11.04.2014 Views

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

Chapter 3 : XRD Theory - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน<br />

บทที่ 3 ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

บทนี้จะน าเสนอทฤษฎีพื้นฐานของการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึก ประกอบด้วยหัวข้อส าคัญ<br />

คือ ทฤษฎีการเลี้ยวเบนของเลาอี กฏของแบรกก์ และการค านวนแฟคเตอร์โครงสร้าง ซึ่งน าไปสู่กฏ<br />

การคัดเลือกระนาบที่ให้การเลี้ยวเบน<br />

3.1 ระยะระหว่างอะตอมในผลึกและความยาวคลื่นสีเอ็กซ์<br />

3.1.1 ระยะระหว่างอะตอมในผลึก<br />

<br />

โดยทั่วไปจะสมมุติอะตอมเป็นทรงกลม ซึ่งจะมีขนาดรัศมีระหว่าง 1-2 A เมื่ออะตอมมาจัด<br />

<br />

กันอย่างเป็นระเบียบเพื่อเกิดเป็นโครงสร้างผลึก ระยะระหว่างอะตอมจะมีค่าในช่วง 2-4 A ขึ้นกับ<br />

ลักษณะการจัดอะตอมในโครงสร้างผลึก ส าหรับค่าคงที่แลตทิซ หรือระยะห่างระหว่างระนาบใน<br />

<br />

โครงสร้างผลึก โดยทั่วไปมีค่าในระดับขนาด 2-10 A<br />

3.1.2 การก าเนิดและสมบัติของรังสีเอ็กซ์<br />

3.1.2.1 ฟิสิกส์ของการเกิดรังสีเอ็กซ์<br />

ถ้ายิงอิเล็กตรอนพลังงานสูงเข้าชนอะตอมซึ่งอยู่นิ่ง อาจท าให้เกิดปรากฏการณ์หลาย<br />

อย่างรวมทั้ง 2 ปรากฏการณ์ต่อไปนี้<br />

1) อิเล็กตรอนในอะตอมที่ระดับชั้นพลังงานลึกๆ (core electron) เช่น ชั้น K หรือ L ถูก<br />

กระแทกให้หลุดจากอะตอม เกิดระดับพลังงานว่าง โดยธรรมชาติแล้วอิเล็กตรอนใน<br />

ชั้นพลังงานที่สูงกว่าจะลดระดับพลังงานลงมายังระดับพลังงานที่ว่าง เกิดการ<br />

ปลดปล่อยโฟตอนพลังงานในย่านรังสีเอ็กซ์ ซึ่งมีค่าเฉพาะส าหรับอะตอมนั้นๆ<br />

เรียกว่า Characteristics X-ray รังสีเอ็กซ์เฉพาะที่เด่นๆของอะตอม และน ามาใช้ใน<br />

การทดลองเลี้ยวเบน คือ K<br />

และ K ซึ่งเกิดจากการย้ายระดับพลังงานจากชั้น L ไป<br />

ยัง K และจากชั้น M ไปยัง K ตามล าดับ<br />

2) อิเลคตรอนที่วิ่งเข้าชนถูกท าให้ช้าลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากการผลักของสนามไฟฟ้า<br />

ของอิเล็กตรอนในอะตอม โดยทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อิเล็กตรอนที่มีความหน่วงจะ<br />

ปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบบพลังงานต่อเนื่อง ได้สเปคตรัมรังสีเอ็กซ์แบบ<br />

ต่อเนื่อง เรียกว่า Bremsstrahlung x-rays<br />

สเปคตรัมของรังสีเอ็กซ์ที่ได้จากอะตอมจะมีลักษณะดังตัวอย่างในรูปที่ 3-1<br />

1


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

รูปที่ 3-1 สเปคตรัมรังสีเอ็กซ์จากอะตอมโมลิบดินัมที่พลังงานอิเล็กตรอนกระตุ้น 35 kV [Cullity<br />

(1967) หน้า 8]<br />

3.1.2.2 ความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์และอันตราย<br />

พิจารณาสเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งหมด ตามรูปที่ 3-2 จะเห็นได้ว่ารังสีเอ็กซ์เป็น<br />

<br />

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นระหว่าง 0.01–10 A หรือมีพลังงานในย่านระหว่างรังสีอุลตรา<br />

ไวโอเล็ตกับรังสีแกมมา จึงจัดได้ว่าเป็นรังสีอันตรายเนื่องจากมีพลังงานสูง ดังนั้นในการใช้งานรังสี<br />

เอ็กซ์ควรเข้าใจและตระหนักอยู่เสมอถึงอันตรายที่อาจจะได้รับจากรังสี และรู้วิธีการป้องกัน<br />

3.1.2.3 การผลิตรังสีเอ็กซ์<br />

รังสีเอ็กซ์สามารถผลิตได้จากหลอดรังสีเอกซ์ (X-ray tube) มีหลักการ คือ ต้องท าให้อะตอม<br />

จ านวนมากปล่อยรังสีเอ็กซ์ออกมาพร้อมๆกัน เพื่อที่จะได้รังสีเอ็กซ์ที่มีความเข้มสูงพอที่จะน าไปใช้งาน<br />

ได้ โครงสร้างของหลอดรังสีเอ็กซ์แสดงดังรูปที่ 3-3 ประกอบด้วยหลอดแก้วผนึกติดกับฐานโลหะ<br />

ทองแดง ภายในหลอดเป็นสุญญากาศ มีไส้ทังสเตน (Tungsten Filament) เป็นแหล่งก าเนิด<br />

อิเล็กตรอน ซึ่งจะปล่อยอิเล็กตรอนเมื่อถูกเผาให้ร้อนด้วยไฟฟ้ากระแสสูง อิเล็กตรอนจ านวนมากที่<br />

หลุดจากไส้ทังสเตนจะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์สูงขนาด 30-50 kV ซึ่งป้อนระหว่าง ทังสเตนกับเป้า<br />

(Target) โดยที่เป้าเป็นขั้วบวก เมื่อกระแสอิเล็กตรอนวิ่งเข้าชนเป้า จะเกิดการปลดปล่อยรังสีเอ็กซ์<br />

เฉพาะจากอะตอมของเป้า พร้อมๆกับรังสีเอ็กซ์ Bremsstrahlung ที่เกิดเนื่องจากการที่อิเล็กตรอนมี<br />

2


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

ความหน่วงขณะพุ่งชนเป้า รังสีเอ็กซ์ส่วนหนึ่งจะพุ่งออกทางหน้าต่างเบอริลเลียม (Beryllium<br />

window) และจะถูกส่งต่อไปยังชุดกรองหรือแยกความยาวคลื่น (Filter) และอุปกรณ์จัดล ารังสี<br />

(collimator) จนได้รังสีเอ็กซ์เฉพาะความยาวคลื่นเดียวที่จะน าไปใช้งานต่อไป ความยาวคลื่นรังสี<br />

เอ็กซที่ได้ขึ้นกับชนิดของธาตุที่เป็นเป้า ส าหรับเป้าทองแดงจะให้ความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์เฉพาะ K <br />

<br />

เฉลี่ยเท่ากับ 1.54178 A เนื่องจากพลังงานของอิเล็กตรอนส่วนใหญ่จะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน<br />

ที่เป้า จึงต้องมีการระบายความร้อน<br />

ออกจากเป้า ส่วนใหญ่เป็นวิธีใช้น้ า<br />

ไหลเวียนในระบบปิดเพื่อดึงความ<br />

ร้อนจากเป้าแล้วถ่ายเทออกไปผ่าน<br />

ระบบท าความเย็น<br />

รูปที่ 3-2 สมบัติของรังสีเอ็กซ์<br />

[Cullity (1967) หน้า 2]<br />

รูปที่ 3-3 โครงสร้างของหลอดรังสีเอ็กซ์ [Cullity (1967) หน้า 18]<br />

3


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.2 สมมุติฐานและการทดลองของเลาอี<br />

การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์เป็นผลของอันตรกริยาระหว่างรังสีเอ็กซ์กับอะตอมในผลึก กุญแจ<br />

ส าคัญของการเกิดการเลี้ยวเบน คือ ความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์ต้องใกล้เคียงกับระยะระหว่างอะตอมใน<br />

ผลึก จากข้อมูลที่กล่าวถึงข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า<br />

ความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์ 1-2 A <br />

ระยะระหว่างอะตอมในผลึก 2-5 A <br />

ดังนั้นการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึกน่าจะเป็นไปได้ ซึ่ง von Laue นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ตั้ง<br />

สมมุติฐานเมื่อปี 1912 ดังนี้ “ถ้าผลึกประกอบด้วยอะตอมที่เรียงกันอย่างเป็นระเบียบแล้ว อะตอม<br />

เหล่านี้จะเป็นศูนย์กลางการกระเจิงของรังสีเอ็กซ์ และหากความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์มีค่าใกล้เคียงกับ<br />

ระยะห่างระหว่างอะตอมในผลึกแล้ว ควรเกิดปรากฏการณ์เลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึก”<br />

จากสมมุติฐานดังกล่าว เลาอีได้ทดลองยิงรังสีเอ็กซ์ความยาวคลื่นผสม (white x-ray) ให้ตก<br />

กระทบแผ่นผลึกบางๆ ของ CuSO 4 ผลปรากฏว่าพบรังสีเอ็กซ์ทะลุผ่านด้านหลังผลึก (transmitted)<br />

ในแนวซึ่งเบนออกจากแนวรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ ดังรูปที่ 3-4 (ก) และเมื่อวางฟิล์มรับรังสีเอ็กซ์ทาง<br />

ด้านหน้าของผลึกตัวอย่าง ก็จะพบร่องรอยรังสีเอ็กซ์ซึ่งพุ่งเข้าหาแผ่นฟิล์มในทิศย้อนหลังและเบนจาก<br />

แนวรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ ดังรูปที่ 3-4 (ข)<br />

รูปที่ 3-4 การทดลองของเลาอี (ก) แบบทะลุผ่าน (ข) แบบย้อนกลับ [Cullity (1967) หน้า 90]<br />

4


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

ผลการทดลองของเลาอีแสดงให้เห็นว่า<br />

1) รังสีเอ็กซ์มีการเลี้ยวเบนเมื่อผ่านผลึก มุมการเลี้ยวเบนมีได้ระหว่าง 0 -180 <br />

