28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานการวิจัยเพื ่อสอบวุฒิบัตร<br />

แสดงความรู ้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม<br />

สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

เรื่อง<br />

การศึกษาความชุกสารก่อภูมิแพ้ของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

ใน โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ.<br />

Aeroallergen sensitivity of allergic rhinitis patients at Bhumibol<br />

Adulyadej Hospital<br />

โดย<br />

นายแพทย์วิรัช จิตสุทธิภากร<br />

สถาบันฝึ กอบรม<br />

กองโสต ศอ นาสิกกรรม<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ<br />

พุทธศักราช 2552


คํารับรองจากสถาบันฝึ กอบรม<br />

ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายงานฉบับนีเป็ ้ นผลงานของ นายแพทย์วิรัช จิตสุทธิภากร<br />

ที่ได้ทําการวิจัยและติดตามสรุปผลการวิจัยภายใต้การให้คําปรึกษาและความควบคุมของข้าพเจ้าโดย<br />

เป็ นไปตามหลักเกณฑ์การวิจัย เพื่อสอบวุฒิบัตรแสดงความรู ้ ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวช<br />

กรรม สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย ณ กองโสต ศอ<br />

นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ ตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2549 – 2552 จริง<br />

................................................... อาจารย์ที่ปรึกษา<br />

( นาวาอากาศเอกเศิกสันต์ ไชยสาม )<br />

...................................................<br />

(นาวาอากาศเอกอรรถพล พัฒนครู)<br />

ผู ้อํานวยการกองโสต ศอ นาสิกกรรม<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ.


กิตติกรรมประกาศ<br />

รายงานการวิจัยฉบับนี ้สําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาของอาจารย์หลายท่านที่ได้ให้<br />

คําแนะนําและตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ<br />

ขอกราบขอบพระคุณ นาวาอากาศเอกพิเศษอรรถพล พัฒนครู ผู ้อํานวยการกองโสต ศอ นาสิก<br />

กรรม รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ. นาวาอากาศเอกเศิกสันต์ ไชยสาม อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย ที่ได้<br />

ให้ความกรุณาเอาใจใส่ให้คําแนะนํา และตรวจสอบแก้ไขรายงานนี ้จนสําเร็จลุล่วง ขอกราบ<br />

ขอบพระคุณ นาวาอากาศเอกหญิงสุภาภรณ์ กฤษณีไพบูลย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการด้านสถิติ<br />

ขอบพระคุณเจ้าหน้าที่แผนกโสต ศอ นาสิกกรรมทุกท่าน ที่กรุณาสนับสนุนข้อมูลต่างๆ ของ<br />

ผู ้ป่ วยที่ใช้ในงานวิจัยนี ้ผู ้ทําการวิจัยขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี ้<br />

นายแพทย์วิรัช จิตสุทธิภากร<br />

ผู ้ทําการวิจัย


คํานํา<br />

โรคภูมิแพ้เป็ นโรคที่พบบ่อย เมื่อเป็ นแล้วก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็ นจํานวนมาก รักษาให้<br />

หายขาดได้ยาก จําเป็ นต้องใช้เวลารักษาเป็ นเวลานาน การรักษาที่ดีที่สุดคือการป้ องกันไม่ให้เกิด<br />

อาการ โดยหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ที่กระตุ ้นให้เกิดอาการ<br />

สารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในปัจจุบันมีหลายชนิด ผู ้ป่ วยแต่ละคนอาจจะแพ้ต่อสารต่างชนิดกัน<br />

ดังนั ้นการทดสอบเพื่อให้ทราบว่าตนเองแพ้สารตัวใดจึงเป็ นประโยชน์ในการป้ องกันไม่ให้เกิดอาการ<br />

ตั ้งแต่แรกได้ ซึ่งทางคลินิกโรคภูมิแพ้ กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้มีการ<br />

ทดสอบสารก่อภูมิแพ้มาเป็ นเวลานาน อย่างต่อเนื่อง มีผู ้ป่ วยมารับการทดสอบและรักษาเป็ นจํานวน<br />

มากในแต่ละปี แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจน<br />

การศึกษาวิจัยครั ้งนี ้จึงมุ ่งเน้นในการรวบรวมข้อมูลการตรวจทดสอบสารก่อภูมิแพ้ ณ คลินิก<br />

โรคภูมิแพ้ กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ระหว่างปี พ.ศ.2549 ถึง พ.ศ.2551<br />

เพื่อวิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้ที่สําคัญ และพบบ่อย ไว้เป็ นข้อมูลในการแนะนํารักษาผู ้ป่ วยต่อไป<br />

นายแพทย์วิรัช จิตสุทธิภากร<br />

แพทย์ประจําบ้านชั ้นปี ที่ 3 สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

ผู ้ทําการวิจัย


บทคัดย่อ<br />

ชื่อเรื่อง การศึกษาความชุกสารก่อภูมิแพ้ของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

ใน โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ.<br />

ชื่อผู ้วิจัย นพ.วิรัช จิตสุทธิภากร<br />

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความชุกสารก่อภูมิแพ้ ในผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ในโรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ.<br />

แบบวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา<br />

วัสดุและวิธีการ ทําการศึกษาผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้จํานวน 326 ราย ที่ห้องตรวจผู ้ป่ วยนอก<br />

กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ. กรุงเทพมหานคร<br />

ตั ้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 254 9 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ผู ้ป่ วยทุกรายมีประวัติ<br />

อาการและอาการแสดงเข้าได้กับโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้และให้ผลบวกต่อสารก่อ<br />

ภูมิแพ้อย่างน้อย 1 ชนิด จากการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธีสะกิด ( Skin prick<br />

test) ด้วยนํ ้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในอากาศจํานวน 18 ชนิด เกณฑ์การ<br />

อ่านผลการทดสอบเป็ นบวก คือ รอยนูน (wheal) มากกว่าหรือเท่ากับ 3 มิลลิเมตร<br />

และมีผื่นแดง (flare)รอบๆ<br />

ผลการศึกษา ผู ้ป่ วยทั ้งหมด 326 ราย เป็ นชาย 126 ราย (ร้ อยละ 38.7) หญิง 200 ราย (ร้ อยละ<br />

