10.07.2015 Views

เอกสารแนบ TOR - จัดซื้อจัดจ้าง กรมชลประทาน

เอกสารแนบ TOR - จัดซื้อจัดจ้าง กรมชลประทาน

เอกสารแนบ TOR - จัดซื้อจัดจ้าง กรมชลประทาน

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

อิเล็กทรอนิกส์ ณ วันประกาศประกวดราคา หรือไม่เป็นผู้กระทําการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมในการประกวดราคาจ้างครั้งนี้3.5 เป็นนิติบุคคลผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกวดราคาฯ ดังกล่าว โดยเป็นผลงานก่อสร้างประเภทฝายยางหัวงานและอาคารประกอบ อย่างน้อยต้องประกอบด้วยงานหลักที่สําคัญ คือ งานก่อสร้างฝายยาง ซึ่งเป็นผลงานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จทั้งสัญญา ในวงเงินไม่น้อยกว่า ๖๗,๕๕๕,๖๕๐.- บาท (หกสิบเจ็ดล้านห้าแสนห้าหมื่นห้าพันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน) และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ4. ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง1. งานก่อสร้างโครงการนี้ <strong>กรมชลประทาน</strong>ได้กําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุในงานก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2543 แจ้งโดยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0205/ว84 ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2543 โดยได้คํานวณราคากลางในงานก่อสร้างครอบคลุมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุและโรคเนื่องจากการทํางานที่อาจจะเกิดขึ้นในหน่วยงานก่อสร้างและกําหนดให้ผู้เสนอราคาจะต้องดําเนินการดังต่อไปนี้1.1 ผู้เสนอราคาต้องคํานวณปริมาณงานค่าก่อสร้างให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับป้องกันอุบัติเหตุ และโรคเนื่องจากการทํางานที่อาจเกิดขึ้นในหน่วยงานก่อสร้างตามมาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง1.2 ผู้เสนอราคาต้องเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นให้เพียงพอเหมาะสม เพื่อดําเนินการตามสัญญาว่าจ้าง1.3 ผู้เสนอราคาต้องเตรียมจัดทําเอกสารรายละเอียดเป็นภาษาไทยเกี่ยวกับ “ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง” ยื่นมาพร้อมกับซองเอกสารประกวดราคา โดยมีข้อกําหนดที่ สําคัญๆ ประกอบด้วย(1) กําหนดนโยบายความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการทํางาน(2) การจัดองค์กรความปลอดภัยฯ ในงานก่อสร้าง และหน้าที่ความรับผิดชอบ(3) กฎหมายและข้อกําหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง(4) การฝึกอบรม(5) การกําหนดมาตรการป้องกันและครอบคลุมอุบัติเหตุ(6) การตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง(7) กําหนดกฎความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง2


(8) การควบคุม ดูแลความปลอดภัยฯ ของผู้รับเหมาช่วง(9) การตรวจสอบ และการติดตามผลความปลอดภัยฯ(10) การรายงานอุบัติเหตุ และการสอบสวน วิเคราะห์อุบัติเหตุ(11) การรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัย(12) การปฐมพยาบาล(13) การวางแผนฉุกเฉิน(14) การจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้อง1.4 ผู้เสนอราคาต้องศึกษารายละเอียดเอกสารที่ยื่นเสนอตาม ข้อ 1.3 ให้เข้าใจสําหรับชี้แจงตอบข้อซักถามของคณะกรรมการการประกวดราคา2. คณะกรรมการประกวดราคาจะพิจารณาตรวจสอบเอกสารประกวดราคาเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างดังกล่าว3. เมื่อผู้เสนอราคารายใดได้รับการคัดเลือกจากทางราชการแล้ว ต้องเตรียมจัดทําแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ อย่างละเอียดและชัดเจน ยื่นต่อผู้ว่าจ้างก่อนดําเนินการก่อสร้างภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มทําสัญญาว่าจ้าง และจะต้องรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องและชัดเจนอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง5. แบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ5.1 เงื่อนไขเฉพาะของงานก่อสร้าง5.1.1 สถานที่ก่อสร้างบริเวณที่จะทําการก่อสร้างฝายยางหัวงานและอาคารประกอบ โครงการฝายยางนางโทจังหวัดนครราชสีมา อยู่ในเขตพื้นที่บ้านพุดซา ตําบลเมืองยาง อําเภอเมืองยาง จังหวัดนครราชสีมา ตัวฝายสร้างในแม่น้ํามูล จุดที่ตั้งของฝายในแผนที่ 1 : 50,000 ของกรมแผนที่ทหารบก หมายเลขระวาง 5539 I ชุด L7018 พิกัด 48 PTC 802 - 0345.1.2 รายการสําคัญที่ผู้รับจ้างต้องจัดทํางานก่อสร้างฝายยางหัวงานและอาคารประกอบ โครงการฝายยางนางโท จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยงานดังรายการดังต่อไปนี้5.1.2.1 งานก่อสร้างฝายยาง มีลักษณะงานดังนี้5.1.2.1.1 งานดินขุดบ่อก่อสร้าง และช่องลัดให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ3


