01.11.2014 Views

brochure - ICOMOS Thailand

brochure - ICOMOS Thailand

brochure - ICOMOS Thailand

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ด่ี<br />

ที<br />

ส่ี<br />

ดุ<br />

มู<br />

ทิ<br />

ั<br />

สุ<br />

<strong>ICOMOS</strong> คือ....?<br />

สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ (International<br />

Council on Monuments and Sites หรือ <strong>ICOMOS</strong>) คือ<br />

องค์กรวิชาชีพทางมรดกวัฒนธรรมในระดับสากล ซึ่งมีเป้าหมาย<br />

การทำงานเพื่อการอนุรักษ์และปกป้องคุ้มครองโบราณสถาน<br />

ในลักษณะขององค์กรอิสระ NGO ที่จะมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษา<br />

อย่างเป็นทางการของ UNESCO และคณะกรรมการมรดกโลก<br />

ซึ่งอิโคโมสมีหน้าที่สำคัญคือเป็นองค์กรที่ดำเนินการประเมินคุณค่าและ<br />

ศักยภาพของโบราณสถานที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นมรดกโลกทุกแหล่ง<br />

ก่อนจะนำเสนอต่อUNESCO เพื่อประกาศขึ้นทะเบียน มรดกโลก<br />

อิโคโมส (<strong>ICOMOS</strong>) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 40 ปีที่แล้ว คือในปี ค.ศ. 1965 ณ<br />

กรุงวอร์ซอว์ ประเทศโปแลนด์ 1 ปีหลังจากการประกาศกฎบัตรเพื่อ<br />

การอนุรักษ์และบูรณะโบราณสถาน “เวนิชชาร์เตอร์” ปัจจุบันสำนักงาน<br />

ของฝ่ายเลขานุการ ตงอยู่ ้ั ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส<br />

บทบาทหน้าที่ของ <strong>ICOMOS</strong>:<br />

เป็นเวทีในระดับระหว่างประเทศในการเจรจาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทาง<br />

ด้านการอน รุ กษ์มรดกวัฒนธรรม ั<br />

ผ่านทางเว็บไซต์ จดหมายข่าว วารสารวิชาการ<br />

และการจัดการประชุม สัมมนา รวมทั้งการประชุมสามัญซึ่งจัดขึ้นทุกๆ 3 ปี<br />

เป็นเครือข่ายของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับมรดกวัฒนธรรม<br />

รายชื่อคณะกรรมการวิชาการระหว่างประเทศ<br />

INTERNATIONAL SCIENTIFIC<br />

COMMITTEE (ISC)<br />

ที่สมาชิก <strong>ICOMOS</strong> International สามารถเข้าร่วม<br />

เป็นสมาชิก ได้แก่ คณะกรรมการวิชาการ<br />

ระหว่างประเทศ ว่าด้วย....<br />

มรดกทางเอกสารสิ่งพิมพ์ CIPA - Heritage<br />

Documentations.... การจัดการมรดกทาง<br />

โบราณคดี ICAHM - Archaeological Heritage<br />

Management .... สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น CIAV -<br />

Vernacular Architecture.... เมืองและชุมชน<br />

ไม้ IIWC - Wood<br />

ประวตั ศาสตร์ ิ CIVVIH - Historic Towns and Villages ...<br />

..... หนิ<br />

ISCS - Stone .... กฎหมาย การบริหาร และการเงิน ISCLFA -<br />

Legal, Administrative and Financial Issues .... การอนุรักษ์เส้นทาง<br />

วัฒนธรรม CIIC - Cultural Itineraries .. การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม<br />