61.3) มีช่วงอายุระหว่าง 4-90 ปี (อายุเฉลี่ย 38.5 ปี) จากการทดสอบภูมิแพ้ทาง<br />

ผิวหนังโดยวิธีสะกิดพบว่า จํานวนร้อยละของผู ้ป่ วยที่ให้ผลบวกต่อสารก่อภูมิแพ้มาก-<br />

น้อยตามลําดับคือ Dermatophagoides pteronyssinus 75.15%,<br />

Dermatophagoides farinae 73.93%, House dust 65.03%, American<br />

cockroach 50.00%, German cockroach 46.01%, Johnson 16.78%, Bermuda<br />

15.03%, Cat pelt 14.72%, Dog epithelium 14.42%, Timothy 13.50%,<br />

Aspergillus 11.96%, Candida albicans 11.35%, Penicillium 11.04%, Careless<br />

weed 9.51%, Acasia 7.06%, Kapok 6.13%, Alternaria 5.21%, Cladosporium<br />

3.68%.<br />

สรุปผลการศึกษา สารก่อภูมิแพ้ที่ผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช แพ้บ่อยที่สุดคือ ไรฝุ ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus,<br />

Dermatophagoides farina) รองลงมาคือ ฝุ ่ นบ้าน และ แมลงสาบ ตามลําดับ


Abstract<br />

Title: Aeroallergen sensitivity of allergic rhinitis patients at Bhumibol Adulyadej<br />

Hospital<br />

Name of researchers: Wirach Chitsuthipakorn, MD.<br />

Objectives: To study the prevalence of sensitization to common aeroallergens in patients<br />

with allergic rhinitis in Bhumibol Adulyadej Hospital<br />

Design: Descriptive study<br />

Materials and Methods:<br />

326 patients diagnosed as having allergic rhinitis by clinical presentation<br />

and skin prick test were studied at the Department of Otolaryngology,<br />

Bhumibol Adulyadej Hospital, Bangkok from June 2006 to May 2008. They<br />

were evaluated for skin test reactivity to common aeroallergens. Positive skin<br />

test reactivity was defined as mean wheal diameter ≥3 mm with surrounding<br />

erythema.<br />

Results: The 326 allergic rhinitis patients comprised of 126 males and 200 females.<br />

Age range was 4-90 years, mean 38.5 years. The prevalence of sensitization<br />

to various common aeroallergens was indicated by the percentages of<br />

patients with positive skin test : Dermatophagoides pteronyssinus 75.15%,<br />

Dermatophagoides farinae 73.93%, House dust 65.03%, American<br />

cockroach 50.00%, German cockroach 46.01%, Johnson 16.78%, Bermuda<br />

15.03%, Cat pelt 14.72%, Dog epithelium 14.42%, Timothy 13.50%,<br />

Aspergillus 11.96%, Candida albicans 11.35%, Penicillium 11.04%, Careless<br />

weed 9.51%, Acasia 7.06%, Kapok 6.13%, Alternaria 5.21%, Cladosporium<br />

3.68%.<br />

Conclusion: The most common allergen sensitized in Bhumibol Adulyadej Hospital<br />

patients with allergic rhinitis was Dust mites (Dermatophagoides<br />

pteronyssinus, Dermatophagoides farinae) followed by House dust and<br />

Cockroach.


สารบัญ<br />

คํารับรอง<br />

บทคัดย่อภาษาไทย<br />

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

คํานํา<br />

สารบัญเรื่ อง<br />

สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ภาคผนวก<br />

แบบบันทึกข้อมูล/แบบสอบถาม<br />

เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย<br />

หน้า


บทที่ 1<br />

หลักการและเหตุผล<br />

ความสําคัญและที ่มาของปัญหา<br />

ในอดีตจนถึงปัจจุบัน โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ถือเป็ นโรคที่มีอุบัติการณ์และความชุกสูง<br />

มากโรคหนึ่ง การรักษาใช้ระยะเวลานาน ก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายต่อเนื่องแก่คนไข้เป็ นอย่างมาก<br />

ซึ่งจากการศึกษาที่ผ่านมาทั่วโลกพบว่า อัตราความชุกของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ อยู่ระหว่าง<br />

ร้ อยละ 10-25 ในประชากรทั่วไป 1 ในประเทศไทยมีการศึกษาโดย อ.ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ<br />

ในปี พ.ศ. 2538 พบอัตราความชุกร้อยละ 20 2 .<br />

โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้เป็ นโรคที่เกิดเนื่องจากระบบภูมิคุ ้มกันของร่างกายที่มีการ<br />

ทํางานที่ผิดปกติไป ทําให้เกิดอาการได้กับอวัยวะหลายแห่ง เช่น จมูก หลอดลม ผิวหนังและตา แต่<br />

โรคภูมิแพ้ที่จมูกเป็ นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ประชาชนทั่วไปมักเรียกโรคนี ้ว่า “โรคแพ้อากาศ”<br />

สาเหตุของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้อาจจําแนกได้เป็ นสามกลุ่มด้วยกัน คือ พันธุกรรม สารก่อ<br />

ภูมิแพ้ สาเหตุเสริมอื่นๆ โดยสาเหตุจากสารก่อภูมิแพ้ (allergen) เป็ นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด พบว่า<br />

สิ่งที่ผู ้ป่ วยอาจจะแพ้ได้นั ้นมีหลายชนิด ทั ้งที่อยู่ในอากาศเช่น ฝุ ่ นบ้าน ตัวไรฝุ ่ น เกสรของพืชชนิด<br />

ต่างๆ ชิ ้นส่วนและสิ่งขับถ่ายของแมลงที่อาศัยอยู่ในบ้าน เช่น แมลงสาบ ยุง แมลงวัน มด และเชื ้อ<br />

ราเป็ นต้น อีกกลุ่มหนึ่งซึ่งอยู่ในอาหารเช่น นมวัว ไข่ขาว ถั่วต่างๆ หน่อไม้ เนื ้อวัว และอาหารทะเล<br />

จากสถิติผู ้ป่ วยที่เข้ามารับการทดสอบภูมิแพ้ผิวหนัง ในคลินิกภูมิแพ้ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช<br />

