11.04.2014 Views

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

รูปที่ 3-7 (ก) การเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

ความแตกต่างระยะเดินทางของรังสี 11 และ<br />

22 คือ path _ diff AB BC 2d hkl sin 2<br />

(ข) การเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ<br />

( 2h 2k2l)<br />

ความแตกต่างทางเดินของรังสี 11 และ 33 คือ<br />

path _ diff<br />

DE EF 2<br />

d hkl<br />

sin <br />

2<br />

ท านองเดียวกัน สามารถแสดงได้ว่าการเลี้ยวเบนล าดับที่ n จากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ จะ<br />

ซ้อนทับกันกับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จาก ระนาบ (nh hk nl) ซึ่งเป็นระนาบที่มีระยะห่างระหว่าง<br />

ระนาบเท่ากับ 1 ของระยะระหว่างระนาบ (hkl)<br />

ระนาบ (nh hk nl) อาจเป็นระนาบที่มีอยู่จริง หรือ<br />

n<br />

เป็นระนาบสมมุติก็ได้ ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงพิจารณาการเลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ เฉพาะการ<br />

เลี้ยวเบนล าดับที่ 1 นั่นคือ กฏของแบรกก์จะอยู่ในรูป<br />

2d<br />

hkl sin <br />

3-11<br />

3.7 การค านวนมุมการเลี้ยวเบนจากค่าคงที่ผลึก<br />

เราสามารถท านายมุมการเลี้ยวเบนที่เป็นไปได้ส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ โดยใช้<br />

ความสัมพันธ์ระหว่าง d-spacing กับดัชนีของของระนาบโดยใช้กฎของแบรกก์ ตัวอย่างเช่น<br />

โครงสร้างผลึกแบบลูกบาศก์ จะมีความสัมพันธ์ระหว่าง d-spacing กับดัชนีมิลเลอร์ของระนาบ (hkl)<br />

ตามสมการ<br />

d hkl<br />

<br />

a<br />

2 2 2 1/ 2<br />

( h k l )<br />

11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!