08.05.2014 Views

Chapter 6

Chapter 6

Chapter 6

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

615431 Air Conditioning<br />

Duct System Design<br />

615431 Air Conditioning<br />

Department of Mechanical Engineering<br />

Faculty of Engineering and Industrial<br />

Technology<br />

Silpakorn University<br />

Duct Design<br />

หนาที่ของทอลม คือ การสงลมจากเครื่องสงลมไปยัง<br />

บริเวณปรับสภาวะอากาศ การออกแบบทอลมในทางปฏิบัติตอง<br />

คํานึงถึงบริเวณที่สามารถเดินทอลมได การสูญเสียเสียดทาน<br />

ความเร็วลม ระดับเสียง และการไดรับความรอนหรือสูญเสีย<br />

ความเย็นของทอลมดวย<br />

การออกแบบระบบโดยทั่วไป<br />

ทอลมสงและทอลมกลับจะแบงออกเปนชนิดตางๆ<br />

ตามความเร็วลม และความดันลมภายในทอลม<br />

สําหรับทอลมสงนั้น<br />

การแบงชนิดตามความเร็วลมภายในทอ จะแบงออกเปน 2<br />

ชนิด คือ<br />

• ระบบความเร็วต่ํา<br />

• ระบบความเร็วสูง<br />

ในการปรับอากาศเพื่อการคาหรือที่พักอาศัย<br />

ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ<br />

อยูระหวาง 1,200 – 2,200 ฟุตตอนาที<br />

ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ขึ้นไป<br />

ในการปรับอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ<br />

อยูระหวาง 2,200 – 2,500 ฟุตตอนาที<br />

ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 – 5,000 ฟุตตอนาที


สําหรับทอลมกลับของระบบลมสง ที่มีความเร็วต่ําและความเร็วสูง จะ<br />

คิดวาเปนระบบความเร็วลมต่ําหมด ดังนี้<br />

ในการปรับอากาศเพื่อการคาหรือที่พักอาศัย ระบบความเร็วลมต่ํา<br />

ความเร็วลมจะไมเกิน 2,000 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,500<br />

– 1,800 ฟุตตอนาที<br />

สวนการแบงชนิดของทอลมตามความดันลมภายในทอ จะแบงออกเปน<br />

3 ชนิด คือ<br />

ระบบความดันลมต่ํา ความดันลมจะอยูระหวาง 0 -3¾ in. wg<br />

ระบบความดันลมกลาง ความดันลมจะอยูระหวาง 3 ¾ -6¾in. wg<br />

ระบบความดันลมสูง ความดันลมจะอยูระหวาง 6 ¾ -12¼ in. wg<br />

ในการปรับอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบความเร็วลมต่ํา<br />

ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,800<br />

– 2,200 ฟุตตอนาที<br />

ความดันลมทั้ง 3 ชนิด ที่กลาวมาขางตนนั้น เปนความดันรวม<br />

(Total Pressure) โดยรวมการสูญเสียตางๆที่เกิดขึ้น<br />

เนื่องจากลมไหลผานเครื่องสงลมเย็น ผานทอลม และผานหัวจายลม<br />

Fan (Blower)<br />

พัดลม<br />

กําลังของพัดลม<br />

Fan’s Law<br />

W = Q(<br />

ΔP)<br />

หนวย SI<br />

W = Q(<br />

FTP) / 6356<br />

W rpm =<br />

3<br />

P = (<br />

P rpm<br />

Q<br />

1<br />

rpm =<br />

1<br />

1 1<br />

( )<br />

Q2<br />

rpm2<br />

W2<br />

rpm<br />

2<br />

1<br />

rpm1<br />

2<br />

)<br />

2<br />

2<br />

หนวยอังกฤษ


พัดลมแบบ Centrifugal Fan แบง Class ตามการใชงานได 4 Class ดังนี้<br />

Class I ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP)<br />


ใบพัดลมแบบ Air Foil (AF) จะมีลักษณะ<br />

คลายกับแบบ Backward Curve (BC) แต<br />

ดัดแปลงใหใบเปน 2 ชั้น คลายปกเครื่องบิน สวน<br />

ใหญจะใชกับงานที่ตองการปริมาณลมมาก และ<br />

Total Static Pressure (TSP) สูง<br />

เนื่องจากมีประสิทธิภาพดีกวาแบบอื่นๆ แตก็มีราคา<br />

แพงขึ้นมากเชนกัน<br />

ลักษณะการใชงานพัดลม แบงเปน 2 แบบคือ SWSI และ DWDI<br />

SWSI (Single Width - Single Inlet) คือ ลักษณะของ<br />

พัดลมที่มีโกรงพัดลมเปนชั้นเดียว และทางเขาของลมจะเขาเพียงทางเดียว<br />

Centrifugal Fan<br />

ลักษณะ SWSI<br />

โกรงพัดลมชั้นเดียว<br />

Forward curve<br />

โกรงพัดลมชั้นเดียว<br />

Backward curve<br />

DWDI (Double Width - Double Inlet) คือ ลักษณะของพัดลมเปน 2<br />

ชิ้นติดกัน และทางเขาของลมจะเขาทั้งสองขาง เหมาะกับงานที่มีปริมาณลมมาก และพัดลมอยูใน<br />

หองพัดลม (Fan Room) ที่ไมตองการตอกลอง Plenum เขาทางดานดูด (โดยใชหอง<br />

พัดลมเปน Plenum)<br />

In - Line Fan โดยทั่วไปจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

มอเตอรอยูดานนอก เหมาะสําหรับการระบายอากาศที่คอนขางสกปรกหรือมีอุณหภูมิสูง เชน<br />

การระบายอากาศจากหองครัว หรือใชในกรณีความเร็วของพัดลมไมเทากับความเร็วของมอเตอร<br />

สามารถปรับรอบได (เปนแบบ Belt Drive ) และจะตองติดตั้ง Belt Guard ดวย<br />

มอเตอรอยูดานใน เหมาะสําหรับการระบายอากาศจากพื้นที่ทั่วไป หรือมีอุณหภูมิไมสูงมากเพื่อ<br />