ระหว่างปี 2549-2551 มีทั ้งหมด447 ราย ซึ่งถือว่ามีจํานวนมาก จึงมีแนวคิดที่จะศึกษาว่าสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ที่พบว่าแพ้มากที่สุดในคลินิกโรคภูมิแพ้ของโรงพยาบาลภูมิพลคือชนิดใด ซึ่งจะมีประโยชน์<br />

ในการวางแผนการรักษา ตลอดจนการแนะนําคนไข้ในเรื่องของการปฏิบัติตัว และการหลีกเลี่ยง<br />

สารก่อภูมิแพ้นั ้นๆ ต่อไป.<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

เพื่อศึกษาความชุกสารก่อภูมิแพ้ของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบ<br />

จากภูมิแพ้


บทที่ 2<br />

การทบทวนวรรณกรรม<br />

จากอดีตจนถึงปัจจุบันได้มีการศึกษาเรื่องของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้และสารก่อภูมิแพ้<br />

ที่สําคัญหลายชิ ้น จากทั ้งในและต่างประเทศ พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยนั ้นมีความหลากหลาย<br />

ตามภูมิประเทศ เช่น ในประเทศออสเตรเลีย พบว่าผู ้ที่อยู่บริเวณที่แห้งกว่าในบริเวณด้านในของ<br />

ทวีป ซึ่งมีละอองเกสรและสปอร์ของเชื ้อรา Alternaria สูง จะเป็ นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

มากกว่า ผู ้ที่อยู่บริเวณชายทะเลและริมทวีปซึ่งชื ้นกว่า ในประเทศสหรัฐอเมริกาสารก่อภูมิแพ้ที่<br />

สําคัญคือ Ragweed, ประเทศในแถบสแกนดิเนเวียคือ เกสรของต้น Birch 3 ส่วนในประเทศ<br />

ไทยสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุด คือ ไรฝุ ่ น (House dust mite) 4,8 ซึ่งแบ่งเป็ นสองกลุ่มใหญ่ คือ<br />

American house dust mite, Dermatophagoides farinae และ European house dust mite,<br />

Dermatophagoides pteronyssinus.<br />

ในปี พ.ศ.2507 Voorhorst และคณะ ได้ค้นพบและพิสูจน์ว่า ตัวไร Dermatophagoides<br />

spp. คือสารก่อภูมิแพ้ที่สําคัญที่สุดในฝุ ่ นบ้าน 5 .<br />

ในปี พ.ศ.2530-2534 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้รวบรวมผู ้ป่ วยโรคภูมิแพ้<br />

ทั ้งหมด 904 ราย พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่ให้ผลบวกมากที่สุดอันดับหนึ่ง คือ หญ้าแพรก 6 .<br />

ในปี พ.ศ.2536 ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ ได้ทําการศึกษาเชื ้อราในบรรยากาศที่<br />

กรุงเทพ บริเวณรพ.พระมงกุฏเกล้า พบว่าเชื ้อราสามารถที่พบได้ตลอดปี คือ Aspergillus,<br />

Penicillium, Alternaria, ส่วน Cladosporium เป็ นเชื ้อราที่พบแตกต่างตามฤดูกาลอย่างชัดเจน<br />

โดยพบมาในช่วงปลายฤดูฝนต่อฤดูหนาว (ก.ค.-ก.ย.) 7<br />

ในปี พ.ศ.2539 อารีย์ ก้องพานิชกุล และคณะ ได้ทําการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธี<br />

สะกิดผิวหนังในคนไข้เด็กที่เป็ นโรคหอบหืด พบว่า Dermatophagoides pteronyssinus และ<br />

Dermatophagoides farinae เป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุด ที่อัตราร้อยละ 67 และ 62<br />

ตามลําดับ 12<br />

ในปี พ.ศ.2540 ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ ได้ทําการศึกษาสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยใน<br />

คนไข้โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ โดยวิธีสะกิดผิวหนัง ใน รพ.พระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร<br />

พบว่า Dermatophagoides farinae และ Dermatophagoides pteronyssinus เป็ นสารก่อภูมิแพ้<br />

ที่พบบ่อยที่สุด 4 ที่ร้อยละ 79 และ 76 ตามลําดับ<br />

ในปี พ.ศ.2544 วิรัช เกียรติศรีสกุล ได้ทําการศึกษาความชุกของสารก่อภูมิแพ้ของโรค<br />

จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในภาคใต้ของไทย พบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุดคือ


Dermatophagoides farinae และ Dermatophagoides pteronyssinus ที่ความชุกร้อยละ 80.4<br />

และ 79.6 ตามลําดับ 8 .


บทที่ 3<br />

ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

รูปแบบการวิจัย<br />

การศึกษาครั ้งนี เป็ ้ นการศึกษาเชิงพรรณนา (<br />

Descriptive study)<br />

สถานที ่ทําการศึกษา<br />

การวิจัยชิ ้นนี ้ทําขึ ้น ณ คลินิกโรคภูมิแพ้ กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช พอ.บนอ. กรุงเทพมหานคร ตั ้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551<br />

โดยเป็ นการศึกษาเชิงพรรณนาในผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ที่มาตรวจและทดสอบสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ ซึ่งมีเกณฑ์การคัดเลือกผู ้ป่ วยดังต่อไปนี ้<br />

เกณฑ์การคัดเลือกเข้าในการศึกษา (inclusion criteria)<br />

1. ผู ้ป่ วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็ นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้โดยแพทย์โสต ศอ นาสิก ณ<br />

กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งประวัติอาการของโรคจมูกอักเสบจาก<br />

ภูมิแพ้ 2 อาการขึ ้นไปคือ คัดจมูก คันจมูก จาม นํ ้ามูกไหล และ/หรือ คันตา นอกจากนี ้อาการ<br />

มักจะมากกว่าหนึ่งชั่วโมง 9<br />

2. ให้ผลบวกจากการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง โดยวิธีสะกิดอย่างน้อย 1 ชนิดของสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ ไม่นับรวม positive control โดยเกณฑ์การอ่านผลการทดสอบเป็ นบวก คือ วัดรอยนูนและ<br />

