25.04.2022 Views

ASA Journal 06/22

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Let There Be Light<br />

20<strong>22</strong>.Mar-Apr<br />

The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


advertorial<br />

03<br />

ผนังเมทัลชีท<br />

ที่กล้ารับประกันสี ไม่ซีดจาง 10 ปี<br />

สี สั นสวยงาม มี อายุ<br />

การใช้งานยาวนาน<br />

Easy clean<br />

รับประกันสู งสุ ด 30 ปี<br />

Waranty 30 years<br />

วำงใจได้เลยว่ำผลิตภัณฑ์จะมีควำมทนทำน เพรำะ BlueScope<br />

เลือกใช้เหล็กเคลือบอลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี ซึ่งมีอำยุกำร<br />

ใช้งำนมำกกว่ำเหล็กเคลือบสังกะสีทั่วไปถึง 4 เท่ำ พร้อมกำรันตี<br />

ด้วยกำรรับประกันยำวนำนถึง 30 ปีว่ำแผ่นเมทัลชีทจะไม่เป็นรูพรุน<br />

จำกกำรกัดกร่อน และไม่ต้องกังวลว่ำฉนวนที่ติดตั้งจะหลุดร่อน<br />

ไปง่ำยๆ เพรำะ Colorbond for Panel มำพร้อมกับเทคโนโลยี<br />

ชั้นเคลือบสีด้ำนหลังสูตรพิเศษ ที่เพิ่มประสิทธิภำพกำรยึดเกำะ<br />

ระหว่ำงแผ่นและฉนวนให้เต็มเปี ่ยม<br />

BlueScope ยังคงนวัตกรรมอันโดดเด่นจำกเมทัลชีทรุ ่น Colorbond มำ<br />

ไว้ใน Colorbond for Panel อย่ำงครบถ้วน ทั้ง Thermatech® Technology<br />

ช่วยสะท้อนควำมร้อนจำกภำยนอกอำคำร และ Clean Technology<br />

ที่ช่วยลดกำรยึดเกำะของครำบฝุ ่น ทำให้สีสันของบ้ำนหรือโครงกำร<br />

ดูสดใสเหมือนใหม่อยู ่เสมออีกด้วย<br />

Jade Green<br />

90.0 ํ 25.0 ํ<br />

Ocean Blue<br />

เพิ ่มประสิทธิภาพการ<br />

ยึดเกาะระหว่างแผ่น<br />

กับฉนวนกันความร้อน<br />

Increase<br />

adhesion between<br />

metal sheet<br />

and insulation<br />

ไม่เพียงเท่ำนั้น กำรใช้ระบบผนังเมทัลชีท<br />

แซนวิชพำแนลโดย Colorbond for Panel<br />

ก็ยังช่วยควบคุมเวลำและงบประมำณใน<br />

กำรก่อสร้ำงได้ดีขึ้น เพรำะ Colobond for Panel สำมำรถติดตั้ง<br />

ได้อย่ำงง่ำยดำย แถมช่วยลดกำรปล่อยสำรเคมีประเภท<br />

VOCs เพรำะแผ่น Colorbond for Panel มำพร้อมกับกำร<br />

เคลือบสีตั้งแต่ต้น ทำให้ไม่ต้องใช้สีทำอำคำรที่มักมีสำร<br />

VOCs เรียกได้ว่ำเป็นมิตรกับทั้งคนสร้ำงและ ผู้อยู่อำศัย<br />

อย่ำงแท้จริง<br />

Text: Pratchayapol Lertwicha<br />

Photo: bluescope<br />

Exterior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สาหรับงานภายนอก<br />

สำหรับกำรเลือกแผ่นเมทัลชีทมำใช้เป็นผนังอำคำร บำงครั้ง<br />

กำรใช้แผ่นเมทัลชีท อย่ำงเดียวอำจไม่ตอบโจทย์กับกำรใช้งำนที่<br />

ต้องกำรกันควำมร้อนหรือเสียงรบกวนเพิ่มเติม ดังนั้น นวัตกรรม<br />

ระบบผนังที่มีชื่อว่ำ ‘แซนวิชพำแนล’ นั่นคือ กำรนำแผ่นเมทัลชีท<br />

สองแผ่นมำประกบตัวฉนวนเช่น PU หรือ PIR ด้ำนใน จึงเกิดขึ้น<br />

Earth Brown<br />

สามารถ<br />

ติดตาม<br />

รายละเอียด<br />

ของผลิตภัณฑ์<br />

เพิ่มเติมได้ที่<br />

Interior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สาหรับงานภายใน<br />

SYSTEMLAYER<br />

Insulation<br />

ฉนวนกันความร้อน<br />

ในฐำนะผู้นำระดับโลกด้ำนผลิตภัณฑ์เมทัลชีท BlueScope<br />

จึงตอบรับนวัตกรรมระบบผนังใหม่ด้วยกำรคิดค้นผลิตภัณฑ์<br />

‘Colorbond for Panel’ แผ่นเมทัลชีทคุณภำพสำหรับกำรใช้งำน<br />

ทั้งภำยนอกและภำยในอำคำรที่มำพร้อมสีสันงดงำม พร้อมรับ<br />

ประกันว่ำสีจะไม่ซีดจำงยำวนำนถึง 10 ปี นอกจำกนี้ ยังดีไซน์รูป<br />

ลอนได้มำกมำย และมีสีสันให้เลือกหลำกหลำยเพื่อตอบทุกโจทย์<br />

ในกำรดีไซน์


advertorial<br />

SHERA<br />

<strong>06</strong> 07<br />

SHERA Solar หนึ ่งในเทคโนโลยีของหลังคา<br />

ที่พัฒนามาเพื่อตอบโจทย์คนยุคใหม่<br />

ปัจจุบันกระแสรักสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลก ทาให้เกิดการตื่นตัว<br />

หันมาให้ความสาคัญกับการใช้วัสดุ และพลังงานทดแทนมากขึ้น<br />

โดยเฉพาะ กระแสการใช้ “พลังงานสะอาดจากแสงอาทิตย์” ซึ่ง<br />

เป็นพลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติ และโซล่าเซลล์ก็เป็นอีก<br />

หนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจในการใช้ทดแทนแหล่งพลังงานเดิมได้<br />

อย่างไม่จากัด<br />

Today people worldwide are more conscious of our<br />

environment and nature which has caused us to be<br />

more aware and turn towards the use of materials and<br />

renewable energy, especially the “clean energy from solar<br />

energy”, which is renewable energy from nature. The solar<br />

cell is another interesting alternative to the unlimited<br />

replacement of existing energy sources.<br />

เฌอร่า ผู้เชี่ยวชาญด้านหลังคามากกว่า 40 ปี และหนึ่งในผู้ผลิต<br />

วัสดุก่อสร้างรายแรกๆ ที่หันมาให้ความสาคัญกับผลิตภัณฑ์<br />

ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้พัฒนาระบบ SHERA Solar<br />

บริการติดตั้งโซล่าเซลล์และเทคโนโลยีสาหรับหลังคาที่ตั้งใจ<br />

ต่อยอดขึ้นเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนยุคใหม่ ด้วย Solar-<br />

On-Grid System ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อ<br />

กับไฟฟ้าจากการไฟฟ้า จึงสามารถหมุนเวียนใช้ระบบโซลาร์<br />

ในเวลากลางวัน และใช้ไฟฟ้าปกติได้อย่างราบรื่นในเวลากลางคืน<br />

นอกจากจะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้แล้ว ยังสามารถบริหารระบบ<br />

ไฟฟ้าภายในบ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

อีกทั้งเฌอร่ายังมีการรับประกันแผง Mono คุณภาพสูงนานถึง<br />

25 ปี และการรับประกัน O&M ตรวจสอบอุปกรณ์หลังติดตั้งด้วย<br />

อุปกรณ์ พร้อมทั้งมีบริการ SHERA One Stop Service แบบ<br />

ครบวงจรจากผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ เพื่อช่วยตอบโจทย์การใช้<br />