จะไดเปนการระบายความรอนของมอเตอรดวย โดยมีความเร็วของพัดลมเทากับความเร็วของ<br />

มอเตอร (เปนแบบ Direct Drive)<br />

โกรงพัดลมเปน 2 ชั้น<br />

(แบบ Forward Curve)<br />

Centrifugal Fan<br />

ลักษณะ DWDI<br />

โกรงพัดลมเปน 2 ชั้น<br />

(แบบ Backward Curve)<br />

มอเตอรอยูดานนอก<br />

มอเตอรอยูดานใน


เว็บไซตแนะนําเกี่ยวกับพัดลมและการติดตั้งพัดลม<br />

http://www.iecm.co.th/iso_knowledge_ac.htm<br />

Fan Performance and Selection<br />

สิ่งที่ตองทราบคือ<br />

1. CFM<br />

2. Total Pressure<br />

เลือกจาก Fan Characteristic Curve<br />

Backward-Curved Blade Fans<br />

พัดลมชนิดนี้ใชมากในระบบ HVAC โดยเฉพาะเมื่อตองการประหยัดแรงมาของพัดลม<br />

โดยมากใชในระบบในระบบต่ํา กลาง และสูง<br />

Forward-Curved Blade Fan<br />

ปกติใชในระบบที่มีความดันต่ํา เชน เตาเผา การใชงาน สวนใหญใชความเร็วต่ํา<br />

ซึ่งทําใหประสิทธิภาพต่ําลงไปดวย


Vaneaxial Fan<br />

ใชในระบบ HVAC ที่ตองการแนวเสนตรง<br />

Fan<br />

Installation<br />

D =<br />

4HW<br />

π<br />

ความดันสถิตยของพัดลม FSP (Fan Static Pressure) คือความ<br />

ดันที่พัดลมตองสรางขึ้นเพื่อใหอากาศไหลผานระบบในปริมาณที่ตองการ ภายใต<br />

ความดันสถิตยของระบบที่ออกแบบไว สามารถหาไดจาก ผลตางของความดัน<br />

รวมของพัดลม (FTP, Fan Total Pressure) และความดันจลนของ<br />

อากาศที่ทางออก (VP outlet )<br />

ดังนั้น<br />

FSP = FTP −VP<br />

FTP =<br />

( SP + VP ) − ( SP + VP )<br />

outlet<br />

outlet<br />

outlet<br />

inlet<br />

inlet<br />

SP inlet<br />

= -8.83 in.wg.<br />

VP inlet<br />

= +1.25 in.wg.<br />

Q=300cfm<br />

FSP =<br />

SP<br />

outlet<br />

− SP<br />

SP outlet = +0.68 in.wg.<br />

จงหาความดันสถิตยของระบบดังรูป<br />

inlet<br />

−VP<br />

inlet<br />

FSP = ( + 0.68) − ( −8.83)<br />

− (1.25) = 8.26in.<br />

wg.<br />

FSP<br />

=<br />

SP<br />

outlet<br />

− SP<br />

inlet<br />

−VP<br />

inlet<br />

พัดลมที่จะนํามาใชกับระบบนี้ ตองสรางความดันสถิตยไดไมนอยกวา 8.26 in.wg. ที่<br />

อัตราการไหล 300 cfm


Fan’s Law แสดงใหทราบถึงผลกระทบของขนาดเสนผาน<br />

ศูนยกลางของพัดลม (size) และความเร็วรอบที่มีตอสมรรถนะการ<br />

ทํางานของพัดลม<br />

พัดลมทํางานที่ความเร็วรอบ 1180 rpm ที่ 13 hp ลําเลียงอากาศ 10,000 cfm ที่<br />

ความดันสถิตย 12 in.wg จงหาสมรรถนะของพัดลมตัวนี้ ถาความเร็วรอบในการทํางาน<br />

เพิ่มเปน 1400 rpm<br />

Q<br />

Q<br />

1<br />

2<br />

=<br />

rpm<br />

rpm<br />

1<br />

2<br />

⎛ size<br />

⎜<br />

⎝ size<br />

1<br />

2<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

3<br />

SP1<br />

SP<br />

2<br />

⎛ rpm<br />

=<br />

⎜<br />

⎝ rpm<br />

1<br />

2<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

2<br />

⎛ size<br />

⎜<br />

⎝ size<br />

1<br />

2<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

2<br />

จงหาสมรรถนะคือหา Q, SP และ Power<br />

3<br />

Q rpm ⎛ size ⎞<br />

1 1 1<br />

10000 1180<br />

=<br />

Q2<br />

11864cfm<br />

Q rpm<br />

⎜ ⇒ = ⇒ =<br />

2 2<br />

size<br />

⎟<br />

⎝ 2 ⎠ Q2<br />

1400<br />

2<br />

2<br />

SP ⎛<br />

1<br />

rpm ⎞ ⎛<br />

1<br />

size ⎞<br />

1<br />

12 ⎛1180<br />

⎞<br />

=<br />

SP2<br />

16.89in.<br />

wg.<br />

SP<br />

⎜<br />

⎜ ⎟ ⇒ =<br />

2<br />

rpm<br />

⎟<br />

⎜ ⇒ =<br />

2<br />

size<br />

⎟<br />

⎝ ⎠ ⎝ 2 ⎠ SP2<br />

⎝1400<br />

⎠<br />

2<br />

W<br />

W<br />

1<br />

2<br />

⎛ rpm<br />

=<br />

⎜<br />

⎝ rpm<br />

1<br />

2<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

3<br />

⎛ size<br />

⎜<br />

⎝ size<br />

1<br />

2<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

5<br />

3<br />

5<br />

W ⎛ rpm ⎞ ⎛ size ⎞<br />

1 1<br />

1<br />

13 ⎛1180<br />

⎞<br />

=<br />

W2<br />

W<br />

⎜<br />

⎜ ⎟ ⇒ =<br />

2<br />

rpm<br />

⎟<br />

⎜ ⇒ =<br />

2<br />

size<br />

⎟<br />

⎝ ⎠ ⎝ 2 ⎠ W2<br />

⎝1400<br />

⎠<br />

3<br />

21.71hp<br />

การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลม<br />

การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลมทั้งทอลมสงและทอลมกลับ เปนสิ่ง<br />