5.1.2.1.2 งานสูบน้ําบ่อก่อสร้าง5.1.2.1.3 งานถมดินบดอัดแน่น ตามแบบ โดยความแน่นของดินถมต้องไม่น้อยกว่า95% STANDARD PROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST5.1.2.1.4 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก ฝาย และสะพานคนเดิน ตามแบบ5.1.2.1.5 งานคอนกรีตดาด หนา 0.08 ม. ตามแบบ5.1.2.1.6 งานกรวดทรายรองพื้น หนา 0.20 ม. รองรับหินเรียง ตามแบบ5.1.2.1.7 งานหินเรียง หนา 0.30 ม. และ 0.60 ม. ตามแบบ5.1.2.1.8 งาน ELASTIC FILLER ตามแบบ5.1.2.1.9 งานแผ่นยางกันน้ําซึม ชนิด “A” และชนิด “B” ตามแบบ5.1.2.1.10 งานรูระบายน้ําซึม บริเวณพื้นและตามลาดกําแพง ตามแบบ5.1.2.1.11 งานจัดหาและวางกล่องลวดตาข่ายเหล็กเคลือบสังกะสี (GABIONS)ขนาด 2.00 ม.x 1.00 ม.x 0.50 ม. พร้อมบรรจุหินใหญ่ ตามแบบ5.1.2.1.12 งานจัดหาและวางกล่องลวดตาข่ายเหล็กเคลือบสังกะสี (MATTRESS)ขนาด 3.00 ม.x 2.00 ม.x 0.30 ม. พร้อมบรรจุหินใหญ่ ตามแบบ5.1.2.1.13 งานจัดหาและติดตั ้งแผ่น GEOTEXTILES รองพื้นลวดตาข่ายเคลือบสังกะสี ตามแบบ5.1.2.1.14 งานจัดหาและวางแผ่นพื้นสําเร็จรูป พื้นสะพาน ขนาด 0.60 ม.x 0.20 ม.ยาว 6.00 ม. และ 3.40 ม. ตามแบบ5.1.2.1.15 งานเสาและราวสะพาน ตามแบบ5.1.2.2 งานจัดหาและติดตั้งฝายยางพร้อมอุปกรณ์ ตามแบบและรายละเอียดของฝายยางที่แนบท้าย มีลักษณะงานดังนี้5.1.2.2.1 ผู้รับจ้างต้องเสนอแบบรายละเอียดการติดตั้งฝายและห้องควบคุม(CONTROL ROOM) พร้อมอาคารประกอบส่วนอื่นๆ โดยอาศัยเค้าโครงของฝายทดน้ําที่<strong>กรมชลประทาน</strong>ได้ออกแบบไว้และรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) ที่แนบท้าย โดยผู้รับจ้างต้องเสนอให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา ภายใน 120 วัน นับจากวันเริ่มปฏิบัติงานตามสัญญา5.1.2.2.2 ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งฝายยางและก่อสร้างห้องควบคุม (CONTROLROOM) พร้อมจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ประกอบให้เสร็จเรียบร้อย ตามแบบและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) ที่แนบท้าย4


5.1.2.2.3 ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบระบบการทํางานของฝายยางและอุปกรณ์ประกอบ โดยต้องจัดหาผู้เชี่ยวชาญ และตัวแทนมาทําการทดสอบระบบการทํางานของฝายยางว่าสามารถใช้งานได้ดีตามวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างและต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างแล้ว5.1.2.2.4 ผู้รับจ้างต้องดําเนินการติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า5.1.2.2.5 ผู้รับจ้างต้องจัดหาคู่มือการใช้งาน การบํารุงรักษาฝายยางสําเร็จรูปเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมแบบที่สมบูรณ์แล้ว (AS BUILTDRAWING) จํานวน 10 ชุด มอบให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อใช้เป็นคู่มือในการควบคุมและบํารุงรักษาฝายยางต่อไป5.1.2.2.6 ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีการฝึกอบรมแก่เจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้าง ในการใช้งานการซ่อมแซม การบํารุงรักษา การปรับปรุงฝายยาง ฯลฯ สําหรับจํานวนคนที่เข้ารับการฝึกอบรม ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้กําหนดให้ สําหรับค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้น เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น5.1.2.2.7 ภายใน 120 วัน นับจากวันเริ่มปฏิบัติงาน ผู้รับจ้างต้องเสนอแบบ บัญชีและตัวอย่าง ตามที่กําหนดในรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะ(SPECIFICATIONS) ฝายยางนางโท ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา ดังรายการต่อไปนี้- บัญชีแสดงอุปกรณ์ฝายยางครบชุด จํานวน 2 ชุด รายละเอียดตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) ที่แนบท้ายข้อ 5- แบบและรายการคํานวณ จํานวน 5 ชุด รายละเอียดตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) ที่แนบท้าย ข้อ 9- หนังสือแสดงคุณภาพของฝายยาง รายละเอียดตามรายรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) ที่แนบท้าย ข้อ 105.1.2.3 งานก่อสร้างทํานบดิน จาก กม. 0+000 ถึง กม. 0+660 ตามแบบหมายเลข สชป.8-03070 ประกอบด้วยลักษณะงาน ดังนี้5.1.2.3.1 งานถมดินบดอัดแน่นทํานบชั่วคราวกั้นแม่น้ํามูล ด้านเหนือและท้ายน้ําบริเวณก่อสร้างทํานบดิน พร้อมรื้อย้ายเมื่อเสร็จงาน โดยความแน่นของดินถมบดอัดแน่นต้องไม่น้อยกว่า 85% STANDARD PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST และก่อนดําเนินการก่อสร้างผู้รับจ้างต้องเสนอแบบและแผนงานก่อสร้าง ทํานบชั่วคราว ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ5


