11.04.2014 Views

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

Path _ difference KL LJ<br />

2d<br />

hkl<br />

sin <br />

3-5<br />

ซึ่งรังสีกระเจิงจากทั้งสองระนาบนี้จะมีเฟสตรงกัน จนเกิดการรวมกันแบบเสริม ก็<br />

ต่อเมื่อ Path difference มีขนาดเป็นจ านวนเต็มเท่าของความยาวคลื่น นั่นคือ<br />

จะได้ว่า<br />

2<br />

d hkl<br />

sin n<br />

3-6<br />

เมื่อ n = 1, 2, 3,….<br />

สมการ 3-6 คือ กฎของแบรกก์ ซึ่งแปลความหมายได้ว่า การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ<br />

d hkl , , และ ท าให้สมการนี้เป็นจริง ส าหรับ n = 1, 2, 3…. มุม ที่เข้าเงื่อนไขการเลี้ยวเบน<br />

เรียกว่า มุมแบรกก์ (Bragg angle) ค่า n เป็นล าดับการเลี้ยวเบน มุมแบรกก์ที่เล็กที่สุดส าหรับ d hkl<br />

และ ที่ก าหนดให้ จะเป็นมุมที่ให้การเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 ( n = 1)<br />

สรุปปรากฏการณ์เลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ของแบรกก์ได้ว่า เมื่อรังสีเอ็กซ์ขนาน ความยาวคลื่น <br />

ตกกระทบระนาบ (hkl)<br />

ด้วยมุมตกกระทบ เราจะพบรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนที่มุม 2 (วัดความเข้มรังสี<br />

เอ็กซ์ในทิศนี้ได้สูงมากเมื่อเทียบกับทิศทางอื่น) ก็ต่อเมื่อมุมตกกระทบ ความยาวคลื่น และ<br />

ระยะห่างระหว่างระนาบ dhkl<br />

เป็นไปตามเงื่อนไขในสมการของแบรกก์ โดย n = 1, 2, 3,…เป็นล าดับ<br />

ที่ของการเลี้ยวเบน ถ้า d hkl และ มีค่าคงที่แล้ว การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นเมื่อมุมตกกระทบเท่ากับ 1 ,<br />

2 , 3 … ซึ่งสอดคล้องกับ n = 1, 2, 3,… ตามล าดับ กล่าวได้ว่า ถ้าก าหนดให้ dhkl<br />

และ คงที่<br />

แล้ว การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นได้ที่มุมตกกระทบค่าเฉพาะเพียงบางค่าเท่านั้น<br />

จากสมการแบรกก์แทนค่า sin 1 จะได้ว่า ความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์ยาวที่สุดที่ยังคงเกิด<br />

n<br />

2d<br />

<br />

การเลี้ยวเบนได้ เป็นไปตามเงื่อนไข 1 หรือ<br />

max 2d<br />

3-7<br />

ขอให้สังเกตุว่า แบรกก์พิจารณาเฉพาะรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงออกในทิศท ามุมกับระนาบการ<br />

กระเจิงเท่ากับมุมตกกระทบเท่านั้น ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงโดยอะตอมแต่ละอะตอม<br />

ในผลึก (จริงๆแล้วโดยอิเล็กตรอนในอะตอม) จะกระเจิงในทุกทิศทาง แต่เนื่องจากความป็นระเบียบ<br />

ของผลึกท าให้มีเฉพาะบางทิศทางเท่านั้นที่จะพบการเลี้ยวเบน ซึ่งก็คือทิศทางที่เสนอโดยแบรกก์นั่นเอง<br />

ดังจะเห็นในการวิเคราะห์ในหัวข้อต่อๆไป<br />

9

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!