18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

Critical Thinking in Science of the Ninth Grade Students<br />

in Bangkok Educational Service Area Office 2<br />

โดย<br />

นายสัญญลักษณ สวัสดีมงคล<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(ศึกษาศาสตร – การสอน)<br />

พ.ศ. 2549<br />

ISBN 974-16-2153-1


กิตติกรรมประกาศ<br />

ผูวิจัยขอขอบพระคุณดวยความซาบซึ้ง<br />

และสํานึกในความกรุณาของคณะกรรมการที่<br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ ไดแก ผูชวยศาตราจารย<br />

ดร. โสภาพรรณ แสงศัพท ประธานกรรมการที่<br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ รองศาตราจารย ดร. สุนันท สังขออง กรรมการวิชาเอก ดร. ธีระศักดิ์<br />

วีระภาสพงษ กรรมการวิชารอง และอาจารย ดีเซลล สวนบุรี ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

ที่กรุณาให<br />

คําปรึกษา คําแนะนํา และขอเสนอแนะ อันมีคุณคาอยางยิ่งตอวิทยานิพนธฉบับนี้<br />

ความคลุมเครือ และความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในการวิจัย<br />

นับตั้งแต<br />

การกําหนดหัวขอ<br />

วิทยานิพนธ การดําเนินการวิจัย การเขียนรายงาน ตลอดจนภาษาที่ใช<br />

จนกระทั่งมีความชัดเจนใน<br />

การวิจัยมากขึ้น<br />

ทําใหการวิจัยในครั้งนี้สําเร็จลุลวงเปนอยางดี<br />

กอเกิดใหผูวิจัยตระหนักถึงคุณคาของ<br />

การวิจัยมากยิ่งขึ้น<br />

ผูวิจัยขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญทั้ง<br />

4 ทาน ที่ไดกรุณาตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

ขอขอบพระคุณผูอํานวยการโรงเรียนของกลุมตัวอยางที่ใหความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวม<br />

ขอมูล ขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ของกลุมตัวอยางที่ใหความรวมมืออยางดียิ่ง<br />

และขอขอบคุณ คุณเอกสิทธิ์<br />

ที่ใหความชวยเหลือและสนับสนุนในเรื่องตาง<br />

ๆ<br />

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ<br />

บิดา มารดา พี่สาว<br />

และคณาจารยทุกทาน อันเปนที่รัก<br />

และเคารพอยางยิ่ง<br />

ที่มีสวนสนับสนุนในความสําเร็จในการวิจัยครั้งนี้<br />

สัญญลักษณ สวัสดีมงคล<br />

พฤษภาคม 2549


สารบัญ<br />

สารบัญตาราง (3)<br />

สารบัญภาพ (7)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

บทที 1 บทนํา 1<br />

ความสําคัญของปญหา 1<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย 5<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

6<br />

ขอบเขตของการวิจัย 6<br />

นิยามศัพท 8<br />

สมมติฐานการวิจัย 10<br />

บทที 2 การตรวจเอกสาร<br />

ความหมายของ การคิด ประเภทของการคิด การคิดขั้นสูง<br />

11<br />

และการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

11<br />

ทางวิทยาศาสตร 16<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณ 26<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ 32<br />

แนวคิด และลักษณะของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ 43<br />

เกณฑปกติ 50<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

55<br />

บทที 3 วิธีการวิจัย 66<br />

กลุมประชากร<br />

66<br />

กลุมตัวอยาง<br />

69<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

70<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล 81<br />

การวิเคราะหขอมูล 81<br />

(1)<br />

หนา


สารบัญ (ตอ)<br />

่<br />

่<br />

บทที 4 ผลการวิจัยและขอวิจารณ 82<br />

ผลการวิจัย 82<br />

ขอวิจารณ 94<br />

บทที 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 101<br />

สรุปผลการวิจัย 101<br />

ขอเสนอแนะ 104<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

107<br />

ภาคผนวก 120<br />

ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญ<br />

121<br />

ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

123<br />

ภาคผนวก ค การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด 133<br />

ภาคผนวก ง เกณฑปกติของคะแนน 147<br />

(2)<br />

หนา


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 รายชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียน จํานวนนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

ของกลุมประชากร<br />

67<br />

2 รายชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียน จํานวนนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

ของกลุมตัวอยาง<br />

70<br />

3 ตารางการวิเคราะหแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร 75<br />

4 เกณฑในการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร 77<br />

5 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนในกลุมตัวอยาง<br />

83<br />

6 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

83<br />

7 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

84<br />

8 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

84<br />

9 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

85<br />

(3)


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

10 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

85<br />

11 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

86<br />

12 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

86<br />

13 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

87<br />

14 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

87<br />

15 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

88<br />

16 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

88<br />

17 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุมตัวอยาง<br />

90<br />

18 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุมตัวอยาง<br />

90<br />

(4)


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

19 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

91<br />

20 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

91<br />

20 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ระหวางนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

93<br />

ตารางผนวกที่<br />

1 ตัวอยางแบบประเมินคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ทางวิทยาศาสตร ตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

139<br />

2 ผลการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

141<br />

3 การปรับปรุงแกไขแบบวัดที่ไดคัดเลือกไวกอน<br />

และหลังการตรวจสอบตาม<br />

ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

143<br />

4 คาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก และคาความเที่ยงของแบบวัด<br />

146<br />

5 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

149<br />

6 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

151<br />

(5)


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางผนวกที่<br />

หนา<br />

7 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

152<br />

8 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

153<br />

9 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

154<br />

10 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

155<br />

11 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุมตัวอยาง<br />

156<br />

12 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

158<br />

(6)


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 วงจรปฏิสัมพันธ 17<br />

2 จําลองมหภาคของโครงสรางทฤษฎีทางสติปญญาของ Guilford 22<br />

3 ขั้นตอนการสรางและพัฒนาเครื่องมือ<br />

71<br />

4 สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร 5 ดาน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

89<br />

5 สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

92<br />

(7)


บทที่<br />

1<br />

บทนํา<br />

ความสําคัญของปญหา<br />

การประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งไดกําหนดแนวทางการจัด<br />

การศึกษาไว ในหมวด 4 มาตรา 24 (2) ความวา ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ<br />

เผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา<br />

(สํานักคณะกรรมการ<br />

การศึกษาแหงชาติ, 2542: 14) สงผลให สถาบันสงเสริมการประเมินคุณภาพ และมาตรฐาน<br />

การศึกษาแหงชาติ ไดกําหนดมาตรฐานดานผูเรียน<br />

ในมาตรฐานที่<br />

4 ความวา มีความสามารถใน<br />

การคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค คิดไตรตรอง และมีวิสัยทัศน<br />

(สถาบันสงเสริมการประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ, 2543: 23) แสดงใหเห็นได<br />

วา การจัดการเรียนการสอนในปจจุบันมุงเนนการสงเสริม<br />

และพัฒนากระบวนการคิดที่สามารถนํา<br />

ความรูไปใชในชีวิตประจําวันได<br />

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก<br />

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ใหจัดทําแนวทางการจัดการศึกษา โดยไดแบงประเภทของการ<br />

คิดขั้นสูง<br />

(Higher-Ordered Thinking: HOT) ประกอบดวยการคิดในดานตาง ๆ คือ การคิด<br />

วิเคราะห (Analytical Thinking) การคิดวิพากษวิจารณ (Critical Thinking) การคิดสรางสรรค<br />

(Creative Thinking) การคิดอยางเปนเหตุผล (Logical Thinking) และการคิดเชิงวิทยาศาสตร<br />

(Scientific Thinking) (กรมวิชาการ, 2546: 226-227) สําหรับการวิจัยในครั้งนี้<br />

ผูวิจัยจะศึกษาเฉพาะ<br />

การคิดวิพากษวิจารณ (Critical Thinking) แตจากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ<br />

คําวา “Critical Thinking” เปนคําที่มีผูใชชื่อเปนภาษาไทยที่แตกตางกัน<br />

เชน การคิดเชิงวิพากษ<br />

(เกรียงศักดิ์,<br />

2547) การคิดวิพากษวิจารณ (กรมวิชาการ, 2546) การคิดวิเคราะหวิจารณ (นิพล,<br />

2536) การคิดอยางมีวิจารณญาณ (ทิศนา, 2544 ; ชาติ, 2545) เปนตน การวิจัยครั้งนี้<br />

คําวา<br />

“Critical Thinking” ผูวิจัยใชชื่อเปนภาษาไทยวา<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ ตามศัพทบัญญัติ<br />

การศึกษาฉบับกรมวิชาการ (กรมวิชาการ, 2544: 74)


การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนรูปแบบการคิดประเภทหนึ่งที่กําลัง<br />

กลาวถึงในปจจุบันอยางกวางขวางโดยเฉพาะการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร เนื่องจากมีความ<br />

เกี่ยวพันกับการเรียนรูวิธีคิดในการแกปญหา<br />

(Hilgard , 1962: 336-337 ; Ennis, 1990:13-16 ;<br />

Zeidler, Lederman, and Taylor, 1992: 438 ; ศันสนีย และอุษา, 2544:31) ของนักเรียน และยัง<br />

เกี่ยวของกับการรวบรวมขอมูล<br />

การตีความหมายของขอมูล การสรุปหรือการแกปญหาโดยใช<br />

ขอมูลประกอบการพิจารณา โดยไมบิดเบือนไปจากขอมูลที่มีอยู<br />

รวมทั้งการนําขอสรุป<br />

หลักการ<br />

การลงความเห็นไปใชในสถานการณใหม ๆ และสามารถประเมินการอภิปรายได (วรรณทิพา,<br />

2545: 50) อีกทั้ง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนความสามารถทางกระบวนการทางปญญาที่<br />

เกี่ยวของกับการรับรู<br />

ความจํา ความเขาใจ จนถึงขั้นการวิเคราะห<br />

สังเคราะห และประเมินคาตาม<br />

แนวคิดของ Bloom และอีกแนวหนึ่งเปนแนวคิดของ<br />

Gagne ที่เปนกระบวนการเริ่มจากสัญลักษณ<br />

ทางภาษาจนโยงเปนความคิดรวบยอด เปนกฎเกณฑ และการนํากฎเกณฑไปใช (กรมวิชาการ, 2534:<br />

33) และยังเปนการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห การคิดตัดสินใจ เพื่อนําไปสูการคิดเพื่อแกปญหา<br />

โดยยึดหลักการคิดอยางเปนเหตุผลจากขอมูลที่เปนจริงมากกวาอารมณ<br />

และการคาดเดา (ศันสนีย<br />

และอุษา, 2544:31-33)<br />

จากความหมายขางตนสะทอนใหเห็นไดวา การคิดอยางมีวิจารณญาณมีความสําคัญกับ<br />

สังคมไทยในปจจุบัน และอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานวิทยาศาสตรที่มีความเจริญกาวหนา<br />

เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง<br />

และรวดเร็ว อาจกลาวไดวา วิทยาศาสตรมีความเกี่ยวของกับทุกคน<br />

ทุก<br />

คนควรรูวิทยาศาสตร<br />

(Scientific Literacy for All) โดยเฉพาะกับนักเรียนที่เปนอนาคตของประเทศ<br />

หากขาดการคิดอยางมีวิจารณญาณแลว ยอมสงผลกระทบตอสังคมแหงความรู<br />

(Knowledge Based<br />

Society) ดังนั้นการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรจึงมีสวนชวยใหนักเรียนสามารถสงเสริม<br />

และ<br />

พัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ เนื่องจากการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรตองอาศัยการคิด<br />

ดังกลาว<br />

นอกจากนี้จากผลการวิจัยที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณที่ผานพบวา<br />

การคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณมีความสัมพันธกับความสามารถในการแกปญหา (วีระ, 2525 ; พิชิต, 2542 ; วรรณภา,<br />

2542 ; ทักษินันท, 2543 ; รตาพร, 2547 ; พรศรี, 2548 ; Anderson, 1967 ; Center for Critical<br />

Thinking, 1996 อางถึงใน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540 ; Shepherd, 1998) มี<br />

ความสัมพันธกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (วิไลวรรณ, 2535 ; นิพล, 2536 ; Griffitts,<br />

1987) มีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร<br />

(เบศจมาศ, 2533 ; วิไลวรรณ, 2535 ;<br />

2


ทักษินันท, 2543 ; สุรศักดิ์,<br />

2543 ; กนกวรรณ, 2545 ; เคน, 2546 ; พิรุณ, 2547 ; พรศรี, 2548 ; อรสา,<br />

2548 ; Griffitts, 1987) และมีความสัมพันธกับการนําความรูทางวิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน<br />

(สันตธวัช, 2537)<br />

การวัดความสามารถในการคิดนั้นสามารถวัดไดหลากหลายรูปแบบ<br />

แตถาพิจารณาถึง<br />

รูปแบบ และแนวทางของการวัดความสามารถในการคิด ตามแนวคิดของนักวัดกลุมจิตมิติ<br />

(Psychometric) ซึ่งเปนกลุมของนักวัดทางการศึกษา<br />

นักจิตวิทยาที่พยายามศึกษา<br />

และวัด<br />

คุณลักษณะภายในสมองของมนุษย เริ่มจากการศึกษา<br />

และวัดเชาวปญญา (Intelligence) และได<br />

ศึกษาโครงสรางทางสมองของมนุษยดวยความเชื่อที่วา<br />

มีลักษณะเปนองคประกอบ ดังที่<br />

Guilford<br />

(1956 cited Watson and Glaser, 1964 ) ไดวิเคราะหพบวา องคประกอบที่มีความสําคัญสําหรับ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณนั้นแบงได<br />

3 องคประกอบ คือ องคประกอบแรก ดานพุทธิปญญา<br />

(Cognition) องคประกอบที่สอง<br />

ดานการแกปญหา ซึ่งแบงไดเปน<br />

2 ประเภท ไดแก การคิดแบบ<br />

เอกนัย (Convergent) และการคิดแบบอเนกนัย (Divergent) และองคประกอบสุดทาย ดานการ<br />

ประเมินผล (Evaluation) และมีระดับความสามารถในการคิดที่แตกตางกันของแตละบุคคล<br />

สามารถวัดไดโดยการใชแบบวัดที่เปนมาตรฐาน<br />

และไดมีการพัฒนาแบบวัดกันอยางหลากหลาย ซึ่ง<br />

สวนใหญจะวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ, 2541: 65-66 ; Guilford, 1967a: 218-237)<br />

การประเมินผลการคิด เปนสิ่งที่มีความจําเปนอยางยิ่ง<br />

ดังที่<br />

Beyer (1991: E-13) กลาววา<br />

ถาหากไมมีการประเมินผลการคิดก็เหมือนกับการทํางานเสร็จครึ่งเดียว<br />

และหากไมประเมินผลใน<br />

การคิดของนักเรียนอยางตอเนื่องการสอนทักษะการคิดก็ไมอาจเกิดการพัฒนาตามแนวพึงประสงค<br />

ได โดยเฉพาะอยางยิ่งกับการวัดและประเมินผลการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียน<br />

ผูวัดหรือ<br />

ผูสรางแบบวัดจะตองมีความรอบรูในแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับการคิดอยางมีวิจารณญาณหรือ<br />

โครงสรางของการคิด เพื่อนํามาเปนกรอบหรือโครงสรางของการคิด<br />

เมื่อมีการกําหนดนิยามเชิง<br />

ปฏิบัติการของการคิด จึงจะทําใหไดตัวชี้วัดหรือลักษณะพฤติกรรมเฉพาะที่เปนรูปธรรม<br />

ที่สามารถ<br />

บงชี้โครงสรางของการคิด<br />

ซึ่งสามารถเขียนเปนแบบวัดที่เปนมาตรฐานได<br />

(ศิริชัย, 2544ข: 171)<br />

นอกจากนี้<br />

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543) กลาววา การสรางขอสอบควร<br />

สรางที่เปนการพัฒนาสติปญญา<br />

การคิด ซึ่งขอสอบสวนใหญมุงเนนดานเนื้อหามากกวาการคิด<br />

แกปญหา กระบวนการทางวิทยาศาสตร และนําวิธีการทางวิทยาศาสตรมาใชแกปญหา<br />

3


แตปญหาที่สําคัญ<br />

ดานคุณภาพของการศึกษา ประการแรก คือ นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิด<br />

วิเคราะห สังเคราะห การคิดอยางมีเหตุผล การคิดริเริ่มสรางสรรค<br />

การคิดแกปญหา การคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณ และขาดความรูทางวิชาการดานวิทยาศาสตร<br />

(กองนโยบายและแผน สํานักงาน<br />

คณะกรรมการการศึกษาเอกชน, 2545: 1) ประการที่สอง<br />

คือ ครูผูสอนขาดทักษะของการวัดและ<br />

ประเมินผล ขาดความรูในการสรางเครื่องมือวัดผล<br />

เครื่องมือสวนใหญเนนวัดความรูความจํา<br />

(ณรัณ,วิรัตน และสริภพ, 2547: 15)<br />

ความสําคัญ และปญหาดังกลาวขางตน ผูวิจัยเห็นวา<br />

การที่จะพัฒนาการเรียนการสอนวิชา<br />

วิทยาศาสตรไดนั้น<br />

จะตองทราบปญหาเปนที่ประจักษวาสวนใดของการจัดการเรียนการสอนวิชา<br />

วิทยาศาสตรที่มีปญหา<br />

และตองไดรับการแกไขอยางเรงดวน ปจจัยหนึ่งที่จะพัฒนาการเรียนการ<br />

สอนวิชาวิทยาศาสตรไดนั้นจะตองใหทันกับการเปลี่ยนแปลงทางดานวิทยาศาสตร<br />

โดยอาศัยการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรในการคิดพิจารณา ไตรตรอง จําแนกขอมูลหรือสถานการณ<br />

อยางมีเหตุผล แลวนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ซึ่งการศึกษา<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นาจะเปนปจจัยหนึ่งตอการพัฒนาการ<br />

เรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร และเมื่อศึกษาการวิจัยทางวิทยาศาสตรศึกษาที่ผานมาเกี่ยวกับการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณ สามารถจําแนกได 2 รูปแบบ คือ การวิจัยที่ศึกษาการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

สัมพันธกับการแกปญหาทางวิทยาศาสตร (วีระ, 2525 ;วรรณภา, 2542 ; Anderson, 1967) สัมพันธ<br />

กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (วิไลวรรณ, 2535 ; นิพล, 2536) สัมพันธกับการนําความรู<br />

ทางวิทยาศาสตรไปใช (สันตธวัช, 2537) และอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

คือ การวิจัยรูปแบบการสอนตาง ๆ<br />

ที่มีผลตอการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

(เบญจมาศ, 2533 ; วิไลวรรณ, 2535; นิพล, 2536 ; พิชิต, 2542 ;<br />

อุทุมพร, 2542 ; ทักษินันท, 2543 ; กนกวรรณ, 2545 ; สุพรรณี, 2543 ; สุรศักดิ์,<br />

2543 ; ลักษณีย,<br />

2545 ; พรศรี, 2548 ; พิรุณ, 2547 ; อรสา, 2548 ; Kleinman, 1963 ; Cruz, 1971 ; Griffitts, 1987 ;<br />

Shepherd, 1998 ; Crouch, Quitadamo, and Jayne, n.d) ที่ผานมายังไมปรากฏการวิจัยในลักษณะที่<br />

ศึกษาถึงระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งวิชา<br />

วิทยาศาสตรซึ่งมีเนื้อหาที่ครูผูสอนสามารถนํามาตั้งเปนประเด็นปญหาใหนักเรียนไดฝกการคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณไดเปนอยางดี (พงษเทพ, 2545: 36) รวมทั้งการกําหนดใหนักเรียนตองมีการทดสอบ<br />

NT (National Test) ของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีการทดสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณรวมอยู<br />

ดวย ความซับซอนในการวัดและประเมินผลการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร การสราง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ผนวกกับความสําคัญของการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ผูวิจัยสรุปไดวา<br />

การศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

4


วิทยาศาสตรของนักเรียน มีความสําคัญตอการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร โดยใน<br />

การศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ผูวิจัยไดสรางกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี<br />

ของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย ทฤษฎีและพัฒนาการทางสติปญญา<br />

ของ Piaget และทฤษฎีทางสติปญญาของ Guilford โดยไดใชแนวแบบวัดการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 เปน<br />

เครื่องมือในการวิจัยเพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

เนื่องจากแนวแบบ<br />

วัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B<br />

1980 เปนแบบวัดสําหรับการวัดและประเมินผลการคิดอยางมีวิจารณญาณที่สามารถวัดได<br />

ครอบคลุมลักษณะตาง ๆ ของการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีความเปนปรนัย และมีการพัฒนาแบบวัด<br />

อยางตอเนื่อง<br />

(Norris, 1985: 40-45) ซึ่งแบบวัดนี้ประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก การอางอิง<br />

การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ และการประเมินขอโตแยง โดยเนื้อหา<br />

ของแบบวัดเปนสถานการณ ขอมูล ขาวสาร ความเปนจริงทางธรรมชาติ การทดลองทาง<br />

วิทยาศาสตร ซึ่งเนื้อหาเหลานี้เปนเรื่องตองนํามาพิจารณาสําหรับการตัดสินใจเพื่อยอมรับหรือ<br />

ปฏิเสธอยางสมเหตุสมผลตามหลักตรรกวิทยา (ประเทืองทิพย, 2534: 2-3) นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห<br />

พิจารณาวิธีการทางวิทยาศาสตร (Scienific Method) มีความเกี่ยวพันกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ทางวิทยาศาสตรที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน เนื่องจากวิธีการทางวิทยาศาสตรตองอาศัยการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรดังกลาว จากเหตุผลดังกลาวผูวิจัยจึงใชแนวแบบวัดการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 มีความ<br />

เหมาะสมเพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียน<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

1. เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา-<br />

ปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

2. เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

จําแนกตามการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรซึ่งประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ และการประเมินขอโตแยง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

5


3. เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

และเปรียบเทียบคะแนน<br />

เฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

จําแนกตามเพศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

1. ไดแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

2. ไดกระบวนการสรางและพัฒนาแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

3. นําผลการวิจัยที่ไดไปใชในการวางแผน<br />

ปรับปรุง และพัฒนา การเรียนการสอนวิชา<br />

วิทยาศาสตร เพื่อสงเสริม<br />

และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ตอไป<br />

ขอบเขตของการวิจัย<br />

1. แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร สรางขึ้นตามแนวแบบวัดการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980<br />

2. แบบวัดที่สรางขึ้น<br />

เปนแบบวัดที่ไมอิงเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่ง<br />

ของหนังสือเรียนวิชา<br />

วิทยาศาสตร ของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนแบบวัดแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดย<br />

ทําการวัดกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ซึ่งนักเรียนชวงนี้สามารถคิดเปนเหตุผล<br />

และคิดในสิ่งที่<br />

ซับซอนและเปนนามธรรมได (Formal-Operation Stage)<br />

3. การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย<br />

3.1 การอางอิง (Inference)<br />

3.2 การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption)<br />

3.3 การนิรนัย (Deduction)<br />

6


3.4 การแปลความ (Interpretation)<br />

3.5 การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments)<br />

4. กลุมประชากร<br />

และกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้<br />

คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2 ปการศึกษา 2548 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

5. ตัวแปรที่ศึกษา<br />

5.1 ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

5.2 ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร จําแนกตามการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรซึ่งประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ และการประเมินขอโตแยง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

5.3 ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร จําแนกตามเพศ ของนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

5.4 คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

จําแนกตามเพศ ของนักเรียน<br />

ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

ขอตกลงเบื้องตน<br />

การวิจัยครั้งนี้ไมศึกษาครอบคลุมถึงตัวแปรอื่น<br />

ๆ ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

สภาพแวดลอมของโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน<br />

7


นิยามศัพท<br />

การคิด (Thinking) หมายถึง กระบวนการภายในที่เกิดขึ้นภายในสมองที่มีความ<br />

สลับซับซอน ไมสามารถสังเกตพฤติกรรมไดโดยตรง แตสามารถอนุมานไดโดยใชแบบวัดที่สราง<br />

ขึ้น<br />

ซึ่งวัดไดจากคะแนนทดสอบของแบบวัด<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือ<br />

สถานการณ และเปนการคิดอยางมีเหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ แลวนําไปสูการตัดสินใจของ<br />

ขอมูลหรือสถานการณ เพื่อไปสูขอสรุป<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (Critical Thinking in Science) หมายถึง<br />

การคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือสถานการณ และเปนการคิดอยางมีเหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ<br />

แลวนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ที่เกี่ยวของกับขอมูล<br />

ขาวสาร<br />

ประเด็นปญหา การทดลอง ขอสรุป และแนวคิดทางวิทยาศาสตร ตามแนวทางแบบวัดการคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 ซึ่ง<br />

ประกอบดวยการคิด 5 ดาน<br />

1. การอางอิง (Inference) หมายถึง การคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปได<br />

ของขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

2. การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) หมายถึง การคิดในการ<br />

พิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

3. การนิรนัย (Deduction) หมายถึง การคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญ<br />

ไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อ<br />

หาขอสรุปจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

4. การแปลความ (Interpretation) หมายถึง การคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหา<br />

ที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหา<br />

8


5. การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) หมายถึง การคิดในการพิจารณาขอ<br />

โตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

แบบวัด (Test) หมายถึง ชุดของขอความหรือสถานการณหรือประเด็นปญหาที่สรางขึ้น<br />

เพื่อเราหรือชักนําใหผูหนึ่งผูใดหรือกลุมหนึ่งกลุมใดแสดงปฏิกิริยาโตตอบออกมา<br />

โดยพฤติกรรม<br />

ดังกลาวสามารถสังเกตหรือวัดได<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (Critical Thinking in Science Test)<br />

หมายถึง แบบวัดที่ผูวิจัยสรางขึ้นเพื่อใชวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

แบบวัดแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ (Objective Test) หมายถึง แบบวัดที่แตละขอ<br />

ประกอบดวย 2 สวน คือสวนที่เปนขอคําถาม<br />

และสวนที่เปนขอคําตอบ<br />

4 ตัวเลือก<br />

เกณฑปกติ (Norms) หมายถึง คะแนนดิบที่ไดจากแบบวัดที่แปลงในใหอยูในรูปคะแนน<br />

มาตรฐานที (T – Score) เกณฑปกติที่ไดเปนเกณฑปกติระดับทองถิ่น<br />

(Local Norms) และนําเสนอ<br />

เกณฑปกติในรูปแบบตารางเกณฑปกติ (Norms Table) เพื่อใชในศึกษาระดับการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2 ปการศึกษา 2548<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (The Critical Thinking in Science<br />

Level) หมายถึง เกณฑที่ใชในการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ซึ่ง<br />

แบงออกเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับสูง ระดับปานกลาง และระดับต่ํา<br />

นักเรียน (Students) หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2 ปการศึกษา<br />

2548 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

9


สมมติฐานการวิจัย<br />

ในการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน<br />

ชายและนักเรียนหญิง มีสมมติฐานที่วา<br />

คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

10


บทที่<br />

2<br />

การตรวจเอกสาร<br />

การวิจัยเพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 ตองอาศัยขอมูลพื้นฐานเพื่อนํามา<br />

เปนกรอบในการวิจัย ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาคนควา<br />

ตรวจสอบ เอกสารตาง ๆ และนํามาเรียบเรียง<br />

ตามลําดับดังนี้<br />

1. ความหมายของ การคิด ประเภทของการคิด การคิดขั้นสูง<br />

2. และการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

3. กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

4. แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

5. กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

6. แนวคิด และลักษณะของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

7. เกณฑปกติ<br />

8. งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ความหมายของ การคิด ประเภทของการคิด การคิดขั้นสูง<br />

และการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

การคิด เปนสิ่งที่มนุษยมีอยูแลวทุกคน<br />

แตจะมีความแตกตางในดานคุณภาพของการคิด<br />

(นวลจิตต, 2544: 113) ซึ่ง<br />

ราชบัณฑิตยสถาน (2546: 251) ไดใหความหมาย การคิด หมายถึง ทําให<br />

ปรากฏเปนรูป หรือประกอบใหเปนรูป หรือเปนเรื่องขึ้นในใจ<br />

ใครครวญ ไตรตรอง ในขณะที่<br />

Beyer (1985: 297-303 ) กลาววา การคิด หมายถึง การคนหาความหมาย ผูที่คิด<br />

คือ คนที่กําลัง<br />

คนหาความหมายอะไรบางอยาง กลาวคือ เปนการใชสติปญญา ความรู<br />

ความเขาใจ กับความรูใหม<br />

ที่ไดรับเขามารวมกับ<br />

ความรูเดิม<br />

หรือประสบการณเดิมที่มีอยูแลวเพื่อคนหาคําตอบ<br />

โดยที่<br />

บางคน<br />

คิดแลวมีประโยชน บางคนคิดแลวมีโทษ บางคนคิดแลวแตคิดไมออก บางคนคิดแลวแตคิดไม<br />

ถูกตอง บางคนไมรูจักที่จะคิด<br />

เปนตน ที่กลาวมา<br />

คนที่ไดเปรียบมากที่สุด<br />

คือ คนที่คิดแลวมี<br />

ประโยชน เรียกไดวา คนนั้น<br />

“คิดเปน” ซึ่งมีผูที่แบงประเภทการคิด<br />

ไวตางกัน ดังนี้


ศรินธร (2544: 118-140) ไดแบงการคิดออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. การคิดที่เปนแกน<br />

หรือการคิดทั่วไป<br />

(Core or General Thinking Skills) หมายถึง<br />

ทักษะการคิดที่จําเปนตองใชอยูเสมอในการดํารงชีวิตประจําวัน<br />

และเปนพื้นฐานของการคิด<br />

ระดับสูง เชน การสังเกต การสํารวจ การตั้งคําถาม<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล การระบุ การจําแนก<br />

แยกแยะ การจัดลําดับ การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู<br />

การสรุปอางอิง การแปล การตีความ<br />

การเชื่อมโยง<br />

การขยายความ การใหเหตุผล การสรุป เปนตน<br />

2. การคิดขั้นสูง<br />

หรือการคิดซับซอน (Higher Order or Complexed Thinking Skills)<br />

หมายถึง การคิดที่มีขั้นตอนการคิด<br />

หลายขั้นตอน<br />

และตองอาศัยทักษะการคิดแกนหลาย ๆ ทักษะ<br />

ทักษะการคิดขั้นสูงจะพัฒนาไดดี<br />

เมื่อไดพัฒนาการคิดแกนจนมีความชํานาญพอสมควรแลว<br />

เชน<br />

การสรุปความ การใหคําจํากัดความ การวิเคราะห การผสมผสานขอมูล การจัดระบบความคิด การ<br />

สรางองคความรูใหม<br />

การกําหนดโครงสรางความรู<br />

การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรูเสียใหม<br />

การคนหาแบบแผน การคาดคะเน การพยากรณ การตั้งสมมุติฐาน<br />

การประยุกตใชความรู<br />

เปนตน<br />

พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตโต) (2544: 10-15) ไดแบงการคิดออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. คิดเปน หมายถึง การคิดที่ถูกตอง<br />

รูจักคิด<br />

คิดไปสูการดําเนินชีวิตที่ถูกตองดีงาม<br />

ทั้งหมด<br />

คิดแลวเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง<br />

และผูอื่น<br />

2. คิดไมเปน หมายถึง คิดไมถูกตอง ไมรูจักคิด<br />

คิดแลวนําไปสูการดําเนินชีวิตที่ไม<br />

ถูกตอง ซึ่งอาจจะเปนโทษทั้งของตนเอง<br />

และผูอื่น<br />

Beyer (1991: 154) ไดแบงการคิดออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. การคิดขั้นต่ํา<br />

หรือการคิดแบบเอกนัย (Convergent or Lower Order Thinking)<br />

2. การคิดขั้นสูง<br />

หรือการคิดแบบอเนกนัย (Divergent or Higher Order Thinking)<br />

12


Hilgard (1962: 336-367) ไดแบงการคิดออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

1. การคิดอยางไมมีจุดมุงหมาย<br />

หรือการคิดเชื่อมโยง<br />

(Associative Thinking) เปนการคิด<br />

แบบไมไดตั้งใจที่จะคิด<br />

หรือไมไดเปนการคิดที่นําไปสูจุดหมาย<br />

แตมีลักษณะการคิดไปเรื่อย<br />

ๆ<br />

เปนอิสระ และเปนการคิดที่เกิดมาจากจิตใตสํานึกของแตละบุคคล<br />

การคิดเชนนี้<br />

มักไมมีผลสรุป<br />

ออกมา การคิดในกลุมนี้<br />

ไดแก การฝนกลางวัน (Daydreaming) การฝนกลางคืน (Nightdreaming)<br />

การคิดแบบเด็กพิเศษ (Autistic thinking)<br />

2. การคิดอยางมีจุดหมาย หรือการคิดโดยตรง (Directed Thinking) เปนการคิดที่มี<br />

จุดหมาย เพื่อคนหาคําตอบเพื่อแกปญหา<br />

หรือนําไปสูจุดมุงหมายโดยตรง<br />

การคิดในกลุมนี้<br />

ไดแก<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดสรางสรรค (Creative Thinking)<br />

ออกไป<br />

กลาวโดยสรุป การคิดสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ แตมีประเภทที่แตกตางกัน<br />

กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมวิชาการในฐานะผูดูแลการศึกษาของชาติ<br />

ไดกลาวถึง<br />

การคิดขั้นสูง<br />

(Higher –ordered Thinking) วา เปนความสามารถทางสติปญญาประการหนึ่งที่ตอง<br />

พัฒนาใหเกิดในขณะที่นักเรียนเขามาอยูในโรงเรียน<br />

เพื่อเรียนรูเนื้อหา<br />

และหลักการ รวมทั้ง<br />

แนวคิดในวิชาตาง ๆ ประกอบดวยการคิดในดานตางๆ คือ (กรมวิชาการ, 2546: 226-227)<br />

1. การคิดวิเคราะห (Analytical Thinking) คือ การคิดที่เกี่ยวของกับการจําแนก<br />

รวบรวม<br />

เปนหมวดหมู<br />

รวมทั้งการจัดประเด็นตาง<br />

ๆ<br />

2. การคิดวิพากษวิจารณ (Critical Thinking) คือ การคิดเห็นตอเรื่องใดเรื่องหนึ่งทั้งใน<br />

ดานบวก หรือดานลบอยางมีเหตุผล โดยการใชขอมูลที่มีอยูอยางเพียงพอ<br />

3. การคิดสรางสรรค (Creative Thinking) คือ การคิดที่แปลกใหม<br />

ยืดหยุน<br />

และแตกตาง<br />

จากผูอื่น<br />

13


ตาง ๆ<br />

4. การคิดอยางเปนเหตุผล (Logical Thinking) คือ การคิดที่คิดในเชิงเหตุผลของเรื่องราว<br />

5. การคิดเชิงวิทยาศาสตร (Scientific Thinking) คือ การคิดที่ใชในการพิสูจน<br />

และ<br />

สํารวจตรวจสอบหาขอเท็จจริง<br />

จากการศึกษาเอกสารทางวิชาการ คําวา “Critical Thinking” เปนคําที่มีผูใชชื่อเปน<br />

ภาษาไทยที่แตกตางกัน<br />

เชน การคิดเชิงวิพากษ (เกรียงศักดิ์,<br />

2547) การคิดวิพากษวิจารณ<br />

(กรมวิชาการ, 2546) การคิดวิเคราะหวิจารณ (นิพล, 2536) การคิดอยางมีวิจารณญาณ (ทิศนา,<br />

2544 ; ชาติ, 2545) เปนตน สําหรับการวิจัยฉบับนี้<br />

คําวา “Critical Thinking” ผูวิจัยใชเปน<br />

ภาษาไทยวา การคิดอยางมีวิจารณญาณ ตามศัพทบัญญัติการศึกษาฉบับกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,<br />

2544: 74) นอกจากคําที่มีผูใชไวหลากหลายแลว<br />

ความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณก็มีผูให<br />

ความหมายไวหลากหลาย ดังเชน<br />

Center for Critical Thinking Sonoma State University (1996 อางถึงใน สํานักงาน<br />

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540: 185) ไดใหความหมายการคิดอยางมีวิจารณญาณวา<br />

เปนการคิดอยางมีเหตุผล ซึ่งองคประกอบของการคิดอยางมีเหตุผลมีดวยกัน<br />

7 ประการ ไดแก<br />

1.จุดหมาย 2.ประเด็นคําถาม 3.สารสนเทศ 4.ขอมูลเชิงประจักษ 5.แนวคิดอยางมีเหตุผล<br />

6.ขอสันนิษฐาน 7.การนําไปใชและผลที่ตามมา<br />

ในขณะที่<br />

Ennis (1995) กลาววา เปนกระบวนการ<br />

ของการคิดที่มีจุดหมายซึ่งเนนการตัดสินใจที่มีความสมเหตุสมผล<br />

เกี่ยวกับความเชื่อคืออะไร<br />

และ<br />

จะตัดสินใจทําอะไร ทางดาน Epstein (n.d) กลาววา เปนการประเมินคาวาควรจะทําใหมั่นใจใน<br />

การคิดของตนเอง โดยการเรียกรองในสิ่งที่ถูกตอง<br />

หรือการประเมินขอโตแยงที่ดี<br />

และคิดวิธีสราง<br />

ขอโตแยงที่ดี<br />

สวน Hilgard (1962: 337) กลาววา เปนรูปแบบการคิดประเภทหนึ่ง<br />

ซึ่งเปนการสราง<br />

ขอโตแยงเกี่ยวกับขอเสนอแนะที่เปนความจริง<br />

หรือไมก็ไมเปนความจริง หรือไมก็เปนไปไดมาก<br />

ที่สุด<br />

ซึ่งเกี่ยวของกับคุณคาในแงจริยธรรม<br />

สวน McPeck (1990: 62) กลาววา เปนการคิดที่มี<br />

2 มิติ<br />

คือ มิติทางดานจิตใจ (A Frame of Mind) หมายถึง ความกระตือรือรนในการประเมินสารสนเทศ<br />

ความปรารถนาที่จะตรวจสอบความคิดเห็น<br />

และมิติทางสมอง (Mental Operation) หมายถึง การ<br />

รวมทักษะหลายดาน เชน ทักษะในการวิเคราะหและประเมิน นอกจากนี้<br />

Paul (n.d) กลาววา เปน<br />

การคิดอยางอยางเปนระบบแบบแผน ซึ่งเปนหนทางสราง<br />

และจัดรูปแบบการคิด โดยหนาที่หลัก<br />

ของการคิดประเภทนี้<br />

คือ เปนการคิดอยางมีจุดมุงหมาย<br />

และเรียกรองสิ่งที่ถูกตอง<br />

โดยอยูบน<br />

14


พื้นฐาน<br />

ความรูความเขาใจ<br />

มาตรฐานทางปญญา และความมีเหตุผลที่ดี<br />

การคิดประเภทนี้มีความ<br />

แตกตางจากการคิดประเภท อื่น<br />

ๆ เพราะผูคิดจะตระหนักถึงธรรมชาติของคุณภาพการคิด<br />

และยัง<br />

เปนการพิจารณา ตรวจสอบการคิดของตนเองอยางตอเนื่องวาถูกตอง<br />

หรือไม โดยการเพียร<br />

พยายามปรับปรุงคุณภาพของการคิด และWatson and Glaser (1964: 10) ศาสตราจารยทาง<br />

