28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยรองลงมาคือ House Dust ซึ่งโดยทั่วไปคือที่รวมเอาเศษเนื ้อเยื่อ,<br />

รังแค, ไรฝุ่ น, เศษซากแมลง, อุจจาระของสัตว์ (ไรฝุ่ น, แมลงสาบ), เส้นผม, ขนสัตว์ ซึ่งมีสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ที่สําคัญรวมอยู่ในนี ้<br />

สารก่อภูมิแพ้ที่สําคัญอีกชนิดคือ แมลงสาบ พบว่าสายพันธุ ์ที่สําคัญคือ American<br />

Cockroach (Periplaneta Americana) มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 50, German Cockroach<br />

(Blattella germanica) มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 46 ซึ่งใกล้เคียงกับการศึกษาของไทยที่ผ่านมา 4,8,12<br />

แต่แตกต่างอย่างมากจากการศึกษาของแถบประเทศยุโรปที่มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 4.6 – 11.6<br />

16,17 ทั ้งนี ้อาจเป็ นเพราะสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศ และความเป็ นอยู่ที่ต่างกัน<br />

สารก่อภูมิแพ้อื่นๆที่ได้ทําการทดสอบ คือ Johnson, Bermuda, Cat pelt, Dog<br />

epithelium, Timothy, Aspergillus, Candida albicans, Penicillium, Careless weed, Acasia,<br />

Kapok, Alternaria, Cladosporium พบว่ามีอัตราการแพ้ที่ตํ่า คือมีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 3.6 –<br />

16.8 เมื่อเทียบกับอัตราการแพ้ของ ห้าอันดับแรกข้างต้น ที่ร้อยละ 46.0 – 75.2 (ตารางที่ 2) ซึ่ง<br />

เป็ น Indoor Allergens ทั ้งหมด<br />

พบว่าสารก่อภูมิแพ้ในลําดับที่ 6 – 20 ส่วนใหญ่เป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่อยู่นอกอาคารอาศัย<br />

(Outdoor Allergens) น่าจะมีความแตกต่างตามภูมิภาค กล่าวคือ เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาที่<br />

ทําให้เขตกรุงเทพมหานคร จะมีค่าใกล้เคียงกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับ การศึกษาในคนไข้ภาคใต้<br />

พบว่า แตกต่างกันอย่างมาก ตามตารางที่ 5 ซึ่งผู ้วิจัยคิดว่าน่าจะสัมพันธ์กับวิถีชีวิต<br />

สภาพแวดล้อมนอกบ้าน ที่แตกต่างกันตามภูมิประเทศ และสังคม นอกจากนี ้การสัมผัสกับสัตว์<br />

อาชีพของผู ้รับการทดสอบ ก็น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับผลดังกล่าวด้วย<br />

การศึกษาครั ้งนี ้ได้มีการบันทึกภูมิลําเนาของคนไข้เอาไว้ และได้แสดงให้เห็นแผนภูมิ แบ่ง<br />

ระหว่างคนไข้ที่มีภูมิลําเนาในกรุงเทพมหานคร ซึ่งคือเขตสายไหมเป็ นส่วนใหญ่ และคนไข้ที่มี<br />

ภูมิลําเนาต่างจังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วคือจังหวัดที่อยู่รอบนอกเช่น ปทุมธานี นครนายก ผลที่ได้มา<br />

ไม่แตกต่างกันมาก เนื่องจากคนพื ้นที่รอบเขตสายไหมและจังหวัดดังกล่าวมีระยะทางใกล้เคียงกัน<br />

จึงอาจไม่มีความแตกต่างทางด้านภูมิประเทศ และสิ่งแวดล้อม<br />

ข้อสรุป สารก่อภูมิแพ้ที่ผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในคลินิกโรคภูมิแพ้ โรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช ที่พบบ่อยที่สุด คือ ไรฝุ ่ น Dermatophagoides pteronyssinus และ<br />

Dermatophagoides farinae รองลงมาคือ ฝุ ่ นบ้าน และแมลงสาบ ตามลําดับ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!