รอยแดง ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 3 มิลลิเมตร 10<br />

เกณฑ์การคัดแยกออกจากการศึกษา (exclusion criteria)<br />

1. มีข้อห้ามของการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง เช่น โรคผิวหนังรุนแรง,<br />

Dermatographism อย่างรุนแรง, ผู ้ป่ วยไม่สมัครใจ, ผู ้ป่ วยไม่สามารถหยุดยา antihistamines<br />

หรือยาอื่นๆ ที่มีผลต่อการทดสอบได้, โรคหืดรุนแรง, ตั ้งครรภ์, ผู ้ป่ วยที่ต้องรับประทานยา betablockers<br />

11 . ผู ้ป่ วยภูมิคุ ้มกันบกพร่อง ผู ้ป่ วยเรื ้อรังชนิดร้ายแรง 4<br />

2. ให้ผลลบจากการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธีสะกิด ทั ้ง 18 ชนิด<br />

3. ให้ผลบวกลวงจากการทดสอบกับ normal saline หรือ จากสาเหตุอื่นๆ เช่น<br />

dermographism, irritant reaction, nonspecific enhancement จากปฏิกิริยาที่มาจากบริเวณ<br />

ทดสอบที่ใกล้เคียง 9


4. .ให้ผลลบลวงจากการทดสอบกับ histamine<br />

ประชากรที ่ทําการศึกษา<br />

ประชากรเป้ าหมาย<br />

ผู ้ป่ วยที่เป็ นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ที่เข้ามารับการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง<br />

ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

ประชากรตัวอย่าง<br />

ผู ้ป่ วยที่เป็ นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ที่เข้ามารับการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง<br />

ทุกคน ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชในช่วงเดือน มิถุนายน 2549 ถึงเดือน<br />

พฤษภาคม 2551<br />

ขนาดตัวอย่าง<br />

ผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช ในช่วงเดือน มิถุนายน 2549 ถึง พฤษภาคม 2551 จํานวน 326 คน<br />

วิธีการเลือกตัวอย่าง<br />

จะทําการเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น (non probability sampling)<br />

โดยจะทําการเลือกผู ้ป่ วยทั ้งหมดที่เข้ามารับการรักษาในช่วงเดือน มิถุนายน<br />

2549 ถึง พฤษภาคม 2551<br />

การเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

ผู ้วิจัยจะเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการตรวจ จากแบบเก็บข้อมูลการวิจัยตามภาคผนวก ซึ่งมี<br />

การบันทึกชนิดของสารก่อภูมิแพ้ที่ใช้ และระดับการแพ้<br />

ขั้นตอนการศึกษา<br />

1. ผู ้ป่ วยทุกรายได้รับการซักประวัติและตรวจร่างกาย โดยแพทย์โสต ศอ นาสิก<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช และสงสัยว่าจะเป็ น โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

2. ผู ้ป่ วยได้รับการตรวจเพิ่มเติมด้วยการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธีสะกิด ซึ่งมี<br />

ขั ้นตอนดังต่อไปนี ้คือ<br />

- ให้ผู ้ป่ วยหยุดยา antihistamine และยาอื่นๆ ที่มีผลต่อการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง<br />

นาน 3-10 วัน ขึ ้นอยู่กับตัวยา<br />

Drugs affecting the performance of skin tests


Treatment<br />

Suppression Degree Duration (days) Clinical Significance<br />

Cetirizine ++++ 3–10 Yes<br />

Chlorpheniramine ++ 1–3 Yes<br />

Desloratadine ++++ 3–10 Yes<br />

Hydroxyzine +++ 1–10 Yes<br />

Levocetirizine ++++ 3–10 Yes<br />

Loratadine ++++ 3–10 Yes<br />

Promethazine ++ 1–3 Yes<br />

Ketotifen ++++ >5 Yes<br />

Cimetidine/ranitidine 0 to + No<br />

Imipramines ++++ >10 Yes<br />

นํามาจาก: Allergic Rhinitis and its Impact on Asthma (ARIA) 2008 Update<br />

(in collaboration with the World Health Organization, GA2LEN and AllerGen)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

- ทําการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธีสะกิด โดยใช้นํ ้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้จาก<br />

บริษัท GREER Laboratories, USA. 18 ชนิด คือ:<br />

ฉลากนํ ้ายาที่ใช้ทดสอบ ชื่อภาษาไทย<br />

Bermuda “Cynodon Dactylon” 10000 BAU/ml<br />

หญ้าแพรก<br />

Johnson “Sorghum Halepense” 1:20 w/v<br />

หญ้าพง<br />

Acasia 1:40 w/v<br />

กระถินณรงค์<br />

Timothy “Phleum Pratense” 10000 BAU/ml<br />

หญ้ าแห้ง<br />

Careless weed “Amaranthus Hybridus” 1:40 w/v<br />

วัชพืช, ผักโขม<br />

Cat pelt 10,000 BAU/ml<br />

ขนแมว<br />

Dog epithelium Mixed breeds 1:20 w/v<br />

เศษผิวหนังสุนัข<br />

House dust 1:2 w/v<br />

ฝุนบ้าน<br />

Dermatophagoides pteronyssinus 10,000 AU/ml<br />

ไรฝุนชนิดหนึ่ง<br />

Dermatophagoides farinae 10,000 AU/ml<br />

ไรฝุนชนิดหนึ่ง<br />

Aspergillus mix 1:20 w/v<br />

รา<br />

Alternaria Tenuis 1:20 w/v<br />

รา<br />

Cladosporium Herbarum 1:40 w/v<br />

รา<br />

Candida Albicans 1:20 w/v<br />

รา


Penicillium mix 1:20 w/v<br />

Kapok seed 1:20 w/v<br />

American cockroach 1:20 w/v<br />

German cockroach 1:20 w/v<br />

รา<br />

นุ่น<br />

แมลงสาบอเมริกัน<br />

แมลงสาบเยอรมัน<br />

นํ ้ายาเปรียบเทียบผลบวกใช้ Histamine 10 mg/ml ของ Hollister-Stier Lab.,USA.<br />

