28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที่ 2<br />

การทบทวนวรรณกรรม<br />

จากอดีตจนถึงปัจจุบันได้มีการศึกษาเรื่องของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้และสารก่อภูมิแพ้<br />

ที่สําคัญหลายชิ ้น จากทั ้งในและต่างประเทศ พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยนั ้นมีความหลากหลาย<br />

ตามภูมิประเทศ เช่น ในประเทศออสเตรเลีย พบว่าผู ้ที่อยู่บริเวณที่แห้งกว่าในบริเวณด้านในของ<br />

ทวีป ซึ่งมีละอองเกสรและสปอร์ของเชื ้อรา Alternaria สูง จะเป็ นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

มากกว่า ผู ้ที่อยู่บริเวณชายทะเลและริมทวีปซึ่งชื ้นกว่า ในประเทศสหรัฐอเมริกาสารก่อภูมิแพ้ที่<br />

สําคัญคือ Ragweed, ประเทศในแถบสแกนดิเนเวียคือ เกสรของต้น Birch 3 ส่วนในประเทศ<br />

ไทยสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุด คือ ไรฝุ ่ น (House dust mite) 4,8 ซึ่งแบ่งเป็ นสองกลุ่มใหญ่ คือ<br />

American house dust mite, Dermatophagoides farinae และ European house dust mite,<br />

Dermatophagoides pteronyssinus.<br />

ในปี พ.ศ.2507 Voorhorst และคณะ ได้ค้นพบและพิสูจน์ว่า ตัวไร Dermatophagoides<br />

spp. คือสารก่อภูมิแพ้ที่สําคัญที่สุดในฝุ ่ นบ้าน 5 .<br />

ในปี พ.ศ.2530-2534 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้รวบรวมผู ้ป่ วยโรคภูมิแพ้<br />

ทั ้งหมด 904 ราย พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่ให้ผลบวกมากที่สุดอันดับหนึ่ง คือ หญ้าแพรก 6 .<br />

ในปี พ.ศ.2536 ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ ได้ทําการศึกษาเชื ้อราในบรรยากาศที่<br />

กรุงเทพ บริเวณรพ.พระมงกุฏเกล้า พบว่าเชื ้อราสามารถที่พบได้ตลอดปี คือ Aspergillus,<br />

Penicillium, Alternaria, ส่วน Cladosporium เป็ นเชื ้อราที่พบแตกต่างตามฤดูกาลอย่างชัดเจน<br />

โดยพบมาในช่วงปลายฤดูฝนต่อฤดูหนาว (ก.ค.-ก.ย.) 7<br />

ในปี พ.ศ.2539 อารีย์ ก้องพานิชกุล และคณะ ได้ทําการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธี<br />

สะกิดผิวหนังในคนไข้เด็กที่เป็ นโรคหอบหืด พบว่า Dermatophagoides pteronyssinus และ<br />

Dermatophagoides farinae เป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุด ที่อัตราร้อยละ 67 และ 62<br />

ตามลําดับ 12<br />

ในปี พ.ศ.2540 ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ ได้ทําการศึกษาสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยใน<br />

คนไข้โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ โดยวิธีสะกิดผิวหนัง ใน รพ.พระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร<br />

พบว่า Dermatophagoides farinae และ Dermatophagoides pteronyssinus เป็ นสารก่อภูมิแพ้<br />

ที่พบบ่อยที่สุด 4 ที่ร้อยละ 79 และ 76 ตามลําดับ<br />

ในปี พ.ศ.2544 วิรัช เกียรติศรีสกุล ได้ทําการศึกษาความชุกของสารก่อภูมิแพ้ของโรค<br />

จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในภาคใต้ของไทย พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุดคือ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!