17.08.2013 Views

International pet food Co .,Ltd . . 2546 Jerhigh jerhigh ISO ... - LEAN

International pet food Co .,Ltd . . 2546 Jerhigh jerhigh ISO ... - LEAN

International pet food Co .,Ltd . . 2546 Jerhigh jerhigh ISO ... - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บริษัท <strong>International</strong> <strong>pet</strong> <strong>food</strong> <strong>Co</strong> .,<strong>Ltd</strong><br />

เป็น บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ ก่อตังขึ นในปี พ.ศ. <strong>2546</strong> โดยมีจุดประสงค์หลักในการผลิตสินค้า เพื อเป็น<br />

ตัวแทนแสดงถึงความรัก ความผูกพันระหว่างคนกับสุนัข เนื องจากในปัจจุบันเจ้าของมีพฤติกรรมในการเลี ยงสุนัข พร้อม<br />

ทังให้ความรักและความเอาใจใส่เปรียบเสมือนสมาชิกในครอบครัว ดังนัน <strong>Jerhigh</strong> จึงเป็นตัวแทนของอาหารสุนัขที คุณ<br />

ไว้วางใจ เพื อพัฒนาการที ดีและสุขภาพแข็งแรงที สมบูรณ์ของสุนัข<br />

การผลิตที มีคุณภาพ<br />

บริษัท อินเตอร์เนชันแนล เพ็ท ฟู ้ด เป็นผู้นําและจําหน่ายสแนคสําหรับสุนัข รวมทังมีการผลิตอาหารหลัก ในรูปแบบ<br />

ต่างๆ โดย <strong>jerhigh</strong> ผ่านกรรมวิธีการผลิตที ได้รับการรับรองขึ นทะเบียนอาหารสัตว์มาตรฐานการส่งออกจากกรมปศุสัตว์<br />

รวมทังได้ผ่านการรับรองมาตรฐานด้านคุณภาพ <strong>ISO</strong> 9001 หลักเกณฑ์วิธีการที ดีสําหรับการผลิต(GMP)และผ่านระบบ<br />

วิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที ต้องควบคุม(HACCP) มาตรฐานด้านสิงแวดล้อม<strong>ISO</strong><br />