การศึกษา และจิตวิทยา แหงมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึ่งผูวิจัยไดนําแนวแบบวัดการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณมาสรางแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร กลาววา เปนการคิดที่<br />

ประกอบดวยทัศนคติ ความรู<br />

และทักษะในเรื่องตางๆ<br />

โดยมีทัศนคติในการสืบเสาะความรูในเรื่อง<br />

การหาแหลงอางอิง และทักษะในการใชความรูและทัศนคติ<br />

สําหรับความหมายการคิดอยางมีวิจารณญาณ ของคนไทยก็มีผูใหความหมายการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณไวหลากหลาย ดังเชน กรมวิชาการ (2546: 227) กลาววา เปนความคิดเห็นตอเรื่องใด<br />

เรื่องหนึ่งในดานบวกหรือลบอยางมีเหตุผล<br />

ซึ่งเปนประเด็นที่คนทั่วโลกใหความสนใจ<br />

ในขณะที่<br />

เกรียงศักดิ์<br />

(2547: 12) กลาววา เปนความตั้งใจที่จะพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่ง<br />

โดยการไมเห็น<br />

คลอยตามขออางที่นําเสนอ<br />

แตตั้งคําถามทาทาย<br />

หรือโตแยงขออางนั้น<br />

เพื่อเปดแนวทางความคิด<br />

ออกสูทางตาง<br />

ๆ อันจะนําไปสูการแสวงหาคําตอบที่สมเหตุสมผลมากกวาขออางเดิม<br />

สวน<br />

เพ็ญพิสุทธิ์<br />

(2536: 14) กลาววา เปนกระบวนการคิดวิจารณญาณ ไตรตรองอยางรอบคอบ<br />

เกี่ยวกับขอมูล<br />

หรือสภาพการณที่ปรากฏ<br />

โดยใชความรู<br />

ความคิดและประสบการณของตนเอง ใน<br />

การสํารวจหลักฐานอยางรอบคอบ เพื่อนําไปสูขอสรุปที่สมเหตุสมผล<br />

นอกจากนี้<br />

ทิศนา (2544ข:<br />

153) กลาววา เปนความคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผล<br />

ผานการพิจารณากลั่นกรองไตรตรองทั้ง<br />

ทางดานคุณ-โทษ และคุณคาที่แทจริงของสิ่งนั้นมาแลว<br />

และทางดาน ศันสนีย และอุษา (2544: 31-<br />

33) กลาววา เปนการคิดวิเคราะห สังเคราะห ตัดสิน และแกปญหาโดยยึดหลักการคิดดวยเหตุผล<br />

จากขอมูลที่เปนจริงมากกวาอารมณและการคาดเดา<br />

จากความหมายการคิดอยางมีวิจารณญาณที่กลาวไวขางตนทั้งตางประเทศ<br />

และในประเทศ<br />

ยังไมมีความหมายของบุคคลใดใหความหมายไวชัดเจน สมบูรณมากที่สุด<br />

ซึ่งพอสรุปการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณไดดังนี้<br />

เปนการคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือสถานการณ และเปนการคิดอยางมี<br />

เหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ เพื่อนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

แลวไปสูขอสรุป<br />

15


กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของ Piaget (บุปผชาติ, 2546: 68-70)<br />

Piaget (1896-1980) ใชเวลากวา 60 ป ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางการคิด<br />

และ<br />

ไมเพียงแตทําใหเกิดทฤษฎีพัฒนาการทางการคิด (Cognitive Development) เทานั้น<br />

ทฤษฎีการเรียนรูของ<br />

Piaget เกี่ยวของกับการมีปฏิสัมพันธระหวางคนเรา<br />

และสรรพสิ่งที่อยู<br />

รอบตัว เริ่มจากการที่ตัวเราอยูในภาวะสมดุล<br />

(equilibrium) และเผชิญกับสิ่งเราใหมจากสรรพสิ่ง<br />

ที่<br />

แวดลอมตัวเรา จะเกิดการดูดซึม (assimilation) สิ่งเรานั้น<br />

โดยนําสิ่งเรานั้นมาจัดเขากับแบบแผน<br />

การ<br />

คิดที่มีอยู<br />

เดิม (schemata) ถาการจัดนั้นไมลงตัวพอดี<br />

ก็จะทําใหเกิดภาวะไมสมดุล (disequilibrium)<br />

จะตองมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนความรู<br />

การคิดที่มีอยู<br />

เดิม (accommodation) เพื่อใหแบบแผนความรู<br />

การคิดที่มีอยู<br />

เดิมเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ถาเกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะเกิดการปรับตัว<br />

(adaptation) ดวย<br />

เหตุนี้กระบวนการดูดซึมและการปรับเปลี่ยน<br />

จึงเปนกระบวนการนําไปสูการปรับตัว<br />

และกลับสู<br />

ภาวะสมดุลกับสรรพสิ่งที่แวดลอมนั้นอีกพรอมกับเกิดโครงสรางของความรูการคิดขึ้น<br />

การมีปฏิสัมพันธกับสรรพสิ่งที่แวดลอมของคนเราจึงมีลักษณะเปนวงจร<br />

เรียกวา วงจร<br />

ปฏิสัมพันธ (Interaction Cycle) วงจรนี้เริ่มจากการที่คนเรามีโครงสรางทางความรูการคิดที่อยู<br />

ภาวะ<br />

สมดุล เปลี่ยนไปสูภาวะไมสมดุลแลวกลับสูภาวะสมดุลอีก<br />

โดยผานกระบวนการดูดซึมการ<br />

ปรับเปลี่ยน<br />

ทําใหเกิด การปรับตัว และเกิดแบบแผนของความรูการคิดใหม<br />

หรือเกิดโครง<br />

สรางความรู การคิดขึ้นเพื่อใหทฤษฎีการเรียนรู<br />

ของ Piaget เปนที่เขาใจไดงายขึ้น<br />

Trojcak (1979: 26<br />

อางถึงใน บุปผชาติ, 2546: 68) ไดนําแนวคิดเรื่องการเรียนรูที่มีลักษณะเปนวงจรปฏิสัมพันธ<br />

มาเขียน<br />

เปนแผนภาพเพื่อใชสื่อแทนคําอธิบายขางตน<br />

ดังภาพที่<br />

1<br />

16


ภาพที่<br />

1 วงจรปฏิสัมพันธ<br />

ที่มา:<br />

บุปผชาติ (2546: 69)<br />

จากภาพที่<br />

1 เปนภาพที่ใชสื่อการคิดเกี่ยวกับการเรียนรูตามทฤษฎีของ<br />

Piaget เรียกวา วงจร<br />

ปฏิสัมพันธ ประกอบดวยภาวะและกระบวนการที่สําคัญ<br />

ดังนี้<br />

คือ<br />

ภาวะสมดุล เปนภาวะที่เริ่มจากภาวะที่นักเรียนมีประสบการณตาง<br />

ๆ สะสมอยู ในตัวแลว<br />

ขณะนั้น<br />

เมื่อมีปฏิสัมพันธกับสิ่งเราใหมจนเกิดการไมสมดุล<br />

และสามารถกลับสูดุลยภาพ จะเกิด<br />

โครง สรางความรูการคิดขึ้น<br />

เปนโครงสรางความรูการคิดเกี่ยวกับขอมูลที่ไดมีการตอบสนองตอสิ่ง<br />

เรานั้น<br />

กระบวนการดูดซึม เปนกระบวนการเรียนรูที่เริ่มจากการที่นักเรียนเผชิญกับสิ่งเราใหมที่ได<br />

คุนเคยมากอน<br />

สิ่งเรานั้นอาจเปนวัตถุ<br />

เหตุการณ หรือขอมูลก็ได ผูเรียนจะพยายามนําสิ่งที่พบใหมนี้<br />

มาประสานกับสิ่งที่เคยรูมากอน<br />

หรือกับโครงสรางของขอมูลที่มีอยูเดิม<br />

ภาวะไมสมดุล เปนภาวะที่เกิดเมื่อนักเรียนเผชิญกับสิ่งเราใหม<br />

และขอมูลใหมที่ไดรับนั้น<br />

ประสานไมพอดีกับสิ่งที่นักเรียนเคยรูมากอน<br />

ขอมูลใหมก็จะดูดซึมเขาสูโครงสรางความรูการคิดได<br />

ไมสมบูรณ ทําใหมีความรูสึกอึดอัด<br />

ไมรูเรื่อง<br />

ไมเขาใจ เรียกภาวะนี้วา<br />

ภาวะไมสมดุลนักเรียนอาจ<br />

แสดง ความไมสมดุลออกมาในลักษณะตาง ๆ กัน เชน หนาตาไมมีความสุข หนางอ เบื่อหนาย<br />

โกรธ วิตกกังวล อยากรู อยากเห็น สับสน หรือรูสึกยุ<br />

งยาก การแสดงออกถึงความไมสมดุลนี้อาจ<br />

แสดง ออกมาใหเห็นชัด หรืออาจปกปดไว การปกปดอาจทําใหเปนผลเสียตอกระบวนการเรียนรู <br />

17


โดยเฉพาะเมื่อผูนั้นเกิดเจตคติของความกลัวหรือความละอาย<br />

คิดวาอาจเปนเพียงผู เดียวที่ไมรูเรื่อง<br />

ในทางตรงขาม หากขอมูลที่ดูดซึมมานั้น<br />

ประสานพอดีกับขอมูลที่มีอยู<br />

ในโครงสรางความรูการคิด<br />

ก็จะไมเกิดภาวะไมสมดุล และไมมีการเรียนรูสิ่งใหมวาเคยรูมาแลว<br />

การปรับเปลี่ยน<br />

เกิดเมื่อนักเรียนอยู<br />

ในภาวะไมสมดุล ในภาวะไมสมดุลนี้นักเรียนจะมี<br />

ทางเลือก 2 ประการ ประการหนึ่งนั้นอาจตัดสินใจถอนตัวออกจากกระบวนการเรียนรู<br />

และไม<br />

สนใจตอขอมูลใหม ที่ไดรับเปนการยอมแพ<br />

การตัดสินใจเชนนี้จะทําใหวงจรปฏิสัมพันธหยุดอาจ<br />

เปนการหยุด เพียงชั่วคราว<br />

เสมือนเปนการเดินทางสู เสนทางตัน ในทางตรงขามถานักเรียน<br />

ตอบสนองตอสิ่งที่เผชิญใหมนี้<br />

จะโดยทางกายหรือทางจิตใจ ก็จะเปนการเปลี่ยนหรือปรับทัศนะ<br />

หรือความเขาใจของนักเรียนนั้น<br />

ซึ่งเปนผลมาจากการกระทําหรือการตอสูอุปสรรค<br />

Piaget เรียก<br />

สวนประกอบของวงจรปฏิสัมพันธนี้วา<br />

การปรับเปลี่ยนหรือการทําใหพอเหมาะ<br />

(accommodation)<br />

การปรับตัว เกิดจากการรวมกันของกระบวนการ การดูดซึม และการปรับเปลี่ยน<br />

ทําใหเกิด<br />

การปรับตัวหรือความพอเหมาะที่สมบูรณ<br />

เรียกวา เกิดการเรียนรู<br />

และทําใหกลับสูภาวะสมดุลอีกครั้ง<br />

หนึ่ง<br />

หรือเกิดภาวะ “เขาใจแลว” “ทําไดแลว” ภาวะนี้จะคงอยูจนกวาจะมีการเผชิญสิ่งใหม<br />

สถานการณใหม หรือเหตุการณใหม ก็จะเริ่มตนสูวงจรปฏิสัมพันธอีก<br />

กลาวคือ เริ่มจากภาวะสมดุลสู<br />

ภาวะไมสมดุลแลว กลับสูภาวะสมดุล<br />

ถาเปรียบเทียบกับความรู ทางชีววิทยา กลาวไดวาหากสิ่งมีชีวิตใดไมสามารถปรับตัวเขากับ<br />

สภาพแวดลอมที่เปนอยู<br />

ก็จะมีชีวิตรอดไดยาก และในดานพัฒนาการทางการคิด และสติปญญา<br />

ถานักเรียน ไมสามารถกําหนดไดวาจะทําใหสิ่งที่เผชิญใหมนี้สัมพันธกับประสบการณที่มี<br />

อยูกอนไดอยางไร<br />

และจะตอบสนองกับสิ่งใหมที่เผชิญนี้อยางไร<br />

จึงจะบรรลุการเปลี่ยนสิ่งที่<br />

เผชิญใหมนี้ใหเปนความรูความเขาใจ<br />

เมื่อนั้นการเรียนรู<br />

ก็จะไมเกิดขึ้น<br />

การเกิดภาวะไมสมดุลขึ้นในผู<br />

เรียนนับวามีความสําคัญมาก Piaget เคยกลาวไววา “เปาหมายของการศึกษาไมไดอยูที่การเพิ่ม<br />

ปริมาณความรู แตเปนการสรางโอกาส ใหผูเรียนไดคิดคน และคนพบ” ดังนั้นครูผูสอนที่สอน<br />

เนื้อหาอัดแนนใหแกผูเรียนหรือทบทวนเนื้อหา<br />

นั้นซ้ําแลวซ้ําเลา<br />

ชี้ใหเห็นวาผูสอนนั้นไมได<br />

ตระหนักถึงสวนประกอบสําคัญของกระบวนการเรียนรู<br />

หรือการที่ครูผูสอนทําการสอนเร็วไป<br />

ก็จะ<br />

ทําใหนักเรียนไมมีโอกาสในการคนพบการคิดรวบยอดดวยตนเอง<br />

18


การสอนจึงหมายถึงการสรางสถานการณ ที่ทําใหนักเรียนคนพบโครงสรางของความรูการ<br />

คิดแตไมไดหมายถึง การถายทอดขอมูล ซึ่งนักเรียนจะไมไดดูดซึมอะไรไปมากกวาคําพูดของครูผู<br />

สอน<br />

ดังนั้นการทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรู<br />

จะตองใหนักเรียนไดรับสถานการณที่นักเรียนได<br />

เปนผูลงมือปฏิบัติ<br />

ไดเปนผูคิด<br />

หรือทดลองทําวาจะเกิดอะไรขึ้น<br />

หรือไดเปนผูจัดกระทํากับสิ่งนั้น<br />

แลวเกิดขอสงสัย คนควาหาคําตอบดวยตนเอง เปรียบเทียบผลที่ตนไดกับของผูอื่น<br />

เปนตน<br />

Piaget ไดแบงกระบวนการทางสติปญญา (Cognitive Procees) ออกเปน 4 ขั้น<br />

ถึงแมวา<br />

แตละขั้นจะกําหนดอายุไวเปนชวงอายุเทาๆกัน<br />

แตละชวงเหลานี้ก็ถือวาเปนการกําหนด<br />

โดยประมาณเทานั้น<br />

ซึ่งไดเสนอไววา<br />

(กรมวิชาการ, 2546: 217-218)<br />

1. ระยะใชประสาทสัมผัส (Sensory - motor Stage) เปนการพัฒนาของเด็กตั้งแตแรกเกิด<br />

จนถึงอายุ 2 ป ในวัยนี้เด็กจะเริ่มพัฒนาการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสตางๆ<br />

ตลอดจนเริ่มมีการ<br />

พัฒนาการใชอวัยวะใหสามารถทํางานเบื้องตนได<br />

เชน ตา หู มือ และเทา ตลอดเริ่มมีการ<br />

พัฒนาการใชอวัยวะตางๆได เชน การฝกหยิบจับสิ่งของตางๆ<br />

ฝกการไดยินและการมอง ฝกเดิน<br />

ยืน ฝกพูด และโตตอบ การพัฒนาเหลานี้จัดเปนการพัฒนาที่เปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาขั้น<br />

ตอไป<br />

2. ระยะควบคุมอวัยวะตางๆ (Preoperatioal Stage) เปนการพัฒนาในชวงตั้งแตอายุ<br />

2-7 ป<br />

เด็กในวัยนี้จะเริ่มพัฒนาการอยางเปนระบบมากขึ้น<br />

มีการพัฒนาของสมองที่ใชควบคุมการพัฒนา<br />

ลักษณะนิสัยและการทํางานของอวัยวะตางๆ เชน นิสัยการขับถาย นอกจากนี้ยังมีการฝกใชอวัยวะ<br />

ตาง ๆ ใหมีความสัมพันธกันภายใตการควบคุมของสมองและเชื่อมโยงกับสิ่งตาง<br />

ๆ ที่เปนรูปธรรม<br />

ที่เด็กไดสัมผัส<br />

เชน การเลนกีฬา การขี่จักรยาน<br />

3. ระยะที่คิดอยางเปนรูปธรรม<br />

(Concrete-Operational Stage) เปนพัฒนาการในชวงตั้งแต<br />

อายุ 7-11 ป เด็กชวงนี้มีการพัฒนาสมองมากขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

จนสามารถเรียนรู<br />

และจําแนกสิ่ง<br />

ตาง ๆ ที่เปนรูปธรรมได<br />

แตจะยังไมสามารถจินตนาการกับเรื่องราวที่เปนนามธรรมได<br />

เด็กในวัยนี้<br />

จึงสามารถเลนสิ่งของที่เปนรูปทรงตาง<br />

ๆ ไดเปนอยางดี แตไมสามารถเรียนรูเรื่องราวที่เปน<br />

นามธรรมได เชน โครงสรางอะตอม การถายทอดทางพันธุกรรม<br />

19


4. ระยะที่คิดอยางเปนนามธรรม<br />

(Formal-Operational Stage) เปนการพัฒนาชวงสุดทาย<br />

ของเด็กที่มีชวงอายุในชวง<br />

12-15 ป กอนจะเปนผูใหญ<br />

เด็กในชวงนี้สามารถคิดอยางเปนเหตุผล<br />

และคิดในสิ่งที่ซับซอนอยางเปนนามธรรมไดมากขึ้น<br />

เมื่อเด็กพัฒนาไดอยางเต็มที่แลว<br />

จะสามารถ<br />

คิดอยางเปนเหตุผลและแกปญหาไดอยางดีจนพรอมที่จะเปนผูใหญที่มีวุฒิภาวะได<br />

กลาวโดยสรุป การพัฒนาการทางสติปญญาของ Piagetในแตละระยะ จากระยะใช<br />

ประสาทสัมผัสจนถึงระยะที่คิดอยางเปนนามธรรม<br />

จากระดับต่ํากวาไปสูอีกระดับที่สูงขึ้น<br />

โดยไมมี<br />

การกระโดดขามขั้น<br />

แตบางชวงของการพัฒนาอาจเกิดขึ้นเร็วหรือชาได<br />

การพัฒนาเหลานี้จะเกิดขึ้น<br />

เองตามธรรมชาติ แตสิ่งแวดลอม<br />

วัฒนธรรม และประเพณีตาง ๆ รวมทั้งวิธีการดํารงชีวิตอาจมี<br />

สวนชวยใหเด็กพัฒนาไดแตกตางกัน<br />

ทฤษฎีทางสติปญญาของ Guilford<br />

การวัดความสามารถในการคิดนั้นสามารถวัดไดหลากหลายรูปแบบ<br />

แตถาพิจารณาถึง<br />

รูปแบบ และแนวทางของการวัดความสามารถในการคิด ตามแนวคิดของนักวัดกลุมจิตมิติ<br />

(Psychometric) ซึ่งเปนกลุมของนักวัดทางการศึกษา<br />

นักจิตวิทยาที่พยายามศึกษา<br />

และวัด<br />

คุณลักษณะภายในสมองของมนุษย เริ่มจากการศึกษา<br />

และวัดเชาวปญญา (Intelligence) และได<br />

ศึกษาโครงสรางทางสมองของมนุษยดวยความเชื่อที่วา<br />

มีลักษณะเปนองคประกอบ ดังที่<br />

Guilford<br />

(1956 cited Watson and Glaser, 1964 ) ไดวิเคราะหพบวา องคประกอบที่มีความสําคัญสําหรับการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณนั้นแบงได<br />

3 องคประกอบ คือ องคประกอบแรก ดานพุทธิปญญา<br />

(Cognition) องคประกอบที่สอง<br />

ดานการแกปญหา ซึ่งแบงไดเปน<br />

2 ประเภท ไดแก การคิดแบบ<br />

เอกนัย (Convergent) และการคิดแบบอเนกนัย (Divergent) และองคประกอบสุดทาย ดานการ<br />

ประเมินผล (Evaluation) และมีระดับความสามารถในการคิดที่แตกตางกันของแตละบุคคล<br />

สามารถวัดไดโดยการใชแบบวัดที่เปนมาตรฐาน<br />

และไดมีการพัฒนาแบบวัดกันอยางหลากหลาย ซึ่ง<br />

สวนใหญจะวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ, 2541: 65-66 ; Guilford, 1967a: 218-237) ซึ่งนักจิตวิทยาตามกลุมจิตมิตินี้<br />

ไดแก<br />

Spearman ไดทําการศึกษาคนควา และทดลอง เกี่ยวกับโครงสรางของเชาวปญญา<br />

ไดแนวคิดวา<br />

โครงสรางของเชาวปญญานาจะประกอบดวย 2 สวน คือ 1. องคประกอบทั่วไป<br />

(General หรือ G.<br />

factor) ถือวาเชาวปญญา คือ ความสามารถของบุคคลโดยสวนรวมทั่วๆไป<br />

เชน ความสามารถใน<br />

20


การฟง การอาน และการวางแผนการทํางาน เปนตน 2. องคประกอบเฉพาะ (Specific หรือ S.<br />

factor) ไดแก ความสามารถพิเศษเฉพาะของแตละคน เชน ทักษะทางดนตรี ศิลปะ เครื่องยนต<br />

กลไก เปนตน สวนนักจิตวิทยาอีกทานในกลุมจิตมิติ<br />

คือ Thurstone กลาววา ทฤษฎีสอง<br />

องคประกอบของ Spearman วาหยาบเกินไป และไดศึกษาพบวา ทฤษฎีสมรรถภาพสมองขั้น<br />

พื้นฐานหรือปฐมภูมิที่บุคคลใชในการแกปญหานั้นมี<br />

7-12 องคประกอบ และThurstone เชื่อวา<br />

องคประกอบทางเชาวปญญาของบุคคลที่สําคัญจะประกอบดวย<br />

7 องคประกอบนี้<br />

คือ 1. ความ<br />

เขาใจ (Verbal comprehension (V.)) 2. ความคลองแคลวในการใชคํา (Word fluency(W.)) 3.<br />

จํานวน(Number(N.)) 4. มิติสัมพันธ (Space(S.)) 5. ความคลองแคลวในการรับรูและสังเกต<br />

(Perceptual(P.)) 6. ความจํา(Memory(M.)) และ7. การใชเหตุผล (Reasoning(R.)) (รัตนา, 2542:<br />

284-285) และนักจิตวิทยาที่อีกทานที่ผูวิจัยไดนํามาเปนกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในการวิจัยครั้งนี้<br />

ซึ่ง<br />

เปนที่ยอมรับ<br />

และนํามาใชกันอยางกวางขวางในการคิดอยางมีวิจารณญาณ คือ Guilford (1967: 218<br />

- 237) มีความเชื่อวา<br />

ความสามารถทางสมองสามารถปรากฏไดจากการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่<br />

กําหนดใหในลักษณะของความสามารถดานตาง ๆ ที่เรียกวา<br />

องคประกอบ และความสามารถทาง<br />

สมองสามารถตรวจสอบไดดวยแบบวัดมาตรฐาน ซึ่ง<br />

Guilford (รัตนา, 2542: 286-287 ; ทิศนา,<br />

2544ก: 19-22 ; Guilford, 1967b) ไดเสนอโครงสรางทางสติปญญา โดยอธิบายวาความสามารถทาง<br />

สมองของมนุษยประกอบดวย 3 มิติ (Three Dimensional Model) ไดแก มิติดานเนื้อหา<br />

(Content) มิติดานปฏิบัติการ (Operations) และมิติดานผลผลิต (Product) ประกอบดวยหนวย<br />

จุลภาคจากทั้ง<br />

3 มิติเทากับ 5×5×6 คือ 150 หนวย ทั้งสามมิติประกอบเขาเปนหนวยจุลภาค<br />

จํานวน 150 หนวย ดังภาพที่<br />

2<br />

21


ภาพที่<br />

2 จําลองมหภาคของโครงสรางทฤษฎีทางสติปญญาของ Guliford<br />

ที่มา:<br />

ทิศนา (2544ก: 20)<br />

มิติ 1 ดานเนื้อหา<br />

(Contents) หมายถึงวัตถุหรือขอมูลตางๆหรือสิ่งตาง<br />

ๆ ที่รับรู<br />

เชน<br />

เรื่องราว<br />

สัญลักษณ หรือเหตุการณตางๆใชเปนสื่อกอใหเกิดความคิด<br />

เนื้อหาแบงออกเปน<br />

5 ชนิด<br />

ดังนี้<br />

1. รูปภาพ (Visual) ไดแก วัตถุที่เปนรูปธรรมตางๆที่สามารถมองเห็นได<br />

หรือให<br />

ความรูสึกได<br />

ซึ่งสามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัส<br />

เชน หิน รถ ภาพ แสง เสียง ความรอน<br />

เปนตน<br />

2 . เสียง (Auditory) ไดแก สิ่งที่อยูในรูปของเสียงที่มีความหมาย<br />

3. สัญลักษณ (Symbolic) ไดแก ตัวเลข ตัวอักษร และสัญลักษณที่สรางขึ้น<br />

เชน<br />

พยัญชนะ ระบบจํานวน สัญญาณจราจร เปนตน<br />

4. ภาษา (Semantic) ไดแก สิ่งที่อยูในรูปภาษาที่มีความหมายของคํา<br />

หรือแนวคิดตางๆที่<br />

เขาใจกันโดยทั่วไป<br />

5. พฤติกรรม (Behavior) ไดแก สิ่งที่ไมใชถอยคํา<br />

แตเปนการแสดงออกของมนุษย<br />

22


ที่เปนพฤติกรรมทางสังคม<br />

เชน เจตคติ ความตองการ ทัศนคติและอารมณ รวมถึงปฏิสัมพันธ<br />

ระหวางบุคคล บางครั้ง<br />

เรียกวา สติปญญาทางสังคม (Social intelligence) โดยเฉพาะการเขาใจ<br />

ภาษา โดยไมใชถอยคํา เชน ภาษาทาทางหรือภาษาใบ เปนตน<br />

มิติที่<br />

2 ดานปฏิบัติการ (Operations) หมายถึง กระบวนการคิดตาง ๆ ที่สรางขึ้นมา<br />

ซึ่ง<br />

ประกอบดวยความสามารถ 5 ชนิด ดังนี้<br />

1. การประเมินคา (Evaluation) คือ ความสามารถทางสติปญญาในการตัดสินสิ่งที่รับรู<br />

จําได หรือกระบวนการคิดนั้นมีคุณคา<br />

ความถูกตอง ความเหมาะสม หรือความเพียงพอหรือไม<br />

อยางไร ไดแก พิจารณาตัดสิน เปรียบเทียบ สิ่งตางๆไดถูกตอง<br />

สมเหตุสมผล โดยใชกฎเกณฑที่<br />

เชื่อถือไดมาอางอิง<br />

2. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) คือ ความสามารถในตอบสนองตอสิ่งเรา<br />

ในทางที่ดีที่สุด<br />

หรือหาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว<br />

เชน “เลขตัวเลขถัดไปจากตัวเลข<br />

ในชุดนี้คืออะไร”<br />

2, 4, 6, 8, … คําตอบอาจเปนไปได 9 หรือ 10 ก็ได โดยในครั้งบุคคลจะ<br />

พยายามคิดพิจารณาหาคําตอบหลาย ๆ ทาง แตพอพิจารณาอยางละเอียดแลวทุกๆทาง จะพบวาเลข<br />

ชุดนี้เพิ่มขึ้นทีละ<br />

2 เสมอ จึงไดคําตอบที่ดีที่สุด<br />

คือ 10<br />

3. การคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking ) คือ ความสามารถในการตอบสนองตอสิ่ง<br />

เรา และแสดงออกมาไดหลากหลายวิธี เชน ถามีผูถามวา<br />

“เลขถัดไปจากตัวเลขในชุดนี้<br />

คืออะไร”<br />

1, 3, 5, 7,…ซึ่งคําตอบที่ตอบไดมีหลากหลายคําตอบ<br />

เชน 8, 9 หรือ 10 ก็ได<br />

4. การจํา (Memory) คือ ความสามารถทางสติปญญาของมนุษยในจดจําเรื่องราวหรือ<br />

ขาวสาร และสามารถระลึกไดเมื่อเวลาผาน<br />

5. การรับรูและความเขาใจ<br />

(Cognition) คือ ความสามารถทางสติปญญาของมนุษยในการ<br />

รับรู<br />

และทําความเขาใจ<br />

มิติที่<br />

3 ดานผลผลิต (Products) หมายถึง ความสามารถที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานมิติดาน<br />

เนื้อหา<br />

และดานปฏิบัติการเขาดวยกันเปนผลผลิต เมื่อสมองรับรูวัตถุ/ขอมูล<br />

ทําใหเกิดการคิดใน<br />

23


รูปแบบตางๆกัน เชน ดัดแปลงปรับปรุง นําไปใช หรือนําไปสรางสรรคสิ่งตางๆ<br />

มิตินี้แบงยอยได<br />

อีก 6 อยางดวยกัน คือ<br />

1. หนวย (Units) หมายถึง สิ่งยอยที่สุดของสิ่งตางๆที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว<br />

และมี<br />

ความหมายแตกตางจากสิ่งอื่น<br />

เปนการแยกสิ่งที่เห็นชัดเจน<br />

หรือคุณลักษณะเดน (figure) ออกจาก<br />

คุณสมบัติทั่วๆไป<br />

โดยสวนรวม (ground) ใหออกจากกันได เชน แยกนกชนิดตาง ๆ ออกจากกัน<br />

ไดระหวาง นกฮูก นกเอี้ยง<br />

นกพิราบ เปนตน<br />

2. จําพวก (Classes) หมายถึง กลุมหรือประเภทของสิ่งตางๆ<br />

ซึ่งมีคุณสมบัติบางประการ<br />

เหมือนกัน เชน นกฮูก นกเอี้ยง<br />

นกพิราบ เปนนกเหมือนกัน เปนตน<br />

3. ความสัมพันธ (Relations) หมายถึง การคิดความสัมพันธเชื่อมโยงของสิ่งตางๆ<br />

2 สิ่ง<br />

เขาดวยกัน เชน พอคูกับแม<br />

หญิงคูกับชาย<br />

ความสัมพันธของสิ่งที่ยกมาเปนตัวอยางนี้<br />

คือ เพศ<br />

ตางกัน<br />

4. ระบบ (Systems) หมายถึง กลุมของสิ่งตางๆที่เชื่อมโยงกัน<br />

โดยมีหลักเกณฑหรือแบบ<br />

แผน เชน เลขชุด 1, 3, 5, 7, 9 เปนเลขคี่<br />

สวนเลขชุด 2, 4, 6, 8, 10 เปนเลขคู<br />

เปนตน<br />

5. การแปลงรูป (Transformations) หมายถึง การเปลี่ยนแปลง<br />

ดัดแปลงแกไข การขยาย<br />

ความขอมูลจากสภาพหนึ่งไปยังอีกสภาพหนึ่ง<br />

ใหออกมาในรูปใหม เชน การแปลงขอความหรือ<br />

การยอความ เปนตน<br />

6. การประยุกต (Implications) หมายถึง ผลการคิดคาดคะเน การคาดหวัง หรือการ<br />

ทํานายจากขอมูลที่กําหนดให<br />

หรือเหตุการณตางๆวาสิ่งใดจะเกิดขึ้นตามมา<br />

นอกจากนี้<br />

Guilford (1967a) ไดอธิบายถึงรูปแบบการคิดในการแกปญหาวา เปน<br />

กระบวนการทางสมองในดานตาง ๆ ไดแก การจํา (Memory) การรับรูและความเขาใจ<br />

(Cognition)<br />

การคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking ) การคิดเอกนัย (Convergent Thinking) และการ<br />

ประเมินคา (Evaluation) กระบวนในการคิดดังกลาวจะปฏิบัติการรวมกัน ซึ่งสรุปไดดังนี้<br />

24


1. เมื่อบุคคลไดพบกับปญหา<br />

(ปญหา คือ มิติดานเนื้อหา)<br />

กระบวนการในสวนของการจํา<br />

(Memory) จะปฏิบัติรวมกับการรับรูและความเขาใจ<br />

(Cognition) เพื่อทําใหการรับรูและความเขาใจ<br />

กับสิ่งตาง<br />

ๆ ที่เกี่ยวกับโครงสรางของปญหา<br />

ที่กอใหเกิดปญหา<br />

โดยการแปลงรูป (Transformation)<br />

ใหเขากับความรูที่มีอยูแลวในสวนของความจํา<br />

ซึ่งบางครั้งอาจมีการแกไขขอมูล<br />

แลวนําเขาไปเก็บ<br />

ไวในสวนของความจํา<br />

2. กระบวนการในสวนของการประเมินคาจะเชื่อมโยงระหวางดานปฏิบัติการ<br />

คือ สวน<br />

ของการรับรูและความเขาใจ<br />

และการคิดแบบเอกนัย และอเนกนัย กับความจําจะทําการประเมินคา<br />

และบางครั้งก็มีการกลั่นกรองเพื่อแยกแยะปญหาที่เกี่ยวของ<br />

และไมเกี่ยวของกับ<br />

กระบวนการใน<br />

สวนการประเมินคาจะไมมีผลกระทบตอการจํา<br />

3. บางครั้งบุคคลตองรับขอมูล<br />

ขาวสารอื่นๆ<br />

จากสิ่งแวดลอม<br />

เขาไปเก็บในสวนของ<br />

ความจําโดยผานการรับรูและความเขาใจ<br />

จะเกิดการกลั่นกรองขอมูล<br />

ขาวสารใหม แบบเดียวกับ<br />

ปญหาที่เคยประสบมา<br />

4. คําตอบของปญหานั้น<br />

ๆ เปนการสิ้นสุดการคิดในการแกปญหา<br />

ในปญหาหนึ่ง<br />

ๆ อาจมี<br />

คําตอบหลากหลายวิธี คําตอบแรก อาจไมไดรับการยอมรับ มีคําตอบที่<br />

2 เปนคําตอบที่เปนไปได<br />

แตอาจไมดี หรืออาจเปนคําตอบที่เคยกระทํามาแลวอาจทบทวนใหม<br />

และกลับไปสูขั้นการหยุดพัก<br />

คําตอบสุดทาย เปนทางแกปญหาที่นาพอใจ<br />

5. ลักษณะสําคัญของการคิดในการแกปญหา คือ มีชวงกวาง และมีขอมูล ขาวสาร ที่<br />

สามารถยอนกลับ แตละการรับรูและความเขาใจจะมีวงจร<br />

(Loop) จากการรับรูและความเขาใจ<br />

(การ<br />

คิด) ไปยังความจํา เพื่อนําไปสูการประเมินคา<br />

และกลับมาที่การรับรูและความเขาใจ<br />

เปนการคิด<br />

ใหม อาจทําซ้ําหลาย<br />

ๆ ครั้ง<br />

วงจรอาจกวางมากโดยรวมเอาการรับรูและความเขาใจคูแรก<br />

คูที่<br />

2 คู<br />

ที่<br />

3 คูที่<br />

4 และคูอื่น<br />

รวมเขาไวดวยกัน วงจรเหลานี้จะยืดหยุนตามลําดับของเหตุการณ<br />

6. การคิดในการแกปญหาตองอาศัยการคิดทั้งแบบเอกนัย<br />

และอเนกนัยสลับกันตาม<br />

ลักษณะของปญหาที่วาตองการคําตอบแบบใด<br />

บางครั้งจะตองใชการเชื่อมโยงกันทั้ง<br />

2 แบบในการ<br />

ระลึกขอมูล ขาวสาร จุดสําคัญที่แตกตางกันระหวางการคิดทั้งสอง<br />

คือ วิธีการคิด คําตอบที่ตองการ<br />

ความสมบูรณ และเฉพาะเจาะจงใชวิธีคิดแบบเอกนัย ถาตองการคําตอบที่มีจํานวนมากก็ใชวิธีคิด<br />

25


แบบอเนกนัย นอกเหนือจากวิธีคิดที่ตางกันแลวกระบวนการตาง<br />

ๆ ในการคิดแกปญหาเปนสิ่ง<br />

คลายคลึงกัน<br />

กลาวโดยสรุปไดวา เมื่อบุคคลพบกับปญหาจากสิ่งแวดลอมบุคคลจะทําทําความเขาใจ<br />

ปญหา และกอใหเกิดปญหา โดยการแปลงรูปใหเขากับความรูที่มีอยูในสวนของความจําซึ่งบางครั้ง<br />

อาจมีการแกไขขอมูล ขาวสารกอน จากนั้นจะประเมินกลั่นกรองเพื่อแยกประเภทขอมูลที่เกี่ยวของ<br />

และไมเกี่ยวของกับปญหา<br />

และหาทางออกของปญหา ซึ่งในปญหาหนึ่ง<br />

ๆ อาจมีหลากหลายคําตอบ<br />

โดยที่การคิดในการแกปญหานั้นอาจจะใชการคิดทั้งแบบเอกนัย<br />

และอเนกนัยสลับกันตามลักษณะ<br />

ของปญหาวาตองการคําตอบใด<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

Center for Critical thinking Sonama State University (1996 อางถึงใน สํานักงานคณะกรรมการ<br />

การศึกษาแหงชาติ, 2540: 159-160) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ มีความสัมพันธกับการแกปญหา (Problem Solving) คือ การ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณ เปนทักษะสําคัญของการแกปญหา (Critical Thinking is a major tool in<br />

Problem Solving) และการแกปญหาสวนใหญตองการใชการคิดอยางมีวิจารณญาณ (The Problem<br />

Solving is a major use of Critical Thinking)<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณเปนการคิดอยางมีเหตุผล ซึ่งองคประกอบของการคิดอยางมี<br />

เหตุผลนั้น<br />

ประกอบดวย 7 ประการ คือ<br />

1. จุดหมาย คือ เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการคิด คือ คิดเพื่อหาแนวทางแกปญหา<br />

หรือคิดเพื่อหาความรู<br />

2. ประเด็นคําถาม คือ ปญหาหรือคําถามที่ตองการรู<br />

คือ ผูคิดสามารถระบุคําถามของ<br />

ปญหาตางๆ รวมทั้งระบุปญหาสําคัญที่ตองการแกไข<br />

หรือคําถามสําคัญที่ตองการรู<br />

26


3. สารสนเทศ คือ ขอมูล ขอความรูตางๆ<br />

เพื่อใหประกอบการคิด<br />

ขอมูลตางๆ ที่ไดมา<br />

ควรมีความกวาง ลึก ชัดเจน ยืดหยุนได<br />

และมีความถูกตอง<br />

4. ขอมูลเชิงประจักษ คือ ขอมูลที่ไดมานั้นตองเชื่อถือได<br />

มีความชัดเจน ถูกตอง และมี<br />

ความเพียงพอตอการใชเปนพื้นฐานของการคิดอยางมีเหตุผล<br />

5. แนวคิดอยางมีเหตุผล คือ แนวคิดทั้งหลายที่มีอาจรวมถึง<br />

กฎ ทฤษฎี หลักการ ซึ่ง<br />

แนวคิดดังกลาวมีความจําเปนสําคัญการคิดอยางมีเหตุผลและแนวคิดที่ไดมานั้นตองมีความเกี่ยวของ<br />

กับปญหาหรือคําถามที่ตองการหาคําตอบและตองเปนแนวคิดที่ถูกตองดวย<br />

6. ขอสันนิษฐาน คือ องคประกอบสําคัญของทักษะการคิดอยางมีเหตุผล เพราะผูคิดตองมี<br />