5.1.2.3.2 งานสูบน้ําบ่อก่อสร้าง5.1.2.3.3 งานขุดเปิดหน้าดินเดิมจนหมดชั้นดินอ่อนและรากพืช และลึกไม่น้อยกว่า0.50 ม. พร้อมขนย้ายไปทิ้งหรือกองเกลี่ยเรียบตามสถานที่ที่ผู้ว่าจ้างกําหนด5.1.2.3.4 งานดินขุดร่องแกน และบริเวณหินทิ้ง หรือหินเรียง ตามแบบ5.1.2.3.5 งานดินถมบดอัดแน่นทํานบดินให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นของดินถมต้องไม่น้อยกว่า 98% STANDARDPROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST5.1.2.3.6 งานปู CLAY BLANKET หนา 0.70 ม. ด้านหน้าทํานบดิน กว้างประมาณ50.00 ม. และบดอัดโดยให้มีความแน่นไม่น้อยกว่า 85% STANDARDPROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST5.1.2.3.7 งานหินก่อบริเวณจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดทํานบดิน ตามแบบ5.1.2.3.8 งานหินเรียง บนกรวดทรายรองพื้น หนา 0.20 ม. ตามแบบ5.1.2.3.9 งานหินทิ้ง บนกรวดทรายรองพื้น หนา 0.40 ม. ตามแบบ5.1.2.3.10 งานปลูกหญ้า บน TOP SOIL หนา 0.10 ม. บริเวณลาดทํานบดิน ตามแบบ5.1.2.3.11 งานลงลูกรังบดอัดแน่นผิวจราจร หลังทํานบ หนา 0.25 ม. โดยความแน่นของลูกรังบดอัดแน่นต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST5.1.2.4 งานก่อสร้างอาคารระบายน้ํา ขนาด 2- 2.00 ม. x 1.75 ม. ที่ กม. 0+600 จํานวน1 แห่ง ประกอบด้วยลักษณะงาน ดังนี้5.1.2.4.1 งานดินขุดบ่อก่อสร้าง และร่องชักน้ําด้านหน้าและท้าย อาคารระบายน้ําให้ได้ ขนาด รูปร่าง ลาดเอียง และระดับ ตามแบบ5.1.2.4.2 งานดินถมบดอัดแน่น ตามแบบ โดยความแน่นของดินถมต้องไม่น้อยกว่า95% STANDARD PROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST5.1.2.4.3 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก INLET-OUTLET TRANSITION, ท่อ คสล., พื้นโครงยก และเอ็น คสล. ตามแบบ5.1.2.4.4 งานกรวด หรือหินย่อยรองพื้น ตามแบบ5.1.2.4.5 งานทรายหยาบรองพื้น ตามแบบ5.1.2.4.6 งานบันไดหินก่อ และหินก่อหนา 0.30 ม. ตามแบบ5.1.2.4.7 งานหินเรียงยาแนว หนา 0.30 ม. ตามแบบ6


5.1.2.4.8 งานหินเรียง หนา 0.30 ม. และ 0.50 ม. ตามแบบ5.1.2.4.9 งาน ELASTIC FILLER ตามแบบ5.1.2.4.10 งานแผ่นยางกันน้ําซึม ชนิด C ตามแบบ5.1.2.4.11 งานบันไดลิง ตามแบบ5.1.2.4.12 งานรูระบายน้ํา บริเวณหินก่อ ตามแบบ5.1.2.4.13 งานเสาและราวลูกกรง ตามแบบ5.1.2.4.14 งานเหล็กฉาก ตามแบบ5.1.2.4.15 งานจัดหาและติดตั้งบานฝาท่อชนิดรับน้ําทางเดียว ขนาด 1.75 ม.x1.75 ม.พร้อมเครื่องยก ตามแบบและรายการรายละเอียด5.1.2.4.16 งานลูกรังบดอัดแน่นบริเวณหลังคันโอบ หนา 0.25 ม. โดยความแน่นของลูกรังต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST5.1.2.4.17 งานปลูกหญ้า บน TOP SOIL หนา 0.10 ม. ตามแบบ5.1.2.5 งานก่อสร้างถนนเข้าหัวงาน จาก กม.0+000 ถึง กม.1+845 ตามแบบหมายเลขสชป. 8-05215 ประกอบด้วยลักษณะงาน ดังนี้5.1.2.5.1 งานขุดเปิดหน้าดินเดิมจนหมดชั้นดินอ่อนและรากพืช และลึกไม่น้อยกว่า0.30 ม. พร้อมขนย้ายไปทิ้งหรือกองเกลี่ยเรียบตามสถานที่ที่ผู้ว่าจ้างกําหนด5.1.2.5.2 งานดินขุดปรับระดับถนนให้ได้ขนาด รูปร่าง ลาดเอียงและระดับ ตามแบบ5.1.2.5.3 งานดินถมบดอัดแน่นคันทางให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นของดินถมต้องไม่น้อยกว่า 95% STANDARDPROC<strong>TOR</strong> COMPACTION TEST และ ได้ค่า CBR.2% MIN.5.1.2.5.4 งานบดอัดแน่นวัสดุคัดเลือก “ข” ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST และ ได้ค่า CBR.6% MIN.5.1.2.5.5 งานบดอัดแน่นวัสดุคัดเลือก “ก” ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST และ ได้ค่า CBR.10% MIN.7