14000:2004 มาตรฐานด้าน Food<br />

Safety ระบบ(BRC)<br />

ทีมกระบวนการผลิตแบบลีน<br />

อาจารย์ที ปรึกษาโครงการ


-PQ Analysis<br />

-VSM<br />

เปรียบเทียบ CT กับ Takt time<br />

วิเคราะห์<br />

ปัญหา<br />

-แผนผังก้างปลา<br />

-Parato<br />

วิเคราะห์<br />

สาเหตุ<br />

รากเหง้า<br />

1.วิเคราะห์ปัญหาเบืองต้น<br />

การแก้ปัญหาของกระบวนการผลิตจําเป็นต้องเลือก<br />

สินค้าที มีความสําคัญในทางธุรกิจมาพิจารณาก่อนโดย<br />

พิจารณาจากยอดขายสูงและมีเวลาในการผลิตนานทําให้<br />

ส่งผลไม่ทันต่อความต้องการลูกค้า ดังนันทีมงานจะเลือก<br />

สินค้าจากการวิเคราะห์ P-Q Analysis รูปที 1 โดยเลือก<br />

เบคอนที มียอดการผลิตสูงเป็นอันดับ 3 ของยอดขาย<br />

ทังหมด และมีกระบวนการผลิตค่อนข้างซับซ้อน หลาย<br />

ขันตอน ทําให้ต้องใช้เวลาในการผลิตนานกว่าสินค้าชนิด<br />

อื นๆ อีกทังยังส่งผลต่อสินค้า Mix Variety ที เป็นอันดับ 2<br />

เนื องจากใช้เบคอนเป็นส่วนผสมด้วย<br />

รูปที<br />

1 แผนภาพ P-Q Analysis<br />

ทีมงานได้สํารวจพื นที จริงและสร้าง Current VSM<br />

ของเบคอน ข้อมูลเบื องต้นของ Current VSM พบว่า<br />

กระบวนการอบเป็นคอขวดของระบบเนื องจาก ค่ารอบเวลา<br />

การผลิตนาน และผลิตไม่ทันต่อความต้องการลูกค้าสูงที สุด<br />

โดยพิจารณาจากค่า AT = 61.12 ชัวโมงต่อวัน น้อยกว่า<br />

RT =86.15 ชัวโมงต่อวัน ประมาณ 25 ชัวโมงต่อวัน หรือ<br />

ประมาณตู้ละ 6 ชัวโมงต่อวัน ซึ งในปัจจุบันต้องนําสินค้าไป<br />

-Motion Study<br />

-Supermarket<br />

-Kaizen<br />

กําหนดมาตรการ<br />

ตอบโต้ และ<br />

กําหนดเป้ าหมาย<br />

การปรับปรุงอย่างต่อเนื อง<br />

KPI<br />

-เวลารอตู ้อบ<br />

-เวลากลับด้าน<br />

-เวลาขึนรูป<br />

ตรวจสอบผล<br />

หลังจากนํา<br />

มาตรการตอบโต้<br />

ไปใช้<br />

Productivityลดลงหรือเท่าเดิม<br />

Productivity<br />

เพิมขึน<br />

-A3 Process<br />

การรักษา<br />

มาตรฐาน<br />

อบในโรงงานข้างเคียง ดังนันทีมงานจึงเลือกที จะแก้ปัญหา<br />

ที ส่งผลกระทบที รุนแรงก่อนคือการอบสินค้า<br />

2.วิเคราะห์สาเหตุรากเหง้า<br />

จากการวิเคราะห์ตู้อบสินค้าทัง 4 ตู้ มีแนวโน้ม<br />

เดียวกันคือปัญหาการรอสินค้ามากกว่า 80 % เมื อนําข้อมูล<br />

ทัง 4 ตู้รวมกัน ดังรูปที 2 เวลาที สูญเสียเกิดจากการรอ<br />

สินค้าขึ นรูป และ การรอสินค้ากลับด้าน รวมกันประมาณ<br />

92.6% ดังนันทีมงานจะหาสาเหตุรากเหง้าโดยใช้การ<br />

วิเคราะห์แผนผังก้างปลาด้วยการให้ความสําคัญการรอ<br />

สินค้าขึ นรูป และ การรอสินค้ากลับด้านเป็นอันดับแรก<br />

การวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าเพื อหาสาเหตุของการรอ<br />

