค i ที่เป็นส่วนหนึ ่งของระบบ จากสมการ (4.37)<br />

2 2<br />

d d d d d d d <br />

Li imi i imi i imi 2 i imi 2 i<br />

dt dt <br />

r r<br />

dt <br />

r r r r r r<br />

<br />

dt dt dt dt<br />

0<br />

และเมื่ออาศัยกฎข้อ 2 ของ Newton ในทํานองเดียวกันกับสมการ (4.12) จะได้ว่า<br />

d<br />

dt<br />

<br />

L r F<br />

i i i<br />

เมื่อ F i คือแรงลัพธ์ที่กระทํากับอนุภาค i ซึ ่งประกอบด้วยทั ้งแรงจาก ภายในและภายนอก ดังนิยาม<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-51<br />

ในสมการ (4.11) เพราะฉะนั ้นแล้ว<br />

d<br />

dt<br />

<br />

<br />

L r F <br />

f <br />

r F <br />

r <br />

f<br />

<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

(ext)<br />

i i <br />

i ij<br />

i i i ij<br />

<br />

<br />

ji<br />

ji<br />

______ สมการ (4.45)<br />

อย่างไรก็ตาม การเขียนแปลงของ angular momentum ข้างต้นเป็นเพียงสมบัติเฉพาะของอนุภาค i<br />

d<br />

ในเมื่อเราต้องการทราบ tot<br />

dt L ก็ต้องเขียน<br />

N N N<br />

d d d<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

L tot L i L <br />

i riF <br />

i rif <br />

ij<br />

dt dt dt<br />

i1 i1 i1<br />

ji<br />

<br />

<br />

<br />

ทั ้งนี ้เมื่อกระจาย summation ออกเป็น 2 เทอมจะทําให้<br />

d<br />

dt<br />

<br />

tot<br />

N N N<br />

(ext)<br />

<br />

<br />

<br />

i i i ij<br />

i1 i1<br />

ji<br />

L r F r f <br />

__________ สมการ (4.46)<br />

เนื่องจากความซับซ้อนทางคณิตศาสตร์ที่อาจจะรบกวนความต่อเนื่องของเนื ้อหาทางฟิสิกส์ เราจะ<br />

เพียงอ้างในตอนนี ้ว่า เทอม N N <br />

ri<br />

i1<br />

ji<br />

f <br />

ij<br />

0<br />

วิเคราะห์ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากตัวอย่างโจทย์ในลําดับต่อไป<br />

ผู้อ่านที่สนใจขั ้นตอนการพิสูจน์ ตลอดจนบท<br />

เพราะฉะนั ้นแล้ว<br />

d<br />

dt<br />

tot<br />

N<br />

<br />

L r F<br />

<br />

i<br />

i1<br />

(ext)<br />

i<br />

(ext)<br />

(ext) (ext)<br />

จะเห็นว่า เทอมที่ปรากฏภายใน summation ri<br />

i ก็คือ torque i i i<br />

กับอนุภาค i เพราะฉะนั ้นเราอาจจะตีความสมการข้างต้นได้ว่า<br />

<br />

F <br />

<br />

τ r F <br />

ที่กระทํา<br />

d<br />

dt<br />

tot<br />

N<br />

<br />

(ext) (ext)<br />

i net<br />

i1<br />

<br />

L τ τ<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-52<br />

นั่นหมายถึง แรงบิดที่เกิดจากภายในระบบ ไม่สามารถทําให้มันหมุนเร็วขึ ้นหรือช้าลงได้ เฉพาะ<br />

(ext)<br />

external torque หรือ τ <br />

net จากภายนอกเท่านั ้น ที่จะมีผลต่อ total angular momentum L <br />

tot ของ<br />

ระบบ<br />

เมื่อเราได้พิสูจน์ให้เห็นจริงดังสมการ (4.44) ขั ้นตอนต่อไปคือการนํามาใช้ประโยชน์ในการ<br />

วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าระบบปราศจากอิทธิพลของ torque ภายนอก<br />

Total <strong>Angular</strong> <strong>Momentum</strong><br />

L tot ของระบบมีค่าคงที่ ถ้าปราศจาก External Torque<br />

______________________ สมการ (4.47)<br />

ในการศึกษา total linear momentum ของระบบ ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์การชนกันของวัตถุ<br />