สําคัญอยางหนึ่งในการออกแบบทอลม เพราะจะทําใหทราบแนว<br />

ทางการเดินทอลม อีกทั้งยังอาจทําใหทราบระบบของทอลมที่จะใช<br />

การเปรียบเทียบ First Cost และ Operating Cost ใน<br />

การเดินระบบทอลม<br />

การสูญเสียความเย็นในทอลม<br />

Aspect Ratio<br />

Duct friction Rate<br />

Type of fittings<br />

1. การสูญเสียความเย็นในทอลม<br />

กรณีที่มีทอลมที่ยาวมาก อาจมีความรอนที่เล็ดรอดเขาสูทอ ทําให<br />

สูญเสียความเย็นในทอ ในการประมาณคาความรอน ตองคิดถึง<br />

ความรอนในสวนนี้ดวย ทําใหเครื่องทําลมเย็นมีขนาดใหญขึ้น โดย<br />

ที่<br />

• ทอที่มี Aspect Ratio สูง จะไดรับความรอนมากกวาทอที่มี<br />

Aspect Ratio ต่ํา<br />

• ลมความเร็วต่ํา จะไดรับความรอนมากกวาลมความเร็วสูง<br />

• ฉนวน ยิ่งหนามาก ความรอนที่ทอไดรับจะนอยลง<br />

แนะนําทอที่มี aspect ratio ต่ํา ความเร็วลมสูงแตไมเกิดเสียงดัง


2. Aspect Ratio<br />

1<br />

3<br />

2<br />

( ab)<br />

d e<br />

= 1.3<br />

( a + b)<br />

0.625<br />

0.25<br />

4<br />

6<br />

5<br />

ตารางที่ 12.1 เปนทอที่มีอัตรา<br />

แรงเสียดทานขนาดเดียวและ<br />

พื้นที่กับทอกลม<br />

ขอแนะนํา ควรใชทอกลมหรือ<br />

ทอเหลี่ยมที่มีขนาด aspect<br />

ratio ใกลเคียง 1 เพื่อให<br />

อัตราแรงเสียดทานนอยที่สุด<br />

แนวการเดินทอลม<br />

แนวการเดินทอลมก็มีตัวแปรตางๆ ที่เขามาเกี่ยวของ<br />

อยูหลายอยางดวยกัน คือ<br />

1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลมใชชวงเปลี่ยนขนาดทอลม เพื่อลดหรือเพิ่ม<br />

ขนาด แตขนาดพื้นที่หนาตัดคงเดิม แตในการลด ไมควรลดขนาดมากกวา 20% ของขนาด<br />

เดิม<br />

2. ของอ ขอตอ<br />

3. ทอแยก<br />

4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม<br />

5. การควบคุมปริมาณลม


1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลม<br />

การเปลี่ยนขนาดทอลมจะใชเพื่อเปลี่ยนรูปทรงทอลม<br />

หรือใชเพื่อเพิ่มหรือลดพื้นที่ทอลม เมื่อรูปทรงของทอลม<br />

เหลี่ยมเปลี่ยนไป แตพื้นที่หนาตัดยังคงเดิม ควรใชความชัน<br />

1 นิ้ว ใน 7 นิ้ว สําหรับดานตางๆ ที่มีการเปลี่ยนรูปทรง ถา<br />

ไมสามารถใชความชันนี้ได อยางมากที่สุดไมเกิน 1 นิ้ว ใน 4<br />

นิ้ว ปกติแลวทอลมจะตองถูกลดขนาดลงเพื่อเลี่ยงสิ่งกีด<br />

ขวาง แตก็ไมควรลดขนาดลงเกินกวา 20 % ของพื้นที่ทอ<br />

ลมกอนลดขนาด ในสวนของพื้นที่ทอลมเพิ่มขึ้นก็<br />

เชนเดียวกัน<br />

2. ของอ ขอตอ<br />

ของอสําหรับทอลมเหลี่ยม จะมีแบบตางๆ เชน full<br />

radius elbow, shot radius vane elbow และ<br />

vaned square elbow สวนของอสําหรับทอกลมจะมีแบบ<br />

ตางๆ เชน smooth elbow, 3-piece elbow เปนตน<br />

3. ทอแยก<br />

ทอแยกมีอยูหลายชนิดดวยกัน เชน ทอแยกแบบ full<br />

radius elbow นิยมใชกันมาก แบบ square<br />

elbow take-off ไมนิยมใชเพราะราคาแพง และ<br />

pressure drop สูง เปนตน<br />

4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม<br />

เปนสิ่งที่ตองคํานึงถึง เพราะผิวทอลมอาจจะเปยกหรือมีหยด<br />

น้ําเกาะ ในกรณีที่ผิวทอลมมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิจุดน้ําคางของ<br />