และใช้ normal saline จากกองเวชภัณฑ์ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช เป็ นนํ ้ายาเปรียบเทียบผลลบ<br />

- อ่านผลการทดสอบที่ 15-20 นาที<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยจะนําเสนอในรูป<br />

ของตาราง จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อัตราความชุกของสารก่อภูมิแพ้<br />

และ 95% Confident Interval ของอัตราความชุกของสารก่อภูมิแพ้


บทที่ 4<br />

ผลการศึกษา<br />

ผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ที่ได้เข้ารับการทดสอบระหว่าง เดือนมิถุนายน พ.ศ.<br />

2549 ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551มีทั ้งหมด 447 คน เมื่อนําเกณฑ์การคัดเลือกเข้า และเกณฑ์<br />

คัดออกมากําหนด จะคงเหลือผู ้ป่ วยที่นํามาคํานวณทางสถิติ จํานวน 326 คน แบ่งเป็ นชาย 126<br />

ราย (ร้ อยละ 38.7) และหญิง 200 ราย (ร้ อยละ 61.3) ช่วงอายุระหว่าง 4-90 ปี (อายุเฉลี่ย 38. 56<br />

ปี) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16.11 ปี) มีภูมิลําเนาในกรุงเทพ 203 คน (ร้ อยละ 62.3 ) และ<br />

ต่างจังหวัด 123 คน (ร้ อยละ 37.7). รายละเอืยด ดังแสดงในตารางที่ 1<br />

จากการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังโดยวิธีสะกิด ( skin prick test) โดยใช้นํ ้ายาสกัดจาก<br />

สารก่อภูมิแพ้ของบริษัท GREER Laboratories, USA. 18 ชนิดในผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

พบว่า จํานวนร้อยละของผู ้ป่ วย ทั ้งหมด 326 คน ที่ให้ผลบวกต่อสารก่อภูมิแพ้ เรียงตามลําดับ มี<br />

ดังนี ้ คือ Dermatophagoides pteronyssinus 75.15%, Dermatophagoides farinae 73.93%,<br />

House dust 65.03%, American cockroach 50.00%, German cockroach 46.01%, Johnson<br />

16.78%, Bermuda 15.03%, Cat pelt 14.72%, Dog epithelium 14.42%, Timothy 13.50%,<br />

Aspergillus 11.96%, Candida albicans 11.35%, Penicillium 11.04%, Careless weed<br />

9.51%, Acasia 7.06%, Kapok 6.13%, Alternaria 5.21%, Cladosporium 3.68%.<br />

(รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2)<br />

เมื่อแบ่งตามภูมิลําเนาของผู ้ป่ วยที่ได้ทําการทดสอบพบว่า ผู ้ป่ วยที่มีภูมิลําเนาอยู่ใน<br />

จังหวัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 203 คนมีการแพ้ต่อสารก่อภูมิแพ้ดังนี ้ Dermatophagoides<br />

pteronyssinus 75.86%, Dermatophagoides farinae 72.91%, House dust 62.56%,<br />

American cockroach 44.33%, German cockroach 39.90%, Bermuda 17.24%, Johnson<br />

16.75%, Dog epithelium 14.78%, Cat pelt 14.29%, Candida albicans 14.29%, Timothy<br />

14.29%, Aspergillus 11.82%, Penicillium 9.85%, Careless weed 7.39%, Acasia 6.40%,<br />

Kapok 6.40%, Alternaria 3.45%, Cladosporium 2.46% (รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3)<br />

เมื่อแบ่งตามภูมิลําเนาของผู ้ป่ วยที่อยู่ในต่างจังหวัด จํานวน 123 คน มีการแพ้ต่อสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ ดังนี Dermatophagoides ้<br />

farinae 75.61%, Dermatophagoides pteronyssinus<br />

73.98%, House dust 69.11%, American cockroach 59.35%, German cockroach 56.10%,<br />

Johnson 17.07%, Cat pelt 15.45%, Dog epithelium 13.82%, Penicillium 13.01%,<br />

Careless weed 13.01%, Aspergillus 12.20%, Timothy 12.20%, Bermuda 11.38%,


Acasia 8.13%, Alternaria 8.13%, Candida albicans 6.50%, Cladosporium 5.69%, Kapok<br />

5.69% ดังตารางที่ 4<br />

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะทั่วไปของผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้<br />

ลักษณะทั ่วไปของผู ้ป่ วย จํานวน ร้ อยละ<br />

อายุ (ปี)<br />

0 - 10 11 3.37<br />

11 - 20 41 12.58<br />

21 - 30 54 16.56<br />

31 - 40 57 17.48<br />

41 - 50 84 25.77<br />

51 - 60 57 17.48<br />

61 - 70 14 4.29<br />

71 - 80 6 1.84<br />

81 - 90 2 0.61<br />

รวม 326 100<br />

อายุตํ่าสุด 4<br />

อายุสูงสุด 90<br />

อายุเฉลี่ย 38.56<br />

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16.11<br />

เพศ<br />

ชาย 126 38.7<br />

หญิง 200 61.3<br />

รวม 326 100<br />

ภูมิลําเนา<br />

กรุงเทพมหานคร 203 62.3<br />

จังหวัดอื่นๆ 123 37.7<br />

รวม 326 100


ตารางที่ 2 แสดงจํานวน และร้อยละของสารก่อภูมิแพ้ที่เกิดผลบวก จากผู ้ป่ วย 326 คน<br />