5.1.2.5.6 งานบดอัดแน่นรองพื้นทางลูกรัง ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST และ ได้ค่า CBR.25% MIN.5.1.2.5.7 งานบดอัดแน่นพื้นทางหินคลุก ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับตามแบบ โดยความแน่นต้องไม่น้อยกว่า 95% MODIFIED PROC<strong>TOR</strong>COMPACTION TEST และ ได้ค่า CBR.90% MIN.5.1.2.5.8 งานลาดยาง แบบ PRIME COAT ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับ ตามแบบ5.1.2.5.9 งานลาดยางไหล่ทาง 2 ข้าง แบบ SINGLE SURFACE TREATMENT ให้ได้รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับ ตามแบบ5.1.2.5.10 งานลาดยางผิวทาง แบบ DOUBLE SURFACE TREATMENT ให้ได้รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับ ตามแบบ5.1.2.5.11 งานทาสี และ ตีเส้นจราจร ตามแบบ5.1.2.5.12 งานติดตั้งหลักนําโค้ง ตามแบบ5.1.2.5.13 งานปลูกหญ้า บน TOP SOIL หนา 0.10 ม. บริเวณลาดถนนเข้าหัวงานตามแบบ5.1.2.5.14 งานก่อสร้างท่อลอด ขนาด 1-Ø 1.00 ม. ตามแบบหมายเลข 76708จํานวน 2 แห่ง ที่ กม.0+305 และ กม.0+465 ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียง และระดับ ตามแบบ5.1.2.5.15 งานก่อสร้างท่อลอดรับน้ํา ขนาด 3-Ø 1.00 ม. ตามแบบหมายเลข สชป.8-01777 จํานวน 1 แห่ง ที่ กม.1+275 ให้ได้ รูปร่าง ขนาด ลาดเอียงและระดับ ตามแบบ5.1.2.6 งานจัดหาและติดตั้งเสาวัดระดับน้ํา ยาว 3.00 ม. พร้อมแผ่นระดับน้ํา ตามแบบจํานวน 4 ชุด และให้ติดตั้งตามสถานที่ที่ผู้ว่าจ้างกําหนด5.1.2.7 งานก่อสร้างรั้วลวดหนาม ตามแบบ หมายเลข มฐ.07-35-009 ความยาวประมาณ1,200 ม. ตามแนวที่กําหนดในแบบแปลน หมายเลข สชป. 8-030705.1.2.8 งานก่อสร้างประตูรั้วและป้ายชื่อโครงการ จํานวน 1 แห่ง ตามแบบ หมายเลขมฐ.07-35-003 และ มฐ.07-35-0048


5.1.2.9 งานก่อสร้างอาคารสํานักงานขนาดย่อย ตามแบบหมายเลข มฐ.07-04-001 ถึงมฐ.07-04-016 และ มฐ.08-04-001 ถึง มฐ.08-04-006 จํานวน 1 หลัง ตามตําแหน่งที่กําหนดในแบบแปลน หมายเลข สชป. 8-030705.1.2.10 งานก่อสร้างบ้านพักข้าราชการ ระดับ 1-2 ตามแบบหมายเลข มฐ.07-19-001 ถึงมฐ.07-19-009 และ มฐ.08-19-001 ถึง มฐ.08-19-004 จํานวน 1 หลัง ตามตําแหน่งที่กําหนดในแบบแปลน หมายเลข สชป. 8-030705.1.2.11 งานขยายเขตติดตั้งหม้อแปลงระบบไฟฟ้าแรงสูง ตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานดังนี้5.1.2.11.1 แผนกแรงสูงภายนอก ปักเสา คอร. ขนาด 12 เมตร จํานวน 71 ต้นพาดสายเคเบิลอากาศ ขนาด 50 ตารางมิลเมตร ระยะทาง 1,780เมตร จํานวน 3 เส้น5.1.2.11.2 แผนกแรงสูงภายนอก ปักเสา คอร. ขนาด 12 เมตร จํานวน 1 ต้นพาดสายเคเบิลอากาศ ขนาด 50 ตารางมิลเมตร ระยะทาง 20 เมตรจํานวน 3 เส้น5.1.2.11.3 แผนกหม้อแปลง ติดตั้งหม้อแปลง ระบบ 3 เฟส 22000-400/230โวลท์ ขนาด 250 เควีเอ จํานวน 1 เครื่อง5.1.2.11.4 แผนกมิเตอร์ ติดตั้ง ทีโอยู ประกอบ วีที, แรงตํา เรโช 400/5แอมป์ ระบบ 3 เฟส จํานวน 1 ชุด5.1.2.12 การจัดหายานพาหนะ5.1.2.13 งานก่อสร้างอาคารสํานักงานชั่วคราวเพื่อควบคุมการก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง5.1.2.14 งานจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์อื่นๆ5.1.2.15 เครื่องมือสํารวจ5.1.2.16 งานจัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawing) และแบบหลักฐาน (As-built Drawing)5.1.2.17 งานแผ่นป้ายแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงานก่อสร้าง5.2 รายละเอียดด้านวิศวกรรม5.2.1 ข้อความทั่วไป<strong>กรมชลประทาน</strong> มีความประสงค์ที่จะจ้างทําฝายยางและอุปกรณ์ประกอบครบชุดพร้อมติดตั้ง ณ บริเวณฝายยางหัวงานและอาคารประกอบ โครงการฝายยางนางโท จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ในความผิดชอบของโครงการ9


