07.10.2014 Views

คำแนะนำวัณโรค (ภาษาไทย)

คำแนะนำวัณโรค (ภาษาไทย)

คำแนะนำวัณโรค (ภาษาไทย)

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

้<br />

อาการของวัณโรค<br />

- มีอาการอ่อนเพลีย<br />

- บางครั ้งอาจจะมีอาการเบื่ออาหารและมีน ้ าหนัก<br />

ลด<br />

- อาจมีอาการครั่นเนื้อครั่นตัว หรื อเป็ นไข้<br />

ต ่า ๆ ตอนบ่าย<br />

- มีเหงื่อออกตอนกลางคืน<br />

- มีอาการไอโดยระยะแรก ไอแห้ง ๆ ต่อมาจึงมี<br />

เสมหะ และไอมากเวลาเข้านอน หรือตื่นนอน<br />

ตอนเช้า หรือหลังอาหาร ทั ้งนี ้ อาการไอจะเรื้อรัง<br />

เป็ นแรมเดือนแต่บางคนอาจไม ่มีอาการใดเลยก็<br />

ได้<br />

- ผู้ป่ วยอาจรู้สึกแน่นหรือเจ็บหน้าอกโดยที่ไม ่มี<br />

อาการไอ<br />

- ในรายที่เป็ นมากอาจจะมีอาการหอบหรือไอเป็ น<br />

เลือดก้อนแดง ๆ หรือด า ๆ แต่น้อยรายที่จะมี<br />

เลือดออกมากถึงกับช็อก<br />

- ในรายที่เป็ นน้อย ๆ อาจไม ่มีอาการอะไรเลย และ<br />

มักตรวจพบโดยบังเอิญจากการเห็นจุดในปอดบน<br />

ภาพถ่ายเอกซเรย์<br />

- ผู้ป่ วยบางรายอาจมีอาการเป็ นไข้นานเป็ นแรม<br />

เดือนโดยไม ่รู้สาเหตุ<br />

- การรักษา<br />

ผู้ป่ วยวัณโรคที่ไม ่ได้รักษาจะมีอัตราการ<br />

ตาย ร้อยละ 40-60 ปั จจุบันมีวิธี การรักษาวัณโรค<br />

ระยะสั ้น โดยการให้ยารักษาควบคู่กันไปหลาย<br />

ขนาน หากรักษาครบก าหนดจะมีอัตราหายร้อย<br />

ละ 90 การรักษาจะใช้ยาร่วมกันหลายชนิดใช้<br />

ระยะ เวลาเพียง 6 – 18 เดือนเท่านั ้น แต่ผู้ป่ วยต้อง<br />

ปฏิบัติตัวอย ่างเคร่งครัด ดังนี<br />

1. กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งอย ่าง<br />

สม ่าเสมอจนครบก าหนด (ไม ่ลดหรือเพิ่ม<br />

ขนาดของยาเอง)<br />

2. มาพบแพทย์ตามนัดทุกครั ้ง<br />

3. อย ่าหยุดกินยาเองเป็ นอันขาด เพราะอาจท าให้<br />

เชื้อวัณโรคดื้อยาได้<br />

* วัณโรครักษาด้วยยาได้ แต่การให้ก าลังใจ<br />

ไม ่ทอดทิ้ง ส าคัญยิ่งกว ่าสิ่งใด *<br />

ใส่ใจตนเองสักนิ ด ไอเกิน 3 อาทิตย์<br />

มีสิทธิ ์ เป็ นวัณโรคปอด<br />

ยาที่ใช้รักษา<br />

ผู้ที่ป่ วยด้วยวัณโรคปอดจะได้รับยาต้านวัณโรค<br />

ซึ ่งมักจะประกอบด้วยตัวยาดังนี<br />

ไรแฟมพิซิน, ไอโซไนอะซิด<br />

อีแธมบูธอล, ไพราซินาไมด์<br />

นอกจากนั ้นอาจได้รับไพริด๊อกซิน หรือวิตามิน บี 6<br />

หรือวิตามิน บี 1 – 6 –12 ร่วมกับยาดังกล่าว เพราะผู้ที่ป่ วย<br />

ด้วยเชื้อวัณโรคจะขาดวิตามินดังกล่าว ซึ ่งต้องใช้ร่วมกัน<br />