2) ผลึกมีความเป็นระเบียบของการจัดเรียงอะตอม และ โฟตอน (รังสีเอ็กซ์ในที่นี้) มี<br />

สมบัติความเป็นคลื่น<br />

ค าถามชวนคิด:<br />

o ท่านคิดว่าทิศทาง และความเข้มของรังสีเอ็กซ์ที่เลี้ยวเบนขึ้นกับตัวแปรอะไรบ้าง<br />

3.3 การวิเคราะห์การเลี้ยวเบนของเลาอี<br />

3.3.1 สมมุติฐานของเลาอี<br />

เมื่อรังสีเอกซ์ความยาวคลื่นเดียวตกกระทบอะตอม สนามไฟฟ้าของรังสีเอ็กซ์จะท าให้<br />

อิเล็กตรอนในอะตอมสั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ของรังสีเอ็กซ์ อิเล็กตรอนจึงมีความเร่ง และปล่อย<br />

คลื่นแม่เล็กไฟฟ้าที่มีความถี่เท่ากันกับรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ ออกมาในทุกทิศทาง เรียกว่า รังสีเอ็กซ์<br />

กระเจิง (Scattered X-ray) ในการวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์เลาอีได้ตั้งสมมุติฐานเพื่ออธิบาย<br />

ปรากฏการณ์นี้ ดังนี้<br />

เมื่อมีรังสีเอ็กซ์ตกกระทบอะตอมในผลึก อิเล็กตรอนในแต่ละอะตอมจะปล่อย<br />

รังสีเอ็กซ์กระเจิงออกมาในทุกทิศทาง<br />

รังสีเอ็กซ์กระเจิงส่วนใหญ่จะมีเฟสต่างกัน และหักล้างกันไป<br />

มีเฉพาะบางทิศทางเท่านั้นที่รังสีเอ็กซ์กระเจิง มีการรวมกันแบบเสริมกัน<br />

แนวรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ รังสีเลี้ยวเบน ไม่จ าเป็นต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน<br />

3.3.2 การเลี้ยวเบนจากผลึก 1 มิติ (1-dimensional crystal)<br />

พิจารณารูปที่ 3-5 รังสีเอ็กซ์ตกกระทบผลึก 1 มิติ ซึ่งมีค่าคงที่ของผลึกเท่ากับ a ด้วยมุมตก<br />

กระทบ 0 AB เป็นหน้าคลื่นตกกระทบ CD เป็นหน้าคลื่นเลียวเบนท ามุม กับแกนผลึก ในที่นี้<br />

แนวรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ รังสีเลี้ยวเบน และแนวแกนผลึก ไม่จ าเป็นต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน คลื่นที่<br />

กระเจิงจากอะตอมที่อยู่ติดกันจะมีการแทรกสอดแบบเสริมกัน และท าให้เราพบการเลี้ยวเบนได้ถ้า<br />

Path _ difference <br />

AC BD <br />

p<br />

3-1<br />

เมื่อ p = 1, 2,3, ... จากรูปสามารถแสดงได้ว่า AC BD a cos<br />

a cos0<br />

ดังนั้นเขียนสมการ<br />

3-1 ได้เป็น<br />

a(cos<br />

cos<br />

) p<br />

3-2<br />

0<br />

5


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

สมการ 3-2 เป็นเงื่อนไขของการเกิดการเลี้ยวเบนตามการวิเคราะห์ของเลาอี ซึ่งจะเห็นว่า<br />

ถ้าก าหนด a , 0 , p , และ คงที่แล้ว ค่า ที่เป็นไปได้จะมีเพียงค่าเดียว นั่นคือ<br />

การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นในทิศเฉพาะเท่านั้น<br />

เนื่องจากอะตอมกระเจิงรังสีเอ็กซ์ในทุกทิศทาง รังสีเอ็กซ์กระเจิงในแนวที่อยู่บนผิว<br />

กรวยซึ่งมีมุมยอดเท่ากับ และมีแกน a เป็นแกนของกรวย ก็จะท าให้เงื่อนไขใน<br />

สมการ 3-2 เป็นจริงได้เช่นกัน นั่นคือ รังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจากอะตอม 1 มิติทั้งหมดจะ<br />

ประกอบกันเป็นกรวยการเลี้ยวเบน<br />

รูปที่ 3-5 การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึก 1 มิติ [Dekker (1958) หน้า 12]<br />

ก าหนดให้ S o เป็นเวคเตอร์หน่วยในทิศของรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ<br />

ทิศของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบน และ a เป็นเวคเตอร์แลตทิซสามารถแสดงได้ว่า<br />

<br />

a(cos cos0)<br />

a ( S So)<br />

ดังนั้นจึงเขียนเงื่อนไขการเลี้ยวเบนของเลาอีจากผลึก 1 มิติ ได้ในรูป<br />

<br />

a ( S So ) p<br />

S เป็นเวคเตอร์หน่วยใน<br />

3-3<br />

3.3.3 การเลี้ยวเบนจากผลึก 3 มิติ (3-dimensional crystal)<br />

เมื่อขยายจากผลึก 1 มิติ เป็นผลึก 3 มิติ สามารถพิจารณาได้ว่ารังสีเอ็กซ์กระเจิงในทิศใดๆ จะ<br />

ประกอบด้วย 3 ส่วน แต่ละส่วนได้จากการกระเจิงโดยอะตอมที่เรียงกันในแนวแกนผลึก a , b , c <br />

ของเซลล์หน่วย ท าให้ได้เงื่อนไขของเลาอีที่ก าหนดการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์จากผลึก 3 มิติ คือ<br />

<br />

a(cos<br />

cos0)<br />

a ( S So)<br />

p<br />

<br />

b(cos cos 0)<br />

b ( S So)<br />

q<br />

<br />

c(cos<br />

cos<br />

0)<br />

c ( S So)<br />

r<br />

3-4<br />

6


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

เมื่อ p, q, r เป็นจ านวนเต็ม<br />

S o<br />

, S เป็นเวคเตอร์หน่วยของทิศรังสีเอ็กซ์ตกกระทบและเลี้ยวเบนตามล าดับ<br />

<br />

o, o,<br />

<br />

o<br />

เป็นมุมที่รังสีเอ็กซ์ตกกระทบ( S o<br />

) กระท ากับ a , b , c ตามล าดับ<br />

, ,<br />

เป็นมุมที่รังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบน ( S ) กระท ากับ a , b , c ตามล าดับ<br />

วิเคราะห์สมการเลาอีจะเห็นว่า<br />

การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ S o<br />

และ S ต้องท าให้ชุดสมการ 3-4 เป็นจริงพร้อม<br />

กัน นั่นคือ ส าหรับ S o<br />

ที่ก าหนดให้ การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นถ้ากรวยการเลี้ยวเบนบน<br />

แกน a , b , c มาตัดกันแล้วได้เป็นเส้นตรงในทิศ S <br />

ส าหรับ S o<br />

ที่ก าหนดให้จะมีโอกาสน้อยที่สามารถหา S ที่ท าให้ชุดสมการ3-4 เป็น<br />

จริงได้พร้อมกันได้ นั่นคือ ยิงรังสีเอ็กซ์ตกกระทบในทิศ S o<br />

ส่วนใหญ่ไม่เกิดการ<br />

เลี้ยวเบน แต่มี S o<br />

, S เฉพาะบางทิศทางเท่านั้นที่จะท าให้เกิดการเลี้ยวเบนได้<br />

3.4 กฏของแบรก์ (Bragg’s law)<br />

ในปีเดียวกันที่ Laue ได้ท าการวัดการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึก W.L. Bragg ได้วิเคราะห์<br />

การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ในเชิงเรขาคณิต และสามารถวิเคราะห์เงื่อนไขส าคัญของกระบวนการเลี้ยวเบน<br />

รังสีเอ็กซ์จากผลึกได้ เรียกว่า กฏของแบรก์ และได้ศึกษาโครงสร้างผลึกด้วยเครื่อง X-ray<br />

diffractometer สามารถวิเคราะห์ผลึก NaCl, KCl, KBr, และ KI พบว่า ทั้งหมดมีโครงสร้างผลึก<br />

แบบ fcc<br />

ในการวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ แบรกก์พิจารณาการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์จาก<br />

ระนาบของอะตอมที่ขนานกัน เหมือนกับกฏการสะท้อนแสง ดังนี้<br />

ล ารังสีตกกระทบ ล ารังสีเลี้ยวเบน (สะท้อน) และเส้นปกติอยู่บนระนาบเดียวกัน<br />

(ต่างจากการพิจารณาของเลาอี)<br />

มุมที่ล ารังสีเลี้ยวเบน (สะท้อน) ท ากับระนาบของอะตอม จะเท่ากับมุมที่ล ารังสีตก<br />

กระทบท ากับระนาบของอะตอม<br />

นั่นคือ ภายใต้เงื่อนไขเฉพาะบางอย่าง จะมีรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนในทิศทางที่ท ามุมกับระนาบ<br />

เท่ากับมุมตกกระทบ<br />

พิจารณาภาพภาคตัดขวางของผลึกขยายให้เห็นการเรียงกันของอะตอมบนชุดระนาบ (hkl)<br />

ซึ่งมีระยะระหว่างระนาบเป็น d hkl ดังรูปที่ 3-6 ชุดระนาบ (hkl)<br />

ประกอบด้วยระนาบจ านวนมาก<br />

(ส าหรับผลึกที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 m) แทนด้วย A, B, C, …. ซึ่งขนานกันและห่างกันเป็นระยะ d hkl<br />

เท่ากัน สมมุติรังสีเอ็กซ์ขนานมีความยาวคลื่น ตกกระทบท ามุม กับชุดระนาบ (hkl)<br />

นี้<br />

7


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

โดยธรรมชาติรังสีเอ็กซ์จะสามารถทะลุทะลวงไปถึงอะตอมบนระนาบที่ลึกลงไปเป็นหลาย<br />

ร้อยชั้นจากผิว หน้าของผลึก อะตอมเหล่านี้จะท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางการกระเจิงรังสีเอ็กซ์ออกไปใน<br />

ทุกทิศทาง<br />

ในที่นี้เราต้องการทราบว่ารังสีเอ็กซ์ตกกระทบจะถูกเลี้ยวเบนโดยผลึกหรือไม่ (หรือกล่าวว่า<br />