ความสามารถในการตั้งขอสันนิษฐานใหมีความชัดเจน<br />

สามารถตัดสินได เพื่อประโยชนในการหา<br />

ขอมูลใชในการคิดอยางมีเหตุผล<br />

7. การนําไปใชและผลที่ตามมา<br />

คือ องคประกอบสําคัญของการคิดอยางมีเหตุ ซึ่งผูคิด<br />

ตองคํานึงถึงผลกระทบ คือ ตองมีความสามารถคิดไกล คือ มองถึงผลที่ตามมารวมกับการนําไปใช<br />

ไดหรือไมเพียงใด<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Ennis (1985: 45-48) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

1. ขอมูลมีความชัดเจน (Clarity)<br />

2. ขอมูล และความรูจากแหลงตาง<br />

ๆ มีความสมเหตุสมผลเปนที่ยอมรับ<br />

(Basic)<br />

3. ในการสรุปอางอิง (Inference) นั้น<br />

กระบวนการสรุปที่ใช<br />

คือ 1) นิรนัย 2) อุปนัย ซึ่ง<br />

ในการสรุปตองคํานึงถึงการตัดสินคุณคา (Value Judgment) ดวย<br />

4. ขอมูล ความรู<br />

การสรุปอางอิง และการตัดสิน ควรมีความสัมพันธอยางมีประสิทธิภาพ<br />

27


แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Woolfolk (1987: 312) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

1. การนิยาม และการทําความกระจางชัดของปญหา ซึ่งจําแนกออกเปน<br />

4 ความสามารถ<br />

ยอย ไดแก<br />

1.1 การระบุเรื่องราวที่สําคัญหรือการระบุปญหา<br />

เปนความสามารถในการระบุใจความ<br />

สําคัญของเรื่องที่อาน<br />

การใชเหตุผลตาง ๆ และขอสรุปในการอางเหตุผล<br />

1.2 การเปรียบเทียบความคลายคลึง และความแตกตางระหวางคน วัตถุ สิ่งของ<br />

ความคิด หรือผลลัพธตั้งแต<br />

2 อยางขึ้นไป<br />

1.3 การกําหนดวาขอมูลใดมีความเกี่ยวของ<br />

เปนความสามารถในการจําแนกระหวาง<br />

ขอมูลที่สามารถพิสูจนความถูกตองไดกับขอมูลที่ไมสามารถพิสูจนความถูกตองได<br />

รวมทั้งการ<br />

จําแนกระหวางขอมูลที่เกี่ยวของกับขอมูลที่ไมเกี่ยวของกับเรื่องราว<br />

1.4 การกําหนดคําถามที่เหมาะสม<br />

เปนความสามารถในการกําหนดคําถามซึ่งจะนําไปสู<br />

ความเขาใจอยางลึกซึ้ง<br />

และชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องราว<br />

2. การพิจารณาตัดสินขอมูลที่มีความสัมพันธกับปญหา<br />

ซึ่งจําแนกออกเปน<br />

ความสามารถ<br />

ยอย ไดแก<br />

2.1 การจําแนกหลักฐาน เปนลักษณะขอเท็จจริง ความคิดเห็น ซึ่งพิจารณาตัดสิน<br />

โดยใชเหตุผล เปนความสามารถในการประยุกตเกณฑตาง ๆ เพื่อพิจารณาตัดสินลักษณะของการ<br />

สังเกต และการคิดหาเหตุผล<br />

2.2 การตรวจสอบความสอดคลอง เปนความสามารถในการตัดสินวา ขอมูลหรือ<br />

สัญลักษณที่กําหนด<br />

มีความสอดคลองสัมพันธซึ่งกันและกัน<br />

และมีความสอดคลองกับบริบท<br />

ทั้งหมด<br />

หรือไม<br />

28


2.3 การระบุขอตกลงเบื้องตนที่ไมไดกลาวอาง<br />

เปนความสามารถในการระบุวา<br />

ขอตกลงเบื้องตนที่ไมไดกลาวไวในการอางเหตุผล<br />

2.4 การระบุภาพพจน (Stereotypes) ในการอางเหตุผล เปนความสามารถของการระบุ<br />

การคิดที่บุคคลยึดติด<br />

(Fixed Notions) หรือการคิดตามประเพณีนิยม (Conventional Notions)<br />

2.5 การระบุความมีอคติปจจัยทางอารมณ และการโฆษณา เปนความสามารถในการ<br />

ระบุความมีอคติในการอางเหตุผล และการตัดสินความเชื่อถือไดของแลงขอมูล<br />

2.6 การระบุความแตกตางระหวางระบบคานิยม (Value System) และอุดมการณ<br />

(Ideologies) เปนความสามารถในการระบุความคลายคลึง และความแตกตางระหวางระบบคานิยม<br />

และอุดมการณ<br />

3. การแกปญหาหรือการลงขอสรุป จําแนกเปน 2 ความสามารถยอย ไดแก<br />

3.1 การระบุความเพียงพอของขอมูล เปนความสามารถในการตัดสินใจวาขอมูลที่มีอยู<br />

เพียงพอทั้งดานปริมาณและคุณภาพ<br />

ตอการนําไปสูขอสรุป<br />

การตัดสินใจ หรือการกําหนด<br />

สมมติฐานที่เปนไปได<br />

ไดหรือไม<br />

3.2 การพยากรณผลลัพธที่อาจเปนไปได<br />

เปนความสามารถในการทํานายผลลัพธที่อาจ<br />

เปนไปไดของเหตุการณ หรือชุดของเหตุการณตาง ๆ<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Roger, Sebraw, and Ronning (1995 อางถึงใน ศรินธร,<br />

ทิศนา และพิมพันธ, 2544: 60-61) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

1. การคิดไตรตรอง (Reflection Activity) คือ เปาหมายนั้นมิใชเพื่อการแกปญหา<br />

แตเปน<br />

การทําความเขาใจปญหาใหชัดเจนมากขึ้น<br />

29


2. การคิดจดจอจุดใดจุดหนึ่ง<br />

(Focused) คือ การคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง<br />

โดยเฉพาะเพื่อทํา<br />

ความเขาใจอยางกระจางในเรื่องนั้นจุดนั้น<br />

เพื่อนําไปสูการชั่งน้ําหนัก<br />

และประเมิน และการ<br />

ตัดสินใจ (Decisions)<br />

3. การคิดตัดสินใจ (Decisions) คือ การคิดจากขอมูลที่มีอยูวา<br />

ควรเชื่อหรือควรทําอะไร<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ ประกอบดวยทักษะยอย (Subskill) 4 ประการ คือ 1) ความรู<br />

(Knowledge) 2) การสรุปอางอิง (Inference) 3) การประเมิน (Evaluation) 4) การควบคุมการรู<br />

คิด (Metacognition)<br />

3.1 ความรู<br />

(Knowledge) เปนสิ่งที่สําคัญในการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

การมีความรูมาก<br />

จะทําใหคิดเร็ว คิดไดดีกวาผูที่ไมมีความรู<br />

ความรูพื้นฐานสําคัญที่จะใชตัดสินวาขอมูลใหมหรือ<br />

ความคิดเห็นตาง ๆ นั้นเชื่อถือไดหรือไมเพียงใด<br />

3.2 การสรุปอางอิง (Inference) เปนสิ่งจําเปนตอการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

เพราะจะ<br />

ชวยใหบุคคลมีความเขาใจสถานการณตาง ๆ ไดลึกซึ้ง<br />

และมีความหมายมากขึ้น<br />

กระบวนที่ใชสรุป<br />

อางอิงที่สําคัญมี<br />

2 กระบวนการ คือ<br />

3.2.1 การนิรนัย (Deduction)<br />

3.2.2 การอุปนัย (Induction)<br />

3.3. การประเมิน (Evaluation) การประเมินนี้รวมถึงทักษะยอย<br />

ๆ คือ การวิเคราะห การ<br />

ตัดสินใจ การชั่งใจ<br />

และการตัดสินคุณคา<br />

ตน<br />

3.3.1 การวิเคราะห คือ ความสามารถในการระบุและเลือกขอมูลที่เกี่ยวของได<br />

3.3.2 การตัดสิน คือ ความสามารถประเมินขอมูลความรู<br />

โดยปราศจากอคติสวน<br />

30


3.3.4 การชั่งน้ําหนัก<br />

คือ ความสามารถเปรียบเทียบขอมูลที่มีอยู<br />

เลือกขอมูลที่<br />

เหมาะสมที่สุด<br />

และจัดระบบขอมูลอยางสมเหตุสมผล<br />

3.3.5 การตัดสินคุณคา คือ การใชขอมูลมาตัดสินดวยการใชหลักคุณธรรม<br />

จริยธรรม และเจตคติที่ดี<br />

3.4 การควบคุมการรูคิด<br />

(Metacognition) เปนเรื่องของ<br />

การคิดที่เกี่ยวกับการคิดอันเปนการ<br />

วิเคราะหถึงความเหมาะสมของการคิด และการปรับการคิดใหถูกตอง การคิดในการประเมิน<br />

ความคิด ซึ่งมีความจําเปนตอการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

เพราะเปนการคิดที่ประเมินวาความรูตาง<br />

ๆ<br />

ที่จะใชในการตัดสินนั้นเพียงพอหรือไม<br />

และนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณของPeter (2004) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

1. การแปลความ (Interpretation)<br />

2. การวิเคราะห (Analysis)<br />

3. การประเมินผล (Evaluation)<br />

4. การอางอิง (Inference)<br />

5. การอธิบาย (Explanation)<br />

6. การประเมินตนเอง (Self - Regulation)<br />

แนวคิดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson and Glaser (1964: 24) ไดใหแนวคิดไว ดังนี้<br />

1. ทัศนคติ (Attitudes) หมายถึง ความสนใจในการแสวงหาความรูตลอดจนมีนิสัยในการ<br />

คนหาหลักฐานมาสนับสนุนสิ่งที่อางวาเปนจริง<br />

31


2. ความรู<br />

(Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการอนุมาน (Inference) การสรุป<br />

ใจความสําคัญ (Abstraction) และการสรุปเปนกรณีทั่วไป<br />

(Generalization) โดยพิจารณาจาก<br />

หลักฐาน และการใชตรรกวิทยา<br />

3. ทักษะ (Skills) หมายถึง ความสามารถที่จะนําทั้งทัศนคติและความรู<br />

ดังกลาวขางตน<br />

ไปประยุกตใชพิจารณาตัดสินปญหา สถานการณ ขอความ หรือขอสรุปตาง ๆ ได<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของกระทรวงศึกษาธิการ (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,<br />

2534: 33-34) มีดังนี้<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนความสามารถทางกระบวนการทางปญญาที่<br />

เกี่ยวของกับการรับรู<br />

ความจํา ความเขาใจ จนถึงขั้นการวิเคราะห<br />

สังเคราะห และประเมินคาตาม<br />

แนวคิดของBloom อีกแนวหนึ่งเปนแนวคิดของ<br />

Gagne ที่เปนกระบวนการเริ่มจากสัญลักษณทาง<br />

ภาษาจนโยงเปนความคิดรวบยอด เปนกฎเกณฑและการนํากฎเกณฑไปใช การพัฒนากระบวนการ<br />

คิดในขั้นพื้นฐานนี้<br />

สามารถใชเทคนิคดังตอไปนี้<br />

ซึ่งไมจําเปนตองใชเปนขั้น<br />

ๆ อาจจะเลือกใช<br />

เทคนิคใดกอนหลังก็ได ขึ้นอยูกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน<br />

แตพยายามกระตุนใหนักเรียน<br />

ผานขั้นตอนยอยทุกขั้นตอน<br />

ไดแก<br />

1. สังเกต เนนการใหทํากิจกรรมรับรูแบบปรนัยจนเกิดความเขาใจ<br />

ไดการคิดรวบยอด<br />

สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธของสิ่งตาง<br />

ๆ และสรุปเปนใจความสําคัญครบถวนตรงตามหลักฐาน<br />

ขอมูล<br />

2. อธิบาย ใหนักเรียนตอบคําถามแสดงความคิดเห็นวาเห็นดวย หรือไมเห็นดวยกับสิ่งที่<br />

กําหนด เนนการใชเหตุผล ดวยหลักการ กฎเกณฑ หรือหลักฐานขอมูลประกอบใหนาเชื่อถือ<br />

3. รับฟง ใหนักเรียนไดฟงความคิดเห็น ไดตอบคําถามวิพากษวิจารณจากผูอื่นที่มีตอการ<br />

คิดของตน เนนการปรับเปลี่ยนความคิดเดิมของตนตามเหตุผลหรือขอมูล<br />

โดยใชอารมณหรือความ<br />

ดื้อตอการคิดเดิม<br />

32


4. เชื่อมโยงความสัมพันธ<br />

ใหนักเรียนไดเปรียบเทียบความแตกตาง และความคลายคลึง<br />

ของสิ่งตาง<br />

ๆ ใหสรุปจัดกลุมสิ่งที่เปนพวกเดียวกัน<br />

เชื่อมโยงเหตุการณเชิงหาเหตุและผล<br />

หา<br />

กฎเกณฑการเชื่อมโยงในลักษณะอุปมาอุปไมย<br />

5. วิจารณ จัดกิจกรรมใหวิเคราะหเหตุการณ คํากลาว แนวคิด หรือการกระทําแลวให<br />

จําแนกหาจุดเดน-จุดดอย สวนดี-สวนเสีย สวนสําคัญ-ไมสําคัญ ดวยการเสนอเหตุผลหลักการมา<br />

ประกอบการวิจารณ<br />

6. สรุป การจัดกิจกรรมใหพิจารณาสวนประกอบของการกระทําหรือขอมูลตาง ๆ ที่<br />

เชื่อมโยงเกี่ยวของกัน<br />

แลวใหสรุปผลอยางตรงและถูกตองตามหลักฐานขอมูล<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของทิศนา (2544ข: 153-154) มีดังนี้<br />

จุดมุงหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

เพื่อใหไดการคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผล<br />

ผานการพิจารณาปจจัยรอบดานอยางกวางขวาง<br />

ไกลลึกซึ้ง<br />

และผานการพิจารณากลั่นกรองไตรตรองทั้งดานคุณ-โทษ<br />

และคุณคาที่แทจริงของสิ่ง<br />

นั้นมาแลว<br />

เกณฑความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ ผูที่คิดอยางมีวิจารณญาณจะมี<br />

ความสามารถ ดังนี้<br />

1. สามารถกําหนดเปาหมายในการคิดอยางถูกทาง<br />

2. สามารถระบุประเด็นในการคิดไดอยางชัดเจน<br />

3. สามารถประมวลขอมูลทั้งทางดานขอเท็จจริง<br />

และความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิดทั้ง<br />

ทางกวาง ทางลึก และไกล<br />

4. สามารถวิเคราะหขอมูล และเลือกขอมูลที่จะใชในการคิดได<br />

33


5. สามารถประเมินขอมูลได<br />

6. สามารถใชเหตุผลในการพิจารณาขอมูลและเสนอคําตอบ/ทางเลือกที่สมเหตุสมผลได<br />

7. สามารถเลือกทางเลือก/ลงความเห็นในประเด็นที่คิดได<br />

วิธีคิด<br />

1. ตั้งเปาหมายในการคิด<br />

2. ระบุประเด็นในการคิด<br />

3. ประมวลขอมูลทั้งดานขอเท็จจริง<br />

และความคิดเห็นเกี่ยวของกับประเด็นที่คิดทั้งทาง<br />

กวาง ลึก และไกล<br />

4. วิเคราะห จําแนก แยกแยะขอมูล จัดหมวดหมูของขอมูล<br />

และเลือกขอมูลที่จะนํามาใช<br />

5. ประเมินขอมูลที่ใชในแงความถูกตอง<br />

ความเพียงพอ และความนาเชื่อถือ<br />

6. ใชหลักเหตุผลในการพิจารณาขอมูลเพื่อแสวงหาทางเลือก/คําตอบที่สมเหตุสมผลตาม<br />

ขอมูลที่มี<br />

7. เลือกทางเลือกที่เหมาะสมโดยพิจารณาถึงผลที่จะตามมา<br />

และพิจารณาถึงคุณคาหรือ<br />

ความหมายที่แทจริงของสิ่งนั้น<br />

8. ชางน้ําหนักผลได-ผลเสีย<br />

คุณ-โทษ ในระยะสั้นและระยะยาว<br />

9. ไตรตรอง ทบทวนกลับไปมาใหรอบคอบ<br />

10. ประเมินทางเลือกและลงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิด<br />

34


กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของพงษเทพ (2545: 36) มีดังนี้<br />

1. ทําความเขาใจประเด็นปญหาใหชัดเจน ทั้งนี้เพราะปญหาเปนบอเกิดแหงการคิด<br />

ถาไม<br />

เห็นปญหา การคิดจะไมเกิดขึ้น<br />

2. เสาะหาขอมูลที่เกี่ยวของกับปญหาใหมากที่สุดและตองเปนขอมูลที่เชื่อถือได<br />

ถาเปน<br />

ประเด็นทางวิทยาศาสตร ขอมูลนั้นจะตองผานการพิสูจนจึงจะยอมรับและเชื่อถือได<br />

3. วิเคราะหขอมูลที่ไดมาเหลานั้น<br />

แยกแยะใหเห็นความสัมพันธของตัวแปรทุกตัวที่<br />

เกี่ยวของกับสถานการณนั้น<br />

ๆ โดยอาศัยหลักการคิดอยางมีเหตุผล และการคิดเชิงตรรกะ<br />

4. ประเมินคาของแตละองคประกอบในแตละสถานการณ เพื่อนําไปสูการสรุปและ<br />

ตัดสินใจที่สมเหตุสมผลตอไป<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของเพ็ญพิศุทธิ์<br />

(2536: 26-33) มีดังนี้<br />

1. ความสามารถในการนิยามปญหา ประกอบดวย การกําหนดปญหา การทําความกระจาง<br />

กับปญหา และการตระหนักถึงความมีอยูของปญหา<br />

2. การเลือกขอมูลที่เกี่ยวของกับการหาขอมูลของปญหา<br />

ประกอบดวย การพิจารณาความ<br />

นาเชื่อถือของแหลงขอมูล<br />

การหาหลักฐาน การตัดสินระหวางขอมูลที่ชัดเจนกับขอมูลที่คลุมเครือ<br />

ขอมูลที่เกี่ยวของกับขอมูลที่ไมเกี่ยวของ<br />

ขอมูลที่จําเปนและไมจําเปน<br />

การพิจารณาความพอเพียง<br />

ของขอมูล การจัดระบบขอมูล การระบุขอสันนิษฐาน การจําแนกความแตกตางระหวางขอเท็จจริง<br />

กับความคิดเห็น การตัดสินวาขอความหรือสัญลักษณที่กําหนดใหมีความสอดคลองสัมพันธซึ่งกัน<br />

และกัน และสอดคลองกับบริบททั้งหมดหรือไม<br />

การตีความขอเท็จจริง และการสรุปอางอิงจาก<br />

หลักฐาน การระบุอคติ การพิจารณาเหตุผลที่ผิด<br />

ๆ ไมเกี่ยวของกับเรื่องนั้น<br />

3. การกําหนดสมมติฐาน การคิดถึงความสัมพันธเชิงเหตุผล และเลือกสมมติฐานที่เปนไป<br />

ไดมากที่สุด<br />

35


4. การลงขอสรุปอยางสมเหตุสมผล โดยใชหลักตรรกศาสตรเพื่อแกปญหาอยางมีเหตุผล<br />

และการพิจารณาตัดสินความสมเหตุสมผลของการคิดหาเหตุผล ทั้งในดานการอุปนัยและการนิรนัย<br />

5. การประเมินผล โดยอาศัยเกณฑการประยุกตใช การพยากรณผลลัพธที่อาจเปนไปได<br />

การทํานายสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาอยางนาเชื่อถือ<br />

และการกําหนดความสมเหตุสมผล<br />

6. การประยุกต เปนการทดสอบขอสรุป การสรุปอางอิง การนําไปปฏิบัติ<br />

กระบวนการการคิดอยางมีวิจารณญาณของมลิวัลย (2540: 28-36) มีดังนี้<br />

1. การนิยามปญหา หมายถึง การกําหนดปญหาและทําความเขาใจกับปญหา รวมทั้งการ<br />

นิยามของคําและขอความ การนิยามเปนจุดเริ่มตนการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

เปนการกระตุนใหเริ่ม<br />

คิดหาขอโตแยง พยายามหาเหตุผลที่สมเหตุสมผล<br />

2. การรวบรวมขอมูล หมายถึง การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับประเด็น<br />

ขอโตแยง หรือ<br />

ขอมูลที่คลุมเครือ<br />

เพื่อที่จะแสวงหาขอมูลที่เกี่ยวกับประเด็นจําเปนตองใชการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ดังนั้นการเก็บรวบรวมขอมูลที่จําเปนตองใชการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

การสังเกตจากตนเองและ<br />

การรายงานผลการรวบรวมขอมูลของผูอื่น<br />

3. การจัดระบบขอมูล หมายถึง การพิจารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล<br />

เพราะขอมูล<br />

ที่ไดจากแหลงขอมูลที่ไมนาเชื่อถืออาจนําไปสูการสรุปที่ผิดพลาด<br />

ขณะเดียวกันจะตองประเมิน<br />

ความถูกตองและความเพียงพอของขอมูลที่จะนําไปสูการสรุปอางอิงหรือไม<br />

ในการสรุปอางอิงถา<br />

ขอมูลไมเพียงพอจะตองรวบรวมขอมูลเพิ่มเติมอีก<br />

เมื่อไดขอมูลที่ถูกตองแลวจะตองมีการจัดระบบ<br />

ขอมูลที่รวบรวมโดยแยกแยะความแตกตางของขอมูล<br />

4. การตั้งสมมติฐาน<br />

หมายถึง การพิจารณาแนวทางสรุปอางอิงของปญหา ขอโตแยง โดย<br />

นําขอมูลที่จัดระบบมาแลวมากําหนดแนวทางการสรุปที่นาจะเปนไปได<br />

36


5. การสรุปอางอิงโดยใชหลักตรรกศาสตร หมายถึง การพิจารณาแนวทางที่สมเหตุสมผล<br />

ที่สุดจากขอมูลและหลักฐานที่มีอยู<br />

พยายามเลือกแนวทางที่เปนไปไดมากที่สุดเพื่อนําไปสูการสรุป<br />

อางอิงที่สมเหตุสมผล<br />

ซึ่งเปนทักษะที่สําคัญของการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

6. การประเมินการสรุปอางอิง หมายถึง การประเมินความสมเหตุสมผลของการสรุป<br />

อางอิง หลังจากตัดสินใจสรุปโดยใชหลักตรรกศาสตรจะตองประเมินขอสรุปอางอิงสมเหตุสมผล<br />

หรือไม รวมถึงสามารถนําไปใชประโยชนไดหรือไม<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของศันสนีย และอุษา (2544: 32-37) มีดังนี้<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีสวนประกอบ 3 ประเภท ดังนี้<br />

1. กระบวนการทํางานของการคิด (Mental Operations) จําแนกออกเปน 2 สวน คือ<br />

1.1 กระบวนการผสมผสานความรู<br />

(Cognitive Operations) คือ การใชทักษะพื้นฐาน<br />

ตางๆ ในการยอยขอมูล ไดแก การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู<br />

การคาดคะเน การพิจารณาจาก<br />

ขอเท็จจริง การวิเคราะหขอผิดพลาดของเหตุผล การสรางขอถกเถียง การวิเคราะหขอสันนิษฐาน<br />

การวิเคราะหระบบ และยุทธวิธีในการสรางความรู<br />

ไดแก การตัดสินใจ การตรวจสอบสถานการณ<br />

การทดลอง การแกปญหา การประดิษฐคิดคน<br />

1.2 กระบวนการจัดการและการควบคุมการรูคิด<br />

(Metacognition Operations)<br />

กระบวนการนี้สะทอนใหเห็นถึงการคิด<br />

ซึ่งมีขั้นตอนการทํางานดังนี้<br />

คือ<br />

1.2.1 วางแผน ปรับยุทธวิธี และทักษะพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการคิดเพื่อใหเกิด<br />

ผลสําเร็จประเมินผลการทํางานของการคิดของตนเอง<br />

1.2.2 ควบคุมกระบวนการทํางานของการคิด ปรับเปลี่ยนการคิด<br />

ตามผลของ<br />

การประเมินผลเปนระยะๆ<br />

1.2.3 การพัฒนากระบวนการจัดการ และการควบคุมการรูคิด<br />

คือ การใหอิสระ<br />

37


ในการคิด ฝกใหใชทักษะพื้นฐานสําหรับการคิดอยางมีวิจารณญาณทั้งในการยอยขอมูล<br />

และการ<br />

สรางความรูใหม<br />

ใหพูดถึงความคิดของตนเอง และลงมือกระทําตามการคิดของตนเอง ซึ่งจะชวย<br />

ใหรูเทาทันการคิด<br />

สามารถประเมินผลการคิดของตนเอง รวมถึงสามารถการควบคุมการรูคิด<br />

และ<br />

ปรับเปลี่ยนการคิดของตนเองได<br />

2. การกอเกิดความคิด (Disposition) เปนความคิดเกิดจากกระบวนการทํางานของการคิด<br />

ทั้งในสวนของกระบวนการผสมผสานความรู<br />

และสวนของกระบวนการจัดการ และการควบคุม<br />

การรูคิด<br />

ซึ่งแตละคนไมใชจะใชกระบวนการทํางานของการคิดที่กอเกิดความคิดที่เปนผลดีและ<br />

นําไปสูการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ไดเสมอไป คนที่สามารถใชกระบวนการทํางานของการคิดที่กอ<br />

เกิดความคิดที่เปนผลดี<br />

และนําไปสูการคิดอยางมีวิจารณญาณมักจะประสบความสําเร็จมากกวา<br />

ซึ่งยุทธวิธีที่ใชสนับสนุนใหกอเกิดความคิด<br />

เชน<br />

2.1 รูจักเลือกใชขอมูลที่นาเชื่อถือ<br />

2.2 หาหลักฐานสนับสนุน<br />

2.3 เปดใจกวาง รับฟงความคิดเห็น<br />

2.4 ตั้งใจทํางานจนสําเร็จ<br />

2.5 เปลี่ยนความคิดเห็นเมื่อมีเหตุผลที่ควรรับฟง<br />

2.6 ไมดวนตัดสินความหากยังมีหลักฐานไมเพียงพอ<br />

3. ความรู<br />

(Knowledge) เปนสิ่งที่เราไดรับรูซึ่งอาจจะมาจากการจํา<br />

หรือการนําความรูใหม<br />

ผสมผสานกับความรูเกา<br />

ในขณะที่การรู<br />

(Knowing) คือ กระบวนการรับรูซึ่งสมองไดรับรูและ<br />

อาจจะเก็บเปนความรูหรือไมเก็บไวเปนความรูก็ได<br />

ความรูสามารถแบงเปน<br />

3 แบบ คือ<br />

3.1 ความรูที่เกิดจากประสบการณโดยตรง<br />

เปนความรูทั่วๆไป<br />

เชน ในเด็กเล็กรูวานกมี<br />

ปก บินบนฟา ปลาอยูในน้ํา<br />

ในขณะที่เมื่อโตขึ้นจะรูวาประเทศไทยอยูในทวีปเอเชีย<br />

38


3.2 ความรูเปนเรื่องเฉพาะบุคคล<br />

เกิดจากการตระหนักรูของแตละบุคคล<br />

เชน คนที่<br />

สนใจเรื่องกีฬา<br />

ก็จะตองคนควาหาความรูในเรื่องกีฬา<br />

มีความรูมากในเรื่องนักกีฬา<br />

การแขงขันกีฬา<br />

หรืออาจเปนความรูในวิชาชีพ<br />

เชน แพทยจะมีความรูทางการแพทย<br />

ในขณะที่สถาปกก็จะมีความรู<br />

ในวิชาชีพนั้น<br />

3.3 ความรูที่เกี่ยวกับเนื้อหาของการคิด<br />

รูวาตนเองกําลังคิดอะไรอยู<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของDressel and Maythew (1957: 418-420) มีดังนี้<br />

1. การนิยามปญหา ประกอบดวย<br />

1.1 การตระหนักถึงความเปนไปของปญหา เปนการระลึกถึงเงื่อนไขตาง<br />

ๆ ที่มี<br />

ความสัมพันธกันในสภาพการณ การรูถึงความขัดแยง<br />

และเรื่องราวที่สําคัญในสภาพการณ<br />

ความสามารถในการระบุจุดเชื่อมตอที่ขาดหายไปของชุดเหตุการณ<br />

หรือการคิด และการรูถึงสภาพ<br />

ปญหาที่ยังไมมีคําตอบ<br />

1.2 การนิยามปญหา เปนการระบุถึงธรรมชาติของปญหา ความเขาใจถึงสิ่งที่เกี่ยวของ<br />

และจําเปนในการแกปญหา สามารถนิยามองคประกอบของปญหาซึ่งมีความยุงยาก<br />

และเปนนามธรรม ใหเปนรูปธรรม สามารถจําแนกแยกแยะองคประกอบของปญหาที่มีความ<br />

ซับซอนออกเปนสวนประกอบที่สามารถจัดกระทําได<br />

สามารถระบุองคประกอบที่สําคัญของปญหา<br />

สามารถจัดองคประกอบของปญหาใหเปนลําดับขั้นตอน<br />

2. การเลือกขอมูลที่เกี่ยวของกับการหาคําตอบของปญหา<br />

คือ การตัดสินใจวาขอมูลใดมี<br />

ความจําเปนตอการแกปญหา การจําแนกแหลงขอมูลที่เชื่อถือไดกับแหลงขอมูลที่เชื่อถือไมได<br />

การ<br />

ระบุวาขอมูลใดควรยอมรับหรือไม การเลือกตัวอยางขอมูลที่มีความเพียงพอ<br />

และเชื่อถือได<br />

ตลอดจนการจัดระบบระเบียบของขอมูล<br />

3. การระบุขอตกลงเบื้องตน<br />

ประกอบดวย การระบุขอตกลงเบื้องตนที่ผูอางเหตุผลไมได<br />

กลาววา การระบุขอตกลงเบื้องตนที่คัดคานการอางอิงเหตุผล<br />

และการระบุขอตกลงเบื้องตนที่ไม<br />

เกี่ยวของกับการอางอิงเหตุผล<br />

39


4. การกําหนด และเลือกสมมติฐาน ประกอบดวย การคนหา การชี้แนะ<br />

(Clues) การ<br />

กําหนดสมมุติฐานตาง ๆ โดยอาศัยขอมูล และขอตกลงเบื้องตน<br />

การเลือกสมมุติฐานที่มีความ<br />

เปนไปไดมากที่สุดมาพิจารณาเปนอันดับแรก<br />

การตรวจความสอดคลองระหวางสมมุติฐานกับ<br />

ขอมูล และขอตกลงเบื้องตน<br />

การกําหนดสมมุติฐานที่เกี่ยวของกับขอมูลที่ยังไมทราบ<br />

และเปน<br />

ขอมูลที่จําเปน<br />

5. การสรุปอยางสมเหตุสมผล และการตัดสินความสมเหตุสมผลของการคิดหาเหตุผล<br />

ประกอบดวย<br />

5.1 การลงสรุปอยางสมเหตุสมผล โดยอาศัยขอตกลงเบื้องตนสมมุติฐาน<br />

และขอมูลที่<br />

เกี่ยวของ<br />

ไดแก การระบุความสัมพันธระหวางคํากับประพจน การระบุถึงเงื่อนไขที่จําเปน<br />

และ<br />

เงื่อนไขที่เพียงพอ<br />

การระบุความสัมพันธเชิงเหตุผล และในการระบุและกําหนดขอสรุป<br />

5.2 การพิจารณาตัดสินความสมเหตุสมผลของกระบวนการที่นําไปสูขอสรุป<br />

ไดแก<br />

การจําแนกการสรุปที่สมเหตุสมผลจากการสรุปที่อาศัยคานิยม<br />

ความพึงพอใจ และความลําเอียง<br />

การจําแนกระหวางการคิดหาเหตุผลที่มีขอสรุปไดแนนอน<br />

กับการคิดหาเหตุผลที่ไมสามารถหา<br />

ขอสรุปที่เปนขอยุติได<br />

5.3 การประเมินขอสรุปโดยอาศัยเกณฑการประยุกตใช ไดแก การระบุเงื่อนไขที่<br />

จําเปนตอการพิสูจนขอสรุป การรูถึงเงื่อนไขที่ทําใหขอสรุปไมสามารถนําไปปฏิบัติได<br />

และการ<br />

ตัดสินความเพียงพอของขอสรุปในลักษณะที่เปนคําตอบของปญหา<br />

40


กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของEnnis (1985: 45-48) มีดังนี้<br />

1. การตั้งประเด็นคําถาม<br />

2. การวิเคราะหขอถกเถียง<br />

3. การถามและการตอบคําถามไดชัดเจนตรงประเด็น<br />

4. การตัดสินความนาเชื่อถือของขอมูล<br />

5. การสังเกตและตัดสินจากรายงานผลการสังเกต<br />

6. การคาดคะเนตามหลักเหตุผล<br />

7. การสรุปและตัดสินโดยใหเหตุผลตามขอเท็จจริง<br />

8. การสรางการตัดสินใจที่ถูกตอง<br />

9. การระบุนิยามศัพทและการกําหนดคําจํากัดความ<br />

10. การกําหนดสมมติฐาน<br />

11. การกําหนดแนวทางปฏิบัติ<br />

12. การปฏิสัมพันธกับเรื่องอื่นอยางใครครวญพิจารณา<br />

41


กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของPaul (1985: 36-39) มีดังนี้<br />

1. จุดมุงหมาย<br />

คือ เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการคิด คือ คิดเพื่อหาแนวทาง<br />

แกปญหาหรือคิดเพื่อหาความรู<br />

2. ประเด็นคําถาม คือ ปญหาหรือคําตอบที่ตองการรู<br />

คือ ผูคิดสามารถระบุปญหาคําถาม<br />

ตาง ๆ รวมทั้งระบุปญหาสําคัญที่ตองการแกได<br />

หรือคําถามสําคัญที่ตองการรู<br />

3. สารสนเทศ คือ ขอมูลความรูตาง<br />

ๆ เพื่อใชประกอบการคิด<br />

ขอมูลตาง ๆ ที่ไดมาควรมี<br />

ความกวาง ลึก ชัดเจน ยืดหยุน<br />

และมีความถูกตอง<br />

4. ขอมูลเชิงประจักษ คือ ขอมูลที่ไดมานั้นตองเชื่อถือได<br />

มีความชัดเจน และถูกตอง และ<br />

มีความเพียงพอตอการใชเปนพื้นฐานของการคิดอยางมีเหตุผล<br />

5. แนวคิดอยางมีเหตุผล คือ แนวคิดทั้งหลายที่มีอาจรวมถึง<br />

กฎ ทฤษฎี หลักการ ซึ่ง<br />

แนวคิดดังกลาวมีความจําเปนสําหรับการคิดอยางมีเหตุผล และแนวคิดที่ไดมานั้นตองมีความ<br />

เกี่ยวของกับปญหาหรือคําถามที่ตองการหาคําตอบ<br />

และตองเปนแนวคิดที่ถูกตองดวย<br />

6. ขอสันนิษฐาน คือ องคประกอบสําคัญของทักษะการคิดอยางมีเหตุผล เพราะ ผูคิดตอง<br />

มีความสามารถในการตั้งขอสันนิษฐานใหมีความชัดเจน<br />

สามารถตัดสินไดเพื่อประโยชนในดาน<br />

การหาขอมูลมาใชในการคิดอยางมีเหตุผล<br />

7. การนําไปใชและผลที่ตามมา<br />

คือ องคประกอบที่สําคัญของการคิดอยางมีเหตุผลซึ่งผูคิด<br />

ตองคํานึงถึงผลกระทบ คือ ตองมีความสามารถคิดไกล คือ มองถึงผลที่ตามมารวมกับการนําไปใช<br />

ได หรือไมเพียงใด<br />

กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของWatson and Glaser (1964: 11) มีดังนี้<br />

1. การอางอิง (Inference) คือ การคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปไดของ<br />

ขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

42


2. การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) คือ การคิดในการพิจารณาวา<br />

ขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

3. การนิรนัย (Deduction) คือ การคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญไปสู<br />

หลักการยอย โดยใชเหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหา<br />

ขอสรุปจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

4. การแปลความ (Interpretation) คือ การคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหาที่<br />

สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหา<br />

5. การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) คือ การคิดในการพิจารณาขอโตแยง<br />

ที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

แนวคิด ลักษณะของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

California Critical Thinking Skill Test (Peter, 1990: 1-19)<br />

ลักษณะทั่วไปของแบบวัด<br />

สําหรับแบบวัด California Critical Thinking Skill Test (CCTST) สรางขึ้นโดย<br />

Peter<br />

แหง Santa Clara University (The California Academic Press) เมื่อป<br />

ค.ศ. 1988 และทําการ<br />

พัฒนาแบบวัดเสร็จสิ้น<br />

เมื่อป<br />

ค.ศ. 1989 แลวทําการเผยแพร เมื่อป<br />

ค.ศ.1990 เปนแบบวัดที่ใชในการ<br />

ฝกการจัดการเพื่อที่สามารถใหนักศึกษานําไปใชจริงในสังคม<br />

เมื่อจบการศึกษาแลว<br />

แบบวัดนี้<br />

เหมาะสําหรับนักศึกษาระดับวิทยาลัย มหาวิทยาลัย โดยรูปแบบของแบบวัดเปนแบบวัดแบบปรนัย<br />

จํานวน 34 ขอ มีลักษณะเปนแบบคูขนาน<br />

คือ แบบ A และแบบ B แบบวัดที่สรางขึ้นทั้ง<br />

2<br />

ฉบับ ประกอบดวย 6 ทักษะ โดยในแตละทักษะสามารถแบง เปนทักษะยอย ๆ (Subtest) ดังนี้<br />

1. การแปลความ (Interpretation) หมายถึง ความรูความเขาใจ<br />

และสามารถอธิบายไดอยาง<br />

มีความหมายของ ประสบการณ สถานการณ ขอมูล เหตุการณ การตัดสินใจ การประชุม ความ<br />

เชื่อ<br />

ขอบังคบ ระเบียบวิธี หรือกฎเกณฑ ประกอบดวยทักษะ การจัดหมวดหมู<br />

(Categorization)<br />

43


ความสําคัญของการแปล (Decoding Significance) การใหความหมายที่กระจางชัด<br />

(Clarifying<br />

Meaning)<br />

2. การวิเคราะห (Analysis) หมายถึง การแสดงถึงจุดมุงหมายที่ตั้งใจไว<br />

และสามารถ<br />

อางอิงความสัมพันธของ คํากลาว คําถาม แนวคิด การบรรยาย หรือรูปแบบอื่นที่เปนการแสดงถึง<br />

จุดมุงหมายของ<br />

ความเชื่อ<br />

การตัดสินใจ ประสบการณ เหตุผล ขอมูลขาวสาร หรือความคิดเห็น<br />

ประกอบดวยทักษะ การทดสอบความคิด (Examining Ideas) การระบุขอโตแยง (Identifying<br />

Arguments) การวิเคราะหขอโตแยง (Analyzing Arguments)<br />

3. การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การประเมินคุณภาพของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง<br />