อากาศที่ลอมรอบทอลม<br />

5. การควบคุมปริมาณลม<br />

ในระบบทอลมความเร็วต่ํา การควบคุมลมใหผานหรือแยกเขา<br />

ในแตละทอตางๆ ตองใช splitter damper ในทอลมระบบ<br />

ความเร็วลมสูง จะใช volume damper หรือ pivot<br />

type damper ในระบบความเร็วลมสูงควรติด volume<br />

damper ไวที่ปลายหัวจายลมทุกหัวดวย เพื่อควบคุมปริมาณลม<br />

ที่สงออกจากหัวจายลม<br />

โครงสรางและการติดตั้งทอลม<br />

ลม


คุณสมบัติของทอสงลมทั่วไป<br />

ชนิดและหนาที่ของทอสงลมในระบบปรับอากาศ<br />

รูปรางที่มีความแข็งแรง ไมยุบตัว<br />

ใชในการสงลม(ควบคุมการรั่วได<br />

ควบคุมการรั่วได)<br />

การสั่นสะเทือนนอย<br />

เสียง<br />

การปรากฏแกสายตา ไมวาจะเปน ความเสียหาย การทนตอสภาพอากาศ อุณหภูมิ<br />

การ<br />

เปลี่ยนแปลง ลม การกัดกรอน ทอฝงดิน<br />

Supporting<br />

seismic restrain<br />

thermal conductivity การสูญเสียความรอน การกลั่นตัวของหยดน้ํา<br />

ทอสงลมเย็น เชน ทอสงลมเย็น<br />

(Supply air duct) ทอลมกลับ<br />

(Return air duct)<br />

ทอระบายอากาศ เชน ทอดูดอากาศ<br />

(Exhaust air duct) ทอลม<br />

บริสุทธิ์(Fresh air duct) ทอดูดควัน(Smoke exhaust<br />

duct)<br />

ทอดูดอากาศเสีย เชน ทอดูดควันอาหาร<br />

(Kitchen exhaust<br />

duct) ทอดูดอากาศเสีย(Exhaust duct) ทอดูดสารเคมี<br />

(Chemical exhaust duct) เปนตน<br />

ชนิดของวัสดุที่ใชทําทอลมทั่วไป<br />

ขอมูลของอุปกรณในงานทอลมของ<br />

ทอลมของระบบปรับอากาศ<br />

‣ แผนเหล็กอาบสังกะสี<br />

‣ แผนเหล็ก<br />

‣ แผน Stainless steel<br />

‣ แผน PVC<br />

‣ ไฟเบอรกลาส<br />

‣ อลูมิเนียม<br />

‣ อื่นๆ<br />

ตัวทอลม Galvanized steel sheet, , insulation,<br />

addhesive, , tape, hing, , rivet, screw, bushing,<br />

sealant, angle, fasten belt, escutchen, , fire<br />

seal,<br />

การหิ้วแขวน Block out<br />

Main Equipment<br />

Filter<br />

Heater<br />

หัวจายลม<br />

sound attenuator


การตอทอลมกับอุปกรณหลัก<br />

รูปของทอ<br />

ลมชนิด<br />

ตางๆ<br />

ทอลมที่ทําจากโรงงาน Flexible air Duct


ทอเมนและทอแยก<br />

ทอสงลมเย็น<br />

Air Duct & Fittings<br />

Air Duct & Fittings


ตารางที่ 12.6 – 12.9 แสดงภาพของอ ขอตอ ทอแยก ชนิดตางๆ<br />

Recommend<br />

slope<br />

1:7 for high Vel.<br />

1:4 for low Vel.


