28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

บทที่ 5<br />

อภิปรายผล<br />

ในการศึกษาครั ้งนี ้ผู ้วิจัยพบว่า จากจํานวนผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ทั ้งหมด 326 คน ซึ่งคนไข้<br />

ทั ้งหมดมีเคยมีอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ และได้เคยตรวจกับแพทย์โสต ศอ นาสิก ก่อนที่จะ<br />

เข้ารับการตรวจทดสอบสารก่อภูมิแพ้ทางผิวหนัง คนไข้ส่วนใหญ่มีภูมิลําเนาในเขตสายไหม และ<br />

บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล บางส่วนมาจากจังหวัดใกล้เคียง เช่นปทุมธานี นครนายก อยุธยา<br />

สระบุรี ซึ่งเป็ นเขตกรุงเทพมหานครรอบนอก และปริมณฑล อายุคนไข้ส่วนใหญ่ของคลินิกโรค<br />

ภูมิแพ้อยู่ในช่วง 40-50 ปี โดยเป็ นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย<br />

คนไข้ทุกรายได้รับการทดสอบโดยวิธีสะกิดผิวหนัง (Skin Prick Test) ซึ่งได้รับการยอมรับ<br />

ว่ามีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง<br />

จากการศึกษาพบว่า สารก่อภูมิแพ้ที่มีการแพ้มากที่สุดเป็ นตัวไรฝุ ่ นทั ้งสองสายพันธุ ์ที่พบ<br />

บ่อย คือ Dermatophagoides pteronyssinus และ Dermatophagoides farinae ส่วนอันดับ<br />

รองลงมาเป็ น ฝุ ่ นบ้าน และแมลงสาบอเมริกัน แมลงสาบเยอรมัน ในอัตราการแพ้ ร้อยละ<br />

75,74,65,50,46 ตามลําดับ ผลที่ได้นั ้น สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

และภาคใต้ ซึ่งทําโดย ภาณุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ 4 ในปี พ.ศ.2540 ที่ รพ.พระมงกุฎเกล้า, วิรัช<br />

เกียรติศรีสกุล ในปี พ.ศ.2544 8 ศึกษาคนไข้ที่มีภูมิลําเนาภาคใต้ ซึ่งก็พบว่าไรฝุ ่ น ฝุ ่ นบ้าน และ<br />

แมลงสาบเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่ให้ผลบวกบ่อยที่สุดเช่นกัน นอกจากนี ้มีการศึกษาในคนไข้เด็กที่เป็ น<br />

12<br />

หอบหืด ที่โรงพยาบาลศิริราชพบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุดก็ยังเป็ นตัวไรฝุ ่ นทั ้งสองสายพันธุ<br />

จะเห็นได้ว่าตัวไรฝุ ่ นนั ้นเป็ นตัวกระตุ ้นการแพ้ที่สําคัญในหลายพื ้นที่ และยังสอดคล้องกับผล<br />

การศึกษาของต่างประเทศในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บ่งชี ้ว่าตัวไรฝุ ่ นเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่<br />

13,15<br />

สําคัญที่สุดในภูมิภาคนี ้<br />

ตัวไรฝุ ่ นเป็ นสัตว์ขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เจริญเติบโตได้ดีในอุณหภูมิร้อน<br />

ชื ้นแบบประเทศไทย กินเศษสะเก็ดผิวหนัง รังแคจากมนุษย์เป็ นอาหาร โดยพบว่าสายพันธุ ์ที่พบ<br />

บ่อยในประเทศไทยคือ Dermatophagoides pteronynissinus 14 หรือ European House dust<br />

mites แต่พบว่าอัตราการแพ้ในทั ้งสองสายพันธุ์เกือบเท่ากันคือ Mite P = 245 และ Mite F = 241<br />

คนจาก 326 คน (ตารางที่2) สิ่งนี ้อาจจะเกิดจาก Cross reaction ระหว่างสายพันธุ ์ ซึ่งสอดคล้อง<br />

กับผลการศึกษาอื่นๆเช่นกัน 7,8,12

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!