การระเบิดของยานอวกาศ หรือการเดินของ Jack บนเรือก็ดี ล้วนตั ้งอยู ่บนหลักการที่ว่า แรงลัพธ์<br />

(ext)<br />

จากภายนอก F ทั ้งก่อนและหลังเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น<br />

net 0<br />

p <br />

tot<br />

แต่จากตัวอย่างที่เราจะได้เห็นในลําดับต่อไป ในกรณีที่ระบบมีแรงภายนอกมากระทํา การจะไปอ้าง<br />

ว่า p <br />

(ext)<br />

tot constant นั ้นย่อมกระทํามิได้ กระนั ้นก็ตาม ถึงแม้ F <br />

net 0 ด้วยกลเม็ดอันชาญ<br />

ฉลาดของการกําหนดกรอบอ้างอิงที่ใช้วิเคราะห์ระบบ เราสามารถเลือกที่จะวางจุดกําเนิด เพื่อทํา<br />

(ext)<br />

ให้ net torque หรือ แรงบิดสุทธิจากภายนอก τ net 0 อันมีผลให้เงื่อนไขในสมการ (4.47) นั ้น<br />

เป็นจริง กล่าวคือ L <br />

tot constant<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

dumbbell ซึ ่งประกอบด้วยมวล m 1 สองก้อน เชื่อมกันอยู ่ด้วยแท่งไม้ที่เบามาก วางนิ่งในแนวราบ<br />

และมีจุดหมุนอยู ่ตรงกลางดังภาพ ปรากฏว่ามีดินนํ ้ามันมวล m 2 a) พุ่งเข้ามาด้วยอัตราเร็ว u b)<br />

ชน และ c) ติดไปกับมวล m 1 ดังกล่าว หลังจากการชน dumbbell จะหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม <br />

เท่าใด?<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-53<br />

m 1<br />

2a<br />

จุดหมุน<br />

ดินนํ้ามัน<br />

m 1<br />

u m<br />

2<br />

y<br />

r 2 sin<br />

z<br />

r <br />

L <br />

2 r <br />

2 p <br />

2 sin<br />

2<br />

<br />

<br />

p<br />

x<br />

<br />

m u<br />

2 2<br />

m 2<br />

วิธีทํา ในกรณีนี ้ ถึงแม้เราจะกําหนดให้ทั ้ง dumbbell และ ดินนํ ้ามัน เป็นระบบเดียวกัน ก็ยังจะมี<br />

แรงลัพธ์ภายนอกที่กระทํากับวัตถุ โดยผ่านทางหมุด ที่ทําหน้าที่เป็นจุดหมุน เพราะฉะนั ้น<br />

(ext)<br />

net 0<br />

F แต่ถ้าเราเลือกที่จะใช้ จุดหมุน เป็นจุดกําเนิด แม้จะมีแรง<br />

(ext)<br />

L 2<br />

(ext)<br />

(ext)<br />

τ r F <br />

tot<br />

0<br />

เพราะ r 0<br />

L constant ดังสมการ (4.47)<br />

ดังนั ้น<br />

τ <br />

F <br />

net<br />

(ext)<br />

net 0<br />

จากหมุดมากระทํา torque<br />

จึงทําให้ total angular momentum<br />

<br />

tot<br />

(before)<br />

ก่อนที่จะมีการชน L<br />

<br />

<br />

L1<br />

L 2<br />

เมื่อ L <br />

1 คือ angular momentum ของ dumbbell ซึ ่งเป็นศูนย์ เพราะมันหยุดนิ่ง ในขณะที่ L <br />

2<br />

angular momentum ของดินนํ ้ามัน ซึ ่งมีทิศชี ้ในแนวแกน +z และมีขนาด<br />

L 2 r 2 p 2 sin<br />

p 2 r<br />

<br />

2 sin<br />

ซึ ่งเมื่ออาศัยทฤษฏีตรีโกนมิติดังภาพ พบว่า<br />

r ดังนั ้น L 2 m 2 ua<br />

จะได้ว่า<br />

2 sin a<br />

คือ<br />

(before)<br />

ก่อนที่จะมีการชน L<br />

<br />

tot<br />

m uakˆ<br />

ภายหลังการชน dumbbell หมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ดังนั ้นจากตัวอย่างโจทย์ที่ผ่านมา<br />