กับยารักษาวัณโรค ตามที่ได้รับค าแนะน า<br />

อาการข้างเคียงและวิธีรับประทานที่ถูกต้อง<br />

ไรแฟมพิซิน ( Rifampicin ) ปัสสาวะ น ้ าตา เหงื่อ<br />

และ อุจจาระอาจเป็ นสีส้ม – แดง โดยไม ่มีอันตรายใด<br />

ๆ รับประทานก ่อนอาหาร 30 นาที หรือก ่อนนอน<br />

ยกเว้นเมื่อมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ให้รับประทาน<br />

ร่วมกับอาหาร<br />

ไอโซไนอะซิด ( Isoniazid , INH ) ผื่นไข้ หรืออาการ<br />

แพ้อื่น ๆ อาจท าให้ระดับวิตามิน บี 6 ลดลง ถ้าเกิดขึ ้น<br />

จะท าให้รู้สึ ก ชา ปวดแสบปวดร้อน รู้สึ กเหมือนผิว<br />

ไหม้ที่บริเวณมือเท้า ( ควรแจ้งให้แพทย์ผู้รักษาทราบ<br />

) รับประทานก ่อนอาหาร 30 นาที หรือ ก ่อนนอน<br />

ยกเว้นเมื่อรู้สึ กไม ่สบายในท้องคลื่นไส้ อาเจียน ให้<br />

รับประทานร่วมกับอาหาร


อีแธมบูธอล ( Ethambutol ) หากรับประทานขนาด<br />

สูงเป็ นเวลานานจะเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน มึน<br />

มองเห็นภาพซ้อน ผื่น ปวดตา ( ควรแจ้งให้<br />

แพทย์ผู้รักษาทราบ ) รับประทานร่วมกับอาหารหรือ<br />

ก ่อนนอน<br />

ไพราซินาไมด์ ( Pyrazinamide ) เป็ นไข้ เบื่ออาหาร<br />

คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานร่วมกับอาหารหรื อก ่อน<br />

นอน<br />

สเตร็บโตมัยซิน ( Streptomycin ) เกิดผื่น วิธีใช้ ฉีด<br />

เข้ากล้าม<br />

การปฏิบัติตนเมื่อป่ วยเป็ นวัณโรค<br />

1. ไปพบแพทย์ตามนัด และเก็บเสมหะส่งตรวจทุก<br />

ครั ้งตามแพทย์สั่ง<br />

2. กินอาหารที่มีประโยชน์ เช ่น เนื้อสัตว์ ไข่ ผัก<br />

ผลไม้ เพื่อบ ารุงร่างกายให้แข็งแรง<br />

3. ปิ ดปาก จมูก เวลาไอหรือจามทุกครั ้ง เพื่อป้ องกัน<br />

การแพร่เชื้อไปสู ่ผู้อื่น<br />

4. จัดบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก<br />

5. ให้บุคคลในบ้านไปรับการตรวจ ถ้าพบวาป่ ่ วย<br />

เป็ นวัณโรคแพทย์จะได้ให้การรักษาทันที<br />

6. กินยาให้ครบถ้วนทุกชนิดตามที่แพทย์สั่ง และกิน<br />

ติดต่อกันสม ่าเสมอทุกวันจนครบตามก าหนด<br />

การป้ องกัน<br />

1. ถ้ามีอาการผิดปกติที่น่าสงสัยวาเป็ ่ นวัณโรคเช ่น<br />

ไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ขึ ้นไป มีไข้ต ่าๆโดยเฉพาะ<br />

ตอนบ่ายๆหรื อค ่าๆ เจ็บหน้าอก เหนื่อยหอบ เบื่อ<br />

อาหาร น ้ าหนักลด ควรรีบไปรับการตรวจรักษา<br />

โดยการเอกซเรย์ปอด ตรวจเสมหะ<br />

2. รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู เสมอ ่ ออกก าลังกาย<br />

