18.08.2013 Views

Cinnamomum

Cinnamomum

Cinnamomum

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

กายวิภาคเปรียบเทียบของพืชสกุลอบเชยบางชนิดในประเทศไทย<br />

Comparative Anatomy of Some <strong>Cinnamomum</strong> Species in Thailand<br />

โดย<br />

นางสาวภัทรินทร นันทมนตรี<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(พฤกษศาสตร)<br />

พ.ศ. 2549<br />

ISBN 974-16-2716-5


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.ประศาสตร เกื้อมณี<br />

ประธาน<br />

กรรมการที่ปรึกษา<br />

ที่ใหคําปรึกษา<br />

แนะนําในการศึกษา ตลอดจนตรวจแกไขวิทยานิพนธนี้จน<br />

สําเร็จสมบูรณ ขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.สรัญญา วัชโรทัย กรรมการที่<br />

ปรึกษาวิชาเอก รองศาสตราจารย ดร.สมคิด สิริพัฒนดิลก กรรมการที่ปรึกษาวิชารอง<br />

และผูชวย<br />

ศาสตราจารย ปรานอม พฤตพงษ ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

ที่กรุณาใหคําแนะนําตรวจแกไข<br />

วิทยานิพนธใหถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบคุณเจาหนาที่หนวยพฤกษศาสตร<br />

และเจาหนาที่ทุกคนในโครงการอนุรักษ<br />

พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี ที่ให<br />

การสนับสนุน และเปนกําลังในการศึกษามาโดยตลอด ขอขอบคุณ คุณพิชัย พึ่งเพาะปลูก<br />

คุณ<br />

เทียนชัย จันทรแปลง หัวหนาสวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดงฟาหวน) จังหวัด<br />

อุบลราชธานี คุณประกอบ บุญมา เจาหนาที่สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

(ดงฟา<br />

หวน) จังหวัดอุบลราชธานี ที่เอื้อเฟอในการเก็บตัวอยาง<br />

ขอขอบคุณบริษัทโนวารตีส ที่ใหการ<br />

สนับสนุนทุนการศึกษามาโดยตลอด และขอขอบคุณพี่ๆ<br />

นองๆ ชาวพฤกษศาสตร ที่ใหคําแนะนํา<br />

และเปนกําลังใจมาโดยตลอด<br />

สุดทาย ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม และญาติพี่นองทุกคน<br />

ที่ไดสนับสนุนและ<br />

ใหกําลังใจดวยดีเสมอมา<br />

ภัทรินทร นันทมนตรี<br />

ตุลาคม 2549


สารบัญ<br />

<br />

<br />

สารบัญ<br />

หนา<br />

(1)<br />

สารบัญตาราง (2)<br />

สารบัญภาพ (3)<br />

คํานํา 1<br />

การตรวจเอกสาร 2<br />

การจําแนกหมวดหมู<br />

2<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของพืชสกุลอบเชย 2<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของอบเชยบางชนิดในประเทศไทย 4<br />

การกระจายพันธุ<br />

12<br />

การศึกษาทางดานกายวิภาค 17<br />

การศึกษาน้ํามันหอมระเหย<br />

19<br />

การใชประโยชน 20<br />

อุปกรณและวิธีการ 21<br />

อุปกรณ 21<br />

วิธีการ 23<br />

ผล 26<br />

วิจารณ 82<br />

สรุป 88<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

90<br />

ภาคผนวก 94<br />

(1)


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

หนา<br />

1 แสดงการแพรกระจายของพรรณไมสกุลอบเชยในเขตตางๆ 13<br />

2 รายชื่อพรรณไมสกุลอบเชยที่เก็บรวบรวมและใชเปนตัวอยาง<br />

ในการวิจัย 26<br />

3 ลักษณะรูปราง การเรียงตัวและการกระจายของ vessel<br />

และลักษณะของชองปลายเปดของเซลล vessel 78<br />

4 เปอรเซ็นตน้ํามันหอมระเหยที่สกัดจากสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ โดยการกลั่นดวยน้ํา<br />

79<br />

(2)


สารบัญภาพ<br />

่ ภาพที<br />

หนา<br />

1 ภาพพรรณไมสกุลอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิดที่ทําการศึกษา<br />

27<br />

2 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp. 1) 33<br />

3 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของเชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota<br />

(Buch.-Ham.) Sweet) 39<br />

4 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

(Hamilton) Nees & Eberm) 45<br />

5 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners<br />

Reinw. ex Blume) 51<br />

6 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของสุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp. 2) 57<br />

7 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum<br />

J. Presl) 63<br />

8 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora<br />

(L.) J. Presl) 69<br />

9 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp. 3) 75<br />

(3)


กายวิภาคเปรียบเทียบของพืชสกุลอบเชยบางชนิดในประเทศไทย<br />

Comparative Anatomy of Some <strong>Cinnamomum</strong> Species in Thailand<br />

คํานํา<br />

พรรณไมในสกุลอบเชยสวนใหญมีกลิ่นหอมทุกสวนของพืช<br />

โดยเฉพาะสวนใบและ<br />

เปลือก นิยมใชเปลือกเปนเครื่องเทศ<br />

เครื่องหอม<br />

และทํายามาตั้งแตในอดีต<br />

นอกจากนี้พันธุไม<br />

สกุลนี้ยังเปนพืชที่มีศักยภาพในการพัฒนาเปนวัตถุดิบผลิตน้ํามันหอมระเหยเพื่อใชในอุตสาหกรรม<br />

เครื่องดื่ม<br />

อาหารสําเร็จรูป และเครื่องสําอาง<br />

ทั้งนี้เนื่องจากแตละสวนใหน้ํามันหอมระเหยที่มีกลิ่น<br />

และรสแตกตางกันไปตามชนิด (สมคิด, 2541)<br />

ในประเทศไทยมีรายงานวาพบพืชสกุลอบเชย 19 ชนิด (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2544)<br />

และยังไมมีการศึกษาทบทวนทางดานอนุกรมวิธานของพืชสกุลนี้<br />

นักพฤกษอนุกรมวิธานใน<br />

ประเทศไทยยังมีความสับสนในดานสัณฐานวิทยาและกายวิภาคของพืชสกุลนี้<br />

การศึกษากายวิภาค<br />

เปรียบเทียบของพืช เปนการเปรียบเทียบลักษณะทางดานกายวิภาคระหวางพันธุ<br />

ชนิด สกุล หรือ<br />

วงศ เพื่อใชเปนขอมูลในการศึกษาดานวิวัฒนาการ<br />

และโดยเฉพาะการศึกษาดานอนุกรมวิธานของ<br />

พืช Metcalfe (1979) สรุปวาลักษณะทางกายวิภาคที่สําคัญ<br />

เชน ลักษณะเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

โครงสรางของใบ เชน ชั้นมีโซฟลล<br />

(mesophyll) และปากใบ โครงสรางของลํา<br />

ตนและราก เชน เนื้อเยื่อทอลําเลียง<br />

การเรียงตัวของเซลลทอลําเลียง ลักษณะของเนื้อไม<br />

และ<br />

ลักษณะกายวิภาคสวนตางๆ ของดอก เชน กลีบเลี้ยง<br />

กลีบดอก เกสรเพศผู<br />

และเกสรเพศเมีย<br />

สามารถใชในการจําแนกพืชได<br />

ผลการศึกษาทางดานกายวิภาคของพืชสกุลอบเชย สามารถนํามาใชเปนขอมูลในการ<br />

กําหนดลักษณะประจําพรรณไม และสามารถใชสนับสนุนการจัดจําแนกพืชสกุลนี้ไดอยางถูกตอง<br />

และเหมาะสม นอกจากนี้การศึกษาโครงสรางที่เก็บน้ํามันหอมระเหย<br />

ตลอดจนการวิเคราะห<br />

ปริมาณน้ํามันหอมระเหยในสวนตางๆ<br />

ของอบเชยแตละชนิด ชวยในการเลือกใชประโยชนจาก<br />

อบเชยไดอยางเหมาะสม


ไวดังนี้<br />

การตรวจเอกสาร<br />

การจําแนกหมวดหมู<br />

Takhtajan (1997) จัดลําดับของการจําแนกหมวดหมูของพรรณไมสกุล<br />

<strong>Cinnamomum</strong><br />

หมวด (Division) Magnoliophyta<br />

ชั้น<br />

(Class) Magnoliopsida<br />

ชั้นยอย<br />

(Subclass) Magnoliidae<br />

เหนืออันดับ (Super order) Lauranae<br />

อันดับ (Order) Laurales<br />

อันดับยอย (Suborder) Laurineae<br />

วงศ (Family) Lauraceae<br />

สกุล (genus) <strong>Cinnamomum</strong><br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของพืชสกุลอบเชย<br />

พืชสกุลอบเชย เปนไมตน (tree) หรือไมพุม<br />

(shrub) ไมผลัดใบ (evergreen) (Hooker,<br />

1890; Brandis, 1990) เปลือกและใบมีกลิ่นหอม<br />

(Backer and Van den Brink, 1963;<br />

Kochummem, 1989)<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขาม (opposite) หรือเกือบตรงขาม (subopposite) (Kochummem,<br />

1989) เรียงสลับ (alternate) (Backer and Van den Brink, 1963; Hooker, 1890; Kochummem,<br />

1989) หรือเรียงเวียน (spiral) (Kochummem, 1989) เสนใบมีสามเสน (trinerved) (Backer and<br />

Van den Brink, 1963; Hooker, 1890; Kochummem, 1989; Brandis 1990) พบนอยที่มีเสนใบแบบ<br />

ขนนก (penninerved) (Kurz, 1877; Kochummem, 1989) แผนใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) (Backer and Van den Brink, 1963)<br />

ดอก เปนชอดอก แบบชอแยกแขนง (panicle) (Backer and Van den Brink, 1963;<br />

Hooker, 1890; Kochummem, 1989; Brandis, 1990 ) หรือชอกระจะ (raceme) (Kurz, 1877) ออก<br />

2


ตามซอกใบ (axil) ปลายยอด (terminal) (Backer and Van den Brink, 1963; Kurz, 1877;<br />

Kochummem, 1989) หรือเกือบปลายยอด (subterminal) (Hooker, 1890) ดอกมีขนาดเล็ก<br />

(Hooker, 1890) สมบูรณเพศ (bisexual) (Backer and Van den Brink, 1963; Kurz, 1877;<br />

Hooker, 1890; Brandis, 1990 )<br />

วงกลีบรวม (perianth) สวนโคนเชื่อมกันเปนหลอดสั้นๆ<br />

(Hooker, 1890; Kochummem,<br />

1989) ปลายแยกเปน 6 กลีบ (Kurz, 1877; Hooker, 1890) มีขนาดไมเทากัน (subequal) รูป<br />

กรวย (funnel-shaped) (Kochummem, 1989) หรือรูปถวย (cup-shaped) (Backer and Van den<br />

Brink, 1963) สวนมากหลอดกลีบรวมจะขยายใหญเมื่อติดผล<br />

(Backer and Van den Brink,<br />

1963; Hooker, 1890; Kochummem, 1989) กลีบรวมติดทน (persistent) หลุดรวง (deciduous)<br />

(Kurz, 1877) หรือหลุดรวงบางสวนเมื่อติดผล<br />

(Kochummem, 1989)<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 6 หรือ 9 อัน (Backer and Van den Brink, 1963) เรียง 3(-4) ชั้น<br />

เกสรเพศผูชั้นที่<br />

1 และ 2 เทานั้นที่สมบูรณ<br />

กานชูอับเรณูไมมีตอม (Hooker, 1890) อับเรณูหัน<br />

เขาดานใน (introse) อับเรณูชั้นที่<br />

3 ที่กานชูอับเรณูมีตอม<br />

1 คู<br />

(Backer and Van den Brink,<br />

1963; Hooker, 1890; Kochummem, 1989) อับเรณูหันออกดานนอก (extrose) (Backer and Van<br />

den Brink, 1963) ถามีชั้นที่<br />

4 เกสรเพศผูเปนหมัน<br />

อับเรณูรูปหัวใจ (cordate) (Hooker, 1890;<br />

Kochummem, 1989) หรือรูปหัวลูกศร (sagittate) (Hooker, 1890; Kochummem, 1989) อับเรณู<br />

เปดเปนชอง (valve) ใหละอองเรณูกระจายไปได<br />

รังไข อยูเหนือวงกลีบ<br />

(superior ovary) ไมมีกาน (sessile) (Kochummem, 1989) หรือ<br />

กานสั้น<br />

(Backer and Van den Brink, 1963) กานชูเกสรเพศเมีย (style) สั้น<br />

(Backer and Van<br />

den Brink, 1963) ยอดเกสร (stigma) รูปรางคลายจาน (discoid) หรือรูปโล (peltate) (Backer<br />

and Van den Brink, 1963)<br />

ผล คลายผลแบบ berry เนื้อนุม<br />

ไมมีกานผล (sessile) (Backer and Van den Brink,<br />

1963) ติดบนกลีบรวมที่ขยายตัว<br />

กลีบรวมทั้งหมดหรือบางสวนจะหลุดรวง<br />

(deciduous) พบนอย<br />

ที่ติดทนนาน<br />

(Kurz, 1877; Hooker, 1890)<br />

3


ลักษณะทางพฤกษศาสตรของอบเชยบางชนิดในประเทศไทย<br />

อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 7-25 เมตร เปลือกสีอมเทา<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม หรือเยื้องกัน<br />

รูปขอบขนานแกมรี กวาง 5-10 ซม. ยาว<br />

15-30 ซม. ปลายใบมน แหลม หรือเรียวแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลาย<br />

แผนหนัง มีเสนใบจากโคนใบ 3 เสน ขึ้นไปจนถึงหรือเกือบถึงปลายใบ<br />

ดานบนเกลี้ยง<br />

เสนใบ<br />

มองเห็นชัดไมเปนรอง แตเสนใบยอยเห็นไมชัด ดานลางสีออกนวล เสนนูน เห็นเดนชัด สวน<br />

เสนใบยอยเห็นไมชัด กานใบคอนขางใหญ ยาว 12-18 มม.<br />

ดอก ออกเปนชอใหญแบบชอแยกแขนงอยูใกลยอด<br />

ยาว 20-25 ซม. กานชอยาว 10-15<br />

ซม. กานดอกยอยยาว 2-5 มม. มีขน ดอกยอยมีขนาดเล็ก สีขาวอมเหลือง กลีบรวมมี 6 กลีบ<br />

รูปขอบขนาน ปลายมน เชื่อมติดกันที่โคน<br />

มีขนเปนมันคลายใยไหม กลีบรวมนี้ติดทนจนเปนผล<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง วงที่<br />

1 และวงที่<br />

2 อับเรณูหันหนาเขาขางใน กาน<br />

เกสรมีขน วงที่<br />

3 จะหันหนาออกขางนอก อับเรณูมี 4 พู มีตอม 2 ตอม อยูที่โคนกาน<br />

ผล รูปรี หรือคอนขางกลม ยาว 7-12 มม. อวบน้ํา<br />

4


การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl.) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมตน ขนาดใหญ สูงไดถึง 30 ม. เปลือกตนสีน้ําตาล<br />

ผิวหยาบ เปลือกกิ่งสีเขียว<br />

หรือ<br />

น้ําตาลออน<br />

ผิวเรียบ ไมมีขน เนื้อไมสีน้ําตาลปนแดง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกเรียงสลับ รูปรี หรือรูปรีแกมไข กวาง 2.5-5.5 ซม. ยาว 5.5-15<br />

ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบปานหรือกลม ขอบใบเรียบ หรือเปนคลื่นเล็กนอย<br />

เนื้อใบ<br />

คอนขางหนา ดานบนสีเขียวเขม เปนมัน ดานลางสีเขียวอมเทาหรือนวล ไมมีขน เสนใบขึ้นตรง<br />

มาจากโคนใบประมาณ 3-8 มม. แลวแยกออกเปน 3 เสน กานใบยาว 2-3 ซม. ไมมีขน<br />

ดอก ออกเปนชอตามงามใบ ยาวประมาณ 5 ซม. สีขาวอมเหลืองหรืออมเขียว กานดอก<br />

ยอยยาว 1-2 มม. กลีบรวมมี 6 กลีบ เรียงเปน 2 วงๆ ละ 3 กลีบ รูปรี ดานนอกเกลี้ยง<br />

ดาน<br />

ในมีขนละเอียด<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วงๆ ละ 3 อัน อับเรณูของวงที่<br />

1 และวงที่<br />

2 หัน<br />

หนาเขาดานใน กานเกสรมีขน สวนอับเรณูของวงที่<br />

3 หันหนาออกดานนอก กานเกสรคอนขาง<br />

ใหญ มีตอม 2 ตอมอยูที่โคนกาน<br />

ตอมรูปไขกวาง และมีกาน อับเรณูมีชองเปด 4 ชอง เรียงเปน<br />

2 แถวๆ ละ 2 ชอง มีลิ้นเปดทั้ง<br />

4 ชอง เกสรเพศผูเปนหมันมี<br />

3 อัน อยูดานในสุด<br />

รูปราง<br />

คลายหัวลูกศร มีขน แตไมมีตอม รังไขรูปไข ไมมีขน<br />

กานเกสรเพศเมีย (style) ยาวประมาณ 1 มม. ไมมีขน ยอดเกสรเพศเมียกลม<br />

ผล รูปไข หรือกลม ยาว 6-10 มม. สุกสีมวงดํา มีฐานดอกซึ่งเจริญเติบโตขึ้นมาเปน<br />

แปนรองรับผล<br />

5


เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> iners Reinw. ex Blume) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 15-20 ม. ทรงพุมกลม<br />

หรือเจดียต่ําๆ<br />

เปลือกสี<br />

น้ําตาลอมเทา<br />

คอนขางเรียบ เกลี้ยง<br />

เปลือกและใบมีกลิ่นหอมอบเชย<br />

(cinnamon)<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขามหรือเยื้องกันเล็กนอย<br />

รูปขอบขนาน กวาง 2.5-7.5 ซม.<br />

ยาว 7.5-25 ซม. เนื้อใบหนา<br />

เกลี้ยง<br />

แข็ง และกรอบ มีเสนใบออกจากโคนใบ 3 เสน ยาวตลอด<br />

จนถึงปลายใบ ดานลางเปนคราบขาวๆ กานใบยาว 0.5 ซม.<br />

ดอก มีขนาดเล็ก สีเหลืองออน หรือเขียวออน ออกเปนชอแบบชอกระจะที่ปลายกิ่ง<br />

ยาว<br />

10-25 ซม. ดอกมีกลิ่นเหม็น<br />

ผล มีขนาดเล็ก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. แข็ง ตามผิวมีคราบขาวๆ แตละผล<br />

มีเมล็ดเดียว ฐานรองรับผลเปนรูปถวย<br />

เชียดใบใหญ (<strong>Cinnamomum</strong> mollissimum Blume) (Kochummen, 1989)<br />

ไมตน ขนาดเล็ก สูง 15 เมตร เปลือกตนสีเทา เกลี้ยง<br />

กิ่งออนมีขนสั้นกระจายทั่ว<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม รูปรี ถึงรูปใบหอก กวาง 3.5-7.5 ซม. ยาว 10-20 ซม.<br />

ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม<br />

กานใบยาว 0.5-2 ซม.<br />

ดอก สีเหลืองออนๆ ออกเปนชอแบบชอแยกแขนงตามงามใบใกลปลายกิ่ง<br />

ยาว 10 ซม.<br />

กลีบรวมเชื่อมติดกันเปนหลอดรูปกรวย<br />

มีขนนุม<br />

ผล รูปไข ยาวประมาณ 0.7 ซม.<br />

6


เทพทาโร (<strong>Cinnamomum</strong> porrectum (Roxb.) Kosterm.) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 10-30 เมตร เปลือกตนสีเทาเขม หรือสีน้ําตาลปน<br />

เทา แตกเปนรองตามยาว ลําตนกิ่งออนเรียว<br />

เกลี้ยงและมักมีคราบสีขาว<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกเรียงสลับ หรือเกือบตรงขาม รูปรี รูปไข รูปรีแกมรูปไข หรือรูป<br />

ไขแกมรูปขอบขนาน กวาง 2.5-4.5 ซม. ยาว 7-20 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม หรือกลม<br />

ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยง<br />

ดานลางเปนคราบขาว มีเสนใบ 3-7 คู<br />

กานใบเรียวเล็ก ยาว 2.0-3.5<br />

ซม.<br />

ดอก สีขาว หรือเหลืองออนๆ มีกลิ่นหอม<br />

ออกเปนชอกระจุกตามงามใบใกลปลายกิ่ง<br />

ยาว 2.5-7.5 ซม. กานชอเรียว เล็ก กลีบรวมเชื่อมติดกันเปนหลอดรูปกรวย<br />

ปลายแยกเปนกลีบ<br />

รูปขอบขนาน 6 กลีบ ซึ่งมีขนาดเกือบเทากัน<br />

ดานนอกเกลี้ยง<br />

ดานในมีขนนุมและยาว<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง เกสรเพศผูเปนหมันจะอยูภายในสุด<br />

อับเรณูมี 4<br />

ชอง แตละชองมีลิ้นปดเปด<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปไข ไมมีขน<br />

ผล กลม เล็ก มีเสนผานศูนยกลางประมาณ 7 มม. เมื<br />

่อออนสีเขียว แกสีมวงดํา กานผล<br />

เรียว ยาวประมาณ 3-5 ซม.<br />

7


เชียดตัวผู<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> puberulum Ridl.) (Kochummen, 1989)<br />

ไมตน ขนาดเล็ก สูง 15 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาล<br />