<br />

2<br />

L ˆ<br />

1<br />

2ma<br />

1 k ในขณะที่ ดินนํ ้ามันมวล m 1 เมื่อเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี a ด้วยอัตราเร็ว<br />

2<br />

เชิงมุม ก็จะมี angular momentum L m a kˆ<br />

ดังนั ้น<br />

2 2<br />

ภายหลังการชน 2 2<br />

<br />

2<br />

(after) 2 2 2<br />

L tot L 1 L <br />

ˆ ˆ ˆ<br />

2 ma 1 k m2a k m1 m2<br />

a k<br />

จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่า<br />

(ext)<br />

τ <br />

net 0<br />

เพราะฉะนั<br />

(before) (after)<br />

้น Ltot<br />

Ltot<br />

หรือ อีกนัยหนึ ่ง<br />

<br />

2<br />

m2ua<br />

2m1<br />

m2<br />

a<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-54<br />

ทําให้อัตราเร็วเชิงมุมของการหมุน มีค่าเท่ากับ<br />

<br />

<br />

m2u<br />

2m1<br />

m2a<br />

ตอบ<br />

แบบฝึ กหัด 4.15 ในทํานองเดียวกันตัวอย่างโจทย์ข้างต้น ถ้าเปลี่ยนจาก dumbbell เป็นวงแหวน<br />

รัศมี a และมีมวล M ซึ ่งมีจุดหมุนอยู ่ตรงกลาง จงหาอัตราเร็วเชิงมุม ภายหลังการชน กับก้อน<br />

ดินนํ ้ามัน<br />

m<br />

เฉลย<br />

2u<br />

<br />

M m a<br />

2<br />

โดยทั่วไปแล้ว เมื่อวัตถุที่มีรูปทรง ประกอบด้วยชิ้นส่วนกระจายกันอยู ่ การคํานวณ แรงบิดสุทธิ<br />

หรือ net torque นั ้น จะต้องคํานึงถึงว่าแต่ละชิ้นนั ้น อยู ่ ณ ตําแหน่งใด และ มีแรงกระทํามาก<br />

(ext)<br />

net<br />

น้อยเท่าไหร่ หรืออีกนัยหนึ ่ง<br />

N<br />

(ext)<br />

(ext)<br />

τnet<br />

ri<br />

F <br />

i<br />

i1<br />

ซึ ่งดูมีความซับซ้อนเป็นอย่างยิ่ง<br />

y<br />

<br />

τ<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

ne t r 1<br />

F 1 r 2 F<br />

2<br />

y<br />

<br />

τ<br />

(ext)<br />

n<br />

et<br />

<br />

<br />

r<br />

cm<br />

<br />

<br />

F<br />

(ext)<br />

nt<br />

e<br />

r 3<br />

x <br />

r r F<br />

2<br />

1<br />

m 1<br />

m 3<br />

<br />

m<br />

g<br />

3 3<br />

F<br />

1 m1g<br />

m 2<br />

<br />

<br />

F<br />

m<br />

g<br />

2 2<br />

เสมือนว่า<br />

x<br />

r cm<br />

<br />

F<br />

M m m<br />

<br />

(ext)<br />

net<br />

<br />

<br />

M<br />

g<br />

1 2<br />

แต่ในการคํานวณ net torque ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงนั ้น เราไม่จําเป็นต้องคํานึงถึงรูปร่างของวัตถุ<br />

หรือรายระเอียดการกระจายตัวของชิ้นส่วนที่ประกอบกันขึ ้นเป็นระบบ โดยสามารถมองเสมือนว่า<br />

แรงซึ ่งเกิดจากนํ ้าหนักของวัตถุทั ้งชิ้น กระทํา ณ จุดศูนย์กลางมวล จุดเดียวเท่านั ้น<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

พิจารณาระบบที่ประกอบด้วยหลายอนุภาค m1, m2, m3,<br />

จงแสดงให้เห็นว่า เฉพาะในกรณีของ<br />

<br />

(ext) <br />

(ext)<br />

<br />

แรงโน้มถ่วง F mg<br />

net torque มีค่าเท่ากับ r<br />

Mg<br />

net<br />

cm<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


้<br />

Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-55<br />

วิธีทํา ทิศทางของแรงซึ ่งเกิดจากนํ ้าหนักนั ้น จะขนานไปกับ สนามโน้มถ่วง ซึ ่งแทนด้วย<br />

