18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ย<br />

รอยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรคิดเปนรอยละ<br />

80 สูงกวาเกณฑที่กําหนด<br />

คือ รอยละ<br />

70 และกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยาง<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

เพ็ญพิศุทธิ์<br />

(2536: 207-210) ไดศึกษาโดยสราง และพัฒนาแบบสอบการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณโดยอิงรูปแบบลักษณะแบบสอบจาก Cornell Critical Thinking Test, Level Z เปน<br />

แบบสอบชนิดเลือกตอบ จํานวน 56 ขอ ประกอบดวย 7 ดาน ไดแก ดานการระบุประเด็นปญหา<br />

ดานการรวบรวมขอมูล ดานการพิจารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล<br />

ดานการระบุลักษณะ<br />

ขอมูล ดานการตั้งสมมติฐาน<br />

ดานการลงขอสรุป และดานการประเมินผล กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก<br />

นักศึกษาภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ภาคเรียนที่<br />

1 ปการศึกษา 2536 จํานวน 800 คน ผลการวิจัย<br />

พบวา คาเฉลี่ย<br />

และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

เทากับ 29.45 และ 5.94 ตามลําดับ คาความยากของ<br />

แบบสอบอยูในชวง<br />

.19-.76 คาอํานาจจําแนก อยูในชวง<br />

.18-.55 คาความเที่ยงแบบสอดคลอง<br />

ภายในที่คํานวณจากสูตร<br />

KR-20 เทากับ .708 และคาความเที่ยงแบบคงเสนคงวาโดยการสอบซ้ําที่<br />

คํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ<br />

Pearson เทากับ .651 คาความตรงตามทฤษฎีมีคาเทากับ .56<br />

สําหรับเกณฑเทียบระหวางคะแนนสอบกับระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณ ไดดังนี้<br />

35 คะแนนขึ้น<br />

ไป เทากับ ระดับสูง ชวงคะแนนระหวาง 26-34 เทากับ ระดับปานกลาง 25 คะแนนลงไป เทากับ<br />

ระดับต่ํา<br />

มลิวัลย (2540: บทคัดยอ, 89-91) ไดศึกษาเพื่อพัฒนา<br />

และทดลองใชรูปแบบการสอนเพื่อ<br />

พัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ ไดสรางและพัฒนาแบบสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนแบบ<br />

สอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 36 ขอ ประกอบดวย 6 ดาน ไดแก การนิยามปญหา การ<br />

รวบรวมขอมูล การจัดระบบขอมูล การตั้งสมมติฐาน<br />

การสรุปอางอิงโดยใชตรรกศาสตร และการ<br />

ประเมินการสรุปอางอิง กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 จํานวน 228 คน<br />

ผลการวิจัยพบวา คาความเที่ยงแบบสอดคลองภายในที่คํานวณจากสูตร<br />

KR-20 เทากับ .69 คาความ<br />

เที่ยงแบบสอบซ้ํา<br />

จํานวน 114 คน เทากับ .64 และรูปแบบการสอนที่ใชมีประสิทธิภาพเพียงพอจะ<br />

นําไปใช<br />

58

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!