หรือสิ่งของบางสิ่ง<br />

ที่แสดงออกถึงปริมาณ<br />

หรือคําบรรยาย ของบุคคลหนึ่งที่สามารถสังเกตเห็นได<br />

เชน ประสบการณ การตัดสินใจ ความเชื่อ<br />

ความคิดเห็น การประเมินผลโดยใชหลักตรรกศาสตร<br />

ประกอบดวยทักษะ การประเมินขอเรียกรอง (Assessing Claims) การประเมินขอโตแยง<br />

(Assessing Arguments)<br />

4. การอางอิง (Inference) หมายถึง การระบุถึงปจจัยสําคัญ ๆ ที่จําเปนในการลงขอสรุป<br />

จากการคาดคะเน และสมมติฐาน เพื่อพิจารณาประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับขอมูล<br />

และนําผลลัพธ<br />

ที่ไดแสดงออกเปน<br />

หลักการ หลักฐาน ความเชื่อ<br />

ความคิดเห็น แนวคิด คําบรรยาย ประกอบดวย<br />

ทักษะ การตั้งคําถามจากหลักฐาน<br />

(Querying Evidence) ทางเลือกที่เปนไปไดจากการคาดคะเน<br />

(Conjecturing Alternatives) การลงขอสรุป (Drawing Conclusions)<br />

5. การอธิบาย (Explanation) หมายถึง การอธิบายถึงผลลัพธที่ไดโดยการชี้แจงอยางมี<br />

เหตุผล ในเรื่องที่เกี่ยวของกับ<br />

พยานหลักฐาน เกี่ยวกับความคิด<br />

ระบบแบบแผน ซึ่งผลลัพธที่ได<br />

ออกมาแตละบุคคลอยูบนพื้นฐาน<br />

เหตุและผลของแตละบุคคลในรูปของขอโตแยง ประกอบดวย<br />

ทักษะ สถานะของผลลัพธ (Stating Results) ระเบียบวิธีที่แสดงออกถึงเหตุผลที่สมควร<br />

(Justifying<br />

Procedures) การแสดงออกถึงขอโตแยง (Presenting Arguments)<br />

6. การประเมินตนเอง (Self - Regulation) หมายถึง เปนการประเมินตนเองอยางมีสติใน<br />

กิจกรรมที่พัฒนาปญญาของตนเอง<br />

ซึ่งผลลัพธที่ไดสามารถปรากฏใหเห็นโดยประยุกตการใชทักษะ<br />

ตาง ๆในการวิเคราะห และประเมินผล การตัดสินใจของตนเองในการอางอิงเชิงอนุมาน ดวยคําถาม<br />

44


คํารับรอง ความมีเหตุผล ประกอบดวยทักษะ การทดสอบตนเอง (Self-Examination) ความถูกตอง<br />

(Self –Correction)<br />

คุณภาพของแบบวัด<br />

แบบวัดนี้<br />

หาคาความเที่ยงโดยใชสูตร<br />

KR-20 มีคาอยูระหวาง<br />

0.70 ถึง 0.75 และ<br />

ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดในเรื่อง<br />

ความตรงตามเนื้อหา<br />

ความตรงตามโครงสราง<br />

Cornell Critical Thinking Test, Level x and Level z (ศิริชัย, 2544ก: 182-189)<br />

ลักษณะทั่วไปของแบบวัด<br />

Cornell Critical Thinking Test พัฒนาโดย Ennis และ Millman (1985) พัฒนาขึ้นมา<br />

โดยยึดทฤษฎีของ Ennis เปนหลัก ทฤษฎีนี้ไดกําหนดวาการคิดอยางมีวิจารณญาณมีองคประกอบ<br />

3<br />

สวน คือ<br />

1. การนิยามปญหา/สิ่งเกี่ยวของและการทําใหกระจาง<br />

(Define and Clearity)<br />

ซึ่งประกอบดวยความสามารถตางๆ<br />

ดังนี้<br />

1.1 ระบุประเด็นปญหาตางๆ ที่สําคัญ<br />

(identify problem) ระบุขอสรุป(identify<br />

conclusion)<br />

1.2 ระบุเหตุผลที่ปรากฏและไมปรากฏ<br />

(identify reasons)<br />

1.3 ตั้งคําถามใหเหมาะสมในแตละสถานการณ<br />

(identify appropriate question<br />

conclusion)<br />

1.4 ระบุขอตกลงเบื้องตน<br />

(identify assumptions)<br />

45


ดังนี้<br />

2 การพิจารณาตัดสินขอมูล (Judge Information) ซึ่งประกอบดวยความสามารถตางๆ<br />

2.1 ตัดสินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลการสังเกต<br />

(determine credibility of source<br />

and observation)<br />

2.2 ตัดสินความเกี่ยวของของขอมูลกับปญหา<br />

(determine relevance)<br />

2.3 ตระหนักในความคงเสนคงวาของขอมูล (recognize consistency)<br />

3. การอางอิงเพื่อการแกปญหาและการลงขอสรุปอยางสมเหตุสมผล<br />

(Inference Solving<br />

Problem and Draw Reasonable Conclusion) ซึ่งประกอบดวยความสามารถตางๆ<br />

ดังนี้<br />

3.1 ตัดสินสรุปแบบอุปนัยและอางอิง (infer and judge inductive conclusions)<br />

3.2 การนิรนัย (deduction)<br />

3.3 ทํานายผลที่จะเกิดขึ้นตามมา<br />

(predict probable consequence)<br />

คูมือการใชแบบวัดไดระบุถึงผูคิดอยางมีวิจารณญาณนั้น<br />

จะตองมีสมรรถภาพในการตัดสิน<br />

ไดวาสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นหรือไม<br />

ซึ่งมี<br />

10 ลักษณะ ดังนี้<br />

1. ขอความที่ใชสืบเนื่องมาจากขอความที่กําหนดให<br />

(premises)<br />

2. สิ่งที่กลาวถึงเปนขอตกลงเบื้องตน<br />

(assumption)<br />

3. สิ่งที่สังเกตไดมีความตรง<br />

(validity)<br />

4. สิ่งที่กลาวหาเชื่อถือได<br />

(reliable)<br />

46


5. การสรุปอางอิงเบื้องตนมีความถูกตอง<br />

(simple generalization)<br />

6. สมมุติฐานมีความสมเหตุสมผล (hypothesis)<br />

7. ทฤษฎีที่ใชมีความเหมาะสม<br />

(theory)<br />

8. ประเด็นโตแยงขึ้นกับประเด็นที่คลุมเครือ<br />

(ambiguity)<br />

9. ขอความที่ใชมีความเฉพาะและชัดเจน<br />

(specific)<br />

10. การใชเหตุผลไดตรงประเด็น (relevant)<br />

แบบวัด Cornell Critical Thinking Test ทั้ง<br />

Level X และLevel Z เหมาะสําหรับใชกับ<br />

กลุมตัวอยางคนละกลุม<br />

และสมรรถภาพที่มุงวัดมีความแตกตางกันตามกลุมตัวอยางที่ใชโดยแบบวัด<br />

Level X ใชสําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่<br />

4 ถึงมัธยมศึกษา ประกอบดวยแบบวัดแบบ<br />

เลือกปรนัย 71 ขอ โดยวัดองคประกอบการคิด 4 ดาน คือ ดานการตัดสินสรุปการอางอิงแบบ<br />

อุปนัย (inductive inference) การตัดสินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลและการสังเกต(credibility<br />

of<br />

sources and observation) การนิรนัย (deduction) และการระบุขอตกลงเบื้องตน<br />

(assumption<br />

identification) ซึ่งสมรรถภาพที่มุงวัดครอบคลุม<br />

7 ลักษณะ ยกเวนสมรรถภาพที่<br />

7 8 และ 9<br />

สําหรับแบบวัด Cornell Critical Thinking Test , Level Z ใชสําหรับนักเรียน<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา รวมทั้งผูใหญ<br />

ประกอบดวย<br />

แบบวัดแบบปรนัย 52 ขอ โดยวัดองคประกอบของการคิด 7 ดาน คือ การนิรนัย (deduction)<br />

การใหความหมาย (meaning) ความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล<br />

(credibility) การสรุปโดยอางอิง<br />

เหตุผลที่สนับสนุนดวยขอมูล<br />

(inductive inference, direction of support) การสรุปโดยทดสอบ<br />

สมมติฐาน และการทํานาย (inductive inference, prediction and hypothesis testing) การนิยาม<br />

และการใหเหตุผลที่ไมปรากฏ<br />

(definition and unstated reasons) และการระบุขอตกลงเบื้องตน<br />

(assumption identification) ซึ่งสมรรถภาพที่มุงวัดครอบคลุมทั้ง<br />

10 ลักษณะยกเวนสมรรถภาพที่<br />

7 และเนนนอยลงสําหรับสมรรถภาพที่<br />

3 และ4<br />

47


คุณภาพของแบบวัด<br />

แบบวัด Cornell Critical Thinking Test, Level X มีคาความเที่ยงอยูระหวาง<br />

0.67 ถึง<br />

0.79 สวนแบบวัด Level Z มีคาความเที่ยงอยูระหวาง<br />

0.50 ถึง 0.77 ในดานความตรงของแบบ<br />

วัดมีการศึกษาทางดานเนื้อหา<br />

ความตรงตามเกณฑ และการวิเคราะหตัวประกอบ<br />

The Ennis-Weir Critical Thinking Essay Test<br />

ลักษณะทั่วไปของแบบวัด<br />

สําหรับแบบวัด The Ennis-Weir Critical Thinking Essay Test ฉบับนี้พัฒนาโดย<br />

Ennis<br />

และ Weir (1985) แบบวัดนี้เปนแบบอัตนัย<br />

ใชสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และ<br />

ระดับอุดมศึกษา แตมีผูนําไปใชอยางไดผลกับเด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 แบบวัดนี้<br />

ตองการวัดประเด็นการคิดที่สําคัญเกี่ยวกับการจับประเด็น<br />

(Getting the Point) การพิจารณาเหตุผล<br />

และขอตกลงเบื้องตน<br />

(Seeing the Reason and Assumption) การเสนอประเด็นของตนเอง<br />

(Stating one , s Point) การใชเหตุผลที่ดี<br />

(Offering Good Reason) การพิจารณาประเด็นหรือ<br />

คําอธิบายที่เปนไปไดของผูอื่น<br />

(Seeing Other Possibilities) ในการสอบผูสอบจะไดอานจดหมาย<br />

สมมุติที่มีผูเขียนถึงบรรณาธิการหนังสือพิมพฉบับหนึ่ง<br />

จดหมายประกอบดวยขอความ 8 ยอหนา<br />

แสดงการโตแยงถึงการใหยกเลิกกฎระเบียบอยางหนึ่ง<br />

หนาที่ของผูสอบ<br />

คือ จะตองเขียนจดหมาย<br />

ดังกลาวดวยความยาว 8 ยอหนาเชนกันพรอมทั้งประเมินความคิดโดยภาพรวมของจดหมาย<br />

ดังกลาว คูมือของแบบวัดมีการระบุถึงลักษณะการตอบที่อาจนํามาใช<br />

และวิธีการตรวจใหคะแนน<br />

เมื่อเขาใจคําแนะนําแลวจึงใหลงมือทํา<br />

คุณภาพของแบบวัด<br />

แบบวัดนี้มีคาความเที่ยง<br />

และความสอดคลองระหวางผูตรวจ<br />

(Interrater Reliability)<br />

เทากับ 0.86 และ0.82 ตามลําดับ<br />

48


Watson - Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and Form B 1980<br />

ลักษณะทั่วไปของแบบวัด<br />

สําหรับ Watson Glaser Critical Thinking Appraisal (WGCT) นี้เปนแบบวัดที่สรางขึ้น<br />

โดย Watson and Glaser ซึ่งมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง<br />

และฉบับลาสุดที่พัฒนาและใชกันอยาง<br />

แพรหลายเปนแบบที่พัฒนาขึ้นในป<br />

1980 ที่ใชกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ถึงวัยผูใหญ<br />

แบบวัดมี 2 ชุดที่คูขนานกันคือ<br />

Form A และ Form B แตละชุดประกอบดวย 5 แบบวัดยอย<br />

(Subtest) มีขอสอบรวมทั้งหมด<br />

80 ขอ ใชเวลา 50 นาที โดยในแตละแบบวัดยอยวัด<br />

ความสามารถในการคิดดานตาง ๆ กัน ดังนี้<br />

1. การสรุปอางอิง (Inference) เปนการวัดความสามารถในการตัดสิน จําแนกความนาจะ<br />

เปนของขอสรุปวา ขอสรุปใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ลักษณะของแบบวัดยอยนี้มีการกําหนด<br />

สถานการณมาให แลวมีขอสรุปของสถานการณ 3-5 ขอสรุป จากนั้นผูตอบตองพิจารณาตัดสินวา<br />

ขอสรุปของแตละขอเปนเชนไร โดยเลือกจากตัวเลือก 5 ตัวเลือก ไดแก เปนจริง นาจะเปนจริง<br />

ขอมูลที่ใหไมเพียงพอ<br />

นาจะเปนเท็จ และเปนเท็จ<br />

2. การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) เปนการวัดความสามารถ<br />

ในการจําแนกวา ขอความใดเปนขอตกลงเบื้องตน<br />

ขอความใดไมเปน ลักษณะของแบบวัดยอยนี้<br />

จะมีการกําหนดสถานการณมาให แลวมีขอความตามมาสถานการณละ 2-3 ขอความ จากนั้น<br />

ผูตอบตองพิจารณาตัดสินขอความแตละขอวา<br />

ขอใดเปนหรือไมเปนขอตกลงเบื้องตนของ<br />

สถานการณทั้งหมด<br />

โดยเลือกจากตัวเลือก 2 ตัวเลือก ไดแก เปนขอตกลงเบื้องตน<br />

กับไมเปน<br />

ขอตกลงเบื้องตน<br />

3. การนิรนัย (Deduction) เปนการวัดความสามารถในการหาขอสรุปอยางสมเหตุสมผล<br />

จากขออางจากสถานการณที่กําหนดมาใหโดยใชหลักตรรกศาสตร<br />

ลักษณะของแบบสอบยอยนี้มี<br />

การกําหนดสถานการณมาให 1 ยอหนา แลวมีขอสรุปตามมา สถานการณละ 2-4 ขอจากนั้น<br />

ผูตอบตองพิจารณาตัดสินวาขอสรุปในแตละขอเปนขอสรุปที่เปนไปไดหรือไมตามสถานการณนั้น<br />

โดยเลือกจากตัวเลือก 2 ตัวเลือก ไดแก เปนไปได กับเปนไปไมได<br />

49


4. การแปลความ (Interpretation) เปนการวัดความสามารถในการใหน้ําหนักขอมูลหรือ<br />

หลักฐาน เพื่อตัดสินความเปนไปไดของขอสรุป<br />

ลักษณะของแบบวัดยอยนี้มีการกําหนด<br />

สถานการณมาให แลวมีขอสรุปตามสถานการณละ 2-3 ขอ จากนั้นผูตอบตองพิจารณาตัดสินวา<br />

ขอสรุปในแตละขอมีความนาเชื่อถือ<br />

หรือไมนาเชื่อถือภายใตสถานการณนั้น<br />

โดยเลือกจากตัวเลือก<br />

2 ตัวเลือก ไดแก นาเชื่อถือ<br />

กับไมนาเชื่อถือ<br />

5. การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) เปนการวัดความสามารถในการ<br />

จําแนกการใชเหตุผลวาสิ่งใดเปนความสมเหตุสมผล<br />

ลักษณะของแบบวัดยอยนี้มีการกําหนดชุดของ<br />

คําถามเกี่ยวกับประเด็นปญหาสําคัญมาให<br />

ซึ่งแตละคําถามมีชุดของคําตอบพรอมกับเหตุผลกํากับ<br />

จากนั้นผูตอบตองพิจารณาตัดสินวาคําตอบใดมีความสําคัญเกี่ยวของโดยตรงกับคําถามหรือไม<br />

และ<br />

ใหเหตุผลประกอบ โดยเลือกจากตัวเลือก 2 ตัวเลือก ไดแก หนักแนน กับไมหนักแนน<br />

คุณภาพของแบบวัด<br />

แบบวัดนี้มีความเที่ยงแบบสอดคลองภายใน<br />

โดยมีวิธีหาความเที่ยงแบบแบงครึ่งขอสอบ<br />

มี<br />

คาระหวาง 0.69 ถึง 0.85 และมีความเที่ยงแบบความคงที่โดยวิธีสอบซ้ํา<br />

(ระยะระหวางการสอบ 3<br />

เดือน) เทากับ 0.73 มีการตรวจสอบความตรง โดยคํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของคะแนน<br />

สอบกับคะแนนจากแบบวัดเชาวปญญาแบบวัดเจตคติ และแบบวัดวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

ความหมายของเกณฑปกติ<br />

เกณฑปกติ (Norms)<br />

เยาวดี (2540: 84) ; ลวน และอังคณา (2543: 313-314) ใหความหมายของเกณฑปกติ<br />

หมายถึง ขอเท็จจริงทางสถิติที่บรรยายการแจกแจงจากประชากรที่นิยามไวอยางดี<br />

(Well Defined<br />

Population) และเปนคะแนนมาตรฐานที่จะบอกระดับความสามารถของผูสอบวาอยูในระดับใดของ<br />

กลุมประชากร<br />

คะแนนมาตรฐาน ไดมาจากการแปลงคะแนนดิบ (Raw Scores) จากแบบวัดใหเปน<br />

คะแนนมาตรฐานในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง<br />

50


Anastasi (1982: 65) ใหความหมายของเกณฑปกติ หมายถึง คะแนนที่วัดจากกลุมตัวอยาง<br />

มาตรฐาน เพื่อใชสําหรับการอางอิงในการแปลความหมายของคะแนนจากแบบวัด<br />

เพื่อเปรียบเทียบ<br />

วาผูถูกวัดอยูในตําแหนงใดในการกระจายของคะแนนจากกลุมตัวอยาง<br />

การสรางเกณฑปกติขึ้นอยูกับเกณฑ<br />

3 ประการ (อนันต, 2520: 167-168 ; ลวน และอังคณา, 2543:<br />

314-315 ; สมพร, 2545: 217-219) ดังนี้<br />

1. ความเปนตัวแทนที่ดี<br />

(Representativeness) คือ สิ่งที่ทําใหคะแนนผลการสอบของ<br />

นักเรียนคลาดเคลื่อนโดยทั่วไป<br />

มีอยู<br />

2 ประการ คือ ความคลาเคลื่อนทางการวัดผล<br />

(Error of<br />

measurement) เชน ความคลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับแบบวัด<br />

วิธีการทดสอบ และการตรวจใหคะแนน<br />

เปนตน และความคลาดเคลื่อนในการสุมตัวอยางของประชากร<br />

ซึ่งทําไดหลายวิธี<br />

เชน สุมแบบ<br />

ธรรมดา (Simple Random Sampling) สุมแบบแบงชั้น<br />

(Stratification Random Sampling) สุมแบบ<br />

เปนระบบ (SystematicRandom Sampling) สุมแบบแบงกลุม<br />

(Cluster Random Sampling) เปนตน<br />

เลือกสุมตัวอยางตามความเหมาะสมโดยพิจารณาประชากรเปนตัวสําคัญ<br />

ถาประชากรมีลักษณะ<br />

เหมือนกันไมมีคุณสมบัติอะไรแตกตางกันมากนัก ใชวิธีสุมแบบธรรมดาดีที่สุด<br />

แตถาเปนลักษณะ<br />

ที่มีอะไรแตกตางกันมาก<br />

เชน ขนาดโรงเรียนตางกัน ระดับความสามารถแตกตางกัน ทําเลการตั้ง<br />

แตกตางกัน และมีผลตอการเรียน ถาแบบนี้การสุมจะตองใชวิธีสุมแบบแบงชั้น<br />

จึงจะเหมาะสม แต<br />

ละหนวยการสุม<br />

เชน โรงเรียน หองเรียน มีลักษณะไมแตกตางกัน แตแบงหนวยการสุมไวแลว<br />

การสุมแบบนี้ใชวิธีการสุมแบบแบงกลุมจะดีที่สุด<br />

ทั้ง<br />

3 วิธีนี้ใชในการสุมเพื่อสรางเกณฑปกติมาก<br />

ที่สุด<br />

วิธีที่นิยมเลือกใชในการสรางเกณฑปกติ<br />

เพื่อใหไดกลุมตัวอยางมาตรฐานที่มีลักษณะใกลเคียง<br />

กับกลุมประชากรมากที่สุด<br />

โดยการสุมแบบแบงชั้น<br />

(Stratification Random Sampling)<br />

2. ความเกี่ยวของ<br />

(Relevance) คือ กลุมตัวอยางที่จะเลือกมาเปน<br />

Norms Group นั้น<br />

ขึ้นอยู<br />

กับประชากรที่เราตองการจะนําแบบวัดนั้นไปใชจริง<br />

ๆ รวมทั้งพิจารณาจุดมุงหมายของการวัดวา<br />

ตองการประเมินคุณลักษณะใดของบุคคล เชน ถาตองการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนที่<br />

ตองการจะเขาเรียนในมหาวิทยาลัย Norms Group ควรเปนกลุมตัวอยางของนักเรียนที่ตองการเขา<br />

เรียนในมหาวิทยาลัย ไมใชกลุมตัวอยางที่สุมมาจากประชากรทั่วไป<br />

3. มีความทันสมัย คือ เกณฑปกตินั้นขึ้นอยูกับความสามารถของประชากรกลุมนั้น<br />

โดย<br />

ปกติคุณลักษณะที่ถูกวัดบางอยางเปลี่ยนแปลง<br />

เชน เทคโนโลยี สภาพแวดลอม เปนตน ดังนั้น<br />

51


เกณฑปกติที่ใชตองมีความทันสมัย<br />

และมีความเปนปจจุบัน ตองพิจารณาวาเกณฑปกตินั้นสราง<br />

เมื่อไร<br />

เหมาะสมกับสิ่งที่วัดหรือไม<br />

ถาคุณลักษณะที่ถูกวัดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา<br />

ก็ตองสรางเกณฑ<br />

ปกติใหม โดยทั่วไปแลวเกณฑปกติควรเปลี่ยนทุก<br />

ๆ 5 ป จึงจะทันสมัย<br />

ชนิดของเกณฑปกติ (เยาวดี, 2540: 59-62 ; ลวน และอังคณา, 2543: 315-317) เกณฑปกติอาจ<br />

แบงแยกไดหลาย ๆ ประเภท เชน 1. เกณฑปกติแบงชนิดไดตามกลุมตัวอยางของประชากร<br />

2.<br />

เกณฑปกติแบงตามลักษณะการแปลงคะแนน หรือการใชสถิติเปรียบเทียบ 3. เกณฑปกติแบงตาม<br />

ลักษณะกลุมการใชเพื่อการเปรียบเทียบ<br />

ซึ่งมีรายละเอียด<br />

ดังนี้<br />

1. เกณฑปกติแบงชนิดไดตามกลุมตัวอยางของประชากร<br />

ไดดังนี้<br />

1.1 เกณฑปกติระดับประเทศ (National Norms) เปนเกณฑปกติในแบบนี้<br />

จะตองกําหนดกลุมตัวอยางประชากรที่ตองการใหเปนมาตรฐานของการเปรียบเทียบ<br />

ระหวาง<br />

คะแนนสอบที่แตละคนทําไดกับเกณฑมาตรฐานภายในประเทศ<br />

คือ ประชากรทั้งประเทศ<br />

การสุม<br />

ตัวอยางประชากรเพื่อนํามาสรางเปนเกณฑมาตรฐานจะตองสุมมาจากประชากรทั้งประเทศ<br />

เชน<br />

หาเกณฑปกติของวิชาวิทยาศาสตรระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ระดับประเทศ ตองสอบนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 ทั่วประเทศ<br />

หรือสุมตัวอยางใหครอบคลุมทั่วประเทศ<br />

จํานวนนักเรียนที่ตองสอบ<br />

จึงมีมากมาย เพื่อใหรูวาสรางเกณฑเมื่อป<br />

พ.ศ. ใด ก็ตองกําหนดวัน เดือน ป การสรางไวดวย<br />

เพื่อคนใชเกณฑปกติจะไดรูวาทันสมัย<br />

หรือไม<br />

1.2 เกณฑปกติระดับทองถิ่น<br />

(Local Norms) เปนเกณฑปกติระดับเล็กลงมา เชน<br />

ระดับจังหวัด หรือระดับอําเภอ เกณฑปกติประเภทนี้การกําหนดกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการ<br />

เปรียบเทียบคะแนนวา เปนบุคคลจํานวนหนึ่งภายในทองถิ่นละแวกเดียวกัน<br />

เกณฑปกติที่ไดจะ<br />

ใชไดกับกลุมประชากรจากละแวกทองถิ่นที่กําหนด<br />

การตีความหมายของคะแนนที่ไดจะตองจํากัด<br />

ขอบเขตอยูเฉพาะกลุมประชากรที่กําหนดขึ้นมาเทานั้น<br />

1.3 เกณฑปกติของโรงเรียน (School Norms) เปนเกณฑปกติที่ใชในโรงเรียน<br />

บางโรงเรียนมีนักเรียนแตละชั้นจํานวนมาก<br />

การสรางขอสอบแตละวิชา แตละระดับชั้นไดดีมี<br />

มาตรฐานแลวจะสรางเกณฑปกติของโรงเรียนตนเองก็ได กรณีสรางเกณฑปกติของโรงเรียนเดียว<br />

52


หรือกลุมโรงเรียนในเครือ<br />

เรียกวาเกณฑปกติของโรงเรียน ใชประเมินการพัฒนาของโรงเรียนได<br />

ดวย โดยดูไดจากการศึกษาแตละป เดนหรือดอยกวาปที่สรางเกณฑปกติเอาไว<br />

ไดดังนี้<br />

2. เกณฑปกติแบงตามลักษณะการแปลงคะแนน หรือการใชสถิติเปรียบเทียบ<br />

2.1 เกณฑปกติเปอรเซ็นตไทล (Percentile Norms) เปนเกณฑปกติที่สรางมาจาก<br />

คะแนนดิบที่มาจากประชากร<br />

หรือกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนที่ดี<br />

แลวดําเนินการตามวิธีการสราง<br />

เกณฑปกติ แตพอถึงหาคาเปอรเซ็นตไทลก็หยุดแคนั้น<br />

เกณฑปกติแบบนี้เปนคะแนนจัดลําดับ<br />

เทานั้น<br />

จะนําไปบวกลบกันไมได แตสามารถเรียบเทียบและแปลความหมายได เชน เด็กคนหนึ่ง<br />

สอบไดคะแนน 25 คะแนน ไปเทียบกับเกณฑปกติตรงกับตําแหนงเปอรเซ็นตไทลที่<br />

80 แสดงวา<br />

เขามีความสามารถเหนือคนอื่น<br />

80% เกณฑปกติเปอรเซ็นตไทลใชควบคูกับเกณฑปกติคะแนน<br />

มาตรฐานอื่น<br />

ๆ อยูเสมอ<br />

เพราะแปลผลไดงายเขาใจไดทุกคน<br />

2.2 เกณฑปกติคะแนนมาตรฐานที (T-Score Norms) เปนเกณฑปกติที่นิยมใชกันมาก<br />

เปนคะแนนมาตรฐานที่ดัดแปลงมาจากคะแนนมาตรฐานซี<br />

( Z-Score ) ซึ่งมีทั้งคาบวกหรือลบ<br />

ดัง<br />

สมการ<br />

ที่มา:<br />

เยาวดี (2540: 61) ; บุญเรียง (2545: 57)<br />

X − X<br />

Z =<br />

SD<br />

คาเฉลี่ย<br />

( X ) ของคะแนนมาตรฐานซี = 0 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

( SD ) = 1<br />

ซึ่งคะแนนมาตรฐานซี<br />

ไดรับการพัฒนามาเปนคะแนนมาตรฐาน T ซึ่งสามารถนํามาบวกลบ<br />

และ<br />

เฉลี่ยได<br />

มีคาเหมาะสมในการแปลความหมาย คือ มีคาตั้งแต<br />

0 ถึง 100 มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ<br />

50<br />

คาความเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ<br />

10 มีลักษณะการกระจายเหมือนกับคะแนนดิบ ดังสมการ<br />

ที่มา:<br />

บุญเรียง (2545: 28)<br />

T = 50 + 10Z<br />

53


3. เกณฑปกติแบงตามลักษณะกลุมการใชเพื่อการเปรียบเทียบ<br />

ไดดังนี้<br />

3.1 เกณฑปกติตามอายุ (Age Norms) เกณฑปกติในแบบนี้<br />

ผูสรางตองแยก<br />

เกณฑปกติของคนที่มีอายุแตกตางกันออกจากกัน<br />

เพื่อดูพัฒนาการในเรื่องเดียวกัน<br />

อายุตางกันจะมี<br />

พัฒนาการอยางไร โดยมากจะเปนแบบวัดเพื่อวัดเชาวปญญา<br />

และความถนัดจะหาปกติโดยวิธีนี้<br />

3.2 เกณฑปกติตามระดับชั้น<br />

(Grade Norms) เปนเกณฑปกติตามระดับชั้นวา<br />

คะแนนเทาไรควรอยูชั้นไหนจึงเหมาะสม<br />

ไมสนใจวาคนที่จะใชแบบวัดควรมีอายุเทาไร<br />

แตสนใจ<br />

ระดับชั้นเรียนเปนเกณฑในการสราง<br />

แบบวัดที่จะทําเกณฑปกติชนิดนี้ไดตองมีเนื้อหาเดียวกัน<br />

ดังนั้นการวัดที่มีเนื้อหาแตกตางกันตามระดับชั้นจะทําไมได<br />

วิธีเสนอเกณฑปกติ (สมพร, 2545: 220) ที่ใชแพรหลายมี<br />

2 วิธี ดังนี้<br />

1. ตารางเกณฑปกติ (Norms Table) เปนตารางคะแนนที่ปรับเปลี่ยนในรูปแบบตาง<br />

ๆ<br />

ตารางนี้จะแสดงคาคะแนนดิบ<br />

และคะแนนที่ปรับเปลี่ยนแลวในรูปแบบตาง<br />

ๆ เชน คะแนนที<br />

สําหรับเกณฑปกติ หรือกลุมอางอิงแตละกลุมที่ระบุไวชัดเจน<br />

ตารางนี้จะชวยใหผูทําการวัดเปลี่ยน<br />

คะแนนดิบเปนคะแนนปรับเปลี่ยนในรูปอื่น<br />

ๆ สําหรับการวิจัยครั้งนี้จะนําเสนอเกณฑปกติใน<br />

รูปแบบตาราง<br />

2. เสนกราฟ (Profile) คือ กราฟที่ใชแสดงระดับของคะแนนของผูรับการวัดที่ไดจากแบบ<br />

วัดหลายฉบับ หรือฉบับเดียวแตแสดงคุณลักษณะตาง ๆ หลายลักษณะเพื่อเปรียบเทียบใหเห็นแตละ<br />

คุณลักษณะวามีระดับมากนอยเพียงใด กราฟที่เปนโครงรางจะเขียนจากคะแนนที่เปรียบเทียบกันได<br />

หรือคะแนนที่เปนหนวยเดียวกัน<br />

สาระสําคัญของเสนภาพที่ควรทราบ<br />

ไดแก การเสนอเสนภาพ<br />

การแปลความหมายของเสนภาพ<br />

54


งานวิจัยภายในประเทศ<br />

งานวิจัยเกี่ยวของ<br />

กนกวรรณ (2545: บทคัดยอ) ไดศึกษาเพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กอนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่เรียนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละ<br />

ผลสัมฤทธิ์<br />

และมีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางกัน<br />

และศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียนวิชาเคมี กับทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

5 จังหวัดนครปฐม จํานวน 1 หองเรียน รวม 40 คน เครื่องมือที่ใชใน<br />

ไดแก<br />

1. แผนการสอนการเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์<br />

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียน ผลการวิจัยพบวา คาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีหลังเรียนสูง<br />

กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 คาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนใน<br />

วิชาเคมีของนักเรียนกลุมสูง<br />

กลุมปานกลางและกลุมต่ํา<br />

กอนเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติที่ระดับ<br />

.05 3. คาเฉลี่ยของคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกวากอนเรียน<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 คาเฉลี่ยของคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณของ<br />

นักเรียนกลุมสูง<br />

กลุมปานกลาง<br />

และกลุมต่ํา<br />

กอนเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่<br />

ระดับ .05 และหลังเรียนไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 คะแนนผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียนในวิชาเคมีกับคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณไมมีความสัมพันธกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

ชาลิณี (2536: 76-79) ไดทําการพัฒนาแบบสอบการคิดวิจารณญาณ สําหรับนักเรียนชั้น<br />

ประถมศึกษาปที่<br />

6 ปการศึกษา 2536 สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 1,959 คน เปนการสราง<br />

และพัฒนาแบบสอบการคิดวิจารณญาณ แบบสอบที่สรางขึ้นตามแนวแบบสอบของ<br />

Ennis ในป<br />

ค.ศ. 1985 เปนแบบสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ ใชเวลาในการทําแบบ<br />

สอบ 60 นาที แบบสอบแบงเปน 4 ตอน ไดแก วัดความสามารถในการพิจารณาความนาเชื่อของ<br />

แหลงขอมูลและการสังเกต ความสามารถในการนิรนัย ความสามารถในการอุปนัย และ<br />

ความสามารถในการระบุขอตกลงเบื้องตน<br />

ผลการวิจัยพบวา คะแนนสอบการคิดวิจารณญาณมี<br />

คาเฉลี่ย<br />

เทากับ 24.07 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

เทากับ 5.584 คาความยากของแบบสอบ มีคาอยู<br />

ในชวง .40-.84 และมีคาอํานาจจําแนกอยูในชวง<br />

.10-.45 คาสัมประสิทธิ์เที่ยงแบบความสอดคลอง<br />

ภายใน เทากับ .7277 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด<br />

เทากับ 2.914 คาสัมประสิทธิ์ความ<br />

55


เที่ยงแบบสอบซ้ํา<br />

เทากับ .6655 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด<br />

เทากับ 3.230 ความตรง<br />

ตามโครงสราง โดยวิธีวิเคราะหตัวประกอบ ไดตัวประกอบที่สําคัญ<br />

7 ตัวประกอบ ซึ่งมีคารอยละ<br />

ของความแปรปรวน เทากับ 31.0 ขอสอบมีน้ําหนักตัวประกอบมากกวา<br />

.30 จํานวน 29 ขอ สวน<br />

เกณฑปกติของแบบวัด พบวา คะแนนตั้งแต<br />

29 คะแนนขึ้นไป<br />

การคิดอยูในระดับสูง<br />

คะแนน<br />

ระหวาง 20-28 การคิดอยูในระดับปานกลาง<br />

และคะแนนตั้งแต<br />

19 ลงไป การคิดอยูในระดับต่ํา<br />

ปกรณ (2547: บทคัดยอ) ไดศึกษาเพื่อสรางแบบประเมินการคิดวิจารณญาณของนักเรียน<br />

นายรอยตํารวจ เพื่อหาเกณฑปกติระดับชั้นปของนักเรียนนายรอยตํารวจ<br />

และเพื่อพัฒนาการคิด<br />

วิจารณญาณนักเรียนนายรอยตํารวจโดยใชโปรแกรมการพัฒนาการคิดวิจารณญาณ โดยการสราง<br />

แบบประเมินการคิดวิจารณญาณของ Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Manual :Form<br />

A and B ประกอบดวย 5 ดาน ไดแก ดานการอางอิง ดานการกําหนดขอตกลงเบื้องตน<br />

ดานการ<br />

นิรนัย ดานการตีความ และดานการประเมินขอโตแยง จํานวน 95 ขอของนักเรียนนายรอยตํารวจ<br />

เพื่อหาเกณฑปกติระดับชั้นป<br />

(Grade Norms)ของนักเรียนนายรอยตํารวจ กลุมตัวอยางที่ใช<br />

เปน<br />

นักเรียนนายรอยตํารวจ ปการศึกษา 2546 จํานวน 1,248 คน ผลการวิจัยพบวา คาความเชื่อมั่นของ<br />

แบบประเมินที่คํานวณดวยสัมประสิทธิ์แอลฟาโดยรวม<br />

มีคาเทากับ .801 คาความเชื่อมั่นแบบ<br />

คะแนนจริงสัมพันธที่คํานวณดวยสูตรเฟลต-ราชู<br />

มีคาเทากับ .803 สวนคาความเที่ยงตรง<br />

หา<br />

ความสัมพันธของแบบประเมินการคิดวิจารณญาณนักเรียนนายรอยตํารวจกับแบบทดสอบการคิด<br />

วิจารณญาณคอรแนลระดับ Z ที่ใชเกณฑภายนอก<br />

พบวา แบบวัดทั้งสองมีความสัมพันธกันที่<br />

ระดับ .01 สวนเกณฑปกติของระดับชั้นปมีคาเปอรเซ็นตไทลตั้งแต<br />

1-99 และคะแนนทีมาตรฐานมี<br />

คาตั้งแต<br />

T16-T84 นักเรียนนายรอย 20 คนที่เขารวมโปรมแกรมการพัฒนาการคิดวิจารณญาณ<br />

มี<br />

การคิดวิจารณญาณเพิ่มขึ้น<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .01<br />

ประเทืองทิพย (2534: 71-80) ไดศึกษาการตรวจแบบสอบการคิดวิจารณญาณของวัตสัน<br />

และเกลเซอร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 -<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

6 กรมสามัญศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 1,193 คน ผลการวิจัยพบวา<br />

คะแนนของแบบสอบการคิดวิจารณญาณมีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

60.970 จากคะแนนเต็ม 100 มีคาสวน<br />

เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ<br />

6.127 คาความเบเทากับ -.116 และคาความโดงเทากับ 0 แบบสอบนี้มี<br />

มีขอกระทงที่มีความยากต่ํากวา<br />

.20 จํานวน 1 ขอ ความยากตั้งแต<br />

.20 ถึง .80 จํานวน 78 ขอ<br />

และความยากสูงกวา .80 จํานวน 21 ขอ แบบสอบยอยมีคาความยากตั้งแต<br />

0.58 ถึง 0.72 และ<br />

แบบสอบการคิดวิจารณญาณมีคาความยากเทากับ 0.61 คาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบความ<br />

56


สอดคลองภายในเทากับ .50 ซึ่งมีคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัดเทากับ<br />

4.332 คา<br />

สัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบสอบซ้ําเทากับ<br />

.57 ซึ่งมีคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัดเทากับ<br />

3.5315 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางแบบสอบยอยทั้ง<br />

5 ฉบับ มีคาตั้งแต<br />

0.7 ถึง .19 คา<br />

สัมประสิทธิ์ระหวางแบบสอบยอยกันแบบสอบการคิดวิจารณญาณทั้งฉบับมีคาตั้งแต<br />

.47 ถึง .62<br />

ความตรงตามทฤษฎี โดยการวิเคราะหตัวประกอบ ไดตัวประกอบสําคัญ 8 ตัว ซึ่งมีคารอยละของ<br />

ความแปรปรวนเทากับ 16.8 ขอกระทงที่มีน้ําหนักตัวประกอบมากกวา<br />

.30 จํานวน 51 ขอ<br />

พรศรี (2548: 53-57) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร<br />

และความสามารถใน<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ที่ไดรับการสอนโดยชุดกิจกรรม<br />

แกปญหาทางวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนราชินีบน<br />

จํานวน 50 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. ชุดกิจกรรมแกปญหาทางวิทยาศาสตร 2. แบบวัด<br />

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร<br />

3. แบบวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยชุดกิจกรรมแกปญหาทางวิทยาศาสตรมีผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียนวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01 นักเรียนที่<br />