ชีวิตยุค New Normal ที่หลายๆ คนจาเป็นต้องทางาน Work<br />

from Home เพิ่มทางเลือกในการหันมาใช้พลังงานสะอาดที่<br />

สะดวกสบายยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าภายในบ้านได้อย่าง<br />

คุ้มค่า และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

SHERA, the roofing specialist for over 40 years and one<br />

of the first building material manufacturers that turned<br />

to focus more on environmentally friendly products, has<br />

developed SHERA Solar, solar cell installation service,<br />

and roof technology that is discreetly developed to fulfill<br />

the needs of the new generation. With Solar On-Grid-<br />

System, a solar power generation system that connects<br />

to electricity from the Metropolitan Electricity Authority,<br />

the users can use the solar system in the daytime and use<br />

normal electricity smoothly at night. In addition to saving<br />

electricity bills, it can also help the users manage the<br />

electrical system in the house effectively.<br />

The service guarantees of high-quality Mono panel from<br />

SHERA for up to 25 years, an O&M warranty, an equipment<br />

check-up after installation, and a comprehensive SHERA-<br />

One-Stop Service from professional experts. The new<br />

service offered by SHERA will undoubtedly meet the<br />

needs of life in the New Normal era where many people<br />

need to Work from Home. It helps increase the choice of<br />

turning to clean energy that is more convenient and more<br />

comfortable. It also helps save money on home electricity<br />

costs and gain maximum benefit.<br />

shera.com


20<strong>22</strong><br />

MAR- APR<br />

LET THERE BE<br />

LIGHT<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

T : +662 319 6555<br />

OUT<br />

NOW!<br />

<strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

COMMITTEE<br />

2020-20<strong>22</strong><br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Assoc.Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Kullaphut Senevong Na<br />

Ayudhaya<br />

Natre Wannathepsakul<br />

Nawanwaj Yudhanahas<br />

Assoc.Prof. Nuanwan<br />

Tauychareon, Ph.D<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

Phornnipa Wongprawmas<br />

Pum Photjananuwat<br />

Asst.Prof. Pinai Sirikiatikul, Ph.D.<br />

Warut Duangkaewkart<br />

Xaroj Phrawong<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Pitipat Tubtim<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Thanapong Lertpiyaboon<br />

Special Thanks<br />

Atelier of Architects<br />

Beer Singnoi<br />

Design Qua<br />

HAS design and research<br />

Inly Studio<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

LIGHT IS<br />

PHTAA Living Design<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

Nauwan Tuaycharoen<br />

The Pitzker Architecture Prize<br />

Onion<br />

W Workspace<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright 20<strong>22</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

Photo: W Workspace<br />

Available at<br />

E: mail@art4d.com<br />

FB: art4dMagazine<br />

T: 02 260 26<strong>06</strong>-8 art4d.com


์<br />

10<br />

message from the president<br />

asa <strong>Journal</strong> 03-<strong>06</strong><br />

Printed Edition<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจาปี 2563-2565<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

จู น เซคิ โน<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อั งกสิ ทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่ วมแก้ ว<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

พบกันอีกครั้งใน <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> ฉบับที่ 6 ซึ ่งเป็ นฉบับสุดท้าย<br />

ของวารสารอาษาประจำาปี 2021-20<strong>22</strong> โดยฉบับนี้มีเนื้อหา<br />

ที่พู ดถึงองค์ความรู้ เรื่องแสงในงานสถาปั ตยกรรม ภายใต้<br />

ธีม Let There Be Light คิดว่าน่าจะช่วยเปิ ดมุมมองการ<br />

ออกแบบงานสถาปั ตยกรรม ทั้งในเชิงของ ความปลอดภัย<br />

คุณภาพ และความสวยงามในอีกมิติ ที่คนทั่วไปอาจคาดไม่<br />

ถึงว่าการออกแบบแสงก็เป็ นอีกหนึ ่งองค์ความรู้ หรือสาขา<br />

วิชาในงาน สถาปั ตยกรรมของเราที่ค่อนข้างมีความสำาคัญ<br />

ไม่แพ้กัน อีกทั้งวารสารฉบับนี้ และวารสารอีก 5 ฉบับก่อน<br />

หน้า ทางสมาคมฯ เราจะจัดพิมพ์ขึ ้นเพื่อมอบให้กับสมาชิก<br />

ทั้งเก่าและใหม่ภายในงาน <strong>ASA</strong> Expo 2565 หรือวันที่ 26<br />

เมษายน 2565 ที่จะถึงนี้ด้วยครับ ซึ ่งเล่มวารสารที่ ถูกจัด<br />

พิมพ์ขึ ้นดังกล่าว ทางสมาคมฯ จะขออนุญาตสงวนสิทธิ ์แจก<br />

ให้เฉพาะสมาชิกที่เข้าร่วมภายในงานนี้เท่านั้น<br />

สำาหรับวารสารเล่มต่อไป ซึ ่งนับเป็ นฉบับแรกของ <strong>ASA</strong><br />

<strong>Journal</strong> ประจำาปี 20<strong>22</strong>-2023 จะเป็ นเล่มที่เราได้สรุปภาพ<br />

รวมและผลสำาเร็จ ตลอดจนความร่วมมือของทุกๆ ภาคส่วน<br />

ที่มาช่วยกันจัดงานสถาปนิก หรือ <strong>ASA</strong> Expo ให้กลายเป็ น<br />

งานของคนทั้งประเทศจริงๆ ในนามของ สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต้องขอขอบพระคุณทุกๆ ท่าน<br />

ที่ช่วยสนับสนุนการจัดทำา <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> แต่ละเล่มมาโดย<br />

ตลอด และขอบคุณล่วงหน้าอีกครั้งสำาหรับการสนับสนุน<br />

<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> ประจำาปี ถัดมานี้ด้วยครับ<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอานวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิ ยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จั นเสน<br />

กศินธ์ ศรศรี<br />

ณั ฎฐวุ ฒิพิริยประกอบ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนา<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกอีสาน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ<br />

นิพนธ์ หัสดีวิจิตร<br />

NEW! asa <strong>Journal</strong> <strong>06</strong> : Let There Be Light<br />

สมาชิกสมาคม<br />

รับรี<br />

บูธ <br />

งานสถาปนิก65<br />

ารสารอาา บับ 3-6<br />

Printed Edition ราคา - พิมพ์จานนจากั<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สามารถเลือกรับได้ฉบับใด ฉบับหนึ ่ง<br />

จำานวน 1 เล่มเท่านั้น โดยแสดงบัตรสมาชิก หรือ หลักานการสมัคร ได้ที่บูธ <strong>ASA</strong> <br />

หากท่านยังไม่เป็ นสมาชิกฯ สามารถสมัครและรับวารสารได้ทันที ในช่วงวันจัดงาน<br />

สถาปนิก65 ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 1 พษภาคม 2565<br />

สามารถสมัครสมาชิกสมาคมฯ ผ่านไลน์ aaln หรือ สอบถามการสมัครสมาชิกได้ที่<br />

คุณรติรัตน์ จันทร เบอร์ 02-31-6555 ต่อ 113 <strong>06</strong>1-5-1<br />

อีเมล aararaalo<br />

สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เบอร์ 02-31-6555 ต่อ 205 0-11-15<br />