Galvanized steel sheet (Roll)<br />

ฉนวน (insulations)<br />

<br />

ปองกันการสูญเสียพลังงานความรอน<br />

<br />

<br />

ปองกันการเกิดควบแนน<br />

(Condensation)<br />

ชวยซับเสียงหรือลดเสียงได<br />

เสียงได<br />

การหุมฉนวน มี 2 วิธี<br />

การหุมภายนอก ใชฉนวนยาง<br />

หรือประเภทใยแกว<br />

การหุมภายใน เพื่อผลทางการซับเสียงหรือลดเสียงดวย ใชฉนวน<br />

ยางหรือใยแกวที่มีความหนาแนนสูง


ทอหุมฉนวนภายนอกและภายใน สวนประกอบของฉนวนใยแกว(Fiberglass)<br />

• หุมภายนอกใชใยแกวที่มีความหนาแนนต่ํา<br />

1-2 ปอนดตอลบ.ฟุต<br />

หนา1-2นิ้ว<br />

นิ้ว<br />

ที่ปดทับดวย Aluminum foil เพื่อปองกันไอน้ํา<br />

• หุมภายในใชใยแกวที่มีความหนาแนนสูง<br />

ใชใยแกวที่มีความหนาแนนสูง2-3 ปอนดตอลบ.ฟุต<br />

เพื่อลดโอกาส<br />

เสนใยหลุดไปตามลม อาจปดทับดวย Aluminum foilหรือเคลือบ<br />

ผิวฉนวนดวยกาวเหนียว หนา1-2นิ้ว<br />

นิ<br />

เพื่อประโยชนในการชวยซับเสียง หรือ<br />

ตัดตอนเสียงจากเครื่องไมใหเดินทางไปสูหองที่ใชงาน<br />

การกระจายลมภายในหอง<br />

การกระจายลมสําหรับบุคคล อุณหภูมิภายในหอง ไมควรตางกัน<br />

เกิน 2°F และ 3°F สําหรับหองรวม<br />

คาความสบายของคน เกิดขึ้นเมื่อ<br />

ลมเย็นที่ผานตัวมีความเร็ว 15 – 30 fpm และกระทบคน<br />

ดานหนาหรือดานหลังจะดีที่สุด แตไมควรเกิน 60 fpm


หนากากลม(Air Grilles)<br />

แบงตามหนาที่และตําแหนง<br />

1. สงกระจายลมเย็น Ceiling diffuser , Register , Slot<br />

diffuser , Nozzle<br />

2. ลมกลับ Return Air Grille<br />

3. ควันหรืออากาศเสีย Exhaust Air Grille<br />

4. อากาศบริสุทธิ์ Fresh Air Grille<br />

Diffuser คือหัวจายลมแบบกระจายรอบตัว<br />

Grille หัวจายลมหรือแผงลมกลับ หรือแผงดูดอากาศบริสุทธิ์ มักเจาะติด<br />

ไวที่ผนังหรือเพดาน<br />

Outlet Vel. คือความเร็วลมเฉลี่ยที่ออกจากหัวจายลม วัดที่คอหัวจาย<br />

ลม<br />

Primary Air คืออากาศแรกที่ออกจากหัวจายลม<br />

Register คือ Grille ที่ติดใบปรับทิศทาง<br />

Return Grille คือแผงลมกลับ นําลมเย็นที่ใชแลวภายในหองกลับไปสู<br />

เครื่องสงลมเย็น<br />

Secondary Air คือลมในหองที่ไหลไปรวมกับ primary air<br />

Temp. Diff. คืออุณหภูมิที่แตกตางระหวางหอง กับ primary<br />

air<br />

หัวจายลม (Diffuser)<br />

1. แบบบารปรับ เหมาะสําหรับลมจายดานขาง อาจเรียกวา<br />

Register<br />

2. แบบสลอต ลักษณะคลายแอรราว<br />

3. แบบติดเพดาน มีทั้งแบบกลม แบบเหลี่ยม ซึ่งอาจมี<br />

damper ดวยหรือไมก็ได<br />

การติดตั้งควรติดใหเหมาะสม ไมควรติดใกลกับหัวจายลมเย็นมากเกินไป หางจากบริเวณครัว<br />

หรือหองน้ําเพื่อปองกันกลิ่น ความดันในหองปรับอากาศ ควรสูงกวาภายนอกหอง สวน<br />

หองน้ําควรมีความดันที่ต่ํากวาเพื่อปองกันกลิ่นที่อาจเล็ดรอดออกมา<br />

การปรับระบบการกระจายตัว โดยปกติจะไมทํากันบอย นอกจากจะมีสาเหตุที่แนชัด<br />

ถาเอาพื้นที่เปนเกณฑ กําหนดใหใช 16 m 2 ตอ 1 ตันความเย็น โดยที่ 1 ตัน เทากับ<br />

400 cfm<br />

ดาดฟา ใช กําหนดใหใช 12 m 2 ตอ 1 ตันความเย็น<br />

หองดานทิศตะวันตก ใช กําหนดใหใช 14 m 2 ตอ 1 ตันความเย็น<br />

ถาใชที่นั่งเปนเกณฑ เชน โรงภาพยนตร หรือหองประชุม กําหนดใช 10 ที่นั่งตอตัน


Round ceiling diffuser<br />

หัวจายลมชนิดกลม<br />

Square Ceiling<br />

diffuser หัวจายลมชนิด<br />

สี่เหลี่ยม<br />

ตัวอยาง Linear Slot Diffuser ขนาด<br />

4 Slots<br />

Return Air Grille<br />

Light troffer


โครงสรางของทอสงลม<br />

ที่ทําดวยแผนเหล็กอาบสังกะสี<br />

Register แบบตางๆ<br />

การแบง Class ทอลม<br />

ตามความดัน<br />

Class ของทอลม (ความดัน ความดัน,ความเร็ว ความเร็ว)<br />

การแบงชนิดของทอสงลมเย็นตามความเร็วลม หรือตามแรงดัน Static<br />

╬ Low velocity มีStatic pressure1/2 - 2 w.g.<br />

╬ Medium velocity มีStatic pressure 2-3 w.g.<br />

╬ High velocity มีStatic pressure mm 3 w.g. & over


ความแข็งแรงของทอลม<br />

ขนาดทอลม<br />

ความหนาผนังทอลม<br />

การเสริมแรง<br />

ชวงการเสริมแรง<br />

ตะเข็บตามยาว<br />

ตะเข็บตามขวาง<br />

Beading<br />

Crossbreak<br />

ขนาดทอลม<br />

ความหนาแผนเหล็ก<br />

ชวงการเสริมแรง<br />

การเสริมความแข็งแรง


มาตรฐานของแผนเหล็กชุบสังกะสี<br />

ชนิด หนาที่ของรอยตอหรือตะเข็บ<br />

►ในใน SMACNA ใช standard U.S.gage<br />

►แผนเหล็กชุบสังกะสีในบานเราใช<br />

B.W.G.<br />

►ความหนาของstandard<br />

U.S.gage จะหนากวาหรือเทากับB.W.G.<br />

►การใชงานตองเปรียบเทียบกับความหนา<br />

1. ยึดตอทอลมแตละสวน<br />

2. ปองกันการรั่วของลม<br />

3. ชวยในการเสริมแรง<br />

(Reinforcement) ใหกับทอลม<br />

► ชนิดของรอยตอหรือตะเข็บ<br />

1. ตามขวาง (ตั้งฉากกับการไหลของลม<br />

ตั้งฉากกับการไหลของลม)<br />

2. ตามยาว (ตามการไหลของลม)<br />

ชนิดและรูปแบบของรอยตอตามขวาง<br />

►<br />

Class ความดันลม<br />

รอยตอหรือตะเข็บเสริมแรง<br />

►<br />

ขนาดของทอ<br />

► ความหนาของแผนโลหะที่ทําทอลม<br />

การเสริมแรงระหวางรอยตอทอ<br />

รอยตอหรือตะเข็บธรรมดา<br />

►<br />

ชวงของรอยตอตามขวาง<br />

ดานที่ไมมีการเสริมแรง


ชวงระยะการReinforcement ตามที่กําหนดไว สําหรับทอลมแต<br />

ละขนาด<br />

ชวงการ<br />

Reinforcement ไม<br />

จําเปนตองตรงกับ<br />

ดานที่ประชิดกัน<br />

ชวงการเสริมแรง ชวงการเสริมแรง<br />

ปลายของreinforcement member ของทอที่มี<br />

pressure class ตั้งแต 4” w.g. ขึ้นไปตองยึดดวย<br />

rod ตามรูป<br />

ชวงระหวางตะเข็บรอยตอ<br />

รอยตอ-ตะเข็บ<br />

ตามขวาง<br />

ตะเข็บ-ตะเข็บ<br />

ตามยาว,ตอแผน


ตะเข็บตามขวาง(เสริมแรง)<br />

เสริมแรง (ไมใชตะเข็บ)<br />

ตะเข็บตามยาว<br />

รอยตะเข็บและการเสริมแรงของทอลม


การปองกันลมรั่ว การทดสอบรั่ว<br />

► การใชสายตาตรวจสอบกรรมวิธีการอุดปองกันลมรั่วก็เพียงพอที่จะพิสูจน<br />

น<br />

ไดวา โครงสรางทอลมมีการอุดดีแลวหรือไม ภายใตสภาวะตางๆ อาจ<br />

ยอมรับการรั่วได เพราะไมมีทอลมใดที่ปองกันรั่วไดสมบูรณ<br />

ไดสมบูรณ<br />

► การทดสอบรั่วที่ทอลมเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการติดตั้ง ไมแนะนําสําหรับ<br />