ไดรับการสอนโดยชุดกิจกรรมแกปญหาทางวิทยาศาสตรมีความสามารถในการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณหลังเรียนสูงกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

พิชิต (2542: บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการฝกคิดอยางมีวิจารณญาณที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการ<br />

เรียนวิทยาศาสตร และความสามารถในการแกปญหาเชิงวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห สกลนคร แบงออกเปน กลุมทดลอง<br />

ไดรับการฝกคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณ แบบสอดแทรกในวิชาเรียน และกลุมควบคุม<br />

ไดรับการสอนตามคูมือครู<br />

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนในกลุมทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

และความสามารถใน<br />

การแกปญหาเชิงวิทยาศาสตรสูงกวากลุมควบคุม<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

พิรุณ (2547) ไดศึกษาผลของการจัดกิจกรรมชุมชนแหงการสืบสอบเชิงปรัชญาที่มีตอการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน<br />

ปลาย กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

แบงออกเปน 2 กลุม<br />

คือ กลุมทดลองที่เขารวมกิจกรรม<br />

ชุมชนแหงการสืบสอบเชิงปรัชญา จํานวน 30 คน กลุมเปรียบเทียบ<br />

จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ 2. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร<br />

ผลการวิจัยพบวา หลังการทดลอง กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณสูงกวากอน<br />

57


การทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ย<br />

รอยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรคิดเปนรอยละ<br />

80 สูงกวาเกณฑที่กําหนด<br />

คือ รอยละ<br />

70 และกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยาง<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

เพ็ญพิศุทธิ์<br />

(2536: 207-210) ไดศึกษาโดยสราง และพัฒนาแบบสอบการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณโดยอิงรูปแบบลักษณะแบบสอบจาก Cornell Critical Thinking Test, Level Z เปน<br />

แบบสอบชนิดเลือกตอบ จํานวน 56 ขอ ประกอบดวย 7 ดาน ไดแก ดานการระบุประเด็นปญหา<br />

ดานการรวบรวมขอมูล ดานการพิจารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล<br />

ดานการระบุลักษณะ<br />

ขอมูล ดานการตั้งสมมติฐาน<br />

ดานการลงขอสรุป และดานการประเมินผล กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก<br />

นักศึกษาภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ภาคเรียนที่<br />

1 ปการศึกษา 2536 จํานวน 800 คน ผลการวิจัย<br />

พบวา คาเฉลี่ย<br />

และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

เทากับ 29.45 และ 5.94 ตามลําดับ คาความยากของ<br />

แบบสอบอยูในชวง<br />

.19-.76 คาอํานาจจําแนก อยูในชวง<br />

.18-.55 คาความเที่ยงแบบสอดคลอง<br />

ภายในที่คํานวณจากสูตร<br />

KR-20 เทากับ .708 และคาความเที่ยงแบบคงเสนคงวาโดยการสอบซ้ําที่<br />

คํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ<br />

Pearson เทากับ .651 คาความตรงตามทฤษฎีมีคาเทากับ .56<br />

สําหรับเกณฑเทียบระหวางคะแนนสอบกับระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณ ไดดังนี้<br />

35 คะแนนขึ้น<br />

ไป เทากับ ระดับสูง ชวงคะแนนระหวาง 26-34 เทากับ ระดับปานกลาง 25 คะแนนลงไป เทากับ<br />

ระดับต่ํา<br />

มลิวัลย (2540: บทคัดยอ, 89-91) ไดศึกษาเพื่อพัฒนา<br />

และทดลองใชรูปแบบการสอนเพื่อ<br />

พัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ ไดสรางและพัฒนาแบบสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนแบบ<br />

สอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 36 ขอ ประกอบดวย 6 ดาน ไดแก การนิยามปญหา การ<br />

รวบรวมขอมูล การจัดระบบขอมูล การตั้งสมมติฐาน<br />

การสรุปอางอิงโดยใชตรรกศาสตร และการ<br />

ประเมินการสรุปอางอิง กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 จํานวน 228 คน<br />

ผลการวิจัยพบวา คาความเที่ยงแบบสอดคลองภายในที่คํานวณจากสูตร<br />

KR-20 เทากับ .69 คาความ<br />

เที่ยงแบบสอบซ้ํา<br />

จํานวน 114 คน เทากับ .64 และรูปแบบการสอนที่ใชมีประสิทธิภาพเพียงพอจะ<br />

นําไปใช<br />

58


นิรมล (2542) ไดทําการศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนในระดับชั้น<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย และเปรียบเทียบการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนในระดับชั้น<br />

มัธยมศึกษาตอนปลายโดยจําแนกตามเพศ ชั้นปที่ศึกษา<br />

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่กําลังเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

4 5 และ6 จังหวัด<br />

ขอนแกน กลุมตัวอยางจํานวน<br />

372 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัดชุดที่<br />

1 เปนขอมูลรายละเอียด<br />

เกี่ยวกับตัวนักเรียน<br />

ซึ่งผูวิจัยไดสรางขึ้นตามตัวแปรที่ศึกษา<br />

ไดแก เพศ ชั้นปที่ศึกษา<br />

ผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียน แบบวัดชุดที่<br />

2 เปนแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ ผลการวิจัยพบวา การคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายอยูในระดับปานกลาง<br />

นักเรียนชาย และ<br />

นักเรียนหญิงมีการคิดอยางมีวิจารณญาณไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่กําลังเรียนในชั้นปการศึกษาที่ตางกัน<br />

มีการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่<br />

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง<br />

มีการคิดอยางมีวิจารณญาณสูงกวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

ต่ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

วรรณภา (2542: บทคัดยอ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณกับ<br />

ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป<br />

ที่<br />

1 3 และ 5 จังหวัดปทุมธานี ปการศึกษา 2542 จํานวน 1,058 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัด<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณโดยสรางขึ้นตามแนวของ<br />

Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal<br />

จํานวน 40 ขอ และแบบวัดความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรโดยดัดแปล และ<br />

ปรับปรุงจาก วีระ เมืองชาง และอาชวิณี ไชยสุนทร ผลการวิจัยพบวา ความคิดวิจารณญาณ และ<br />

ความสามารถในการแกปญหาวิทยาศาสตรของนักเรียนอยูในระดับปานกลาง<br />

ความคิดวิจารณญาณ<br />

มีความสัมพันธกับความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่<br />

ระดับ .01<br />

วิไลวรรณ (2535: บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร<br />

ทักษะ<br />

กระบวนการทางวิทยาศาสตร และความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

1 ดวยการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กับการสอน<br />

ตามคูมือครู<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

จํานวน 80 คน แบงออกเปนกลุมทดลอง<br />

40 คน ที่ไดรับการสอนดวยการจัดกิจกรรมเพื่อ<br />

พัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ กลุมควบคุม<br />

จํานวน 40 คน ซึ่งไดรับการสอนตามคูมือครู<br />

ใช<br />

59


เวลากลุมละ<br />

20 คาบ ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของกลุมทดลอง<br />

กับกลุมควบคุม<br />

แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ<br />

กลุมทดลอง<br />

กับกลุมควบคุม<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 การคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของกลุมทดลอง<br />

กับกลุมควบคุม<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณของกลุมทดลอง<br />

สูงกวากลุมควบคุม<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่<br />

ระดับ .01 และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และการคิดอยางมีวิจารณญาณของกลุมทดลอง<br />

มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

ทักษินันท (2543) ไดศึกษาโดยใชวิธีการสอนแบบแกปญหาที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

และการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียน<br />

ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 โรงเรียนชุมชนบานบุงคลาวิทยา<br />

จังหวัดชัยภูมิ จํานวน 28 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1.แผนการสอนโดยการสอนแบบปญหาตามวิธีทางวิทยาศาสตร 2. แบบทดสอบวัด<br />

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

3. แบบทดสอบวัดความคิดวิจารณญาณ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนรอยละ<br />

89.29 มีผลสัมฤทธิ์ผานเกณฑขั้นต่ํารอยละ<br />

50 ของคะแนนแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา<br />

วิทยาศาสตร คะแนนเฉลี่ยการคิดวิจารณญาณของนักเรียนหลังเรียนมีคาสูงกวาคะแนนเฉลี่ยการคิด<br />

วิจารณญาณของนักเรียนหลังเรียนมีคาสูงกวาคะแนนเฉลี่ยการคิดวิจารณญาณกอนเรียนอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

ลักษณีย (2545) ไดศึกษาการใชกระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรูเพื่อพัฒนา<br />

ความสามารถดานการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนในวิชาวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

2 โรงเรียนรุงเรืองอุปถัมภ<br />

กรุงเทพมหานคร จํานวน 2 หองเรียน<br />

รวม 78 คน โดยใชกระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรูในการฝกกระบวนการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของนักเรียน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. แผนการจัดการเรียนรู<br />

2.แบบทดสอบ<br />

ความสามารถดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการฝกการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณ โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูแลว<br />

ความสามารถดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ของนักเรียนหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

สถิต (2545) ไดศึกษาโดยการพัฒนาแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณ สําหรับนักเรียนชั้น<br />

ประถมศึกษาปที่<br />

5 และชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 สําหรับการพัฒนาแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณ<br />

ที่พัฒนาขึ้นตามแนวแบบทดสอบของ<br />

Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Manual :Form<br />

60


YM กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่<br />

5 และชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 ที่กําลัง<br />

ศึกษาอยู<br />

สังกัดสํานักงานศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคเรียนที่<br />

2 ปการศึกษา 2543 จํานวน<br />

1,578 คน ผลการวิจัยพบวา คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

สวนเบี่ยงเบน<br />

มาตรฐาน คาความเบ และคาความโดง เทากับ 31.22, 10.11, 0.13, และ2.27 ตามลําดับ คาความยาก<br />

งายของแบบทดสอบอยูระหวาง<br />

.35 - .70 คาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบอยูระหวาง<br />

.20 - .68<br />

แบบทดสอบมีคาความเชื่อถือไดแบบความสอดคลองภายใน<br />

เทากับ .87 คาความคลาดเคลื่อน<br />

มาตรฐานในการวัด เทากับ 3.61 คาความตรงตามโครงสราง ใชวิธีวิเคราะหตัวประกอบ ไดตัว<br />

ประกอบที่สําคัญ<br />

4 ตัวประกอบ ซึ่งมีคารอยละความแปรปรวนเทากับ<br />

18.11 ขอทดสอบที่มีน้ําหนัก<br />

ตัวประกอบมากกวา .30 มีจํานวน 41 ขอ เกณฑปกติการคิดอยางมีวิจารณญาณของ นักเรียนชั้น<br />

ประถมศึกษาปที่<br />

5 มีชวงคะแนนมาตรฐานT ระหวาง T20 – T83 ชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 มีชวง<br />

คะแนนมาตรฐาน T ระหวาง T19 – T83<br />

สุพรรณี (2543) ไดศึกษาการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญาที่มีตอการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

2 กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

2<br />

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) จํานวน 116 คน แบงออกเปน 2 กลุม<br />

คือ กลุมทดลอง<br />

58 คน<br />

และกลุมควบคุม<br />

58 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. แบบสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ 2. ชุดกิจกรรม<br />

การฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญา ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใชเทคนิค<br />

แผนผังทางปญญามีคาเฉลี่ยคะแนนการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณสูงกวานักเรียนกลุมควบคุมที่ไดรับ<br />

การสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01 นักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใช<br />

เทคนิคแผนผังทางปญญามีคาเฉลี่ยคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณหลังการทดลองสูงกวากอนการ<br />

ทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01 ไมพบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยคะแนนการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณภายหลังการทดลองกับ ระยะติดตามผลของนักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับการฝกใช<br />

เทคนิคแผนผังทางปญญา<br />

สันตธวัช (2537: บทคัดยอ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณ กับการนํา<br />

ความรูทางวิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน<br />

และศึกษาความคิดวิจารณญาณกับการนําความรูทาง<br />

วิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 จังหวัด<br />

สระบุรี ปการศึกษา 2536 จํานวน 122 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัดความคิดวิจารณญาณ โดย<br />

ดัดแปลง และปรับปรุงจากแบบวัดความคิดวิจารณญาณของวิไลวรรณ ปยะกรณ ซึ่งสรางตามแนว<br />

แบบวัดของ Watson- Glaser Critical Thinking Appraisal และแบบวัดการนําความรูทาง<br />

61


วิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวันซึ่งผูวิจัยสรางขึ้นเอง<br />

ผลการวิจัยพบวา ความคิดวิจารณญาณมี<br />

ความสัมพันธในทางบวกกับการนําความรูทางวิทยาศาสตรไปใช<br />

ที่ระดับความมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติ .05 ความคิดวิจารณญาณ และการนําความรูทางวิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวันของ<br />

นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรกลุมสูง<br />

สูงกวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ<br />

เรียนวิชาวิทยาศาสตรกลุมต่ํา<br />

อรสา (2548: 74-80) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตรและความสามารถใน<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 ที่ไดรับการสอน<br />

โดยใชชุดกิจกรรม<br />

วิทยาศาสตรเพื่อสงเสริมการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1<br />

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน จํานวน 50 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร 2. แบบ<br />

วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตร<br />

3. แบบวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร<br />

เพื่อสงเสริมการคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติที่ระดับ<br />

.01 นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร<br />

เพื่อสงเสริมการคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณมีความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

อุทุมพร (2542) ไดศึกษาการใชแบบฝกการคิดอยางมีวิจารณญาณในการทําโครงการ<br />

วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

4 ที่เรียนรายวิชา<br />

วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโรงเรียนประชาสงเคราะหวิทยา<br />

จังหวัดพิษณุโลก แบงออกเปน2 กลุม<br />

คือ<br />

กลุมทดลอง<br />

และกลุมควบคุม<br />

กลุมละ<br />

40 คน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก 1. แผนการสอน 2. แบบฝกการ<br />

คิด 3. แบบทดสอบ และ4. แบบประเมินคุณภาพ ผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของนักเรียนที่ไดรับการสอนกระบวนการคิดดวยการใชแบบฝกการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณในการทําโครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมหลังการสอนสูงกวากอนการสอนอยางมี<br />

นัยสําคัญ ความสามารถในการคิดอยางมีวิจารญาณของนักเรียนที่ไดรับการสอนกระบวนการคิด<br />

ดวยการใชแบบฝกการคิดอยางมีวิจารณญาณในการทําโครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมสูงกวา<br />

นักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญ<br />

โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมของนักเรียน<br />

ที่ไดรับการสอนกระบวนการคิดดวยการใชแบบฝกการคิดอยางมีวิจารณญาณในการทําโครงการ<br />

วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมมีคุณภาพไมแตกตางกับของนักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครู<br />

62


งานวิจัยตางประเทศ<br />

Anderson (1967: 3332-A) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความสามารถในการแกปญหา<br />

ทางวิทยาศาสตร กับการคิดอยางมีวิจารณญาณ และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

กลุมตัวอยางที่<br />

ใช ไดแก นักศึกษาวิชาชีพครู ประกอบดวย 3 กลุม<br />

คือ กลุมที่<br />

1 ไดรับการเรียนการสอนวิชา<br />

วิทยาศาสตร กลุมที่<br />

2 (กลุมทดลอง)<br />

ไดรับการสอนวิธีการแกปญหาทางวิทยาศาสตร<br />

กลุมที่<br />

3 ไดรับการสอนตามปกติ โดยนักศึกษาทั้ง<br />

3 กลุม<br />

จะไดรับการทดสอบเหมือนกัน โดย<br />

นักศึกษาแตละคนจะไดรับขอความที่เกี่ยวกับการแกปญหาทางวิทยาศาสตรมา<br />

1 ยอ โดยใหนักศึกษา<br />

อานขอความที่เกิดขึ้น<br />

แลวใหบอกวิธีการแกปญหา โดยใหบอกวามีวิธีการแกปญหากี่วิธี<br />

ผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรของกลุมทดลองไมแตกตางจากอีก<br />

สองกลุม<br />

Cruz (1971:12) ไดศึกษาการสงเสริมการคิดอยางมีวิจารณญาณ โดยใชการสอนแบบคนพบ<br />

(Discovery-Centered) กับวิธีที่ครูใชเปนศูนยกลาง<br />

(Teacher-Centered) ในการเรียนการสอนวิชา<br />

วิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนเกรด 6 เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัด 2 ฉบับ คือ<br />

แบบวัดความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผลตามหลักตรรกศาสตร เพื่อวัดความสามารถในการคิด<br />

วิเคราะห และแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ ซึ่งสรางตามแนวแบบวัดของ<br />

Watson –Glaser<br />

Critical Thinking Appraisal ใชในการทดสอบกอนเรียน และหลังทําการทดลอง ผลการวิจัย<br />

พบวา แบบวัดฉบับวัดความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผลตามหลักตรรกศาสตร เพื่อวัด<br />

ความสามารถในการคิดวิเคราะหเพิ่มขึ้น<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนแบบวัดฉบับที่<br />

2 นักเรียนมี<br />

ความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

Crouch et al. (n.d.) ไดศึกษารูปแบบการวัดผลที่จัดรูปแบบการเรียนการสอนดวย<br />

A peer –<br />

facilitated Small Group Collaborative Learning ที่มีผลตอการคิดอยางมีวิจารณญาณในวิชา<br />

คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักศึกษาปที่<br />

1 2 และ3 ของมหาวิทยาลัย<br />

วอชิงตัน ที่ลงทะเบียนเรียนในวิชา<br />

Organic I, Organic II, Discrete Math, Math for Pre-service<br />

Teachers I, Pharmaceutical Calculations ซึ่งแบงออกเปน<br />

2 กลุม<br />

ไดแก กลุมทดลองที่ไดรับการ<br />

เรียนการสอนแบบ Small Group Collaborative Learning (SGCL) และกลุมควบคุมที่ไดรับการสอน<br />

แบบปกติ Non- SGCL รูปแบบการวิจัยเปนแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณซึ่งคณะผูวิจัยไดสรางขึ้นโดยใชแนวแบบวัดของ<br />

California<br />

63


Critical Thinking Skills Test (CCTST) ซึ่งมีคาความเที่ยงของแบบวัดอยูในชวง<br />

.78-.84<br />

ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองมีการคิดอยางมีวิจารณญาณเพิ่มขึ้นมากกวากลุมควบคุมอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ<br />

Griffitts (1987: 1102-A) ไดศึกษาผลการสอนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่มีผลตอ<br />

การพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />

โดยใชการสอน 2 วิธี ไดแก<br />

การสอนที่เนนกิจกรรมเปนหลัก<br />

(Activity-Oriented Approach) เปนกลุมทดลอง<br />

และการสอนที่<br />

เนนตําราเรียนเปนหลัก (Text- Recitation Approach) เปนกลุมควบคุม<br />

เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบ<br />

วัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ โดยใชแบบวัดของ Cornell Critical Test, Level X และแบบวัดผล<br />

สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร<br />

(Science Subtest of Standford Achievement Test) แลวนํา<br />

คะแนนทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน<br />

การดําเนินการวิจัยเปนแบบประเมินกอน และหลังเรียน ใชเวลา<br />

ในการวิจัย 12 สัปดาห กลุมตัวอยางที่ใช<br />

นักเรียนเกรด 3 และเกรด 6 ผลการวิจัยพบวา ไมพบ<br />

ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางการสอนทั้ง<br />

2 วิธีในการพัฒนาการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณ และไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวาง เพศ และระดับการศึกษา<br />

แตพบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของ<br />

นักเรียนทั้งสองระดับโดยนักเรียนที่ไดรับการสอนที่เนนกิจกรรมเปนหลัก<br />

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนที่เนนตําราเปนหลัก<br />

Kleinman (1963: 5153-4A) ไดทําการสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู จํานวน 33 คน ที่<br />

ทําการสอนในวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป<br />

เกรด 8 จากนั้นใชคําถามในชั้นเรียนเพื่อเปนเกณฑในการ<br />

จําแนกครูออกเปน 2 กลุม<br />

เลือกครู 3 คนที่ไมเคยถามคําถามเกี่ยวกับการคิดอยางมีวิจารณญาณให<br />

เปนกลุมต่ํา<br />

แลวนําแบบวัดความเขาใจทางวิทยาศาสตร (The Test on Understanding Science:<br />

TOUS) ไปทดสอบกับนักเรียน แลวนําผลมาเปรียบเทียบกัน ผลการวิจัยพบวา ความถี่ของคําถามที่<br />

เกี่ยวกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

กับคะแนนสอบของแบบวัดความเขาใจทางวิทยาศาสตรของ<br />

นักเรียนมีความสัมพันธกันในทางบวก<br />

William (2005) ไดทําการพัฒนาแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson-Glaser<br />

Critical Thinking Appraisal Form A Form B โดยใหเหตุผลวา แบบวัดของ Watson-Glaser<br />

Critical Thinking Appraisal Form A Form B มีจํานวนขอที่มากเกินไป<br />

และเวลาที่ใชทดสอบนั้น<br />

ไมเพียงพอกับการทดสอบภายใน 1 ชั่วโมง<br />

โดยแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณที่สรางขึ้นนี้มีชื่อ<br />

64


วา Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Form S For Education major (WGCTA-FS)<br />

ประกอบดวย 5 ดานเชนเดียวกับแบบวัดของ Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Form A<br />

Form B แบบวัด WGCTA-FS มีจํานวน 40 ขอ เปนแบบวัดแบบปรนัย 2- 5 ตัวเลือก ในแตละขอ<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

เปนนักศึกษาครูชั้นปที่<br />

2 3 และ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาจิตวิทยาการศึกษา<br />

ซึ่ง<br />

เปนวิชาบังคับในหลักสูตร จํานวน 137 คน แบงเปนชาย 28 คน หญิง 109 คน ผลการวิจัยพบวา<br />

คะแนนสอบของแบบวัดมีคาพิสัยอยูในชวง<br />

14 ถึง 39 คาเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบ<br />

วัด เทากับ 24.2 , 5.0 ตามลําดับ คาความเที่ยงที่คํานวณโดยใชสูตร<br />

KR-20 เทากับ .76 คาความ<br />

เที่ยงแบบแบงครึ่ง<br />

(split-half) เทากับ .44 และคาความสัมพันธของแบบวัดกับผลการเรียนในชั้น<br />

เทากับ .32 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ<br />

.01<br />

Shepherd (1998: 0779A) ไดศึกษาการใชรูปแบบการสอนที่สงเสริมการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณในการแกปญหาในวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิตของนักเรียนเกรด 4 และเกรด 5<br />

กลุมตัวอยางที่ใช<br />

แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม<br />

คือ กลุมทดลอง<br />

จํานวน 20 คน และกลุม<br />

ควบคุม จํานวน 15 คน การดําเนินการวิจัยโดยใชรูปแบบการคิดอยางมีวิจารณญาณของแคมเบลล<br />

และสแตนลีย เพื่อแกปญหาในวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต<br />

แลววัดความสามารถในการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณ โดยการเปรียบเทียบกอนและหลังเรียน เครื่องมือที่ใช<br />

ไดแก แบบวัดการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณของ Cornell Critical Thinking Test (CCTT) ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองมี<br />

ความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณเพิ่มขึ้นสูงกวากลุมควบคุม<br />

และจากการสังเกต สัมภาษณ<br />

นักเรียนมีความชื่นชอบการเรียนการสอนที่ใชรูปแบบการแกปญหาแบบใหมมากกวาการเรียนการ<br />

สอนแบบเกา รวมทั้งเห็นวา<br />

รูปแบบดังกลาวมีประสิทธิภาพในการสงเสริมการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณ และการคิดในการแกปญหา<br />

65


บทที่<br />

3<br />

วิธีการวิจัย<br />

การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ<br />

(Survey Research) เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษา<br />

กรุงเทพมหานคร เขต 2 ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามลําดับดังนี้<br />

กลุมประชากร<br />

1. กลุมประชากร<br />

และกลุมตัวอยาง<br />

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

3. การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

4. การวิเคราะหขอมูล<br />

กลุมประชากร<br />

และกลุมตัวอยาง<br />

กลุมประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้<br />

คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2<br />

ปการศึกษา 2548 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 ซึ่งมีโรงเรียนที่เปดสอนตั้งแตชวง<br />

ชั้นที่<br />

3 และ4 จํานวนทั้งหมด<br />

35 โรงเรียน โดยแบงขนาดโรงเรียนเปน 2 ขนาด คือ โรงเรียน<br />

ขนาดใหญ จํานวน 33 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดกลาง จํานวน 2 โรงเรียน จํานวนนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 ทั้งหมด<br />

20,343 คน และจํานวนหองเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ทั้งหมด<br />

423<br />

หองเรียน ดังตารางที่<br />

1


ตารางที่<br />

1 รายชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียน จํานวนนักเรียน ชายและนักเรียนหญิง<br />

ของกลุมประชากร<br />

ชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียนทั้งหมด<br />

จํานวนนักเรียน (คน)<br />

(หอง) ชาย หญิง<br />

โรงเรียนขนาดใหญ<br />

1. ราชวินิตบางเขน 13 285 272<br />

2. เตรียมอุดมศึกษานอมเกลา 12 311 353<br />

3. จันทรหุนบําเพ็ญ<br />

10 178 179<br />

4. ดอนเมืองจาตุรจินดา 13 295 281<br />

5. เทพลีลา 10 215 261<br />

6. มัธยมวัดบึงทองหลาง 10 248 243<br />

7. นวมินทราชินูทิศบดินทรเดชา 12 329 295<br />

8. สารวิทยา 14 369 370<br />

9. บดินทรเดชา(สิงหสิงหเสนี 2) 12 297 307<br />

10. สีกัน(วัฒนานันทอุปถัมภ) 11 266 202<br />

11. รัตนโกสินทรสมโภชบางเขน 10 220 228<br />

12. บางกะป 12 309 298<br />

13. นวมินทราชูนิศกรุงเทพมหานคร 12 321 275<br />

14. เศรษฐบุตรบําเพ็ญ 16 490 247<br />

15. เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ 14 393 468<br />

16. ดอนเมืองทหารอากาศบํารุง 15 357 312<br />

17. ศรีพฤฒา 13 265 253<br />

18. นวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา 2 10 246 254<br />

19. สตรีวิทยา 2 18 457 475<br />

20. นวมินทราชินูทิศเตรียมอุดมศึกษา<br />

นอมเกลา<br />

12 276 339<br />

21. พรตพิทยพยัต 14 333 324<br />

22. รัตนโกสินทรสมโภชลาดกระบัง 12 289 249<br />

67


ตารางที่<br />

1 (ตอ)<br />

ชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียนทั้งหมด<br />

(หอง)<br />

จํานวนนักเรียน (คน)<br />

ชาย หญิง<br />

โรงเรียนขนาดใหญ<br />

23. นวมินทราชินูทิศเบญจมราชาลัย 10 190 200<br />

24. ลาดปลาเคาพิทยาคม 14 340 316<br />

25. มัธยมวัดหนองจอก 14 330 342<br />

26. บางกะปสุขุมนวพันธอุปถัมภ 10 257 197<br />

27. สตรีเศรษฐบุตรบําเพ็ญ 10 - 505<br />

28. ราชดําริ 13 271 282<br />

29. บดินทรเดชา (สิงหสิงหเสนี) 15 451 410<br />

30. หอวัง 13 358 332<br />

31. เทพศิรินทรรมเกลา 13 311 290<br />

32. ฤทธิยะวรรณาลัย 15 354 370<br />

33. เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรัชดา<br />

โรงเรียนขนาดกลาง<br />

10 206 236<br />

34. บดินทรเดชา (สิงหสิงหเสนี 4) 6 138 142<br />

35. ฤทธิยะวรรณาลัย 2 5 155 126<br />

รวม 423 10,110 10,233<br />

รวมจํานวนกลุมประชากร<br />

20,343<br />

ที่มา:<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 (2548)<br />

68


กลุมตัวอยาง<br />

กลุมตัวอยางใชในการวิจัยครั้งนี้<br />

คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2<br />

ปการศึกษา 2548 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 ที่ไดจากการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ<br />

อยางเปนสัดสวน (Proportionate Stratified Sampling) โดยดําเนินการ ดังนี้<br />

1. ประมาณขนาดของกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยโดยใชสูตรของ<br />

Yamane (1967: 886) คือ<br />

เมื่อ<br />

n = ขนาดของกลุ<br />

N = ขนาดของกลุ<br />

e = ความคลาดเคลื<br />

N<br />

n =<br />

1+ Ne<br />

มตัวอยาง<br />

มประชากร<br />

่อนที่สามารถยอมรับได<br />

(ผูวิจัยกําหนดที่<br />

5 เปอรเซ็นต)<br />

จากสูตรเมื่อคํานวณจะไดขนาดของกลุมตัวอยาง<br />

ประมาณ 392 คน<br />

2. สุมตัวอยางตามขนาดโรงเรียน<br />

โดยใชวิธีการสุมตัวอยางอยางงาย<br />

(Simple Random<br />

Sampling) โดยสุมจากตัวอยางจากโรงเรียนขนาดใหญ<br />

33 โรงเรียน สุมในสัดสวน<br />

1: 4 ของ<br />

โรงเรียนขนาดใหญ ได 8 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดกลาง 2 โรงเรียน สุมในสัดสวน<br />

1: 2<br />

ของโรงเรียนขนาดกลาง ได 1 โรงเรียน รวมจํานวนโรงเรียนในกลุมตัวอยาง<br />

9 โรงเรียน<br />

3. สุมตัวอยางหองเรียน<br />

โดยใชวิธีการสุมตัวอยางอยางงาย<br />

(Simple Random Sampling)<br />

ในการสุมตัวอยางใหไดจํานวนของกลุมตัวอยางนั้นไมนอยกวาขนาดของกลุมตัวอยางที่ประมาณไว<br />

ในขอ 1 โดยสุมจากจํานวนหองเรียน<br />

โดยกําหนดการสุมหองเรียนของโรงเรียนขนาดใหญ<br />

สุมใน<br />

สัดสวน 1: 4 ของหองเรียนแตละโรงเรียน และโรงเรียนขนาดกลาง สุมในสัดสวน<br />

1: 2 ของหองเรียนแตละโรงเรียน ดังตารางที่<br />

2<br />

2<br />

69


ตารางที่<br />

2 รายชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียน จํานวนนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

ของกลุมตัวอยาง<br />

ชื่อโรงเรียน<br />

จํานวนหองเรียน (หอง) จํานวนนักเรียน (คน)<br />

ทั้งหมด<br />

ที่สุม<br />

ชาย หญิง รวม<br />

โรงเรียนขนาดใหญ<br />

1. ราชวินิตบางเขน 13 4 75 78 153<br />

2. สารวิทยา 14 4 87 117 204<br />

3. ดอนเมืองทหารอากาศบํารุง 15 4 56 129 185<br />

4. สตรีวิทยา 2 18 5 137 118 255<br />

5. ลาดปลาเคาพิทยาคม 14 4 73 105 178<br />

6. หอวัง 13 3 75 62 137<br />

7. ฤทธิยะวรรณาลัย 15 4 81 115 196<br />

8. เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรัชดา 10 3 35 100 135<br />

โรงเรียนขนาดกลาง<br />

9. ฤทธิยะวรรณาลัย 2 5 2 33 61 94<br />

รวม 117 33 652 885 1,537<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้<br />

คือ แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ซึ่งผูวิจัยเปนผูสรางขึ้นตามแนวทางแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ<br />

Watson – Glaser Critical<br />

Thinking Appraisal Form A and B 1980 โดยมีขั้นตอนการสรางและพัฒนา<br />

ดังภาพที่<br />

3<br />

70


5.1 กําหนดรูปแบบ<br />

ของ<br />

- ขอคําถาม<br />

- ขอตัวเลือก<br />

- การตรวจให<br />

คะแนน<br />

ภาพที่<br />

3 ขั้นตอนการสรางและพัฒนาเครื่องมือ<br />

1. กําหนดจุดมุงหมายของแบบวัด<br />

2. ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

และแนวทาง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking<br />

Appraisal Form A and B 1980<br />

3. กําหนดกรอบของการวัด และนิยามเชิงปฏิบัติการ<br />

4. การสรางตารางวิเคราะหแบบวัด<br />

5. เขียนแบบวัด<br />

5.2 รางแบบวัด<br />

(เฉลย แนวทางการให<br />

คะแนน เกณฑ<br />

คะแนน)<br />

5.3 ทบทวนราง<br />

แบบวัด<br />

6. นําแบบวัดใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบความถูกตองดานเนื้อหาทางวิทยาศาสตร<br />

ความตรง และภาษาที่ใชในแบบวัด<br />

เพื่อนํามาปรับปรุง<br />

แกไข<br />

71


7. นําแบบวัดใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพแบบวัดเบื้องตนโดยใหพิจารณาวาครอบคลุมกับนิยามเชิง<br />

ปฏิบัติการของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร และสามารถวัดได โดยใชคา (IOC) ในการ<br />

พิจารณา นอกจากนี้ยังไดใหตรวจสอบภาษา<br />

และเนื้อหาทางวิทยาศาสตร<br />

เพื่อนํามาคัดเลือก<br />

หรือตัดทิ้ง<br />

และปรับปรุง แกไขตอไป<br />

ภาพที่<br />

3 (ตอ)<br />

1 การนําแบบวัดไปทดลองใชครั<br />

ที่กําหนดไว<br />

8. นําแบบวัดใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบอีกครั้งกอนนําไปทดลองใช<br />

9. นําแบบวัดไปทดลองใช (Tryout) ครั้งที่<br />

1 กับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง<br />

9.1 วิเคราะหแบบวัดรายขอเพื่อตรวจดูคุณภาพตัวลวง<br />

และภาษาที่ใชของตัวเลือก<br />

และวิเคราะหแบบวัดซึ่ง<br />

ไดแก คาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก<br />

พรอมทั้งคัดเลือกแบบวัดตามเกณฑที่ผูวิจัยกําหนดขึ้น<br />

สอดคลองกับเกณฑที่กําหนดขึ้น<br />

สวนใหญสอดคลองกับเกณฑที่<br />

กําหนดแตมีบางขอที่ไมสอดคลอง<br />

9.2 วิเคราะหคาความเที่ยง<br />

ของแบบวัดทั้งฉบับ<br />

โดย<br />

พิจารณาตามเกณฑที่ผูวิจัย<br />

กําหนดขึ้น<br />

10. ปรับปรุง แกไข แบบวัดบางขอในเรื่องภาษาที่ใหมีความเหมาะสม<br />

11. นําแบบวัดไปทดลองใชครั้งที่<br />

2 กับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง1<br />

12. สรางเกณฑและกําหนดเกณฑในการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

13. นําแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

้งที่<br />

2 ไมตองดําเนินการ ถาแบบวัดที่นําไปทดลองใชครั้งที่<br />

1 มีคุณภาพตามเกณฑ<br />

72<br />

วิเคราะหแบบวัดตามขอ 9.


การดําเนินการสรางและพัฒนาแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร มี<br />

รายละเอียดในการดําเนินการแตละขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

1. กําหนดจุดมุงหมายของแบบวัด<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สรางขึ้นฉบับนี้<br />

เพื่อใชเปน<br />

เครื่องมือสวนหนึ่งในการทําการวิจัยเรื่อง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน<br />

ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ของกลุมตัวอยางดังกลาว<br />

2. ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

และแนวทางแบบวัดการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980<br />

ศึกษาแนวคิด กระบวนการ และความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณ เพื่อ<br />

รวบรวมองคประกอบสําคัญที่เปนพื้นฐานในการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

พรอมทั้งศึกษางานวิจัยที่<br />

เกี่ยวของกับการสรางแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ<br />

Watson – Glaser Critical Thinking<br />

Appraisal Form A and B 1980 ในดานความหมายทั้ง<br />

5 ดาน ของการคิดอยางมีวิจารณญาณของ<br />

Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 เพื่อที่สามารถนํามาเขียน<br />

นิยามเชิงปฏิบัติการ ขอคําถาม ขอตัวเลือก และเกณฑการใหคะแนนใหครอบคลุมสิ่งที่ตองการ<br />

ศึกษา<br />

3. กําหนดกรอบของการวัด และนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สรางขึ้นฉบับนี้<br />

ไมอิงเนื้อหาใด<br />

เนื้อหาหนึ่งของหนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร<br />

ของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนแบบวัดแบบปรนัย<br />

ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกโดยทําการวัดกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ซึ่งนักเรียนชวงนี้สามารถ<br />

คิดเปนเหตุผล และคิดในสิ่งที่ซับซอนและเปนนามธรรมได<br />

(Formal-Operation Stage)<br />

73


การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (Critical Thinking in Science) หมายถึง<br />

การคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือสถานการณ และเปนการคิดอยางมีเหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ<br />

แลวนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ที่เกี่ยวของกับขอมูล<br />

ขาวสาร<br />

ประเด็นปญหา การทดลอง ขอสรุป และแนวคิดทางวิทยาศาสตร ตามแนวทางแบบวัดการคิดอยาง<br />

มีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 ซึ่ง<br />

ประกอบดวยการคิด 5 ดาน ดังนี้<br />

1. การอางอิง (Inference) หมายถึง การคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไป<br />

ไดของขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

2. การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) หมายถึง การคิดในการ<br />

พิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

3. การนิรนัย (Deduction) หมายถึง การคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการ<br />

ใหญไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหาขอสรุปจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

4. การแปลความ (Interpretation) หมายถึง การคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็น<br />

ปญหาที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหา<br />

5. การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) หมายถึง การคิดในการพิจารณา<br />

ขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

4. สรางตารางแสดงการวิเคราะห และจํานวนขอของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดังตารางที่<br />

3<br />

74


ตารางที่<br />

3 ตารางการวิเคราะหแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

แบบวัด<br />

ตอนที่<br />

ดาน<br />

กอนใชจริง 2<br />

จํานวนขอ<br />

ใชจริง 3<br />

ขอที่<br />

น้ําหนัก<br />

%<br />

1 การอางอิง 12 8 1-8 20<br />

2 การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

12 8 9-16 20<br />

3 การนิรนัย 12 8 17-24 20<br />

4 การแปลความ 12 8 25-32 20<br />

5 การประเมินขอโตแยง 12 8 33-40 20<br />

รวม<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ-<br />

ทางวิทยาศาสตร<br />

60 40 1-40 100<br />

5. เขียนรูปแบบของขอคําถาม ขอตัวเลือก และการตรวจใหคะแนน<br />

รูปแบบของขอคําถาม ที่ใชในแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สราง<br />

ขึ้นฉบับนี้<br />

เปนขอความหรือสถานการณหรือปญหาหรือการทดลองหรือขอสรุปหรือแนวคิดทาง<br />

วิทยาศาสตร<br />

รูปแบบของขอตัวเลือก ที่ใชในแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่<br />

สรางขึ้นฉบับนี้<br />

เปนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยมีคําตอบที่ถูกตองเพียง<br />

1 ตัวเลือก<br />

การตรวจใหคะแนน ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑการใหคะแนน<br />

ดังนี้<br />

ตอบถูก หมายถึง ตอบไดตรงกับคําเฉลยที่กําหนดขึ้น<br />

ไดคะแนน 1 คะแนน<br />

ตอบผิด หมายถึง ตอบไมถูกตรงกับคําเฉลยที่กําหนดขึ้น<br />

หรือไมตอบ หรือตอบมากกวา<br />

หนึ่งตัวเลือก<br />

ไดคะแนน 0 คะแนน<br />

2 จํานวนขอของแบบวัดที<br />

3 จํานวนขอของแบบวัดที<br />

่สรางไวคัดเลือกกอนนําไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

่ใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

75


โดยวิธีการตรวจใหคะแนนเปนรายขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 40 คะแนน ดังนั้น<br />

ผูทําการวัดจะสามารถไดคะแนนตั้งแต<br />

0 ถึง 40 คะแนน<br />

6. นําแบบวัดใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบความถูกตองดานเนื้อหาทาง<br />

วิทยาศาสตรของแบบวัด และความตรงวาตรงตามนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่สรางขึ้น<br />

หรือไม<br />

ตลอดจนภาษาที่ใชเหมาะสม<br />

หรือไม เพื่อนํามาปรับปรุง<br />

แกไขตอไป<br />

7. นําแบบวัดใหผูเชี่ยวชาญ<br />

จํานวน 4 ทาน (ดูภาคผนวก ก) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของ<br />

แบบวัดเบื้องตนโดยใหพิจารณาขอคําถาม<br />

ขอตัวเลือก และเนื้อหาทางวิทยาศาสตรของแบบวัดวา<br />

ถูกตอง และครอบคลุมกับนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ในแตละดานหรือไม ซึ่งไดแก<br />

การอางอิง การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ<br />

และการประเมินขอโตแยง และสามารถสรางหรือวัดไดตรงกับนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่สรางขึ้น<br />

โดยใชคา (IOC : Item Objective Congruence) ในการพิจารณาตามเกณฑที่ผูวิจัยกําหนดขึ้น<br />

คือ<br />

ตั้งแต<br />

0.5 ขึ้นไปของแตละขอ<br />

ไดจํานวนขอทั้งหมดที่ผานเกณฑ<br />

จํานวน 50 ขอ นอกจากนี้ยังไดให<br />

ตรวจสอบภาษาที่ใชวาเหมาะสม<br />

หรือไม เพื่อนํามาคัดเลือก<br />

หรือตัดทิ้ง<br />

แลวปรับปรุง แกไข ตอไป<br />

8. นําแบบวัดจํานวน 50 ขอ ที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ<br />

ที่ไดคัดเลือก<br />

หรือตัดทิ้ง<br />

และปรับปรุงแกไขแลว ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบอีกครั้ง<br />

ไดแบบวัดจํานวน 40 ขอ<br />

กอนนําไปทดลองใช<br />

9. 4 นําแบบวัดจํานวน 40 ขอไปทดลองใช (Tryout) ครั้งที่<br />

1 กับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง<br />

จํานวน 96 คน พรอมทั้งกําหนดเกณฑในการพิจารณา<br />

ในเรื่อง<br />

ตอไปนี้<br />

คาดัชนีความยากงาย (p)<br />

ควรมีคาอยูในชวง<br />

.20 ถึง .80 คาดัชนีอํานาจจําแนก (r) ควรมีคาตั้งแต<br />

.20 และคาความเที่ยง<br />

(Reliability) ควรมีคาตั้งแต<br />

.50 และภาษาที่ใชมีความเหมาะสมหรือไม<br />

10. นําคะแนนจากการทดสอบของนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง<br />

(กลุม<br />

Tryout ) มาสราง<br />

เกณฑในการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน และระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตรของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง โดยใชเกณฑเดียวกัน ดังตารางที่<br />

4<br />

4 การทดลองใชแบบวัดครั<br />

ที่กําหนดไว<br />

้งที่<br />

2 ไมไดดําเนินการ เนื่องจากแบบวัดที่นําไปทดลองใชครั้งที่<br />

1 มีคุณภาพตามเกณฑ<br />

76


ตารางที่<br />

4 เกณฑในการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ชวงคะแนนมาตรฐานที<br />

(T-score)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

สูงกวา T52 สูง<br />

T52 - T34 ปานกลาง<br />

ต่ํากวา<br />

T34 ต่ํา<br />

10.1 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร/ระดับการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับสูง หมายถึง มีการคิดพิจารณา<br />

คิดมีเหตุผล จําแนกขอมูลหรือสถานการณ สามารถคิดไตรตรอง รอบคอบได และสามารถ<br />

ตัดสินใจกับขอมูลหรือสถานการณ เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ไดครบสมบูรณทั้ง<br />

5 ดานตามการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับปานกลาง หมายถึง มีการคิด<br />

พิจารณา คิดมีเหตุผล จําแนกขอมูลหรือสถานการณ สามารถคิดไตรตรอง รอบคอบได และ<br />

สามารถตัดสินใจกับขอมูลหรือสถานการณ เพื่อไปสูขอสรุปได<br />

โดยไมครบสมบูรณทั้ง<br />

5 ดานตาม<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดพิจารณา<br />

คิดมีเหตุผล จําแนกขอมูลหรือสถานการณ สามารถคิดไตรตรอง รอบคอบได และสามารถที่จะ<br />

ตัดสินใจกับขอมูลหรือสถานการณ เพื่อไปสูขอสรุปได<br />

โดยไมครบสมบูรณทั้ง<br />

5 ดานตามการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม กอนที่จะไดรับการศึกษาตอ<br />

ในชวงชั้นตอไป<br />

77


10.2 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก<br />

อางอิง<br />

10.2.1 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง ระดับสูง<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปไดของขอสรุปที่คาดคะเนจาก<br />

สถานการณที่กําหนดไวครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง ระดับปานกลาง<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปไดของขอสรุปที่คาดคะเนจาก<br />

สถานการณที่กําหนดไวไมครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง ระดับต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปไดของขอสรุปที่คาดคะเนจาก<br />

สถานการณที่กําหนดไวไมครบสมบูรณ<br />

และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม การคิดดานนี้<br />

กอนที่<br />

จะไดรับการศึกษาตอในชวงชั้นตอไป<br />

10.2.2 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

ยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ระดับสูง หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอน<br />

ขอสรุปที่กําหนดไวครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ระดับปานกลาง หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอน<br />

ขอสรุปที่กําหนดไวไมครบสมบูรณ<br />

78


การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ระดับต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอน<br />

ขอสรุปที่กําหนดไวไมครบสมบูรณ<br />

และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม การคิดดานนี้<br />

กอนที่จะ<br />

ไดรับการศึกษาตอในชวงชั้นตอไป<br />

นิรนัย<br />

10.2.3. ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย ระดับสูง<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล<br />

และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหาขอสรุปจากสถานการณที่<br />

กําหนดไวไดครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย ระดับปาน<br />

กลาง หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญไปสูหลักการยอย<br />

โดยใช<br />

เหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหาขอสรุปจากสถานการณ<br />

ที่กําหนดไวไมครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย ระดับต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล<br />

และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหาขอสรุปจากสถานการณที่<br />

กําหนดไวไมครบสมบูรณ และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม การคิดดานนี้<br />

กอนที่จะไดรับ<br />

การศึกษาตอในชวงชั้นตอไป<br />

แปลความ<br />

10.2.4 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ ระดับสูง<br />

หมายถึง มีการคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหาที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อ<br />

นําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหาไดครบสมบูรณ<br />

79


การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ ระดับปาน<br />

กลาง หมายถึง มีการคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหาที่สําคัญของสถานการณที่<br />

กําหนดให เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหาไดไมครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ ระดับต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหาที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อ<br />

นําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหาไดไมครบสมบูรณ<br />

และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม<br />

การคิดดานนี้<br />

กอนที่จะไดรับการศึกษาตอในชวงชั้นตอไป<br />

10.2.5 ความหมายของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

ประเมินขอโตแยง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง<br />

ระดับสูง หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผล<br />

หรือไม ไดครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง ระดับ<br />

ปานกลาง หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผล<br />

หรือไม ไดไมครบสมบูรณ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง ระดับ<br />

ต่ํา<br />

หมายถึง มีการคิดในการพิจารณาขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

ไดไมครบสมบูรณ และควรไดรับการพัฒนา สงเสริม การคิดดานนี้<br />

กอนที่จะไดรับการศึกษาตอ<br />

ในชวงชั้นตอไป<br />

11. นําแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

พรอม<br />

ทั้งวิเคราะหแบบวัดในเรื่อง<br />

ตอไปนี้<br />

คาดัชนีความยากงาย (p) คาดัชนีอํานาจจําแนก (r) และคา<br />

ความเที่ยง<br />

(Reliability) อีกครั้ง<br />

ตามเกณฑในขอ 9 (ดูภาคผนวก ค)<br />

80


การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

1. ผูวิจัยนําหนังสือจากภาควิชาการศึกษา<br />

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

ไปยังผูอํานวยการโรงเรียนของกลุมตัวอยาง<br />

สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 เพื่อขอความอนุเคราะห<br />

และขออนุญาตในการเก็บ<br />

รวบรวมขอมูลนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง<br />

โดยผูวิจัยไปติดตอดวยตนเอง<br />

และทําการนัดวัน เวลา<br />

ที่สามารถทําการทดสอบกับนักเรียนได<br />

2. ผูวิจัยนําแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา<br />

ปที่<br />

3 ไปเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยาง<br />

ในชวงเดือน มกราคม 2549 โดยผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเอง<br />

โดยใชเวลาในการทดสอบในแตละโรงเรียนไมต่ํากวา<br />

2 วัน<br />

3. รวบรวมขอมูลเพื่อนําไปวิเคราะหตอไป<br />

การวิเคราะหขอมูล<br />

ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการ<br />

1. วิเคราะห คาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก ความเที่ยงแบบความสอดคลอง<br />

ภายใน โดยใชวิธีของ Kuder-Richardson (K-R 20) (ดูภาคผนวก ค)<br />

3. สรางเกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร โดยแปลง<br />

คะแนนดิบ เปนคะแนนมาตรฐานที นอกจากนี้ยังคํานวณหาตําแหนงเปอรเซ็นตไทล<br />

(ดูภาคผนวก ง)<br />

4. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 โดยใชการ<br />

เปรียบเทียบคาคะแนนเฉลี่ยระหวางสองกลุมที่เปนอิสระตอกัน<br />

(Two independent samples test)<br />

สถิติที่ใช<br />

Approximation Z-test<br />

81


บทที่<br />

4<br />

ผลการวิจัยและขอวิจารณ<br />

ผลการวิจัย<br />

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค<br />

(เพื่อศึกษา)<br />

คือ 1. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

2. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร จําแนกตามการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตรซึ่งประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย<br />

การแปลความ และการประเมินขอโตแยง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษา<br />

กรุงเทพมหานคร เขต 2 3. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร และเปรียบเทียบ<br />

คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

จําแนกตามเพศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา<br />

ปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 โดยกลุมตัวอยางที่ใช<br />

ไดแก นักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 ภาคเรียนที่<br />

2 ปการศึกษา 2548 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

จํานวน 1,537 คน แบงเปน นักเรียนชาย 652 คน และนักเรียนหญิง 885 คน ซึ่งผูวิจัยเสนอ<br />

ผลการวิจัย ตามลําดับ ดังนี้<br />

ตอนที่<br />

1 คาสถิติพื้นฐาน<br />

และรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ตอนที่<br />

2 คาสถิติ และรอยละของระดับการคิดซึ่งจําแนกตามการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตรที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน<br />

ตอนที่<br />

3 คาสถิติพื้นฐาน<br />

และรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

ตอนที่<br />

4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง


ตอนที่<br />

1 คาสถิติพื้นฐาน<br />

และรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

1. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

5<br />

ตารางที่<br />

5 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

39.00 4.00 26.6721 6.1332<br />

จากตารางที่<br />

5 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 39.00 4.00 26.6721 และ6.1332 ตามลําดับ<br />

2. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

6<br />

ตารางที่<br />

6 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร คิดเปนรอยละ<br />

สูง (>T52)<br />

43.50<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

49.07<br />

ต่ํา<br />

(


ตอนที่<br />

2 คาสถิติพื้นฐาน<br />

และรอยละของระดับการคิดซึ่งจําแนกตามการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตรที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน<br />

1. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

7<br />

ตารางที่<br />

7 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

8.00 0 5.00 1.51<br />

จากตารางที่<br />

7 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา<br />

เทากับ 8.00 0 5.00 และ1.51 ตามลําดับ<br />

2. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

8<br />

ตารางที่<br />

8 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง คิดเปนรอยละ<br />

สูง (>T52)<br />

39.62<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

54.52<br />

ต่ํา<br />

(


3. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

9<br />

ตารางที่<br />

9 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ของกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

8.00 0 5.70 1.75<br />

จากตารางที่<br />

9 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 8.00 0 5.70 และ1.75 ตามลําดับ<br />

4. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

10<br />

ตารางที่<br />

10 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับ<br />

ขอตกลงเบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

สูง (>T52)<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

ต่ํา<br />

(


5. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

11<br />

ตารางที่<br />

11 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

8.00 0 5.48 1.87<br />

จากตารางที่<br />

11 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคาเทากับ 8.00 0 5.48 และ1.87 ตามลําดับ<br />

6. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

12<br />

ตารางที่<br />

12 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย คิดเปนรอยละ<br />

สูง (>T52)<br />

36.76<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

55.43<br />

ต่ํา<br />

(


7. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

13<br />

ตารางที่<br />

13 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

8.00 0 4.97 1.69<br />

จากตารางที่<br />

13 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 8.00 0 4.97 และ1.69 ตามลําดับ<br />

8. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

14<br />

ตารางที่<br />

14 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ<br />

สูง (>T52)<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

ต่ํา<br />

(


9. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

15<br />

ตารางที่<br />

15 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

8.00 0 5.52 1.86<br />

จากตารางที่<br />

15 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 8.00 0 5.52 และ1.86 ตามลําดับ<br />

10. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

16<br />

ตารางที่<br />

16 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง<br />

สูง (>T52)<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

ต่ํา<br />

(


11. สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร 5 ดาน ของนักเรียน<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน) ดังภาพที่<br />

4<br />

รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

39.62<br />

54.52 55.89 55.43<br />

5.86<br />

37.93<br />

6.18<br />

36.76<br />

40.66<br />

50.62<br />

35.2<br />

56.35<br />

7.81 8.72 8.45<br />

การอางอิง การยอมรับ ขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ การประเมินขอโตแยง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับสูง การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับปานกลาง การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ระดับต่ํา<br />

ภาพที่<br />

4 สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ทั้ง<br />

5 ดาน<br />

ของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

จากภาพที่<br />

4 นักเรียนในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

5<br />

ดาน ไดแก การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง อยูในระดับปานกลาง<br />

คิด<br />

เปนรอยละ 54.52 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

อยู<br />

ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 55.89 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิร<br />

นัย อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 55.43 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดาน<br />

การแปลความ อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 50.62 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 56.35 ตามลําดับ<br />

ดาน<br />

89


ตอนที่<br />

3 คาสถิติพื้นฐาน<br />

และรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของ<br />

นักเรียนชาย และนักเรียนหญิง<br />

1. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุม<br />

ตัวอยาง ดังตารางที่<br />

17<br />

ตารางที่<br />

17 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(n1= 652 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

39.00 4.00 25.6058 6.50<br />

จากตารางที่<br />

17 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 39.00 4.00 25.6058 และ6.50 ตามลําดับ<br />

2. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชาย ในกลุม<br />

ตัวอยาง ดังตารางที่<br />

18<br />

ตารางที่<br />

18 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชาย<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(n1= 652 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร คิดเปนรอยละ<br />

สูง (>T52)<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

ต่ํา<br />

(


3. คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุม<br />

ตัวอยาง ดังตารางที่<br />

19<br />

ตารางที่<br />

19 คาสถิติพื้นฐานการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุม<br />

ตัวอยาง (n2=885 คน)<br />

คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

39.00 8.00 27.4576 5.7255<br />

จากตารางที่<br />

19 คะแนนสูงสุด คะแนนต่ําสุด<br />

คะแนนเฉลี่ย<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

มีคา<br />

เทากับ 39.00 8.00 27.4576 และ5.7255 ตามลําดับ<br />

4. รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนหญิง ในกลุม<br />

ตัวอยาง ดังตารางที่<br />

20<br />

ตารางที่<br />

20 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนหญิง<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(n2=885 คน)<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร คิดเปนรอยละ<br />

สูง (>T52)<br />

ปานกลาง (T52-T34)<br />

ต่ํา<br />

(


5. สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชาย (n1= 652 คน)<br />

และนักเรียนหญิง (n2=885 คน) ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน) ดังภาพที่<br />

5<br />

รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

45.08<br />

41.26<br />

45.69<br />

51.51<br />

ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับต่ํา<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ชาย หญิง<br />

ภาพที่<br />

5 สรุปรอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของ<br />

นักเรียนชาย และนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

จากภาพที่<br />

5 รอยละของระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิงในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

อยูในระดับ<br />

ปานกลาง คิดเปนรอยละ 45.69 และ51.51 ตามลําดับ<br />

9.23<br />

7.23<br />

92


ตอนที่<br />

4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิง<br />

1. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชายและ<br />

นักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางที่<br />

21<br />

ตารางที่<br />

21 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรระหวางนักเรียน<br />

ชายและนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

นักเรียน n x S .D.<br />

t df p − value<br />

ชาย<br />

หญิง<br />

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

652 25.6058 6.5008 -5.914 1,535 .000*<br />

885 27.4576 5.7256<br />

จากตารางที่<br />

21 คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

93


ขอวิจารณ<br />

การวิจัยเพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 ผลการวิจารณปรากฏ ดังนี้<br />

ตอนที่<br />

1<br />

จากการศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

พบวา มีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร อยูในระดับสูง<br />

(>T52) คิดเปนรอยละ<br />

43.50 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ<br />

49.07 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร อยูในระดับต่ํา<br />

(


Hypothetical Deduction (พรรณี, 2538:145) หมายถึง การคิดแบบตั้งสมมติฐานขึ้นมาแลวหา<br />

ขอสรุป เมื่อเด็กพัฒนาไดอยางเต็มที่แลว<br />

จะสามารถคิดอยางเปนเหตุผล และแกปญหาไดเปนอยาง<br />

ดี<br />

ตอนที่<br />

2<br />

จากการศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน<br />

ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ และการประเมินขอ<br />

โตแยง พบวา นักเรียนในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

5 ดาน<br />

ไดแก การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปน<br />

รอยละ 54.52 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

อยูใน<br />

ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 55.89 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 55.43 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

แปลความ อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 50.62 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 56.35 ตามลําดับ<br />

นั้น<br />

ที่เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจาก<br />

การประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ เมื่อ<br />

พ.ศ. 2542<br />

ที่ไดตระหนักถึงกระบวนการคิด<br />

และสงเสริม พัฒนากระบวนการคิดใหเกิดขึ้นกับนักเรียน<br />

เพื่อที่จะสามารถนํากระบวนการคิดไปใชในแกปญหาในชีวิตประจําวันได<br />

(สํานักคณะกรรมการ<br />

การศึกษาแหงชาติ, 2542: 14) อาจสงผลใหครูผูสอนบางคนไดปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียน<br />

การสอน โดยใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย<br />

ดังแนวทางการจัดการเรียนการสอน<br />

ที่กรมวิชาการ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ได<br />

ใหแนวทางการจัดการเรียนการสอนไว ดังนี้<br />

ครูผูสอนควรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนจากการ<br />

เปนผูบอกเลา<br />

บรรยาย สาธิต ควรจัดการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงการพัฒนากระบวนการคิด ซึ่ง<br />

การจัดการเรียนการสอน ที่สามารถพัฒนากระบวนการคิดได<br />

เชน กิจกรรมที่นักเรียนไดลงมือ<br />

ปฏิบัติ กิจกรรมที่ใหนักเรียนไดมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน<br />

การทดลองในหองปฏิบัติ กิจกรรม<br />

โครงงานวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู<br />

กระบวนการแกปญหา กิจกรรมคิดและ<br />

ปฏิบัติ การเรียนรูแบบรวมมือรวมใจ<br />

(กรมวิชาการ, 2546: 215-226) สอดคลองกับผลการวิจัยของ<br />

วิไลวรรณ (2535) ; นิพล (2536) ; สุรศักดิ์<br />

(2543) ; กนกวรรณ (2545) ; พิรุณ (2547) ; Griffitts<br />

(1987) ; Crouch, et al (n.d.) ที่พบวา<br />

การจัดการเรียนการสอนโดยเปดโอกาสใหนักเรียนไดมี<br />

ปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน<br />

โดยใชกระบวนการกลุมนั้น<br />

สามารถสงเสริม และพัฒนาการคิดอยางมี<br />

95


วิจารณญาณได เชนเดียวกับผลการวิจัยของ พิชิต (2542) ; ทักษินันท (2543) ; พรศรี (2548) ; อรสา<br />

(2548) ; Anderson (1967) ; Shepherd (1998) พบวา การจัดการเรียนการสอน โดยเนนการ<br />

แกปญหาทางวิทยาศาสตร สามารถสงเสริม และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณไดเชนกัน<br />

เชนเดียวกับผลการวิจัยของ ลักษณีย (2545) ; Cruz (1971) พบวา การจัดการเรียนการสอนโดยเนน<br />

ใหนักเรียนไดคนพบความรูดวยตนเอง<br />

หรือการใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู<br />

สามารถสงเสริม<br />

และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณไดอีกดวย นอกจากนี้จากผลการวิจัยของ<br />

อุทุมพร (2542)<br />

พบวา จากการจัดการเรียนการสอน ที่ใหนักเรียนไดรับการทําโครงงานวิทยาศาสตร<br />

สามารถ<br />

สงเสริม และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณไดเชนกัน<br />

เมื่อพิจารณาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง พบวา นักเรียนใน<br />

กลุมตัวอยางมีระดับการคิดดานนี้<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 54.52 ที่เปนเชนนี้อาจ<br />

เนื่องมาจาก<br />

เมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง<br />

การคิดดานนี้เปนการคิดโดยคาดคะเนคําตอบลวงหนา<br />

ทั้งที่เปนไปได<br />

และเปนไปไมได คําตอบที่<br />

คาดคะเนนี้ยังไมทราบถึงหลักการที่แนนอน<br />

กฎหรือทฤษฎีมากอน ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณา<br />

การเรียนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร<br />

มีทักษะหนึ่งของทักษะกระบวนการ<br />

ทางวิทยาศาสตรที่มีความหมายครอบคลุมการคิดดานนี้<br />

ไดแก การตั้งสมมติฐาน<br />

(Formulating<br />

Hypotheses) การเรียนการสอนดังกลาวเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกการคิดในดานนี้ไดเปน<br />

อยางดี แตปญหาที่ผานมาพบวา<br />

ครูผูสอน<br />

ยังเนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไมมาก<br />

เทาที่ควร<br />

เนื่องจากครูยังมีปญหาและอุปสรรคในเรื่องการใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร<br />

(วรรณทิพา และพิมพันธ, 2542: ข) โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

บางทักษะที่ครูผูสอนไมไดสอน<br />

ไดแก<br />

ทักษะการพยากรณ ทักษะการตั้งสมมติฐาน<br />

และทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร ซึ่งสงผลตอ<br />

นักเรียนโดยตรง คือ นักเรียนไมสามารถกําหนดตัวแปรในการทดลอง และยังไมสามารถ<br />

ตั้งสมมติฐานการทดลองได<br />

(ปยะวรรณ, 2541: บทคัดยอ) ดังนั้น<br />

การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึง<br />

เปนลักษณะที่ใหนักเรียนทําการทดลองตามคําแนะนําที่ใหไว<br />

แลวครูทําการสรุปผลเอง กอใหเกิด<br />

ผลที่ตามมา<br />

คือ นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (วรรณทิพา และพิมพันธ, 2542: ข)<br />

ซึ่งถานักเรียนไดรับการเรียนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาอยางสม่ําเสมอ<br />

จะ<br />

สามารถชวยใหนักเรียนไดรับการสงเสริม และพัฒนาการคิดดานนี้ในระดับที่สูงได<br />

ดังที่<br />

George<br />

(1968: 421) กลาววา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ตองอาศัยการคิดอยางมีวิจารณญาณใน<br />

การตรวจสอบ สมมติฐาน จึงไมสามารถแยกการคิดอยางมีวิจารณญาณออกจากการเรียนการสอน<br />

ในวิชาวิทยาศาสตรได สอดคลองกับผลการวิจัยของ วิไลวรรณ (2535) ; นิพล (2536) ; Griffitts<br />

96


(1987) พบวา การจัดการเรียนการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสามารถสงเสริม และ<br />

พัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณได<br />

เมื่อพิจารณาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

พบวา นักเรียนในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดดานนี้<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 55.89 ที่<br />

เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจาก<br />

เมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การคิดดานนี้ตองอาศัยการคิดที่เชื่อมโยงความรู<br />

และ<br />

ประสบการณเดิม ในเรื่องขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตรเปนที่เขาใจตรงกันอยูแลว<br />

เพื่อนําไปสูขอสรุป<br />

ทางวิทยาศาสตรตอไป ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาการเรียนการสอนที่เนนใหนักเรียนไดทํา<br />

โครงงานวิทยาศาสตร หรือเนนการทดลองทางวิทยาศาสตร การเรียนการสอนดังกลาวเปนการเปด<br />

โอกาสใหนักเรียนไดฝกการคิดในดานนี้ไดเปนอยางดี<br />

แตปญหาที่ผานมาพบวา<br />

ครูผูสอนตองพบ<br />

ปญหาหลายอยางที่ตองแกไขโดยเฉพาะกับปญหากับการสอนโครงงานวิทยาศาสตร<br />

(บุปผชาติ,<br />

2547: 27) ซึ่งถานักเรียนไดรับการเรียนการสอนโดยเนนทําโครงงานวิทยาศาสตร<br />

หรือการทดลอง<br />

ทางวิทยาศาสตรมาอยางสม่ําเสมอ<br />

จะสามารถชวยใหนักเรียนไดรับการสงเสริม และพัฒนาการคิด<br />

ดานนี้ในระดับที่สูงได<br />

ดังที่<br />

Ennis (1967: 144-146) กลาววา นักเรียนที่มีการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณ ตองมีความสามารถในการพิจารณาขอความที่เปนขอตกลงเบื้องตนได<br />

และสามารถ<br />

ตัดสินขอสรุปที่มีขอมูลมาสนับสนุนไดโดยใชการตัดสินใจแบบนิรนัย<br />

สอดคลองกับผลการวิจัย<br />

ของ เบญจมาศ (2533) ; อุทุมพร (2542) พบวา การใหนักเรียนเลือกใชอุปกรณการทดลองที่<br />

เหมาะสม และออกแบบการทดลองตามแนวคิดของตนเอง เพื่อเปนการเปดโอกาสใหนักเรียน<br />

เลือกใชรูปแบบการบันทึกขอมูล ตามที่เสนอไวเพื่อสามารถตัดสินใจในขอมูลที่ไดจากการทดลอง<br />

เมื่อพิจารณาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย พบวา นักเรียนใน<br />

กลุมตัวอยางมีระดับการคิดดานนี้<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 55.43 ที่เปนเชนนี้อาจ<br />

เนื่องมาจาก<br />

เมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการนิรนัย การคิดดานนี้ตองอาศัยความรูความเขาใจจากทฤษฎีไปสูกฎ<br />

กฎไปสูหลักการ<br />

หลักการไปสูแนวคิด<br />

และแนวคิดนําไปสูขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตร<br />

หรือจากความรูทาง<br />

วิทยาศาสตรกวาง ๆ ไปสูความรูยอย<br />

ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาการเรียนการสอนแบบนิรนัย<br />

(Deductive Method) การเรียนการสอนดังกลาวเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกการคิดในดานนี้<br />

ไดเปนอยางดี แตปญหาที่ผานมาพบวา<br />

ครูผูสอนบางคนสอนโดยใหทฤษฎี<br />

กฎเกณฑ หลักการกอน<br />

ในขณะที่<br />

ครูผูสอนบางคนสอนโดยการยกตัวอยาง<br />

แลวใหนักเรียนไดทดลองเพื่อใหเกิดการคนพบ<br />

97


ทฤษฎี กฎเกณฑ หลักการดวยตนเอง แลวจึงทําการสรุป ซึ่งวิธีการเรียนการสอนทั้งสองวิธียังไมมี<br />

ผลบงชี้ชัดเจนวาวิธีการเรียนการสอนแบบใดใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากกวากัน<br />

(สุภาพร, 2544:<br />

2) ซึ่งถานักเรียนไดรับการเรียนการสอนแบบนิรนัยมาอยางสม่ําเสมอ<br />

จะสามารถชวยใหนักเรียน<br />

ไดรับการสงเสริม และพัฒนาการคิดดานนี้ในระดับที่สูงได<br />

ดังที่<br />

สุวิทย และอรทัย (2545: 23)<br />

กลาววา การเรียนการสอนแบบนิรนัย จะสามารถชวยสงเสริม และพัฒนากระบวนการคิดได และ<br />

การเรียนการสอนแบบนิรนัยจะชวยใหนักเรียนเปนคนที่มีเหตุผล<br />

ไมเชื่ออะไรอยางงายดาย<br />

โดย<br />

ปราศจากความรู<br />

ความเขาใจในทฤษฎี กฎเกณฑ ขอสรุปเหลานั้นอยางลึกซึ้ง<br />

เมื่อพิจารณาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ พบวา นักเรียน<br />

ในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดดานนี้<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 50.62 ที่เปนเชนนี้อาจ<br />

เนื่องมาจาก<br />

เมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปล<br />

ความ การคิดประเภทนี้ตองอาศัยการคิดเพื่อแยกแยะประเด็นปญหาที่สําคัญของสถานการณ<br />

แลว<br />

นําไปสูการตัดสินใจของขอสรุป<br />

เพื่อนําไปสูการแกปญหา<br />

การคิดประเภทนี้ตองใชทักษะการคิดที่<br />

สลับซับซอนในการแกปญหา ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาการเรียนการสอนตามแนวทางวิธีการ<br />

ทางวิทยาศาสตร (Scientific Method) การเรียนการสอนวิธีดังกลาว เปนการเปดโอกาสใหนักเรียน<br />

ไดฝกการคิดในดานนี้ไดเปนอยางดี<br />

แตปญหาที่ผานมาพบวา<br />

ครูผูสอนมักจะบรรยายความรูมากกวา<br />

ที่จะปลูกฝงวิธีการทางวิทยาศาสตร<br />

โดยครูผูสอนยังไมเขาใจเนื้อหาและไมเขาใจวิธีการฝกวิธีการ<br />

เรียนการสอนดังกลาว (หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ,<br />

2539: 1) ซึ่งถานักเรียนไดรับการเรียนการสอนตามแนวทางวิธีการทางวิทยาศาสตร<br />

การเรียน<br />

การสอนเพื่อเนนการแกปญหา<br />

การเรียนการสอนโดยใหนักเรียนไดระบุประเด็นปญหา มาอยาง<br />

สม่ําเสมอ<br />

จะสามารถชวยใหนักเรียนไดรับการสงเสริม และพัฒนาการคิดดานนี้ในระดับที่สูงได<br />

สอดคลองกับผลการวิจัยของ พิชิต (2542) ; ทักษินันท (2543) ; รตาพร (2547) ; พรศรี (2548) ;<br />

Shepherd (1998) พบวา การจัดการเรียนการสอนรูปแบบดังกลาวสามารถสงเสริม และพัฒนาการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณได<br />

เมื่อพิจารณาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง พบวา<br />

นักเรียนในกลุมตัวอยางมีการคิดดานนี้<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 56.35 ที่เปนเชนนี้<br />

อาจเนื่องมาจาก<br />

เมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการ<br />

ประเมินขอโตแยง การคิดประเภทนี้ตองอาศัยการหาพยานหลักฐานมาอางอิง<br />

โดยที่พยานหลักฐาน<br />

นั้นตองมีความสมเหตุสมผลกับขอคัดคาน<br />

หรือขอสนับสนุน เพื่อที่จะประเมินประเด็นปญหา<br />

98


เหลานั้น<br />

กอนที่จะตัดสินใจกับประเด็นปญหาเพื่อหาขอสรุป<br />

โดยปราศจากอคติ ในขณะเดียวกัน<br />

เมื่อพิจารณาการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู<br />

การเรียนการสอนโดยใชกระบวนการกลุม<br />

การจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดทํางานรวมกัน<br />

เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น<br />

และอภิปรายกัน การเรียนการสอนดังกลาวเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกการคิดในดานนี้ได<br />

เปนอยางดี แตปญหาที่ผานมาพบวา<br />

ครูผูสอนขาดการใหนักเรียนรูจักปฏิบัติจริง<br />

เนนการทองจํา<br />

มากกวา การคิดวิเคราะหหาเหตุผล และการแสวงหาความรูดวยตนเอง<br />

(กรมวิชาการ, 2541)<br />

นอกจากนี้<br />

ครูผูสอนยังขาดทักษะการจัดการเรียนการสอน<br />

หรือครูผูสอนยังมีทักษะการสอนที่ไม<br />

เหมาะสม กลาวคือ ครูผูสอนใชวิธีการสอนแบบสั่งตามมากเกินไปหรือสอนในเรื่องที่ไมนาจะทํา<br />

เชนนั้น<br />

เปนการปดกั้นการแสดงออกทางความคิด<br />

(ชัยอนันต, 2542: 43-44) ซึ่งถานักเรียนไดรับการ<br />

เรียนการสอนโดยวิธีการดังกลาว มาอยางสม่ําเสมอ<br />

จะสามารถชวยใหนักเรียนไดรับการสงเสริม<br />

และพัฒนาการคิดดานนี้ในระดับที่สูงได<br />

ดังที่<br />

Hundgins (1977: 174-178) กลาววา บุคคลที่มีการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณ ตองเปนบุคลที่มีความสามารถในการคิดพิจารณา<br />

ตรึกตรอง และประเมิน<br />

หลักฐานที่นํามาสนับสนุนอยางสมเหตุสมผล<br />

กอนที่จะยอมรับขอสรุปเหลานั้น<br />

นอกจากนี้<br />

Watson and Glaser (1964 :10) กลาววา บุคคลที่มีการคิดอยางมีวิจารณญาณประกอบดวยทัศนคติ<br />

ความรู<br />

และทักษะในเรื่องตางๆ<br />

โดยมีทัศนคติในการสืบเสาะความรูในเรื่องการหาแหลงอางอิง<br />

และทักษะในการใชความรูและทัศนคติ<br />

สอดคลองกับผลการวิจัยของ กนกวรรณ (2545) ; ลักษณีย<br />

(2545) ; พิรุณ (2547) ; Crouch et al. (n.d.) พบวา การจัดการเรียนการสอนรูปแบบดังกลาวสามารถ<br />

สงเสริม และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณได<br />

กลาวโดยสรุปเมื่อวิเคราะหความหมายของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่<br />

ประกอบดวย 5 ดาน ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ<br />

และการประเมินขอโตแยงนั้น<br />

พบวามีความเกี่ยวของกับการตั้งสมมติฐาน<br />

การรวบรวมขอมูล การ<br />

ตีความหมายขอมูล การสรุปประเด็นปญหาที่สําคัญ<br />

การคิดในการแกปญหา รวมทั้งการใชเหตุผล<br />

เพื่อนําขอสรุปที่ไดสามารถนําไปใชในการประเมินขอโตแยงตาง<br />

ๆ ได สอดคลองกับ วรรณทิพา<br />

(2545: 50) ; Atkinson (1961: 108-165 อางถึงใน วีระ, 2525: 2) กลาววา การคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

มีความเกี่ยวพันกับการเรียนรู<br />

วิธีคิดในการแกปญหาของนักเรียน และยังเกี่ยวของกับการรวบรวม<br />

ขอมูล การตีความหมายขอมูล การสรุปโดยใชขอมูลประกอบการพิจารณาโดยไมบิดเบือนไปจาก<br />

ขอมูลที่มีอยู<br />

รวมถึงการนําขอสรุป หลักการ การลงความเห็นไปใชในสถานการณใหม ๆ และ<br />

สามารถประเมิน อธิบายได<br />

99


ตอนที่<br />

3<br />

จากการศึกษาคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

พบวา คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05 สอดคลองกับ<br />

ผลการวิจัยของ สถิตย (2545) ; Maura (2001-2002) พบวา คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.01<br />

100


บทที่<br />

5<br />

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

การศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 สรุปผลการวิจัยได ดังนี้<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย (เพื่อศึกษา)<br />

1. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

2. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร จําแนกตามการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตรซึ่งประกอบดวย<br />

5 ดาน ไดแก การอางอิง การยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

การนิรนัย การแปลความ และการประเมินขอโตแยง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

3. ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร จําแนกตามเพศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

สมมติฐานการวิจัย<br />

ในการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน<br />

ชายและนักเรียนหญิง มีสมมติฐานที่วา<br />

คะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05


วิธีดําเนินการวิจัย<br />

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย<br />

กลุมตัวอยางใชในการวิจัยครั้งนี้<br />

คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ที่ไดจากการสุมแบบ<br />

ตัวอยางแบบชั้นภูมิอยางเปนสัดสวน<br />

(Proportionate Stratified Sampling) จํานวน 1,537 คน<br />

แบงเปนนักเรียนชาย 652 คน นักเรียนหญิง 885 คน<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณญาณทางวิทยาศาสตร ซึ่งผูวิจัยเปนผูสรางขึ้นตามแนวทาง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and<br />

B 1980 จํานวน 40 ขอ แบงเปน 5 ตอน ตอนละ 8 ขอ<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ผูวิจัยนําแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ไปเก็บขอมูลกับนักเรียนในกลุมตัวอยาง<br />

ในชวงเดือน มกราคม 2549 โดยผูวิจัยเก็บขอมูลดวย<br />

ตนเอง โดยใชเวลาในการทดสอบในแตละโรงเรียนไมต่ํากวา<br />

2 วัน<br />

การวิเคราะหขอมูล<br />

ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการ<br />

1. วิเคราะห คาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก ความเที่ยงแบบความสอดคลอง<br />

ภายใน โดยใชวิธีของ Kuder-Richardson (K-R 20) (ดูภาคผนวก ค)<br />

3. สรางเกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร โดยแปลง<br />

คะแนนดิบ เปนคะแนนมาตรฐานที นอกจากนี้ยังคํานวณหาตําแหนงเปอรเซ็นตไทล<br />

(ดูภาคผนวก ง)<br />

102


4. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 โดยใชการ<br />

เปรียบเทียบคาคะแนนเฉลี่ยระหวางสองกลุมที่เปนอิสระตอกัน<br />

(Two independent samples test)<br />

สถิติที่ใช<br />

Approximation Z-test<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

1. นักเรียนในกลุมตัวอยางมีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

อยูใน<br />

ระดับสูง (>T52) คิดเปนรอยละ 43.50 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร อยูในระดับปาน<br />

กลาง (T52-T34) คิดเปนรอยละ 49.07 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร อยูในระดับ<br />

ต่ํา<br />

(T52) คิด<br />

เปนรอยละ 39.62 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ 54.52 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการอางอิง อยูใน<br />

ระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ 37.93 การคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34)<br />

คิดเปนรอยละ 55.89 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

อยูในระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ 36.76 การคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดานการนิรนัย อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ 55.43 การคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย อยูในระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ<br />

40.66 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-<br />

T34) คิดเปนรอยละ 50.62 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการแปลความ อยูใน<br />

ระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ 35.20 การคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ 56.35<br />

103


การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการประเมินขอโตแยง อยูในระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ 45.08 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ45.69 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร อยูในระดับต่ํา<br />

(T52) คิดเปนรอยละ 41.26 การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

(T52-T34) คิดเปนรอยละ51.51 และการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร อยูในระดับต่ํา<br />

(


การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรอยูในระดับที่สูงขึ้น<br />

โดยครูผูสอนสามารถที่จะชวย<br />

สงเสริม และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียนได<br />

3. จากผลการวิจัย พบวาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยการคิด<br />

ยอย ๆ 5 ดานนั้น<br />

ทุกดานของการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรมีความสําคัญเทา ๆ กัน<br />

เพื่อเปนการสงเสริมการคิดทั้ง<br />

5 ดาน สถานศึกษาจึงควรจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดมี<br />

ปฏิสัมพันธกัน เพื่อเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น<br />

อภิปรายกัน โดยใช<br />

กระบวนการกลุมชวย<br />

จัดสถานการณจริงโดยใชการแกปญหาทางวิทยาศาสตร การใชทักษะ<br />

กระบวนการทางวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร กิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร เปนตน<br />

4. ควรมีการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรกอนเรียน และ<br />

หลังเรียนทุกครั้ง<br />

เพื่อนําขอมูลที่ไดเปนพื้นฐานในการจัดรูปแบบการเรียนการสอน<br />

ใหเหมาะสมกับ<br />

ระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรของนักเรียน<br />

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป<br />

1. ควรมีการศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน ในวิชา<br />

ฟสิกส เคมี ชีววิทยา เพื่อที่จะไดนําผลการวิจัยมาใชในการจัดการเรียนการสอนในแตละวิชา<br />

2. ควรมีการศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน โดยใช<br />

รูปแบบการประเมินผลระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่หลากหลาย<br />

เชน<br />

การสัมภาษณ การใชแบบวัดแบบอัตนัย เปนตน<br />

3. ควรมีการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร วามีความสอดคลองกับ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน หรือไม<br />

4. ควรมีการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู<br />

ของนักเรียน วามีความสอดคลองกับการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน หรือไม<br />

105


5. ควรมีการศึกษาความสัมพันธระหวางการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร กับการ<br />

คิดสรางสรรค หรือกับการคิดวิเคราะห หรือกับการคิดอยางเปนเหตุผล หรือกับการคิดเชิง<br />

วิทยาศาสตร หรือทั้ง<br />

5 การคิดของการคิดขั้นสูง<br />

ของนักเรียน<br />

6. ควรศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับนักเรียนชาย<br />

และนักเรียนหญิง<br />

ที่มีผลตอการสงเสริม<br />

และพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

7. ควรมีการศึกษาสาเหตุของนักเรียนที่มีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

อยูในระดับปานกลาง<br />

และระดับต่ํา<br />

106


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กนกวรรณ โพธิ์ทอง.<br />

2545. รายงานการวิจัย เรื่อง<br />

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ ในวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

5 โดยวิธีการเรียน<br />

แบบรวมมือแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์.<br />

สํานักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม<br />

เขตการศึกษา 1 กระทรวงศึกษาธิการ.<br />

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2534. วัตถุประสงค นโยบาย และมาตรฐานในการพัฒนา<br />

การศึกษาของแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่<br />

7 (พ.ศ.2535-2539). วารสารการศึกษา<br />

แหงชาติ. (กุมภาพันธ-มีนาคม 2534): 33-34.<br />

. 2541. ทิศทางการจัดหลักสูตรศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

เอกสารประกอบสัมมนาเชิงวิชาการระดม<br />

ความคิดเห็น วันพฤหัสบดี ที่<br />

26 กุมภาพันธ 2541 เวลา 13.00-17.00 น ณ หองกมล<br />

ทิพย 1 โรงแรมสยามซิติ้.<br />

กรุงเทพมหานคร (อัดสําเนา).<br />

. 2544. ศัพทบัญญัติการศึกษา ฉบับกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร:<br />

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.<br />

. 2546. คูมือสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร.<br />

กรุงเทพมหานคร:<br />

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.<br />

กองนโยบายและแผน สํานักคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. 2545. รายงานการศึกษา สภาพการ<br />

จัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ของโรงเรียนเอกชน<br />

ประเภทสามัญ. สํานักคณะกรรมการการศึกษาเอกชน.<br />

เกรียงศักดิ์<br />

เจริญวงศศักดิ์.<br />

2547. การคิดเชิงวิพากษ (Critical Thinking). พิมพครั้งที่<br />

7.<br />

กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซัคเซส มีเดีย จํากัด.