สินค้าได้อย่างแท้จริงโดยใช้แผนผังก้างปลา สาเหตุเบื องต้น<br />

พบว่าเกิดจากการรอสินค้าขึ นรูปและการรอสินค้ากลับด้าน<br />

สาเหตุรากเหง้าเกิดจากพนักงานไม่มีมาตรฐานการทํางานที <br />

ชัดเจน ทําให้ต้องใช้คนจํานวนมาก จึงส่งผลต่อแรงงานคน<br />

ของกระบวนการอื นๆด้วย และ พนักงานขาดทักษะทําให้<br />

การดึงกระดาษช้าจึงส่งผลให้การกลับด้านช้า และอีกสาเหตุ<br />

พนักงานขาดมาตรฐานการทํางานที ชัดเจน ดังนันเมื อ<br />

ทีมงานพบสาเหตุรากเหง้าจึงดําเนินการสํารวจพื นที จริงเก็บ<br />

ข้อมูลเพื อศึกษาการทํางานของพนักงานที ดีที สุด<br />

2.กําหนดมาตรการตอบโต้ และกําหนดเป้ าหมาย<br />

โดยทีมงานได้กําหนดเป้าหมายที ตังเป้าไว้ในอนาคต<br />

ต้องการลดเวลาการรอ 15 % จากฐานเดิม จึงได้กําหนด<br />

มาตรการตอบโต้ เพื อทําให้ได้ตามเป้าหมายสามารถ<br />

จําแนกมาตรการได้ดังนี


รูปที<br />

2 วิเคราะห์การรอสินค้าที เกิดจากขึ นรูป และการรอ<br />

สินค้าจากการกลับด้านของกระบวนการผลิตเบคอน<br />

1.ม า ต ร ก า ร ล ด เ ว ล า ก า ร ก ลั บ ด้ า น ข อ ง<br />

กระบวนการอบ โดยใช้การศึกษาการทํางานทีดีทีสุด<br />

และทําการสร้างมาตรฐาน<br />

ทีมงานลงสํารวจพื นที จริงและศึกษาการทํางานของ<br />

พนักงานพบว่าการนํากระดาษออกทําได้ช้าเนื องจาก<br />

พนักงานต้องค่อยๆม้วนกระดาษออก เนื องจากพนักงาน<br />

กลัวสินค้าตกหล่น ดังรูปที 3 ใช้เวลา เฉลี ย 7 นาทีแต่จาก<br />

ทีมงานได้ลงไปแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องม้วนกระดาษโดยให้<br />

ทัง 2 คนกดชิ นงานไม่ให้เคลื อนที และดึงกระดาษออกอย่าง<br />

รวดเร็ว พบว่าใช้เวลาเฉลี ย 3 นาที ดังรูปที 4 เมื อทําการ<br />

ทดสอบ T-Test ระดับความเชื อมัน 95 % พบว่าค่า P-<br />

Value เท่ากับ 0.002 ทําให้สรุปได้ว่าเมื อนํามาตรการกลับ<br />

ด้านมาประยุกต์ใช้มีค่าน้อยกว่าไม่ใช้มาตรการตอบโต้อย่าง<br />

มีนัยสําคัญ จากนันให้ทีมงานใช้เทคนิคการฝึกอบรมด้วย<br />

OJT (On the Job Training) เพื อพนักงานทุกคนปฏิบัติ<br />

ตามได้และเขียนมาตรฐานการทํางานให้ชัดเจน ซึ งการลด<br />

รูปที<br />

3 ก่อนปรับปรุง<br />

เวลาการกลับด้านนี ยังสามารถนําไปใช้กลับสินค้ากลุ ่มเส้น<br />

ทังหมดด้วย<br />

2.มาตรการลดเวลากระบวนการขึนรูป โดยใช้<br />

การศึกษาการทํางานที ดีที<br />

สุดแ ละทําการรักษา<br />

มาตรฐาน<br />

ทีมงานลงสํารวจพื นที จริงและศึกษาการทํางานของ<br />

พนักงานในกระบวนการขึ นรูปพบว่าทุกคนไม่มีมาตรฐาน<br />

การทํางานที ชัดเจนดังนันทีมงานจะศึกษาการขึ นรูปของ<br />

พนักงานที ดีที สุดโดยเปรียบการขึ นรูปก่อนและหลังการ<br />

ปรับปรุง ดังรูปที 5 แล้วใช้เทคนิคการฝึกอบรมด้วย OJT<br />

(On the Job Training) เพื อพนักงานทุกคนปฏิบัติตามได้<br />

และเขียนมาตรฐานการทํางานให้ชัดเจน จากเดิมทีมงานใช้<br />

เวลาเฉลี ยเท่ากับ 7.01 นาที หลังปรับปรุงสามารถลดเวลา<br />

ลงเฉลี ยเท่ากับ 4.63 นาที เมื อทําการทดสอบ T-Test ระดับ<br />

ความเชื อมัน 95 % พบว่าค่า P-Value เท่ากับ 0.049 สรุป<br />

ได้ว่าเมื อนํามาตรการกลับด้านมาประยุกต์ใช้มีค่าน้อยกว่า<br />

ไม่ใช้มาตรการตอบโต้อย่างมีนัยสําคัญ<br />

3.มาตรการลดเวลากระบวนการขึนรูป โดยใช้<br />

ระบบดึง หรือ Supermarket<br />

ทีมงานได้สํารวจพื นที จริงและพบว่ากระบวนการชัง<br />

เป็นคอขวด เมื อวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าเกิดจากคนชัง<br />