ทอลมที่มีโครงสราง 3” w.g. และต่ํากวาวาจะตองทดสอบรอยรั่ว<br />

เพราะทราบกันวามีผลตอตนทุน<br />

Friction Rate<br />

จาก แผนภูมิ 12.5 ซึ่งมีหนวยเปนนิ้วน้ําตอ 100 ฟุตของความยาว ซึ่งรวม<br />

equivalent length ของขอตอ ทอแยก ของอ ที่อยูในทอลมนั้นๆ<br />

ดวย<br />

ขอตอ ทอแยกตางๆ มีคา ∆P ตามตาราง 12.6 – 12.9 หรือ ตาราง<br />

12.8 – 12.12 ของ Mcquistion<br />

ใน ตาราง 12.8 – 12.12 คาในตารางอยูในรูป C 0 ดังนั้น คา ∆P จะ<br />

สามารถหาไดจากสมการ (หนวยเปนนิ้วน้ํา)<br />

Assumptions<br />

•ทอทําจาก Galvanized<br />

Duct<br />

•อุณหภูมิลมเย็น 70°F<br />

•ความดัน 29.92 นิ้วน้ํา<br />

•สถานที่ สูงไมเกิน 2000 ฟุต<br />

จากระดับน้ําทะเล<br />

ΔP<br />

= C<br />

0<br />

⎛ V<br />

4005 ⎟ ⎞<br />

⎜<br />

⎝ ⎠<br />

2


วิธีการออกแบบทอลม<br />

หลักการทั่วไปในการออกแบบทอลม คือ พยายาม<br />

เดินแนวทอลมใหงายที่สุดเทาที่จะทําได และพยายามใหระบบ<br />

ทอลมนั้นสมมาตร ตําแหนงที่จะจายลมออกมาควรตั้งอยูใน<br />

ตําแหนงที่จะทําใหการกระจายลมภายในหองเปนไปไดดีที่สุด<br />

จากนั้นจึงคอยเดินทอลมไปยังตําแหนงจายลม แนวทอลมที่<br />

เดินตองไมไปชนกับสิ่งกีดขวางใดๆ ยกเวนในกรรีที่<br />

หลีกเลี่ยงไมไดแลว<br />

Friction Chart<br />

ในแตละหนาตัดของทอลม ในกรณีที่มีลมผานจะเกิดความสูญเสีย<br />

ความดันของลม เรียกวา Duct Friction Loss ซึ่ง<br />

ขึ้นอยูกับ<br />

1. Air Velocity<br />

2. Duct Size<br />

3. Interior Surface Roughness<br />

4. Duct Length


ซึ่งสามารถคํานวณการสูญเสียไดตามสมการ<br />

โดยที่<br />

ΔP<br />

⎛ L ⎞⎛<br />

V ⎞<br />

= 0.03<br />

f ⎜<br />

1.22<br />

⎟⎜<br />

⎟<br />

⎝ d ⎠⎝1000<br />

⎠<br />

1.82<br />

∆P = การสูญเสียในทอ, นิ้วน้ํา (in.wg)<br />

F = ความหยาบของผิวใน (gulvanized duct) ใชคา 0.9<br />

L = ความยาวของทอลม, ft<br />

D = equivalent duct diameter, นิ้ว<br />

V = ความเร็วลมในทอ, fpm<br />

Equivalent Duct Diameter<br />

จากแผนภูมิ ที่กลาวมาขางตน จะทราบ Equivalent Duct Diameter ซึ่งเปน<br />

เสน ศก ของทอกลมที่มีพท เทากับทอเหลี่ยม เมื่อทราบ Equivalent Duct<br />

Diameter สามารถนําไปหาคาขนาดของทอเหลี่ยมได ตามตาราง 12.1 หรือ 12.8<br />

(Mcquiston)<br />

Air Velocity<br />

ควรคํานึงระดับเสียงดัง ตามความเหมาะสม หรือใชคาตามตาราง 12.12<br />

Friction Rate<br />

อัตราเสียดทานที่ปรากฏในแผนภูมิ 12.5 หรือ 12.21ม 12.23<br />

(Mcquiston) อยูในรูปนิ้วน้ําตอความยาว 100ft ในการหา Loss<br />

สามารถหาไดจาก<br />

Loss = Total _ Equiv._<br />

Length×<br />

friction _ rate<br />

วิธีวัดคาความยาวใหรวม<br />

Minor Loss ไปดวย


Velocity Pressure<br />

แสดงในรูปที่ 12.5 หรือใชคาตามตาราง 12.13<br />

Fan Conversion Loss and Gain<br />

Vd > Vf<br />

⎪⎧<br />

2<br />

⎛ V ⎞ ⎛ ⎞<br />

= 1.1⎨⎜<br />

d<br />

V<br />

⎟ −<br />

⎜ f<br />

Loss<br />

⎟<br />

⎪⎩<br />

⎝ 4000 ⎠ ⎝ 4000 ⎠<br />

2<br />

⎪⎫<br />

⎬<br />

⎪⎭<br />

Vd = ความเร็วลมในทอ (fpm)<br />

Vf = ความเร็วลมจากพัดลม (fpm)<br />

Loss = นิ้วน้ํา<br />

Vd < Vf<br />

Gain =<br />

2<br />

⎪⎧<br />

⎛ V ⎞ ⎛ ⎞<br />

⎨<br />

⎜ f V<br />

.75<br />

⎟ − ⎜ ⎟<br />

⎪⎩ ⎝ 4000 ⎠ ⎝ 4000 ⎠<br />

0<br />

d<br />

2<br />

⎪⎫<br />

⎬<br />

⎪⎭<br />