Cultural Tourism .... มรดกวัฒนธรรมแถบขั้วโลก IPHC - Polar Heritage<br />

.... การฝึกอบรม CIF - Training .... มรดกวัฒนธรรมใตน้ ำ้ ICUCH -<br />

Underwater Cultural Heritage .... สวนประวตั ศาสตร์ ิ และภ ศนว์ ฒนธรรม ั<br />

IFLA- Historic Gardens - Cultural Landscapes.... จิตรกรรมฝาผนัง Wall<br />

Painting.... มรดกสิ่งก่อสร้างที่หลายวัฒนธรรมมีอยรู่ วมกัน ่ Shared Built<br />

องค์กรเพื่อการอนุรักษ์<br />

โบราณสถานและมรดกวัฒนธรรม<br />

[ ]<br />

ร่วมเป็นเครือข่าย<br />

การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม<br />

กับอิโคโมสไทย<br />

International Council on Monuments and Sites<br />

International Secretariat<br />

49-51, rue de la Fédération<br />

F-75015 PARIS-FRANCE<br />

Tel: 33 (0)1 45 67 67 70<br />

Fax: 33 (0)1 45 66 06 22<br />

E-mail: secretariat@icomos.org<br />

Http://www.icomos.org<br />

ด้วยการรวมกลุ่มของคณะกรรมการโบราณสถานระดับชาติ (National Committee)<br />

ของประเทศสมาชิกชาต ติ างๆ ่ ซงปัจจ ่ึ บุ นประกอบด้วย ั<br />

ประเทศสมาชิก 115<br />

ประเทศรวมทั้งประเทศไทย ที่จะได้มีการแลกเปลี่ยน แบ่งปันผู้เชี่ยวชาญ<br />

และประสบการณ์ซึ่งกันและกันโดยตรง หรือจากการรวมกลุ่มเฉพาะทาง<br />

ในรูปของคณะกรรมการวิชาการ ระหว่างประเทศ (International Scientific<br />

Committee)<br />

ให้การช่วยเหลือในการแก้ปัญหา หรือสนับสนุนโครงการ<br />

ในการอนรุ กษ์มรดกวัฒนธรรมขององค์กรต่างๆ ั<br />

ทงใน ้ั ระดับชาติ<br />

และระดับระหว่างประเทศ<br />

ให้คำแนะนำ และเป็นผู้กำหนดข้อตกลงระดับระหว่าง<br />

ประเทศ กฎบัตร และแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อการปฏิบัติ<br />

ทางด้านการอน รุ กษ์มรดกวัฒนธรรมในแนวทางท<br />

ั<br />

Heritage .... การป้องกันความเสี่ยง Risk Preparedness ....<br />

การวิเคราะห์และบูรณะโครงสร้างของมรดกสถาปัตยกรรม Analysis and<br />

Restoration of Structures of Architectural Heritage .... ศิลปะถ้ำ<br />

Rock Art .... งานกระจกสี Stained Glass .... เศรษฐศาสตร์ในการอน รุ กษ์ ั<br />

Economics of Conservation.... โบราณวัตถุและงานศิลปะ Restoration<br />

of Heritage Object in Monument and Sites....<br />

มรดกวัฒนธรรมในศตวรรษที่ 20 20th Century Heritage<br />

..... มรดกโบราณสถานทางการทหารและป้อมปราการ<br />

Fortifications and Military Heritage....<br />

การตีความและ การนำเสนอ ICIP - Interpretation and<br />

Presentation.... ทฤษฎีและปรัชญาของการอนรุ ักษ์และ<br />

การบูรณะ Theory and Philosophy of Conservation and<br />

Restoration.... หมู่เกาะแปซฟิ คิ Pacific Islands...<br />

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บไซต์ Http://www.icomos.org<br />

อิโคโมสไทย<br />

ฝ่ายเลขานุการอิโคโมสไทย<br />

ชั้นล่าง อาคารสำนักโบราณคดี<br />

81/1 ถ.ศรีอยุธยา ด ติ กทม.10300<br />

โทรศัพท์ 0-2282-2121#217<br />

โทรสาร 0-2281-3947<br />

E-mail: admin@icomosthai.org<br />

Website: www.icomosthai.org


ภิ<br />

ตู<br />

ิ<br />

ท์<br />

ย่ี<br />

่ั<br />

กี<br />

่ึ<br />

กุ<br />

อิโคโมสไทย คือ......?<br />

คณะกรรมการโบราณสถานแห่งชาติว่าด้วยสภาการโบราณสถานระหว่าง<br />

ประเทศ หรือที่เรียกว่า “อิโคโมสไทย” (<strong>ICOMOS</strong> <strong>Thailand</strong>) คือ<br />