อีเมล aararaalo<br />

asa <strong>Journal</strong> 05 : Home Smart Home<br />

asa <strong>Journal</strong> 04 : Towards Circular Living<br />

asa <strong>Journal</strong> 03 : Seeing Through


12<br />

message from the president<br />

Here we go again with the 6th issue of <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>,<br />

which is the last issue of the 2021-20<strong>22</strong> edition.<br />

This issue discusses the knowledge and wisdom of<br />

light in architecture under the theme ‘Let There Be<br />

Light’. I hope the contents inside will help expand<br />

the perspectives of architectural design concerning<br />

safety, quality, and beauty in the domain that most<br />

of us may not expect. Lighting design is another<br />

body of knowledge, a discipline in our architecture<br />

practice that is equally important. In addition, this<br />

journal on lighting and the previous five issues of<br />

the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> will be published by the <strong>ASA</strong> and<br />

presented to the new and old members during<br />

the <strong>ASA</strong> Expo 20<strong>22</strong> or from April 26 th to May 1 st ,<br />

20<strong>22</strong>. For all the six issues of <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> that have<br />

been published as mentioned, the association will<br />

reserve the right to distribute them to our privileged<br />

members who participate in this event only.<br />

In the next issue of <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, the first issue of the<br />

20<strong>22</strong>-2023 edition, we will summarize the overview<br />

and achievements, as well as the ‘co-creation’ of all<br />

the sectors that come together to make the architect<br />

event or <strong>ASA</strong> Expo possible and become an event for<br />

the whole country. On behalf of the Association of<br />

Siamese Architects under Royal Patronage, I would<br />

like to express my gratitude to those of you who<br />

have always supported the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>. Thanks in<br />

advance once again for supporting the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

in the following year.<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2020-20<strong>22</strong><br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Jun Sekino<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Assoc. Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Executive Committee<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Kasin Sornsri<br />

Nutthawut Piriyaprakob<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Nipon Hatsadeevijit


14<br />

foreword<br />

Photo: ijeab<br />

ในมิติของงานสถาปัตยกรรม แสงเป็นปัจจัยสำาคัญในการขับเน้นรูปร่าง<br />

ของที่ว่าง องค์ประกอบ พื้นผิวของเปลือกทั้งภายในและภายนอกของ<br />

สถาปัตยกรรม รวมทั้งยังส่งผลกับความรู้สึก อารมณ์ และประสบการณ์<br />

ของผู้ใช้งานสถาปัตยกรรม<br />

วารสารอาษาฉบับมีนาคม-เมษายน 2565 ในธีม Let There Be Light นี ้<br />

จึงนำาเสนองานออกแบบสถาปัตยกรรมใหม่ๆ ของไทยในหลายประเภท<br />

อาคาร ที่สถาปนิกต่างให้ความสำาคัญในการออกแบบและเลือกใช้แหล่ง<br />

กำาเนิดแสง ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ความส่องสว่าง หรือวัสดุพื้นผิวของ<br />

ที่ว่างที่รองรับแสงนั้นๆ เพื่อให้เกิดปรากฏการณ์ตามจินตนาการของ<br />

สถาปนิก หรือตอบสนองข้อกำาหนดเฉพาะด้านแสงสว่างของกิจกรรมใน<br />

สถาปัตยกรรมประเภทนั้น<br />

ส่วนใน Professional พบกับเรื่องราวประสบการณ์จาก Light Is ซึ่งเป็น<br />

studio ที่เชี่ยวชาญการออกแบบแสงและมีผลงานคุ้นตาหลายๆ ชิ้นที่<br />

น่าสนใจ รวมทั้ง INLY Studio จากเมืองเชียงใหม่<br />

ในบริบทของสภาพแวดล้อมและสังคมทุกวันนี้ การออกแบบแสงในงาน<br />

สถาปัตยกรรมไม่ว่าจะเป็นจากแสงธรรมชาติหรือแสงประดิษฐ์นั้น นับ<br />

เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สำาคัญต่อการส่งเสริมคุณภาพการใช้ชีวิตของเราด้วย<br />

เพราะการศึกษาวิจัยในปัจจุบันได้ยืนยันให้เห็นถึงคุณสมบัติของแสง<br />

ธรรมชาติ ตลอดจนความสว่างที่มีผลต่ออารมณ์และสุขภาพสำาหรับการ<br />

เยียวยารักษา สามารถส่งผลต่อสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย์<br />

แสงจึงให้ทั้งคุณและโทษต่อร่างกายและความรู้สึกของเราได้มากกว่าที่<br />

เราคิด<br />

In the realm of architecture, light is a crucial factor in accentuating<br />

the shape of the space, the composition, and the<br />

texture of the interior and exterior surfaces. It also affects the<br />

users’ feelings, emotions, and experiences in relation to the<br />

architecture.<br />

Under the theme Let There Be Light, the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> March-<br />

April 20<strong>22</strong> issue presents a series of new architectural<br />

designs in Thailand in various building types, where architects<br />

pay attention to the design and the use of light sources, both<br />

directly and indirectly or the surface material of the space<br />

that embraces that light to create a phenomenon according<br />

to the architect’s imagination. These selected projects are<br />

also a play on design to meet the specific activity lighting<br />

requirements in that particular type of architecture. In the<br />

Professional section are stories of the practices shared by<br />

Light Is, a studio specializing in lighting design who have<br />

produced a number of outstanding works, and INLY Studio<br />

from Chiang Mai.<br />

In the context of today’s environment and society, architectural<br />

lighting design be it natural or artificial light - is<br />

undoubtedly another essential factor to improve our quality<br />

of life. Studies from current research have confirmed how<br />

the properties of natural light and the intensity of light<br />

affects human emotions, and health for restorative purposes.<br />

It can affect the state of mind and human behavior. Light<br />

can do more to our bodies and our minds than we can even<br />

imagine.