เกลี้ยง<br />

กิ่งออนมีขนสั้นกระจายทั่ว<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกเรียงสลับ รูปรี ถึงรูปขอบขนาน กวาง 2.5-3.5 ซม. ยาว 6.5-13<br />

ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม หรือกลม ดานลางเปนคราบขาว กานใบยาว 1-1.5 ซม.<br />

ดอก สีเหลือง ออกเปนชอกระจะแยกแขนงตามงามใบใกลปลายกิ่ง<br />

ยาว 6 ซม. กลีบ<br />

รวมเชื่อมติดกันเปนหลอดรูปถวย<br />

ผล รูปขอบขนาน เมื่อออนสีเขียว<br />

แกสีมวงดํา กานผลเรียว กวาง 0.6 ซม. ยาว 1 ซม.<br />

แตยอ (<strong>Cinnamomum</strong> rhyncophyllum Miq.) (Kochummen, 1989)<br />

ไมตน ขนาดเล็ก สูง 12 เมตร เปลือกตนสีเทา เกลี้ยง<br />

ลําตนกิ่งออนมีขนสั้นกระจายทั่ว<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม หรือเกือบจะออกแบบตรงขาม รูปรี หรือรูปขอบขนาน<br />

กวาง 2-8 ซม. ยาว 7-23 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม<br />

ดานลางเปนคราบขาว กานใบยาว<br />

1-1.5 ซม.<br />

ดอก ออกเปนชอแยกแขนงตามงามใบใกลปลายกิ่ง<br />

ยาว 15 ซม.<br />

8


ลูกขา (<strong>Cinnamomum</strong> sintoc Blume) (Kochummen, 1989)<br />

ไมตน ขนาดใหญ สูงถึง 39 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาลปนเทา<br />

แตกเปนรองตามยาว<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม หรือเกือบตรงขาม รูปไขแกมรูปใบหอก หรือรูปขอบ<br />

ขนาน กวาง 3-8.5 ซม. ยาว 7-22.5 ซม. ปลายใบแหลม หรือมน โคนใบสอบแคบ มีเสนใบ 3-<br />

4 คู<br />

กานใบ ยาว 0.8-1.8 ซม.<br />

ดอก สีขาว หรือเหลืองออน ออกเปนชอแยกแขนงตามงามใบใกลปลายกิ่ง<br />

ยาว 10-15<br />

ซม. กลีบรวมเชื่อมติดกันเปนหลอดรูปถวย<br />

มีขนนุม<br />

ซม.<br />

ผล รูปขอบขนาน เมื่อออนสีเขียว<br />

แกสีมวงดํา กานผลเรียว กวาง 0.8 ซม. ยาว 1.8<br />

9


สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> subavenium Miq.) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมพุม<br />

กึ่งไมตน<br />

สูง 5-25 ม. กิ่งและใบออนมีสีน้ําตาลปกคลุม<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม หรือเกือบตรงขาม รูปขอบขนาน ถึงรูปใบหอกแกมรูป<br />

ขอบขนาน กวาง 1.6-3.5 ซม. ยาว 7-11 ซม. ปลายใบเรียวแหลม หรือแหลมเปนหางยาว โคน<br />

ใบแหลม ขอบใบเรียบ ดานบนเปนมัน ดานลางเปนขน มีเสนใบออกจากโคนใบ 3 เสน เสนใบ<br />

ยอยเกือบขนานกัน มองเห็นไมชัด กานใบยาวประมาณ 8 มม. มีขน<br />

ดอก ออกตามงามใบ หรือที่ปลายยอด<br />

เปนชอกระจะ ตามกานชอกานดอกและกลีบรวม<br />

มีขนสีขาวปกคลุม กลีบรวมมี 6 กลีบ รูปไข กวาง 1.8 มม. ยาว 2.5 มม.<br />

เกสรเพศผู<br />

ที่สมบูรณมี<br />

9 อัน กานเกสรมีขน อับเรณูรูปรี ดานหลังมีขนเล็กนอย เกสร<br />

เพศผูเรียงเปน<br />

3 วง วงที่<br />

3 มีตอมที่โคนกานเกสร<br />

เกสรเพศผูเปนหมันอยูภายใน<br />

อับเรณูรูปหัว<br />

ลูกศร<br />

มม.<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปรี เกลี้ยง<br />

ยาวประมาณ 1.5 มม. กานเกสรเกลี้ยง<br />

ยาวประมาณ 2<br />

ผล รูปขอบขนาน กวาง 5-7 มม. ยาว 8-11 มม. ปลายมน<br />

10


อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) (กองกานดา, 2540)<br />

ไมตน สูง 20-25 ม. กิ่งออนมีขนสั้นๆ<br />

ปกคลุม<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

ออกตรงขาม รูปไข หรือขอบขนานแกมรูปไขกวาง 4.5-5.5 ซม. ยาว<br />

11-16 ซม. ปลายใบมน โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ มีเสนใบตามยาว 3 เสน เสนขาง 2 เสน<br />

ยาวเพียง 3/4 ของความยาวใบ เสนใบยอยสานกันเปนตาขายเห็นชัดทั้ง<br />

2 ดาน ดานบนเปนรอง<br />

เกลี้ยง<br />

กานใบยาวประมาณ 2 ซม. ดานลางมีคราบขาวเล็กนอย<br />

ดอก ออกตามงามใบ และที่ปลายกิ่ง<br />

เปนชอแบบกระจะ ยาว 10-12 ซม. กานชอดอกมี<br />

ขนเปนมันปกคลุม กานดอกยอยยาวประมาณ 3-4 มม. มีขน ดอกตูมรูปไขกลับ ยาวประมาณ 2-<br />

2.5 มม. กลีบรวม 6 กลีบ ดานนอกมีขนหนาแนน ดานในมีขนเปนมัน<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง วงในสุดมีตอมที่โคนกาน<br />

โคนกานเกสรมีขน เกสร<br />

เพศผูเปนหมันมี<br />

3 อัน<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปไข กานเกสรคอนขางสั้น<br />

ยอดเกสรเพศเมียกลม<br />

ผล รูปรี ยาว 8-14 มม. มีกลีบรวมติดอยู<br />

กลีบรวมยาวประมาณ 4-8 มม. มีสันนูน 12<br />

สัน ระหวางสันเปนรอง<br />

11


การกระจายพันธุ<br />

พรรณไมสกุลอบเชย ทั่วโลกพบประมาณ<br />

350 ชนิด กระจายกวางขวางทั่วไปทั้งในเขต<br />

รอนและกึ่งรอน<br />

เชน ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ครอบคลุมไปถึงประเทศอินเดีย ศรีลังกา<br />

และประเทศใกลเคียง มีรายงานพบในญี่ปุน<br />

ไตหวัน ในประเทศจีนมีการกระจายตั้งแตทางตอนใต<br />

ไปถึงตอนกลางของประเทศ พบในออสเตรเลีย และหมูเกาะในแปซิฟก<br />

(Hooker, 1974 อางถึงใน<br />

สมคิด, 2541)<br />

การศึกษาพรรณไมสกุลอบเชยในประเทศไทย มีรายงานวาพบ 19 ชนิด (สวน<br />

พฤกษศาสตรปาไม, 2544) คือ อบเชยจีน (<strong>Cinnamomum</strong> aromaticum Nees) อบเชย (C .<br />

bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) อบเชยชวา (C. burmannii (Nees) Blume) การบูร (C.<br />

camphora (L.) J. Presl) ฮางแกง (C. crenulicupulum Kosterm.) เชียดตัวเมีย (C. deschampsii<br />

Gamble) กะเพราตน (C. glaucescens (Nees) Drury) ขาตน (C. ilicioides A.Chev.) เชียด (C.<br />

iners Reinw. ex Blume) ละมุนละแมง (C. kerrii Kosterm.) เชียดใบใหญ (C. mollissimum<br />

Blume) เทพทาโร (C. porrectum (Roxb.) Kosterm.) เชียดตัวผู<br />

(C. puberulum Ridl.) แตยอ<br />

(C. rhynchophyllum Miq.) ลูกขา (C. sintoc Blume) สุรามะริด (C. subavenium Miq.) แกง<br />

(C. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) ปอยเลื่อม<br />

(C. tavoyanum C.F.W. Meissn.) และ<br />

อบเชยเทศ (C. verum J. Presl)<br />

สําหรับการแพรกระจายในประเทศไทยพบวา มีการกระจายพันธุทั่วทุกภาคของประเทศ<br />

โดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาคใต พบขึ้นในบริเวณปาดิบทั่วทุกภาคของประเทศ<br />

ชนิดที่พบมาก<br />

ที่สุดคือลูกขา<br />

(C. sintoc Blume) ซึ่งจะพบทั่วทุกภาคของประเทศ<br />

โดยจะพบมากในภาคใต<br />

รองลงมาคือ เชียด (C. iners Reinw. ex Blume) พบในทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะ<br />

ภาคเหนือและภาคใต ชนิดที่พบนอยที่สุดคือ<br />

ปอยเลื่อม<br />

(C. tavoyanum C.F.W. Meissn.) พบ<br />

เฉพาะที่ภาคใตเทานั้น<br />

(ที่มา:<br />

หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช<br />

พิพิธภัณฑ<br />

พืชสิรินธร กรมวิชาการเกษตร หองพิพิธภัณฑพืช มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร)<br />

12


รายงานการแพรกระจายของพรรณไมสกุลอบเชยในเขตตางๆ มีดังตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 แสดงการแพรกระจายของพรรณไมสกุลอบเชยในเขตตางๆ<br />

เขตการแพรกระจาย ชนิดที่พบ<br />

หมายเหตุ<br />

พมา (8 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> cassia, C. caudatum,<br />

C. iners, C. inunctum, C. obtusifolium,<br />

C. parthenoxylon, C. sulphuratum,<br />

และ C. zeylanicum<br />

Kurz (1877)<br />

อินเดีย (26 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> cassia, C. caudatum,<br />

C. cecicodaphne, C. citriodorum,<br />

C. glanduliferum, C. gracile,<br />

C. impressinervium, C. iners,<br />

C. inunctum, C. javanicum,<br />

C. litseaefolium, C. macrocarpum,<br />

C. mollissimum, C. multiflorum,<br />

C. nitidum, C. obtusifolium,<br />

C. ovalifolium, C. parthenoxylon,<br />

C. pauciflorum, C. perrottetii,<br />

C. sulphuratum, C. tamala,<br />

C. tavoyanum, C. vimineum,<br />

C. wightii และ C. zeylanicum<br />

อินโดนีเซีย (8 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> burmanni, C. camphora,<br />

C. cassia, C. javanicum, C. iners,<br />

C. parthenoxylon, C. sintoc และ<br />

C. zeylanicum<br />

Hooker (1890)<br />

Backer and Van den<br />

Brink (1963)<br />

13


ตารางที่<br />

1 (ตอ)<br />

เขตการแพรกระจาย ชนิดที่พบ<br />

หมายเหตุ<br />

ภูฏาน (7 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> bejolghota,<br />

C. glanduliferum, C. glaucescens,<br />

C. impressinervium, C. pauciflorum,<br />

C. tamala และ C. tenuipilis<br />

Long (1984)<br />

Sulawesi (Celebes)<br />

(7 ชนิด)<br />

<strong>Cinnamomum</strong> burmanni, C. celebicum,<br />

C. pilosum, C. polderi,<br />

C. subsveniopsis, C. sulavesianum<br />

และ C. trichophyllum<br />

ฟลิปปนส (21 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> anacardium,<br />

C. burmanni, C. cebuense, C. ebaloi,<br />

C. griffithii, C. iners, C. lanaoense,<br />

C. loheri, C. mendozai, C. mercadoi,<br />

C. myrianthum, C. nanophyllum,<br />

C. oblongum, C. panayense,<br />

C. perglabrum, C. rupestre,<br />

C. sancticaroli, C. sandkuhlii,<br />

C. trichophyllum, C. utile<br />

และ C. verum<br />

Mollucas (3 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> culitlawan, C. lineatum<br />

และ C. macrophyllum<br />

Solomon Islands และ<br />

New Britain (4 ชนิด)<br />

<strong>Cinnamomum</strong> melliodorum, C. novaebritanniae,<br />

C. solomonense และ<br />

C. talawaense<br />

Kostermans (1986)<br />

Kostermans (1986)<br />

Kostermans (1986)<br />

Kostermans (1986)<br />

14


ตารางที่<br />

1 (ตอ)<br />

เขตการแพรกระจาย ชนิดที่พบ<br />

หมายเหตุ<br />

New Guinea<br />

<strong>Cinnamomum</strong> archboldianum, Kostermans (1986)<br />

(19 ชนิด)<br />

C. arfakense, C. clemansii,<br />

C. englerianum, C. eugenoliferum,<br />

C . frodinii, C. gracillinum,<br />

C. grandiflorum, C . kami,<br />

C. ledermannii, C. longepedicellatum,<br />

C. petiolatum, C. piniodorum,<br />

C . podagrinum, C. rosselianum,<br />

C. sleumeri, C. splendens,<br />

C. vaccinifolium และ<br />

C. xanthoneurum<br />

The Pacific Area <strong>Cinnamomum</strong> degeneri, C . fitianum, Kostermans (1986)<br />

(10 ชนิด)<br />

C. lanuginosum, C. ovalauense,<br />

C. pallidum, C. pedatinervium,<br />

C. rigidum, C. sessilifolium,<br />

C. vitiense และ C. verum<br />

ออสเตรเลีย (5 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> baileyanum, C. laubatii,<br />

C. oliveri, C. propinquum และ<br />

C. virens<br />

Kostermans (1986)<br />

มาเลเซีย (21 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> altissimum,<br />

C. aureofulvum, C. cordatum,<br />

C. cuspidatum, C. impressicostatum,<br />

C. iners, C. javanicum, C. kunstleri,<br />

C. microphyllum, C. mollissimum,<br />

C. pachypes, C. porrectum,<br />

C. puberuium, C. pubescens,<br />

C. rhyncophyllum, C. saffrol,<br />

Kochummen (1989)<br />

15


ตารางที่<br />

1 (ตอ)<br />

เขตการแพรกระจาย ชนิดที่พบ<br />

หมายเหตุ<br />

มาเลเซีย (21 ชนิด) C. scortechinii, C. sintoc,<br />

Kochummen (1989)<br />

(ตอ)<br />

C. subavenium, C. subcuneatum และ<br />

C. vimineum<br />

ศรีลังกา (3 ชนิด) <strong>Cinnamomum</strong> dubium, C. ovalifolium<br />

และ C. verum<br />

ไทย (19 ชนิด) อบเชยจีน (<strong>Cinnamomum</strong> aromaticum)<br />

อบเชย (C. bejolghota)<br />

อบเชยชวา (C. burmannii)<br />

การบูร (C. camphora)<br />

ฮางแกง (C. crenulicupulum)<br />

เชียดตัวเมีย (C. deschampsii)<br />

กะเพราตน (C. glaucescens)<br />

ขาตน (C. ilicioides)<br />

เชียด (C. iners)<br />

ละมุนละแมง (C. kerrii)<br />

เชียดใบใหญ (C. mollissimum)<br />

เทพทาโร (C. porrectum)<br />

เชียดตัวผู<br />

(C. puberulum)<br />

แตยอ (C. rhynchophyllum)<br />

ลูกขา (C. sintoc)<br />

สุรามะริด (C. subavenium)<br />

แกง (C. tamala)<br />

ปอยเลื่อม<br />

(C. tavoyanum) และ<br />

อบเชยเทศ (C. verum)<br />

Ashton และคณะ (1997)<br />

สวนพฤกษศาสตรปาไม<br />

(2544)<br />

16


การศึกษาทางดานกายวิภาค<br />

Metcalfe and Chalk (1950) ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคสวนใบ และลําตน ของพืชวงศ<br />

อบเชย (Lauraceae) พบวา<br />

ใบ มีเซลลผิวที่มีคิวติเคิล<br />

(cuticle) เคลือบหนา เซลลขนมีผนังเซลลหนา สวนใหญเปน<br />

ชนิดเซลลเดียว (unicellular) พบปุมกลมขนาดเล็ก<br />

(papillose) และปากใบชนิดที่อยูต่ํากวาเซลล<br />

ผิว (sunken stomata) ที่ผิวใบดานลางและเปนแบบ<br />

rubiaceous type ใตเซลลผิวใบดานบนมี<br />

เนื้อเยื่อชั้นไฮโปเดอรมิส<br />

(hypodermis) ประกอบดวยเซลล 1 ชั้น<br />

เซลลชั้นมีโซฟลล<br />

(mesophyll) ประกอบดวย palisade parenchyma 1-3 ชั้น<br />

spongy parenchyma ประกอบดวย<br />

ชองวางขนาดใหญ เสนกลางใบ มี bundle sheath ที่ประกอบดวยเซลลสเคลอเรงไคมา<br />

(sclerenchyma) ลอมรอบ เซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) ประกอบดวย เซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell)<br />

และเซลลสะสมสารเมือก (mucilaginous cell) โดยพบวาเซลลสะสมน้ํามันมีรูปรางกลม<br />

ผนัง<br />

เซลลหลั่งซูเบอริน<br />

(suberin) ภายในเซลลมีสีเหลืองออน พบอยูในเนื้อเยื่อชั้น<br />

palisade และ<br />

spongy สวนเซลลสะสมสารเมือก มีรูปรางกลม เหมือนเซลลน้ํามัน<br />

แตจะพบอยูในเนื้อเยื่อชั้น<br />

palisade เทานั้น<br />

ผลึก (crystal) พบไดในเซลลสเคลอเรงไคมาบริเวณเสนกลางใบ สวนใหญเปน<br />

ผลึกรูปเข็ม รูปกระสวย รูปแปดเหลี่ยม<br />

ลําตน สวนเปลือกนอกสุดพบเนื้อเยื่อคอรก<br />

(cork) ประกอบดวยเซลลผนังบาง ชั้นคอร<br />

เทก (cortex) มีรูปรางไมแนนอน ประกอบดวยเซลลพาเรนไคมาที่มีผนังบาง<br />

บางสกุลพบเซลล<br />

สเคลอรีด (sclereid) พบทั้งเซลลน้ํามัน<br />

และเซลลสารเมือก โดยจะพบในชั้น<br />

cortex phloem<br />

เนื้อไม<br />

และ pith ของลําตน ผลึก พบอยูในเนื้อเยื่อที่ไมมีลิกนิน<br />

สวนใหญพบผลึกรูปเข็ม รูป<br />

กระสวย บางสกุลพบผลึกรูปปริซึม<br />

เนื้อไม<br />

พบ vessel มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 100-200 ไมโครเมตร บางครั้งพบวามีขนาด<br />

เล็กกวา 100 ไมโครเมตร สวนใหญจะอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

และเซลลกลุม<br />

ซึ่งประกอบดวย<br />

4 เซลล<br />

หรือมากกวา จํานวน vessel เฉลี่ยมีจํานวน<br />

5-12 เซลลตอตารางมิลลิเมตร บางสกุลพบวามี<br />

จํานวน vessel เฉลี่ย<br />

นอยกวา 5 เซลลตอตารางมิลลิเมตร ชองเปดปลายเซลลเปนแบบชองเดี่ยว<br />

(simple perforation) บางครั้งพบแบบหลายชองแบบขั้นบันได<br />

(scalariform multiple<br />

perforation) การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel พบแบบสลับ (alternate) การกระจายของ<br />

17


axial parenchyma เปนแบบ paratracheal parenchyma Ray มีความกวาง 2-3 เซลล และอาจ<br />

กวางไดถึง 4-8 เซลล ray เปนแบบ uniseriate heterocellular fiber เปนแบบไมมีผนังกั้น<br />

(nonseptate<br />

fiber) และบางสกุลมีผนังกั้น<br />

(septate fiber) เซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) และเซลล<br />

สะสมสารเมือก (mucilaginous cell) พบใน parenchyma หรือ ray โดยทั่วไปจะพบวาเซลลทั้ง<br />

สองชนิดจะอยูลอมรอบ<br />

vessel และไมสามารถจําแนกได เนื่องจากมีลักษณะที่ใกลเคียงกัน<br />

ยกเวนจะมีศึกษาจากองคประกอบภายในเซลล จึงจะสามารถจําแนกได<br />

Lemmens et al. (1995) ศึกษากายวิภาคเนื้อไมของพืชสกุลอบเชย<br />

พบวามีลักษณะ<br />

โดยทั่วไปคือ<br />

ชองเปดปลายเซลลของ vessel เปนแบบชองเดี่ยว<br />

และแบบหลายชองขั้นบันได<br />

fiber เปนแบบธรรมดา หรือแบบมีผนังกั้น<br />

(septate fiber) ผนังเซลลของ fiber มีทั้งบางและ<br />

หนา เซลล parenchyma กระจายตัวหางจาก vessel แบบ abundant และ vasicentric<br />

apotracheal พบผลึกขนาดเล็กใน ray ของอบเชยบางชนิด พบเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) ที่<br />

ประกอบดวยเซลลสะสมน้ํามัน<br />

และเซลลสะสมสารเมือก ใน ray และ axial parenchyma<br />

Bakker et al. (1992) ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคและรูปแบบการกระจายตัวของเซลล<br />

สะสมน้ํามัน<br />

และเซลลหลั่งเมือกในใบของพืชสกุลอบเชย<br />

150 ชนิด พบวาเซลลพิเศษทั้ง<br />

2 ชนิด<br />

มักพบในชั้น<br />

palisade และ spongy เกือบทุกชนิดพบทั้งเซลลน้ํามันและเซลลสารเมือกรวมกัน<br />

มี<br />

บางชนิดเทานั้นที่พบเฉพาะเซลลน้ํามันหรือเซลลสารเมือกเพียงอยางเดียว<br />

เซลลพิเศษทั้งสองชนิด<br />

นี้<br />

ผนังเซลลหลั่งซูเบอริน<br />

ในพืชตางชนิดกัน เซลลพิเศษทั้งสองชนิด<br />

มีความผันแปรทั้งในเรื่อง<br />

ของจํานวน ขนาด รูปราง ความผันแปรของรูปแบบการกระจายตัวของเซลลพิเศษทั้งสองชนิด<br />