คณะกรรมการระดับชาติ (National Committee) คณะกรรมการหนึ่งของ<br />

<strong>ICOMOS</strong> ซึ่งมีฐานะเป็นตัวแทนของประเทศไทยนั่นเอง โดยประธานคณะ<br />

กรรมการฯ ของแต่ละชาต ยิ งมีฐานะเป็นกรรมการของคณะกรรมการที่ปรึกษา<br />

ั<br />

ของอิโคโมส (<strong>ICOMOS</strong> Advisory Committee) ในระดับระหว่างประเทศอีกด้วย<br />

ประวัติความเป็นมา<br />

“อิโคโมสไทย” ไดก้ อตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่2 ่<br />

เมษายน 2528<br />

ซึ่งเห็นชอบและอนุมัติให้แต่งตั้ง “ คณะกรรมการโบราณสถานแห่งชาติ<br />

สำหรับสภาระหว่างชาต วิ าด้วยโบราณสถานและแหล่งโบราณคดี ่<br />

“ (<strong>Thailand</strong><br />

National Committee for <strong>ICOMOS</strong>) ในครั้งนั้นประกอบด้วยคณะกรรมการ<br />

บริหาร 25 คน ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนคณะกรรมการบริหารเพื่อ<br />

ความคล่องตัวในการดำเนินงานและประสานงานกับ <strong>ICOMOS</strong> อ 2 ครั้ง เมื่อ<br />

กุมภาพันธ์ 2532 และ ตุลาคม 2542 โดยลดจำนวนกรรมการเหลือ 12 คน<br />

และปรับชื่อเป็น “ คณะกรรมการโบราณสถานแห่งชาตวิ าด้วยสภาการ<br />

่<br />

โบราณสถานระหว่างประเทศ (<strong>ICOMOS</strong>) “<br />

เมื่อ พฤษภาคม 2546ได้มีการปรับปรุงคณะกรรมการฯอีกครั้ง<br />

และเพิ่มเติมคณะกรรมการให้ครอบคลุมถึงสายวิชาชีพต่างๆที่เกี่ยวข้อง<br />

ให้มากขึ้น ในครั้งนี้ประกอบด้วย คณะกรรมการ 21 คน โดยมี นายสวุ ชญ์ ิ<br />

รัศม และปลัดกระทรวงวัฒนธรรมเป็นที่ปรึกษา อธิบดีกรมศิลปากร<br />

เป็นประธานกรรมการ และผู้อำนวยการสำนักโบราณคดี เป็นกรรมการ<br />

และ เลขานุการ โดยคณะกรรมการฯชุดน น้ี นเองท ่ั ถ่ี อเป็นจุดเริ่มของนโยบาย<br />

ื<br />

การเปิดรับสมัครสมาชิกอิโคโมสไทยเพิ่มเติม เพื่อการสร้างเครือข่ายของ<br />

การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ที่ไม่จำกัดอยู่เพียงในหน่วยงานราชการ<br />

เพื่อประโยชน์ในการอน รุ กษ ั งยนื จนในที่สุด ได้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการ<br />

บริหาร จากเสียงของสมาชิกเป็นครั้งแรก ในปี 2550<br />

กิจกรรมและผลงาน<br />

ด้านวิชาการ<br />

การประกาศระเบียบกรมศิลปากรว่าด้วยการอนรุ กษ์โบราณสถาน ั<br />

พ.ศ.<br />

2528 (Bangkok Charter) ตามแนวทางของกฎบัตรเวนิช<br />

การเดินทางไปเข้าร่วมประชุมในการประชุมสามัญของ <strong>ICOMOS</strong> และ<br />

การประชุมทางวิชาการของคณะกรรมการวิชาการระหว่างประเทศของ<br />

<strong>ICOMOS</strong> ซงอิโคโมส ไทยไดส้ งผู้แทนเข้าร่วมประชุมมาอย่างต่อเนื่อง<br />