20<strong>22</strong><br />

MAR- APR<br />

LET THERE BE<br />

LIGHT<br />

around<br />

BlueScope<br />

Design Awards<br />

2021 20<br />

Diébédo<br />

Francis Kéré:<br />

Pritzker<br />

Architecture<br />

Prize 20<strong>22</strong><br />

28<br />

36<br />

theme / review<br />

New Light on<br />

an Old Tale<br />

With the help of light,<br />

the design for a prominent<br />

rice mill in Nakhon Sawan<br />

by PHTAA Living Design<br />

works to compromise<br />

the preservationof the<br />

old building and the arrival<br />

of the newly constructed<br />

structure in a unique manner.<br />

52<br />

Photo Courtesy of Louvre Abu Dhabi<br />

theme<br />

Let There Be Light<br />

“In the beginning God created<br />

the heaven and the earth.<br />

And the earth was without<br />

form, and void; and darkness<br />

was upon the face of the deep.<br />

And the Spirit of God moved<br />

upon the face of the waters.<br />

And God said, Let there be<br />

light: and there was light.<br />

And God saw the light, and<br />

it was good; and God divided<br />

the light from the darkness.”<br />

Photo Courtesy of Beer Singnoi<br />

theme / review<br />

Like a<br />

Chameleon<br />

HAS design and research, in<br />

collaboration with LIGHT IS,<br />

has created a new showroom<br />

for an aluminum manufacturer<br />

with dramatic facades in the<br />

form of a living organism,<br />

revealing itself in the most<br />

appealing manner possible<br />

when interacting with light.<br />

66<br />

theme / review<br />

Fifty Shades<br />

of Gold<br />

The façade of Central<br />

Ayutthaya Department<br />

Store, designed by onion,<br />

was adorned with aluminum<br />

coated with gold paint that<br />

embraces and interplays<br />

with light and illumination.<br />

80<br />

Photo Courtesy of W Workspace<br />

Photo Courtesy of W Workspace<br />

theme / review<br />

Art,<br />

Architecture,<br />

and the City<br />

Designed by Design Qua,<br />

the Jim Thompson Art Center<br />

evinces precisely the qualities<br />

of a social space with its flow<br />

of circulation, the porosity of<br />

the building skin, the careful<br />

placement of voids, sightlines,<br />

and openings.<br />

92<br />

theme / review<br />

For the Sake<br />

of Beauty<br />

Atelier of Architects has applied<br />

a variety of lines to compose<br />

the facade, walls, and interior<br />

spaces, including the lighting<br />

in the interior, in the design of<br />

Wansiri Aesthetic Hospital.<br />

110<br />

Photo Courtesy of Atelier of Architects<br />

Photo Courtesy of Design Qua<br />

material<br />

Lighting (as)<br />

Material<br />

LED technologies<br />

in current lighting<br />

industries<br />

that are worth<br />

acknowledging.<br />

1<strong>22</strong><br />

&Tradition<br />

Floor Lamp 136<br />

De Vorm<br />

Pendant<br />

Light 137<br />

Hulasol<br />

Outdoor<br />

Light 138<br />

Moooi<br />

Pendant<br />

Light 139<br />

Zero Lighting<br />

Pendant<br />

Lamp 140<br />

Zuma<br />

Downlight 141<br />

Photo Courtesy of ARTEMIDE<br />

revisit<br />

Light and<br />

Concrete at<br />

Tuek Klom<br />

144<br />

professional<br />

“LIGHT IS:<br />

Light Is”…<br />

<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> talked to the<br />

rising lighting designers -<br />

Vida Khemachitphan and<br />

Papon Kasettratat - two close<br />

friends who joined together<br />

and opened a lighting design<br />

company called “LIGHT IS”.<br />

150<br />

professional<br />

Inly Studio<br />

160<br />

chat<br />

Khomsan<br />

Sakulamnuaypongsa<br />

The Honorary Registrar<br />

of the Association of Siamese<br />

Architects under Royal<br />

Patronage spoke with <strong>ASA</strong><br />

<strong>Journal</strong> on the main task of<br />

the Registrar in managing<br />

the <strong>ASA</strong>’s member system.<br />

164<br />

Photo Courtesy of Pinai Sirikiatikul<br />

the last page<br />

168


20<br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese<br />

Architects Under Royal Patronage.<br />

around<br />

BlueScope<br />

Design Awards 2021<br />

BlueScope Design Awards 2021 เป็นการประกวดผล-<br />

งานออกแบบอาคารที่จัดขึ้นโดยความร่วมมือของสมาคม-<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และบริษัท เอ็นเอส-<br />

บลูสโคป (ประเทศไทย) การประกวดแบ่งเป็น 2 ประเภท<br />

หลักๆ ได้แก่ ประเภทที่หนึ่ง Sustainability of Coated<br />

Steel Buildings Design Contest การประกวดผลงาน<br />

ออกแบบแนวคิด และเชิงการทดลอง สำาหรับนิสิตนักศึกษา<br />

ด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบ รวมถึงสถาปนิกและ<br />

นักออกแบบอาชีพ และประเภทที่สอง The Sustainability<br />

of Coated Steel Buildings of the year 2021/20<strong>22</strong> หรือ<br />

การประกวดผลงาน ออกแบบอาคารที่สร้างเสร็จแล้ว สำาหรับ<br />

สถาปนิกอาชีพและเจ้าของโครงการ โดยมีการประกาศผล<br />

การประกวดไป เมื่อ 17 มกราคม 2565 ที่ผ่านมา<br />

BlueScope Design Awards 2021<br />

BlueScope Design Awards 2021 is a design<br />

competition organized by the Association of Siamese<br />

Architects under Royal Patronage and NS-<br />

BlueScope (Thailand). The competition is divided<br />

into two main categories. The first category -The<br />

Sustainability of Coated Steel Buildings Design<br />

Contest – is an experimental design open to<br />

architectural and design students and professional<br />

architects and designers. The second category<br />

- The Sustainability of Coated Steel Buildings of<br />

2021/20<strong>22</strong> – is a design competition for completed<br />

buildings open to professional architects<br />

and project owners. The results were announced<br />

on January 17, 20<strong>22</strong>.<br />

21<br />

2<br />

3<br />

1<br />

01-03<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

ชนะเลิศอันดับที่หนึ่ง<br />

ประเภท Sustainability<br />

of Coated Steel Buildings<br />

Design Contest


<strong>22</strong><br />

around<br />

BlueScope Design Awards 2021<br />

23<br />

4<br />

04-05<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

รองชนะเลิศ ประเภท The<br />

Sustainability of Coated<br />

Steel Buildings Design<br />

Contest<br />

6<br />

5<br />

การประกวดในครั้งนี้ ทางคณะกรรมการได้คัดเลือกรางวัล<br />

ชนะเลิศตามประเภทการประกวดรวมทั้งสิ้น 8 รางวัล โดย<br />

รางวัลชนะเลิศประเภท The Sustainability of Coated<br />

Steel Buildings Design Contest ได้แก่ โครงการประกวด<br />

แบบอาคารสำาหรับเครื่องกำาเนิดแสงซินโครตรอน ระดับ-<br />

พลังงาน 3 GeV และอาคารปฏิบัติการ ผลงานออกแบบ<br />

ของบริษัท สถาปนิก 49 จำากัด รางวัลรองชนะเลิศ ได้แก่<br />

โครงการโรงพยาบาลศรีสวรรค์ ผลงานของ WE&DP และ<br />

โครงการ The Barnacle ผลงานจากบริษัท วีล ดัน สตูดิโอ<br />

จำากัด ส่วนรางวัลชมเชยอีก 2 รางวัล ได้แก่ โครงการ AIR-<br />

RE SPACE ผลงานของนายนิอิลเลียส กูจิ และโครงการ<br />

JENGA GAME ผลงานของนายวราพล สุริยา<br />

The judging committee has selected eight winners<br />

in the two categories. In the Sustainability<br />

of Coated Steel Buildings Design, the first prize<br />

was awarded to The Project for Synchrotron Light<br />

Generator, energy level 3 GeV, and Operation<br />

Building, designed by 49 Architects. The second<br />

prizes were The Srisawan Hospital Project by<br />

WE&DP, The Barnacle Project by Weal Done<br />

Studio. The other two honorable prizes were The-<br />

AIR RE SPACE Project by Mr. Niillius Kuchi and<br />

The JENGA GAME by Mr. Waraphon Suriya.<br />

In the Sustainability of Coated Steel Buildings<br />

of 2021/20<strong>22</strong>, the first prize goes to the Bangkok<br />

<strong>06</strong><br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

ชมเชย ประเภท The<br />

Sustainability of Coated<br />

Steel Buildings Design<br />

Contest


24<br />

around<br />

BlueScope Design Awards 2021<br />

25<br />

สำาหรับการประกวดผลงานประเภท The Sustainability of<br />

Coated Steel Buildings of the year 2021/20<strong>22</strong> รางวัล<br />

ชนะเลิศในหมวดสถาบัน ได้แก่ ผลงานออกแบบโรงเรียน-<br />

นานาชาติบางกอก พรีแพราธอรี แอนด์ เซ็กเคินดารี จาก<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค จำากัด รางวัลผู้ชนะเลิศในหมวด<br />