ชลประทานนครราชสีมา โดยผู้รับจ้างจะต้องเสนอแบบแสดงรายละเอียด แบบแสดงการติดตั้งฝายยาง อาคารห้องควบคุม (Control room) พร้อมอุปกรณ์ประกอบส่วนอื่นๆ และรายการคํานวณ โดยอาศัยแบบเค้าโครงของฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่<strong>กรมชลประทาน</strong> ได้ออกแบบไว้แล้วเป็นหลัก เพื่อนําไปดําเนินการติดตั้งให้แล้วเสร็จสมบูรณ์สามารถใช้งานได้ตามเจตนารมณ์ของ<strong>กรมชลประทาน</strong> ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการจัดทํา จัดหา ขนย้ายฝายยางและอุปกรณ์ประกอบครบชุดพร้อมติดตั้ง เป็นของผู้ขายทั้งสิ้น5.2.2 รายละเอียดของฝายทดน้ําลักษณะรายละเอียดของฝายยางหัวงานและอาคารประกอบ โครงการฝายยางนางโท ตําบลเมืองยางอําเภอเมืองยาง จังหวัดนครราชสีมา มีรายละเอียด รูปร่างและลักษณะทั่วไป ปรากฏในแบบหมายเลข 134184ถึง 134187 และ สชป.8-03070 ถึง สชป.8-03073 ซึ่งพอจะสรุปลักษณะสําคัญๆ ได้ดังนี้5.2.2.1 ลักษณะ เป็นฝายยางติดตั้งบนฝายทดน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 125.00เมตร สูง 3.50 เมตร5.2.2.2 ฐานฝายยาง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก และ Concrete Block Out ขนาดกว้าง 10.00 เมตร ยาว 100.00 เมตร ลึก 0.80 เมตร5.2.2.3 ระดับท้องลําน้ํา (พื้นหน้าฝาย) + 132.00 ม.ร.ท.ก.5.2.2.4 ระดับฐานฝายยาง + 133.00 ม.ร.ท.ก.5.2.2.5 ระดับน้ําเก็บกัก (ระดับสันฝายยาง) + 135.50 ม.ร.ท.ก.5.2.2.6 ระดับหลังคันดินหูฝาย + 139.50 ม.ร.ท.ก.5.2.3 ขนาดและความแข็งแรงของฝายยาง5.2.3.1 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของฝายยาง ≥ 2.50 เมตร5.2.3.2 ความยาวของฝายยาง 100.00 เมตร5.2.3.3 ฝายยางเมื่อสูบอัดด้วยน้ําหรือลม ในขั้นใช้งานเต็มที่แล้ว ต้องพองตัวมีความสูงเหนือระดับฐานฝายยาง 2.50 เมตร และต้องสามารถเก็บกักน้ําเหนือฝายได้ โดยไม่มีการรั่วซึม และไม่บิดเบี้ยว5.2.3.4 ฝายยางเมื่อพองตัวเต็มที่แล้ว ต้องสามารถรับแรงดันของน้ําหน้าฝาย ที่ระดับเหนือสันฝายได้ ไม่น้อยกว่า 0.20 เท่า ของความสูงฝายยางสูงสุด โดยฝายยางต้องยึดติดกับฐานคอนกรีต และกําแพงคอนกรีตของอาคารได้อย่างมั่นคง5.2.3.5 รอยต่อของแผ่นยาง (ถ้ามี) ต้องมีความแข็งแรงทนทาน ไม่น้อยกว่า แผ่นยางปกติ5.2.4 ชนิดและคุณสมบัติของฝายยาง5.2.4.1 ฝายยางต้องเป็นยางชนิดที่ทําด้วยยางธรรมชาติ หรือมีส่วนผสมของยางธรรมชาติ ในส่วนที่เป็นเนื้อยางไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 โดยมีน้ําหนัก และต้องเป็นผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเท่านั้น10


สามารถพองตัวได้ เมื่อสูบอัดด้วยน้ําหรือลม และยุบตัวได้เมื่อปล่อยน้ําออกหรือปล่อยลมออกตามเงื่อนไขที่กําหนดหรือตามความต้องการใช้งานขณะนั้นๆ5.2.4.2 ฝายยางต้องมีคุณสมบัติ ทนทานต่อผลกระทบจากโอโซน รังสี UV และอากาศร้อนบริเวณโครงการฯ ผิวชั้นนอกของฝายยางต้องมีคุณสมบัติทนต่อการเสียดสี ทนต่อสภาพอากาศและแสงแดดทนต่อสภาพความเป็นกรด-ด่าง ของน้ําและดิน5.2.5 ชนิดและมาตรฐานของอุปกรณ์ประกอบ5.2.5.1 ชนิดของอุปกรณ์ประกอบ ที่ใช้ในการยึดฝายยางกับฐานฝายยาง หรือของอาคารส่วนที่อยู่เหนือฐานคอนกรีตและสัมผัสกับอากาศ ต้องเป็น Stainless Steel เช่น สลักเกลียวยึดเหล็กประกับกับเนื้อคอนกรีต ( Anchor Bolt), เหล็กประกับ (Cover plate) และเหล็กธรณี ( Base plate) เป็นต้น5.2.5.2 ให้เสนอรายละเอียด Material List Specifications ของอุปกรณ์ประกอบ ที่นํามาใช้ทั้งหมดว่ามีมาตรฐานอ้างอิง ของสถาบันใด5.2.6 การทํางานของฝายยางขั้นตอนการทํางานของฝายยาง ต้องเป็นไปตามหลักการ ดังนี้5.2.6.1 เมื่อระดับน้ําหน้าฝาย ขึ้นสูงกว่าฐานฝายยาง ถึงระดับที่กําหนดไว้ ระบบตรวจวัดระดับน้ํา (Water Level Sensor) จะส่งสัญญาณไปยังตัวควบคุม สั่งการเปิด Pump ให้ฝายยางพองตัวเพื่อกักเก็บน้ําไว้5.2.6.2 เมื่อระดับน้ําหน้าฝายลดลง ต่ํากว่าระดับฐานฝายยาง ระบบตรวจวัดระดับน้ํา(Water Level Sensor) จะส่งสัญญาณไปยังตัวควบคุม สั่งการเปิด Pump ให้ฝายยางยุบตัว5.2.6.3 หากระดับน้ําหน้าฝาย ยังคงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนถึงระดับน้ําเก็บกักและสูงกว่าฝายยางยังคงพองตัวอยู่ น้ําก็จะไหลล้นข้ามสันฝายยาง จนกระทั้งระดับน้ําสูงขึ้นถึงระดับน้ําเก็บกักสูงสุดที่ตั้งไว้5.2.6.4 ถ้าระดับน้ําหน้าฝาย ยังคงสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนถึงระดับน้ําเก็บกักสูงสุดที่ตั้งไว้ ระบบตรวจวัดระดับน้ํา (Water Level Sensor) จะส่งสัญญาณไปยังตัวควบคุม สั่งการเปิด Pumpให้ฝายยางยุบตัว จนเมื่อระดับน้ําหน้าฝายลดต่ําลง ถึงระดับสูงกว่าฐานฝายยางที่กําหนดไว้ ฝายยางก็จะพองตัวขึ้นอีกครั้ง5.2.7 ระบบควบคุมการทํางานของฝายยางการควบคุมการทํางานของฝายยางเพื่อพองตัวและยุบตัว ให้ใช้เครื่องสูบน้ําขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าโดยต้องอัดน้ําให้เต็ม อยู่ในสภาพขั้นใช้งานได้ ทั้งนี้ระบบควบคุมฯ สามารถควบคุมการทํางานของฝายยาง ได้ดังนี้5.2.7.1 ระบบการพองตัวของฝายยาง (Inflation System)11