Duct System Element Friction Loss<br />

ตาราง 12.8 เปนการสูญเสียสําหรับทอกลม ตาราง 12.9 เปน<br />

การสูญเสียสําหรับทอเหลี่ยมในเทอมของ equiv. length<br />

ตาราง 12.6, 12.7 แสดงคาการสูญเสียของของอ ซึ่งมี R/D<br />

ratio (12.6) และ L/D สําหรบตาราง 12.7<br />

ในการออกแบบทอลมระบบความเร็วต่ํา<br />

1. Velocity Reduction Method การออกแบบ<br />

ระบบทอลมโดยวิธีนี้ ทําไดโดยเลือกความเร็วเริ่มตนที่ Fan<br />

Discharge จากนั้นลดความเร็วลมลงขณะที่ทอลมไดสงลม<br />

ออกไปยังหัวจายจุดตางๆ ความเร็วเริ่มตนที่เลือกมานี้ไมควรเกินที่<br />

กําหนด<br />

ปกติวิธีนี้ ไมคอยนิยมใชนัก เพราะตองใชความรูและ<br />

ประสบการณมากสักหนอย แตอาจจะใชไดในกรณีที่เดินทอลม<br />

งายๆ เมื่อใดที่ใชวิธีนี้ก็ควรคิด Splitter Damper ในทอลม<br />

ดวย เพื่อใหสามารถแบงลมใหไดตามที่ตองการ


2. Equal Friction Method วิธีนี้สามารถใช<br />

ออกแบบไดทั้งทอลมสง ทอลมกลับ และทอดูดอากาศบริสุทธิ์<br />

ΔP<br />

หลักการของวิธีนี้ก็คือ ให Friction Loss ตอฟุต<br />

L<br />

ความยาวเทากันตลอดทั้งระบบ Equal Friction Method<br />

ระบบนี้เปนวิธีที่ดีกวาแบบ Velocity Reduction<br />

Method เพราะไมจําเปนตองสมมาตรแนวการเดินทอลมหลัก<br />

การใชวิธีนี้ทําโดยเลือกความเร็วลมเริ่มตนในทอหลักซึ่งอยู<br />

ใกลพัดลม ความเร็วลมนี้ควรใชตามคาแนะนํา โดยระบบเสียงอยู<br />

ในเกณฑไมมากเกินไป จากความเร็วลมเริ่มแรกนี้และจากปริมาณ<br />

ลม นําไปหาคา Friction Rate จากคานี้ก็นําไปใชกับระบบ<br />

ทั้งระบบ<br />

วิธี Equal Friction Method<br />

ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน สนง แหงหนึ่ง ตองการลมจายแตละจุด<br />

300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม 5400 cfm (18x300cfm)<br />

ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15 in.wg และของอ มีคา R/D<br />

= 1.25 จงหา<br />

1. Initial Duct Vel., area, size และ friction rate<br />

ในสวนของทอลมจากพัดลม ถึงทอแยกที่ 1<br />

2. ขนาดของทอลมที่เหลือ<br />

3. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี<br />

resistance มากที่สุด<br />

4. Total Static Pressure Require ของพัดลม<br />

เลือกความเร็วเริ่มตนที่ 1700 fpm………Ans. (เลือกมาเลย)<br />

5400<br />

ดังนั้น ทอมีขนาด = 3.18 ft 2 ............... Ans.<br />

1700<br />

ดังนั้น Circular Equivalent Diameter =<br />

3.18<br />

×<br />

π<br />

4<br />

= 2.01ft = 24inches<br />

เปดตาราง 12.1 หรือ ตาราง12.8 (Mcquiston) จะไดขนาดทอ 22” x 22”<br />

………………. Ans.<br />

จากรูป 12.5 หรือ 12.21 (Mcquiston) ได friction rate = 0.145<br />

ปล standard friction rate ไมควรเกิน 0.1


0.145<br />

เปดจากตาราง 12.14 ที่ CFM Cap. จะได Duct Area (%) ทําใหเปนตารางฟุต และ<br />

เปดตารางที่ 12.1 หรือ12.8 (Mcquiston) เพื่อหาคา Duct Size โดยมีหลักเลือกวา<br />

Duct ควรมีการลดขนาดไมมากนักในแตละชวง โดยพยายามหลีกเลี่ยงการลดขนาดทั้งดานกวาง<br />

และดานตั้งพรอมกัน<br />

ถาไมมีตาราง 12.14 ใหใชคา Friction rate ที่ 0.145 เทากันทุกชวงเพื่อหา diameter<br />

จากรูป 12.12 (Mcquiston) และตาราง 12.8 เพื่อหาขนาด<br />

การเขียน Duct Size นิยมเขียนขนาดที่มากกอน และ<br />

ขนาดมากเปน width ขนาดที่นอย เปน Depth


1. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี resistance มากที่สุด<br />