พาณิชยกรรม ได้แก่ ผลงานออกแบบร้านอาหาร บ้าน-<br />

ส้มตำาและหอมคาเฟ่ ของนายสุวภัทร ชูดวง และรางวัล<br />

ชนะเลิศหมวดบ้านพักอาศัย ได้แก่ โครงการ King Kong-<br />

House จากบริษัท สถาปนิก 49 เฮ้าส์ ดีไซน์ จำากัด<br />

International Preparatory & Secondary School<br />

by Plan Architect. The winners in the commerce<br />

category was Baan Som Tum Restaurant & Hom-<br />

Café, designed by Mr. Suwapat Chuduang. The<br />

winner of the housing category was the King Kong<br />

House by 49 House Design Architects.<br />

To a great extent, all the works and design projects<br />

submitted in both categories have reflected<br />

inspiring and diverse perspectives and creati-<br />

07-09<br />

ผลงานออกแบบประเภท<br />

The Sustainability of<br />

Coated Steel Buildings<br />

of the year 2021/20<strong>22</strong><br />

8<br />

7<br />

9


26<br />

around BlueScope Design Awards 2021<br />

27<br />

10<br />

10-11<br />

ผลงานออกแบบประเภท<br />

The Sustainability of<br />

Coated Steel Buildings<br />

of the year 2021/20<strong>22</strong><br />

หมวดพาณิชยกรรม<br />

12<br />

14<br />

13<br />

11<br />

12-14<br />

ผลงานออกแบบประเภท<br />

The Sustainability of<br />

Coated Steel Buildings<br />

of the year 2021/20<strong>22</strong><br />

หมวดบ้านพักอาศัย<br />

ผลงานและโครงการออกแบบของผู้เข้าร่วมประกวดที่ได้<br />

รับรางวัลในการประกวดครั้งนี้ทั้งสองประเภท ได้สะท้อน<br />

ให้เห็นถึงมุมมองและแนวคิดในการออกแบบอาคารได้<br />

อย่างน่าสนใจและหลากหลาย ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์<br />

แรกเริ่ม ที่สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

และบริษัท เอ็นเอส บลูสโคป (ประเทศไทย) ได้ร่วมกัน<br />

เปิดพื้นที่การ ประกวดในครั้งนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้สถาปนิก<br />

นำาเสนอแนวคิดในการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ และเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมให้มีความ<br />

ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต<br />

vities in architectural design. It is the objective<br />

of the Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage and NS BlueScope (Thailand)<br />

to co-create the competition to encourage architects<br />

to present creative design ideas. It is also a<br />

platform for the development of the architectural<br />

profession now and in the future.<br />

nsbluescope.com


28<br />

around<br />

DIÉBÉDO FRANCIS KÉRÉ: PRITZKER ARCHITECTURE PRIZE 20<strong>22</strong><br />

29<br />

Diébédo<br />

Francis Kéré:<br />

Pritzker<br />

Architecture<br />

Prize 20<strong>22</strong><br />

Photo are copyright of the respective photographers and<br />

artists cited, and courtesy of the Pritzker Architecture Prize<br />

1<br />

2<br />

จากเส้นทางของลูกชายหัวหน้าหมู่บ้านที่ได้เรียนหนังสือใน<br />

โรงเรียนเป็นคนแรก ที่มีโอกาสได้รับทุนมาเรียนวิทยาลัย<br />

ช่างในเบอร์ลิน ต่อยอดจบปริญญาด้านการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมและมีผลงานโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์<br />

จนได้รับหนึ่งในรางวัลสูงสุดทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

อย่าง Pritzker Architecture Prize ลำาดับที ่ 51 ในปี 20<strong>22</strong><br />

นี้ แต่จุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจและปรัชญาทางการ<br />

ออกแบบของ Diébédo Francis Kéré ยังคงไม่ทิ้งรากที่มา<br />

จาก หมู่บ้าน Gando ในประเทศ Burkina Faso จากแถบ<br />

แอฟริกาตะวันตกที่เขาเติบโตขึ้นมาพร้อมสมาชิกในชุมชน<br />

ที่เปรียบเสมือนครอบครัวของเขาด้วย และเป็นสถานที่ที่<br />

เขาได้เรียนรู้ถึงความเป็นสถาปัตยกรรมเป็นครั้งแรก<br />

งานออกแบบชิ้นแรกๆ จึงเป็นการออกแบบโรงเรียนใน<br />

หมู่บ้าน Gando บ้านเกิดของเขาและได้รับรางวัล Aga-<br />

Khan Award for Architecture ไปเมื่อปี 2004 ตลอด<br />

เวลาที่ผ่านมา Kéré ยังร่วมทำางานกับชุมชนเพื่อพัฒนา<br />

ด้านงานฝีมือและทักษะในท้องถิ่นเพื่อยกระดับไม่เพียงแต่<br />

ชีวิตพลเมืองของหมู่บ้านเล็กๆ เท่านั้น แต่เขายังมีผลงาน<br />

ออกแบบอาคารในระดับชาติ คือ อาคารรัฐสภา Benin ที่<br />

อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง และอาคารรัฐสภา Burkina Faso<br />

ซึ่งหยุดดำาเนินงานชั่วคราวด้วยสถานการณ์ทางการเมืองใน<br />

A village chief’s son who was the first to study in<br />

school, the young Kéré then had a good opportunity<br />

where he received a scholarship to study at<br />

a technical college in Berlin and later graduated<br />

with a degree in architectural design. He had<br />

produced outstanding architectural works that<br />

earned him the recipient of the highest awards<br />

in the architecture profession. Diébédo Francis<br />

Kéré is named the 51 st Pritzker Architecture Prize<br />

laureate. But the essence of Diébédo Francis<br />

Kéré’s inspiration and design philosophy remains<br />

true to his roots in the West African village of<br />

Gando in Burkina Faso, where he grew up with<br />

his fellow community members, who are like his<br />

own family. It was the place where he first learned<br />

about the sense of architecture.<br />

Kéré’s first design project was a primary school<br />

in his hometown of Gando, and it won the Aga<br />

Khan Award for Architecture in 2004. Over time,<br />

Kéré has also worked with the community to<br />

develop local craftsmanship and skills to improve<br />

the villagers’ quality of life. He also worked on<br />

large-scale projects, including the Benin National<br />

Assembly, which is currently under construction,<br />

and the Burkina Faso Parliament Building, which<br />

01<br />

Diébédo Francis Kéré.<br />

photo courtesy of Lars<br />

Borges<br />

02<br />

Gando Primary School,<br />

photo courtesy of<br />

Erik-Jan Owerketk<br />

03<br />

Benin National Assembly,<br />

rendering courtesy of<br />

Kéré Architecture<br />

3


30<br />

around<br />

31<br />

04<br />

Serpentine Pavilion,<br />

photo courtesy of<br />

Francis Kéré<br />

05<br />

Burkina Faso National<br />

Assembly, rendering<br />

courtesy of Kéré<br />

Architecture<br />

ประเทศ และยังมีผลงานอีกหลายแห่งในประเทศแถบทวีป<br />

แอฟริกา รวมทั้งผลงานในระดับนานาชาติที่มีการทดลอง<br />

กับวัสดุที่หลากหลาย อย่างการออกแบบ Serpentine<br />

Pavilion ในลอนดอนเมื่อปี 2017 หรือ Xylem pavilion<br />

ศาลาจากเศษไม้สนในรัฐมอนทาน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

เมื่อปี 2019 ซึ่งต่างสะท้อนกลิ่นอายของความเป็นแอฟริกา<br />

ในรูปแบบใหม่ๆ<br />

ผลงานของ Diébédo Francis Kéré ในช่วงกว่าทศวรรษ<br />

ทำาหน้าที่สื่อสารมากกว่าเพียงหน้าตาของสถาปัตยกรรมที่<br />

เน้นการใช้วัสดุในท้องถิ่นอย่างชาญฉลาด และตอบสนอง<br />

ต่อสภาพภูมิอากาศทางธรรมชาติเท่านั้น แต่กระบวนการ<br />

ในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมของเขาพยายามที่จะ<br />

เพิ่มกำาลังความสามารถและเปลี ่ยนแปลงชุมชนไปพร้อมกัน<br />

โดยเน้นการทำางานร่วมกับชุมชนในการสร้างสรรค์<br />

งานสถาปัตยกรรมขึ้นมา และเขายังได้ก่อตั้งมูลนิธิ<br />

was temporarily suspended due to the political<br />

situation in the country. Kéré also designed<br />

a number of projects in African countries and<br />

international works in which he has experimented<br />

with a variety of materials. Among those are the<br />

Serpentine Pavilion in London in 2017 and the<br />

Xylem pavilion, a pavilion made from pine lumber<br />

in Montana, the USA, in 2019 - which reflects the<br />

spirit of Africa in new ways.<br />

Diébédo Francis Kéré’s works over the span of<br />

a decade has served to communicate more than<br />

just the appearance of architecture that emphasizes<br />

the smart use of local materials and responds<br />

only to natural climatic conditions. What is equally<br />

interesting is his design process that seeks to<br />

empower and change the community, focusing on<br />

working with the community to create architectural<br />

works. Kéré also founded Schulbausteine<br />

4<br />

5


32<br />

around<br />

DIÉBÉDO FRANCIS KÉRÉ: PRITZKER ARCHITECTURE PRIZE 20<strong>22</strong><br />

33<br />

7<br />

6<br />

Schulbausteine für Gando เมื่อปี 1998 เพื่อทำางาน<br />

สาธารณะประโยชน์กลับคืนสู่ชุมชน Gando บ้านเกิด<br />

ของเขา ด้วยรูปแบบการทำางานทั้งการออกแบบและสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