5.2.7.1.1 แบบอัตโนมัติ (Automatic Inflation System) โดยใช้ Water LevelSensor ควบคุมการพองยางที่ระดับน้ําสูงกว่าฐานฝายยาง 0.20 เท่าของความสูงฝายยาง5.2.7.1.2 แบบธรรมดา (Manual Inflation System) ใช้ควบคุมการพองตัวได้ตาม ความต้องการใช้งาน5.2.7.2 ระบบการยุบตัวของฝายยาง (Deflation System)5.2.7.2.1 แบบอัตโนมัติ (Automatic Deflation System) โดยใช้ WaterLevel Sensor ควบคุมการยุบตัวที่ระดับน้ําเก็บกักสูงสุด คือที่ระดับความสูง 1.20 เท่า ของความสูงฝายยางจากระดับฐานฝายยาง ( ค่าแรงดันพิกัด ) และที่ระดับน้ําต่ํากว่าฐานฝายยางอีกจุดหนึ่ง5.2.7.2.2 แบบธรรมดา (Manual Deflation System) ใช้ควบคุมการยุบตัวได้ตามความต้องการใช้งาน5.2.7.3 ระบบนิรภัย5.2.7.3.1 การควบคุมการพองตัวของฝายยาง คอยสั่งการและควบคุม ให้การพองยางมีค่าไม่เกินค่าแรงดันพิกัดที่กําหนดข้างต้น5.2.7.3.2 การควบคุมการยุบตัวของฝายยาง ในกรณีที่ระดับน้ําเก็บกักสูงสุดมากกว่าค่าแรงดันพิกัดที่ยอมให้ จะต้องมีระบบ Sensor คอยสั่งการและควบคุมให้ฝายยางยุบตัว5.2.7.3.3 ด้วยเหตุผลใดก็ตาม ที่ฝายยางไม่สามารถยุบตัวได้ ในกรณีที่ระดับน้ําเก็บกักสูงสุดมากกว่าค่าแรงพิกัดที่ยอมให้ ฝายยางจะต้องมีระบบกลไกอัตโนมัติที่ทําให้วาล์วเปิด และฝายยางก็จะยุบตัวด้วยระบบกลไกดังกล่าวนี้ ซึ่งเป็นกลไกอัตโนมัติที่ต้องติดตั้งไว้5.2.8. ข้อกําหนดในการออกแบบ5.2.8.1 ค่า Safety Factor5.2.8.1.1 แรงดึงฝายยาง FS ≥ 85.2.8.1.2 แรงดึงสลักเกลียว FS ≥ 35.2.8.1.3 แรงดึงเหล็กประกับ FS ≥ 35.2.8.2 ค่า fc' ของ Concrete Block Out มีค่าเท่ากับ 210 kg/cm 2 ที่อายุ 28วัน ของแท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอก ขนาด ศก. 15 ซม. สูง 30 ซม.12


เมตรเมตรอาคารได้ดังนี้5.2.8.3 ถุงฝายยาง (Bag Body) ต้องออกแบบและใช้วัสดุ ให้มีอายุการใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 25 ปี5.2.8.4 อาคารห้องควบคุม (Control room)5.2.8.4.1 ขนาดกว้างยาวของอาคารไม่น้อยกว่า 4.50x4.50 ม.5.2.8.4.2 ระดับพื้นอาคารชั้นล่าง อยู่ต่ํากว่าระดับฐานฝายยาง ไม่น้อยกว่า 0.505.2.8.4.3 ระดับหลังอะเส อยู่สูงกว่าระดับหลังคันดินหูฝาย ไม่น้อยกว่า 2.505.2.8.4.4 โครงสร้างของพื้น,พนังอาคาร สามารถป้องกันน้ําซึมผ่านเข้าภายใน5.2.8.4.5 ตําแหน่งศูนย์กลางของอาคารห้องควบคุม อยู่ห่างจากแนวศูนย์กลางคันดินหูฝาย ไม่น้อยกว่า6.00 เมตร5.2.8.4.6 ติดตั้งระบบระบายอากาศ, ระบายน้ําและแสงสว่างให้เพียงพอ5.2.8.4.7 ติดตั้งรอกและเครนไฟฟ้า ขนาด 3 ตัน พร้อมอุปกรณ์5.2.8.5 เครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ไฟฟ้าพร้อมอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ที่นํามาใช้ในระบบควบคุมการทํางานของฝายยางแห่งนี้ ออกแบบอยู่บนเงื่อนไข ใช้กําลังไฟฟ้ารวมกันได้ไม่เกิน 250 KVA5.2.8.6 ติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า 1 แห่ง5.2.9 แบบก่อสร้างรายการคํานวณและการติดตั้งผู้รับจ้างต้องเสนอแบบก่อสร้าง พร้อมรายการคํานวณ จํานวน 5 ชุด โดยมีรายละเอียด5.2.9.1 แบบแสดงรายละเอียดของฝายยาง5.2.9.2 แบบแสดงรายละเอียดของการติดตั้ง และการเดินท่อต่างๆ ฯลฯ5.2.9.3 แบบแสดงรายละเอียดของอาคารห้องควบคุม5.2.9.4 แบบแสดงรายละเอียด Diagram ระบบการควบคุมการทํางานของฝายยาง5.2.9.5 แบบแสดงรายละเอียดอื่นๆ ที่จําเป็น5.2.9.6 รายการคํานวณทั้งด้านชลศาสตร์ ด้านโครงสร้างและเครื่องสูบน้ํา พร้อมมอเตอร์ไฟฟ้า5.2.9.7 เสนอรายชื่อวิศวกรผู้ชํานาญการ เพื่อการควบคุมการติดตั้ง พร้อมทั้งประวัติและผลงาน13


