11.04.2014 Views

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.5 เปรียบเทียบการเลี้ยวเบนกับการสะท้อน<br />

แม้ว่าแบรกก์จะพิจารณาการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ตามกฎการสะท้อน จนท าให้มีการใช้ค าว่า<br />

“การสะท้อน” หรือ “ระนาบการสะท้อน” ในการอธิบายการเลี้ยวเบนก็ตาม การเลี้ยวเบนและการ<br />

สะท้อนเป็นปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่แตกต่างกัน ดังนี้ [Cullity (1967) หน้า 83]<br />

การเลี้ยวเบนเป็น Volume interaction ส่วนการสะท้อนเป็น Surface interaction<br />

การเลี้ยวเบนเกิดได้ที่มุมเฉพาะ (มุมแบรกก์) ส าหรับความยาวคลื่นค่าหนึ่ง ส่วนการ<br />

สะท้อนเกิดขึ้นได้ทุกค่ามุมตกกระทบ และทุกความยาวคลื่น<br />

ประสิทธิภาพการสะท้อนใกล้เคียง 100 % ส่วนการเลี้ยวเบนมีประสิทธิภาพต่ ามาก<br />

(ระดับ < 1 %)<br />

3.6 สมการแบรกก์เชิงปฏิบัติ<br />

สมการแบรกก์ท านายการเกิดการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ความยาวคลื่น จากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ เมื่อมุมตกกระทบเท่ากับมุมแบรกก์ 1 , 2 , 3 , … ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1, 2, 3, …<br />

ตามล าดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาการเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 ของระนาบ (hkl)<br />

และการเลี้ยวเบน<br />

ล าดับที่ 1 ของระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

ซึ่งระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

เป็นระนาบที่มีระยะระหว่างระนาบเท่ากับ<br />

1<br />

2<br />

d hkl<br />

เมื่อ d hkl เป็นระยะระหว่างระนาบของระนาบ (hkl)<br />

ตาม<br />

รูปที่ 3-7 จะเห็นว่ารังสีเลี้ยวเบนทั้ง สองจะซ้อนทับกันพอดี ซึ่งอธิบายได้ดังนี้<br />

สมมุติ 2 เป็นมุมแบรกก์ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

(ดูรูปที่ 3-7 (ก))<br />

จากกฎของแบรกก์จะเขียนได้ว่า<br />

ขณะเดียวกันมุมที่รังสีเอ็กซ์ตกกระทบกระท ากับชุดระนาบ ( 2h2k2l)<br />

จะเท่ากับ 2 ด้วย (ดูรูปที่ 3-7<br />

(ข)) โดย Path difference ของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงชุดจากระนาบ ( 2h2k2l)<br />

จะเป็น<br />

แทนค่า<br />

2d<br />

sin 2 2<br />

hkl<br />

Path _ difference 2d<br />

2d hkl sin 2 2<br />

hkl<br />

2h2k<br />

2l<br />

sin 2 2 sin<br />

จากสมการ 3-8 ลงในสมการ 3-9 จะได้<br />

d<br />

2<br />

<br />

2<br />

3-8<br />

3-9<br />

Path _ difference<br />

2<br />

2d2h2k<br />

2l<br />

sin <br />

3-10<br />

ซึ่งเป็นสมการแบรกก์ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

นั่นเอง ดังนั้น รังสีเอ็กซ์<br />

เลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

จะซ้อนทับกันกับรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ<br />

( 2h<br />

2k2l)<br />

10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!