ร่วมกับชุมชนในหมู่บ้าน การสร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนทางการ<br />

ทำางานระหว่างชุมชนกับผู้คนจากทั่วโลก การระดมทุน และ<br />

การสรรหาเทคนิคการทำางานกับวัสดุท้องถิ่น<br />

ด้วยผลงานที่ผ่านมาของเขามักจะตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล<br />

ขาดแคลนทรัพยากร และโครงสร้างพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็น<br />

โรงเรียน โรงพยาบาล ที่อยู่อาศัย หรืออาคารและพื้นที่<br />

สาธารณะ ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมเหล่านี้<br />

ของ Diébédo Francis Kéré จึงแสดงออกให้เห็นถึงการ<br />

ออกแบบที่เข้าใจถึงวัฒนธรรมของถิ่นที่ที่อ่อนไหว และ<br />

ยังสะท้อนถึงบทบาทของสถาปนิกที่พยายามสร้างความ<br />

เคลื่อนไหวทางสังคมด้านความยุติธรรมทางสังคมและ<br />

สิ่งแวดล้อมผ่านกระบวนการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม<br />

อีกด้วย<br />

für Gando Foundation in 1998 to return public<br />

interest to the community in his hometown Gando<br />

- a working model of both architectural design<br />

and construction with the villager community to<br />

improve the quality of life and to create a platform<br />

for an exchange among the community members<br />

and people from all over the world, including<br />

fundraising and recruiting techniques to work<br />

with local materials.<br />

Most of Kéré’s works are located in remote areas<br />

with a shortage of resources and infrastructure,<br />

whether it be a school, hospital, residence, or<br />

building and public space. These architectural<br />

projects by Diébédo Francis Kéré have demonstrated<br />

design that understands local cultures<br />

sensitivity. They also reflect the role architects<br />

play in creating a social movement for social and<br />

environmental justice through the architectural<br />

design process.<br />

pritzkerprize.com/laureates/<br />

diebedo-francis-kere<br />

<strong>06</strong><br />

Léo Doctors’ Housing,<br />

photo courtesy of<br />

Francis Kéré<br />

07<br />

Xylem, photo courtesy<br />

of Iwan Baan


36<br />

theme<br />

Let<br />

37<br />

There Be<br />

Light<br />

“In the beginning God created the heaven and the earth.<br />

And the earth was without form,<br />

and void; and darkness was upon the face of the deep.<br />

And the Spirit of God moved upon the face of the waters.<br />

And God said, Let there be light: and there was light.<br />

And God saw the light, and it was good;<br />

and God divided the light from the darkness.”<br />

Text: Nawanwaj Yudhanahas<br />

1<br />

Photo Courtesy of Roland Halbe<br />

01<br />

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ในเมือง<br />

อาบูดาบี สหรัฐอาหรับ<br />

เอมิเรตส์ ออกแบบโดย<br />

Jean Nouvel ภาพถ่ายโดย<br />

Roland Halbe


38<br />

theme<br />

LET THERE BE LIGHT<br />

39<br />

“ในปฐมกาล พระเจ้าทรงเนรมิตสร้างฟ้าและแผ่นดิน<br />

แผ่นดินก็ร้างและว่างเปล่า ความมืดอยู่เหนือน้ำา และ<br />

พระวิญญาณของพระเจ้าทรงปกอยู่เหนือน้ำานั้น<br />

พระเจ้าตรัสว่า จงเกิดความสว่าง ความสว่างก็เกิดขึ้น<br />

พระเจ้าทรงเห็นว่าความสว่างนั้นดี และทรงแยกความ<br />

สว่างออกจากความมืด”<br />

ประโยคทั้งสี่เริ่มต้นปฐมบทของหนังสือปฐมกาล จากคัมภีร์<br />

ไบเบิ้ล บอกเล่ารายละเอียดของเหตุการณ์เมื่อพระเจ้าสร้าง<br />

โลก อันรวมไปถึงการสร้างมวลมนุษย์ “จงเกิดความสว่าง”<br />

คือคำากล่าวที่แสดงถึงพลังแห่งพระเจ้า ผู้รังสรรค์สรรพสิ่ง<br />

ได้ตามความต้องการ แต่หากเราตีความ “จงเกิดความสว่าง”<br />

ในบริบทของประโยคจากหนังสือปฐมกาลที่ว่า เราอาจมอง<br />

เห็นคำาใบ้ที่ซ่อนตัวอยู่ภายใต้การรับรู้ที่มนุษย์มีต่อแสงสว่าง<br />

ไร้รูปร่าง ไม่ชัดเจน และปราศจากนัยยะทางศีลธรรมใดๆ<br />

แสงสว่างให้กำาเนิดสิ่งที่ตรงข้ามกับคุณลักษณะทางกายภาพ<br />

ของมัน นั่นคือความชัดเจน ดีงาม และสิ่งสำาคัญที่สุด นั่นคือ<br />

ชีวิต<br />

These first four verses begin the first chapter of<br />

the Book of Genesis in the Holy Bible, detailing<br />

how God created the world, and thus, humanity.<br />

Let there be light shows the power of God, that<br />

once he commanded, it happened as he desired.<br />

But if we read Let there be light within the context<br />

of the opening verses, we may get an extra clue<br />

on our perception of ‘light’. Formless, obscure,<br />

and immoral, light gives rise to the opposite—<br />

clarity, virtue, and most importantly, life.<br />

In 2016, the Daylight Award was founded to award<br />

architects, designers, scientists, or researchers<br />

who contribute to the research or design of daylight<br />

on human health, the quality of life and the value<br />

to our society. From the Book of Genesis till<br />

today, light still maintains our perception of being<br />

virtuous, linking with life and our well-being. But<br />

what is it about light in architecture that architects<br />

are so fascinated by that a prestigious award was<br />

established just for it?<br />

หากลองก้าวออกมาจากสถาปัตยกรรม เข้าสู่เขตแดนของ<br />

ศิลปะดูสักชั่วขณะ เพื่อสำารวจตรวจตราว่าอาคารต่างๆ<br />

ถูกทำาให้มีชีวิตขึ้นมาได้อย่างไร ศิลปินแห่งชาติชาวไทย<br />

ปรีชา เถาทอง นั้น เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากผลงาน<br />

ภาพเขียนอาคารวัดวาอารามภายใต้ปรากฏการณ์แสงจาก<br />

ดวงอาทิตย์ อาคารวัดที่ถูกทำาให้สว่างไสวขึ้นด้วยแสงแดด<br />

ถูกขับเน้นและตีกรอบด้วยอีกองค์ประกอบหนึ่งของอาคาร<br />

ภายใต้เงามืด องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่วางตัว<br />