จะเกิดการเลี้ยวเบนหรือไม่) และถ้าเกิด จะเกิดภายใต้เงื่อนไขใด ส าหรับการเกิดการเลี้ยวเบนนั้น<br />

หมายความว่า เราจะพบรังสีเอ็กซ์ซึ่งเลี้ยวเบนจากแนวรังสีตกกระทบ (โดยการตรวจวัดดัวยอุปกรณ์วัด<br />

รังสีเอ็กซ์ เป็นต้น) ซึ่งล ารังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนนี้จะเป็นล ารังสีที่ประกอบด้วยรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจาก<br />

อะตอมจ านวนมากแล้วมารวมกันแบบเสริม<br />

รูปที่ 3-6 การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึก เมื่อมุมตกกระทบของรังสีเอ็กซ์เท่ากับ การเลี้ยวเบนจะเกิด<br />

ที่มุมการเลี้ยวเบนเท่ากับ 2 ถ้าความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์และระยะระหว่างระนาบเข้ากับกฎ<br />

ของแบรกก์ [หน้า Cullity (1967) หน้า 81]<br />

จากรูปที่ 3-6 สามารถวิเคราะห์ได้ว่า<br />

Path difference ของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมบนระนาบเดียวกันจะเท่ากับ 0<br />

เช่น อะตอม H และ M ดังนั้นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมบนระนาบเดียวกันจะ<br />

มีเฟสตรงกัน และสามารถรวมกันเแบบเสริม กลายเป็นส่วนหนึ่งของล ารังสีเอ็กซ์<br />

เลี้ยวเบน<br />

Path difference ของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมบนระนาบที่อยู่ติดกัน เช่น<br />

'<br />

รังสีกระเจิงจากอะตอม M บนระนาบ A (รังสี 1M 1 ) และจากอะตอม L บน<br />

'<br />

ระนาบ B (รังสี 2M 2 ) จะมีขนาดเท่ากับ<br />

8


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

Path _ difference KL LJ<br />

2d<br />

hkl<br />

sin <br />

3-5<br />

ซึ่งรังสีกระเจิงจากทั้งสองระนาบนี้จะมีเฟสตรงกัน จนเกิดการรวมกันแบบเสริม ก็<br />

ต่อเมื่อ Path difference มีขนาดเป็นจ านวนเต็มเท่าของความยาวคลื่น นั่นคือ<br />

จะได้ว่า<br />

2<br />

d hkl<br />

sin n<br />

3-6<br />

เมื่อ n = 1, 2, 3,….<br />

สมการ 3-6 คือ กฎของแบรกก์ ซึ่งแปลความหมายได้ว่า การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ<br />

d hkl , , และ ท าให้สมการนี้เป็นจริง ส าหรับ n = 1, 2, 3…. มุม ที่เข้าเงื่อนไขการเลี้ยวเบน<br />

เรียกว่า มุมแบรกก์ (Bragg angle) ค่า n เป็นล าดับการเลี้ยวเบน มุมแบรกก์ที่เล็กที่สุดส าหรับ d hkl<br />

และ ที่ก าหนดให้ จะเป็นมุมที่ให้การเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 ( n = 1)<br />

สรุปปรากฏการณ์เลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ของแบรกก์ได้ว่า เมื่อรังสีเอ็กซ์ขนาน ความยาวคลื่น <br />

ตกกระทบระนาบ (hkl)<br />

ด้วยมุมตกกระทบ เราจะพบรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนที่มุม 2 (วัดความเข้มรังสี<br />

เอ็กซ์ในทิศนี้ได้สูงมากเมื่อเทียบกับทิศทางอื่น) ก็ต่อเมื่อมุมตกกระทบ ความยาวคลื่น และ<br />

ระยะห่างระหว่างระนาบ dhkl<br />

เป็นไปตามเงื่อนไขในสมการของแบรกก์ โดย n = 1, 2, 3,…เป็นล าดับ<br />

ที่ของการเลี้ยวเบน ถ้า d hkl และ มีค่าคงที่แล้ว การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นเมื่อมุมตกกระทบเท่ากับ 1 ,<br />

2 , 3 … ซึ่งสอดคล้องกับ n = 1, 2, 3,… ตามล าดับ กล่าวได้ว่า ถ้าก าหนดให้ dhkl<br />

และ คงที่<br />

แล้ว การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นได้ที่มุมตกกระทบค่าเฉพาะเพียงบางค่าเท่านั้น<br />

จากสมการแบรกก์แทนค่า sin 1 จะได้ว่า ความยาวคลื่นรังสีเอ็กซ์ยาวที่สุดที่ยังคงเกิด<br />

n<br />

2d<br />

<br />

การเลี้ยวเบนได้ เป็นไปตามเงื่อนไข 1 หรือ<br />

max 2d<br />

3-7<br />

ขอให้สังเกตุว่า แบรกก์พิจารณาเฉพาะรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงออกในทิศท ามุมกับระนาบการ<br />

กระเจิงเท่ากับมุมตกกระทบเท่านั้น ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงโดยอะตอมแต่ละอะตอม<br />

ในผลึก (จริงๆแล้วโดยอิเล็กตรอนในอะตอม) จะกระเจิงในทุกทิศทาง แต่เนื่องจากความป็นระเบียบ<br />

ของผลึกท าให้มีเฉพาะบางทิศทางเท่านั้นที่จะพบการเลี้ยวเบน ซึ่งก็คือทิศทางที่เสนอโดยแบรกก์นั่นเอง<br />

ดังจะเห็นในการวิเคราะห์ในหัวข้อต่อๆไป<br />

9


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.5 เปรียบเทียบการเลี้ยวเบนกับการสะท้อน<br />

แม้ว่าแบรกก์จะพิจารณาการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ตามกฎการสะท้อน จนท าให้มีการใช้ค าว่า<br />

“การสะท้อน” หรือ “ระนาบการสะท้อน” ในการอธิบายการเลี้ยวเบนก็ตาม การเลี้ยวเบนและการ<br />

สะท้อนเป็นปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่แตกต่างกัน ดังนี้ [Cullity (1967) หน้า 83]<br />

การเลี้ยวเบนเป็น Volume interaction ส่วนการสะท้อนเป็น Surface interaction<br />

การเลี้ยวเบนเกิดได้ที่มุมเฉพาะ (มุมแบรกก์) ส าหรับความยาวคลื่นค่าหนึ่ง ส่วนการ<br />

สะท้อนเกิดขึ้นได้ทุกค่ามุมตกกระทบ และทุกความยาวคลื่น<br />

ประสิทธิภาพการสะท้อนใกล้เคียง 100 % ส่วนการเลี้ยวเบนมีประสิทธิภาพต่ ามาก<br />

(ระดับ < 1 %)<br />

3.6 สมการแบรกก์เชิงปฏิบัติ<br />

สมการแบรกก์ท านายการเกิดการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ความยาวคลื่น จากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ เมื่อมุมตกกระทบเท่ากับมุมแบรกก์ 1 , 2 , 3 , … ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1, 2, 3, …<br />

ตามล าดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาการเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 ของระนาบ (hkl)<br />

และการเลี้ยวเบน<br />

ล าดับที่ 1 ของระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

ซึ่งระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

เป็นระนาบที่มีระยะระหว่างระนาบเท่ากับ<br />

1<br />

2<br />

d hkl<br />

เมื่อ d hkl เป็นระยะระหว่างระนาบของระนาบ (hkl)<br />

ตาม<br />

รูปที่ 3-7 จะเห็นว่ารังสีเลี้ยวเบนทั้ง สองจะซ้อนทับกันพอดี ซึ่งอธิบายได้ดังนี้<br />

สมมุติ 2 เป็นมุมแบรกก์ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

(ดูรูปที่ 3-7 (ก))<br />

จากกฎของแบรกก์จะเขียนได้ว่า<br />

ขณะเดียวกันมุมที่รังสีเอ็กซ์ตกกระทบกระท ากับชุดระนาบ ( 2h2k2l)<br />

จะเท่ากับ 2 ด้วย (ดูรูปที่ 3-7<br />

(ข)) โดย Path difference ของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงชุดจากระนาบ ( 2h2k2l)<br />

จะเป็น<br />

แทนค่า<br />

2d<br />

sin 2 2<br />

hkl<br />

Path _ difference 2d<br />

2d hkl sin 2 2<br />

hkl<br />

2h2k<br />

2l<br />

sin 2 2 sin<br />

จากสมการ 3-8 ลงในสมการ 3-9 จะได้<br />

d<br />

2<br />

<br />

2<br />

3-8<br />

3-9<br />

Path _ difference<br />

2<br />

2d2h2k<br />

2l<br />

sin <br />

3-10<br />

ซึ่งเป็นสมการแบรกก์ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ ( 2h 2k2l)<br />

นั่นเอง ดังนั้น รังสีเอ็กซ์<br />

เลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

จะซ้อนทับกันกับรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ<br />

( 2h<br />

2k2l)<br />

10


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

รูปที่ 3-7 (ก) การเลี้ยวเบนล าดับที่ 2 จากระนาบ (hkl)<br />

ความแตกต่างระยะเดินทางของรังสี 11 และ<br />

22 คือ path _ diff AB BC 2d hkl sin 2<br />

(ข) การเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ<br />

( 2h 2k2l)<br />

ความแตกต่างทางเดินของรังสี 11 และ 33 คือ<br />

path _ diff<br />

DE EF 2<br />

d hkl<br />

sin <br />

2<br />

ท านองเดียวกัน สามารถแสดงได้ว่าการเลี้ยวเบนล าดับที่ n จากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ จะ<br />

ซ้อนทับกันกับการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จาก ระนาบ (nh hk nl) ซึ่งเป็นระนาบที่มีระยะห่างระหว่าง<br />

ระนาบเท่ากับ 1 ของระยะระหว่างระนาบ (hkl)<br />

ระนาบ (nh hk nl) อาจเป็นระนาบที่มีอยู่จริง หรือ<br />

n<br />

เป็นระนาบสมมุติก็ได้ ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงพิจารณาการเลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ เฉพาะการ<br />