สามารถอธิบายความสัมพันธของพืชสกุล <strong>Cinnamomum</strong> ไดบางสวน<br />

18


การศึกษาน้ํามันหอมระเหย<br />

Dung et al. (1994) ศึกษาน้ํามันหอมระเหยจากเนื้อไมของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong> albiflorum<br />

Nees จากประเทศกัมพูชา พบสารที่เปนองคประกอบของน้ํามันประมาณ<br />

35 ชนิด สามารถ<br />

จําแนกได 27 ชนิด โดยสารที่เปนองคประกอบหลักไดแก<br />

eugenol, 1,8-cineole, geraniol, αterpineol<br />

และ terpinen-4-ol<br />

Dung et al. (1995) ศึกษาน้ํามันหอมระเหยจากสวนของเปลือกราก<br />

และเนื้อไมของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong> parthenoxylon (Jack) Nees จากประเทศเวียดนาม พบวาสารที่เปนองคประกอบ<br />

ในน้ํามันจากเปลือกรากมีมากกวา<br />

30 ชนิด สารที่เปนองคประกอบหลักคือ<br />

benzyl benzoate<br />

สวนในเนื้อไมพบ<br />

20 ชนิด และพบสาร safrole เปนองคประกอบหลัก<br />

Nath et al. (1996) ศึกษาน้ํามันหอมระเหยจากใบและเปลือกตนของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong><br />

zeylanicum Blume จากทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย พบสารที่เปนองคประกอบ<br />

ในน้ํามัน<br />

17 ชนิด โดยมี benzyl benzoate เปนสารประกอบหลักทั้งสองสวน<br />

แตจะพบใน<br />

เปลือกตนในปริมาณมากกวาในใบ<br />

Baruah et al. (1997) ศึกษาน้ํามันหอมระเหยจากใบ<br />

เปลือกตน และชอดอกของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong> bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet จากทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย<br />

พบวา ในใบและชอดอกมีสารที่เปนองคประกอบหลัก<br />

27 ชนิด โดยจะพบสาร linalool เปน<br />

องคประกอบหลัก สวนในเปลือกตนพบสาร 18 ชนิด มีสาร α-terpineol และ (E)-nerolidol<br />

เปนสารประกอบหลัก<br />

19


การใชประโยชน<br />

นิยมนําเปลือกอบเชยมาใชเปนเครื่องเทศ<br />

เครื่องหอม<br />

อบเชยบางชนิดมีประโยชนทางดาน<br />

สมุนไพร เชน เปลือกตนอบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) นํามาตม<br />

ดื่มแกตับอักเสบ<br />

แกทองเสีย ลําไสเล็กทํางานผิดปกติ และขับพยาธิ เปลือกตนอบเชยเทศ (C.<br />

verum J. Presl) ใชเปนยาชง ยาผงหรือยาตม เปนยาฝาดสมาน ขับลม แกคลื่นไสอาเจียน<br />

สวน<br />

เปลือกตนอบเชยจีน (C. cassia Presl) เปนยาบํารุงแกมือและเทาเย็น แกปวดทอง ชวยยอย ขับ<br />

ลม (กองกานดา, 2540)<br />

เนื้อไมของการบูร<br />

(C. camphora (L.) J. Presl) นํามากลั่นไดการบูรธรรมชาติ<br />

ใชผสม<br />

เปนยาเพื่อปองกันแมลงบางชนิด<br />

เปนยาระงับประสาท ขับเหงื่อ<br />

แกไขหวัด และขับลม ใชทาถู<br />

นวดแกปวด และเปนยาฆาเชื้อโรคอยางออน<br />

(กองกานดา, 2540)<br />

ใบ น้ํายางจากใบเชียด<br />

(C. iners Reinw. ex Blume) ใชทาแผลถอนพิษของยางนอง<br />

และตําเปนยาพอกแกปวดไขขอ น้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการกลั่นใบสดของอบเชยเทศ<br />

(C.<br />

verum J. Presl) แกปวดศีรษะ แกปวดฟน ใชอมทําใหปากหอม (กองกานดา, 2540)<br />

น้ํามันหอมระเหยที่สกัดไดจากเปลือกและใบ<br />

นําไปใชในอุตสาหกรรมเครื่องหอม<br />

อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม<br />

เชน น้ํามันหอมระเหยที่สกัดจากเปลือกอบเชยเทศ<br />

(C. verum<br />

J. Presl) ใชแตงกลิ่นอาหาร<br />

และเปนสวนผสมในครีมทาถูนวดแกปวด ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา<br />

พบวา<br />

ใชตานเชื้อแบคทีเรีย<br />

รา และไลแมลง (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2548)<br />

ประโยชนในดานการใชเนื้อไม<br />

เชน นํามาทําเครื่องตกแตงบาน<br />

ตูเสื้อผา<br />

และผลิตเปนไม<br />

อัด เนื้อไมที่มีกลิ่นหอมใชปองกันผีเสื้อกลางคืน<br />

(Lemmens, 1995) กลิ่นหอมของเนื้อไมการบูร<br />

(C. camphora (L.) J. Presl) พบคุณสมบัติในการไลแมลง (Oyen and Dung, 1999)<br />

นอกจากนี<br />

้ยังพบวา สารเมือกจากเชียด (C. iners Reinw. ex Blume) นํามาใชในการ<br />

ผลิตธูปหอม พลาสติก กาว สารเคลือบผลิตภัณฑกระดาษ และสี (Lemmens, 1995) ใน<br />

ออสเตรเลีย มีการนําการบูร (C. camphora (L.) J. Presl) เขามาปลูกเปนไมกําบังรมเงาสองขาง<br />

ทางและในสวน (Oyen and Dung, 1999)<br />

20


อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1. วัสดุ อุปกรณสําหรับการเก็บตัวอยางพันธุไมในภาคสนาม<br />

1.1 แผงอัดพรรณไม<br />

1.2 กระดาษหนังสือพิมพ<br />

1.3 กระดาษลูกฟูก<br />

1.4 กรรไกรตัดกิ่งและกรรไกรชัก<br />

1.5 ถุงพลาสติกสําหรับใสตัวอยางพรรณไม<br />

1.6 ขวดเก็บตัวอยางดอง<br />

1.7 สมุดบันทึกขอมูลภาคสนาม<br />

1.8 กลองถายรูป<br />

1.9 ฟลมสี และฟลมสไลด<br />

2. อุปกรณและสารเคมีสําหรับการเตรียมตัวอยางพันธุไมแหง<br />

2.1 น้ํายาอาบพันธุไมเพื่อกันแมลงและเชื้อรา<br />

2.2 กระดาษแข็งสีขาวขนาด 30x40 เซนติเมตร<br />

2.3 กระดาษปกขาว ขนาด 30x40 เซนติเมตร<br />

2.4 กระดาษปกสีน้ําตาลขนาด<br />

30x40 เซนติเมตร<br />

2.5 กาวผสมระหวางกาวลาเทกซและกาวน้ํา<br />

อัตราสวน 1:1<br />

2.6 แผนปายบันทึกขอมูล เข็ม ดาย และถุงทราย<br />

3. วัสดุอุปกรณสําหรับการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการตรวจหาชื่อ<br />

วิทยาศาสตร<br />

3.1 กลองจุลทรรศนแบบสเตอริโอ<br />

3.2 กลองจุลทรรศนแบบใชแสง<br />

3.3 สไลดและกระจกปดสไลด<br />

3.4 เข็มเขี่ย<br />

3.5 ใบมีดโกน<br />

21


3.6 หลอดหยด<br />

3.7 ปากคีบ<br />

3.8 ตัวอยางพันธุไมแหงจากในพิพิธภัณฑพืช<br />

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ<br />

พันธุพืช<br />

และพิพิธภัณฑพืชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร<br />

3.9 เอกสารทางอนุกรมวิธานที่เกี่ยวของ<br />

4. วัสดุ อุปกรณและสารเคมีที่ใชในการศึกษาลักษณะทางดานกายวิภาค<br />

และใชในการทํา<br />

สไลดถาวร ตามวิธีของสมคิด (2526) ประศาสตร (2537) และ Johansen (1940)<br />

4.1 วัสดุ อุปกรณและสารเคมี ที่ใชในการทําสไลดถาวร<br />

4.1.1 เครื่องดูดอากาศ<br />

(Suction pump)<br />

4.1.2 เครื่องตัดเนื้อเยื่อแบบหมุน<br />

(Rotary microtome)<br />

4.1.3 เครื่องตัดเนื้อเยื่อแบบไถล<br />

(Sliding microtome)<br />

4.1.4..เครื่องอุนสไลด<br />

(Slide warmer)<br />

4.1.5 กระจกสไลด<br />

4.1.6 ตูหลอมพาราฟน<br />

(Paraffin oven)<br />

4.1.7 ขวดแกวสําหรับยอมสี<br />

4.1.8 ตะเกียงแอลกอฮอล<br />

4.1.9 น้ํายาฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

FAA (Formalin acetic acid) 50 เปอรเซ็นต<br />

4.1.10 Ethyl alcohol<br />

4.1.11 Tertiary butyl alcohol<br />

4.1.12 Paraffin oil<br />

4.1.13 Paraffin<br />

4.1.14 Haupt’s adhesive<br />

4.1.15 Formalin<br />

4.1.16 สี Safranin O<br />

4.1.17 สี Fast green<br />

4.1.18 Xylene<br />

4.1.19 Ether<br />

4.1.20 Permount<br />

4.1.21 Polyethylene glycol (PEG) MW 1,200<br />

22


4.2 วัสดุ อุปกรณและสารเคมีที่ใชในการแยกเซลล<br />

(Maceration)<br />

4.2.1 หลอดทดลองสําหรับใสเนื้อไม<br />

4.2.2 Hot plate<br />

4.2.3 น้ํากลั่น<br />

4.2.4 Glacial acetic acid<br />

4.2.5 Hydrogen peroxide<br />

4.2.6 สี Safranin O<br />

4.2.7 Ethyl alcohol<br />

4.2.8 Xylene<br />

4.2.9 Permount<br />

5. วัสดุ อุปกรณและสารเคมีที่ใชในการศึกษาน้ํามันหอมระเหยดวยการกลั่นโดยใชน้ํา<br />

5.1 หมอกลั่น<br />

5.2 เครื่องควบแนน<br />

5.3 ภาชนะรองรับน้ํามัน<br />

5.4 น้ํากลั่น<br />

1. การศึกษาสัณฐานวิทยา<br />

วิธีการ<br />

1.1 สํารวจและรวบรวมพรรณไมภาคสนาม โดยเก็บตัวอยางพรรณไมสกุลอบเชยจาก<br />

แปลงรวบรวมพันธุอบเชย<br />

สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดงฟาหวน) จังหวัด<br />

อุบลราชธานี จํานวน 8 ชนิดๆ ละ 1-2 ตน โดยเก็บกิ่งที่มีใบ<br />

ดอกตูมหรือดอกบาน และผล มา<br />

เตรียมเปนตัวอยางแหง<br />

1.2 การศึกษาสัณฐานวิทยา ตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตรที่ถูกตองจากตัวอยางพรรณไม<br />

แหง โดยใชลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตรวจสอบจากเอกสารอางอิง และเทียบเคียงกับตัวอยาง<br />

พรรณไมแหงที่เก็บไวในหอพรรณไม<br />

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช<br />

และพิพิธภัณฑ<br />

พืชสิรินธร กรมวิชาการเกษตร บรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตรของพรรณไมแตละชนิดโดย<br />

ละเอียด พรอมจัดทํารูปวิธานจําแนกชนิด (Key to species)<br />

23


2. การศึกษากายวิภาค<br />

2.1 เตรียมชิ้นสวนปลายยอด<br />

และใบลําดับที่<br />

3 จากปลายยอด โดยตัดใหเปนชิ้น<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ขนาดประมาณ 0.5x0.7 เซนติเมตร มาทําสไลดถาวรดวยกรรมวิธี Paraffin<br />

section (Johansen, 1940)<br />

2.2 เตรียมชิ้นสวนเปลือกตน<br />

โดยตัดตัวอยางเปลือกตนบริเวณโคนตน สูงจากพื้นดิน<br />

ประมาณ 30 เซนติเมตร ใหเปนชิ้นสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ขนาดประมาณ 0.5x0.7 เซนติเมตร นํามาทํา<br />

สไลดถาวรดวยการฝงเนื้อเยื่อใน<br />

Polyethylene glycol (PEG) MW 1,200 และตัดดวย Sliding<br />

microtome<br />

2.3 เตรียมชิ้นสวนเนื้อไม<br />

โดยตัดกิ่งอบเชยแตละชนิด<br />

ที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ<br />

1 เซนติเมตร และตัดเนื้อไมใหเปนแทงสี่เหลี่ยมขนาดหนาตัดประมาณ<br />

1x1 เซนติเมตร สูง<br />

ประมาณ 2 เซนติเมตร นํามาทําสไลดถาวรจากการตัดดวย Sliding microtome<br />

2.4 ตัดและผาเนื้อไมใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร นํามาทําสไลดถาวร<br />

ดวยการแยกเซลล (Maceration)<br />

2.5 ศึกษาดานกายวิภาค ภายใตกลองจุลทรรศน บรรยายลักษณะทางกายวิภาคและ<br />

บันทึกภาพ<br />

3. การศึกษาน้ํามันหอมระเหย<br />

การเตรียมชิ้นสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ โดยแยกเปลือกตนออกจากเนื้อไม<br />

นํา<br />

ตัวอยางทั้งหมดมาตากใหแหงในที่รมเปนเวลาประมาณ<br />

2 สัปดาห สับใหมีขนาดเล็กลง หรือ<br />

นําไปบดหยาบ หลังจากนั้นนําตัวอยางทั้งหมดไปชั่งน้ําหนักแหง<br />

นําตัวอยางมาสกัดน้ํามันหอม<br />

ระเหยโดยการกลั่นดวยน้ํา<br />

โดยใชเครื่องสกัดน้ํามันหอมระเหยชนิด<br />

Clevenger ใชเวลากลั่น<br />

ประมาณ 5 ชั่วโมง<br />

ศึกษาความสัมพันธของสารหอมระเหยกับลักษณะทางกายวิภาค<br />

24


4. สถานที่ทําการวิจัย<br />

1. สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดงฟาหวน) จังหวัดอุบลราชธานี<br />

2. ภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

3. หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช<br />

4. พิพิธภัณฑพืชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร<br />

5. ระยะเวลาในการวิจัย<br />

เริ่มทําการวิจัยเดือนเมษายน<br />

2545 สิ้นสุดเดือนกันยายน<br />

2547<br />

25


ผล<br />

จากการสํารวจศึกษาพรรณไมสกุลอบเชยในพื้นที่แปลงรวบรวมพันธุอบเชย<br />

สวน<br />

พฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดงฟาหวน) จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 8 ชนิด ดัง<br />

ตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 รายชื่อพรรณไมสกุลอบเชยที่เก็บรวบรวมและใชเปนตัวอยางในการวิจัย<br />

่ ลําดับที ชื่อพื้นเมือง<br />

ชื่อวิทยาศาสตร<br />

1. มหาปราบ <strong>Cinnamomum</strong> sp.1<br />

2. เชียด <strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet<br />

3. ฝนแสนหา <strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.<br />

4. อบเชย <strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume<br />

5. สุรามะริด <strong>Cinnamomum</strong> sp.2<br />

6. อบเชยญวน <strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl<br />

7. การบูร <strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl<br />

8. อบเชยเทศ <strong>Cinnamomum</strong> sp.3<br />

26


27<br />

ภาพที่<br />

1 ภาพพรรณไมสกุลอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิด ที่ทําการศึกษา<br />

ก. มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1)<br />

ข. เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet)<br />

ค. ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.)<br />

ง. อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume)<br />

จ. สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2)<br />

ฉ. อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

ช. การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

ซ. อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3)


ค<br />

ก ข<br />

จ ฉ<br />

ช ซ<br />

ง<br />

28


ผลจากการศึกษาทางสัณฐานวิทยา กายวิภาควิทยา และการสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

ของ<br />

อบเชย 8 ชนิด ที่พบในประเทศไทย<br />

ดังรายละเอียดตอไปนี้<br />

1. มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 7 เมตร กิ่งออนคอนขางแบน<br />

มีขนสั้นกระจายทั่ว<br />

กิ่งแกมีรอยแตกตามยาว<br />

ไมมีขน ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขามกัน รูปขอบขนานแกมใบหอกหรือรูปไขแกมใบหอก มีบาง<br />

ที่เปนรูปไขหรือรูปรี<br />

ขนาด 9.5-22.5 x 4.3-7.8 ซม. ปลายใบแหลมมน โคนใบมนหรือสอบกวาง<br />

ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบนเกลี้ยง<br />

ผิวใบดานลางมีขนสั้น<br />

แนบผิวกระจายอยูทั่วไป<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง<br />

(lateral nerves) มี 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอหรือเหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผน<br />

ใบ มีความยาว 0.2-0.5 ซม. และยาวขึ้นไปจนถึงปลายใบ<br />

เสนใบยอยเปนแบบรางแห กานใบยาว<br />

0.8-1 ซม. มีขนสั้นกระจายอยูทั่วไป<br />

ชอดอก แบบชอแยกแขนง ยาว 8-20 ซม. ออกที่ซอกใบ<br />

หรือบนกิ่งระหวางคูใบ<br />

กานชอดอกยาว 5-13 ซม. มีขนสั้นแนบผิวกระจายอยูทั่วไป<br />

แตละแขนง<br />

ของชอดอกมีดอกยอย 2-3 ดอก ดอกยอย มีกานดอกยาว 5-6 มม. มีขนสั้นหนาแนน<br />

กลีบรวม<br />

เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลายแยกเปนแฉกลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3 กลีบ สลับกัน มีขน<br />

ปกคลุมหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กลีบวงนอก รูปรียาว ขนาดประมาณ 4 x 2 มม. ปลายแหลม กลีบ<br />

วงใน รูปขอบขนาน ขนาดประมาณ 3 x 1.5 มม. เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง วงละ 3<br />

อัน วงที่หนึ่งและวงที่สองมีกานชูอับเรณูยาวประมาณ<br />

1.5 มม. รูปรางแบน โคนกวางเล็กนอย<br />

และมีขนยาวหนาแนนเชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 มม. มีชอง<br />

เปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันเขาดานใน วงที่สามมีกานชูอับเรณูยาวประมาณ<br />

1 มม. มีขน<br />

ประปราย เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 0.7 มม. มีชองเปดที่มีฝา<br />

รูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันออกดานนอก มีตอมที่มีกาน<br />

1 คูที่ดานขางบริเวณโคนกานชูอับเรณู<br />

เกสรเพศผูที่เปนหมัน<br />

มี 3 อัน เรียงสลับกับเกสรเพศผูวงที่สาม<br />

กานยาวประมาณ 1 มม. มีขน<br />

ประปราย ตอนปลายเปนรูปหัวลูกศร ผิวเกลี้ยง<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปรี ขนาดประมาณ 1 x 0.8<br />

มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี 1 ชอง กานเกสรเพศเมีย 1 อัน ยาวประมาณ 1.5 มม. ผล รูปรี ขนาด 0.8-<br />

1.2 x 0.6-0.8 ซม. ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวมที่ขยายขนาดขึ้น<br />

แฉกกลีบรวม<br />

29


รูปไขถึงเกือบกลม ขนาด 2.5-3 x 1.5-3 มม. ปลายแหลม มีขนหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กางออก<br />

เล็กนอย กานผลยาว 7-11 มม. มีขนประปราย<br />

ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวย เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ<br />

tunica มี 2-3 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5-6 ชั้น<br />

เซลล<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

2 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลล<br />

มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-4 ชั้น<br />

ภายในเซลลสะสมสารแทนนิน<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

สวน stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

แทรกตัวอยูกับ<br />

parenchyma และเรียงตอกันเปนแถวยาว<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา และมีจํานวนมาก phloem parenchyma รูปราง<br />

กลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้ยังพบเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกตัวอยูทั่วไปในชั้นนี้<br />

(ภาพที่<br />

2 ข)<br />

30


3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี ที่มีแกนยาวขนาน<br />

ไปกับทิศทางของ ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้นพบขนาดตั้งแต<br />

40-58<br />

ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

56-64 ไมโครเมตร พบกระจายอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลล<br />

แฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

2 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-4 เซลล การกระจายของ vessel<br />

เปนแบบ diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty<br />

paratracheal คือ มีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel<br />

เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 84-95 เซลล ชองเปดปลายเซลล vessel เปนแบบ<br />

simple perforation การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบขั้นบันได<br />

(scalariform)<br />

และแบบสลับ (alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลว<br />

พบวา vessel มีความยาว 423-664<br />

ไมโครเมตร ปลายเซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

2 ฉ)<br />

fiber เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

2 ฉ) มีขนาดกวาง 10-20 ไมโครเมตร ยาว 589-1328<br />

ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 2 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

2 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 18-32 ไมโครเมตร ความสูง 348-1286 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

2 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle) เคลือบ<br />

หนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 10-16 ไมโครเมตร ผิวใบ<br />

ดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 6-12 ไมโครเมตร และพบขน<br />

ชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard<br />

31


cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 8-12 ไมโครเมตร สูง 60-72<br />

ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 4-6 ชั้น<br />

รูปรางไม<br />

แนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสต<br />

จํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

2 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 2-4 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนินแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

2 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนใบ<br />

เปลือกตน และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.25 0.00 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

32


33<br />

ภาพที่<br />

2 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

xr<br />

f<br />

ue<br />

pa<br />

sc<br />

sp<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

34<br />

st<br />

ph<br />

v<br />

pr<br />

ur<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


2. เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 7 เมตร กิ่งออนและกิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขามกัน รูปขอบ<br />

ขนานหรือรูปรี ขนาด 12-18.5 x 3.4-6.2 ซม. ปลายใบแหลมมน โคนใบรูปลิ่มถึงสอบกวาง<br />

ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบนเกลี้ยง<br />

ดานลางมีขนสั้น<br />

กระจายหางๆ เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง (lateral<br />

nerves) มี 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอระหวางกานใบกับแผนใบและยาวขึ้นไปจนถึง<br />

ปลายใบ เสนใบยอยแบบรางแห กานใบยาว 1-1.5 ซม. เปนรองดานบน ผิวเกลี้ยง<br />

ชอดอก แบบ<br />

ชอแยกแขนง ยาว 14-17 ซม. ออกที่ปลายยอด<br />

กานชอดอกยาว 6.5-12 ซม. มีขนสั้นกระจาย<br />

หาง แตละแขนงของชอดอกมีดอกยอย 2-3 ดอก ดอกยอย มีกานดอกยาว 5-6 มม. มีขน<br />

ประปราย กลีบรวม เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลายแยกเปนแฉกลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3<br />

กลีบ สลับกัน มีขนปกคลุมหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กลีบวงนอก รูปขอบขนาน ขนาดประมาณ 4.5<br />

x 2 มม. ปลายแหลม กลีบวงใน รูปขอบขนาน ขนาดประมาณ 4.5 x 1.8 มม. เกสรเพศผู<br />

มี 9<br />

อัน เรียงเปน 3 วง วงละ 3 อัน วงที่หนึ่งและวงที่สองมีกานชูอับเรณูยาวประมาณ<br />

2 มม.<br />

รูปรางแบน โคนกวางเล็กนอยและมีขนยาวหนาแนน เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบ<br />

ขนาน ยาวประมาณ 1 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันเขาดานใน วงที่สามมีกานชู<br />

อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนประปราย เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบขนาน ยาว<br />

ประมาณ 1 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันออกดานนอก เกสรเพศผูที่เปนหมัน<br />

มี 3 อัน เรียงสลับกับเกสรเพศผูวงที่สาม<br />

กานยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนประปราย ตอนปลาย<br />

เปนรูปหัวลูกศร ผิวเกลี้ยง<br />

เกสรเพศเมีย มีรังไขรูปรี ขนาดประมาณ 1 x 0.8 มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี 1<br />

หอง (locule) กานเกสรเพศเมีย 1 อัน ยาวประมาณ 2 มม. ผล รูปรี ขนาดประมาณ 1 x 0.6 ซม.<br />

ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวมที่ขยายขนาดขึ้น<br />

แฉกกลีบรวมรูปไข ขนาด 3-4<br />

x 2-2.5 มม. ปลายแหลม มีขนหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กานผลยาว 4-6 มม. มีขนประปราย<br />

35


ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2-3 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5-6 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

3 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลล<br />

มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-3 ชั้น<br />

ภายในเซลลสะสมสารแทนนิน<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้<br />

ยังพบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูทั่วไป<br />

สวน stone<br />

cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

พบกระจายตัวอยูทั่วไป<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีเปนจํานวนมาก<br />

และ phloem parenchyma<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

พบ stone cell เรียงตัวเกือบเปนแถวยาวตอเนื่อง<br />

นอกจากนี้<br />

ยังพบผลึกรูปดาวอยูภายในเซลล<br />

(ภาพที่<br />

3 ข-ค)<br />

36


3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี ที่มีแกนยาวขนาน<br />

ไปกับทิศทางของ ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้นพบขนาดตั้งแต<br />

38-55<br />

ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

48-62 ไมโครเมตร พบกระจายอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

(ภาพที่<br />

3 ง) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-6 เซลล การกระจายของ vessel เปนแบบ<br />

diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty paratracheal<br />

คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน pore เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1<br />

ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 85-89 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation การ<br />

เรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ (alternate)<br />

จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

vessel มีความยาว 456-664 ไมโครเมตร ปลายเซลลตัด<br />

เฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

3 ช) fiber เปนแบบ libriform<br />

fiber (ภาพที่<br />

3 ช) มีขนาดกวาง 12-20 ไมโครเมตร ยาว 664-1162 ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 2 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

3 จ-ฉ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 14-26 ไมโครเมตร ความสูง 249-730 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

3 ฉ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle)<br />

เคลือบหนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 8-10 ไมโครเมตร ผิว<br />

ใบดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 8-20 ไมโครเมตร และพบ<br />

ขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard<br />

cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

37


parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 10-14 ไมโครเมตร สูง 50-66<br />

ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 5-7 ชั้น<br />

รูปรางไม<br />

แนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสต<br />

จํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

3 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 2-4 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนินแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

3 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

ใบ และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.12 0.73 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

38


39<br />

ภาพที่<br />

3 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของเชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-<br />

Ham.) Sweet)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. ผลึกรูปดาวที่พบในเปลือกตน<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

cr - crystal<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

xy - xylem<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

cr<br />

xr<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

pa<br />

sc<br />

sp<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

40<br />

st<br />

ph<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

f<br />

v<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


3. ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 6 เมตร กิ่งออนมีขนแนบผิวประปราย<br />

กิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียง<br />

เวียน รูปรีหรือรูปรีแกมใบหอก ขนาด 6.5-14.3 x 3.1-5.5 ซม. ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม โคน<br />

ใบสอบถึงสอบเรียวเล็กนอย ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบน<br />

เกลี้ยง<br />

ผิวใบดานลางมีขนสั้นกระจายหางๆ<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ<br />

เสนใบดานขาง (lateral nerves) มี 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่เหนือรอยตอระหวางกานใบกับ<br />

แผนใบ มีความยาว 0.3-1 ซม. และยาวขึ้นไปประมาณ<br />

2/3 ของความยาวแผนใบ เสนใบยอย<br />

แบบรางแห กานใบยาว 0.9-1.8 ซม. เปนรองดานบน มีขนสั้นกระจายอยูทั่วไป<br />

ผล รูปรี ขนาด<br />

ประมาณ 1.3 x 0.7 ซม. ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวมที่ขยายขนาดขึ้น<br />

วงกลีบ<br />

รวมรูปถวย ยาว 4-6 มม. หุมสวนโคนผลประมาณ<br />

1/3 ปลายหยักเปนแฉกตื้น<br />

ประมาณ 0.5<br />

มม. ปลายตัด มีขนหนาแนนบริเวณปลายแฉกดานใน ดานนอกมีขนกระจายทั่ว<br />

กานผลยาว 5-7<br />

มม. มีขนประปราย<br />

ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2 ชั้นเซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

4 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลล<br />

41


มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต บางเซลลเปลี่ยนไปเปนเซลล<br />

sclerenchyma<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

พบ stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

เรียงตัวเปนแถวยาว<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

phloem parenchyma รูปรางกลม<br />

รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเซลลสะสมน้ํามันในชั้น<br />

phloem<br />

parenchyma และ phloem ray (ภาพที่<br />

4 ข)<br />

3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี ที่มีแกนยาวขนาน<br />

ไปกับทิศทางของ ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้นพบขนาดตั้งแต<br />

42-60<br />

ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

56-80 ไมโครเมตร พบกระจายอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลล<br />

แฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

5 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-6 เซลล พบเซลลสะสมน้ํามัน<br />

แทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell การกระจายของ vessel เปนแบบ diffuse-porous wood<br />

มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty paratracheal คือมีเซลล parenchyma<br />

เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบ<br />

จํานวน 52-74 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation การเรียงตัวของ pit บน<br />

ผนังของ vessel เปนแบบขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ (alternate) จากการศึกษาเนื้อไม<br />

ที่ยอยแลว<br />

พบวา vessel มีความยาว 332-431 ไมโครเมตร ปลายเซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง<br />

(tail) ที่ปลายเซลลทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

4 ฉ) fiber มีรูปรางเรียวยาว เปนแบบ libriform fiber<br />

(ภาพที่<br />

4 ฉ) มีขนาดกวาง 8-16 ไมโครเมตร ยาว 373-788 ไมโครเมตร<br />

42


ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 2 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

4 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 12-18 ไมโครเมตร ความสูง 157-1411 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

4 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle)<br />

เคลือบหนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 8-10 ไมโครเมตร ผิว<br />

ใบดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 12-14 ไมโครเมตร และ<br />

พบขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม<br />

(guard cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 6-8 ไมโครเมตร สูง 40-44 ไมโครเมตร<br />

ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 4-7 ชั้น<br />

รูปรางไมแนนอน<br />

เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวน<br />

มากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory<br />

cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

4 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลลมี<br />

ลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 3-8 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

43


parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนิน และเซลลขนาด<br />

ใหญที่สะสมสารบางอยางแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

4 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

ใบ และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.39 3.36 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

44


45<br />

ภาพที่<br />

4 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton)<br />

Nees & Eberm.)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

v<br />

xr<br />

f.<br />

ue<br />

pa<br />

sp<br />

sc<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

46<br />

st<br />

ph<br />

ur<br />

pr<br />

f<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


4. อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 6 เมตร กิ่งออนและกิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขามกัน รูปขอบ<br />

ขนาน ขนาด 8.8-18.5 x 2.8-6.5 ซม. ปลายใบแหลมมน โคนใบสอบแคบถึงกวางหรือเกือบมน<br />

ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบนเกลี้ยง<br />

ผิวใบดานลางมีขนสั้น<br />

กระจายอยูทั่วไป<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง 2 เสน<br />

(lateral nerves) แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอหรือเหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ<br />

มีความ<br />

ยาว 0.3-0.5 ซม. และยาวขึ้นไปจนถึงปลายใบ<br />

เสนใบยอยเปนแบบรางแห กานใบยาว 0.7-1<br />

ซม. มีขนประปราย ชอดอก แบบชอแยกแขนง ยาว 16-20 ซม. ออกที่ซอกใบหรือตรงขามใบ<br />

หรือบนกิ่งระหวางคูใบ<br />

คอนมาทางคูใบดานลาง<br />

กานชอดอกยาว 8-11.8 ซม. เกลี้ยง<br />

กานชอ<br />

ดอกยอยยาว 1.1-2.8 ซม. มีขนประปราย แตละแขนงของชอดอกมีดอกยอย 1-3 ดอก ดอกยอย<br />

มีกานดอกยาวประมาณ 4 มม. มีขนประปราย กลีบรวม เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลายแยกเปนแฉก<br />

ลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3 กลีบ สลับกัน มีขนปกคลุมหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กลีบวง<br />

นอก รูปรีกวางเกือบกลม ขนาดประมาณ 3 x 2 มม. ปลายแหลม กลีบวงใน รูปรี ขนาด<br />

ประมาณ 3 x 1.5 มม. เกสรเพศเมีย รังไขรูปเกือบกลม ขนาดประมาณ 1.5 x 1 มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี<br />

1 ชอง ผล รูปรี ขนาดประมาณ 0.8 x 0.5 ซม. ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวม<br />

ที่ขยายขนาดขึ้น<br />

แฉกกลีบรวมรูปไข ขนาด 2-2.5 x 1.5-2 มม. ปลายแหลม มีขนหนาแนนทั้ง<br />

สองดาน กานผลยาว 2-4 มม. มีขนประปราย<br />

ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2-3 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5-7 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

5 ก)<br />

47


2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

พบชั้น<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมี<br />

ชีวิต รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium)<br />

เซลลมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มีประมาณ 1-3 ชั้น<br />

ภายในสะสมสาร<br />

แทนนิน<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

สวน stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

พบเรียงตัว<br />

ตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

phloem parenchyma รูปรางกลม<br />

รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

(ภาพที่<br />

5 ข)<br />

3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี ที่มีแกนยาวขนาน<br />

ไปกับทิศทางของ ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้นพบขนาดตั้งแต<br />

48-60<br />

ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

50-78 ไมโครเมตร พบกระจายอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลล<br />

แฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

5 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-11 เซลล การกระจายของ vessel<br />

เปนแบบ diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty<br />

paratracheal คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel<br />

เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 60-84 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple<br />

perforation และ scalariform multiple perforation การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปน<br />

แบบขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ (alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

48


vessel มีความยาว 539-605 ไมโครเมตร ปลายเซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลล<br />

ทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

5 ฉ) fiber มีรูปรางเรียวยาว เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

5 ฉ) มี<br />

ขนาดกวาง 14-16 ไมโครเมตร ยาว 481-888 ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 2 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

6 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 12-22 ไมโครเมตร ความสูง 282-1012 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

5 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle)<br />

เคลือบหนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 8-10 ไมโครเมตร ผิว<br />

ใบดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 6-10 ไมโครเมตร และพบ<br />

ขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard<br />

cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 6-8 ไมโครเมตร สูง 40-50 ไมโครเมตร<br />

ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 5-7 ชั้น<br />

รูปรางไมแนนอน<br />

เซลลเรียงตัวอยางหลวม ๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวน<br />

มากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory<br />

cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

5 ช)<br />

49


4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 2-6 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนิน และเซลลสะสม<br />

น้ํามันแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

5 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

ใบ และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.07 0.15 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

50


51<br />

ภาพที่<br />

5 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex<br />

Blume)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

xr<br />

v<br />

f<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

ue<br />

pa<br />

sc<br />

sp<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

52<br />

st<br />

ph<br />

ur<br />

pr<br />

f<br />

f<br />

v<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph


5. สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 7 เ มตร กิ่งออนและกิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงเวียน รูปขอบขนาน<br />

ถึงรูปรี ขนาด 8-15.5 x 2.8-5.5 ซม. ปลายใบเรียวแหลมถึงแหลม โคนใบรูปลิ่ม<br />

ขอบใบเรียบ<br />

เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบนเกลี้ยง<br />

ผิวใบดานลางมีขนสั้นกระจายหาง<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง 2 เสน (lateral nerves) แยก<br />

จากเสนกลางใบที่เหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ<br />

0.7-1.4 ซม. และยาวขึ้นไปประมาณ<br />

2/3 ของความยาวแผนใบ เสนใบยอยบริเวณปลายใบเปนแบบขนนก สวนบริเวณโคนใบเปนแบบ<br />

รางแห กานใบยาว 1.4-2 ซม. มีขนสั้นกระจายหาง<br />

ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5-6 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

6 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลล<br />

มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-3 ชั้น<br />

ภายในสะสมสารแทนนิน บางเซลล<br />

เปลี่ยนเปนเซลล<br />

sclerenchyma<br />

53


cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

สวน stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

พบเรียง<br />

ตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

phloem parenchyma รูปรางกลม<br />

รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้ยัง<br />

พบเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกตัวอยูทั่วไปในชั้นนี้<br />

(ภาพที่<br />

6 ข)<br />

3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี ที่มีแกนยาวขนาน<br />

ไปกับทิศทางของ ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้นพบขนาดตั้งแต<br />

44-60<br />

ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

44-74 ไมโครเมตร พบกระจายอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลล<br />

แฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

6 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-7 เซลล โดยมีทั้งเซลลขนาดใหญ<br />

และขนาดเล็ก พบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell การกระจายของ<br />

vessel เปนแบบ diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ<br />

scanty paratracheal คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน<br />

vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 63-67 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ<br />

simple perforation การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบขั้นบันได<br />

(scalariform)<br />

และแบบสลับ (alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

vessel มีความยาว 257-448<br />

ไมโครเมตร ปลายเซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

6 ฉ)<br />

fiber มีรูปรางยาว เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

6 ฉ) มีขนาดกวาง 12-16 ไมโครเมตร ยาว<br />

605-805 ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

54


multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 3 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

6 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 10-20 ไมโครเมตร ความยาวตั้งแต<br />

182-1743 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

6 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle) เคลือบ<br />

หนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนาประมาณ 12 ไมโครเมตร ผิว<br />

ใบดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 10-14 ไมโครเมตร ไมพบ<br />

ขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard<br />

cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 6-10 ไมโครเมตร สูง 54-74<br />

ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 4-8 ชั้น<br />

รูปรางไม<br />

แนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสต<br />

จํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

6 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 3-7 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนินแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

6 ซ)<br />

55


การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

ใบ และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.14 2.13 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

56


57<br />

ภาพที่<br />

6 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของสุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

oc - oil cell<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

xr<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

pa<br />

sc<br />

sp<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

58<br />

st<br />

ph<br />

v<br />

ur<br />

pr<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


6. อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 4 เมตร กิ่งออนและกิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขามกัน รูปไข<br />

ถึงรูปรี ขนาด 7.2-12 x 3.5-7 ซม. ปลายใบแหลมมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคลาย<br />

แผนหนัง (coriaceous) ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองดาน<br />

เสนใบเห็นชัดเจน 5 เสน ยาวจากโคนใบไปหา<br />

ปลายใบและขอบใบ เสนใบดานขางใกลเสนกลางใบ 2 เสน (lateral nerves) แยกจากเสนกลาง<br />

ใบที่เหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ<br />

มีความยาว 0.5-1.4 ซม. และยาวขึ้นไปประมาณ<br />

3/4<br />

ของความยาวแผนใบ เสนใบดานขางใกลขอบใบ 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอระหวาง<br />

กานใบกับแผนใบ และยาวไปหาขอบใบประมาณ 1/2 ของความยาวใบ เสนใบยอยเปนแบบ<br />

รางแห เห็นไมคอยชัด กานใบยาว 0.9-1.5 ซม. เปนรองตื้นดานบน<br />

เกลี้ยง<br />

ชอดอก แบบชอแยก<br />

แขนง ยาว 3.5-10.5 ซม. ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบใกลปลายยอด<br />

กานชอดอกยาว 2.5-6.5<br />

ซม. มีขนสั้นประปราย<br />

แตละแขนงของชอดอกมีดอกยอย 2-3 ดอก ดอกยอย มีกานดอกยาว 2-3<br />

มม. มีขนหนาแนน กลีบรวม เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลายแยกเปนแฉกลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง<br />

วงละ 3 กลีบ สลับกัน มีขนปกคลุมหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กลีบวงนอก รูปขอบขนาน ขนาด<br />

ประมาณ 3 x 1 มม. ปลายแหลม กลีบวงใน รูปรี โคนคอดเล็กนอย ขนาดประมาณ 3 x 1 มม.<br />

เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง วงละ 3 อัน วงที่หนึ่งและวงที่สองมีกานชูอับเรณูยาว<br />

ประมาณ 0.4 มม. เกลี้ยง<br />

เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปไข ยาวประมาณ 0.8 มม. มีชอง<br />

เปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันเขาดานใน วงที่สามมีกานชูอับเรณูยาวประมาณ<br />

0.5 มม. มี<br />

ขนประปราย เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปไข ยาวประมาณ 0.7 มม. มีชองเปดที่มีฝารูป<br />

ลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันออกดานนอก เกสรเพศผูที่เปนหมัน<br />

มี 3 อัน เรียงสลับกับเกสรเพศผูวงที่<br />

สาม กานยาวประมาณ 0.8 มม. มีขนประปราย ตอนปลายเปนรูปหัวลูกศร ผิวเกลี้ยง<br />

เกสรเพศ<br />

เมีย รังไขรูปรี ขนาด ประมาณ 0.7 x 0.5 มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี 1 ชอง กานเกสรเพศเมีย 1 อัน ยาว<br />

ประมาณ 1 มม. ยอดเกสรเพศเมียเปนตุมกลม<br />

ผล รูปรี ขนาดประมาณ 1.2 x 0.6 ซม. ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวมที่ขยายขนาดขึ้น<br />

ปลายแยกเปนแฉกลึกประมาณครึ่งหนึ่ง<br />

ของวงกลีบรวม แฉกกลีบรวมรูปสามเหลี่ยม<br />

ขนาด 1.5-3 x 2-3 มม. ปลายแหลม กางออก<br />

เล็กนอย ผิวดานนอกมีขนสั้นกระจายหางๆ<br />

ผิวดานในมีขนหนาแนน กานผลยาว 6-7 มม. มีขน<br />

ประปราย<br />

59


ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5-6 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

7 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

พบชั้น<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมี<br />

ชีวิต รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium)<br />

เซลลมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-5 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-2 ชั้น<br />

ภายในสะสมสารแทนนิน<br />

cortex เปนเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มีผนังบาง มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ สวนใหญสะสมสารแทนนิน และพบเม็ด<br />

แปงอยูภายในเซลล<br />

สวน stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

มีขนาดใหญ รวมตัวเปน<br />

กลุม<br />

และแทรกตัวอยูในเนื้อเยื่อ<br />

parenchyma<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

phloem parenchyma รูปรางกลม<br />

รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้ยัง<br />

พบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยู<br />

(ภาพที่<br />

7 ข)<br />

60


3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี และรูปหลาย<br />

เหลี่ยม<br />

ที่มีแกนยาวขนานไปกับทิศทางของ<br />

ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้น<br />

พบขนาดตั้งแต<br />

48-60 ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

48-64 ไมโครเมตร พบกระจาย<br />

อยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลลแฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

7 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-6 เซลล พบ<br />

เซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell การกระจายของ vessel เปนแบบ<br />

diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty paratracheal<br />

คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 66-79 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation<br />