5.2.10 ข้อกําหนดคุณสมบัติของวัสดุฝายยาง5.2.10.1 ผู้รับจ้างต้องแนบหนังสือ แสดงคุณภาพ คุณสมบัติของแผ่นยางจากโรงงานผู้ผลิต พร้อมระบุรายการดังต่อไปนี้5.2.10.1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์5.2.10.1.2 ชื่อโรงงานผู้ผลิตอายุการใช้งาน ( Service Life ) และวัน เดือน ปี ที่ผลิตเอกสารการรับรองผลิตภัณฑ์จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม5.2.10.2 ข้อกําหนดคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ทํา Rubber Dam Bag Body และRubber Dam Carpet ให้เป็นไปตามตารางที่ 1,2 และ 314


ตารางที่ 1แผ่นยางชั้นนอก แผ่นยางชั้นกลาง และแผ่นยางชั้นในของฝายยางOuter, Inter, and lnner Rubber-Rubber Dam Bag BodyNO. TEST SPECIFICATION TEST METHODABEFORE AGINGA-1 tensile Strength ≥ 120 kg/cm. 2 ASTM-D412A-2 Elongation ≥ 400 %B AFTER AGING (1)B-1 tensile Strength ≥ 100 kg/cm. 2 ASTM-D573B-2 Elongation ≥ 300 %C EFFECT OF LIQUIDS (2)C-1 tensile Strength ≥ 100 kg/cm. 2 ASTM-D471C-2 Elongation ≥ 350 %C-3 Change in Volume ≤ 20%D SUREFACE OZONE CRACKING (3) No cracks ASTM-D1149E ABRASION RESISTANCE (4) 0.50 CC Max Akron AbrasionRemarks :(1) At 100 o C, 96 hrs.(2) Change in properties after 96 hrs. in water at 70 o C(3) 100 pphm @ 50 o C, 20 % Elongation, 96 hrs., Outer layer only(4) Loss in Volume 15°x 3330 cycles,10 lbs. 12.5 mm. thickness Outer rubber only15


Aตารางที่ 2ฝายยางRubber Dam Bag BodyNO TEST SPECIFICATION TEST METHODTENSILE STRENGTH OFWARP & WEFT BEFORE AGINGA-1 Warp (combined plies) ≥ 8 times of designed ASTM-D751tensionA-2 Weft (combined plies)≥ 2/3 over calculatedwarpTensile strengthB AFTER AGING (1) ASTM-D571B-1 Warp (Combined plies)≥ 80% of tensileStrengthBefore aging and overC EFFECT OF LIQUIDS (2) ASTM-D571C-1 Warp (Combined plies)≥ 80% of tensileStrengthBefore immersion andoverD ADHESION STRENGTHBETWEEN RUBBER AND FABRICD-1 Before immersion in water ≥ 6 Kg/cm ASTM-D413D-2 Afier immersion in water for ≥ 4 Kg/cm96 hrs. At 70 o CRemarks :(1) At 100 o C, 96 hrs.(2) Change in tensile strength after 96 hrs. in water at 70 o C16


ตารางที่ 3แผ่นยางที่ใช้ผลิตพรมยางRubber Component of Rubber Dam CarpetNO. TEST SPECIFICATION TEST METHODA BEFORE AGING ASTM-D412A-1 Tensile Strength ≥ 120 Kg/ cm. 2A-2 Elongation ≥ 400 %B AFTER AGING (1) ASTM-D573B-1 Tensile Strength ≥ 70 Kg/ cm. 2B-2 Elongation ≥ 250%C EFFECT OF LIQUIDS (2) ASTM-D471C-1 Tensile Strength ≥ 70 Kg/ cm. 2C-2 Elongation ≥ 250%C-3 Chang in Volume ≤ 20%D Tensile Strength of ASTM-D471Warp @ weft before AgingD-1 Warp ≥ 80 kg/cmD-2 weft ≥ 80 kg/cm17


พรมยางRubber Dam CarpetNO. TEST SPECIPICATION TEST METHODE ADHESION STRENGTH ASTM-D413BETWEEN RUBBER AND FABRICE-1 Before immersion in water ≥ 6 Kg / cmE-2 After immersion in water for 96 ≥ 4 Kg / cmHrs. At 70 o CRemarks :(1) At 100 o C, 96 hrs.(2) Change in tensile strength after 96 hrs. in water at 70 o C5.2.11 ตัวอย่างแผ่นยางและการทดสอบ5.2.11.1 ชิ้นตัวอย่างแผ่นยางสําหรับทดสอบ จะถูกตัดจากส่วนที่ผลิตยื่นเพิ่มเติมจากโครงสร้างของฝายยางที่เตรียมไว้ ตามรายละเอียดเพื่อทําการทดสอบTensile Strength และ Adhesion Strength ดังนี้5.2.11.1.1 ตัวอย่างแผ่นยาง Rubber Dam Bag Body ขนาด 50x50 ซม.จํานวน 3 ชิ้น5.2.11.1.2 ตัวอย่างแผ่นยาง Rubber Dam Carpet ขนาด 50x50 ซม.จํานวน 3 ชิ้น5.2.11.2 ชิ้นตัวอย่างแผ่นยางสําหรับการทดสอบชนิดของเนื้อยางที่เป็นฝายยาง ต้องมีส่วนผสมของยางธรรมชาติ ในส่วนที่เป็นเนื้อยางไม่น้อยกว่าร้อยละ 50โดยน้ําหนัก ดังนี้5.2.11.2.1 ตัวอย่างแผ่นยาง Rubber Dam Bag Body ขนาด 50x50 ซม.จํานวน 2 ชิ้น5.2.11.2.2 ตัวอย่างแผ่นยาง Rubber Dam Carpet ขนาด 50x50 ซม.จํานวน 2 ชิ้น หรือใช้หนังสือรับรอง ที่ผ่านการทดสอบจากหน่วยงานราชการที่สามารถตรวจสอบได้5.2.11.3 ค่าใช้จ่ายในการทดสอบทั้งหมดเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น18