ตารางที่ 12.9 ประมาณ<br />

ระหวาง 24”x24” และ<br />

20”x20”<br />

ตารางที่ 12.9 ประมาณที่<br />

24x10 และ 20x10<br />

Total Static Pressure Require ของพัดลม<br />

Loss = Total Equiv. Length x friction rate<br />

0.145<br />

= 229×<br />

= 0.33in.<br />

wg.<br />

100<br />

Total static pressure require คือการรวม operating pressure<br />

(โจทยกําหนด 0.15 นิ้วน้ํา) ที่หัวจาย และ loss ที่เกิดในทอลม และตองคํานึงถึง<br />

velocity regain ที่ first section และ Last section ดวย<br />

2<br />

2<br />

⎪⎧<br />

⎛ 1700 ⎞ ⎛ 590 ⎞ ⎪⎫<br />

regain = 0.75⎨⎜<br />

⎟ − ⎜ ⎟ ⎬ = 0. 12inches<br />

⎪⎩ ⎝ 4000 ⎠ ⎝ 4000 ⎠ ⎪⎭<br />

ดังนั้น Fan discharge = 0.33+0.015-0.12 = 0.36 นิ้วน้ํา<br />

3. Static Regain Method เหมาะกับทอลม<br />

ความเร็วสูง (สูงกวา 2000 fpm) หลักการงายๆ คือ เลือก<br />

ขนาดทอลมใหได Regain อันเนื่องมาจากการลดความเร็วลม<br />

ลง ณ แตละสวนที่มีการแยกของทอลม หักลางพอดีกับ<br />

Friction Loss ที่จะเกิดในทอลมสวนถัดมา ดังนั้น Static<br />

Pressure จึงคงเทาเดิมกับกอนที่มีการแยกทอ วิธีการทําจะทํา<br />

ไดโดยเลือกความเร็วเริ่มตนแรกที่ พัดลม จากนั้นเลือกขนาดทอลม<br />

แรก สําหรับขนาดทอลมสวนที่เหลือทําโดยใชแผนภูมิ L/Q<br />

Ratio และแผนภูมิ Low Velocity Static regain


วิธี Static Regain Method<br />

ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน<br />

สนง แหงหนึ่ง ตองการลมจายแตละจุด<br />

300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม<br />

5400 cfm (18x300cfm) ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15<br />

in.wg และของอ มีคา R/D = 1.25 จงหา<br />

1. เลือกความเร็วลมในทอหลัก 1700 fpm ดังนั้น จะได Q = 5400 cfm พื้นที่<br />

ทอ 3.18ft2 และเลือกขนาดทอจากรูป 12.1 ไดทอขนาด 22”x22” และได<br />

equiv. dia. = 24.1” จากรูป 12.8 ได friction rate = 0.145<br />

2. ความยาวทอหลัก = 25’ + 35’ + ของอ (12’) = 72’<br />

3. Friction loss ได 72x0.145/100 = 0.104 นิ้วน้ํา<br />

ไดขนาดทอหลักแลว 22”x22”<br />

1. Duct Size<br />

2. Total Static Pressure Require ของพัดลม<br />

ชวง A-B<br />

1. มี 3600 cfm ความยาว 20 ft จากแผนภูมิ 12.7 ได L/Q ratio = 0.135<br />

2. หาคาความเร็วจากแผนภูมิ 12.8 ที่ V = 1700 fpm (v กอน take off) และ<br />

L/Q = 0.135 ได V after take off = 1510 cfm<br />

0.135


3. ไดคาความเร็ว สามารถหาคาพื้นที่ไดจาก Q/V = 3600/1510 = 2.38 ft 2<br />

4. นําคาพื้นที่ไปหาขนาดของ Duct จากรูป 12.1<br />

5. Fan discharge pressure = 0.104 + 0.15 = 0.25 นิ้วน้ํา<br />

Duct Sizer<br />

เปนอุปกรณที่ชวยในการหาขนาดของทอ โดยไมจําเปนตองเปดตาราง<br />

ปล มันเปนวิธี Equal Friction Method นั่นเอง


Program Excell สําหรับการคํานวณ Duct<br />

http://spreadsheetcreations.com/duct_sizing.htm<br />

The duct sizes listed<br />

in the chart<br />

provided are based<br />

on a fraction drop<br />

of .10 inches per<br />

100 feet of lineal<br />

duct. This "Equal-<br />

Friction" method of<br />

duct sizing should<br />

be adequate for<br />

normal residential<br />

furnace heating and<br />

air conditioning<br />

applications. Large<br />

r volumes or higher<br />

static pressures<br />

should be dealt with<br />

on an individual job<br />

basis.<br />

ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปของ www.elitesoft.com<br />

Rhvac - Residential HVAC Loads and Duct Sizes<br />

Static Pressure Cal.


การออกแบบระบบทอความเร็วสูง<br />

สิ่งที่เกิดขึ้นคือขนาดทอจะเล็กลง แตพัดลมจะตัวใหญขึ้น<br />

ปล หลักการออกแบบ คลายกับวิธีความดันสถิตกลับคือ (Static Regain Method นั่นเอง


การไดรับความรอนของทอและการรั่วของลมเย็นภายในทอ<br />

ในกรณีที่ไมไดหุมฉนวน ความรอนจากภายนอกอาจแทรกเขาไปทําใหลมเย็นในทอมีอุณหภูมิ<br />

สูงขึ้น ใชแผนภูมิ 12.11<br />

สําหรับทอลมที่ aspect ratio ไมเทากับ 2:1 หรือมีฉนวนหุม ใหใชคาแกตามที่ระบุ<br />

การติดตั้งทอลม<br />

การยึดติดกับโครงสราง (Figure 4-2) 4<br />

การหิ้วแขวน(Figure 4-4) 4 4) /(Table 4-1) 4<br />

การรองรับทอลม(Figure 4-6)/(Table 4<br />

4-3) 4<br />

การยึดทอในแนวดิ่ง แบบตางๆ<br />

การยึดติดกับโครงสราง<br />

(Figure 4-2) 4<br />

การหิ้วแขวน(Figure 4-4) 4 4)


การรองรับทอลม<br />

(Figure 4-6)<br />

ผิด<br />

ไมดีนัก<br />

•การใชflexible duct ยาวมากที่สุดได 10 ฟุต<br />

•ระวังรัศมีการดัดโคง และการเกิดความเคนที่รอยตอ<br />

การยึดทอในแนวดิ่ง


การยึดทอในแนวดิ่ง การยึดทอในแนวดิ่ง<br />

การปรับทิศทางลมใหเหมาะสม


การติดตั้งCeiling diffuser<br />

การติดตั้งCeiling diffuser<br />

ขอตอออน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!