และ scalariform multiple perforation การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบ<br />

ขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ (alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

vessel มี<br />

ความยาว 365-564 ไมโครเมตร ปลายเซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลทั้งสอง<br />

ดาน (ภาพที่<br />

7 ฉ) fiber มีรูปรางเรียวยาว เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

7 ฉ) มีขนาดกวาง<br />

8-16 ไมโครเมตร ยาว 622-913 ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 2 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

7 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 10-28 ไมโครเมตร ความสูง 199-1294 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

7 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle) เคลือบ<br />

หนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 12-14 ไมโครเมตร ผิวใบ<br />

ดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 12-16 ไมโครเมตร และพบ<br />

61


ขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard<br />

cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 10-12 ไมโครเมตร สูง 58-76<br />

ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 5-7 ชั้น<br />

รูปรางไม<br />

แนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสต<br />

จํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

7 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลลมี<br />

ลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 4-7 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนินแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

7 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 1.80 0.28 และ 2.16 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

62


63<br />

ภาพที่<br />

7 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

oc - oil cell<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

xr<br />

v.<br />

f<br />

v<br />

xr<br />

oc<br />

f<br />

ue<br />

pa<br />

sc<br />

sp<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

64<br />

st<br />

ph<br />

pr<br />

ur<br />

v<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


7. การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 6 เมตร กิ่งกลม<br />

เกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงเวียน รูปรีคอนขางยาวหรือรูป<br />

ไข ขนาด 4.6-8.1 x 2.3-4.3 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม<br />

เรียวเล็กนอย ขอบใบเรียบ<br />

เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบดานบนสีเขียวเขม เกลี้ยง<br />

ผิวใบดานลางมีนวล<br />

เกลี้ยง<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจากโคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง 2 เสน (lateral<br />

nerves) แยกจากเสนกลางใบที่เหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ<br />

มีความยาว 3-6 มม. และ<br />

ยาวขึ้นไปประมาณ<br />

1/2 - 2/3 ของความยาวแผนใบ มีตอมตรงจุดที่เสนใบดานขางแยกออกจากเสน<br />

กลางใบขางละ 1 ตอม เสนใบยอยแบบขนนก อาจพบตอมตรงจุดที่เสนใบแยกออกจากเสนกลาง<br />

ใบ กานใบยาว 1.5-2.8 ซม. เกลี้ยง<br />

ดานบนมีรองตื้นๆ<br />

ชอดอก แบบชอแยกแขนง ยาว 4-5 ซม.<br />

ออกที่ซอกใบใกลปลายยอด<br />

กานชอดอกยาว 1.5-2 ซม. เกลี้ยง<br />

แตละแขนงของชอดอกมีดอก<br />

ยอย 2-3 ดอก ดอกยอย มีกานดอกยาว 1-1.5 มม. เกลี้ยง<br />

กลีบรวม เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลาย<br />

แยกเปนแฉกลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3 กลีบ สลับกัน ผิวดานนอกเกลี้ยง<br />

ผิวดานในมี<br />

ขนปกคลุมหนาแนน กลีบวงนอก รูปไขกลับ ขนาดประมาณ 1.5 x 0.7 มม. ปลายแหลม กลีบวง<br />

ใน รูปคลายสี่เหลี่ยม<br />

ขนาดประมาณ 1.8 x 1.1 มม. ปลายแหลม ผิวดานนอกเกลี้ยง<br />

ผิวดานในมี<br />

ขนปกคลุมหนาแนน เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียงเปน 3 วง วงละ 3 อัน วงที่หนึ่งและวงที่สองมี<br />

กานชูอับเรณูยาวประมาณ 0.6 มม. มีขนยาวหนาแนน เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูป<br />

สี่เหลี่ยม<br />

ขนาดประมาณ 0.5 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันเขาดานใน วงที่สาม<br />

มีกานชูอับเรณูยาวประมาณ 0.5 มม. มีขนประปราย เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปสี่เหลี่ยม<br />

ขนาดประมาณ 0.5 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันออกดานนอก มีตอมที่มีกาน<br />

สั้น<br />

1 คูที่ดานขางบริเวณโคนกานชูอับเรณู<br />

เกสรเพศผูที่เปนหมัน<br />

มี 3 อัน เรียงสลับกับเกสร<br />

เพศผูวงที่สาม<br />

กานยาวประมาณ 0.4 มม. มีขนประปราย ตอนปลายเปนรูปหัวลูกศร ผิวเกลี้ยง<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปกลม ขนาดประมาณ 0.7 มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี 1 ชอง กานเกสรเพศเมีย 1<br />

อัน ยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรเพศเมียเปนตุมแบน<br />

65


ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2-3 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 6 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

8 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ที่เจริญเต็มที่แลวดันชั้น<br />

epidermis ออกไปจนหมด ประกอบดวย phellem<br />

(cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัด<br />

เขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลลมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียง<br />

ซอนกัน 1-2 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-4<br />

ชั้น<br />

สะสมสารแทนนิน<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังหนา ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

phloem parenchyma รูปรางกลม<br />

รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

สวน stone<br />

cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

มีขนาดใหญ พบแทรกตัวอยู<br />

และกระจายตัวอยูทั่วไป<br />

ภายในเซลลพบเม็ดแปง (ภาพที่<br />

8 ข)<br />

66


3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี และรูปหลาย<br />

เหลี่ยม<br />

ที่มีแกนยาวขนานไปกับทิศทางของ<br />

ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้น<br />

พบขนาดตั้งแต<br />

43-62 ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

64-70 ไมโครเมตร พบกระจาย<br />

อยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลลแฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

9 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-6 เซลล พบ<br />

เซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell การกระจายของ vessel เปนแบบ<br />

diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty paratracheal<br />

คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 31-46 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation<br />

การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ<br />

(alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

vessel มีความยาว 332-415 ไมโครเมตร ปลาย<br />

เซลลตัดตรงและตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลดานเดียว<br />

และทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

8<br />

ฉ) fiber มีรูปรางเรียวยาว เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

8 ฉ) มีขนาดกวาง 12-16<br />

ไมโครเมตร ยาว 539-755 ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 3 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

8 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 10-24 ไมโครเมตร ความสูง 215-1145 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

8 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle) เคลือบ<br />

หนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัสถึงสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เรียงเปนระเบียบ หนา 14-18<br />

ไมโครเมตร ผิวใบดานลาง เซลลมีรูปรางไมแนนอนและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 8-12<br />

67


ไมโครเมตร และพบขนชนิด unicellular ทั้งสองดาน<br />

พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ<br />

sunken stomata คือ มีเซลลคุม (guard cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสราง<br />

เปนแบบ bifacial คือมี palisade parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทาง<br />

ดานลาง palisade parenchyma มี 1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 6-10<br />

ไมโครเมตร สูง 48-58 ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy<br />

parenchyma มี 3-4 ชั้น<br />

รูปรางไมแนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวาง<br />

เซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

8 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 3-7 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนินแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

8 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 1.15 0.17 และ 3.14 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

68


69<br />

ภาพที่<br />

8 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

oc - oil cell<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

co<br />

xr<br />

f<br />

v<br />

oc<br />

xr<br />

f<br />

ue.<br />

pa<br />

sc<br />

as<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

70<br />

st<br />

ph<br />

pr<br />

ur<br />

f<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


8. อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3)<br />

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา<br />

ไมตน สูง 5 เมตร กิ่งออนและกิ่งแกผิวเกลี้ยง<br />

ใบ เปนใบเดี่ยว<br />

เรียงตรงขามกันหรือเยื้อง<br />

เล็กนอย รูปรี ขนาด 7-14.2 x 3-6.3 ซม. ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ<br />

เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง<br />

(coriaceous) ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองดาน<br />

เสนใบหลักมี 3 เสน ยาวจาก<br />

โคนใบไปหาปลายใบ เสนใบดานขาง 2 เสน (lateral nerves) แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอหรือ<br />

เหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ มีความยาว 0.4-0.6 ซม. และยาวขึ้นไปจนถึงปลายใบ<br />

เสนใบยอยเปนแบบรางแห กานใบยาว 0.7-1 ซม. เปนรองตื้นดานบน<br />

เกลี้ยง<br />

ชอดอก แบบชอ<br />

แยกแขนง ยาว 4.5-9.5 ซม. ออกที่ปลายยอด<br />

กานชอดอกยาว 3-6 ซม. มีขนสั้นกระจายหาง<br />

แต<br />

ละแขนงของชอดอกมีดอกยอย 2-3 ดอก ดอกยอย มีกานดอกยอยประมาณ 1-1.5 มม. มีขน<br />

หนาแนน กลีบรวม เชื่อมติดกันที่โคน<br />

ปลายแยกเปนแฉกลึก 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3<br />

กลีบ สลับกัน มีขนปกคลุมหนาแนนทั้งสองดาน<br />

กลีบวงนอก รูปไข ขนาดประมาณ 3 x 1.5<br />

มม. ปลายแหลม กลีบวงใน รูปขอบขนาน ขนาดประมาณ 3 x 1 มม. เกสรเพศผู<br />

มี 9 อัน เรียง<br />

เปน 3 วง วงละ 3 อัน วงที่หนึ่งและวงที่สองมีกานชูอับเรณูยาวประมาณ<br />

1 มม. รูปรางแบน<br />

โคนกวางเล็กนอยและมีขนยาวหนาแนน เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบขนาน ยาว<br />

ประมาณ 1 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันเขาดานใน วงที่สามมีกานชูอับเรณูยาว<br />

ประมาณ 0.8 มม. มีขนประปราย เชื่อมติดกับอับเรณูที่ฐาน<br />

อับเรณูรูปขอบขนาน ยาวประมาณ<br />

0.7 มม. มีชองเปดที่มีฝารูปลิ้นจํานวน<br />

4 ชอง หันออกดานนอก มีตอมที่มีกาน<br />

1 คู<br />

ที่ดานขาง<br />

บริเวณโคนกานชูอับเรณู ยาวประมาณ 0.8 มม. เกสรเพศผูที่เปนหมัน<br />

มี 3 อัน เรียงสลับกับ<br />

เกสรเพศผูวงที่สาม<br />

กานยาวประมาณ 1 มม. มีขนประปราย ตอนปลายเปนรูปหัวลูกศร ผิว<br />

เกลี้ยง<br />

เกสรเพศเมีย รังไขรูปกลม ขนาดประมาณ 1 x 0.8 มม. ผิวเกลี้ยง<br />

มี 1 ชอง กานเกสร<br />

เพศเมีย 1 อัน ยาวประมาณ 1.1 มม. ยอดเกสรเพศเมียเปนรูปจาน มีขนเล็กนอย ผล รูปรี ขนาด<br />

ประมาณ 1.5 x 1 ซม. ผิวเกลี้ยง<br />

ผลแกสีมวงดํา รองรับดวยวงกลีบรวมที่ขยายขนาดขึ้น<br />

แฉก<br />

กลีบรวมรูปสามเหลี่ยม<br />

ขนาด 2.5-3 x 2.5-3 มม. ปลายแหลม กางออกเล็กนอย มีขนหนาแนน<br />

ทั้งสองดาน<br />

กานผลยาว 1.5-2 มม. มีขนประปราย<br />

71


ลักษณะทางกายวิภาค<br />

1. ปลายยอด<br />

ปลายยอดประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) 2 ชนิด คือ tunica<br />

มี 2 ชั้น<br />

เซลลรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ขนาดเล็ก ชั้นถัดลงมาคือ<br />

corpus มี 5 ชั้น<br />

เซลลรูปราง<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญกวา<br />

tunica และมีนิวเคลียสขนาดใหญ (ภาพที่<br />

9 ก)<br />

2. เปลือกตน<br />

เปลือกตนประกอบดวยเนื้อเยื่อตางๆ<br />

ดังนี้<br />

periderm ประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปนเซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ถัดเขาไปเปนชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลล<br />

มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน 1-3 ชั้น<br />

ชั้นในสุดเปน<br />

phelloderm<br />

รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มี 1-3 ชั้น<br />

ภายในสะสมสารแทนนิน<br />

cortex ประกอบดวยเซลล parenchyma และ sclerenchyma ซึ่ง<br />

parenchyma มี<br />

รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียงไมเปนระเบียบ มีผนังบาง สวนใหญสะสมสารแทนนิน<br />

และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้ยังพบเซลลขนาดใหญ<br />

ผนังบาง ติดสีแดงแทรกอยู<br />

สวน stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

เรียงตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

phloem ประกอบดวย sieve tube member ที่มีรูปรางไมแนนอน<br />

ผนังบาง<br />

companion cell มีรูปรางไมแนนอน มีผนังบาง fiber มีรูปรางดานหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

สี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ผนังบาง ซึ่งมีจํานวนมาก<br />

และ phloem parenchyma รูปราง<br />

กลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

มีผนังบาง สะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

นอกจากนี้ยังพบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูทั่วไปในชั้นนี้<br />

(ภาพที่<br />

9 ข)<br />

72


3. เนื้อไม<br />

จากการศึกษาทางดานตัดขวาง พบวา vessel มีรูปรางกลม ถึงรูปรี และรูปหลาย<br />

เหลี่ยม<br />

ที่มีแกนยาวขนานไปกับทิศทางของ<br />

ray จากการวัดเสนผาศูนยกลางของ vessel แกนสั้น<br />

พบขนาดตั้งแต<br />

42-48 ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาดตั้งแต<br />

50-60 ไมโครเมตร พบกระจาย<br />

อยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลลแฝด และเซลลกลุม<br />

(ภาพที่<br />

10 ค) ซึ่งประกอบดวย<br />

vessel 3-5 เซลล<br />

พบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell การกระจายของ vessel เปนแบบ<br />

diffuse-porous wood มีการกระจายของเซลล axial parenchyma เปนแบบ scanty paratracheal<br />

คือมีเซลล parenchyma เกิดลอมรอบและติดกับ vessel จากการนับจํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบจํานวน 73-91 เซลล ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation<br />

การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel พบแบบขั้นบันได<br />

(scalariform) และแบบสลับ<br />

(alternate) จากการศึกษาเนื้อไมที่ยอยแลวพบวา<br />

vessel มีความยาว 522-713 ไมโครเมตร ปลาย<br />

เซลลตัดเฉียง สวนใหญมีหาง (tail) ที่ปลายเซลลทั้งสองดาน<br />

(ภาพที่<br />

9 ฉ) fiber มีรูปรางเรียว<br />

ยาว เปนแบบ libriform fiber (ภาพที่<br />

9 ฉ) มีขนาดกวาง 12-16 ไมโครเมตร ยาว 514-1054<br />

ไมโครเมตร<br />

ดานรัศมี (radial) และดานขนานเสนสัมผัส (tangential) พบวา ray เปนแบบ<br />

uniseriate heterocellular ประกอบดวย 1 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลแนวนอน<br />

(procumbent ray) อยูตรงกลาง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดานดวยเซลลในแนวตั้ง<br />

(upright ray) และ<br />

multiseriate heterocellular ประกอบดวยเซลล 3 แถว เรียงตอกันในแนวตั้ง<br />

ที่มีเซลลในแนวตั้ง<br />

ปดหัวทายทั้ง<br />

2 ดาน (ภาพที่<br />

9 ง-จ) จากการวัดความกวางและความสูงของ ray ดานเสนสัมผัส<br />

พบวา มีความกวาง 10-32 ไมโครเมตร ความสูง 356-1203 ไมโครเมตร (ภาพที่<br />

9 จ)<br />

4. ใบ<br />

4.1 แผนใบ<br />

เนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ประกอบดวย epidermis เพียง 1 ชั้น<br />

มีคิวติเคิล (cuticle) เคลือบ<br />

หนา ผิวใบดานบน เซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงเปนระเบียบ หนา 12-14 ไมโครเมตร ผิวใบ<br />

ดานลาง เซลลมีรูปรางกลมถึงเกือบกลมและเรียงตัวไมเปนระเบียบ หนา 12-18 ไมโครเมตร และ<br />

73


พบขนชนิด unicellular พบปากใบที่ผิวใบดานลาง<br />

เปนแบบ sunken stomata คือ มีเซลลคุม<br />

(guard cell) อยูในระดับต่ํากวา<br />

epidermis มีโซฟลลมีโครงสรางเปนแบบ bifacial คือมี palisade<br />

parenchyma อยูทางดานบน<br />

และ spongy parenchyma อยูทางดานลาง<br />

palisade parenchyma มี<br />

1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัวเปนระเบียบ ขนาด กวาง 10-14 ไมโครเมตร สูง 58-72<br />

ไมโครเมตร ภายในเซลลมีคลอโรพลาสตจํานวนมาก spongy parenchyma มี 4-8 ชั้น<br />

รูปรางไม<br />

แนนอน เซลลเรียงตัวอยางหลวมๆ ทําใหมีชองวางระหวางเซลลมาก ภายในเซลลมีคลอโรพลาสต<br />

จํานวนมากคลายกับ palisade parenchyma ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

9 ช)<br />

4.2 เสนกลางใบ<br />

ประกอบดวยเนื้อเยื่อผิวดานบนจํานวน<br />

1 ชั้น<br />

และดานลางจํานวน 1 ชั้น<br />

เซลล<br />

มีลักษณะและขนาดคลายกับเซลลผิวของแผนใบ กลุมทอลําเลียงเปนแบบ<br />

collateral มี bundle<br />

sheath ที่ประกอบดวย<br />

sclerenchyma ลอมรอบ xylem ประกอบดวย vessel 3-5 เซลล phloem<br />

อยูทางดานลางของ<br />

xylem ประกอบดวย sieve tube member, companion cell และ<br />

parenchyma ทั้งในกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem มีเซลลสะสมสารแทนนิน และเซลลสะสม<br />

น้ํามันแทรกอยู<br />

(ภาพที่<br />

9 ซ)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยสวนเปลือกตน<br />

ใบ และเนื้อไม<br />

แตละสวนใหปริมาณน้ํามัน<br />

หอมระเหยรอยละ 0.78 2.13 และ 0.00 ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

74


75<br />

ภาพที่<br />

9 ลักษณะทางกายวิภาคสวนตางๆ ของอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3)<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

tunica และ corpus ของปลายยอด จากการตัดตามยาว<br />

ข. เปลือกตน<br />

ค. เนื้อไม<br />

ดานตัดขวาง<br />

ง. เนื้อไม<br />

ดานรัศมี<br />

จ. เนื้อไม<br />

ดานขนานเสนสัมผัส<br />

ฉ. ลักษณะของ vessel และ fiber จากการยอยเนื้อไม<br />

ช. แผนใบ<br />

ซ. เสนกลางใบ<br />

as - air space<br />

co - corpus<br />

f - fiber<br />

le - lower epidermis<br />

oc - oil cell<br />

pa - palisade parenchyma<br />

ph - phloem<br />

pr - procumbent ray<br />

sc - secretory cell<br />

scl - sclerenchyma<br />

sp - spongy parenchyma<br />

st - stone cell<br />

tu - tunica<br />

ue - upper epidermis<br />

ur - upright ray<br />

v - vessel<br />

xr - xylem ray<br />

xy - xylem


ก<br />

ค<br />

จ<br />

ช<br />

tu<br />

pa<br />

sc<br />

as<br />

sp<br />

76<br />

co ph<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

v<br />

xr<br />

f<br />

oc<br />

ue<br />

le<br />

ข<br />

ง<br />

ฉ<br />

ซ<br />

st<br />

ur<br />

pr<br />

v<br />

v<br />

f<br />

ue<br />

scl<br />

xy<br />

ph<br />

le


จากรายละเอียดของลักษณะกายวิภาคของสวนตางๆ ของพืชตัวอยางที่ไดศึกษาในครั้งนี้<br />

ทั้งหมด<br />

8 ชนิด ไดเลือกสรุปลักษณะที่พิจารณาแลววานาจะนํามาเปรียบเทียบในพืชตัวอยาง<br />

ทั้งหมด<br />

ดังรายละเอียดในตารางที่<br />

2 ดังนี้<br />

77


ตารางที่<br />

2 ลักษณะรูปราง การเรียงตัวและการกระจายของ vessel และลักษณะของชองปลายเปด<br />

ของเซลล vessel<br />

ชนิด รูปรางของ<br />

vessel<br />

1. มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong><br />

sp.1)<br />

2. เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf.<br />

bejolghota (Buch.-Ham.)<br />

Sweet)<br />

3. ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong><br />

cf. tamala (Hamilton)<br />

Nees & Eberm.)<br />

4. อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf.<br />

iners Reinw. ex Blume)<br />

5. สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong><br />

sp.2)<br />

6. อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong><br />

verum J. Presl)<br />

7. การบูร (<strong>Cinnamomum</strong><br />

camphora (L.) J. Presl)<br />

8. อบเชยเทศ ( <strong>Cinnamomum</strong><br />

sp.3)<br />

กลมถึงรูปรี เดี<br />

กลมถึงรูปรี เดี<br />

การเรียง<br />

ตัวของ<br />

vessel<br />

่ยว แฝด<br />

และกลุม<br />

่ยว แฝด<br />

และกลุม<br />

กลมถึงรูปรี เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

กลมถึงรูปรี เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

กลมถึงรูปรี เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

กลมถึงรูปรี เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และรูป และกลุม<br />