จะต้องรอให้คนปาดเนื อบอกว่าจะปาดชันใดทําให้เกิดความ<br />

ล่าช้าเกิดขึ นดังนันจะนําระบบดึง หรือ Supermarket มา<br />

ประยุกต์ใช้ในส่วนการชังดังรูปที 6 พร้อมกับทํา Visual<br />

<strong>Co</strong>ntrol ด้วยการเชื อมเหล็กติดกับ Supermarket โดยเหล็ก<br />

แสดงตัวเลขบอกว่าเนื อถาดนี คือชันไหนของการปาด<br />

เบคอน โดยเวลารวมของกระบวนการขึ นรูปลดลง จากเดิม<br />

90 min/batch หลังปรับปรุงสามารถลดเวลาลงเฉลี ยเท่ากับ<br />

67.5 min/batch<br />

รูปที<br />

4 หลังปรับปรุง


รูปที<br />

5 เปรียบเทียบเวลาในการขึ นรูปก่อนและ<br />

หลังปรับปรุง<br />

Visual <strong>Co</strong>ntrol<br />

รูปที<br />

6 แสดงการวางระบบดึงและ สร้าง Visual<br />

<strong>Co</strong>ntrol ให้กับ Supermarket<br />

4.มาตรการลดรอบเวลาการอบสินค้าโดยการ<br />

ปรับสูตรสินค้าเพือลดเวลาในการอบ<br />

ทีมงานได้ศึกษาการใช้เครื องผลิตสินค้าแบบอัตโนมัติ<br />

เนื องจากเครื องผลิตอัตโนมัติได้ใช้รอบเวลาการอบสินค้า<br />

น้อยลง ดังนันทีมงานจึงได้วางแผนปรับสูตรสินค้ากับไลน์<br />

การผลิตแบบเดิมทําให้ส่งผลเวลารอบการผลิตของตู้อบ<br />

ลดลงประมาณ 48 %<br />

สรุปโครงการลีน<br />

ทีมสามารถลดเวลาการรอของกระบวนการอบลง จาก<br />

เดิม 8,225 นาทีต่อสัปดาห์ เหลือ 6,105 นาทีต่อสัปดาห์<br />

โดยปฏิบัติมาตรการตอบโต้ดังนี <br />

1.ลดเวลาการกลับด้านสินค้า จากเดิม1,886 นาทีต่อ<br />

สัปดาห์ เหลือ 848 นาทีต่อสัปดาห์ คิดผลประหยัดได้<br />

185,431 บาทต่อปี<br />

2.ลดเวลากระบวนการขึ นรูปสินค้าโดยการศึกษาและ<br />

สร้างมาตรฐานวิธีการทํางานที ดีที สุด จากเดิม 7.01 นาที<br />

เหลือ 4.63 นาที<br />

3.ลดเวลากระบวนการขึ นรูป โดยใช้ระบบดึง หรือ<br />

Supermarket จากเดิม 90 min/batch เหลือ 67.5<br />

min/batch ส่งผลเวลาการรอสินค้าขึ นรูปลดลงจากเดิม<br />

6,339 นาทีต่อสัปดาห์ เหลือ 5,257 นาทีต่อสัปดาห์ คิดผล<br />

ประหยัดจากมาตรการขึ นรูปสินค้าโดยใช้ ระบบดึงด้วย<br />

Supermarket และการศึกษาและสร้างมาตรฐานวิธีการ<br />

ทํางานที ดีที สุดสามารถลดต้นทุนได้ 2,191,086 บาท/ปี<br />

4.ลดเวลาการอบสินค้าโดยการปรับสูตรสินค้า<br />

ประมาณ 48 % สามารถลดต้นทุนได้ประมาณ 1,449,975<br />

บาทต่อปี<br />

หลังจากสิ นสุดโครงการลีนสามารถลดต้นทุนรวมได้<br />