เลี้ยวเบนล าดับที่ 1 นั่นคือ กฏของแบรกก์จะอยู่ในรูป<br />

2d<br />

hkl sin <br />

3-11<br />

3.7 การค านวนมุมการเลี้ยวเบนจากค่าคงที่ผลึก<br />

เราสามารถท านายมุมการเลี้ยวเบนที่เป็นไปได้ส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ใดๆ โดยใช้<br />

ความสัมพันธ์ระหว่าง d-spacing กับดัชนีของของระนาบโดยใช้กฎของแบรกก์ ตัวอย่างเช่น<br />

โครงสร้างผลึกแบบลูกบาศก์ จะมีความสัมพันธ์ระหว่าง d-spacing กับดัชนีมิลเลอร์ของระนาบ (hkl)<br />

ตามสมการ<br />

d hkl<br />

<br />

a<br />

2 2 2 1/ 2<br />

( h k l )<br />

11


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

จากกฎของแบรกก์ สมการการเลี้ยวเบนล าดับที่ 1 จากระนาบ (hkl)<br />

คือ<br />

2d<br />

hkl<br />

sin <br />

2<br />

<br />

2<br />

4a<br />

sin ( h<br />

2a<br />

2<br />

2 2 2<br />

จะได้ sin ( h k l )<br />

2 2 2 1/ 2<br />

หรือ k l )<br />

ซึ่งเป็นสมการที่ใช้ท านายมุมการเลี้ยวเบนส าหรับระนาบ (hkl)<br />

เมื่อรู้ค่าคงที่แลตทิซ a เช่น ส าหรับ<br />

การเลี้ยวเบนจากระนาบ ( 110)<br />

หาได้จาก<br />

sin<br />

3.8 ความสอดคล้องของสมการเลาอีกับกฏของแบรกก์<br />

<br />

เป็นต้น<br />

ความสอดคล้องกันระหว่างสมการเลาอีและกฎของแบรกก์ สามารถยกตัวอย่างให้เห็นโดยใช้<br />

ผลึกลูกบาศก์ จากสมการเลาอี (สมการ 3-4 ) ให้ a b c ยกก าลังสองแล้วบวกกันจะหาได้ว่า<br />

2a<br />

2<br />

<br />

(1 cos<br />

cos0<br />

cos cos 0<br />

cos<br />

cos<br />

0 ) <br />

2<br />

a<br />

ถ้า เป็นมุมระหว่างรังสีเอ็กซ์ตกกระทบกับรังสีเอ็กซเลี้ยวเบน สามารถเขียนสมการ 3-12 ได้ในรูป<br />

จากกฎของแบรกก์และความสัมพันธ์ระหว่าง d-spacing กับค่าคงที่แลตทิซ a และดัชนีมิลเลอร์ของ<br />

ระนาบ (hkl)<br />

สามารถแสดงได้ว่า<br />

<br />

2<br />

2a<br />

เนื่องจาก ถ้าเปรียบเทียบสมการ 3-13 และ 3-14 โดยก าหนดให้ p nh, q nk,<br />

r nl จะ<br />

เห็นว่า การเลี้ยวเบนล าดับที่ n ของระนาบ (hkl)<br />

ตามกฏของแบรกก์ จะเป็นการเลี้ยวเบนตามสมการ<br />

ของเลาอีที่ก าหนดโดย p , q,<br />

r นั่นเอง<br />

3.9 การเลี้ยวเบนกับแลตทิซส่วนกลับ<br />

2<br />

(1 cos)<br />

4sin<br />

2<br />

ความส าคัญประการหนึ่งของแลตทิซส่วนกลับคือ การน าไปใช้ส าหรับวิเคราะห์การ<br />

เลี้ยวเบน ซึ่งจะช่วยให้การวิเคราะห์การเลี้ยวเบนสะดวกมากขึ้น<br />

พิจารณาอะตอม O อยู่ที่จุดก าเนิดของ crystal lattice และอะตอมอื่นๆ A ซึ่งอยู่ที่ต าแหน่ง<br />

pqr ใดๆ เทียบกับจุดก าเนิด โดย p, q, r เป็นจ านวนเต็ม ดังรูปที่ 3-8 เราจะวิเคราะห์ว่ารังสีเอ็กซ์ที่<br />

กระเจิงจากอะตอม O ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้างจากรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม A<br />

2a<br />

<br />

( )<br />

2<br />

2<br />

<br />

<br />

2<br />

a<br />

( p<br />

2 2<br />

2sin<br />

[( nh)<br />

( nk)<br />

( nl)<br />

a<br />

2<br />

2 1/ 2<br />

]<br />

q<br />

2<br />

2<br />

( p<br />

r<br />

2<br />

2<br />

q<br />

)<br />

2<br />

r<br />

2<br />

)<br />

3-12<br />

3-13<br />

3-14<br />

12


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

เวคเตอร์บอกต าแหน่งของอะตอม A เทียบกับอะตอมที่จุดก าเนิด O เขียนได้ในรูป<br />

<br />

OA pa qb rc<br />

3-15<br />

2<br />

1<br />

O<br />

N<br />

U<br />

pqr<br />

A<br />

S <br />

S M<br />

o<br />

S <br />

o<br />

S <br />

V<br />

<br />

S S o<br />

<br />

<br />

1<br />

2<br />

a b c<br />

รูปที่ 3-8 การกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากอะตอมที่จุดก าเนิด O และอะตอม A ในแลตทิซ [ปรับปรุงจาก<br />

Cullity (1967) หน้า 496]<br />

สมมุติให้รังสีเอ็กซ์ตกกระทบผลึกในทิศดังรูป แนว 1, 2 เป็นรังสีเอ็กซ์ที่ตกกระทบอะตอม<br />

O และ A ตามล าดับ S o<br />

เป็นเวคเตอร์หน่วยในทิศของรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ OU เป็นหน้าคลื่นตก<br />

กระทบ ซึ่งตั้งฉากกับ S o<br />

พิจารณารังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงออกมาจากอะตอม O และ A ในทิศท ามุม <br />

กับแนวรังสีตกกระทบ ให้ S เป็นเวคเตอร์หน่วยในทิศของรังสีเอ็กซ์กระเจิง S o<br />

, S , และ OA<br />

ต้อง<br />

อยู่บนระนาบเดียวกัน<br />

การจะหาเงื่อนไขที่จะท าให้เกิดการเลี้ยวเบน เราต้องวิเคราะห์ความต่างเฟสระหว่างรังสีเอ็กซ์<br />

ที่กระเจิงจากอะตอม O และ A ซึ่งจากรูปจะเห็นได้ว่า ความแตกต่างทางเดินของรังสีตามเส้นทาง<br />

1O1 และ 2A2 คือ<br />

Path _ Difference UA<br />

AV<br />

OM ON<br />

เมื่อพิจารณาจากรูปจะเห็นว่า<br />

OM<br />

ON <br />

<br />

<br />

OA S o<br />

<br />

OA( S)<br />

13


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

ดังนั้นเขียนความแตกต่างทางเดินรังสีได้เป็น<br />

<br />

Path _ Difference OA ( S S<br />

o<br />

)<br />

3-16<br />

Path difference จะสัมพันธ์กับความต่างเฟส ( ) ตามสมการ<br />

2<br />

Path _ difference<br />

<br />

แทนค่า Path_difference จากสมการ 3-16 จะได้<br />

เขียน<br />

<br />

S <br />

<br />

S o<br />

ในรูปของเวคเตอร์ในแลตทิซส่วนกลับ คือ<br />

*<br />

เมื่อ h, k, l เป็นจ านวนใดๆ (จ านวนเต็ม หรือเศษส่วนก็ได้) a *<br />

, b *<br />

, และ c เป็น primitive<br />

<br />

S S<br />

translation vectors ของแลตทิซส่วนกลับ แทน o<br />

จากสมการ 3-18 และ OA<br />

จาก<br />

สมการ3-15 ลงในสมการ 3-17 จะได้<br />

<br />

S S<br />

2<br />

(<br />

o ) OA<br />

<br />

<br />

S So <br />

* * <br />

ha kb lc<br />

<br />

<br />

*<br />

3-17<br />

3-18<br />

2<br />

( hp kq lr)<br />

3-19<br />

การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นถ้ารังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม O และ อะตอม A อื่นๆ มาแทรก<br />

สอดแบบเสริมกัน นั่นคือ ความต่างเฟสของรังสีทั้งสองขบวนเป็นจ านวนเต็มเท่าของ 2 จากสมการ<br />

เนื่องจาก p, q, r เป็นจ านวนเต็มใดๆ ความต่างเฟสจะเป็นจ านวนเต็มเท่าของ 2<br />

ได้ก็ต่อเมื่อ h, k, l<br />

เป็นจ านวนเต็มเท่านั้น เราจึงได้เงื่อนไขก าหนดการเกิดการเลี้ยวเบน คือ<br />

เมื่อ h, k, l เป็นจ านวนเต็ม และ G hkl เป็นเวคเตอร์บอกต าแหน่งของจุดในแลตทิซส่วนกลับ สมการ (7)<br />

แสดงว่า เงื่อนไขที่ท าให้เกิดการเลี้ยวเบนคือ เวคเตอร์<br />

ส่วนกลับ<br />

<br />

S<br />

<br />

So *<br />

* <br />

ha kb lc<br />

* G hkl<br />

<br />

<br />

S <br />

<br />

S o<br />

<br />

3-20<br />

ต้องมีจุดปลายตรงกับจุด hkl ในแลตทิซ<br />

14


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.10 พิสูจน์สมการเลาอีและสมการแบรกก์<br />

ทั้งสมการเลาอีและสมการแบรกก์ สามารถพิสูจน์ได้จากสมการ 3-20 ซึ่งนับเป็นการยืนยัน<br />

ความสอดคล้องกันของสมการทั้งสอง<br />

3.10.1 สมการเลาอี<br />

จากสมการ 3-20<br />

<br />

S<br />

<br />

<br />

ha<br />

<br />

kb<br />

<br />

lc<br />

So<br />

* * *<br />

<br />

<br />

G<br />

ท า dot product สมการ (7) ด้วย primitive translation vectors a , b , c จะได้<br />