หลายเหลี่ยม<br />

กลมถึงรูปรี<br />

และรูป<br />

หลายเหลี่ยม<br />

กลมถึงรูปรี<br />

และรูป<br />

หลายเหลี่ยม<br />

เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

เดี่ยว<br />

แฝด<br />

และกลุม<br />

การกระจายตัว<br />

ของ vessel<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

diffuse-porous<br />

wood<br />

78<br />

ลักษณะชอง<br />

ปลายเปดของ<br />

เซลล vessel<br />

simple<br />

perforation<br />

simple<br />

perforation<br />

simple<br />

perforation<br />

simple และ<br />

scalariform<br />

multiple<br />

perforation<br />

simple<br />

perforation<br />

simple และ<br />

scalariform<br />

multiple<br />

perforation<br />

simple<br />

perforation<br />

simple<br />

perforation


จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยดวยวิธีการกลั่นโดยใชน้ํา<br />

โดยใชตัวอยางสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ ที่ตากใหแหงในที่รม<br />

ของพืชสกุลอบเชยจํานวน 8 ชนิด ตัวอยางละ 5 ชั่วโมง<br />

สรุปรายละเอียดดังตารางที่<br />

3 ดังนี้<br />

ตารางที่<br />

3 น้ํามันหอมระเหยที่สกัดจากสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ โดยการกลั่นดวยน้ํา<br />

ชนิด<br />

เปอรเซ็นต (ตอน้ําหนักแหง)<br />

เปลือกตน เนื้อไม<br />

ใบ<br />

1. มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) 0.00 0.00 0.25<br />

2. เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota<br />

(Buch.-Ham.) Sweet)<br />

0.12 0.00 0.73<br />

3. ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

(Hamilton) Nees & Eberm.)<br />

0.39 0.00 3.36<br />

4. อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) 0.07 0.00 0.15<br />

5. สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) 0.14 0.00 2.13<br />

6. อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) 1.80 0.28 2.16<br />

7. การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) 1.15 0.17 3.14<br />

8. อบเชยเทศ ( <strong>Cinnamomum</strong> sp.3) 0.78 0.00 2.13<br />

หมายเหตุ เปอรเซ็นตน้ํามันหอมระเหย<br />

= ปริมาณน้ํามันหอมระเหย<br />

(มิลลิลิตร) x 100<br />

น้ําหนักตัวอยางแหง<br />

(กรัม)<br />

79


รูปวิธานจําแนกชนิด<br />

1. ใบเรียงเวียน<br />

2. ใบมีตอมตรงจุดที่เสนใบดานขางแยกออกจากเสนกลางใบขางละ<br />

1 ตอม<br />

………………………………………………….…………..…..7. <strong>Cinnamomum</strong> camphora<br />

2. ใบไมมีตอมตรงจุดที่เสนใบดานขางแยกออกจากเสนกลางใบ<br />

3. เสนใบยอยแบบรางแห เห็นไมชัด เสนใบดานขาง 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่เหนือ<br />

รอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ ไมนอยกวา 3 มม.<br />

………………………………………………………….…...3. <strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

3. เสนใบยอยแบบขนนกบริเวณปลายใบ เห็นชัดเจน เสนใบดานขาง 2 เสน แยกจากเสน<br />

กลางใบที่เหนือรอยตอระหวางกานใบกับแผนใบ<br />

ไมนอยกวา 6 มม.<br />

…………………………………………..………………….……....5. <strong>Cinnamomum</strong> sp.2<br />

1. ใบเรียงตรงขามกันหรือเยื้องกันเล็กนอย<br />

4. ใบรูปขอบขนาน รูปขอบขนานแกมใบหอก รูปไขแกมใบหอก หรือรูปรียาว<br />

5. เสนใบดานขาง 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอระหวางกานใบกับแผนใบเทานั้น<br />

ชอดอกออกที่ปลายยอด<br />

……….………...….………….2. <strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota<br />

5. เสนใบดานขาง 2 เสน แยกจากเสนกลางใบที่รอยตอหรือเหนือรอยตอระหวางกานใบ<br />

กับแผนใบ ชอดอกออกที่ซอกใบหรือตรงขามใบหรือบนกิ่งระหวางคูใบ<br />

6. กานผลยาว 7-11 มม. …………..………………...…...………1. <strong>Cinnamomum</strong>. sp.1<br />

6. กานผลยาว 2-4 มม. …………..……….……. …………...4. <strong>Cinnamomum</strong> cf. iners<br />

4. ใบรูปไขหรือรูปรี<br />

7. ใบรูปไข เสนใบเห็นชัดเจน 5 เสน เสนใบดานขางยาวขึ้นไปประมาณ<br />

1/2-3/4 ของ<br />

ความยาวใบ ……….………………………..………..….………6. <strong>Cinnamomum</strong> verum<br />

7. ใบรูปรี เสนใบมี 3 เสน เสนใบดานขางยาวขึ้นไปจนถึงปลายใบ<br />

………………………………………………….……………..…...8. <strong>Cinnamomum</strong> sp.3<br />

80


จากการศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของพืชสกุลอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิด พบลักษณะที่สามารถ<br />

นํามาสรางรูปวิธานเพื่อใชในการจําแนกชนิดไดดังนี้<br />

1. ลักษณะของเซลลผิวใบดานบน มีรูปรางกลมถึงรูปรี<br />

2. ลักษณะของ vessel มีรูปรางกลมถึงรี<br />

3. ลักษณะของชองปลายเปดของเซลล vessel เปนแบบ simple perforation<br />

4. รูปแบบการกระจายตัวของ stone cell ในเปลือกตนเปนแบบเรียงตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

5. มี oil cell แทรกตัวติดกับ vessel และ ray<br />

6. ผิวใบดานบนหนา 8-10 ไมโครเมตร………….….3. <strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

6. ผิวใบดานบนหนา 12 ไมโครเมตร………………………5. <strong>Cinnamomum</strong> sp.2<br />

5. ไมมี oil cell แทรกตัวติดกับ vessel และ ray …………….1. <strong>Cinnamomum</strong> sp.1<br />

4. รูปแบบการกระจายตัวของ stone cell ในเปลือกตนเปนแบบกระจายตัวทั่วไป<br />

……………………………………...……………..…2. <strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota<br />

3. ลักษณะของชองปลายเปดของเซลล vessel เปนแบบ simple perforation และ<br />

scalariform multiple perforation……………………......…….4. <strong>Cinnamomum</strong> cf. iners<br />

2. ลักษณะของ vessel มีรูปรางกลมถึงรี และรูปหลายเหลี่ยม<br />

7. รูปแบบการกระจายตัวของ stone cell ในเปลือกตนเปนแบบกลุม<br />

……………..................................................................................6. <strong>Cinnamomum</strong> verum<br />

7. รูปแบบการกระจายตัวของ stone cell ในเปลือกตนเปนแบบเรียงตอเนื่องเปน<br />

แถวยาว…………………………………..………….……...……...8. <strong>Cinnamomum</strong> sp.3<br />

1. ลักษณะของเซลลผิวใบดานบน มีรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัสถึงรูปสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

………………………………………………………...………...….7. <strong>Cinnamomum</strong> camphora<br />

81


วิจารณ<br />

จากการศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของพรรณไมสกุลอบเชย ในพื้นที่แปลงรวบรวมพันธุ<br />

อบเชย สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดงฟาหวน) จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 8<br />

ชนิด พบวา มีลักษณะสวนใหญคลายคลึงกันมาก กลาวคือ เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

ประกอบดวย<br />

tunica และ corpus เชนเดียวกับในพืชใบเลี้ยงคูทั่วไป<br />

(เทียมใจ, 2542; Esau, 1977) ซึ่งเทียมใจ<br />

(2542) กลาววาพืชใบเลี้ยงคูมี<br />

tunica 2-3 แถว และมี corpus 5-6 แถว โดยการศึกษาในครั้งนี้<br />

สวนใหญปลายยอดของพืชอบเชยเกือบทุกชนิดจะมีชั้น<br />

tunica 2-3 แถว และชั้น<br />

corpus 5-6 แถว<br />

สวนในอบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) มี corpus 5-7 แถว<br />

กายวิภาคของเปลือกตน พบวาประกอบดวย phellem (cork) อยูทางดานนอกสุด<br />

เปน<br />

เซลลที่ไมมีชีวิต<br />

รูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังหนา ติดสีเขม ซึ่งสอดคลองกับเทียมใจ<br />

(2542) ที่<br />

กลาววา phellem มีรูปรางสี่เหลี่ยมแบน<br />

คอนขางยาว ขนานกับเสนแกนของลําตน ถัดเขาไปเปน<br />

ชั้น<br />

phellogen (cork cambium) เซลลมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ผนังบาง มีชีวิต เรียงซอนกัน<br />

1-2 ชั้น<br />

ซึ่งเทียมใจ<br />

(2542) รายงานวา phellogen มีรูปรางสี่เหลี่ยมผืนผาคอนขางแบน<br />

ชั้น<br />

phelloderm รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

เซลลมีผนังบาง มีชีวิต มีประมาณ 1-4 ชั้น<br />

สะสมสารแทนนิน<br />

พืชบางชนิด อาจมีชั้น<br />

phelloderm ได 1-3 ชั้น<br />

หรือมากกวา ชั้น<br />

cortex เปนเซลล parenchyma<br />

และ sclerenchyma ซึ่งเซลล<br />

parenchyma มีผนังบาง มีรูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

จัดเรียง<br />

ไมเปนระเบียบ สวนใหญสะสมสารแทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

phloem<br />

ประกอบดวย sieve tube member, companion cell, phloem fiber ซึ่งมีเปนจํานวนมาก<br />

และ<br />

phloem parenchyma เซลล parenchyma มีผนังบาง รูปรางกลม รี และหลายเหลี่ยม<br />

สะสมสาร<br />

แทนนิน และพบเม็ดแปงอยูภายในเซลล<br />

เหมือนเซลลที่มีชีวิตทั่วไป<br />

ที่มีแปง<br />

และแทนนินอยู<br />

ภายใน พบ stone cell ซึ่งเปน<br />

sclerenchyma ชนิดหนึ่ง<br />

มีขนาดใหญ แทรกตัวอยู<br />

เชนเดียวกับ<br />

Metcalfe (1987) ที่ไดศึกษากายวิภาคของพืชในวงศ<br />

Lauraceae รายงานวา จะพบ sclerenchyma<br />

ในเปลือกตน แตจะมีความแตกตางในเรื่องของชนิด<br />

รูปราง และ การกระจายตัว<br />

การศึกษาในครั้งนี้พบลักษณะของเปลือกตนที่แตกตางกันคือ<br />

รูปแบบการกระจายตัวของ<br />

sclerenchyma 3 แบบคือ แบบกระจายตัวอยูทั่วไปพบในเชียด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota<br />

(Buch.-Ham.) Sweet) และการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) แบบเปนกลุม<br />

พบ<br />

ในอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) และแบบเปนแถบเรียงตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

พบ<br />

82


ในมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees &<br />

Eberm.) อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2)<br />

และอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) Rohwer (1993) รายงานวา ชนิดของ sclerenchyma ที่พบ<br />

ในเปลือกตนของพืชวงศ Lauraceae เปนแบบกลุมและพบในทุกๆ<br />

ชั้นเนื้อเยื่อของเปลือกตน<br />

กายวิภาคของเนื้อไม<br />

พบวา การกระจายของ vessel เปนแบบ diffuse-porous wood ซึ่ง<br />

ตรงกับที่<br />

Rohwer (1993) รายงานวา การกระจายของ vessel ของพืชวงศ Lauraceae เปนแบบ<br />

diffuse-porous wood สวน Richter and Dallwitz (2000) ที่ศึกษาเนื้อไมของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong> spp.<br />

ในเอเชียและแปซิฟก พบวา การกระจายของ vessel เปนแบบ diffuse-porous wood หรือ semiring-porous<br />

wood จากการนับจํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบประมาณ 31-<br />

91 เซลล ชนิดที่พบนอยที่สุดคือการบูร<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) พบจํานวน 31-<br />

46 เซลล สวนชนิดที่พบหนาแนนมากที่สุดคืออบเชยเทศ<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) พบจํานวน 73-<br />

91 เซลล ซึ่งแตกตางจาก<br />

Metcalf (1987) และ Lemmens (1995 ) ที่รายงานวา<br />

จํานวน pore<br />

เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางไมโครเมตร คือ 20-50 เซลล สวน Richter and Dallwitz (2000)<br />

รายงานพบ 20-50 เซลลตอตารางไมโครเมตร รูปรางของ vessel จากการตัดเนื้อไมตามขวาง<br />

พบวามีลักษณะเปนรูปกลม ถึงรูปรี และรูปหลายเหลี่ยม<br />

ที่มีแกนยาวขนานไปกับทิศทางของ<br />

ray<br />

ซึ่งสอดคลองกับที่<br />

Lemmens (1995) และ Richter and Dallwitz (2000) ไดศึกษาเนื้อไมของพืช<br />

สกุลอบเชย แลวพบวา vessel มีรูปรางหลายเหลี่ยม<br />

กลม หรือรูปไข จากการวัดเสนผาศูนยกลาง<br />

ของ vessel แกนสั้นพบขนาด<br />

38-62 ไมโครเมตร และแกนยาวพบขนาด 48-80 ไมโครเมตร ซึ่ง<br />

แตกตางจาก Rohwer (1993) ที่รายงานวา<br />

เสนผาศูนยกลางมีขนาด 40-(100)-150(-250)<br />

ไมโครเมตร สวน Lemmens (1995) พบวา vessel มีขนาดของเสนผาศูนยกลางขนาด 80-170(-<br />

200) ไมโครเมตร และ Richter and Dallwitz (2000) รายงานวา vessel มีขนาดของ<br />

เสนผาศูนยกลางขนาด 60-135 (-170) ไมโครเมตร จากการที่<br />

vessel ของตัวอยางพืชอบเชยที่<br />

ทําการศึกษามีขนาดแตกตางจากที่<br />

Rohwer (1993), Lemmens (1995) และ Richter and Dallwitz<br />

(2000) รายงานไวนั้น<br />

เนื่องจากตัวอยางเนื้อไมที่เก็บมาทําการศึกษานั้น<br />

เปนสวนของกิ่งที่มีขนาด<br />

เสนผาศูนยกลางประมาณ 1 เซนติเมตร ซึ่งเปนสวนที่ยังไมเจริญเติบโตเต็มที่<br />

ทําใหขนาดของ<br />

vessel ที่ทําการศึกษานั้นมีขนาดแตกตางกัน<br />

หรืออาจเปนเพราะสภาพแวดลอมของตัวอยางที่เก็บ<br />

แตกตางกัน สวน vessel ที่พบสวนใหญจะอยูเปนเซลลเดี่ยว<br />

เซลลแฝด และเซลลกลุม<br />

ซึ่ง<br />

ประกอบดวย vessel 3-11 เซลล ซึ่งสอดคลองกับรายงานของ<br />

Metclaft (1987) และ Rohwer<br />

(1993) พบเซลลสะสมน้ํามันแทรกตัวอยูติดกับ<br />

vessel และ ray cell ซึ่งตรงกับ<br />

Lemmens<br />

83


(1995) รายงานวา secretory (oil และ mucilage) cell จะอยูติดกับ<br />

ray และ axial parenchyma<br />

สวน Rohwer (1993) รายงานวา oil cell และ mucilage cell จะอยูในรูปของ<br />

idioblast ขนาด<br />

ใหญ ที่อยูติดกับ<br />

ray, parenchyma strand หรือ fiber<br />

จากการตัดเนื้อไมดานรัศมีและดานขนานเสนสัมผัส<br />

พบวา ray เปนแบบ uniseriate<br />

heterocellular และ multiseriate heterocellular ซึ่งตรงกับ<br />

Lemmens (1995) และ Richter and<br />

Dallwitz (2000) ที่รายงานวา<br />

ray เปนแบบ heterocellular จากการวัดความกวางและความสูงของ<br />

ray พบวา มีความกวาง 10-32 ไมโครเมตร ความสูง 152-1743 ไมโครเมตร ซึ่ง<br />

Lemmens<br />

(1995) รายงานวา ray สูงไดถึง 700 ไมโครเมตร และ Richter and Dallwitz (2000) รายงานวา<br />

ray สูง 500-1000 ไมโครเมตร ray parenchyma มีจํานวน 1-2 แถว แต Lemmens (1995)<br />

รายงานวา มีจํานวน 2-4 แถว ชองเปดปลายเซลลเปนแบบ simple perforation และ scalariform<br />

multiple perforation ซึ่งสอดคลองกับ<br />

Lemmens (1995) รายงานวา ชองเปดปลายเซลลสวนมาก<br />

เปนแบบ simple perforation แตบางครั้งก็จะพบแบบ<br />

scalariform multiple perforation ที่มีรอย<br />

ปรุ 2-3 ชอง สวน Metcalf (1987) และ Richter and Dallwitz (2000) พบวา ชองเปดปลาย<br />

เซลลเปนแบบ simple perforation และแบบ scalariform multiple perforation ที่มีรอยปรุ<br />

2-10<br />

ชอง การเรียงตัวของ pit บนผนังของ vessel เปนแบบ scalariform และ alternate ซึ่งตรงกับ<br />

รายงานของ Lemmens (1995) และ Richter and Dallwitz (2000) fiber เปนแบบ libriform<br />

fiber มีขนาดกวาง 8-20 ไมโครเมตร ยาว 373-1328 ไมโครเมตร ซึ่งสอดคลองกับ<br />

Rohwer<br />

(1993) ที่รายงานวา<br />

fiber เปนแบบ libiform fiber มีความยาว 100-200 ไมโครเมตร กวาง 15-<br />

50 ไมโครเมตร สวน Lemmens (1995) รายงานวา fiber มีความยาวเฉลี่ย<br />

1100-1600 (-2000)<br />

ไมโครเมตร และ Richter and Dallwitz (2000) รายงานวา fiber มีความยาวเฉลี่ย<br />

1130-1580<br />

ไมโครเมตร<br />

ลักษณะของเนื้อไมที่แตกตางกันของอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิดคือ รูปรางของ vessel พบ 2<br />

ลักษณะ คือ แบบรูปรางกลมถึงรูปรีพบ 5 ชนิด คือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

(Hamilton) Nees & Eberm.) อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) และแบบรูปรางกลมถึงรูปรี และรูปหลายเหลี่ยม<br />

พบ 3 ชนิดคืออบเชย<br />

ญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) และ<br />

อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) ลักษณะชองปลายเปดของ vessel พบ 2 ลักษณะคือ แบบ<br />

84


simple perforation เพียงอยางเดียวพบ 5 ชนิด คือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

(Hamilton) Nees & Eberm.) การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) อบเชยเทศ<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) และแบบพบทั้ง<br />

simple perforation และ scalariform multiple perforation<br />

พบ 3 ชนิดคืออบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong><br />

sp.2) และอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

กายวิภาคของใบ พบวา บริเวณแผนใบ พบเนื้อเยื่อชั้นผิวที่มีคิวติเคิลเคลือบหนา<br />

ผิวใบ<br />

ดานบนเซลลมีรูปรางกลมถึงรี เรียงตัวเปนระเบียบ หนาประมาณ 8-14 ไมโครเมตร แตใน<br />

การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) พบวาเซลลผิวใบดานบนมีรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ถึงสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

กวางประมาณ 14-18 ไมโครเมตร ซึ่งสอดคลองกับ<br />

Bakker และคณะ (1992)<br />

ที่รายงานวา<br />

ผิวใบดานบนเปนเซลลขนาดเล็ก มีรูปรางสี่เหลี่ยมจัตุรัสถึงสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

สวน<br />

Baruah and Nath (2002) รายงานวา ผิวใบดานบน มีความหนา 22.93 ไมโครเมตร ผิวใบ<br />

ดานลาง เซลลมีรูปรางกลมถึงเกือบกลม เรียงตัวไมเปนระเบียบ หนาประมาณ 6-20 ไมโครเมตร<br />

ผิวใบดานลาง มีความกวาง 14.80 ไมโครเมตร พบขนชนิด unicellular ทางดาน lower<br />

epidermis ยกเวนการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) ที่ไมพบขนทั้งสองดาน<br />

ซึ่ง<br />

สอดคลองกับ Bakker และคณะ (1992) ที่รายงานวา<br />

ไมพบขนชนิด unicellular ที่ใบของการบูร<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) ทั้งดาน<br />

upper และ lower epidermis ปากใบเปนแบบ<br />

sunken stomata มีโซฟลลประกอบดวย palisade parenchyma 1 ชั้น<br />

รูปรางเรียวยาว เรียงตัว<br />

เปนระเบียบ spongy parenchyma รูปรางไมแนนอน ทั้งในชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลล<br />

หลั่ง<br />

(secretory cell) และเซลลสะสมน้ํามัน<br />

(oil cell) แทรกอยู<br />

ซึ่งสอดคลองกับ<br />

Bakker และ<br />

คณะ (1992) ที่รายงานวา<br />

ชั้น<br />

palisade parenchyma มีเพียงชั้นเดียว<br />

นอกจากนี้ยังพบ<br />

oil cell<br />

และ mucilage cell ใน palisade parenchyma และ spongy parenchyma โดยในชั้น<br />

spongy จะ<br />

พบวามี idioblast อยูติดกับ<br />

palisade parenchyma บริเวณเสนกลางใบประกอบดวยเนื้อเยื่อชั้นผิว<br />

ดานบน และดานลาง ที่มีรูปรางกลมถึงรูปรางไมแนนอน<br />

กลุมเนื้อเยื่อทอลําเลียง<br />

เปนแบบ<br />

collateral bundle พบ bundle sheath เปนเซลลพวก sclerenchyma ซึ่งสอดคลองกับ<br />

Bakker<br />

และคณะ (1992) ที่พบวา<br />

bundle sheath ลอมรอบดวย sclerenchyma ตั้งแตดานที่ติดกับผิวใบ<br />

ดานบน ไปจนถึงดานที่ติดกับผิวใบดานลาง<br />

85


ลักษณะกายวิภาคที่แตกตางกันของใบอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิดคือ ลักษณะของเซลลผิวใบ<br />