3,826,429 บาทต่อปี สามารถประเมิน บริษัท บริษัท<br />

<strong>International</strong> <strong>pet</strong> <strong>food</strong> <strong>Co</strong> .,<strong>Ltd</strong> ดังรูปที 7 หลังจากการ<br />

ปรับปรุงมีการไหลได้อย่างต่อเนื องมากขึ น ลดเวลารอ และ<br />

สามารถฝึกฝนให้พนักงานมีการทํางานที เป็นมาตรฐาน<br />

ส่งผลให้บริษัทมีระบบการทํางานที ดีขึ น<br />

รูปที<br />

7 Radar Chart เปรียบเทียบก่อนและหลัง<br />

แผนการทีคาดการณ์จะทําในอนาคต<br />

1.มาตรการลดของเสียและทําให้ชิ นงานมีขนาดที เป็น<br />

มาตรฐานมากขึ น โดยการทําใบมีดให้มีขนาดให้เหมาะสม<br />

2.มาตรการลดเวลากระบวนการบรรจุ สร้างกล่อง 3<br />

กล่องโดยให้พนักงานชังที ต้องการปรับนํ าหนักสินค้า เมื อ<br />

ชังแล้วนํ าหนักเกินหรือขาดเยอะ นําไปใส่กล่องที พนักงาน<br />

ประมาณได้ว่าช่วงนํ าหนักชิ นงานน่าจะอยู ่ในกล่องใด ดีกว่า<br />

ไปใส่ในถุงแล้วทําการหาใหม่ และเมื อมาตรการที 4 ทําได้<br />

จะส่งผลให้มาตรการลดเวลาการบรรจุขณะชังชิ นงานทําได้<br />

เร็วขึ นด้วย<br />

3.มาตรการลดเวลากระบวนการผสม การเปลี ยนไลน์<br />

ด้วยใช้ SMED


ความคิดเห็นของผู ้บริหาร<br />

เนื องจากทางบริษัท อินเตอร์เนชันแนล เพ็ท ฟู ้ ด<br />

จํากัด ต้องการเพิมศักยภาพทางการแข่งขัน<br />

ทางบริษัทจึง<br />

นําโครงการลีนซึ งเป็นปัจจัยหลักที สนับสนุนให้องค์กรก้าวสู ่<br />

ความเป็นเลิศ ด้วยการมุ่งเน้นที<br />

จะขจัดความสูญเปล่าหรือ<br />

ไขมันส่วนเกินออกจากบริษัท โดยนําเครื องมือของลีนมา<br />

ปรับปรุงกระบวนการผลิต ได้แก่ สายธารแห่งคุณค่า<br />

(VSM) , Visual <strong>Co</strong>ntrol ,ระบบดึงหรือSupermarket ฯลฯ<br />

โดยมีอาจารย์ที ปรึกษาคอยให้คําแนะนําจนสามารถ<br />

ดําเนินการได้สําเร็จและพร้อมที จะขยายผลต่อไปในอนาคต<br />

รวมทังได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมและ<br />

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี ปุ่น) ซึ งทางบริษัท<br />

อินเตอร์เนชันแนล เพ็ท ฟู ้ด จํากัด หวังว่าจะได้รับโอกาสได้<br />

เข้าร่วมโครงการที จะทําให้การดําเนินงานมีประสิทธิผล<br />

เพิมขึ<br />

นในโอกาสต่อไป


Current VSM


Future VSM

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!