หรือเขียนได้ว่า<br />

ซึ่งก็คือ สมการเลาอี นั่นเอง<br />

hkl<br />

<br />

S So <br />

* * *<br />

a a (<br />

ha kb lc ) h<br />

<br />

<br />

<br />

S S <br />

o<br />

<br />

* * *<br />

b b (<br />

ha kb lc ) k<br />

<br />

<br />

<br />

S So <br />

* * *<br />

c c (<br />

ha kb lc ) l<br />

<br />

<br />

a (<br />

S So)<br />

h<br />

<br />

b (<br />

S So)<br />

k<br />

<br />

c (<br />

S S ) l<br />

o<br />

3.10.2 กฏของแบรกก์<br />

<br />

จากรูปที่ 3-9 สมมุติว่า S So<br />

เข้าเงื่อนไขการเลี้ยวเบนและท าให้เกิดการเลี้ยวเบนที่มุม <br />

<br />

จะเห็นว่า S So<br />

แบ่งครึ่งมุม 1O1 และถ้าลากแนว XY ให้ซ้อนกับเส้นแบ่งครึ่งมุมยอดของ<br />

สามเหลี่ยม POQ จะเห็นว่ามุมที่รังสีตกกระทบ 1O และรังสีเลี้ยวเบน O1 กระท ากับแนว XY มีค่า<br />

เท่ากันคือ / 2 เราจึงพิจารณาเสมือนว่า รังสีเลี้ยวเบนมาจากการสะท้อนจากระนาบที่ผ่านแนว XY<br />

<br />

และตั้งฉากกับหน้ากระดาษ โดยมี S So<br />

เป็นแนวของเส้นปกติ ตรงนี้คือสมมุติฐานของแบรกก์<br />

จากสมบัติของแลตทิซส่วนกลับ เราทราบว่าเวคเตอร์ G hkl ตั้งฉากกับชุดระนาบ (hkl)<br />

<br />

ขณะเดียวกันสมการ 3-20 แสดงว่าภายใต้เงื่อนไขการเกิดการเลี้ยวเบน เวคเตอร์ S So<br />

จะขนานกับ<br />

G <br />

hkl ดังนั้นสรุปได้ว่า การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อเวคเตอร์ S So<br />

ตั้งฉากกับชุดระนาบ (hkl) ซึ่งวางตัว<br />

ผ่านแนว XY และ ตั้งฉากกับระนาบหน้ากระดาษ นั่นเอง<br />

15


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

2<br />

1<br />

X<br />

/ 2<br />

<br />

S S o<br />

<br />

<br />

S S o<br />

Q<br />

O / 2<br />

/ 2<br />

S S <br />

o<br />

P<br />

<br />

S S o<br />

<br />

Y<br />

1<br />

2<br />

a b c <br />

pqr<br />

A<br />

S <br />

o<br />

S <br />

<br />

รูปที่ 3-9 เงื่อนไขการเลี้ยวเบนและกฎของแบรกก์<br />

จากรูปที่ 3-9 จะเห็นว่า<br />

แทนค่าในสมการ (7) จะได้<br />

<br />

S<br />

<br />

S o<br />

<br />

2sin( )<br />

2<br />

ให้ / 2 และเราทราบว่า<br />

ซึ่งคือกฏของแบรกก์<br />

<br />

2sin( )<br />

2 G hkl<br />

<br />

1<br />

Ghkl<br />

<br />

d<br />

hkl<br />

2d<br />

hkl<br />

sin <br />

ดังนั้นจะได้<br />

3.11 เงื่อนไขการเลี้ยวเบนกับเวคเตอร์คลื่น<br />

เวคเตอร์คลื่น k คือเวคเตอร์ที่แสดงทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น มีขนาดนิยามตามสมการ<br />

ก าหนดเวคเตอร์คลื่นของรังสีเอ็กซ์ตกกระทบคือ k I และเวคเตอร์คลื่นของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนคือ D<br />

โดย<br />

<br />

k<br />

I<br />

<br />

S<br />

2<br />

o<br />

<br />

และ<br />

<br />

k<br />

D<br />

<br />

k<br />

D<br />

<br />

k<br />

I<br />

2<br />

k <br />

<br />

<br />

S<br />

2<br />

D<br />

<br />

<br />

<br />

* * *<br />

2 ( ha kb lc ) 2G<br />

เงื่อนไขการเลี้ยวเบนสามารถเขียนได้ในรูป<br />

hkl<br />

k <br />

3-21<br />

3-22<br />

16


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

ซึ่งกล่าวได้ว่า “การเลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl)<br />

จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ การเปลี่ยนแปลงเวคเตอร์คลื่นเท่ากับ<br />

2 G hkl ”<br />

* * *<br />

ถ้าสร้างแลตทิซส่วนกลับให้เป็นมิติเดียวกันกับเวคเตอร์คลื่น กล่าวคือ นิยาม a , b , c ดัง<br />

สมการ [Kittel (1996) หน้า 33]<br />

<br />

<br />

<br />

* * *<br />

เทอมคงที่ 2<br />

จะถูกรวมใน a , b , c และสามารถเขียนเงื่อนไขการเลี้ยวเบนสามารถเขียนได้ในรูป<br />

<br />

<br />

<br />

k<br />

D<br />

<br />

a<br />

<br />

b<br />

*<br />

*<br />

<br />

c<br />

*<br />

<br />

k<br />

<br />

b c<br />

2<br />

<br />

a b c<br />

<br />

c a<br />

2<br />

<br />

a b c<br />

<br />

a b<br />

2<br />

<br />

a b c<br />

I<br />

<br />

ha<br />

*<br />

<br />

kb<br />

<br />

lc<br />

เมื่อ g hkl 2Ghkl<br />

จึงกล่าวได้ว่า “การเลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl)<br />

จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ การ<br />

เปลี่ยนแปลงเวคเตอร์คลื่นเท่ากับ g <br />

hkl ” [Williams, and Carter (1996) หน้า 195] หรือเขียนได้ว่า<br />

<br />

k<br />

<br />

g<br />

การเปลี่ยนแปลงเวคเตอร์คลื่นตามสมการ 3-25 สามารถแสดงได้ดังแผนผังในรูปที่ 3-10<br />

D<br />

*<br />

<br />

k<br />

I<br />

*<br />

<br />

g<br />

hkl<br />

hkl<br />

<br />

<br />

<br />

3-23<br />

3-24<br />

3-25<br />

รูปที่ 3-10 การเปลี่ยนแปลงเวคเตอร์คลื่นในการเลี้ยวเบน<br />

17


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.12 ทรงกลมเอวาลด์<br />

เงื่อนไขการเกิดการเลี้ยวเบนสามารถแสดงได้ด้วยทรงกลมเอวาลด์ (Ewald Sphere) ซึ่งมี<br />

วิธีการดังนี้ (ดูรูปที่ 3-11 ประกอบ)<br />

1) สร้างเวคเตอร์<br />

S o<br />

ขนานกับรังสีตกกระทบ และให้จุดปลายของเวคเตอร์อยู่ที่จุดก าเนิด<br />

<br />

ของแลตทิซส่วนกลับซึ่งสร้างในสเกลเดียวกันกับ<br />

2) สร้างทรงกลมรัศมี S โดยมีจุดเริ่มต้นของ<br />

ทรงกลมเอวาลด์<br />

o<br />

<br />

S o<br />

<br />

S เป็นจุดศูนย์กลางทรงกลมที่ได้นี้ เรียกว่า<br />

3) การเลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl) จะเกิดขึ้นถ้า จุด hkl ในแลตทิซส่วนกลับสัมผัสกับผิว<br />

ทรงกลมเอวาลด์<br />

4) ทิศของรังสีเลี้ยวเบนคือแนวที่ชี้จากจุดศูนย์กลางทรงกลมเอวาลด์ไปยังจุด hkl ใน<br />

แลตทิซ ส่วนกลับ<br />

รูปที่ 3-11 ทรงกลมเอวาลด์<br />

18


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.13 ความเข้มรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบน<br />

ในการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ กฏของแบรกก์จะท านายได้เฉพาะทิศทางหรือต าแหน่งของ Peak<br />

การเลี้ยวเบน (มุม 2 ) เท่านั้น แต่ไม่สามารถใช้บอกระดับความเข้ม (พื้นที่ใต้กราฟของ peak) ของ<br />

รังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนได้ ต่อไปนี้จะอธิบายให้เห็นว่า ปัจจัยส าคัญที่ก าหนดความเข้มของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบน<br />

คือ ต าแหน่งและชนิดของอะตอมในเซลล์หน่วย<br />

เราจะกล่าวว่า เกิดการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากระนาบ (hkl)<br />

ของผลึกสารตัวอย่างในทิศที่ท ามุม<br />

2 hkl กับรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ ถ้าเราวัดความเข้มของรังสีเอ็กซ์ในทิศนั้นได้ (ความเข้มมากกว่า 0) นั่น<br />

คือ รังสีเอ็กซ์ทั้งหมดที่กระเจิงจากสารตัวอย่างในทิศ 2 hkl จะต้องมารวมกันแบบเสริม หรืออย่างน้อย<br />

ต้องหักล้างกันแบบไม่สมบูรณ์ สภาพเช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ<br />

1) เงื่อนไขของแบรกก์เป็นจริงส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ท าให้รังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจาก<br />

อะตอมบนระนาบ (hkl)<br />

มารวมกันแบบเสริมกัน และ<br />

2) รังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงในทิศ 2 hkl จากอะตอมอื่นๆที่ไม่อยู่บนระนาบ (hkl)<br />

ไม่ไป<br />

หักล้างรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากระนาบ (hkl)<br />

โดยสมบูรณ์<br />

เนื่องจากอะตอมในผลึกเรียงกันอย่างเป็นระเบียบ โดยมีเซลล์หน่วยซ้ าๆกันเป็นจ านวน<br />

อนันต์ การวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากเซลล์หน่วยของผลึก จึงสามารถน าไปใช้อธิบายการ<br />

เลี้ยวเบนจากผลึกทั้งก้อนได้ กล่าวคือ ความเข้มของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจากผลึกสารตัวอย่าง จะเป็น<br />

ผลรวมของความเข้มรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากแต่ละเซลล์หน่วยของผลึก ดังนั้น การวิเคราะห์พฤติกรรม<br />

การการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากโครงสร้างผลึกใดๆ สามารถพิจารณาโดยใช้เซลล์หน่วยก็เพียงพอ<br />

รังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนในทิศที่เราสนใจเป็นผลรวมของคลื่นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากแต่ละอะตอม<br />