เคน จันทรวงษ. 2546. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

ของ<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 ที่เรียนเรื่องสิ่งแวดลอมในประเทศไทยดวยการสอนแบบ<br />

อริยสัจ และการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึ่ม.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย-<br />

ศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

ชาติ แจมนุช. 2545. สอนอยางไรใหคิดเปน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเลี่ยงเชียง.<br />

ชาลิณี เอี่ยมศรี.<br />

2536. การพัฒนาแบบสอบการคิดวิจารณญาณ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป<br />

ที่<br />

6. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

ชัยอนันต สมุทวณิช. 2542. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู.<br />

ใน พิทยา วองกุล. (บรรณาธิการ).<br />

ปฏิวัติ การศึกษาไทย แกปญหาฆาตกรรมทางจิตวิญญาณ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ<br />

บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 43-44.<br />

ณรัณ ศรีวิหะ วิรัตน ธรรมาภรณ และสริภพ กาฬสุวรรณ. 2547. การพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะ<br />

กระบวนการทางวิทยาศาสตรโดยใชทฤษฎีการตอบสนองขอสอบ สําหรับนักเรียนชั้น<br />

ประถมศึกษาปที่<br />

6. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศึกษาศาสตรและมนุษยศาสตร ป<br />

ที่<br />

10 ฉบับที่<br />

1: 15.<br />

นวลจิตต เชาวกีรติพงศ . 2544. คุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด.<br />

ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ.<br />

(บรรณาธิการ). วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบริษัท เดอะมาสเตอร<br />

กรุป<br />

แมเจนเมนท, หนา 113.<br />

นิพล นาสมบูรณ. 2536. ผลการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตดวยกระบวนการทาง<br />

วิทยาศาสตรที่มีผลตอความสามารถในการวิเคราะหวิจารณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป<br />

ที่6.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

นิรมล พงศเศรษฐสันต. 2542. การวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.<br />

ในเรื่อง<br />

การศึกษาเปรียบเทียบการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนในระดับชั้น<br />

มัธยมศึกษาตอนปลายในเขตเทศบาลนครขอนแกน<br />

108


(Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.org/result/result.php?id=789. 18/01/2549<br />

พงษเทพ บุญศรีโรจน. 2545. คิดอยางมีวิจารณญาณ. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร<br />

และเทคโนโลยี ปที่<br />

30 ฉบับที่<br />

116: 35-38.<br />

พรศรี ดาวรุงสวรรค.<br />

2548. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรและความสามารถใน<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ที่ไดรับการสอนโดยชุด<br />

กิจกรรมแกปญหาทางวิทยาศาสตร. สารนิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

พรรณี ช. เจนจิต. 2538. จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่<br />

4. กรุงเทพมหานคร: บริษัท<br />

ตนออ แกรมมี่<br />

จํากัด.<br />

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). 2544. พุทธวิธีในการสอน. พิมพครั้งที่<br />

8. กรุงเทพมหานคร:<br />

โรงพิมพ บริษัท สหธรรมิก จํากัด.<br />

พิชิต สนั่นเอื้อ.<br />

2542. ผลการฝกคิดอยางมีวิจารณญาณ แบบสอดแทรกในวิชาที่มีตอความสามารถ<br />

ทางการแกปญหาเชิงวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนศึกษา<br />

สงเคราะหสกลนคร. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

พิรุณ ศิริศักดิ์.<br />

2547. ผลของการจัดกิจกรรมชุมชนแหงการสืบสอบเชิงปรัชญาที่มีตอการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน<br />

ปลาย กรุงเทพมหานคร (Online). แหลงที่มา:<br />

www.rajinibon.ac.thresearchpdffile1.pdf.<br />

10/10/2548<br />

เพ็ญพิศุทธิ์<br />

เนคมานุรักษ. 2536. การพัฒนารูปแบบพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ สําหรับ<br />

นักศึกษาครู. วิทยานิพนธปริญญาเอก, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

ปกรณ ไพรอังกูร. 2547. การสรางแบบประเมินและการพัฒนาการคิดวิจารณญาณของนักเรียน<br />

นายรอยตํารวจ. วิทยานิพนธปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

109


ประเทืองทิพย นวพรไพศาล. 2534. การตรวจสอบแบบสอบการคิดวิจารณญาณของวัตสันและ<br />

เกลเซอร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณ-<br />

มหาวิทยาลัย.<br />

ปยะวรรณ สุขเกษม. 2541. การศึกษาพฤติกรรมการสอนกระบวนการทางวิทยาศาสตรในวิชาเคมี<br />

ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดบุรีรัมย. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

มลิวัลย สมศักดิ์.<br />

2540. รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนใน<br />

โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน.<br />

วิทยานิพนธปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยศรี-<br />

นคริทรวิโรฒ.<br />

เยาวดี วิบูลยศรี. 2540. การวัดผลและการสรางแบบสอบผลสัมฤทธิ์.<br />

พิมพครั้งที่<br />

2.<br />

กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

วรรณภา โพธิ์สอาด.<br />

2542. ศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณกับความสามารถใน<br />

การแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา<br />

จังหวัดปทุมธานี.<br />

กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

วรรณทิพา รอดแรงคา. 2545. รายงานเรื่อง<br />

การสังเคราะหวิทยานิพนธระดับมหาบัณฑิต สาขา<br />

การสอนวิทยาศาสตร ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

ตั้งแตปการศึกษา<br />

2521-2544. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

วรรณทิพา รอดแรงคา และพิมพันธ เดชะคุปต. 2542. การพัฒนาการคิดของครูดวยกิจกรรม<br />

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร. พิมพครั้งที่<br />

2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบริษัท<br />

เดอะมาสเตอรกรุป<br />

แมเจนเมนท.<br />

110


วิไลวรรณ ปยะกรณ. 2535. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรทักษะกระบวนการทาง<br />

วิทยาศาสตร และความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา<br />

ปที่<br />

1 ที่เรียนดวยการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

วีระ เมืองชาง. 2525. การศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณ กับการแกปญหาเชิง<br />

วิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนจันทรประดิษฐารามวิทยาคม<br />

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ทิศนา แขมมณี . 2544ก. ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่เปนสากลเกี่ยวกับการคิด<br />

ในชวงศตวรรษ<br />

ที่<br />

20. ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ. (บรรณาธิการ). วิทยาการดานการคิด.<br />

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบริษัท เดอะมาสเตอรกรุป<br />

แมเจนเมนท, หนา 19-22.<br />

. 2544ข. กระบวนการคิด. ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ. (บรรณาธิการ). วิทยาการดาน<br />

การคิด. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบริษัท เดอะมาสเตอรกรุป<br />

แมเจนเมนท, หนา 153-<br />

154.<br />

ทักษินันท หิรัญเกิด. 2543. การวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ใน<br />

เรื่อง<br />

ผลการสอนโดยใชวิธีการสอนแบบแกปญหาที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิด<br />

อยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 (Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.orgresultresult.phpid=732.htm. 19/01/2549<br />

บุญเรียง ขจรศิลป. 2545. สถิติวิจัย I. พิมพครั้งที่<br />

8. กรุงเทพมหาคร: หจก. พี. เอ็น. การพิมพ.<br />

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. 2546. เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตรศึกษา (Information<br />

Technology in Science Education ). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

. 2547. โครงงานวิทยาศาสตรไอซีทีกับการวิจัยในชั้นเรียน.<br />

วารสารศึกษาศาสตรปริทัศน<br />

ปที่<br />

19 ฉบับที่<br />

1: 27.<br />

111


เบญจมาศ สันประเสริฐ. 2533. การศึกษาผลการสอนที่ใชแบบฝกทักษะการทดลองที่มีตอผลสัมฤทธิ์<br />

ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และความคิดวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

รตาพร ศิวะวณิชกุล. 2547. ผลของโปรแกรมการพัฒนาการคิดอยางมีวิจารณญาณ ที่มีตอ<br />

ความสามารถในการแกปญหา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 โรงเรียนไทยนิยม<br />

สงเคราะห กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร:<br />

บริษัท นานมีบุคสพับลิเคชั่นส<br />

จํากัด.<br />

รัตนา ศิริพานิช. 2542. เชาวปญญา และการทดสอบ. ใน จิราภา เต็งไตรัตน และคณะ.<br />

(บรรณาธิการ). จิตวิทยาทั่วไป.<br />

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,<br />

หนา 284-288.<br />

ศรินธร วิทยะสิรินันท. 2544. ทักษะการคิด. ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ.(บรรณาธิการ).<br />

วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ บริษัทเดอะมาสเตอรกรุป<br />

แมเนจ<br />

เมนท จํากัด, หนา 118-140.<br />

ศรินธร วิทยะสิรินันท, ทิศนา แขมมณี และพิมพันธ เดชะคุปต. 2544. ทฤษฎี และแนวคิดรวม<br />

สมัยเกี่ยวกับการคิดจากประเทศทางซีกโลกตะวันตก.<br />

ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ.<br />

(บรรณาธิการ). วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ บริษัทเดอะ<br />

มาสเตอรกรุป<br />

แมเนจเมนท จํากัด, หนา 60-61.<br />

ศิริชัย กาญจนวาสี. 2544ก. แบบสอบมาตรฐานเพื่อวัดความสามารถในการคิดจากตางประเทศ.<br />

ใน<br />

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (บรรณาธิการ). วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพมหานคร:<br />

สํานักพิมพ บริษัทเดอะมาสเตอรกรุป<br />

แมเนจเมนท จํากัด, หนา 182-189.<br />

. 2544ข. การวัดและประเมินความสามารถในการคิด. ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ.<br />

(บรรณาธิการ). วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ บริษัทเดอะ<br />

112


มาสเตอรกรุป<br />

แมเนจเมนท จํากัด, หนา 171.<br />

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2543. รายงานการประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ<br />

การศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในภาครัฐ และเอกชน สาขาวิทยาศาสตร<br />

คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ-<br />

มหาวิทยาลัย.<br />

ศันสนีย ฉัตรคุปต และอุษา ชูชาติ. 2544. รายงานเรื่อง<br />

ฝกสมองใหคิดอยางมีวิจารณญาณ<br />

(Critical Thinking). กรุงเทพมหานคร: บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด.<br />

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2543. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู.<br />

พิมพครั้งที่<br />

2.<br />

กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน จัดพิมพ.<br />

ลักษณีย โคตรสีเขียว. 2545. ฐานขอมูลการวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ. ในเรื่อง<br />

การใชกระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรูเพื่อพัฒนาความสามารถ<br />

ดานการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนในวิชาวิทยาศาสตร (Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.orgresultresult.phpid=4594.htm. 19/01/2549<br />

สถาบันสงเสริมการประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการ<br />

การศึกษาแหงชาติ. 2543. มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก<br />

ระดับ<br />

การศึกษาขั้นพื้นฐาน.<br />

กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัด<br />

วี ที ซี คอมมิวนิเคชั่น.<br />

สถิต พิมพทราย. 2545. ฐานขอมูลการวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ. ในเรื่อง<br />

การพัฒนาแบบทดสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ สําหรับนักเรียนชั้น<br />

ประถมศึกษาปที่<br />

5 และชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 (Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.org/resuit/infp2.php?=6163. 26/02/2548<br />

สมพร สุทัศนีย, ม.ร.ว. 2545. การทดสอบทางจิตวิทยา. พิมพครั้งที่<br />

2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

113


สุพรรณี สุวรรณจรัส. 2543. ฐานขอมูลการวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ. ในเรื่อง<br />

ผลของการฝกใชเทคนิคแผนผังทางปญญาที่มีตอการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

2 (Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.orgresultresult.phpid=4020.htm. 20/02/2549<br />

สุภาพร สอนวงษ. 2544. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การฝกอบรมโปรแกรมไมโครซอฟเอ็กเซล<br />

ระหวางวิธีการสอนแบบอุปนัยและนิรนัย. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

สุรศักดิ์<br />

นิ่มนวล.<br />

2543. ผลของวิธีการเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ที่มีตอ<br />

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเคมี<br />

และทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้น<br />

มัธยมศึกษาปที่<br />

4. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. 2545. 21 วิธีจัดการเรียนรู:<br />

เพื่อพัฒนากระบวนการคิด.<br />

กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวน<br />

จํากัด การพิมพ.<br />

สันตธวัช ศรีคําแท. 2537. การศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณ กับการนําความรู<br />

ทางวิทยาศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนทา<br />

มะปรางวิทยา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2 . 2548.<br />

แบบรายงานจํานวนนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น<br />

พื้นฐาน.<br />

(Online). แหลงที่มา:<br />

www. 210.1.20.11web2548reportindex.php.htm.<br />

5/07/2548<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2540. ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด<br />

ตนแบบการเรียนรูทางดานหลักทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ.<br />

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไอ<br />

เดียสแควร.<br />

. 2541. การปฏิรูปการเรียนรูตามแนวคิด<br />

5 ทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร:<br />

114


โรงพิมพไอเดียสแควร.<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542<br />

และที่แกไขเพิ่มเติม<br />

(ฉบับที่<br />

2). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.<br />

หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. 2539. เอกสารพัฒนาการ<br />

เรียนการสอนกลุมทักษะคณิตศาสตร<br />

ชั้นประถมศึกษาปที่<br />

6 โครงการอบรมครูผูสอน<br />

คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ป 2539. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.<br />

อนันต ศรีโสภา. 2520. การวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ ไทย<br />

วัฒนาพานิช จํากัด.<br />

อรสา เอี่ยมสอาด.<br />

2548. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตรและความสามารถในการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

1 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรม<br />

วิทยาศาสตรเพื่อสงเสริมการคิดอยางมีวิจารณญาณ.<br />

สารนิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.<br />

อุทุมพร วรรณะศิลปน. 2542. ฐานขอมูลการวิจัยการศึกษา ศาสนา สํานักคณะกรรมการการศึกษา<br />

แหงชาติ. ในเรื่อง<br />

ผลการใชแบบฝกการคิดอยางมีวิจารณญาณในการทําโครงการ<br />

วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม<br />

(Online). แหลงที่มา:<br />

www.thaiedresearch.orgresultresult.phpid=1463.htm. 20/02/2549<br />

Anastasi, A. 1982. Psychological testing. 5th ed. New York: Macmillan<br />

Atkinson, S.K. 1961. The Educator , s Encyclopedia. New Jersy. Prentice-Hall, Inc. อางถึงใน<br />

วีระ เมืองชาง. 2525. การศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดวิจารณญาณ กับการ<br />

แกปญหาเชิงวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 โรงเรียนจันทรประดิษฐาราม<br />

วิทยาคม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

115


Anderson, H.O. 1967. An Analysis of a Method for Improving Problem Solving Skill<br />

Possessed by College Student Preparing to Purse Science Teaching as a<br />

Profession. Dissertation Abstracts International. 29 ( October 1967): 3332-A.<br />

Beyer, Barry K. 1985. Critical Thinking. What is it. Social Education. (October 1985): 297-<br />

303.<br />

. 1991. Practical Strategies for the Teaching of Thinking. Boston: Allyn and<br />

Bacon, Inc.<br />

Center for Critical Thinking. 1996. What is Relationship Between Critical Thinking and<br />

Problem Solving?. Critical Thinking Workshop handbook. (Online) Available:<br />

www.sonoma.edu/cthink/,winter/spring,1996 อางถึงใน สํานักงานคณะกรรมการ<br />

การศึกษาแหงชาติ. 2540. ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิดตนแบบการเรียนรู<br />

ทางดานหลักทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไอเดียสแควร.<br />

Cruz-Rames. 1971. Discovery-Centered Versus Teacher-Centered. Newsletter from the<br />

Asian Institute for Teach Educator University of Philippines. 6(May 1971): 12.<br />

Crouch, G. J. , Quitadamo, I. J. and Jayn, C.B. n.d. A New Method of Evaluating the<br />

Effects of Small Group Collaborative Learning on Critical Thinking in<br />

Undergraduate Science and Mathematics Courses (Online) Available:<br />

www.chem.wsu.edufacultyprofile.pdf. 26/02/2548<br />

Dressel, P.L. and Maythew, L.B. 1957. General education : Explorations in Evaluation.<br />

2nd ed. Washington, D.C. American Council on Education.<br />

Epstein, R. L. n.d. Critical Thinking Across the Curriculum. Definition of Critical Thinking.<br />

(Online) Available: www. planet. tvi. cc.nm.us/ctac/definect.htm. 16/01/2548<br />

116


Ennis, R. H. 1967. A Concept of Critical Thinking Aproposed Basis for Research in the<br />

Teaching and Evaluation of Critical Thinking Ability. Psychological Concept in<br />

Education. Chicago: Rand Mcnally and Company.<br />

. 1985. A logical basis for measuring critical thinking skill. Educational<br />

Leadership. 43 (October 1985): 45-48.<br />

. 1990. The Extent to which Critical Thinking is subject specific: Further<br />

Classification. Educational Research. 19 (May 1990): 13-16.<br />

. 1995. Critical Thinking Across the Curriculum. Definition of Critical Thinking.<br />

(Online) Available: www. planet. tvi. cc.nm.us/ctac/definect.htm. 16/01/2548<br />

George, Keneth. D. 1968. The Effect of Critical Thinking Upon Course Grades in Biology.<br />

Journal of Science Eduaction. 52 (5): 421.<br />

Griffitts, D.C. 1987. The effect of activity-oriented science instruction on the development<br />

of critical thinking skills and achievement. Dissertation Abstracts International.<br />

48 (5) (November 1987): 1102-A.<br />

Guilford, J.P. 1956. Creativity American Psychologist. New York: McGraw-Hill cited<br />

Watson, G. and Glaser, E. 1964. Watson -Glaser Critical Thinking Appraisal<br />

Manual. New York: Harcourt Brace and Word, Inc.<br />

. 1967a. The nature of human intelligence. New York: McGraw- Hill.<br />

. 1967b. Structure of Intellect (J.P. Guilford) (Online) Available:<br />

www. tip.psychology.orgguilford.html.htm. 16/12/2548<br />

117


Hilgard, E.R. 1962. Introduction of Psychology. 3rd edition. New York and Burlingame:<br />

Harcourt , Brace and World, Inc.<br />

Hundgins, B. B. 1977. Learning and Thinking. Illinois: F.E. Peacoch Publisheres, Inc.<br />

Kleinman, G.S. 1963. General Science Teacher’s Pupil and Teacher Behavior and Pupils<br />

Understanding of Science. Dissertation Abstracts International. 25 (March 1963):<br />

5153-4A.<br />

Maura, M.S. 2001-2002. Watson Glaser Critical Thinking Maple Woods. (อัดสําเนา).<br />

Mcpeck, J.E. 1990. Teaching CRITICAL THINKING. New York: Routiedge.<br />

Norris, S.P. 1985. Synthesis of Research on Critical Thinking. Educational Leadership.<br />

42 (May 1985): 40-45.<br />

Paul, R.W. 1985. Taxonomy and Critical Thinking Instruction. Educational Leadership.<br />

42 (8): 36-39.<br />

Paul, R. n.d. Critical Thinking Across the Curriculum. Definition of Critical Thinking.<br />

(Online) Available: www. planet. tvi. cc.nm.us/ctac/definect.htm. 16/01/2548<br />

Peter, A. F. 1990. Critical Thinking: A Statement of Expert Consensus For<br />

Purposes of Educational Assessment and Instruction. (อัดสําเนา).<br />

. 2004. Critical Thinking What It Is and Why It Counts. (Online) Available:<br />

www.calpress.com.pdf. 30/11/2548<br />

Shepherd , N.G. 1998. The probe-base learning model’s affect on critical thinking skill of<br />

fourth and fifth grade social studies students. Dissertation Abstracts International.<br />

118


59 (1989): 0779A.<br />

Trojcak, D.A. 1979. Science with children. New York: McGraw-Hill Book Company.<br />

อางถึงใน บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. 2546. เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตรศึกษา<br />

(Information Technology in Science Education ). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

Watson, G. and Glaser, E. 1964. Watson -Glaser Critical Thinking Appraisal Manual.<br />

New York: Harcourt Brace and Word, Inc.<br />

. 1980. Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal<br />

Manual :Form A and B. New York: Harcourt Brace Jovanovich, Inc.<br />

William, M. G. 2005. Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal, Form-S for education<br />

majors. (Online) Available: www.highbeam. comlibrarydocfree. aspDOCID. 7/01/2549<br />

Woolfolk, A.E. 1987. Eduactional Psychology. 3rd ed. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.<br />

Yamane,T. 1967. Elementary sampling theory. London: Pretice-Hall.<br />

Zeidler, D.L. , Lederman, N.G. and Taylor, S.C. 1962. Fallcies and Student Discourse:<br />

Conceptualizing the Role of Critical Thinking in Science Education. Science<br />

Education. 76 (July 1962): 437-450.<br />

119


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก<br />

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ<br />

121


รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัด<br />

1. ดร. นฤมล ศราธพันธุ<br />

คณะศึกษาศาสตร<br />

ภาควิชาอาชีวศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

2. อาจารยวิไลวรรณ ปยะกรณ อาจารยกลุมสาระวิทยาศาสตร<br />

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

มหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

3. อาจารยประเทืองทิพย นวพรไพศาล อาจารยวิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพ<br />

4. นายพงษเทพ บุญศรีโรจน รองผู<br />

อํานวยการ สถาบันสงเสริมการสอน<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

122


ภาคผนวก ข<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

123


แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

1. แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรฉบับนี้<br />

ไดแบงแบบวัดออกเปน 5<br />

ตอน จํานวน 40 ขอ ใชเวลาทํา 1 ชั่วโมง<br />

โดยในแตละตอนจะมีคําชี้แจง<br />

คําสั่ง<br />

และความหมาย<br />

ของการคิดในแตละดาน ขอใหนักเรียนอานดวยความตั้งใจ<br />

และความรอบคอบ สวน<br />

กระดาษคําตอบจะอยูดานทายของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณฉบับนี้<br />

2. การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (Critical Thinking in Science) หมายถึง<br />

การคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือสถานการณ และเปนการคิดอยางมีเหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ<br />

แลวนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ที่เกี่ยวของกับขอมูล<br />

ขาวสาร<br />

ประเด็นปญหา การทดลอง ขอสรุป และแนวคิดทางวิทยาศาสตร<br />

ประกอบดวย การคิดที่ตองการศึกษามีรายละเอียด<br />

ดังนี้<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

ตอนที 1 การอางอิง (ขอที 1- 8) รวม 8 ขอ<br />

ตอนที 2 การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(ขอที 9 - 16) รวม 8 ขอ<br />

ตอนที 3 การนิรนัย (ขอที 17 - 24) รวม 8 ขอ<br />

ตอนที 4 การแปลความ (ขอที 25 - 32 ) รวม 8 ขอ<br />

ตอนที 5 การประเมินขอโตแยง (ขอที 33 - 40) รวม 8 ขอ<br />

3. วิธีการตอบคําถาม<br />

ใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดใหในแตละขอแลวพิจารณาตามความหมายการคิดใน<br />

แตละดานที่กําหนดขึ้น<br />

ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว<br />

แลวทําเครื่องหมาย<br />

( × ) ในชองของกระดาษคําตอบ เชน ถานักเรียนเลือกตัวเลือก ก. ดังตัวอยาง<br />

่ ขอที ก. ข. ค. ง.<br />

0. ×<br />

ถาตองการเปลี่ยนแปลงตัวเลือกใหมใหทําเครื่องหมาย<br />

( × ) ทับตัวเลือกที่ตองการเปลี่ยน<br />

เชน ถานักเรียนเปลี่ยนตัวเลือกใหม<br />

จากตัวเลือก ก. เปนตัวเลือก ง. ดังตัวอยาง<br />

ขอที<br />

่ ก. ข. ค. ง.<br />

0. × ×<br />

124


4. แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการวิจัย<br />

ขอใหนักเรียนทําแบบวัดดวยความตั้งใจ<br />

ความรอบคอบ และตอบคําถามใหครบทุกขอ หากพบขอ<br />

ใดที่ยากใหเวนขามไปกอนแลวคอยยอนกลับมาทําใหมใหครบ<br />

คะแนนที่ไดจากการทําแบบวัดฉบับ<br />

นี้จะเปนตัวบงชี้ถึงการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของตัวนักเรียนเอง<br />

5. การตรวจใหคะแนน<br />

ขอที่ตอบถูก<br />

ได 1 คะแนน<br />

ขอที่ตอบผิด<br />

หรือไมตอบ หรือตอบมากกวา 1 คําตอบ ได 0 คะแนน<br />

คะแนนเต็ม 40 คะแนน<br />

125


คําชี้แจง<br />

สถานการณที่<br />

3 ใชตอบคําถามขอที่<br />

5 - 6<br />

ตอนที่<br />

1<br />

การอางอิง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ตอนที่<br />

1 คือ การอางอิง มีจํานวน<br />

8 ขอ เริ่มจากขอที่<br />

1 ถึง 8 ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอ<br />

การอางอิง (Inference) หมายถึง การคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไป<br />

ไดของขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดใหแลวพิจารณาขอสรุปใด<br />

เปนจริงมากที่สุด<br />

ขอสรุปใด ไมเปนจริง มากที่สุด<br />

นักวิจัย กลาวเตือนวา ในภาวะปจจุบันพลังงานจากน้ํามันและแกสที่ใชกันมีใช<br />

อยางจํากัด เราจึงตองหาพลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงาน<br />

นิวเคลียร ซึ่งพลังงานทดแทนเหลานี้แพรหลายในประเทศที่พัฒนาแลว<br />

เชน สหรัฐอเมริกา<br />

อังกฤษ เยอรมันนี แคนนาดา เปนตน มาใชใหทันเวลา<br />

5. ขอสรุปขอใด เปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ก. ราคาน้ํามันและแกสมีแนวโนมคงที่<br />

ข. พลังงานทดแทนมีใชในทุกประเทศ<br />

ค. น้ํามันและแกสมีโอกาสที่จะหมดได<br />

ง. นักวิจัยเชื่อวาจะสามารถผลิตพลังงานทดแทนได<br />

6. ขอสรุปขอใด ไมเปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ก. การใชพลังงานทดแทนไดรับการยอมรับจากทุกประเทศ<br />

ข. การผลิตพลังงานทดแทนจะตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงจึงใชในบางประเทศ<br />

ค. การใชพลังงานทดแทนสวนใหญแพรหลายเฉพาะในกลุมประเทศอุตสาหกรรม<br />

ง. การใชพลังงานทดแทนควรคัดเลือกใหเหมาะสมกับความพรอมของแตละประเทศ<br />

126


คําชี้แจง<br />

ตอนที่<br />

2<br />

การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ตอนที่<br />

2 คือ การยอมรับขอตกลง<br />

เบื้องตน<br />

มีจํานวน 8 ขอ เริ่มจากขอที่<br />

9 ถึง 16 ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอ<br />

การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) หมายถึง<br />

การคิดในการพิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนอานขอสรุปที่กําหนดใหในแตละขอ<br />

แลวพิจารณาขอตกลงเบื้องตนขอใด<br />

เกิดขึ้นกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

15. ขอสรุปที่วา<br />

“ นกกระยางกินปลาเปนอาหาร” ขอความใดเปนขอตกลงเบื้องตนกอนที่จะได<br />

ขอสรุปขางตน<br />

ก. สัตวทุกชนิดกินปลาเปนอาหาร<br />

ข. สัตวทุกชนิดชอบกินปลาเปนอาหาร<br />

ค. สัตวบางชนิดไมกินปลาเปนอาหาร เชนนก<br />

ง. สัตวบางชนิดเทานั้นที่กินปลาเปนอาหาร<br />

เชนนก<br />

16. ขอสรุปที่วา<br />

“ กรดทุกประเภทมีรสเปรี้ยว”<br />

ขอความใดเปนขอตกลงเบื้องตนกอนที่จะได<br />

ขอสรุปขางตน<br />

ก. ผลไมที่มีรสเปรี้ยวเปนกรด<br />

ข. กรดบางประเภทมีรสเปรี้ยว<br />

ค. ผลไมที่มีรสเปรี้ยวไมเปนกรด<br />

ง. กรดบางประเภทไมมีรสเปรี้ยว<br />

127


คําชี้แจง<br />

ตอนที่<br />

3<br />

การนิรนัย<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ตอนที่<br />

3 คือ การนิรนัย มีจํานวน<br />

8 ขอ เริ่มจากขอที่<br />

17 ถึง 24 ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอ<br />

การนิรนัย (Deduction) หมายถึง การคิดในการพิจารณาของขอสรุปจากหลักการใหญ<br />

ไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อหาขอสรุปจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนพิจารณาสถานการณที่กําหนดใหที่เปนเหตุ<br />

เปนผลกัน แลวอานขอสรุปที่<br />

กําหนดให และตัดสินของขอสรุปวาสรุปไดตามสถานการณที่กําหนดไวหรือไม<br />

20. น้ําคางเกิดจากการควบแนนของไอน้ํา<br />

ไอน้ําเกิดจากการระเหยของน้ํา<br />

ดังนั้น<br />

ก. น้ําเกิดจากไอน้ํา<br />

ข. น้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

ค. น้ําคางเกิดจากน้ํา<br />

ง. ไอน้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

23. เหล็กเปนโลหะ โลหะทุกชนิดยกเวนปรอทเปนของแข็ง ดังนั้น<br />

ก. ปรอทเปนของแข็ง ข. เหล็กเปนของแข็ง<br />

ค. โลหะทุกชนิดเปนของแข็ง ง. เหล็กไมเปนของแข็ง<br />

128


คําชี้แจง<br />

สถานการณที่<br />

5 ใชตอบคําถามขอที่<br />

25-26<br />

ตอนที่<br />

4<br />

การแปลความ<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ฉบับที่<br />

4 คือ การแปลความ มี<br />

จํานวน 8 ขอ เริ่มจากขอที่<br />

25 ถึง 32 ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอ<br />

การแปลความ (Interpretation) หมายถึง การคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็น<br />

ปญหาที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหา<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดใหแลวพิจารณาประเด็นปญหา<br />

และขอสรุป<br />

จากสถานการณที่กําหนดไว<br />

คุณพอของ นายสมชาย ทําเนื้อยางรับประทานโดยเนื้อที่จะใชยางตองหมักกับสารที่ได<br />

จากผลไมชนิดหนึ่ง<br />

วันหนึ่ง<br />

นายสมชาย ทําเนื้อยางใหคุณพอรับประทาน<br />

แตทําการหมัก<br />

เหมือนกับคุณแมทํา คุณพอของ นายสมชาย บอกวา “เนื้อไมนุมเหมือนที่พอทํา”<br />

25. ขอใดเปนประเด็นปญหาที่สําคัญที่สุด<br />

ก. เนื้อยางของใครนุมที่สุด<br />

ข. ระยะเวลาที่ใชหมักเนื้อแลวทําใหเนื้อนุม<br />

ค. สวนผสมที่ใชหมักเนื้อยางแลวทําใหเนื้อนุม<br />

ง. ขั้นตอนการทําเนื้อยางของ<br />

นายสมชายทําใหเนื้อไมนุม<br />

26. สถานการณนี้สรุปไดอยางไร<br />

ก. คุณพอทําเนื้อยางไดนุมที่สุด<br />

ข. ยางหรือน้ําจากผลไมมีผลทําใหเนื้อยางนุมขึ้น<br />

ค. การทําเนื้อยางใหนุมควรใชเวลายางใหเหมาะสม<br />

ง. เนื้อยางของ<br />

คุณพอ คุณแม และนายสมชาย แตกตางกัน<br />

129


คําชี้แจง<br />

ขอความที่<br />

1 ใชตอบคําถามขอที่<br />

33-34<br />

ตอนที่<br />

5<br />

การประเมินขอโตแยง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ตอนที่<br />

5 คือ การประเมินขอโตแยง<br />

มีจํานวน 8 ขอ เริ่มจากขอที่<br />

33 ถึง 40 ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอ<br />

การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) หมายถึง<br />

การคิดในการพิจารณาขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดมาให<br />

แลวพิจารณาขอสนับสนุน และขอคัดคาน<br />

วาขอใดมีความเหมาะสมที่สุด<br />

การวิพากษวิจารณการโคลนนิ่งแกะดอลลี่ทั้งดานบวกและดานลบ<br />

วาจะทําใหชีวิตของ<br />

มนุษยในอนาคตดีขึ้น<br />

หรือจะสรางปญหาใหกับสังคม<br />

การโคลนนิ่งสามารถสรางสัตวที่แข็งแรง<br />

มีความตานทานโรคสูง หรือสัตวบางชนิดที่<br />

อยูในสภาพเกือบสูญพันธุ<br />

หากเราใชวิธีการโคลนนิ่งจะสามารถชวยไดซึ่งตามธรรมชาติจะ<br />

ผลิตไดนอย แตถาจะโคลนนิ่งมนุษย<br />

อาจไมเปนอยางที่คาดหวัง<br />

เพราะสิ่งมีชีวิตที่เกิดจาก<br />

โคลนนิ่งจะเหมือนเดิมหรือไมนั้น<br />

ขึ้นอยูกับหลาย<br />

ๆ ปจจัย นอกจากนั้นอาจเกิดปญหาในดาน<br />

ตางๆ ตามมา เชน การโคลนมนุษยขึ้นมาเพื่อนําอวัยวะไปใชทดแทนก็ดูจะเปนการเสียสละชีวิต<br />

หนึ่ง<br />

เพื่ออีกชีวิตหนึ่งเรื่องนี้ตองคิดใหรอบคอบ<br />

ควรมีการโคลนนิ่ง<br />

(cloning) ในสิ่งมีชีวิตเห็นดวย<br />

หรือไม<br />

130


33. ขอใดใหเหตุผลสนับสนุนไดเหมาะสมที่สุด<br />

ก. เห็นดวย เพราะ เปนการสืบพันธุที่ไมผิดธรรมชาติ<br />

ข. เห็นดวย เพราะ ชวยใหสามารถสรางสัตว เชน ไดโนเสาร ได<br />

ค. เห็นดวย เพราะ ถาตองการโคลนนิ่งมนุษยที่มีคุณสมบัติหนาตาดีและเรียนดี<br />

ง. เห็นดวย เพราะ เปนการสรางสัตวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เราตองการไดเปน<br />

จํานวนมาก<br />

34. ขอใดใหเหตุผลคัดคานไดเหมาะสมที่สุด<br />

ก. ไมเห็นดวย เพราะ ทําใหมนุษยไมแตงงานกันมากขึ้น<br />

ข. ไมเห็นดวย เพราะ เกิดปญหาการฆาลางเผาพันธุตามมา<br />

ค. ไมเห็นดวย เพราะ เปนการไมถูกตองในดานคุณธรรม และศีลธรรม<br />

ง. ไมเห็นดวย เพราะ ถาทําการโคลนนิ่งในมนุษย<br />

มนุษยที่เกิดขึ้นมาใหมจะมีอุปนิสัย<br />

เหมือนเดิม<br />

-----------------------------------------------------------------<br />

ขอบคุณนักเรียนทุกคนที่ใหความรวมมือ...โชคดี<br />

131


กระดาษคําตอบแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

่ ชื่อ<br />

โรงเรียน<br />

นามสกุล เลขทีชั้น<br />

ม.3/<br />

่ ่<br />

คําสั่ง<br />

ขอใหนักเรียนทําเครื่องหมาย<br />

× ลงในชองวางที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว<br />

.<br />

ขอที<br />

ขอตัวเลือก<br />

ก. ข. ค. ง.<br />

ขอที<br />

ขอตัวเลือก<br />

ก. ข. ค. ง.<br />

1 21<br />

2 22<br />

3 23<br />

4 24<br />

5 25<br />

6 26<br />

7 27<br />

8 28<br />

9 29<br />

10 30<br />

11 31<br />

12 32<br />

13 33<br />

14 34<br />

15 35<br />

16 36<br />

17 37<br />

18 38<br />

19 39<br />

20 40<br />

132


ภาคผนวก ค<br />

การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด<br />

133


การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด<br />

1. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดเบื้องตน<br />

โดยใหผูเชี่ยวชาญเปนผูตรวจสอบ<br />

2. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด โดยพิจารณาจากคาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก และ<br />