สัญลักษณ์ g เพราะฉะนั ้นแรงโน้มถ่วงที่กระทํากับแต่ละอนุภาคก็คือ<br />

<br />

F<br />

(ext)<br />

i m i<br />

<br />

g<br />

<br />

i riFi ri mig miri<br />

g<br />

(ext) (ext)<br />

ทําให้ torque <br />

ข้างต้นคือ torque หรือ แรงบิดที่กระทํากับแต่ละอนุภาค i เพื่อหา torque สุทธิ เราใช้ summation<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

net<br />

N<br />

N<br />

<br />

<br />

<br />

(ext)<br />

i<br />

mii<br />

r g<br />

m11 r m2r2 m3r3<br />

g<br />

i1 i1<br />

ทดลองหารด้วย M และคูณด้วย M ในทางขวามือของสมการ<br />

จะได้ว่า<br />

<br />

(ext) m11 r m2r2 m3r3<br />

<br />

<br />

net <br />

M<br />

<br />

M g<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

rcm<br />

<br />

<br />

net<br />

<br />

cm<br />

(ext)<br />

เพราะฉะนั ้นแล้ว r<br />

Mg<br />

<br />

ตอบ<br />

(ext)<br />

สมบัติพิเศษของ<br />

net<br />

ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงดังกล่าว สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์<br />

หาตําแหน่งสมดุลของวัตถุที่มีรูปทรง ในขณะที่ห้อยอยู ่บนเพดาน ดังแสดงในตัวอย่างโจทย์ต่อไปนี<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

สามเหลี่ยม ซึ ่งมีด้านประชิดมุมฉากทั ้งสองเท่ากับ a ห้อยอยู ่ในสภาวะสมดุล และหยุดนิ่ง ดังภาพ<br />

จงหามุม <br />

cm<br />

P<br />

จุดหมุน (บานพับ)<br />

<br />

F <br />

r 1<br />

Mg <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

90<br />

2 a<br />

3<br />

<br />

a<br />

3<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-56<br />

<br />

(ext) (ext) (ext)<br />

วิธีทํา คําว่าสมดุล และหยุดนิ่งนั ้น แสดงว่า net 0<br />

1 2<br />

จากภาพ แรงบิดมี<br />

ที่มาจากสองแหล่ง 1) ณ ตําแหน่งที่ห้อยอยู ่กับเพดาน ณ จุด P บานพับอาจจะมีการออกแรงกับ<br />

สามเหลี่ยมได้ 2) จากนํ ้าหนักที่กระทํากับแต่ละชิ้นส่วนของตัวสามเหลี่ยม<br />

เนื่องจากเราไม่อาจทราบธรรมชาติของแรงในข้อ 1) กําหนดให้ P เป็นจุดกําเนิด ดังนั ้น<br />

(ext)<br />

โดยปริยาย<br />

1 0<br />

(ext)<br />

สําหรับ<br />

2<br />

เป็น torque ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง เพราะฉะนั ้น เราเขียนได้ว่า<br />

(ext)<br />

<br />

2 rcm<br />

Mg<br />

ซึ ่งต้องมีค่าเป็นศูนย์ในสภาวะสมดุล จากหลักการของ cross product<br />

<br />

rcm Mg0<br />

ก็ต่อเมื่อ r cm ขนานไปกับ g หรืออีกนัยหนึ ่ง<br />

เมื่อวัตถุห้อยในภาวะสมดุล จุดหมุน จุดศูนย์กลางมวล อยู ่ในแนวดิ่งเสมอ<br />

______________________ สมการ (4.48)<br />

เมื่อวิเคราะห์ถึงตําแหน่งจุดศูนย์กลางมวลของสามเหลี่ยม พบว่ามุม<br />

tan<br />

a 3 1<br />

2a<br />

3 2<br />

ดังนั ้น<br />

<br />

1 1<br />

tan 26.6<br />

2<br />

องศา<br />

<br />

และเนื่องจากข้อสรุปที่ว่า จุดหมุน จุดศูนย์กลางมวล ดังนั ้น มุม <br />

90<br />

หรืออีกนัย<br />

หนึ ่ง<br />

63.4 องศา ตอบ<br />

แบบฝึ กหัด 4.16 แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง a ยาว b ห้อยอยู ่ในสภาวะสมดุล และหยุดนิ่ง ดังภาพ<br />