ในผลึก ซึ่งรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากแต่ละอะตอม จะเป็นผลรวมของคลื่นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากแต่ละ<br />

อิเล็กตรอนในอะตอมนั้น ดังนั้น การที่จะวิเคราะห์ความเข้มของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจากผลึก เริ่มต้น<br />

เราจะต้องรู้ว่าอิเล็กตรอนกระเจิงรังสีเอ็กซ์อย่างไร จากนั้นก็ต้องพิจารณาว่าอะตอมกระเจิงรังสีเอ็กซ์<br />

อย่างไร และสุดท้ายเมื่อหาผลรวมคลื่นรังสีเอ็กซ์จากทุกๆอะตอมในผลึกได้ก็สามารถท านายความเข้ม<br />

ของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจากผลึกทั้งก้อนได้<br />

3.13.1 การกระเจิงรังสีเอ็กซ์โดยอิเล็กตรอน<br />

เมื่อรังสีเอ็กซ์ตกกระทบอิเล็กตรอน องค์ประกอบสนามไฟฟ้าของรังสีเอ็กซ์ท าให้อิเล็กตรอน<br />

เคลื่อนที่แบบสั่น (oscillate) ลักษณะการเคลื่อนที่เช่นนี้ท าให้อิเล็กตรอนถูกเร่งและหน่วงสลับกันไป<br />

ตลอดเวลา อิเล็กตรอนจึงแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา เรียกว่า รังสีเอ็กซ์กระเจิง ซึ่งจะมีความถี่<br />

เดียวกันกับรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ โดยที่ความเข้มของรังสีเอ็กซ์กระเจิงจากอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุ e<br />

มวล m<br />

e<br />

ที่ระยะ r จากอิเล็กตรอน จะมีค่าตามสมการ [Cullity (1967) หน้า 105]<br />

19


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

เมื่อ I<br />

o<br />

เป็นความเข้มรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ c เป็นความเร็วแสงในสุญญากาศ และ เป็นมุมระหว่าง<br />

รังสีเอ็กซ์กระเจิงกับทิศของความเร่งของอิเล็กตรอน<br />

พิจารณารังสีเอ็กซ์ที่ไม่โพลาไรซ์ ตกกระทบอิเล็กตรอนซึ่งอยู่ที่จุด O ของพิกัด x y z โดย<br />

รังสีเอ็กซ์ตกกระทบอยู่ในทิศ x ดังรูปที่ 3-12<br />

J.J. Thomson ได้แสดงให้เห็นว่า ความเข้มรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอิเล็กตรอนในทิศ 2<br />

จาก<br />

แนวรังสีเอ็กซ์ตกกระทบ ไปยังจุด P ซึ่งอยู่บนระนาบ xz และห่างจาก O เป็นระยะทาง r มีค่าตาม<br />

สมการ [Cullity (1967) หน้า 106]<br />

ซึ่งเป็นสมการ Thomson ส าหรับการกระเจิงรังสีเอ็กซ์โดยอิเล็กตรอน 1 ตัว พิจารณาสมการนี้จะเห็น<br />

ว่าประกอบด้วยเทอมค่าคงที่และเทอมซึ่งขึ้นกับมุม คือ<br />

ผลต่อความเข้มสัมพัทธ์ ส่วนเทอม<br />

I<br />

I I<br />

P<br />

I<br />

1<br />

cos<br />

2<br />

2<br />

2<br />

1<br />

cos<br />

2<br />

2<br />

2<br />

3-26<br />

3-27<br />

ส าหรับเทอมค่าคงที่จะไม่มี<br />

จะขึ้นกับมุมแบรกก์ เรียกว่า Polarization factor<br />

ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะมีผลต่อความเข้มรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนที่วัดได้ในทิศต่างๆกัน<br />

o<br />

o<br />

r<br />

r<br />

2<br />

2<br />

e<br />

m<br />

e<br />

m<br />

4<br />

2<br />

4<br />

c<br />

2<br />

e<br />

c<br />

4<br />

4<br />

sin<br />

2<br />

<br />

2<br />

1<br />

cos<br />

(<br />

2<br />

2<br />

)<br />

รูปที่ 3-12 การกระเจิงรังสีเอ็กซ์โดย<br />

อิเล็กตรอน 1 ตัว ซึ่งอยู่ที่ O<br />

[Cullity (1967) หน้า 107]<br />

3.13.2 การกระเจิงรังสีเอ็กซ์โดยอะตอม<br />

เมื่อรังสีเอ็กซ์ตกกระทบอะตอม อิเล็กตรอนในอะตอมแต่ละตัวจะท าหน้าที่กระเจิงรังสีเอ็กซ์<br />

ตามสมการ Thomson และเฉพาะอิเล็กตรอนเท่านั้นที่จะกระเจิงรังสีเอ็กซ์ ส่วนประจุในนิวเคลียสนั้น<br />

หนักเกินไปที่จะได้รับผลกระทบจากรังสีเอ็กซ์<br />

ความเข้มรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงออกจากอะตอมไปตามทิศใดๆที่เราสนใจ จะเป็นผลรวมเชิงคลื่น<br />

ของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากแต่ละอิเล็กตรอนในอะตอม ส าหรับมุมการกระเจิง 2 0 (กระเจิงไป<br />

ข้างหน้า) รังสีเอ็กซ์กระเจิงจากทุกอิเล็กตรอนในอะตอมจะมีเฟสตรงกัน ท าให้เราได้ความเข้มรังสีเอ็กซ์<br />

20


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

เลี้ยวเบนสูงที่สุดเนื่องจากการรวมกันแบบเสริม ส่วนที่มุมการกระเจิงในทิศอื่นๆซึ่ง 2<br />

0 รังสีเอ็กซ์<br />

ที่กระเจิงจากแต่ละอิเล็กตรอนส่วนมากมีความต่างเฟสกัน ท าให้รังสีเอ็กเหล่านี้รวมกันแบบหักล้าง ผล<br />

ก็คือเราจะสังเกตุเห็นความเข้มรวมของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนลดลง<br />

ประสิทธิภาพการกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากอะตอมในทิศใดทิศหนึ่ง เรียกว่า “atomic<br />

scattering factor, f ” นิยามโดย [Cullity (1967) หน้า 109]<br />

เมื่อ I<br />

A<br />

, Ie<br />

เป็นแอมปลิจูดของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม และจากอิเล็กตรอน 1 ตัว ตามล าดับ<br />

จะเห็นได้ว่าส าหรับการกระเจิงในทิศไปข้างหน้า f จะเท่ากับเลขอะตอม Z<br />

จากการวิเคราะห์การกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากประจุที่กระจายรอบๆอะตอม สามารถแสดงได้ว่า<br />

Atomic Scattering factor (f) หาได้ตามสมการ [Dekker (1958) หน้า 14-15)<br />

4 sin<br />

<br />

เมื่อ k และ (r)<br />

เป็นฟังชันการกระจายอิเล็กตรอนรอบอะตอม<br />

ระหว่าง f กับ<br />

จะเห็นได้ว่า f เป็นฟังก์ชันกับ<br />

<br />

<br />

0<br />

sin<br />

<br />

sin แสดงได้ดังรูปที่ 3-13<br />

f<br />

I<br />

f <br />

I<br />

A<br />

e<br />

2 sin kr<br />

4r<br />

(<br />

r)<br />

dr<br />

kr<br />

ซึ่งมีค่าลดลงเมื่อ เพิ่มขึ้น ลักษณะความสัมพันธ์<br />

3-28<br />

3-29<br />

รูปที่ 3-13 Atomic scattering factor f ของอะตอมทองแดง [Cullity (1967) หน้า 110]<br />

21


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.13.3 การกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากเซลล์หน่วยและแฟคเตอร์โครงสร้าง<br />

ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นว่าผลึกประกอบด้วยเซลล์หน่วยเรียงต่อกันเป็นระเบียบในสามมิติ การ<br />

วิเคราะห์การกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากเซลล์หน่วยจึงสามารถแทนพฤติกรรมการกระเจิงรังสีเอ็กซ์จากผลึก<br />

ทั้งก้อนได้ ซึ่งจะพิจารณาต่อไปนี้<br />

สมมุติรังสีเอ็กซ์ความยาวคลื่น ตกกระทบเซลล์หน่วยในทิศที่ท ามุมแบรกก์ hkl กับระนาบ<br />

(hkl)<br />

อันหนึ่ง จะได้ว่า 2 d hkl sin hkl เนื่องจากสมการแบรกก์เป็นจริง ดังนั้น เราคาดว่าจะ<br />

เกิดการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ในแนวท ามุม 2 hkl กับแนวรังสีตกกระทบเสมอ อย่างไรก็ตามต้องวิเคราะห์<br />

ก่อนว่าความเข้มรวมของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนในทิศนี้เป็นเท่าไร<br />

ถ้าความเข้ม = 0 ไม่เกิดการเลี้ยวเบน<br />

ถ้าความเข้ม > 0 เกิดการเลี้ยวเบน<br />

ความเข้มของรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจะขึ้นกับแอมปลิจูดของคลื่นรวมของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจาก<br />

แต่ละอะตอมในเซลล์หน่วย พิจารณาคลื่นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม n ซึ่งอยู่ที่ต าแหน่ง<br />

<br />

r<br />

n<br />

<br />

u a v b w c<br />

ในเซลล์หน่วย สามารถเขียนได้ในรูป [Dekker (1958) หน้า 17-18]<br />

n<br />

n<br />

n<br />

f ( ,<br />

)<br />

e<br />

n<br />

n<br />

i<br />

n<br />

3-30<br />

เมื่อ f<br />

n( ,<br />

)<br />

เป็น atomic scattering factor ของอะตอม n ที่มุมเลี้ยวเบนเท่ากับ 2 และความยาว<br />

คลื่นรังสีเอ็กซ์ และ <br />

n<br />

เป็นเฟสของคลื่นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงเทียบกับรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม<br />

ที่จุดก าเนิด (อะตอมหนึ่งบนระนาบ (hkl)<br />

ที่ผ่านจุดก าเนิด)<br />

เราสามารถแสดงหาได้ว่าความต่างเฟสระหว่างรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมที่จุดก าเนิดกับ<br />

รังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมที่ต าแหน่ง r n (ดูสมการ 3-17) คือ<br />