สม ่าเสมอ กินอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู ่<br />

3. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ท าให้เกิดโรค เช ่น การส า<br />

ส่อนทางเพศ เพื่อป้ องกันการติดเชื้อเอดส์ เพราะ<br />

จะท าให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายเสื่อมลง มีโอกาสที่<br />

จะป่ วยเป็ นวัณโรค จะได้รีบรักษาก ่อนที่จะ<br />

ลุกลามมากขึ ้น<br />

4. ประชาชนทั่วไป ควรตรวจร่างกายโดยการเอกซ์<br />

เรย์ปอดหรือตรวจเสมหะ (AFB) อย ่างน้อยปี ละ 1<br />

ครั ้ง ถ้าพบวาเป็ ่ นวัณโรคจะได้รี บรักษาก ่อนที่จะ<br />

ลุกลามมากขึ ้น<br />

5. ในเด็กควรได้รับการฉี ดวัคซีนบีซีจี (Bacilus<br />

Calmette Guerin) รวมถึงผู้ที่ท าการทดสอบทู<br />

เบอร์คูลินเทสท์ (Tuberculin test) ให้ผลเป็ นลบ<br />

เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน<br />

การติดต่อ<br />

โรงพยาบาลพัทยาเมโมเรียล 328/1 ม.9 ถ.พัทยากลาง ต.หนองปรือ อ.บางล ะมุง จ.ชล บุรี 20150<br />

โทร. 038-488777 แฟกซ์. 038-422740, 427742 Email : Pmhospital@hotmail.com , pmhos@hotmail,com, pmhos@cscoms.com<br />

วัณโรค<br />

วัณโรค ซึ ่งเป็ นแบคทีเรี ยชื่อ Mycobacterium<br />

Tuberculosis บางครั ้งเรียกว ่า เชื้อ AFB เป็ นโรคติดต่อที่<br />

เรื้อรัง และเป็ นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช ่น ที่<br />

ต่อมน ้ าเหลือง กระดูก เยื่อหุ้มสมอง ปอด แต่วัณโรคที่เป็ น<br />

กันมากและเป็ นปั ญหาทางสาธารณสุขอยู ่ในขณะนี ้ ก็คือ<br />

วัณโรคปอด มักพบในคนแก ่คนที่ร่างกายอ่อนแอจากการ<br />

เป็ นโรคอื่น ๆ มาก ่อน เช ่น หวัด หัด ไอกรน พวกติดยา<br />

และโรคเอดส์และในคนที่ตรากตร าท างานหนัก พักผ ่อน<br />

ไม ่พอ ขาดอาหาร ดื่มเหล้าจัด หรือในคนที่มีประวัติ<br />

ใกล้ชิดกับคนที่เป็ นโรค เช ่น นอนห้องเดียวกัน หรืออยู ่<br />

บ้านเดียวกัน<br />

ผู้ป่ วยวัณโรค จะมีเชื้อโรคอยู ่ในปอด เมื่อผู้ป่ วย<br />

ไอจาม เชื้อจะออกมากับละออง เสมหะหรือน ้ าลายนั ้น<br />

เสมหะที่ตกสู ่พื้นดินถ้าถูกแสงแดดส่องนาน ๆ เข้า เชื้อ<br />

จะตายไปเอง ส่วนละอองเล็ก ๆ จะลอยอยู ่ในอากาศได้<br />

เป็ นเวลานาน ๆ หากผู้ใกล้ชิดสู ดหายใจเข้าไป เชื้อวัณโรค<br />

จะเข้าสู ่ร่างกาย ท าให้มีโอกาสป่ วยเป็ นวัณโรคได้ แต่ผู้ที่<br />

ได้รับเชื้อแล้ว บางคนก็ยังไม ่ป่ วยเป็ นวัณโรค แต่จะเป็ น<br />

พาหะน าโรคแพร่เชื้อโรคไปสู ่ผู้อื่นได้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!