่<br />

การเดินทางไปในฐานะผู้เชี่ยว<br />

ชาญ เพื่อร่วมพิจารณาและให้คำ<br />

แนะนำในการประเมินโบราณสถาน<br />

เพื่อรับการเสนอชื่อเป็นมรดกโลก<br />

การจัดการประชุมวิชาการ และ<br />

การประชุมของคณะกรรมการ<br />

วิชาการระหว่างประเทศ เช่น การ<br />

ประชุมเรื่องการอนุรักษ์และฟื้นฟูสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในปี 2540 ซึ่ง<br />

สรุปผลจากการประชุมได้นำไปประกาศเป็น กฎบัตรว่าด้วยมรดก<br />

สิ่งก่อสร้างพื้นถิ่น รับรองในที่ประชุมสามัญของอิโคโมสครั้งที่ 12 ณ<br />

ประเทศเม็กซิโก การจัดการประชุมของคณะกรรมการวิชาการระหว่าง<br />

ประเทศว่าด้วยเรื่องการอนุรักษ์หิน(<strong>ICOMOS</strong>–ISCS) โดยร่วมเป็น<br />

เจ้าภาพกับสถาบันว จิ ยแห่งชาติเพื่อมรดกวัฒนธรรมกรุงโตเกียว ั<br />

(NRICPT)<br />

ประเทศญี่ปุ่น และองค์การเพื่อการปกป้องคุ้มครองและจัดการเมือง<br />

พระนคร (APSARA) ราชอาณาจักรกัมพูชา เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2546<br />

การให้ความร่วมมือเกี่ยวกับข้อมูลทางวิชาการต่างๆ อิโคโมสไทยได้มี<br />

การติดต่อประสานงานกับฝ่ายเลขานุการของ <strong>ICOMOS</strong> ทางอินเตอร์เน็ต<br />

มาโดยตลอด<br />

โครงการเสวนาวิชาการพบปะสมาชิก จัดขึ้นเป็นระจำทุก 2 เดือน<br />

ในหัวข้อทางวิชาการที่หลากหลาย การสัมมนาวิชาการประจำปี<br />

การประชุมสามัญของอิโคโมสไทยในวาระทุก 3 ปี และการร่างกฎบัตร<br />

ประเทศไทยเพื่อการอนรุ กษ์มรดกวัฒนธรรม ั<br />

(<strong>Thailand</strong> Charter)<br />

จัดตั้งมุมหนังสืออิโคโมสไทย สำหรับบริการสมาชิกเพื่อศึกษา<br />

ค้นคว้าหนังสือ และเอกสารทางด้านการอนุรักษ์โบราณสถาน<br />

และมรดกทางวัฒนธรรม ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในห้องสมุด<br />

สำนักโบราณคดี ชน้ั<br />

1 อาคารกรมศิลปากร เทเวศร์ ถ.ศรีอยุธยา<br />

จัดพิมพ์หนังสือผลงานวิชาการของสมาชิกและจากการ<br />

จัดกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ<br />

ด้านการบริหาร ประชาสัมพันธ์ และด้านสมาชิก<br />

การประชุมกรรมการบริหารของอิโคโมสไทย ท 2 เดือน พิจารณาเรื่อง<br />

การดำเนินการขององค์กร ให้คำปรึกษาปัญหาด้านการอน รุ กษ ั ก์ บสมาชิก ั<br />

กิจกรรมเผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์ รวมถึงการติดต่อสื่อสาร<br />

ระหว่างสมาชิกในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ได้แก่<br />

- การจัดทำเว็บไซต์ www.icomosthai.org และจัดตั้ง e-mail:<br />

admin@icomosthai.org<br />

- การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสานงานกับ <strong>ICOMOS</strong> International<br />

สำนักงานกรุงปารีส และองค์กรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง<br />

- การจัดทำจดหมายข่าวอิเลคโทรนิค รายเดือน<br />

- การจัดทำจุลสารอิโคโมสไทย ราย 4 เดือน<br />

การเปิดรับสมาชิกอิโคโมสไทย ปี 2547 มีการเปิดรับสมัครสมาชิก<br />

อิโคโมสไทยในระดับกว้าง เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการอน รุ กษ์ ั<br />

