04.04.2013 Views

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

69<br />

3.3 เทคโนโลยีไบซีมอส<br />

เนื่องจากทั้งทรานซิสเตอรแบบไบโพลารและมอสเฟตตางก็มีขอดีขอเสียตางกันดังนั้นจึง<br />

ทําใหเกิดเทคโนโลยีไบซีมอส(BiCMOS)ขึ้น<br />

เทคโนโลยีนี้เปนการผลิตทรานซิสเตอรแบบ<br />

ไบโพลารและมอสเฟตบนซับสเตรตเดียวกันซึ่งจะทําใหผูออกแบบวงจรสามารถใชขอไดเปรียบ<br />

ของทั้งทรานซิสเตอรแบบไบโพลารและมอสเฟตในการออกแบบวงจรทําใหวงจรมีประสิทธิภาพ<br />

สูงขึ้น<br />

แตขั้นตอนในการผลิตจะยุงยากมากขึ้น<br />

รูปที่<br />

3.20 แสดงโครงสรางของวงจรรวมแบบ<br />

ไบซีมอส<br />

สําหรับขั้นตอนในการสรางวงจรรวมดวยเทคโนโลยีแบบไบซีมอสในรูปที่<br />

3.20 เริ่มตน<br />

จากขั้นตอนแรกจะทําการมาสค(mask)และทําการปลูก(implantation)ชั้นสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n<br />

ดวยธาตุพลวง(antimony)เพื่อใหเกิดเปนชั้นฝง(buried<br />

layers)ลงบนซับสเตรตซึ่งเปนสารกึ่ง<br />

ตัวนําชนิด p ซึ่งกระบวนการดังกลาวใชสําหรับไบโพลารทรานซิสเตอรชนิด<br />

npn และมอสเฟต<br />

ชนิดพีมอส ขั้นตอนที่สองจะทําการปลูกชั้นสารกึ่งตัวนําชนิดp(p-well)ดวยธาตุโบรอนที่ไม<br />

บริสุทธิ์(impurities)สําหรับมอสเฟตชนิดเอ็นมอส<br />

ตอมาจะทําการปลูกชั้นอิปแทกซีซึ่งเปนสารกึ่ง<br />

ตัวนําชนิด n ที่มีขนาด<br />

1μm เพื่อสรางเปนสวนของคอลเล็กเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรชนิด<br />

npn และเปนสวนของแชนแนลสําหรับพีมอส ในระหวางนี้จะทําการใหความรอนกับวงแหวนวง<br />

นอกสุดของธาตุโบรอนเพื่อใหอะตอมที่เคลื่อนที่อยูเกิดการแพรกระจายออกและทําใหสารกึ่งตัวนํา<br />

ชนิด p (p-well) ขยายออกติดกับหนาสัมผัสของพื้นผิวที่เหลือจากชั้นฝงของการโดปดวยแรพลวง<br />

ขั้นตอนตอมาจะเปนการมาสคเพื่อกําหนดขอบเขตที่เปนความหนาพื้นที่ของออกไซด<br />

(field oxide)ที่ปลูกลงไปและสวนนี้ยังกัดทะลุลงไปถึงชั้นของอิปแทกซี<br />

ขั้นตอนสุดทายจะเปน<br />

ขั้นตอนในการปลูกชั้นของสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p และ n เพื่อสรางเปนชั้นเบสและอิมิตเตอรอีกทั้งลด<br />

ความตานทานชั้นคอลเล็กเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรและสรางเปนสวนของซอรสและเดรน<br />

ของมอสเฟต ขบวนการตอไปก็จะปลูกออกไซดลงไปยังชั้นเกตตามดวยหนาสัมผัสที่ทํามาจาก<br />

โพลีซิลิกอน ในสวนของอิมิตเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรก็ทําในรูปแบบเดียวกันกับเกตของ<br />

มอสเฟต การปรับคาแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยน(threshold<br />

voltage)ของมอสเฟตจะกระทําในขั้นตอนนี้<br />

หลังจากนั้นก็ทําการเชื่อมตอหนาสัมผัสโลหะที่เบส<br />

คอลเล็กเตอร ซอรสและเดรนของ<br />

ทรานซิสเตอร ซึ่งก็จะทําใหไดโครงสรางของวงจรรวมแบบไบซีมอสตามรูปที่<br />

3.20

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!