จงหามุม <br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-57<br />

<br />

a<br />

b<br />

<br />

2<br />

1<br />

เฉลย tan<br />

b<br />

a<br />

ตัวอย่างโจทย์<br />

จงแสดงให้เห็นว่า ในระบบหลายอนุภาค<br />

N N<br />

<br />

ri<br />

i1<br />

ji<br />

f <br />

ij<br />

0<br />

ก็ต่อเมื่อ แรง f <br />

ij<br />

อยู ่ในแนว<br />

เส้นตรงระหว่าง อนุภาค i และ j<br />

วิธีทํา เพื่อความชัดเจนในการสังเกต ลองกระจาย summation ออกมาโดยตรง ในกรณี N 3<br />

N N<br />

<br />

rifij<br />

r1f12 r1f13r2f21r2f23r3f31r3f<br />

32<br />

i1 ji i1 i2 i3<br />

จัดกลุ่ม เทอมข้างต้น โดยให้ f <br />

ij<br />

และ f <br />

ji<br />

มาอยู ่ใกล้กัน<br />

N N<br />

<br />

rifij<br />

r f r f r f r f r f r f<br />

i1<br />

ji<br />

<br />

<br />

rifij rjfji<br />

i<br />

j<br />

1 12 2 21 1 13 3 31 2 23 3 32<br />

แต่ จากกฎข้อ 3 ของ Newton ว่าด้วย action reaction fij fji<br />

<br />

<br />

ดังนั ้น<br />

N N<br />

<br />

rifij rifij rjfijri rjfij<br />

i1<br />

ji i j i<br />

j<br />

<br />

ให้สังเกตว่า ri<br />

rj<br />

อยู ่ในแนวเส้นตรงระหว่างมวล j และมวล i<br />

ก็คือ vector ที่ลากจากมวล j มายังมวล i และด้วยข้อกําหนดที่ว่า แรง f <br />

ij<br />

ดังนั ้น<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011


Classical Mechanics ระดับอุดมศึกษา 4 <strong>System</strong> <strong>of</strong> Particles 4-58<br />

เพราะฉะนั ้น<br />

f <br />

ij ขนานกับ ri<br />

rj<br />

N N<br />

<br />

ri<br />

i1<br />

ji<br />

<br />

i j ij<br />

เป็นเหตุให้ 0<br />

f <br />

ij<br />

0<br />

ตอบ<br />

r r f <br />

4.6 Elastic Collision<br />

การชน หรือ collision เป็นกระบวนการทางฟิสิกส์ที่พบเห็นได้ทั่วไป ทั ้งในชีวิตประจําวันที่<br />

สังเกตเห็นได้ง่าย อาทิเช่นกีฬา snooker อุบัติเหตุบนท้องถนน หรือการตอกเสาเข็มในโครงการ<br />

ก่อสร้าง หรือที่สังเกตด้วยตาเปล่าไม่เห็น อาทิการชนกันระหว่างโมเลกุลของอากาศและผิวหนัง<br />

ของเรา ทําให้พลังงานมีการถ่ายเทในรูปของความร้อนระหว่างอากาศและผิวหนัง และใน<br />

ห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ อาทิเช่น การเร่งอนุภาคให้มีความเร็วสูง และพุ่งเข้าชนนิวเคลียสของ<br />

อะตอม ทําให้ตัวนิวเคลียสแตกออกเป็นเสี่ยงๆและเผยให้เห็นถึงองค์ประกอบที่อยู ่ภายใน<br />

ในเนื ้อหาของ classical mechanics ระดับอุดมศึกษานี ้ เราจะมาจําลองการชนอย่างง่ายระหว่าง 2<br />

อนุภาคด้วยกัน เพื่อที่จะศึกษาธรรมชาติของการชน ว่าอนุภาคทั ้งสอง จะพุ่งออกไปจากจุดปะทะใน<br />

ทิศทางอย่างไร และขึ ้นอยู ่กับปัจจัยต่างๆอาทิ มวลของอนุภาคและความเร็วต้นเช่นใดบ้าง<br />

Dr. Teepanis Chachiyo <strong>ภาควิชาฟิสิกส์</strong> <strong>มหาวิทยาลัย</strong>ขอนแก่น teepanis@kku.ac.th Draft Jan 2011

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!