30.06.2013 Views

อนุพันธ์ (Derivatives) - AS Nida

อนุพันธ์ (Derivatives) - AS Nida

อนุพันธ์ (Derivatives) - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จากรูปที่<br />

3.4 ก 3.4 ข และ 3.4 ค สามารถสรุปได้ว่า ส าหรับจุดวิกฤตที่<br />

x = c ของฟังก์ชัน f<br />

1. ถ้า f (x) เปลี่ยนเครื่องหมายจาก<br />

– เป็น + ที่จุด<br />

c จะได้ว่า f มีจุดสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด<br />

c<br />

2. ถ้า f (x) เปลี่ยนเครื่องหมายจาก<br />

+ เป็น – ที่จุด<br />

c จะได้ว่า f มีจุดต่าสุดสัมพัทธ์ที่จุด<br />

c<br />

3. ถ้า f (x) ไม่เปลี่ยนเครื่องหมายที่ทั้งสองด้านของจุด<br />

c จะได้ว่า f ไม่มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์<br />

พิจารณาตัวอย่าง 3.15 ซึ่ง<br />

f (x) = x 3 – 3x 2 – 24x + 2<br />

จะได้ f (x) = 3x 2 – 6x – 24 = 3(x 2 – 2x – 8)<br />

= 3(x – 4) (x + 2)<br />

พิจารณาช่วงต่างๆ ของ f (x) ดังนี้<br />

ช่วง x < –2 –2 < x < 4 x > 4<br />

เครื่องหมายของ<br />

f (x) + – +<br />

จะเห็นได้ว่า ที่จุด<br />

x = – 2 ค่าของ f (x) เปลี่ยนจาก<br />

+ เป็น –<br />

ดังนั้น<br />

f มีจุดสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด<br />

x = – 2<br />

และที่จุด<br />

x = 4 ค่าของ f (x) เปลี่ยนจาก<br />

– เป็น +<br />

ดังนั้น<br />

f มีจุดต่าสุดสัมพัทธ์ที่จุด<br />

x = 4<br />

2<br />

และจากตัวอย่าง 3.16 f (x) = x 3<br />

ซึ่งได้<br />

f 2 1<br />

(x) =<br />

3 3<br />

x<br />

โดยมี x = 0 เป็นจุดวิกฤต<br />

พิจารณาช่วงต่างๆ ของ f (x) ดังนี้<br />

ช่วง x < 0 x > 0<br />

เครื่องหมายของ<br />

f (x) - +<br />

จะเห็นได้ว่า ที่จุด<br />

x = 0 ค่าของ f (x) เปลี่ยนจากเครื่องหมาย<br />

– เป็น +<br />

ดังนั้น<br />

f มีจุดต่าสุดสัมพัทธ์<br />

ที่จุด<br />

x = 0<br />

33

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!