ดานบน 2 ลักษณะคือ แบบรูปกลมถึงรูปรี พบ 7 ชนิดคือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala<br />

(Hamilton) Nees & Ebern.) อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong><br />

sp.3) และแบบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสถึงรูปสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

พบ 1 ชนิดคือ การบูร (<strong>Cinnamomum</strong><br />

camphora (L.) J. Presl)<br />

การสกัดน้ํามันหอมระเหยโดยวิธีการกลั่นดวยน้ํา<br />

จากสวนเปลือกตน เนื้อไม<br />

และใบ ที่<br />

ตากใหแหงในที่รม<br />

และทําการสกัดน้ํามันหอมระเหยตัวอยางละ<br />

5 ชั่วโมง<br />

พบวาในสวนเปลือก<br />

ตนอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) ใหปริมาณน้ํามันหอมระเหยมากที่สุดคือ<br />

รอยละ<br />

1.80 ซึ่งคลายกับ<br />

Guzman and Siemonsma (1999) ที่รายงานวา<br />

น้ํามันหอมระเหยของเปลือกตน<br />

<strong>Cinnamomum</strong> burmanni มีปริมาณน้ํามันหอมระเหยรอยละ<br />

1-4 <strong>Cinnamomum</strong> cassia มีปริมาณ<br />

น้ํามันหอมระเหยรอยละ<br />

1-4 <strong>Cinnamomum</strong> loureirii รอยละ 1-7 อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong><br />

verum J. Presl) รอยละ 0.5-2 สวน Jantan et al. (2005) รายงานวาเปลือกตนของ<br />

<strong>Cinnamomum</strong> subavenium ใหปริมาณน้ํามันหอมระเหยรอยละ<br />

0.4 และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยี (2548) พบวา เมื่อนําสวนเปลือกตนของ<br />

อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> verum J.<br />

Presl) มาสกัดจะไดน้ํามันหอมระเหยปริมาณรอยละ<br />

0.5-2.0<br />

ในสวนของเนื้อไม<br />

อบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) ใหปริมาณน้ํามันหอม<br />

ระเหยมากที่สุดคือ<br />

รอยละ 0.28 รองลงมาคือ การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

มีรอยละ 0.17 สวนชนิดอื่นๆ<br />

ไมมีน้ํามันหอมระเหย<br />

ในสวนใบ ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Ebern.) ให<br />

ปริมาณมากที่สุด<br />

คือรอยละ 3.36 สวนใบอบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume)<br />

ใหปริมาณนอยที่สุดคือรอยละ<br />

0.15 ซึ่งแตกตางจาก<br />

Guzman and Siemonsma (1999) ที่รายงาน<br />

วาใบของอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) มีปริมาณน้ํามันหอมระเหยรอยละ<br />

0.7-1.2<br />

สวน Jantan et al. (2005) พบวา <strong>Cinnamomum</strong> subavenium ใหปริมาณน้ํามันหอมระเหยรอย<br />

ละ 0.8 และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2548) รายงานวา เมื่อนําใบของ<br />

อบเชยเทศ<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) มาสกัด พบวามีปริมาณน้ํามันหอมระเหยรอยละ<br />

1.8<br />

86


จากการสกัดน้ํามันหอมระเหยทั้ง<br />

3 สวน คือเปลือกตน เนื้อไม<br />

และใบของอบเชยทั้ง<br />

8<br />

ชนิดพบวาแตละชนิด แตละสวนใหปริมาณน้ํามันหอมระเหยที่แตกตางกันคืออบเชยญวน<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) และการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) ใหน้ํามัน<br />

หอมระเหยทั้ง<br />

3 สวน ซึ่งบางชนิดเชน<br />

มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) พบวาบางสวนไมมี<br />

น้ํามันหอมระเหย<br />

และจากการศึกษาครั้งนี้พบวาเปลือกตน<br />

และเนื้อไมของอบเชยญวน<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) มีปริมาณน้ํามันหอมระเหยมากที่สุดคือรอยละ<br />

1.80 และ 0.28<br />

ตามลําดับ และใบของฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Ebern.) มี<br />

รอยละ 3.36<br />

ในปจจุบันนี้พบวามีการนําน้ํามันหอมระเหยไปใชในการแตงกลิ่นในผลิตภัณฑอาหาร<br />

เปนสารใหความหอมในผลิตภัณฑเครื่องสําอาง<br />

ใชเปนสารสําคัญในการผลิตยา น้ํามันหอมระเหย<br />

ที่สกัดไดจากเปลือกตนอบเชยเทศ<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) นําไปใชในการแตงกลิ่น<br />

อาหาร และเปนสวนผสมในการทาถูนวด แกปวด (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี,<br />

2548) น้ํามันหอมระเหยในใบ<br />

และเนื้อไมของการบูร<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

เปนสารใหกลิ่นเฉพาะ<br />

ใชในการผลิตเครื่องหอม<br />

ใชเปนยาทาถูนวดในการรักษาอาการแนน<br />

หนาอก ปวดกลามเนื้อ<br />

และขออักเสบ (Oyen and Nguyen, 1999)<br />

การใชอบเชยในเชิงการคาในปจจุบันพบวา มีการนํามาคาขายในเชิงเศรษฐกิจ 4 ชนิดคือ<br />

อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) อบเชยชวา (<strong>Cinnamomum</strong> burmannii<br />

(Nees) Blume) ฝนแสนหา (แกง) (<strong>Cinnamomum</strong> tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) และ<br />

อบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) โดยมีการใชสวนเปลือกตนของอบเชยเทศ<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) มาสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

เพื่อใชในการแตงกลิ่นอาหาร<br />

นอกจากนี้มีการนําเปลือกรากและกิ่งของการบูร<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) ไปสกัด<br />

น้ํามันหอมระเหย<br />

ที่เรียกวา<br />

camphor oil ไดน้ํามันที่มีคุณสมบัติชวยกระตุนความรูสึก<br />

และทําให<br />

จิตใจปลอดโปรง บรรเทาอาการปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อและขอตอ<br />

และใชไลแมลง ในทาง<br />

เครื่องเทศ<br />

จะใชใบและกิ่งกาน<br />

แตงกลิ่นอาหารและขนม<br />

(เพ็ญนภา และคมสัน, 2549) และมีการ<br />

นําน้ํามันหอมชนิดตางๆ<br />

จากการบูรมาใชในการผลิตเครื่องหอม<br />

และสารปองกันและกําจัดวัชพืช<br />

และใชปรุงแตงกลิ่นสบู<br />

(Oyen and Nguyen, 1999) นอกจากนี้ยังพบวา<br />

อบเชยเปนเครื่องเทศที่<br />

ใชเปนสวนผสมและปรุงแตงกลิ่นรสอาหารชนิดตางๆ<br />

เชน ใชเปนสวนผสมในผงกะหรี่<br />

ผงพะโล<br />

หรือแตงกลิ่น<br />

รส คุกกี้<br />

ผลิตภัณฑเนื้อสัตวตางๆ<br />

จากการศึกษาในครั้งนี้พบวาการบูร<br />

87


(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) และอบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) มี<br />

ศักยภาพในการผลิตน้ํามันหอมระเหย<br />

เพื่อการใชประโยชนในดานตางๆ<br />

88


สรุป<br />

การศึกษากายวิภาคและการสกัดน้ํามันหอมระเหยของพืชสกุลอบเชยบางชนิด<br />

ในพื้นที่<br />

แปลงรวบรวมพันธุพืชสกุลอบเชย<br />

สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออกเฉียง (ดงฟาหวน) จังหวัด<br />

อุบลราชธานี จํานวน 8 ชนิด เพื่อเปนขอมูลสนับสนุนในการจัดจําแนกและการใชประโยชนพืช<br />

สกุลนี้<br />

ผลการศึกษาพบวามีลักษณะสวนใหญคลายกัน สรุปไดดังนี้<br />

1. ปลายยอด ประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด<br />

(apical meristem) ประกอบดวย<br />

tunica 2-3 ชั้น<br />

และ corpus 5-6 ชั้น<br />

2. เปลือกตน ประกอบดวย periderm ที่มีจํานวนแถวของชั้น<br />

phellogen จํานวน 1-3<br />

แถว ชั้น<br />

phelloderm มีจํานวน 1-4 แถว cortex และ secondary phloem<br />

3. เนื้อไมของลําตน<br />

พบ vessel มีรูปรางกลมถึงรูปรี และรูปหลายเหลี่ยม<br />

มีขนาด<br />

เสนผาศูนยกลางเฉลี่ย<br />

55 ไมโครเมตร จํานวน vessel เฉลี่ยตอพื้นที่<br />

1 ตารางมิลลิเมตร พบ<br />

จํานวน 69 เซลล การกระจายของ vessel เปนแบบ diffuse-porous wood xylem fiber มีรูปราง<br />

เรียวยาว มีผนังหนา มีขนาดความกวางเฉลี่ย<br />

14 ไมโครเมตร ความยาวเฉลี่ย<br />

768 ไมโครเมตร<br />

xylem ray เปนแบบ uniseriate heterocellular และ multiseriate heterocellular ขนาดของ ray<br />

มีความกวางเฉลี่ย<br />

20 ไมโครเมตร ความสูงเฉลี่ย<br />

685 ไมโครเมตร<br />

4. โครงสรางของใบเปนแบบ bifacial leaf ชั้น<br />

palisade และ spongy มีเซลลหลั่ง<br />

(secretory cell) แทรกอยู<br />

พบปากใบเฉพาะผิวใบดานลางเทานั้น<br />

ปากใบเปนแบบ sunken<br />

stomata บริเวณเสนกลางใบเปนกลุมเนื้อเยื่อ<br />

xylem และ phloem พบเซลลสะสมสารแทนนิน<br />

จํานวนมาก<br />

5. การสกัดน้ํามันหอมระเหยโดยวิธีการกลั่นโดยใชน้ําจากสวนเปลือกตน<br />

เนื้อไม<br />

และใบ<br />

ของอบเชยทั้ง<br />

8 ชนิด พบวาในสวนเปลือกตน และเนื้อไมอบเชยญวน<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J.<br />

Presl) ใหปริมาณน้ํามันหอมระเหยมากที่สุดคือ<br />

รอยละ 1.80 และ 0.28 ตามลําดับ สวนใบ<br />

ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) ใหปริมาณน้ํามันหอม<br />

ระเหยมากที่สุด<br />

คือรอยละ 3.36<br />

89


ลักษณะทางกายวิภาคที่แตกตางกันระหวางชนิดของอบเชยมีดังนี้<br />

1. การจัดเรียงตัวของ stone cell ในเปลือกตน มีการเรียงตัว 3 แบบ คือ แบบเรียง<br />

ตอเนื่องเปนแถวยาว<br />

พบ 5 ชนิด คือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) ฝนแสนหา<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners<br />

Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) และอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) แบบ<br />

กระจายทั่วไป<br />

พบ 2 ชนิด คือ เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet)<br />

การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) และแบบเปนกลุม<br />

พบ 1 ชนิด คืออบเชยญวน<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

2. เนื้อไมพบลักษณะที่แตกตางกัน<br />

คือ<br />

2.1 รูปรางของ vessel พบ 2 ลักษณะ คือ แบบรูปรางกลมถึงรูปรี พบ 5 ชนิด คือ<br />

มหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet)<br />

ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) อบเชย (<strong>Cinnamomum</strong> cf.<br />

iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) และแบบรูปรางกลมถึงรูปรี และรูป<br />

หลายเหลี่ยม<br />

พบ 3 ชนิด คืออบเชยญวน (<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) การบูร<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) และอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3)<br />

2.2 ลักษณะชองปลายเปดของ vessel พบ 2 ลักษณะคือ แบบ simple perforation<br />

เพียงอยางเดียว พบ 5 ชนิด คือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf.<br />

bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees &<br />

Eberm.) การบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl) และอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3)<br />

และแบบพบทั้ง<br />

simple perforation และ scalariform multiple perforation พบ 3 ชนิดคือ อบเชย<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) และอบเชยญวน<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl)<br />

3. ใบ พบลักษณะของเซลลผิวใบดานบน 2 ลักษณะคือ แบบรูปกลมถึงรูปรี พบ 7 ชนิด<br />

คือ คือมหาปราบ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.1) เชียด (<strong>Cinnamomum</strong> cf. bejolghota (Buch.-Ham.)<br />

Sweet) ฝนแสนหา (<strong>Cinnamomum</strong> cf. tamala (Hamilton) Nees & Eberm.) อบเชย<br />

(<strong>Cinnamomum</strong> cf. iners Reinw. ex Blume) สุรามะริด (<strong>Cinnamomum</strong> sp.2) อบเชยญวน<br />

90


(<strong>Cinnamomum</strong> verum J. Presl) และอบเชยเทศ (<strong>Cinnamomum</strong> sp.3) และแบบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

ถึงรูปสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

พบ 1 ชนิดคือการบูร (<strong>Cinnamomum</strong> camphora (L.) J. Presl)<br />

91


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กองกานดา ชยามฤต. 2540. สมุนไพรไทย ตอนที่<br />

6. บริษัท ไดมอนด พริ้นติ้ง<br />

จํากัด,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

เทียมใจ คมกฤส. 2542. กายวิภาคของพฤกษ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

ประศาสตร เกื้อมณี.<br />

2537. ไมโครเทคนิคทางพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร, คณะวิทยาศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ และ คมสัน หุตะแพทย. 2549. มหัศจรรยพรรณไมหอมและเครื่องหอม<br />

ไทย. สามเจริญพาณิชย, กรุงเทพฯ.<br />

มานิต คิดอยู.<br />

2544. กายวิภาคเปรียบเทียบของพืชสกุล Cassia บางชนิดในประเทศไทย. วิทยา<br />

นิพนธปริญญาโท. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2548. น้ํามันหอมระเหยไทย<br />

ตอนที่<br />

1.<br />

เซเวน พริ้นติ้ง<br />

กรุป,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

สมคิด สิริพัฒนดิลก. 2526. เทคนิคการเตรียมตัวอยางพืช เพื่อศึกษาในกลองจุลทรรศน.<br />

ภาควิชา<br />

ชีววิทยาปาไม คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

. 2541. ไมอบเชยไทย (<strong>Cinnamomum</strong> burmannii Bl.) การอนุรักษในเชิง<br />

เศรษฐกิจ, น. 110. ใน การอนุรักษและพัฒนาพรรณพืชทางศิลปวัฒนธรรมไทย 2541.<br />

สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

สวนพฤกษศาสตรปาไม. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย<br />

เต็ม สมิตินันท (ฉบับแกไข<br />

เพิ่มเติม<br />

พ.ศ. 2544). บริษัท ประชาชน จํากัด, กรุงเทพฯ.<br />

92


Ashton, M.S., S. Gunatilleke, N. de Zoysa. 1997. A Field Guide to the Common Trees<br />

and Shrubs of Sri Lanka. Gunaratne Offset Limited, Sri Lanka.<br />

Backer, C.A. and R.C. Bakhuizen Van Den Brink. 1963. Flora of Java (Spermatophytes<br />

Only). Vol. I. N.V.P. Noordhoff-Groningen, The Netherlands.<br />

Bakker, M.E., A.F. Gerritsen and P.J. Van der Shaaf. 1992. Leaf Anatomy of <strong>Cinnamomum</strong><br />

Schaeffer (Lauraceae) with Special Reference to Oil and Mucilage Cells. pp. 1-30.<br />

In Bremer, K. et al (ed). Bluemea. Hortus Botanicus, The Netherlands.<br />

Baruah, A., S.C. Nath, A.K. Hazarika and T.C. Sarma. 1997. Essential Oils of the Leaf,<br />

Stem Bark and Panicle of <strong>Cinnamomum</strong> bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet. J. Essent.<br />

Oil Res. 9: 243-245.<br />

Bor, N.L. 1953. Manual of Indian Forest Botany. Oxford University Press, Bombay,<br />

India.<br />

Brandis, D. 1990. Indian Trees. Bishen Singh Mahendra Pal Singh, Dehra Dun, India.<br />

Chaudhuri, A.B. 1993. Forest Plants of Eastern India. Ashish Publishng House, New<br />

Delhi, India.<br />

de Guzman, C.C. and J.S. Siemonsma. 1999. (Editors) Plant Resource of South-East Asia<br />

No 13. Spices. Backhuys Publishers. Leiden, The Netherlands.<br />

Dung, N.X., N. Sothy, V.N. Lo and P.A. Leclercq. 1994. Chemical Composition of Wood<br />

Oil of <strong>Cinnamomum</strong> albiflorum Nees From Kampuchea. J. Essent. Oil Res. 6: 201-<br />

202.<br />

93


Dung, N.X., L.D. Moi, N.D. Hung and P.A. Leclercq. 1995. Constituents of the Essential<br />

Olis of <strong>Cinnamomum</strong> parthenoxylon (Jack) Nees From Vietnam. J. Essent. Oil<br />

Res. 7: 53-56.<br />

Esau, K. 1977. Anatomy of Seed Plant. John Wiley and Sons, Inc., New York.<br />

Grierson, A.J.C. and D.G. Long. 1984. Flora of Bhutan. Including a Record of Plants<br />

from Sikkim. Vol. 1. Part 2. Royal Botanic Garden, Edinburgh , Scotland.<br />

Hooker, J.D. 1890. The Flora of British India. Vol. 5. L. Reeve & Co., Ltd., London, UK.<br />

Jantan, I., K. Muhammad and C.C. Nee. 2005. Constituents of the Leaf and Bark Oils of<br />

<strong>Cinnamomum</strong> subavenium Miq. J. Essent. Oil Res. 17: 281-283.<br />

Johansen, D.A. 1940. Plant Microtechnique. McGraw-Hill Book, New York.<br />

Kochummen, K.M. 1989. Lauraceae, pp. 98-178. In F.S.P. Ng (ed). Tree Flora of Malaya:<br />

A Manual for Foresters. Vol. 4. Longman, Malaysia.<br />

Kostermans, A.J.G.H. 1986. A monograph of the Genus <strong>Cinnamomum</strong> Schaeff.<br />

(Lauraceae) Part I. Gakujutsu Tosho Printing Co., Ltd., Tokyo, Japan.<br />

Kurz, S. 1877. Forest Flora of British Burma. Vol. II. Office of The Superintendent of<br />

Government Printing, Calcutta, India.<br />

Lemmens, R.H.M.J., I. Soerianegera and W.C. Wong. 1995. Plant Resources of South-East<br />

Asia. No. 5(2). Bogor, Indonesia.<br />

Metcalfe, C.R. and L. Chalk. 1950. Anatomy of Dicotyledons. Vol. II. Oxford University<br />

Press, New York.<br />

94


Metcalfe, C.R. and L. Chalk. 1979. Anatomy of Dicotyledons. 2 ed. Vol. I. Oxford<br />

University Press, New York.<br />

. 1987. Anatomy of Dicotyledons. 2 ed. Vol. III: Magnoliales,<br />

Illiciales, and Lauarales (sensu Armen Taktajan). Clarendon Press, New York.<br />

Nath, S.C., M.G. Pathak and A. Baruah. 1996. Benzyl Benzoate, the Major Component of<br />

the Leaf and Stem Bark Oil of <strong>Cinnamomum</strong> zeylanicum Blume. J. Essent. Oil<br />

Res. 8: 327-328.<br />

Oyen, L.P.A. and Nguyen Xuan Dung (Editors). 1999. ทรัพยากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออก<br />

เฉียงใต ลําดับที่<br />

19. พืชที่ใหน้ํามันหอม.<br />

สหมิตรพริ้นติ้ง,<br />

นนทบุรี.<br />

Richter, H.G. and M.J. Dallwitz. 2000. <strong>Cinnamomum</strong> spp. Asia and Pacific (Medang,<br />

cinnamon). Commercial timbers. Available Source: http://www. biodiversity. uno.<br />

edu/delta/, August 5, 2002.<br />

Rohwer, J.G. 1993. Lauraceae, pp. 366-391. In K. Kubitzki et al (ed). The Families and<br />

Genera of Vascular Plants. Vol. 2. Springer-Verlag, Berlin, Germany.<br />

Takhtajan, A. 1997. Diversity and Classification of Flowering Plants. Columbia<br />

University Press, New York.<br />

95


ภาคผนวก


เปลือกตน<br />

ขั้นตอนการทําสไลดถาวรเนื้อเยื่อพืช<br />

1. การเก็บและตัดตัวอยาง<br />

นําสวนที่จะศึกษา<br />

คือ สวนเปลือกตน โดยตัดตัวอยางบริเวณเหนือพื้นดินประมาณ<br />

30<br />

เซนติเมตร ใหเปนชิ้นสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ขนาดประมาณ 0.5 x 0.7 เซนติเมตร<br />

2. การฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

(Killing and Fixing)<br />

นําชิ้นสวนในขอ<br />

1 ที่ตัดหรือแยกแลว<br />

ไปแชในน้ํายาฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

FAA<br />

(Formalin acetic acid) 50 เปอรเซ็นต<br />

3. การดูดอากาศออกจากเนื้อเยื่อ<br />

นําชิ้นสวนที่แชอยูใน<br />

FAA 50 เปอรเซ็นต ไปเขาเครื่องดูดอากาศ<br />

(Suction pump)<br />

เพื่อดูดอากาศออกจากเนื้อเยื่อ<br />

และชวยใหน้ํายาซึมเขาไปไดทั่วถึง<br />

โดยใชความดันประมาณ 15-25<br />

ปอนดตอตารางนิ้ว<br />

นาน 3-3 ½ ชั่วโมง<br />

แลวแตชนิดของเนื้อเยื่อ<br />

หรือจนกวาฟองอากาศจะหมด<br />

โดยสังเกตไดจากการที่เนื้อเยื่อจมลงกนขวด<br />

และไมมีฟองอากาศลอยขึ้นมา<br />

จากนั้นทิ้งไวอยาง<br />

นอย 72 ชั่วโมง<br />

4. การลางน้ํายาออกจากเนื้อเยื่อ<br />

นําชิ้นสวนพืชไปแชใน<br />

Ethyl alcohol 50, 70, 95 และ 100 เปอรเซ็นต ตามลําดับ<br />

นาน 3 ชั่วโมง<br />

เพื่อลางน้ํายาฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

ออกจากเนื้อเยื่อใหหมด<br />

5. การแทนที่แอลกอฮอลดวย<br />

Polyethylene glycol (PEG) MW 1,200<br />

นําชิ้นสวนพืชไปแชในสวนผสมของ<br />

PEG ตอ น้ํา<br />

ในอัตราสวน 1 ตอ 3, 1 ตอ 1<br />

และ 3 ตอ 1 ตามลําดับ ระดับละประมาณ 3 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั้นนําชิ้นสวนพืชไปแชใน<br />

pure<br />

PEG แลวนําเขาตูอบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

60 องศาเซลเซียส 2 ครั้งๆ<br />

ละ 3 ชั่วโมง<br />

97


6. การฝงเนื้อเยื่อใน<br />

PEG<br />

ใชกระดาษแข็งหนามันพับเปนกระทง ขนาดประมาณ 3 x 5 เซนติเมตร หลังจากนั้น<br />

นําตัวอยางที่อยูในตูอบเทลงในกระทงกระดาษ<br />

จัดเรียงชิ้นสวนของพืชใหอยูในแนวที่ตองการ<br />

เมื่อ<br />

PEG แข็งตัวดีแลว นําไปเก็บไวในตูเย็น<br />

7. การตัดเนื้อเยื่อที่ฝงยึดใน<br />

PEG ดวย Sliding microtome<br />

นําชิ้นสวนพืชที่ฝงใน<br />

PEG มาตัดแตงเปนแทงสี่เหลี่ยม<br />

แลวนําไปตัดดวย Sliding<br />

microtome ความหนาประมาณ 12-15 ไมโครเมตร จะไดชิ้นสวนของพืชที่มี<br />

PEG ติดอยู<br />

จากนั้นนําตัวอยางพืชที่ตัดไดแชไวในน้ํากลั่นประมาณ<br />

12 ชั่วโมง<br />

เพื่อละลาย<br />

PEG สวนเกิน<br />

8. ขั้นตอนการยอมสี<br />

(Staining) ดวยสี Safranin O และ Fast green<br />

8.1 แชตัวอยางพืชในสี Safranin O นาน 3-5 นาที<br />

8.2 ลางตัวอยางพืชดวยน้ํากลั่น<br />

2 ครั้ง<br />

เพื่อลางสีสวนเกินออก<br />

8.3 แชตัวอยางพืชใน Ethyl alcohol ที่มีระดับความเขมขนตางๆ<br />

จาก 30, 50, 70<br />

และ 95 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ระดับละประมาณ 5 นาที<br />

8.4 หยดสี Fast green ลงบนเนื้อเยื่อ<br />

2-3 หยด ทิ้งไวประมาณ<br />

3-5 วินาที<br />

8.5 ลางดวย Ethyl alcohol 95 เปอรเซ็นต และ Absolute ethyl alcohol ตามลําดับ<br />

8.6 แชตัวอยางพืชในสวนผสมของ Absolute ethyl alcohol กับ Xylene ใน<br />

อัตราสวน 1 ตอ 1 ประมาณ 5 นาที<br />

8.7 แชตัวอยางพืชใน Xylene 2 ครั้งๆ<br />

ละประมาณ 6 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั้นนํา<br />

ตัวอยางพืชมาปดดวย cover slip โดยใช Canada balsam หรือ Permount เปน Mounting<br />

medium<br />

8.8 นําตัวอยางพืชที่ปดดวย<br />

Cover slip ไปอบใหแหง หรือวางไวในหองที่มีอุณหภูมิ<br />

ปกติจนแหง<br />

การตัดเนื้อไมดวยเครื่อง<br />

Sliding microtome<br />

1. ตัดกิ่งอบเชยแตละชนิด<br />

ที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ<br />

1 เซนติเมตร ตัดเนื้อไม<br />

เปนแทงสี่เหลี่ยมขนาดหนาตัดประมาณ<br />

1 x 1 เซนติเมตร สูงประมาณ 2 เซนติเมตร<br />

2 นําแทงไมไปแชในแอลกอฮอล 70 เปอรเซ็นต<br />

98


3. นําแทงไมมาลางน้ํา<br />

แลวนําไปตมในน้ําเดือดประมาณ<br />

30 นาที เพื่อไลฟองอากาศที่มี<br />

อยูในเนื้อไม<br />

4. นําไปตัดดวยเครื่อง<br />

Sliding microtome ทางดานหนาตัด ดานสัมผัส และดานรัศมี<br />

5. นําเนื้อไมที่ตัดได<br />

ยอมดวยสี Safranin O<br />

5.1 ยอมเนื้อไมดวยสี<br />

Safranin O นานประมาณ 5-10 นาที<br />

5.2 ลางเนื้อไมดวยน้ํากลั่น<br />

2 ครั้ง<br />

เพื่อลางสีสวนเกินออก<br />

5.3 แชเนื้อไมใน<br />

Ethyl alcohol ที่มีระดับความเขมขนตางๆ<br />

จาก 30, 50, 70 และ 95<br />

เปอรเซ็นต และ Absolute ethyl alcohol ตามลําดับ ระดับละประมาณ 5 นาที<br />

5.4 แชเนื้อไมในสวนผสมของ<br />

Absolute ethyl alcohol กับ Xylene ในอัตราสวน 1<br />

ตอ 1 ประมาณ 5 นาที<br />

5.5 แชตัวอยางพืชใน xylene 2 ครั้งๆ<br />

ละประมาณ 6 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั้นนํา<br />

ตัวอยางพืชมาปดดวย Cover slip โดยใช Canada balsam หรือ Permount เปน Mounting<br />

medium<br />

5.6 นําตัวอยางพืชที่ปดดวย<br />

Cover slip ไปอบใหแหง หรือเก็บไวในหองที่มีอุณหภูมิ<br />

ปกติจนแหง<br />

การแยกเซลล (Maceration)<br />

1. ตัดและผาเนื้อไมใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร นําไปใสหลอดทดลอง<br />

2. นําไปตมในสวนผสมของ Glacial acetic acid กับ Hydrogen peroxide ในอัตราสวน<br />

1 ตอ 1 นาน 2-3 ชั่วโมง<br />

หรือจนกวาเนื้อไมจะเปนสีขาว<br />

3. ลางเนื้อไมดวยน้ํากลั่นใหหมดฤทธิ์กรด<br />

แลวเติมน้ํากลั่นลงไปจนทวมตัวอยาง<br />

เขยา<br />

หลอดทดลอง ใหเซลลแยกออกจากกันเปนเซลลเดี่ยวๆ<br />

4. นําไปยอมดวย Safranin O นานประมาณ 5-10 นาที<br />

5. ดึงน้ําออกจากเซลลโดยแชใน<br />

Ethyl alcohol ที่ระดับความเขมขนตางๆ<br />

คือ 30, 50,<br />

70, 95 เปอรเซ็นต และ Absolute ethyl alcohol ตามลําดับ<br />

6. แชในสวนผสมของ Absolute ethyl alcohol กับ Xylene ในอัตราสวน 1 ตอ 1<br />

ประมาณ 5 นาที<br />

7. แชใน Xylene 2 ครั้งๆ<br />

ละประมาณ 6 ชั่วโมง<br />

99


8. หยด Permount เปน Mounting medium ลงไปในหลอดทดลอง ที่มีเซลลเนื้อไมและ<br />

xylene อยูประมาณ<br />

5-10 หยด ตอปริมาตร 5-10 มิลลิลิตร เขยาใหสวนผสมทั้งหมดเขากันไดดี<br />

9. ใชหลอดหยดดูดสวนผสมทั้งหมด<br />

หยดลงบนกระจกสไลด ปดดวย cover slip<br />

ปลายยอด และใบ<br />

1. การเก็บและตัดตัวอยาง<br />

นําสวนตางๆ ที่จะศึกษา<br />

เชน ปลายยอด และใบ ลําดับที่<br />

3 จากปลายยอด ตัดใหเปน<br />

ชิ้นสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

ขนาดประมาณ 0.5 x 0.7 เซนติเมตร<br />

2. การฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

(Killing and Fixing)<br />

นําชิ้นสวนในขอ<br />

1 ที่ตัดหรือแยกแลว<br />

ไปแชในน้ํายาฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

FAA<br />

(Formalin acetic acid) 50 เปอรเซ็นต<br />

3. การดูดอากาศออกจากเนื้อเยื่อ<br />

นําชิ้นสวนที่แชอยูใน<br />

FAA 50 เปอรเซ็นต ไปเขาเครื่องดูดอากาศ<br />

(Suction pump)<br />

เพื่อดูดอากาศออกจากเนื้อเยื่อ<br />

และชวยใหน้ํายาซึมเขาไปไดทั่วถึง<br />

โดยใชความดันประมาณ 15-25<br />

ปอนดตอตารางนิ้ว<br />

นาน 3-3 ½ ชั่วโมง<br />

แลวแตชนิดของเนื้อเยื่อ<br />

หรือจนกวาฟองอากาศจะหมด<br />

โดยสังเกตไดจากการที่เนื้อเยื่อจมลงกนขวด<br />

และไมมีฟองอากาศลอยขึ้นมา<br />

จากนั้นทิ้งไวอยาง<br />

นอย 72 ชั่วโมง<br />

4. การลางน้ํายาออกจากเนื้อเยื่อ<br />

นําชิ้นสวนพืชไปแชใน<br />

Ethyl alcohol 50, 70 และ 95 เปอรเซ็นต ตามลําดับ นาน<br />

ขั้นละ<br />

3 ชั่วโมง<br />

เพื่อลางน้ํายาฆาและคงสภาพเนื้อเยื่อ<br />

ออกจากเนื้อเยื่อใหหมด<br />

5. การดึงน้ําออกจากเซลล<br />

นําชิ้นสวนพืชไปแชใน<br />

TBA (Tertiary butyl alcohol) ที่มีระดับความเขมขนของ<br />

แอลกอฮอล 5 ระดับคือ 50, 70, 85, 95 และ 100 เปอรเซ็นต ตามลําดับ แตละระดับใชเวลา<br />

ประมาณ 6-12 ชั่วโมง<br />

100


6. การแทนที่แอลกอฮอล<br />

นําชิ้นสวนพืชไปแชใน<br />

pure TBA 3 ครั้ง<br />

ครั้งละไมนอยกวา<br />

6 ชั่วโมง<br />

แลวนําไป<br />

แชในสวนผสมของ pure TBA กับ Paraffin oil ในอัตราสวน 1 ตอ 1 นาน 12 ชั่วโมง<br />

จากนั้นยายชิ้นสวนพืชลงในหลอดแกวที่มีสวนผสมของ<br />

pure TBA กับ Paraffin oil ใน<br />

อัตราสวน 1 ตอ 1 ใสในหลอดแกวที่มี<br />

Paraffin แข็ง แลวนําเขาตูอบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

60<br />

องศาเซลเซียส ทิ้งไวประมาณ<br />

12 ชั่วโมง<br />

แลวเปลี่ยนใช<br />

Paraffin บริสุทธิ์<br />

ที่ผานการหลอมตัวที่<br />

อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส มาแลวไมนอยกวา 12 ชั่วโมง<br />

โดยเปลี่ยนประมาณ<br />

3 ครั้ง<br />

แตละ<br />

ครั้งทิ้งไวในตูอบประมาณ<br />

12 ชั่วโมง<br />

7. การฝงเนื้อเยื่อใน<br />

Paraffin<br />

ใชกระดาษแข็งหนามันพับเปนกระทง ขนาดประมาณ 3 x 5 เซนติเมตร หลังจากนั้น<br />

เท Paraffin สําหรับฝงชิ้นสวนพืช<br />

(Embedding paraffin) ที่หลอมไวแลวที่อุณหภูมิ<br />

60 องศา<br />

เซลเซียส มาแลวไมต่ํากวา<br />

12 ชั่วโมง<br />

ลงไปใหเกือบเต็มกระทง ใชเหล็กปลายแบนลนไฟจน<br />

รอน แลวนําไปไลฟองอากาศที่หลงเหลืออยูใน<br />

Paraffin หลังจากนั้นรอใหสวนลางของ<br />

Paraffin<br />

เย็นตัว แลวนําชิ้นสวนของพืชในตูอบที่ผานกระบวนการแทนที่แอลกอฮอลแลว<br />

เทใสกระทง<br />

พรอมกับใชเข็มปลายแหลมที่ลนไฟจนรอนจัด<br />

จัดเรียงชิ้นสวนของพืชใหอยูในแนวที่ตองการ<br />

และเปนการไลฟองอากาศออกจาก Paraffin ดวย แลวนํากระทงไปลอยในน้ําที่เย็น<br />

เพื่อปองกัน<br />

Paraffin ตกผลึก เมื่อ<br />

Paraffin แข็งตัวดีแลว นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิปกติ<br />

8. การตัดเนื้อเยื่อดวย<br />

Rotary microtome<br />

นําชิ้นสวนพืชที่ฝงใน<br />

Paraffin มาตัดแตงเปนแทงสี่เหลี่ยมเล็กๆ<br />

ขนาดประมาณ 1x1<br />

เซนติเมตร แลวนําไปติดบนแทงไม แลวนําไปตัดดวย Rotary microtome ความหนาประมาณ 8-<br />

12 ไมโครเมตร จะไดแถบ Paraffin (ribbon) ที่มีชิ้นสวนของพืชติดอยู<br />

(ในกรณีที่ชิ้นสวนของ<br />

พืชแข็ง เชน สวนปลายยอด และใบ ใหตัดผิวหนาของ Paraffin จนถึงเนื้อเยื่อพืช<br />

แลวนําไปแช<br />

ในน้ํายาที่ทําใหเนื้อเยื่อนิ่ม<br />

(Softening solution) ประมาณ 2-3 วัน เพื่อใหน้ํายาแทรกเขาไปใน<br />

เนื้อเยื่อ<br />

จนเนื้อเยื่อออนตัวลง<br />

กอนนําตัวอยางไปตัด ใหนําตัวอยางที่แชน้ํายาที่ทําใหเนื้อเยื่อนิ่มไป<br />

ลางน้ํากอน)<br />

101


9. การนําแถบ Paraffin ติดบนกระจกสไลด (Affixation)<br />

วางกระจกสไลดบนเครื่องอุนสไลด<br />

(Slide warmer) แลวใชน้ํายา<br />

Haupt’s adhesive<br />

ทาบนกระจกสไลด ถูดวยนิ้วมือจนเกิดความหนืด<br />

หยด Formalin 3 เปอรเซ็นต ลงบน<br />

กระจกสไลด นําแถบ Paraffin มาลอยบน Formalin บนกระจกสไลด ซับ Formalin สวนเกิน<br />

ดวยกระดาษทิชชู ทิ้งใหแหง<br />

แลวนําไปเก็บไวในอุณหภูมิปกติ ประมาณ 3-5 วัน กอนนํามายอมสี<br />

10. ขั้นตอนการยอมสี<br />

(Staining) ดวยสี Safranin O และ Fast green<br />

10.1 นํากระจกสไลดที่มีแถบ<br />

Paraffin ติดอยู<br />

แชใน Xylene 2 ครั้งๆ<br />

ละประมาณ<br />

5 นาที เพื่อละลาย<br />

Paraffin ออก<br />

10.2 แชสไลดในสวนผสมของ Xylene และ Absolute ethyl alcohol อัตราสวน 1<br />

ตอ 1 ประมาณ 5 นาที<br />

10.3 แชสไลดในสวนผสมของ Ether และ Absolute ethyl alcohol อัตราสวน 1<br />

ตอ 1 ประมาณ 5 นาที<br />

10.4 แชสไลดใน Ethyl alcohol ที่มีระดับความเขมขนตางๆ<br />

จาก 95, 70, 50 และ<br />

30 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ระดับละประมาณ 5 นาที<br />

10.5 แชสไลดในสี Safranin O นาน 3-5 นาที<br />

10.6 ลางสไลดดวยน้ํากลั่น<br />

2 ครั้ง<br />

เพื่อลางสีสวนเกินออก<br />

10.7 แชสไลดใน Ethyl alcohol ที่มีระดับความเขมขนตางๆ<br />

จาก 30, 50, 70 และ<br />

95 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ระดับละประมาณ 5 นาที<br />

10.8 หยดสี Fast green ลงบนเนื้อเยื่อ<br />

2-3 หยด ทิ้งไวประมาณ<br />

3-5 วินาที<br />

10.9 ลางดวย Ethyl alcohol 95 เปอรเซ็นต และ Absolute ethyl alcohol<br />

ตามลําดับ<br />

10.10 แชสไลดในสวนผสมของ Absolute ethyl alcohol กับ Xylene ในอัตราสวน<br />

1 ตอ 1 ประมาณ 5 นาที<br />

10.11 แชสไลดใน Xylene 2 ครั้งๆ<br />

ละประมาณ 6 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั้นนําตัวอยาง<br />

พืชมาปดดวย Cover slip โดยใช Canada balsam หรือ Permount เปน Mounting medium<br />

10.12 นําตัวอยางพืชที่ปดดวย<br />

Cover slip ไปอบใหแหง หรือวางไวในหองที่มี<br />

อุณหภูมิปกติจนแหง<br />

102


ขั้นตอนการสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

1. การเก็บและตากตัวอยาง<br />

นําสวนตางๆ ของพืชที่จะศึกษา<br />

เชน เปลือกตน เนื้อไม<br />

และใบ โดยแยกเปลือกตน<br />

ออกจากเนื้อไม<br />

นําตัวอยางทั้งหมดมาตากใหแหงในที่รม<br />

เปนเวลาประมาณ 2 สัปดาห<br />

2. การตัดตัวอยาง<br />

นําตัวอยางที่ตากแหงแลว<br />

มาตัดใหมีขนาดเล็กลง หรือนําไปบดหยาบ หลังจากนั้นนํา<br />

ตัวอยางทั้งหมดไปชั่งน้ําหนักแหง<br />

3. การสกัดน้ํามัน<br />

นําตัวอยางมาสกัดน้ํามันดวยการกลั่นดวยน้ํา<br />

โดยใชเครื่องสกัดน้ํามันหอมระเหย<br />

แต<br />

ละสวนใชเวลาประมาณ 5 ชั่วโมง<br />

4. การบันทึกและประมวลผล<br />

จดบันทึกปริมาณน้ํามันหอมระเหยที่สกัดได<br />

แลวนํามาวิเคราะหหาปริมาณน้ํามันหอม<br />

ระเหยที่ไดตอปริมาณน้ําหนักแหง<br />

103


สูตรน้ํายาตางๆ<br />

1. FAA 50% (Formalin acetic acid)<br />

Ethyl alcohol 50% 90 ซี.ซี.<br />

Glacial acetic acid 5 ซี.ซี.<br />

Formaldehyde 5 ซี.ซี.<br />

2. TBA (Tertiary butyl alcohol) ความเขมขนตางๆ 5 ระดับ<br />

ลําดับขั้น<br />

1 2 3 4 5<br />

ความเขมขนของแอลกอฮอล (%) 50 70 85 95 100<br />

Distilled water 50 30 15 - -<br />

Ethyl alcohol 95% 40 50 50 45 -<br />

Tertiary butyl alcohol 10 20 35 55 75<br />

Absolute ethyl alcohol - - - - 25<br />

3. Haupt’s adhesive<br />

Gelatin 1 กรัม<br />

Phenol crystal 1 กรัม<br />

Glycerine 15 ซี.ซี.<br />

น้ํากลั่น<br />

100 ซี.ซี.<br />

วิธีเตรียม ละลาย Gelatin 1 กรัม ในน้ํากลั่น<br />

100 ซี.ซี. ที่<br />

30 องศาเซลเซียส เมื่อ<br />

gelatin ละลายหมดแลว เติม Phenol และ Glycerine ลงไป คนใหเขากัน กรองสารละลายดวย<br />

กระดาษกรอง เก็บไวในภาชนะที่ทึบแสง<br />

4. สี Safranin O<br />

Safranin O 2 กรัม<br />

Ethyl alcohol 95% 18 ซี.ซี.<br />

น้ํากลั่น<br />

200 ซี.ซี.<br />

104


วิธีเตรียม ละลาย Safranin O ลงใน Ethyl alcohol 95% คนใหสารละลายเขากัน เติม<br />

น้ํากลั่นลงไป<br />

แลวกรองดวยกระดาษกรอง<br />

5. สี Fast green<br />

Fast green 1 กรัม<br />

Absolute ethyl alcohol 100 ซี.ซี.<br />

Clove oil 100 ซี.ซี.<br />

วิธีเตรียม ละลาย fast green ลงใน 95% ethyl alcohol คนสารละลายใหเขากัน กรอง<br />

สารละลายดวยกระดาษกรอง เติม Clove oil คนสารละลายใหเขา<br />

6. Softening solution<br />

Ethyl alcohol 95% 54 ซี.ซี.<br />

Glycerol 10 ซี.ซี.<br />

น้ํากลั่น<br />

36 ซี.ซี.<br />

105

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!