สารก่อภูมิแพ้ จํานวน ร้ อยละ 95% CI ของอัตราความชุกของสารก่อภูมิแพ้<br />

Mite P 245 75.15 72.81 - 77.49<br />

Mite F 241 73.93 71.50 – 76.36<br />

House dust 212 65.03 61.97 – 68.09<br />

cockroach amer 163 50.00 46.16 – 53.84<br />

cockroach germ 150 46.01 42.03 – 49.99<br />

Johnson 55 16.78 13.16 – 20.58<br />

Bermuda 49 15.03 11.45 – 18.61<br />

Cat pelt 48 14.72 11.17 – 18.27<br />

Dog epithelium 47 14.42 10.89 – 17.95<br />

Timothy 44 13.50 10.05 – 16.95<br />

Aspergillus 39 11.96 8.66 – 15.26<br />

Candida 37 11.35 8.11 – 14.59<br />

Penicillium 36 11.04 7.83 – 14.25<br />

Careless 31 9.51 6.48 – 12.54<br />

Acasia 23 7.06 4.38 – 9.74<br />

Kapok 20 6.13 3.61 – 8.65<br />

Alternaria 17 5.21 2.86 – 7.56<br />

Cladosporium 12 3.68 1.67 – 5.69


ตารางที่ 3 แสดงจํานวน และร้อยละของสารก่อภูมิแพ้ที่เกิดผลบวก<br />

จากผู ้ป่ วยที่มีภูมิลําเนาใน กรุงเทพมหานครจํานวน 203 คน<br />

สารก่อภูมิแพ้ จํานวน ร้ อยละ 95% CI ของอัตราความชุกของสารก่อภูมิแพ้<br />

Mite P 154 75.86 72.97 - 78.75<br />

Mite F 148 72.91 69.73 – 76.09<br />

House dust 127 62.56 58.49 – 66.63<br />

cockroach amer 90 44.33 39.23 – 49.43<br />

cockroach germ 81 39.90 34.68 – 45.12<br />

Bermuda 35 17.24 12.51 – 21.97<br />

Johnson 34 16.75 12.06 – 21.44<br />

dog epithelium 30 14.78 10.27 – 19.29<br />

Cat pelt 29 14.29 9.83 – 18.75<br />

candida 29 14.29 9.83 – 18.75<br />

Timothy 29 14.29 9.83 – 18.75<br />

Aspergillus 24 11.82 7.65 – 15.99<br />

penicillium 20 9.85 5.96 – 13.74<br />

careless 15 7.39 3.93 – 10.85<br />

Acasia 13 6.40 3.15 – 9.66<br />

kapok 13 6.40 3.15 – 9.66<br />

Alternaria 7 3.45 0.98 – 5.92<br />

cladosporium 5 2.46 0.36 – 4.56


ตารางที่ 4 แสดงจํานวน และร้อยละของสารก่อภูมิแพ้ที่เกิดผลบวก<br />

จากผู ้ป่ วยที่มีภูมิลําเนาใน ต่างจังหวัดจํานวน 123 คน<br />

สารก่อภูมิแพ้ จํานวน ร้ อยละ 95% CI ของอัตราความชุกของสารก่อภูมิแพ้<br />

Mite F 93 75.61 71.86 – 79.36<br />

Mite P 91 73.98 70.02 – 77.94<br />

House dust 85 69.11 64.57 – 73.65<br />

cockroach amer 73 59.35 53.82 – 64.88<br />

cockroach germ 69 56.10 50.29 – 61.91<br />

Johnson 21 17.07 11.02 – 23.13<br />

Cat pelt 19 15.45 9.58 – 21.32<br />

dog epithelium 17 13.82 8.16 – 19.48<br />

penicillium 16 13.01 7.46 – 18.56<br />

careless 16 13.01 7.46 – 18.56<br />

Aspergillus 15 12.20 6.78 – 17.62<br />

Timothy 15 12.20 6.78 – 17.62<br />

Bermuda 14 11.38 6.10 – 16.67<br />

Acasia 10 8.13 3.50 – 12.76<br />

Alternaria 10 8.13 3.50 – 12.76<br />

candida 8 6.50 2.29 – 10.71<br />

cladosporium 7 5.69 1.71 – 9.67<br />

kapok 7 5.69 1.71 – 9.67


แผนภูมิที่ 1 แสดงจํานวนร้อยละของผู ้ป่ วยทั ้งหมด 326 คน<br />

ที่ให้ผลบวกต่อสารก่อภูมิแพ้.เรียงตามลําดับ<br />

แผนภูมิที่ 2 แสดงจํานวนร้อยละของผู ้ป่ วยที่มีภูมิลําเนาใน กรุงเทพมหานครจํานวน 203 คน<br />

ที่ให้ผลบวกต่อสารก่อภูมิแพ้.เรียงตามลําดับ


แผนภูมิที่ 3 แสดงจํานวนร้อยละของผู ้ป่ วยที่มีภูมิลําเนาใน ต่างจังหวัดจํานวน 123 คน<br />

ที่ให้ผลบวกต่อสารก่อภูมิแพ้.เรียงตามลําดับ


์<br />

บทที่ 5<br />

อภิปรายผล<br />

ในการศึกษาครั ้งนี ้ผู ้วิจัยพบว่า จากจํานวนผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ทั ้งหมด 326 คน ซึ่งคนไข้<br />

ทั ้งหมดมีเคยมีอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ และได้เคยตรวจกับแพทย์โสต ศอ นาสิก ก่อนที่จะ<br />

เข้ารับการตรวจทดสอบสารก่อภูมิแพ้ทางผิวหนัง คนไข้ส่วนใหญ่มีภูมิลําเนาในเขตสายไหม และ<br />

บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล บางส่วนมาจากจังหวัดใกล้เคียง เช่นปทุมธานี นครนายก อยุธยา<br />

สระบุรี ซึ่งเป็ นเขตกรุงเทพมหานครรอบนอก และปริมณฑล อายุคนไข้ส่วนใหญ่ของคลินิกโรค<br />

ภูมิแพ้อยู่ในช่วง 40-50 ปี โดยเป็ นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย<br />

คนไข้ทุกรายได้รับการทดสอบโดยวิธีสะกิดผิวหนัง (Skin Prick Test) ซึ่งได้รับการยอมรับ<br />

ว่ามีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง<br />

จากการศึกษาพบว่า สารก่อภูมิแพ้ที่มีการแพ้มากที่สุดเป็ นตัวไรฝุ ่ นทั ้งสองสายพันธุ ์ที่พบ<br />

บ่อย คือ Dermatophagoides pteronyssinus และ Dermatophagoides farinae ส่วนอันดับ<br />

รองลงมาเป็ น ฝุ ่ นบ้าน และแมลงสาบอเมริกัน แมลงสาบเยอรมัน ในอัตราการแพ้ ร้อยละ<br />