<br />

<br />

S So <br />

<br />

<br />

S S<br />

<br />

<br />

r u<br />

o<br />

n 2<br />

( )<br />

* * *<br />

แทนค่า ha kb lc และ<br />

n<br />

n<br />

<br />

r<br />

n<br />

<br />

a v b w c<br />

จะได้<br />

n<br />

n<br />

2<br />

( hu kv lwn)<br />

ดังนั้น สมการคลื่นรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอม n จะอยู่ในรูป<br />

n<br />

n<br />

n<br />

<br />

n<br />

f<br />

n<br />

2i(<br />

hu kv<br />

lw<br />

)<br />

n n n<br />

( ,<br />

)<br />

e<br />

3-31<br />

22


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

คลื่นรวมของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมทั้งหมดในเซลล์หน่วยในทิศ 2 hkl จากแนวรังสี<br />

ตกกระทบ เรียกว่า แฟคเตอร์โครงสร้าง (Structure factor, F) ของระนาบ (hkl)<br />

เขียนได้ในรูป<br />

[Cullity (1967) หน้า 117]<br />

N<br />

F f ( ,<br />

)<br />

e<br />

n<br />

n1<br />

2i(<br />

hu kv<br />

lw<br />

)<br />

n<br />

n<br />

n<br />

3-32<br />

เมื่อ N เป็นจ านวนอะตอมทั้งหมดในเซลล์หน่วย<br />

โดยสมบัติของคลื่น ท าให้เราทราบว่า ความเข้มของรังสีเอ็กซ์รวม (I) ที่กระเจิงออกในทิศ<br />

ท ามุม 2 กับแนวรังสีตกกระทบ จะแปรผันตรงกับขนาดของแอมปลิจูดคลื่นรวมยกก าลังสองคือ<br />

hkl<br />

I <br />

F<br />

2<br />

ดังนั้น ส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ใดๆที่ก าลังพิจารณา ถ้าแฟคเตอร์โครงสร้างมีแอมปลิจูดเป็น 0 แล้ว ความ<br />

เข้มรังสีเอ็กซ์รวมจะเป็น 0 ด้วย นั่นคือ จะไม่พบรังสีเอ็กซ์เลี้ยวเบนจากระนาบ (hkl)<br />

นั้น แม้ว่ามุมตก<br />

กระทบจะตรงตามเงื่อนไขของแบรกก์ก็ตาม<br />

การค านวนแฟคเตอร์โครงสร้าง จะน าไปสู่กฎการคัดเลือก (Selection rule) ส าหรับท านาย<br />

การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากเซลล์หน่วยของโครงสร้างผลึกชนิดต่างๆได้<br />

3.14 ตัวอย่างการค านวนแฟคเตอร์โครงสร้างและ Selection rule<br />

3.14.1 โครงสร้างผลึก Simple cubic<br />

เซลล์หน่วยของโครงสร้างผลึก Simple cubic ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวที่ต าแหน่ง<br />

000 จะมีแฟคเตอร์โครงสร้างเป็น<br />

F <br />

fe<br />

2i<br />

(0)<br />

<br />

f<br />

3-33<br />

2 2<br />

ท าให้ได้ว่า F f นั่นคือ แอมปลิจูดของคลื่นรวมไม่ขึ้นกับดัชนีระนาบ h , k,<br />

l แสดงว่า ระนาบทุก<br />

ระนาบในโครงสร้างผลึก Simple Cubic สามารถให้การเลี้ยวเบนได้<br />

23


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

1 1 1<br />

2 2 2<br />

3.14.2 โครงสร้างผลึก Body center cubic (bcc)<br />

เซลล์หน่วยแบบ bcc ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน 2 อะตอม ที่ต าแหน่ง 000 และ<br />

สามารถเขียนแฟคเตอร์โครงสร้างได้เป็น<br />

F <br />

fe<br />

h h k<br />

2i(<br />

)<br />

2i(0)<br />

2 2 2<br />

i(<br />

hkl)<br />

<br />

fe<br />

f (1 e<br />

)<br />

3-34<br />

จากสมการ 3-34 สามารถวิเคราะห์ได้ว่า<br />

<br />

2 2<br />

หรือ F 4 f ถ้า h k l เป็นเลขคู่<br />

F หรือ F 2 0 ถ้า h k l เป็นเลขคี่<br />

F 2 f<br />

0<br />

ดังนั้น ส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ที่ให้ค่าผลรวมของตัวเลขดัชนีมิลเลอร์ h k l เป็นเลขคู่<br />

จะเป็นระนาบที่ท าให้เกิดการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ได้ ระนาบเหล่านี้ ได้แก่ ( 110)<br />

( 200)<br />

( 211)<br />

เป็น<br />

ต้น<br />

ในทางตรงกันข้ามระนาบ (hkl)<br />

ที่ให้ค่าผลรวมของตัวเลขดัชนีมิลเลอร์ h k l เป็นเลขคี่<br />

ก็จะไม่เกิดการเลี้ยวเบน ได้แก่ ระนาบ ( 111)<br />

( 210)<br />

เป็นต้น<br />

,<br />

1<br />

0<br />

2<br />

1<br />

2<br />

3.14.3 โครงสร้างผลึก Face center cubic (fcc)<br />

1 1<br />

2 2<br />

เซลล์หน่วยแบบ fcc ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน 4 อะตอม ที่ต าแหน่ง 000 , 0<br />

1<br />

2<br />

1<br />

2<br />

, และ 0 สมการแฟคเตอร์โครงสร้าง คือ<br />

F <br />

ซึ่งสามารถจัดให้อยู่ได้ในรูป<br />

f<br />

h k h l<br />

k l<br />

2i(<br />

) 2i(<br />

) 2i(<br />

)<br />

2i(<br />

0)<br />

2 2 2 2 2 2<br />

( e e e e<br />

F f (1 e<br />

( hk)<br />

i<br />

( hl)<br />

i<br />

( kl)<br />

i<br />

e<br />

e<br />

)<br />

3-35<br />

พิจารณาสมการ 3-35 ข้างต้นจะเห็นว่า ถ้า h , k,<br />

l เป็นเลขคู่ หรือเลขคี่ล้วน ผลบวก ( k)<br />

( h l) และ k l จะเป็นเลขคู่ ท าให้ผลรวมของเทอมในวงเล็บ ( ) เท่ากับ 4 นั่นคือ<br />

2 2<br />

F 4 f หรือ 16 f<br />

F เมื่อ h , k,<br />

l ไม่เป็นตัวเลขผสม<br />

h ,<br />

ในกรณีที่ h , k,<br />

l เป็นตัวเลขผสมระหว่างเลขคู่ เลขคี่ ผลรวมของเทอม exponential จะเป็น -<br />

1 เสมอ ไม่ว่า h , k,<br />

l จะเป็นเลขคู่ 1 ตัว เลขคี่ 2 ตัว หรือ เลขคู่ 2 ตัว เลขคี่ 1 ตัว ท าให้ผลรวมของ<br />

เทอมในวงเล็บ ( ) เท่ากับ 0 นั่นคือ<br />

24


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

F 0 หรือ F 2 0 เมื่อ h , k,<br />

l เป็นเลขผสม<br />

แสดงว่าส าหรับเซลล์หน่วยแบบ fcc การเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นจากระนาบ ที่มีดัชนีเป็นเลขคู่<br />

หรือ เลขคี่ล้วน เช่น (111)<br />

, (200)<br />

, (220)<br />

, และ (311)<br />

แต่จะไม่พบการเลี้ยวเบนจากระนาบซึ่งมี<br />

ดัชนีเป็นเลขผสม เช่น (100)<br />

, (211)<br />

, และ (320)<br />

เป็นต้น<br />

3.14.4 โครงสร้างผลึกแบบเพชร<br />

เซลล์หน่วยของโครงสร้างผลึกแบบเพชรประกอบด้วยอะตอมของคาร์บอน 8 อะตอม ที่<br />

ต าแหน่งต่างๆ ดังนี้<br />

1 1 1<br />

,<br />

2 2 2<br />

3 3 1<br />

,<br />

4 4 4<br />

o ที่ 000 , 0<br />

o ที่<br />

1 1 1<br />

,<br />

4 4 4<br />

1<br />

0<br />

2<br />

3 1 3<br />

4 4 4<br />

1<br />

2<br />

1<br />

2<br />

13<br />

44<br />

, และ 0 ต าแหน่งละ 1 อะตอม<br />

, และ<br />

3<br />

4<br />

ต าแหน่งละ 1 อะตอม<br />

สามารถหาได้ว่าแฟคเตอร์โครงสร้างของโครงสร้างผลึกแบบเพชร อยู่ในรูป<br />

F F fcc [1 e<br />

i(<br />

hkl) / 2<br />

]<br />

3-36<br />

เมื่อ Ffcc<br />

เป็นแฟคเตอร์โครงสร้างส าหรับโครงสร้างผลึก fcc ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้างต้นเราทราบแล้ว<br />

ว่า<br />

2 2<br />

F fcc 16 f เมื่อ h , k,<br />

l ไม่เป็นตัวเลขผสม<br />

2<br />

F 0 เมื่อ h , k,<br />

l เป็นเลขผสม<br />

h k l<br />

2<br />

h k l<br />

2<br />

fcc<br />

i(<br />

hkl) / 2<br />

พิจารณาเทอม 1 e<br />

i(<br />

hkl) / 2<br />

ในสมการ 3-36 จะเห็นว่า 1<br />

e 0<br />

เป็นเลขคี่ แสดงว่า ส าหรับระนาบ (hkl)<br />

ที่ h , k,<br />

l เป็นเลขคู่ หรือเลขคี่ล้วน และท าให้<br />

เป็นเลขคี่ จะไม่เกิดการเลี้ยวเบน เนื่องจากมีแฟคเตอร์โครงสร้างเป็น 0 ดังนั้น ส าหรับ<br />