5.2.12 การทดสอบการทํางานของฝายยางเมื่อผู้รับจ้างทําการติดตั้งฝายยางและอุปกรณ์ประกอบครบชุด เสร็จสมบูรณ์ตามแบบและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATIONS) จะต้องแสดงการทดสอบระบบการทํางานของฝายยาง ให้เห็นว่ามีคุณภาพใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ตามเจตนารมณ์ของ<strong>กรมชลประทาน</strong> และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุให้ความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว จึงจะถือว่าผ่านการทดสอบ ผู้รับจ้างต้องจัดหาคู่มือการใช้งาน การบํารุงรักษาฝายยางสําเร็จรูปเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษพร้อมแบบที่สมบูรณ์แล้ว (ASBUILT DRAWING) จํานวนอย่างละ 10 ชุด มอบให้แก่<strong>กรมชลประทาน</strong>เพื่อเป็นคู่มือการควบคุมและบํารุงรักษาฝายยางต่อไป พร้อมทั้งจัดให้ความรู้สาธิตวิธีการใช้งาน แก่เจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้าง ในการใช้งานการซ่อมแซม การบํารุงรักษา การปรับปรุงฝายยาง ฯลฯ สําหรับจํานวนคนที่เข้ารับการให้ความรู้สาธิตวิธีการใช้งาน ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้กําหนดให้ สําหรับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น5.2.13 เงื่อนไขการรับรองคุณภาพผู้รับจ้างต้องส่งมอบฝายยางและอุปกรณ์ประกอบครบชุด พร้อมติดตั้งในสภาพที่เป็นของใหม่มีคุณภาพดีครบถ้วนตามแบบและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะทุกประการ การประกอบและติดตั้งฝายยางพร้อมทั้งทําการทดสอบระบบการทํางานของฝายยางดังกล่าว ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาผู้เชี่ยวชาญหรือตัวแทนมาทําการทดสอบระบบการทํางานของฝายยางที่ส่งมอบตามสัญญาจนเป็นที ่เรียบร้อย และมีประสิทธิภาพตามแบบและตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะภายในเวลา 2 ปี นับตั้งแต่วันรับมอบงาน ถ้าฝายยางและอุปกรณ์ประกอบเกิดการชํารุดเสียหาย หรือขัดข้องประการใดก็ตาม อันมิใช่ความผิดของผู้ว่าจ้างแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการแก้ไขหรือเปลี ่ยนแปลงให้ใหม่จนสามารถใช้การได้ดีดังเดิมภายในกําหนดเวลาที่ผู้ว่าจ้างจะได้แจ้งให้ทราบ โดยผู้รับจ้างจะต้องไม่คิดราคาและค่าใช้จ่ายใดๆในการนี้จากผู้ว่าจ้างทั้งสิ้น และถ้าหากผู้รับจ้างดําเนินการล่าช้ากว่าที่กําหนดที่แจ้งให้ทราบดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์จะดําเนินการแก้ไขเอง โดยผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการนี้ทั้งหมดอนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้องเข้ามาทําการตรวจสอบระบบการทํางานของฝายยางและอุปกรณ์ประกอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และก่อนหมดอายุการประกันสัญญาอีก 1 ครั้ง (รวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง) ค่าใช้จ่ายต่างๆในการนี้เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น6. ระยะเวลาดําเนินการปีงบประมาณ 2554 – 25567. ระยะเวลาส่งมอบงาน720 วัน ( เจ็ดร้อยยี่สิบวัน ) นับถัดจากวันที่ผู้รับจ้างได้รับหนังสือแจ้งให้เริ่มเข้าปฏิบัติงาน19


8. วงเงินงบประมาณ270,222,600.- บาท (สองร้อยเจ็ดสิบล้านสองแสนสองหมื่นสองพันหกร้อยบาทถ้วน)9. ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ชื่อผู้ติดต่อ : นายบุญชัย ตัณฑชุณห์อีเมล์ แอดเดรส : daew35@yahoo.comโทรศัพท์/โทรสาร : 0-4435-4255ที่อยู่เจ้าของงาน/โครงการ : โครงการชลประทานนครราชสีมา 1239 ถนนสืบศิริ ตําบลในเมืองอําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 3000020


หากท่านต้องการเสนอแนะ วิจารณ์ หรือมีความเห็นเกี่ยวกับงานดังกล่าว โปรดให้ความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทางเว็บไซต์มายังหน่วยงานโดยเปิดเผยตัว ตามรายละเอียดที่อยู่ข้างต้นประกาศ ณ วันที่ ……23 พฤษภาคม 2554 สิ้นสุดการวิจารณ์วันที่ 26 พฤษภาคม 2554ลงชื่อ)..........................................................ประธานกรรมการ( นายบุญชัย ตัณฑชุณห์ )(ลงชื่อ)..........................................................กรรมการ( นายสมพงษ์ จันทรอมรพร )(ลงชื่อ)..........................................................กรรมการ( นายพิพัฒน์ นิ่มเจริญนิยม )(ลงชื่อ)..........................................................กรรมการ( นายสมศักดิ์ อุดมศิลป์ )(ลงชื่อ)..........................................................กรรมการ( นางรัตนาภรณ์ ผลกระโทก )21

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!