75,74,65,50,46 ตามลําดับ ผลที่ได้นั ้น สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

และภาคใต้ ซึ่งทําโดย ภาณุวิชญ์ พุ่มหิรัญ และคณะ 4 ในปี พ.ศ.2540 ที่ รพ.พระมงกุฎเกล้า, วิรัช<br />

เกียรติศรีสกุล ในปี พ.ศ.2544 8 ศึกษาคนไข้ที่มีภูมิลําเนาภาคใต้ ซึ่งก็พบว่าไรฝุ ่ น ฝุ ่ นบ้าน และ<br />

แมลงสาบเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่ให้ผลบวกบ่อยที่สุดเช่นกัน นอกจากนี ้มีการศึกษาในคนไข้เด็กที่เป็ น<br />

12<br />

หอบหืด ที่โรงพยาบาลศิริราชพบว่าสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยที่สุดก็ยังเป็ นตัวไรฝุ ่ นทั ้งสองสายพันธุ<br />

จะเห็นได้ว่าตัวไรฝุ ่ นนั ้นเป็ นตัวกระตุ ้นการแพ้ที่สําคัญในหลายพื ้นที่ และยังสอดคล้องกับผล<br />

การศึกษาของต่างประเทศในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บ่งชี ้ว่าตัวไรฝุ ่ นเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่<br />

13,15<br />

สําคัญที่สุดในภูมิภาคนี ้<br />

ตัวไรฝุ ่ นเป็ นสัตว์ขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เจริญเติบโตได้ดีในอุณหภูมิร้อน<br />

ชื ้นแบบประเทศไทย กินเศษสะเก็ดผิวหนัง รังแคจากมนุษย์เป็ นอาหาร โดยพบว่าสายพันธุ ์ที่พบ<br />

บ่อยในประเทศไทยคือ Dermatophagoides pteronynissinus 14 หรือ European House dust<br />

mites แต่พบว่าอัตราการแพ้ในทั ้งสองสายพันธุ์เกือบเท่ากันคือ Mite P = 245 และ Mite F = 241<br />

คนจาก 326 คน (ตารางที่2) สิ่งนี ้อาจจะเกิดจาก Cross reaction ระหว่างสายพันธุ ์ ซึ่งสอดคล้อง<br />

กับผลการศึกษาอื่นๆเช่นกัน 7,8,12


สารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยรองลงมาคือ House Dust ซึ่งโดยทั่วไปคือที่รวมเอาเศษเนื ้อเยื่อ,<br />

รังแค, ไรฝุ่ น, เศษซากแมลง, อุจจาระของสัตว์ (ไรฝุ่ น, แมลงสาบ), เส้นผม, ขนสัตว์ ซึ่งมีสารก่อ<br />

ภูมิแพ้ที่สําคัญรวมอยู่ในนี ้<br />

สารก่อภูมิแพ้ที่สําคัญอีกชนิดคือ แมลงสาบ พบว่าสายพันธุ ์ที่สําคัญคือ American<br />

Cockroach (Periplaneta Americana) มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 50, German Cockroach<br />

(Blattella germanica) มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 46 ซึ่งใกล้เคียงกับการศึกษาของไทยที่ผ่านมา 4,8,12<br />

แต่แตกต่างอย่างมากจากการศึกษาของแถบประเทศยุโรปที่มีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 4.6 – 11.6<br />

16,17 ทั ้งนี ้อาจเป็ นเพราะสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศ และความเป็ นอยู่ที่ต่างกัน<br />

สารก่อภูมิแพ้อื่นๆที่ได้ทําการทดสอบ คือ Johnson, Bermuda, Cat pelt, Dog<br />

epithelium, Timothy, Aspergillus, Candida albicans, Penicillium, Careless weed, Acasia,<br />

Kapok, Alternaria, Cladosporium พบว่ามีอัตราการแพ้ที่ตํ่า คือมีอัตราการแพ้ที่ร้อยละ 3.6 –<br />

16.8 เมื่อเทียบกับอัตราการแพ้ของ ห้าอันดับแรกข้างต้น ที่ร้อยละ 46.0 – 75.2 (ตารางที่ 2) ซึ่ง<br />

เป็ น Indoor Allergens ทั ้งหมด<br />

พบว่าสารก่อภูมิแพ้ในลําดับที่ 6 – 20 ส่วนใหญ่เป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่อยู่นอกอาคารอาศัย<br />

(Outdoor Allergens) น่าจะมีความแตกต่างตามภูมิภาค กล่าวคือ เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาที่<br />

ทําให้เขตกรุงเทพมหานคร จะมีค่าใกล้เคียงกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับ การศึกษาในคนไข้ภาคใต้<br />

พบว่า แตกต่างกันอย่างมาก ตามตารางที่ 5 ซึ่งผู ้วิจัยคิดว่าน่าจะสัมพันธ์กับวิถีชีวิต<br />

สภาพแวดล้อมนอกบ้าน ที่แตกต่างกันตามภูมิประเทศ และสังคม นอกจากนี ้การสัมผัสกับสัตว์<br />

อาชีพของผู ้รับการทดสอบ ก็น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับผลดังกล่าวด้วย<br />

การศึกษาครั ้งนี ้ได้มีการบันทึกภูมิลําเนาของคนไข้เอาไว้ และได้แสดงให้เห็นแผนภูมิ แบ่ง<br />

ระหว่างคนไข้ที่มีภูมิลําเนาในกรุงเทพมหานคร ซึ่งคือเขตสายไหมเป็ นส่วนใหญ่ และคนไข้ที่มี<br />

ภูมิลําเนาต่างจังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วคือจังหวัดที่อยู่รอบนอกเช่น ปทุมธานี นครนายก ผลที่ได้มา<br />

ไม่แตกต่างกันมาก เนื่องจากคนพื ้นที่รอบเขตสายไหมและจังหวัดดังกล่าวมีระยะทางใกล้เคียงกัน<br />

จึงอาจไม่มีความแตกต่างทางด้านภูมิประเทศ และสิ่งแวดล้อม<br />

ข้อสรุป สารก่อภูมิแพ้ที่ผู ้ป่ วยโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในคลินิกโรคภูมิแพ้ โรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช ที่พบบ่อยที่สุด คือ ไรฝุ ่ น Dermatophagoides pteronyssinus และ<br />