คาความเที่ยงของแบบวัด<br />

134


1. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดเบื้องตน<br />

โดยใหผูเชี่ยวชาญเปนผูตรวจสอบ<br />

แบบประเมินคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียน<br />

ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

<br />

คําชี้แจง<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ที่<br />

สรางขึ้นฉบับนี้<br />

เปนเครื่องมือสวนหนึ่งของการทําวิจัยเรื่อง<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

วัตถุประสงคของเครื่องมือนี้<br />

คือ เพื่อศึกษาระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของ<br />

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

เขต 2<br />

กรอบของการวัด และนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สรางขึ้นฉบับนี้<br />

ไมอิงเนื้อหาใดเนื้อหา<br />

หนึ่งของหนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร<br />

ของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนแบบวัดแบบปรนัยชนิด<br />

เลือกตอบ 4 ตัวเลือกโดยทําการวัดกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 ซึ่งนักเรียนชวงนี้สามารถคิด<br />

เปนเหตุผล และคิดในสิ่งที่ซับซอนและเปนนามธรรมได<br />

(Formal-Operation Stage)<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร (Critical Thinking in Science) หมายถึง<br />

การคิดพิจารณา จําแนกขอมูลหรือสถานการณ และเปนการคิดอยางมีเหตุผล ไตรตรอง รอบคอบ<br />

แลวนําไปสูการตัดสินใจของขอมูลหรือสถานการณ<br />

เพื่อไปสูขอสรุป<br />

ที่เกี่ยวของกับขอมูล<br />

ขาวสาร<br />

ประเด็นปญหา การทดลอง ขอสรุป และแนวคิดทางวิทยาศาสตร ตามแนวทางแบบวัดการคิดอยางมี<br />

วิจารณญาณของ Watson – Glaser Critical Thinking Appraisal Form A and B 1980 ซึ่ง<br />

ประกอบดวยการคิด 5 ดาน ดังนี้<br />

1. การอางอิง (Inference) หมายถึง การคิดในการพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปได<br />

ของขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

135


2. การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

(Recognition of assumption) หมายถึง การคิดในการ<br />

พิจารณาวาขอความใดเปนขอความที่ปรากฏกอนขอสรุปที่กําหนดไว<br />

3. การนิรนัย (Deduction) หมายถึง การคิดในการพิจารณาของขอสรุป จากหลักการใหญ<br />

ไปสูหลักการยอย<br />

โดยใชเหตุผล และขอเท็จจริง แลวหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทั้งหมด<br />

เพื่อ<br />

หาขอสรุปจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

4. การแปลความ (Interpretation) หมายถึง การคิดในการจําแนกพิจารณา ประเด็นปญหา<br />

ที่สําคัญของสถานการณที่กําหนดให<br />

เพื่อนําไปสูการตัดสินและสรุปประเด็นปญหา<br />

5. การประเมินขอโตแยง (Evaluation of arguments) หมายถึง<br />

การคิดในการพิจารณาขอโตแยงที่กําหนดขึ้นมาวามีเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม<br />

ตารางการวิเคราะหแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

แบบวัด<br />

ตอนที่<br />

ดาน<br />

กอนใชจริง 1<br />

จํานวนขอ<br />

ใชจริง 2<br />

ขอที่<br />

น้ําหนัก<br />

%<br />

1 การอางอิง 12 8 1-8 20<br />

2 การยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

12 8 9-16 20<br />

3 การนิรนัย 12 8 17-24 20<br />

4 การแปลความ 12 8 25-32 20<br />

5 การประเมินขอโตแยง 12 8 33-40 20<br />

รวม<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ-<br />

ทางวิทยาศาสตร<br />

60 40 1-40 100<br />

1 หมายถึง จํานวนขอของแบบวัดที่สรางไวคัดเลือกกอนนําไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

2 หมายถึง จํานวนขอของแบบวัดที่ใชจริงกับกลุมตัวอยาง<br />

136


5. เขียนรูปแบบของขอคําถาม ขอตัวเลือก และการตรวจใหคะแนน<br />

รูปแบบของขอคําถาม ที่ใชในแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สราง<br />

ขึ้นฉบับนี้<br />

เปนขอความหรือสถานการณหรือปญหาหรือการทดลองหรือขอสรุปหรือแนวคิดทาง<br />

วิทยาศาสตร<br />

รูปแบบของขอตัวเลือก ที่ใชในแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่สราง<br />

ขึ้นฉบับนี้<br />

เปนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยมีคําตอบที่ถูกตองเพียง<br />

1 ตัวเลือก<br />

การตรวจใหคะแนน ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑการใหคะแนน<br />

ดังนี้<br />

ตอบถูก หมายถึง ตอบไดตรงกับคําเฉลยที่กําหนดขึ้น<br />

ไดคะแนน 1 คะแนน<br />

ตอบผิด หมายถึง ตอบไมถูกตรงกับคําเฉลยที่กําหนดขึ้น<br />

หรือไมตอบ หรือตอบมากกวา<br />

หนึ่งตัวเลือก<br />

ไดคะแนน 0 คะแนน<br />

โดยวิธีการตรวจใหคะแนนเปนรายขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 40 คะแนน ดังนั้น<br />

ผูทําการวัดจะสามารถไดคะแนนตั้งแต<br />

0 ถึง 40 คะแนน<br />

ในฐานะที่ทานเปนผูหนึ่งที่มีประสบการณการวิจัยหรือเขียนบทความทางการศึกษาเกี่ยวกับ<br />

การคิดอยางมีวิจารณญาณ จึงขอความกรุณาจากทานไดชวยตรวจสอบแบบวัด ตลอดจนภาษาที่ใช<br />

ในแตละขอวามีความสอดคลองและครอบคลุมตามกรอบของการวัดและนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่<br />

กําหนดไวหรือไม<br />

137


วิธีการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน<br />

และภาษาที่ใชของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทาง<br />

วิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3<br />

<br />

ขอใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบวา<br />

แบบวัดและภาษาที่ใชในแตละขอที่แสดงไวในแบบวัดการ<br />

คิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

3 วามีความสอดคลอง<br />

เหมาะสมและครอบคลุมตามกรอบของการวัดและนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่กําหนดไวหรือไม<br />

โดยใหทานทําเครื่องหมาย<br />

ลงในชอง ที่ตรงกับความคิดเห็นของทานชองใดชองหนึ่ง<br />

ดังนี้<br />

สอดคลอง หมายถึง แบบวัด หรือภาษาที่ใชในแตละขอ<br />

แสดงความสอดคลอง เหมาะสม<br />

ตามกรอบของการวัดและนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่กําหนดไว<br />

กําหนดใหเปน +1<br />

ไมแนใจ หมายถึง แบบวัด หรือภาษาที่ใชในแตละขอ<br />

แสดงความไมชัดเจน<br />

โดยทานตัดสินไมไดวาแสดงความสอดคลอง เหมาะสม ตามกรอบของการวัดและนิยามศัพทเชิง<br />

ปฏิบัติการที่กําหนดไว<br />

กําหนดใหเปน 0<br />

ไมสอดคลอง หมายถึง แบบวัด หรือภาษาที่ใชในแตละขอ<br />

ไมแสดงความสอดคลอง ไม<br />

เหมาะสม ตามกรอบของการวัดและนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการที่กําหนดไว<br />

กําหนดใหเปน -1<br />

138


ตารางผนวกที่<br />

1 ตัวอยางแบบประเมินคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ<br />

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ<br />

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับภาษาที่ใชของแบบวัดใน<br />

ขอที่<br />

แบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับแบบวัดในแตละขอ<br />

แบบวัด<br />

ภาษาที่ใช<br />

แตละขอ<br />

ตอนที่<br />

1 การอางอิง (Inference) หมายถึง การคิดในพิจารณา จําแนกระดับความเปนไปไดของขอสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดไว<br />

ขอที่<br />

1 - 8<br />

สถานการณที่<br />

1 ใชตอบคําถามขอที่<br />

1 - 2<br />

จากการรายงานทางการแพทยของมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในประเทศอังกฤษ<br />

พบวาในการเจาะลิ้นและฝงเครื่องประดับลงในลิ้นที่เจาะนั้นทํากันอยางแพรหลายในปจจุบันโดยเฉพาะในกลุมวัยรุน<br />

นอกจากจะทําใหเลือดไหลออกมา<br />

และมีแผลแลวอาจทําใหเกิดการติดเชื้อโรคตางๆ<br />

เชน เชื้อ<br />

1. ขอสรุปขอใด เปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ก.*บุคคลที่เจาะลิ้น<br />

และฝงเครื่องประดับลงในลิ้นที่เจาะ<br />

มักติดเชื้อโรค<br />

HIV และ<br />

ไวรัสตับอักเสบบางชนิด<br />

ข. บุคคลที่เจาะลิ้นสวนใหญ<br />

ไมไดศึกษาขอมูลที่เกี่ยวกับผลเสียที่จะเกิดขึ้นภายหลัง<br />

ของการเจาะลิ้น<br />

ค. การติดเชื้อ<br />

HIV และไวรัสตับอักเสบบางชนิด ที่เกิด<br />

2. ขอสรุปขอใด ไมเปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ก. บุคคลที่เจาะลิ้น<br />

และฝงเครื่องประดับลงในลิ้นที่เจาะ<br />

ไมสามารถทําไดเอง ตอง<br />

ทําจากผูเชี่ยวชาญเทานั้น<br />

ข.* บุคคลที่เจาะลิ้น<br />

และฝงเครื่องประดับลงในลิ้นที่เจาะ<br />

สวนใหญมีฐานะดี<br />

ค. การเจาะลิ้น<br />

และฝงเครื่องประดับลงในลิ้นที่เจาะ<br />

เปนที่นิยมในปจจุบ<br />

หมายเหตุ * หมายถึง คําตอบที่ถูกตอง<br />

139


สูตรที่ใชการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัด<br />

สูตรที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัด<br />

โดยใชสูตรของโรวิเนลลี และแฮม<br />

เบลตัน (Rowinelli and Hambleton, 1977 อางถึงใน ลวน และอังคณา, 2543 : 248) คือ<br />

คาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency : IOC)<br />

IOC = ∑<br />

N<br />

เมื่อ<br />

IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคลองมีคาอยูระหวาง<br />

-1 ถึง +1<br />

∑ R หมายถึง ผลรวมของการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ<br />

N หมายถึง จํานวนผูเชี่ยวชาญ<br />

R<br />

140


ผลการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

2<br />

ตารางผนวกที่<br />

2 ผลการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนของแบบวัดตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

ขอที่<br />

ผูเชี่ยวชาญคนที่<br />

1 2 3 4<br />

141<br />

∑ R IOC หมายเหตุ<br />

1 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

2 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

3 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

4 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

5 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

6 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

7 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

8 +1 0 +1 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

9 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

10 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

11 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

12 +1 +1 -1 0 1 0.25 ไมถึงเกณฑ*<br />

13 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

14 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

15 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

16 +1 +1 -1 +1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

17 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

18 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

19 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

*<br />

หมายถึง แบบวัดขอนี้ไมถึงเกณฑที่ผูวิจัยกําหนดขึ้น<br />

แตแบบวัดขอนี้มีความนาสนใจจึงนํามา<br />

ปรับปรุงดานภาษาตอไป


ตารางผนวกที่<br />

2 (ตอ)<br />

ขอที่<br />

ผูเชี่ยวชาญคนที่<br />

1 2 3 4<br />

142<br />

∑ R IOC หมายเหตุ<br />

20 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

21 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

22 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

23 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

24 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

25 +1 +1 +1 -1 2 0.50 คัดเลือกไว<br />

26 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

27 +1 +1 +1 0 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

28 +1 +1 +1 0 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

29 +1 +1 +1 0 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

30 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

31 +1 +1 +1 0 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

32 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

33 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

34 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

35 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

36 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

37 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

38 +1 +1 0 +1 3 0.75 คัดเลือกไว<br />

39 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว<br />

40 +1 +1 +1 +1 4 1.00 คัดเลือกไว


ผลการปรับปรุง แกไขแบบวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่ไดคัดเลือกไวกอน<br />

และหลังจากการตรวจสอบ<br />

ตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

3<br />

ตารางผนวกที่<br />

3 การปรับปรุงแกไขแบบวัดที่ไดคัดเลือกไวกอน<br />

และหลังการตรวจสอบตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ<br />

ขอที่<br />

กอนการตรวจสอบ หลังการตรวจสอบ หมายเหตุ<br />

5 ขอสรุปขอใด เปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ขอสรุปขอใด เปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่องการ<br />

ก. ราคาน้ํามันและแกสมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลง<br />

ก. ราคาน้ํามันและแกสมีแนวโนมคงที่<br />

จัดลําดับความยาวของ<br />

ข. นักวิจัยเชื่อวาในเวลา<br />

10 – 15 ปขางหนา จะสามารถผลิตพลังงานแสงอาทิตย ข. พลังงานทดแทนมีใชในทุกประเทศ<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ซึ่งเปนพลังงานทดแทนประเภทหนึ่งมาใชได<br />

ค. น้ํามันและแกสมีโอกาสที่จะหมดได<br />

ตัวเลือก<br />

ค. พลังงานทดแทนมีตนทุนการผลิตสูง จึงใชในบางประเทศเทานั้น<br />

ง. นักวิจัยเชื่อวาจะสามารถผลิตพลังงานทดแทนได<br />

ง. น้ํามันและแกสเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ<br />

ไมสามารถที่จะหมดจาก<br />

6. ขอสรุปขอใด ไมเปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

ขอสรุปขอใด ไมเปนจริง มากที่สุด<br />

โดยคาดคะเนจากสถานการณที่กําหนดให<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่องการ<br />

ก. การผลิตพลังงานทดแทนสวนใหญ ตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงจึงตองใชเงิน<br />

ก. การใชพลังงานทดแทน ไดรับการยอมรับจากทุกประเทศ<br />

จัดลําดับความยาวของ<br />

ลงทุนจํานวนมาก<br />

ข. การผลิตพลังงานทดแทนจะตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงจึงใชในบางประเทศ<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ข. ควรใชพลังงานนิวเคลียรซึ่งเปนพลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง<br />

ไดรับการ ค. การใชพลังงานทดแทนสวนใหญแพรหลายเฉพาะในกลุมประเทศ<br />

ตัวเลือก<br />

ยอมรับมากที่สุด<br />

อุตสาหกรรม<br />

ค. การใชพลังงานทดแทนสวนใหญแพรหลายเฉพาะในกลุมประเทศพัฒนาแลว<br />

ง. การใชพลังงานทดแทนควรคัดเลือกใหเหมาะสมกับความพรอมของแตละ<br />

ง. แกสชีวภาพ สามารถใชแทนแกสหุงตมได และสามารถผลิตใชเองใน ประเทศ<br />

ครัวเรือน<br />

143


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

ขอที่<br />

กอนการตรวจสอบ หลังการตรวจสอบ หมายเหตุ<br />

15. ขอตกลงเบื้องตนที่วา<br />

นกบางชนิดเทานั้นชอบกินปลา<br />

ขอสรุปใดสอดคลองกับ ขอสรุปที่วา<br />

“ นกกระยางกินปลาเปนอาหาร” ขอความใดเปนขอตกลง เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

ขอตกลงเบื้องตนที่สุด<br />

เบื้องตนกอนที่จะไดขอสรุปขางตน<br />

ภาษาที่ใชในขอคําถาม<br />

ก. นกทุกชนิดชอบกินปลา<br />

ก. สัตวทุกชนิดกินปลาเปนอาหาร<br />

การจัดลําดับความยาวของ<br />

ข. สัตวที่ชอบกินปลาบางชนิดเปนนก<br />

ข. สัตวทุกชนิดชอบกินปลาเปนอาหาร<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ค. นกทุกชนิดไมชอบกินปลา<br />

ค. สัตวบางชนิดไมกินปลาเปนอาหาร เชนนก<br />

ตัวเลือก<br />

ง. ไมมีนกชนิดใดเลยชอบกินปลา<br />

ง. สัตวบางชนิดเทานั้นที่กินปลาเปนอาหาร<br />

เชนนก<br />

16. ขอตกลงเบื้องตนที่วา<br />

กรดทุกประเภทมีรสเปรี้ยว<br />

ขอสรุปใดสอดคลองกับ ขอสรุปที่วา<br />

“ กรดทุกประเภทมีรสเปรี้ยว”<br />

ขอความใดเปนขอตกลงเบื้องตน<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

ขอตกลงเบื้องตนที่สุด<br />

กอนที่จะไดขอสรุปขางตน<br />

ภาษาที่ใชในขอคําถาม<br />

ก. ทุกชนิดที่มีรสเปรี้ยวเปนกรด<br />

ก. ผลไมที่มีรสเปรี้ยวเปนกรด<br />

การจัดลําดับความยาวของ<br />

ข. กรดบางประเภทเทานั้นไมมีรสเปรี้ยว<br />

ข. กรดบางประเภทมีรสเปรี้ยว<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ค. ไมมีกรดประเภทใดเลยที่มีรสเปรี้ยว<br />

ค. ผลไมที่มีรสเปรี้ยวไมเปนกรด<br />

ตัวเลือก<br />

ง. มีกรดบางประเภทเทานั้นที่มีรสเปรี้ยว<br />

ง. กรดบางประเภทไมมีรสเปรี้ยว<br />

20. น้ําคางเกิดจากการควบแนนของไอน้ํา<br />

ไอน้ําเกิดจากการระเหยของน้ํา<br />

ดังนั้น<br />

น้ําคางเกิดจากการควบแนนของไอน้ํา<br />

ไอน้ําเกิดจากการระเหยของน้ํา<br />

ดังนั้น<br />

ไมเปลี่ยนแปลง<br />

ก. น้ําเกิดจากไอน้ํา<br />

ข. น้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

ก. น้ําเกิดจากไอน้ํา<br />

ข. น้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

ค. น้ําคางเกิดจากน้ํา<br />

ง. ไอน้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

ค. น้ําคางเกิดจากน้ํา<br />

ง. ไอน้ําเกิดจากน้ําคาง<br />

23. เหล็กเปนโลหะ โลหะทุกชนิดยกเวนปรอทเปนของแข็ง ดังนั้น<br />

เหล็กเปนโลหะ โลหะทุกชนิดยกเวนปรอทเปนของแข็ง ดังนั้น<br />

ไมเปลี่ยนแปลง<br />

ก. ปรอทเปนของแข็ง ข. เหล็กเปนของแข็ง ก. ปรอทเปนของแข็ง ข. เหล็กเปนของแข็ง<br />

ค. โลหะทุกชนิดเปนของแข็ง ง. เหล็กไมเปนของแข็ง ค. โลหะทุกชนิดเปนของแข็ง ง. เหล็กไมเปนของแข็ง<br />

144


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

ขอที่<br />

กอนการตรวจสอบ หลังการตรวจสอบ หมายเหตุ<br />

25. ขอใดเปนปญหาที่สําคัญที่สุด<br />

ขอใดเปนประเด็นปญหาที่สําคัญที่สุด<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

ก. ขั้นตอนการทําเนื้อยางของ<br />

นาย ก. ทําใหเนื้อไมเนื้อนุม<br />

ก. เนื้อยางของใครนุมที่สุด<br />

ภาษาที่ใชในขอคําถาม<br />

ข. สวนผสมที่ใชหมักเนื้อยางแลวทําใหเนื้อเหนียวนุม<br />

ข. ระยะเวลาที่ใชหมักเนื้อแลวทําใหเนื้อนุม<br />

การจัดลําดับความยาวของ<br />

ค. ระยะเวลาที่ใชหมักเนื้อแลวทําใหเนื้อเหนียวนุม<br />

ค. สวนผสมที่ใชหมักเนื้อยางแลวทําใหเนื้อนุม<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ง. ขั้นตอนการทําเนื้อยางของคุณพอทําใหเนื้อยางเหนียวนุม<br />

ง. ขั้นตอนการทําเนื้อยางของ<br />

นายสมชายทําใหเนื้อไมนุม<br />

ตัวเลือก<br />

26. สถานการณนี้สรุปไดอยางไร<br />

สถานการณนี้สรุปไดอยางไร<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

การ<br />

ก. วิธีการทําเนื้อยางของ<br />

คุณพอ คุณแม และนาย ก. แตกตางกัน<br />

ก. คุณพอทําเนื้อยางไดนุมที่สุด<br />

จัดลําดับความยาวของ<br />

ข. การทําเนื้อยางใหเหนียวนุมควรใชเวลายางใหเหมาะสม<br />

ข. ยางหรือน้ําจากผลไมมีผลทําใหเนื้อยางนุมขึ้น<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ค. ยางผลไมมีผลทําใหเนื้อยางเหนียวนุมขึ้น<br />

ค. การทําเนื้อยางใหนุมควรใชเวลายางใหเหมาะสม<br />

ตัวเลือก<br />

ง. ผิดหมดทุกขอ<br />

ง. เนื้อยางของ<br />

คุณพอ คุณแม และนายสมชาย แตกตางกัน<br />

33. จากขอความที่<br />

1 ขอใดใหเหตุผลสนับสนุนไดเหมาะสมที่สุด<br />

ขอใดใหเหตุผลสนับสนุนไดเหมาะสมที่สุด<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

ก. เห็นดวย เพราะ ถาตองการโคลนนิ่งมนุษยที่มีคุณสมบัติหนาตาดีและเรียนดี<br />

ก. เห็นดวย เพราะเปนการสืบพันธุที่ไมผิดธรรมชาติ<br />

ภาษาที่ใชในขอคําถาม<br />

ข. เห็นดวย เพราะ เปนการสืบพันธุที่ไมผิดธรรมชาติ<br />

ข. เห็นดวย เพราะชวยใหสามารถสรางสัตว เชน ไดโนเสาร ได การจัดลําดับความยาวของ<br />

ค. เห็นดวย เพราะ ชวยใหสามารถสรางสัตวที่สูญพันธไปแลว<br />

เชน ไดโนเสาร ค. เห็นดวย เพราะถาตองการโคลนนิ่งมนุษยที่มีคุณสมบัติหนาตาดีและเรียนดี<br />

ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ง. เห็นดวย เพราะ เปนการสรางสัตวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เราตองการได<br />

ง. เห็นดวย เพราะ เปนการสรางสัตวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เราตองการ<br />

ตัวเลือก<br />

เปนจํานวนมาก<br />

ไดเปนจํานวนมาก<br />

34. จากขอความที่<br />

1 ขอใดใหเหตุผลขอโตแยงไดเหมาะสมที่สุด<br />

ขอใดใหเหตุผลคัดคานไดเหมาะสมที่สุด<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ในเรื่อง<br />

ก. ไมเห็นดวย เพราะถาทําการโคลนนิ่งในมนุษย<br />

มนุษยที่เกิดขึ้นมาใหมอาจมี<br />

ก. ไมเห็นดวย เพราะทําใหมนุษยไมแตงงานกันมากขึ้น<br />

ภาษาที่ใชในขอคําถาม<br />

อุปนิสัยเหมือนเดิม ข. ไมเห็นดวย เพราะเปนการผิดในแงจริยธรรมและศีลธรรม ข. ไมเห็นดวย เพราะเกิดปญหาการฆาลางเผาพันธุตามมา<br />

การจัดลําดับความยาวของ<br />

ค. ไมเห็นดวย เพราะจะทําใหมนุษยไมแตงงานกันมากขึ้น<br />

ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการไมถูกตองในดานคุณธรรม และศีลธรรม ประโยค และภาษาที่ใชใน<br />

ง. ไมเห็นดวย เพราะ จะเกิดปญหาการฆาลางเผาพันธุตามมา<br />

ง. ไมเห็นดวย เพราะถาทําการโคลนนิ่งในมนุษย<br />

มนุษยที่เกิดขึ้นมาใหมจะมี<br />

ตัวเลือก<br />

อุปนิสัยเหมือนเดิม<br />

145


2. ตรวจสอบคุณภาพแบบวัด โดยพิจารณาจากคาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก<br />

และคาความเที่ยงของแบบวัด<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

4<br />

ตารางผนวกที่<br />

4 คาดัชนีความยากงาย คาดัชนีอํานาจจําแนก และคาความเที่ยงของแบบวัด<br />

ขอที่<br />

คาดัชนีความ<br />

ยากงาย<br />

คาดัชนีอํานาจ<br />

จําแนก<br />

ขอที่<br />

คาดัชนีความ<br />

ยากงาย<br />

คาดัชนีอํานาจ<br />

จําแนก<br />

1. .6855 .3237 21. .6229 .4116<br />

2. .6807 .1671 22. .6988 .4312<br />

3. .6530 .2823 23. .6398 .5103<br />

4. .6060 .2049 24. .6988 .5777<br />

5. .7651 .3827 25. .6072 .4499<br />

6. .3446 .2825 26. .4000 .2080<br />

7. .4398 .1716 27. .7422 .3384<br />

8. .8145 .4468 28. .8349 .4351<br />

9. .4855 .3486 29. .6880 .3758<br />

10. .7422 .3958 30. .6289 .5263<br />

11. .6217 .5629 31. .5422 .3720<br />

12. .8265 .2787 32. .4072 .3075<br />

13. .7663 .4283 33. .7060 .5555<br />

14. .7639 .3207 34. .6072 .4655<br />

15. .7892 .4131 35. .6843 .3922<br />

16. .6482 .4925 36. .7663 .6083<br />

17. .6313 .5474 37. .7048 .5575<br />

18. .6590 .4208 38. .6783 .5194<br />

19. .8277 .4535 39. .5711 .2022<br />

20. .5554 .3387 40. .5217 .1737<br />

คาความเที่ยงของแบบวัด<br />

(Reliability) (KR-20) มีคาเทากับ . 8908<br />

146


ภาคผนวก ง<br />

เกณฑปกติของคะแนน<br />

147


เกณฑปกติของคะแนน<br />

1. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

2. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตรที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน ของ<br />

นักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

3. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชาย ในกลุม<br />

ตัวอยาง<br />

4. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนหญิง ในกลุม<br />

ตัวอยาง<br />

148


1. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน ในกลุม<br />

ตัวอยาง ดังตารางผนวกที่<br />

5<br />

ตารางผนวกที่<br />

5 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียน<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

4 -3.6966 13 0.1952 1 0.07<br />

8 -3.0444 19 0.2602 6 0.39<br />

9 -2.8814 21 0.6181 5 0.33<br />

10 -2.7183 23 0.8133 1 0.07<br />

11 -2.5553 24 1.1061 8 0.52<br />

12 -2.3922 26 1.6916 10 0.65<br />

13 -2.2292 27 2.5049 15 0.98<br />

14 -2.0661 29 3.5784 18 1.17<br />

15 -1.9031 31 5.0098 26 1.69<br />

16 -1.7401 32 6.6363 24 1.56<br />

17 -1.5770 34 8.2303 25 1.63<br />

18 -1.4140 36 10.1496 34 2.21<br />

19 -1.2509 37 12.4593 37 2.41<br />

20 -1.0879 39 15.1269 45 2.93<br />

21 -0.9248 40 18.1848 49 3.19<br />

22<br />

-0.7618<br />

42<br />

21.4379 51 3.32<br />

23<br />

-0.5987<br />

44<br />

25.2440 66 4.29<br />

24<br />

-0.4357<br />

45<br />

30.0586 82 5.34<br />

25 -0.2726 47 35.3286 80 5.20<br />

26 -0.1096 49 40.9564 93 6.05<br />

27 0.0535 50 47.1047 96 6.25<br />

28 0.2165 52 53.3507 96 6.25<br />

149


ตารางผนวกที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

29 0.3796 53 59.7267 100 6.51<br />

30<br />

0.5426<br />

55<br />

66.5582 110 7.16<br />

31<br />

0.7057<br />

57<br />

73.3247 98 6.37<br />

32 0.8687 58 79.3103 86 5.59<br />

33 1.0317 60 84.9057 86 5.59<br />

34 1.1948 61 89.9480 69 4.48<br />

35 1.3578 63 93.8517 51 3.31<br />

36 1.5209 65 96.7469 38 2.47<br />

37 1.6839 67 98.7638 24 1.56<br />

38 1.8470 68 99.6747 4 0.26<br />

39 2.0100 70 99.9024 3 0.20<br />

จากตารางผนวกที่<br />

5 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

4 ถึง 39 คะแนน คะแนนมาตรฐานซีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-<br />

3.6966 ถึง 2.0100 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

13 ถึง 70 และตําแหนงเปอรเซ็นต<br />

ไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.1952 ถึง 99.9024<br />

2. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ที่ประกอบดวย<br />

5 ดาน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

6-10<br />

150


ตารางผนวกที่<br />

6 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการอางอิง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

0 -3.3112 16 0.4879 2 0.13<br />

1 -2.6490 23 0.6180 15 0.98<br />

2<br />

-1.9867<br />

30<br />

3.4808 73 4.75<br />

3<br />

-1.3245<br />

36<br />

11.2556 166 10.80<br />

4 -0.6622 43 26.0897 290 18.87<br />

5 0.0000 50 47.9505 382 24.85<br />

6 0.6622 56 71.7631 350 22.77<br />

7 1.3245 63 90.1106 214 13.92<br />

8 1.9867 70 98.5361 45 2.93<br />

จากตารางผนวกที่<br />

6 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการคิดในการอางอิง คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0 ถึง 8 คะแนน คะแนนมาตรฐานซีมีคา<br />

อยูในชวงระหวาง<br />

-3.3112 ถึง 1.9867 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

16 ถึง 70 และ<br />

ตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.4879 ถึง 98.5361<br />

151


ตารางผนวกที่<br />

7 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการ<br />

ยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

0 -3.2571 17 0.8458 7 0.46<br />

1 -2.6857 23 1.3012 26 1.69<br />

2 -2.1142 29 4.1639 62 4.03<br />

3 -1.5428 34 9.0761 89 5.79<br />

4 -0.9714 40 17.2088 161 10.47<br />

5 -0.4000 46 30.8392 258 16.79<br />

6 0.1714 51 50.6506 351 22.84<br />

7 0.7428 57 73.8126 361 23.49<br />

8 1.3142 63 92.7781 222 14.44<br />

จากตารางผนวกที่<br />

7 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการคิดในการยอมรับขอตกลงเบื้องตน<br />

คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0 ถึง 8 คะแนน<br />

คะแนนมาตรฐานซีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-3.2571 ถึง 1.3142 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวง<br />

ระหวาง 17 ถึง 63 และตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.8458 ถึง 92.7781<br />

152


ตารางผนวกที่<br />

8 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ดานการนิรนัย<br />

ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

0 -2.9304 20 0.8458 4 0.26<br />

1 -2.3957 26 1.1060 26 1.69<br />

2 -1.8609 31 4.8796 90 5.86<br />

3 -1.3262 36 12.3617 140 9.11<br />

4 -0.7914 42 23.7800 211 13.73<br />

5 -0.2566 47 37.9960 226 14.70<br />

6<br />

0.2780<br />

52<br />

54.2940 275 17.89<br />

7<br />

0.8128<br />

58<br />

74.7234 353 22.97<br />

8 1.3475 63 93.1034 212 13.79<br />

จากตารางผนวกที่<br />

8 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการคิดในการนิรนัย คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0 ถึง 8 คะแนน คะแนนมาตรฐานซีมีคา<br />

อยูในชวงระหวาง<br />

-2.9304 ถึง 1.3475 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

20 ถึง 63 และ<br />

ตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.8458 ถึง 93.1034<br />

153


ตารางผนวกที่<br />

9 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการแปลความ ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

0 -2.9408 20 1.3012 7 0.46<br />

1 -2.3491 26 1.7566 40 2.60<br />

2 -1.7574 32 5.8880 87 5.66<br />

3 -1.1656 38 13.9882 162 10.54<br />

4 -0.5739 44 27.6187 257 16.72<br />

5<br />

0.0177<br />

50<br />

47.6577 359 23.36<br />

6<br />

0.6094<br />

56<br />

70.0065 328 21.34<br />

7 1.2011 62 87.9310 223 14.51<br />

8 1.7928 68 97.5927 74 4.81<br />

จากตารางผนวกที่<br />

9 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการคิดในการแปลความ คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0 ถึง 8 คะแนน คะแนนมาตรฐานซี<br />

มีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-2.9408 ถึง 1.7928 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

20 ถึง 68<br />

และตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

1.3012 ถึง 97.5927<br />

154


ตารางผนวกที่<br />

10 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการประเมินขอโตแยง ของนักเรียน ในกลุมตัวอยาง<br />

(N=1,537 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

0 -2.9677 20 1.5614 16 1.04<br />

1 -2.4301 25 2.6024 48 3.12<br />

2 -1.8924 31 6.3109 66 4.29<br />

3 -1.3548 36 11.9388 107 6.96<br />

4 -0.8172 42 19.8763 137 8.92<br />

5 -0.2795 47 32.7911 260 16.92<br />

6<br />

0.2580<br />

52<br />

53.0253 362 23.55<br />

7<br />

0.7956<br />

58<br />

76.5777 362 23.55<br />

8 1.3333 63 94.1769 179 11.65<br />

จากตารางผนวกที่<br />

10 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ดานการคิดในการประเมินขอโตแยง คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0 ถึง 8 คะแนน คะแนน<br />

มาตรฐานซีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-2.9677 ถึง 1.3333 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

20<br />

ถึง 63 และตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

1.5614 ถึง 94.1769<br />

155


3. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชาย ใน<br />

กลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

11<br />

ตารางผนวกที่<br />

11 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุมตัวอยาง<br />

(n1= 652 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

4 -3.3236 16 0.3067 1 0.15<br />

8 -2.7083 23 0.4601 4 0.62<br />

9 -2.5544 24 0.9202 2 0.31<br />

10 -2.4006 26 1.1503 1 0.15<br />

11 -2.2468 27 1.6104 5 0.77<br />

12 -2.0929 29 2.5307 7 1.07<br />

13 -1.9391 30 3.8344 10 1.54<br />

14<br />

-1.7853<br />

32<br />

5.7515 15 2.31<br />

15<br />

-1.6315<br />

33<br />

8.0521 15 2.31<br />

16 -1.4776 35 10.5061 17 2.61<br />

17 -1.3238 36 12.7301 12 1.84<br />

18 -1.1700 38 15.1840 20 3.07<br />

19<br />

-1.0162<br />

40<br />

18.1748 19 2.91<br />

20<br />

-0.8623<br />

41<br />

21.3190 22 3.37<br />

21<br />

-0.7085<br />

43<br />

24.3098 17 2.61<br />

22 -0.5547 44 27.2239 21 3.22<br />

23 -0.4008 46 30.9816 28 4.29<br />

24 -0.2470 47 35.5061 31 4.75<br />

25 -0.0932 49 40.1840 30 4.60<br />

26<br />

0.0606<br />

50<br />

45.5521 40 6.13<br />

27<br />

0.2145<br />

52<br />

51.7638 41 6.29<br />

28 0.3683 53 58.0521 41 6.29<br />

156


ตารางผนวกที่<br />

11 (ตอ)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

29 0.5221 55 64.9540 49 7.52<br />

30 0.6759 56 72.6227 51 7.82<br />

31 0.8298 58 79.0644 33 5.06<br />

32 0.9836 60 83.4356 24 3.68<br />

33 1.1374 61 87.8834 34 5.21<br />

34 1.2913 63 92.5613 27 4.14<br />

35 1.4451 64 95.7055 14 2.15<br />

36 1.5989 66 97.7761 13 1.99<br />

37 1.7527 67 99.3098 7 1.07<br />

39 2.0604 70 99.9233 1 0.15<br />

จากตารางผนวกที่<br />

11 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนชาย ในกลุมตัวอยาง<br />

คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

4 ถึง 39 คะแนน คะแนน<br />

มาตรฐานซีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-3.3236 ถึง 2.0604 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

16<br />

ถึง 70 และตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.3067 ถึง 99.9233<br />

4. เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนหญิง<br />

ในกลุมตัวอยาง<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

12<br />

157


ตารางผนวกที่<br />

12 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

(n2= 885 คน)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

8 -3.3984 16 0.1695 2 0.23<br />

9 -3.2238 17 0.3955 3 0.34<br />

11 -2.8744 21 0.7345 3 0.34<br />

12<br />

-2.6998<br />

23<br />

1.0734 3 0.34<br />

13<br />

-2.5251<br />

24<br />

1.5254 5 0.56<br />

14 -2.3505 26 1.9774 3 0.34<br />

15 -2.1758 28 2.7684 11 1.24<br />

16<br />

-2.0012<br />

30<br />

3.7853 7 0.79<br />

17<br />

-1.8265<br />

31<br />

4.9153 13 1.47<br />

18 -1.6518 33 6.4407 14 1.58<br />

19 -1.4772 35 8.2486 18 2.03<br />

20 -1.3025 37 10.5650 23 2.60<br />

21 -1.1279 38 13.6723 32 3.62<br />

22<br />

-0.9532<br />

40<br />

17.1751 30 3.39<br />

23<br />

-0.7786<br />

42<br />

21.0169 38 4.29<br />

24 -0.6039 44 26.0452 51 5.76<br />

25 -0.4292 45 31.7514 50 5.65<br />

26 -0.2546 47 37.5706 53 5.99<br />

27<br />

-0.0799<br />

49<br />

43.6723 55 6.21<br />

28<br />

0.0947<br />

51<br />

49.8870 55 6.21<br />

29<br />

0.2694<br />

52<br />

55.8757 51 5.76<br />

30<br />

0.4440<br />

54<br />

62.0904 59 6.67<br />

31 0.6187 56 69.0960 65 7.34<br />

32 0.7934 58 76.2712 62 7.01<br />

33 0.9680 59 82.7119 52 5.88<br />

158


ตารางผนวกที่<br />

12 (ตอ)<br />

่<br />

คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน ตําแหนง ความถี คิดเปน<br />

(Raw -score) ซี (Z-score) ที (T-score) เปอรเซนตไทล (คน) รอยละ<br />

34 1.1427 61 88.0226 42 4.75<br />

35 1.3173 63 92.4859 37 4.18<br />

36 1.4919 65 95.9887 25 2.82<br />

37 1.6666 66 98.3615 17 1.92<br />

38 1.8413 68 99.5480 4 0.45<br />

39 2.0160 70 99.8870 2 0.24<br />

จากตารางผนวกที่<br />

12 เกณฑปกติของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณทางวิทยาศาสตร<br />

ของนักเรียนหญิง ในกลุมตัวอยาง<br />

คะแนนดิบมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

8 ถึง 39 คะแนน คะแนน<br />

มาตรฐานซีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

-3.3984 ถึง 2.0160 คะแนนมาตรฐานทีมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

16<br />

ถึง 70 และตําแหนงเปอรเซ็นตไทลอยูในชวงตําแหนงระหวาง<br />

0.1695 ถึง 99.8870<br />

159

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!