อยู่ภายนอกผืนผ้าใบ สร้างเงาพาดผ่านลงบนภาพวาด<br />

จิตรกรรมฝาผนัง ตัดกันกับอีกส่วนหนึ่งของงานจิตกรรม<br />

ชิ้นเดียวกันที่ปรากฏตัวอยู่อย่างสดใสด้วยพลังของแสงที่<br />

พาดผ่าน มิติของความลึกที่แตกต่างกันไปของอาคารถูก<br />

ขับเน้น ในขณะที่ปริมาตรบางส่วนโดดเด่นขึ้นภายใต้แสง<br />

อาทิตย์ อีกส่วนถูกบดบังด้วยอิทธิพลของเงา<br />

shadows. Temples bathe in the yellow-tinted light<br />

of the morning or glows against the dark blue sky<br />

at twilight. As captured in these frozen pictures<br />

as though time stands still, architecture or ‘mute<br />

objects’ as Plummer calls, changes in response<br />

to the hour of the day thanks to sunlight. In his<br />

practice, Thaothong articulates that light travels<br />

infinitely unless another ‘medium’ blocks its route.<br />

So as a designer, what are the ways to design the<br />

‘medium’ to create such interplay?<br />

The Blocks<br />

Arguably, transparency is one of the most<br />

preoccupied topics in the history of architecture.<br />

Since ancient civilisations, we often strive to<br />

puncture solid walls and bring natural light to<br />

ในปี 2016 Daylight Award ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นรางวัล<br />

แก่สถาปนิก นักออกแบบ นักวิทยาศาสตร์ หรือนักวิจัย<br />

ที่สร้างคุณูปการต่อการวิจัยหรือออกแบบแสงธรรมชาติ<br />

ที่ส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ และสังคม<br />

จากหนังสือแห่งปฐมกาลจวบจนปัจจุบัน แสงสว่างยังคง<br />

เป็นสิ่งที่ถูกรับรู้ในฐานะตัวแทนของความดีงาม และเกี่ยวพัน<br />

กับชีวิตและความเป็นอยู่ของเรา แต่อะไรที่ทำาให้แสงสว่าง<br />

ในงานสถาปัตยกรรมเป็นสิ่งที่จับใจเหล่าสถาปนิก<br />

เมื่อความตายกลับกลายเป็ นชีวิต<br />

สำาหรับปี 2020 รางวัลพิเศษอย่าง Lifetime Achievement-<br />

Award ถูกเพิ่มเข้าไปในโปรแกรมการแจกรางวัลโดยเฉพาะ<br />

Henry Plummer ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตย-<br />

กรรมและนักถ่ายภาพงานสถาปัตยกรรม เป็นผู้ถูกรับเลือก<br />

ให้รับแรงวัลนี้เป็นคนแรก ในงานวิจัยของเขา Plummer<br />

กล่าวว่าอาคารนั้นคือวัตถุที่มีความหยุดนิ่ง ดังคำาที่เขาใช้<br />

เรียกมันว่า ‘มวลปริมาตรที่ตายแล้ว’ นั้น ปรากฏสัญญาณ<br />

ของการมีชีวิต ไม่เพียงจากการเข้ามาใช้งานของผู้คน แต่<br />

ด้วยการปรากฏตัวของแสงส่องเข้ามาในห้องๆ หนึ่ง หรือ<br />

ทอดตัวผ่านพื้นผิวของกำาแพง พูดอีกนัยหนึ่ง สถาปัตยกรรม<br />

นั้นแปรเปลี่ยน เคลื่อนไหว และมีชีวิตได้ ก็เมื่อแสงธรรมชาติ<br />

เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการมีอยู่ของมัน<br />

The Dead comes to Life<br />

Specifically for 2020, a special prize, namely the<br />

Lifetime Achievement Award was added to the<br />

Daylight Award. Henry Plummer, a professor in<br />

architectural history and an architecture photography<br />

enthusiast, won this inaugural award. In<br />

his research, Plummer argues that buildings are<br />

static. ‘Deadened volumes’ as Plummer terms,<br />

show signs of life, not only as people populate<br />

it, but once beams of light ‘pierce into rooms or<br />

glide over walls’. In other words, architecture only<br />

changes, moves, and comes alive once natural<br />

light is added to the mix.<br />

Let’s step away from architecture into art for<br />

a moment to explore how building comes alive.<br />

Thai National Artist Preecha Thaothong is best<br />

known for portraying temples under the effect<br />

of sunlight. A temple is brightly lit by sunlight,<br />

framed by another building element in dark<br />

shadow. An architectural element lying off the<br />

canvas casts its shadows onto a mural, contrasting<br />

with another part of the same mural brightly<br />

lit by sunlight. Varying depths of the building are<br />

emphasised as some volumes stand out under<br />

sunlight and other recede under the influence of<br />

3<br />

Photo Courtesy of Henry Plummer<br />

02<br />

Notre Dame du Haut,<br />

Ronchamp ที่ออกแบบ<br />

โดย Le Corbusier<br />

ภาพถ่ายโดย Henry<br />

Plummer<br />

Photo Courtesy of Henry Plummer<br />

2<br />

03<br />

Monastery of Sainte<br />

Marie de la Tourette ที่<br />

ออกแบบโดย Le Corbusier<br />

ภาพถ่ายโดย Henry<br />

Plummer


40<br />

theme<br />

LET THERE BE LIGHT<br />

41<br />

We often strive to puncture solid walls and bring<br />

natural light to the interior. The breakthrough was<br />

during the modernist movement with the recurring<br />

images of floor-to-ceiling windows and the sleek<br />

interior flooded with natural light.<br />

5<br />

Photo Courtesy of Preecha Thaothong<br />

ก้อนบล็อค<br />

อาจกล่าวได้ว่าความโปร่งใสเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ได้รับการ<br />

พูดถึงมากที่สุดในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม นับตั้งแต่<br />

อารยธรรมโบราณ เราได้เห็นการเจาะรูกำาแพงที่มีมวลแข็ง<br />

ตันเพื่อนำาเอาแสงธรรมชาติเข้าสู่พื้นที่ภายใน การค้นพบ<br />

เทคนิคการก่อสร้างสำาคัญดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงของความ<br />

เคลื่อนไหวของแนวคิดสถาปัตยกรรมโมเดิร์นที่เราได้เห็น<br />

ภาพหน้าต่างหรือกระจกใสที่สูงจากพื้นจรดเพดาน และ<br />

พื้นที่ภายในเรียบนิ่งที่เปี่ยมล้นไปด้วยแสงธรรมชาติ<br />

แต่การคลุมด้านข้างของอาคารด้วยผืนกระจกขนาดใหญ่นั้น<br />

ไม่ใช้หนทางเดียวในการออกแบบ “ตัวกลาง” ในยุคสมัย<br />

ดังกล่าว เช่น ในปี 1932 Pierre Chareau และ Bernard<br />

Bijvoet ห่อหุ้มบ้านสามชั้นในปารีสที่พวกเขาออกแบบด้วย<br />

บล็อคแก้วโปร่งแสง Maison de Verre ที่มีความหมายแปล<br />

ได้ว่าบ้านแห่งแก้ว ประกอบขึ้นจากพื้นที่โถงโปร่งสูงสองชั้น<br />

ที่สว่างไปด้วยแสงที่กระจายอย่างทั่วถึง คุณลักษณะดังกล่าว<br />

อาจดูเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปในงานออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ในปัจจุบัน แต่การปรากฏขึ้นของมันในช่วงปีทศวรรษ 1930<br />