โครงสร้างผลึกแบบเพชรแล้ว นอกจากระนาบ (hkl)<br />

ที่มี h , k,<br />

l เป็นเลขผสมแล้ว ยังมีระนาบ (hkl)<br />

ซึ่ง h , k,<br />

l เป็นเลขคู่ หรือเลขคี่ล้วน และท าให้<br />

h k l<br />

2<br />

ถ้า<br />

เป็นเลขคี่ ที่จะไม่ให้การเลี้ยวเบน ตัวอย่าง<br />

เช่น ระนาบ ( 200)<br />

( 222)<br />

( 420)<br />

เป็นต้น (ให้สังเกตุว่าระนาบดังกล่าวนี้จะให้การเลี้ยวเบน<br />

ส าหรับโครงสร้างผลึกแบบ fcc)<br />

สรุปได้ว่า ระนาบที่จะให้การเลี้ยวเบนจากโครงสร้างผลึกแบบเพชร คือ ระนาบ )<br />

h k,<br />

l<br />

, เป็นเลขคู่ หรือเลขคี่ล้วน และ<br />

( 220) 311)<br />

( เป็นต้น<br />

h k l<br />

2<br />

(hkl ซึ่ง<br />

ไม่เป็นเลขคี่ ระนาบเหล่านี้ ได้แก่ ระนาบ ( 111)<br />

25


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.14.5 กฎการคัดเลือก (Selection rule) ส าหรับการเลี้ยวเบน<br />

จากการค ำนวนและวิเคราะห์แฟคเตอร์โครงสร้าง จะได้กฎการคัดเลือกของการเลี้ยวเบน<br />

รังสีเอ็กซ์จากโครงสร้างผลึกต่างๆ ดังตารางตาราง 3-1 ซึ่งจะเห็นว่าพารามิเตอร์ส าคัญที่ก าหนดค่าของ<br />

แฟคเตอร์โครงสร้างคือ เลขดัชนีระนาบ h , k,<br />

l และ atomic scattering factor ( f ) ของอะตอมใน<br />

โครงสร้างผลึก ในปัจจุบันสามารถหา f ได้จากฐานข้อมูลมาตรฐานที่มีผู้ค านวนไว้แล้ว เช่น Cullity<br />

(1967) หน้า 474-476<br />

ตาราง 3-1 ตัวอย่างกฎการคัดเลือกส าหรับการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ [Williams, and Carter (1996)<br />

หน้า 249]<br />

ชนิดโครงสร้างผลึก ระนาบที่ให้การเลี้ยวเบน<br />

Primitive:<br />

- simple cubic,<br />

- simple orthorhombic<br />

Body centered cubic<br />

Faced centered cubic<br />

Diamond<br />

Hexagonal close-packed<br />

ทุก<br />

แฟคเตอร์<br />

โครงสร้าง<br />

F<br />

h , k,<br />

l<br />

f<br />

( h k l)<br />

2n<br />

2 f<br />

h , k,<br />

l เป็นเลขคู่ทั้งหมด หรือเลขคี่<br />

ทั้งหมด<br />

เหมือนกับ fcc<br />

ยกเว้นกรณีที่ h , k,<br />

l เป็นเลขคู่ทั้งหมด<br />

และ ( h k l) / 2 เป็นเลขคี่ จะไม่เกิด<br />

การเลี้ยวเบน<br />

h 2k 3n , และ l เป็นเลขคี่*<br />

*<br />

h 2k 3n , และ l เป็นเลขคู่<br />

*<br />

h 2k 3n 1, และ l เป็นเลขคี่<br />

4 f<br />

4 f<br />

ตัวอย่างระนาบที่<br />

ให้การเลี้ยวเบน<br />

(100), (110),<br />

(111), (200),<br />

etc.<br />

(110), (200),<br />

(211), (220),<br />

etc.<br />

(111), (200),<br />

(220), (311),<br />

etc.<br />

(111),<br />

(220),(311),<br />

(400), etc..<br />

0 (001)<br />

2 f<br />

(002)<br />

3 f (011)<br />

h 2k 3n 1, และ l เป็นเลขคู่*<br />

f (010)<br />

*<br />

n 0,1,2,3,...<br />

3.15 สรุป<br />

ประเด็นหลักของบทนี้<br />

กฎของแบรกก์ใช้ท านายมุมหรือต าแหน่งของพีคการเลี้ยวเบนจากระนาบที่สนใจ<br />

แฟคเตอร์โครงสร้างใช้ในการท านายว่าระนาบใดที่จะให้การเลี้ยวเบนได้<br />

26


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

ค าถามและแบบฝึกหัด<br />

3.1 ปรากฎการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์โดยผลึกของแข็งเกิดขึ้นได้อย่างไร มีประโยชน์อย่างไร จง<br />

อธิบาย<br />

3.2 สมมุติยิงล ารังสีเอ็กซ์ขนาน ความยาวคลื่น ตกกระทบท ามุม กับระนาบ (hkl)<br />

ของอะตอม<br />

ในผลึกของแข็งใดๆ จงพิสูจน์ให้เห็นว่าเงื่อนไขของการเกิดการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ เป็นไปตามกฎของ<br />

แบรกก์ (Bragg Law) คือ 2d hkl sin เมื่อ d hkl เป็นระยะระหว่างระนาบของชุดระนาบ (hkl)<br />

3.3 ค าถามความเข้าใจ:<br />

ถ้ารังสีเอ็กซ์ตกกระทบระนาบด้วยมุมตกกระทบ ท าไมจึงพบการเลี้ยวเบนเฉพาะที่<br />

มุม 2 <br />

ถ้าเริ่มต้นพบว่าเกิดการเลี้ยวเบนเมื่อมุมตกกระทบเป็น จากนั้นท าการเปลี่ยนมุม<br />

ตกกระทบไปเรื่อยๆ เราจะพบการเลี้ยวเบนอีกหรือไม่<br />

สมมุติมีระนาบสองชุดคือ (hkl)<br />

กับระนาบ (mno)<br />

วางท ามุมกัน <br />

0<br />

ยิงรังสีเอ็กซ์ ตก<br />

กระทบระนาบ (hkl)<br />

ด้วยมุม 1<br />

โดย 1<br />

เป็นมุมแบรกก์ส าหรับการเลี้ยวเบนล าดับที่<br />

1 ของระนาบ (hkl)<br />

เรามีโอกาสพบการเลี้ยวเบนที่มุมเลี้ยวเบน 2<br />

1<br />

ได้หรือไม่<br />

3.4 จากการวิเคราะห์ความต่างเฟสของรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงจากอะตอมซึ่งอยู่ ณ จุดก าเนิด O และ<br />

อะตอมที่อยู่ห่างออกไป ณ ต าแหน่ง A ซึ่งมีพิกัด pqr เทียบกับจุดก าเนิด (โดย p, q, r เป็นจ านวนเต็ม)<br />

พบว่า เงื่อนไขของการเกิดการเลี้ยวเบนจะถูกก าหนดด้วยสมการ<br />

<br />

s s<br />

<br />

o<br />

<br />

G<br />

hkl<br />

<br />

ha<br />

*<br />

<br />

kb<br />

*<br />

<br />

lc<br />

เมื่อ s o และ s เป็นเวคเตอร์หน่วยในทิศของรังสีเอ็กซ์ตกกระทบและรังสีเอ็กซ์ที่กระเจิงตามล าดับและ<br />

<br />

* * *<br />

G ha kb lc เป็นเวคเตอร์ในแลตทิซส่วนกลับ โดยที่ h , k,<br />

l เป็นจ านวนเต็ม<br />

จากสมการนี้<br />

ก) จงอธิบายถึงความหมายทางฟิสิกส์ของเงื่อนไขการเกิดการเลี้ยวเบนที่ได้<br />

ข) จงพิสูจน์สมการเลาอีและกฎของแบรกก์<br />

ค) จงแสดงเงื่อนไขการเลี้ยวเบนโดยใช้ทรงกลมเอวาลด์<br />

*<br />

27


315 351 ฟิสิกส์สถานะของแข็ง<br />

ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทร์ประโคน ทฤษฎีการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์<br />

3.5 เหล็ก (Fe) มีโครงสร้างผลึกแบบ bcc มีค่าคงที่ของผลึกเท่ากับ 2.86 A จงค านวนต าแหน่ง<br />

ของพีคการเลี้ยวเบนที่เป็นไปได้ 5 พีคแรกตาม Selection rule<br />

3.6 ผลึก CsCl มีโครงสร้างผลึกเป็น Simple cubic ซึ่งมีอะตอม Cs และ Cl อย่างละ 1 อะตอม<br />

ต่อเซลล์หน่วย โดยอะตอม Cs อยู่ที่ต าแหน่ง 000 และอะตอม Cl อยู่ที่ต าแหน่ง<br />

1 1<br />

2 2 2<br />

1<br />

จงค านวน<br />

แฟคเตอร์โครงสร้าง (Structure Factor) ของเซลล์หน่วย CsCl และวิเคราะห์ Selection rule<br />

ส าหรับการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากผลึก CsCl นี้<br />

3.7 จงแสดงให้เห็นว่าแฟคเตอร์โครงสร้างของโครงสร้างผลึกแบบเพชร เป็นดังสมการ 3-36<br />

3.8 ผลึก NaCl มีโครงสร้างผลึกเป็นแบบ fcc โดยมีอะตอม Na 4 อะตอม และ อะตอม Cl 4<br />

อะตอมต่อเซลล์หน่วย<br />

ก) จงแสดงว่า แฟคเตอร์โครงสร้าง (Structure factor) ของผลึก NaCl สามารถท าให้อยู่ในรูป<br />

อย่างง่ายได้ตามสมการ<br />

F [1 e<br />

i( hk)<br />

i(<br />

hl)<br />

i(<br />

kl)<br />

i(<br />

hkl)<br />

e e ][ f Na fcl<br />

e<br />

เมื่อ f Na และ f Cl เป็น Atomic scattering factor ของอะตอม Na และ Cl ตามล าดับ<br />

ข) จงวิเคราะห์เพื่อหา Selection rule ส าหรับระนาบ (hkl) ที่จะเราจะไม่พบการเลี้ยวเบน และ<br />

ระนาบ (hkl) ที่จะให้การเลี้ยวเบนจากผลึก NaCl<br />

ค) ถ้าผลึก KCl มีโครงสร้างผลึกเป็นแบบ NaCl ท่านคิดว่าการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากผลึก<br />

KCl จะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เมื่อเทียบกับการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์จากผลึก NaCl<br />

ให้อธิบายพร้อมยกตัวอย่างเปรียบเทียบต าแหน่งและความเข้มของพีคการเลี้ยวเบนพีคใดพีค<br />

หนึ่งที่เป็นไปได้ตาม Selection rul<br />

]<br />

28

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!