Dermatophagoides farinae รองลงมาคือ ฝุ ่ นบ้าน และแมลงสาบ ตามลําดับ


ตารางที่ 5 ความชุกของสารก่อภูมิแพ้จากวิธีการสะกิดผิวหนัง ในคนไข้จมูกอักเสบจากโรค<br />

ภูมิแพ้ ตามโรงพยาบาล 3 แห่ง ในประเทศไทย<br />

้<br />

้<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ความชุกของการแพ ้ต่อสารก่อภูมิแพ (ร ้อยละ)<br />

อันดับ สารก่อภูมิแพ โรงพยาบาลภูมิพลอ โรงพยาบาลพระ<br />

ดุลยเดช<br />

มงกุฏเกล ้า สงขลานครินทร์<br />

1 D. pteronyssinus 75 76 80<br />

2 D. farinae 74 79 80<br />

3 Housedust 65 72 69<br />

4 American Cockroach 50 60 65<br />

5 German Cockroach 46 41 -<br />

6 Johnson 16 21 39<br />

7 Bermuda 15 17 31<br />

8 Cat 14 29 52<br />

9 Dog 14 28 47<br />

10 Timothy 13 16 -<br />

11 Aspergillus 12 12 50<br />

12 Candida 11 - 50<br />

13 Penicillium 11 16 55<br />

14 Careless 10 - 50<br />

15 Acasia 7 19 48<br />

16 Kapok 6 30 55<br />

17 Alternaria 5 11 48<br />

18 Cladosporium 4 11 48<br />

19 Feathers - 37 45<br />

20 Fusarium - 26 55<br />

n 326 100 250<br />

- ไม่ได้ทดสอบ<br />

8


เอกสารอ้างอิง<br />

1. Bousquet J, Cauwenberge PV, Khaltaev N, Annesi I, Bachert C, Bateman E, et<br />

al. World Health Organization Initiative Allergic rhinitis and its impact on<br />

asthma (ARIA). ARIA exe summary-Vancouver 2000; 1-38<br />

2. Pumhirun P, Evans R III, Mahakit P, et al. WHO allergy survey in Thailand.<br />

Second Asian Pacific congress of allergology and clinical immunology 1995;<br />

Taipei, Taiwan:193<br />

3. ปกิต วิชยานนท์. ระบาดวิทยาของโรคภูมิแพ้. ใน: ปกิต วิชยานนท์, สุกัญญา โพธิกําจร,<br />

เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม,บรรณาธิการ. ตําราโรคภูมิแพ้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์,1998:<br />

73-94.<br />

4. Pumhirun P, Towiwat P, Mahakit P. Aeroallergen sensitivity of Thai patients with<br />

allergic rhinitis. Asian Pac J Allergy Immunol 1997; 15: 183-185.<br />

5. Voorhorst, R., M.I.A. Spieksma-Boezeman and F. Th. M. Spieksma. 1964. Is a<br />

mite (Dermatophagoides sp.) the producer of the house-dust allergen?<br />

Allergie u. Astma. 10:329- 334.<br />

6. ฉวีวรรณ บุนนาค, จมูกอักเสบจากภูมิแพ้. ใน: ฉวีวรรณ บุนนาค, บรรณาธิการ. ตําราหวัด<br />

เรื ้อรัง(Chronic Nasal Catarrh). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, 2539:69-<br />

175.<br />

7. Pumhirun P, Nondavanich A, Limprasertsiris S, Poommark C. Aeroallergenic<br />

molds in Thailand. In: Abstract book of 6th Asean ORL Congress; 1994 Nov<br />

14-18; Chiang Rai, 1994:140.<br />

8. Kirtsreesakul V., Aeroallergen sensitivity of southern Thai patients with allergic<br />

rhinitis. Songkla Med J, 2001. 19(4): p. 193-197.<br />

9. Bousquet J, Khaltaev N, Cruz AA, Denburg J, Fokkens WJ,Togias A, et al.<br />

Allergic Rhinitis and its Impact on Asthma (ARIA) 2008 update (in<br />

collaboration with the World Health Organization, GA(2)LEN and AllerGen).<br />

Allergy 2008; 63 (Suppl 86): 8-160.


10. Adinoff AD, Rosloniec DM, McCall LL, Nelson HS. Immediate skin test reactivity<br />

to Food and Drug Administration-approved standardized extracts. J Allergy<br />

Clin Immunol 1990;86(5):766-74.<br />

11. Australasian Society of Clinical Immunology and Allergy skin prick testing<br />

working party. Skin prick testing for the diagnosis of allergic disease : A<br />

manual for practitioners, revised 2008. ASCIA. Available from:<br />

http://www.allergy.org.au/images/stories/pospapers/ascia_spt_manual_2008.p<br />

df<br />

12. Kongpanichkul A, Vichyanond P, Tuchinda M. Allergen skin test reactivities<br />

among asthmatic Thai children. J Med Assoc Thai 1997; 80: 69-75.<br />

13. Leung R, Ho P. Asthma, allergy, and atopy in three south-east Asian<br />

populations. Thorax. 1994 Dec;49:1205-10.<br />

14. Malainual N, Vichyanond P, Phan-Urai P. House dust mites fauna in Thailand.<br />

Clin Exp Allergy 1995;25:554-60.<br />

15. Chew FT, Lim SH, Goh DY, Lee BW. Sensitization to local dust-mite fauna in<br />

Singapore. Allergy. 1999 Nov;54:1150-9.<br />

16. Sastre J, Ibañez MD, Lombardero M, Laso MT, Lehrer S. Allergy to cockroaches<br />

in patients with asthma and rhinitis in an urban area (Madrid). Allergy. 1996<br />

Aug;51:582-6.<br />

17. Liccardi G, Russo M, D'Amato M, Granata FP, De Napoli A, D'Amato G.<br />

Sensitization to cockroach allergens in a sample from the urban population<br />

living in Naples (southern Italy). J Investig Allergol Clin Immunol. 1998 Jul-<br />

Aug;8(4):245-8.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!