โบราณสถานและมรดกวัฒนธรรม แบ่งเป็น 6 ประเภท ได้แก่<br />

- สมาชิกประเภทบุคคล - สมาชิกประเภทเยาวชน (อายุไม่เกิน 28 ปี)<br />

- สมาชิกประเภทสถาบัน - สมาชิกประเภทอุปถัมภ์<br />

- สมาชิกประเภทกิตติมศักดิ์ - สมาฃิกประเภทนักบวช<br />

รับแจ้งข้อมูล ปัญหา หรือความเสียหายที่เกิดกับโบราณสถานโดยฝ่าย<br />

เลขานุการรับหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน เพื่อหาแนวทางในการดำเนินการ<br />

ทเหมาะสม ่ี<br />

น่ ้<br />

อัตราค่าสมาชิก<br />

สมาชิกอิโคโมสไทย<br />

ประเภทบุคคล รายปี 200 บาท ตลอดชีพ 2000 บาท<br />

ประเภทเยาวชน (อายุไม่เกิน 28 ปี) รายปี 100 บาท<br />

ประเภทสถาบัน<br />

รายปี 2000 บาท<br />

ประเภทอุปถัมภ์ บริจาคเงินไม อยกว่าค่าสมาชิกรายปี<br />

ด้านการจัดหารายได้สมทบกองทุนอิโคโมสไทย<br />

โครงการเสวนาสัญจรเพื่อการอนรุ กษ์โบราณสถาน ั<br />

นำสมาชิกและ<br />

ครอบครัวชมโบราณสถาน และแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่หลากหลาย<br />

การเชิญชวนบริจาคเงินจากหน่วยงาน องค์กรรัฐและเอกชน สถาบัน<br />

ต่างๆ และผู้สนับสนุน<br />

การจัดทำสินค้าที่ระลึกตราสัญลักษณอ์ โคโมสไทย ิ จัดจำหน่าย<br />

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ที่ฝ่ายเลขานุการอิโคโมสไทย<br />

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มใบสมัครได้ทางเว็บไซต์อิโคโมสไทยหน้าสมาชิก<br />

ชำระค่าสมาชิกหรือบริจาคเงินผ่านทางบัญชีธนาคาร ไดท้ ่ี ธนาคารกรุงไทย<br />

สาขาราชดำเนิน ชอบัญชี ่ื “อิโคโมสไทย” ประเภทออมทรัพย์<br />

เลขที่ 018-0-00243-0 ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานการชำระเงินทางโทรสาร<br />

หรือทางอีเมล มายังฝ่ายเลขานุการอิโคโมสไทย<br />

สิทธิประโยชน์สมาชิกอิโคโมสไทย<br />

ยกเว้นค่าเข้าชม โบราณสถาน อุทยานประวตั ศาสตร์ ิ และพพิ ธภัณฑสถาน ิ<br />

แห่งชาติ ทวประเทศ ่ั<br />

จดหมายข่าวอิเล็คโทรนิคส์ E-NEWS รายเดือน และจดหมายข่าวอิโคโมส<br />

ไทย ปีละ 3 เล่ม ติดตามข่าวการอนรุ กษ์จากทั่วโลก<br />

ั<br />

ส่วนลดพิเศษในการเข้าร่วมกิจกรรม อาทิ สัมมนาวิชาการประจำปี เสวนา<br />

วิชาการพบปะสมาชิก โบราณคดสี ญจรเพื่อการอน ั<br />

รุ กษ์ ั โบราณสถาน<br />

ส่วนลด 20% สำหรับสินค้าที่ระลึกของอิโคโมสไทย<br />

และส่วนลดพิเศษอื่นๆ อีกมากมาย จากองค์กรเครือข่าย<br />

ใช้บริการมุมหนังสืออิโคโมสไทย ห้องสมุดสำนักโบราณคดี<br />

และสิทธิในการสมัครเป็นสมาชิก <strong>ICOMOS</strong> International

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!