ทำาให้มันเป็นองค์ประกอบที่มีความต่างและบุกเบิกมาก<br />

พอดู และเป็นลักษณะของการใช้แสงในงานสถาปัตยกรรม<br />

ที่อยู่อาศัยที่ได้รับความนิยมข้ามยุคสมัยมาจวบจนปัจจุบัน<br />

Eighty years later in Tokyo, a façade of bricksized<br />

glass blocks is employed in Optical Glass<br />

House by Hiroshi Nakamura & NAP. Located<br />

next to a busy road, the challenge is to shut out<br />

sound while bringing in views and natural light.<br />

Behind the façade of 8.6x8.6 metres is a garden<br />

of ash, maple, and holly trees. The architect's<br />

statement describes the various results of light<br />

produced by the combination of glass blocks<br />

and trees. Among them are scattered, filtered<br />

light; shimmering courtyard; dancing patterns of<br />

light and shadow on the floor. Further interplay<br />

between light and architecture is achieved as<br />

the architect places a water basin-cum-skylight<br />

right above the entrance. Here the power of light<br />

combines with water and projects flickering light<br />

patterns on the floor, greeting visitors or informing<br />

residents leaving home on the climate of the<br />

day. Whether the water is still, gently moved by<br />

the wind, or pitter-pattered from the rain; the<br />

light pattern follows. The architect designs the<br />

‘medium’ to allow residents to live in awareness<br />

of the changing season via the changing daylight.<br />

Photo Courtesy of Preecha Thaothong<br />

4<br />

04<br />

ผลงานของศาสตราจารย์<br />

ปรีชา เถาทอง<br />

05<br />

รูปทรงแสงบนวิหาร<br />

วัดเชียงทอง โดย<br />

ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง<br />

อาคารวัดถูกอาบด้วยแสงโทนเหลืองของพระอาทิตย์<br />

ยามเช้า หรือเปล่งประกายท่ามกลางสีเข้มของท้องฟ้า<br />

เวลาพลบค่ำา งานจิตรกรรมของเขาจับภาพของสภาวะที่<br />

ปรากฏให้เห็นราวกับว่าชั่วขณะหนึ่งเวลาได้หยุดหมุนลง<br />

สถาปัตยกรรม หรือ “วัตถุไร้เสียง” ดังที่ Plummer เรียก<br />

เปลี่ยนแปลงไปตามโมงยามของวัน จากการมีอยู่ของแสง<br />

อาทิตย์ ปรีชา เถาทอง บอกเล่าถึงการสร้างงานศิลปะของ<br />

เขาว่า แสงเดินทางอย่างไม่มีจุดสิ้นสุด เว้นเสียแต่ว่าเส้น<br />

ทางของมันจะถูกกีดกั้นด้วย “ตัวกลาง” บางอย่าง<br />

ถ้าเป็นเช่นนั้น ในฐานะของผู้ออกแบบ อะไรคือหนทางที่จะ<br />

สร้างสรรค์ “ตัวกลาง” ที่จะก่อให้เกิดการมีอิทธิพล ซึ่งกัน<br />

และกันในรูปแบบที่ว่า<br />

the interior. The breakthrough was during the<br />

modernist movement with the recurring images<br />

of floor-to-ceiling windows and the sleek interior<br />

flooded with natural light.<br />

But covering the sides of the building with large<br />

panes of glass is not the singular way to design<br />

the ‘medium’ for this era. In 1932, Pierre Chareau<br />

and Bernard Bijvoet cladded a three-storey house<br />

in Paris with translucent glass blocks. Maison<br />

de Verre, literally translated as a house of glass,<br />

contains an airy double-height lounge lit with<br />

diffuse sunlight. This seems common now, but<br />

how different and pioneering it must have felt in<br />

the 1930s. And how timeless this quality of light<br />

is in domestic architecture even today.<br />

Photo Courtesy of Franҫois Harlard and Dominique Vellay except as noted<br />

6<br />

<strong>06</strong>-07<br />

Maison de Verre ใน<br />

เมืองปารีส ประเทศ<br />

ฝรั่งเศส ออกแบบโดย<br />

Pierre Chareau และ<br />

Bernard Bijvoet


42<br />

theme<br />

LET THERE BE LIGHT<br />

43<br />

Photo Courtesy of Hiroshi Nakamura & NAP Co., Ltd<br />

8<br />

08-09<br />

Optical Glass House<br />

ในเมืองโตเกียว ประเทศ<br />

ญี่ปุ่น ออกแบบโดย<br />

Hiroshi Nakamura & NAP<br />

9<br />

Photo Courtesy of Koji Fujii_Nacasa & Partner Inc.<br />

7<br />

Photo Courtesy of Franҫois Harlard and Dominique Vellay except as noted<br />

แปดสิบปีต่อมาในโตเกียว ฟาซาด (Façade) ที่สร้างขึ้น<br />

จากบล็อคแก้วขนาดเท่าก้อนอิฐ ถูกนำามาใช้กับงานอย่าง<br />

Optical Glass House โดย Hiroshi Nakamura & NAP<br />

ด้วยที่ตั้งที่อยู่ติดกับถนนที่มีความจอแจ ความท้าทายของ<br />

งานออกแบบบ้านหลังนี้ คือการปิดกั้นการรบกวนของเสียง<br />

โดยรอบ หากแต่ยังหยิบยื่นเข้าถึงวิวและแสงธรรมชาติ<br />

อยู่ด้านหลังฟาซาดขนาด 8.6 x 8.6 เมตร คือ สวนที่ปลูก<br />

ต้นแอช เมเปิ้ล และฮอลลี่ สถาปนิกได้บรรยายถึงผลลัพธ์<br />

รูปแบบต่างๆ ของแสงที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานและ<br />

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบล็อคแก้วและต้นไม้ แสงที่ผ่านการ<br />

กรองกระจายตัวอยู่ท่ามกลางพื้นที่ ส่องประกายระยิบระยับ<br />

อยู่ภายในคอร์ทยาร์ด ลวดลายเคลื ่อนไหวราวกับแสงและ<br />

เงาเต้นระบำาอยู ่บนพื ้น การหยอกล้อกันระหว่างแสงและ<br />

สถาปัตยกรรมนั้น เกิดขึ้นจากการที่สถาปนิกวางเอาบ่อน้ำา<br />

ที่มีหน้าที่ของการเป็นช่องแสง บนหลังคาไว้ด้านบนของ<br />

ทางเข้า ที่บริเวณนี้ พลังงานของแสงและน้ำาทำางานร่วมกัน<br />

และก่อเกิดเป็นลวดลายของแสง ที่กระพริบเป็นประกาย<br />

บนพื้น ต้อนรับผู้มาเยือน และบอกให้เจ้าของบ้านที่กำาลังจะ<br />

ออกไปข้างนอกรู้ถึงสภาพอากาศในแต่ละวัน ไม่ว่าน้ำาจะนิ่ง<br />

The Filter<br />

Natural light is inherently desirable to building<br />

users. But in a climate where the sun is extreme,<br />

what are the ways to design the ‘medium’? Perforated<br />

screens, often known as Jali in India, or<br />

Mashrabiyya in the Middle East, are vernacular<br />

elements that help cut down the sun, thus the<br />

heat and the glare that comes with it. The ornately<br />

carved geometric patterns are not purely aesthetics,<br />

but are an effective means for ventilation, too.<br />

Perhaps Jean Nouvel gives a contemporary<br />

interpretation of this age-old knowledge. At the<br />

Louvre Abu Dhabi, natural light is filtered through<br />

layers of complex stainless steel and aluminium<br />

latticework and dapples the floor of the museum.<br />

Behind this outcome is a 180-metre-wide perforated<br />

dome hovering above as if an enormous<br />

Jali screen has been turned from wall to ceiling.<br />

The result is magical, celestial, and rooted to the<br />

place as though visitors take shelter from the sun<br />

in an oasis.


44<br />

theme<br />

LET THERE BE LIGHT<br />

45<br />

เคลื่อนไหวเบาๆ จากการถูกลมกระทบ หรือส่งเสียงเปาะ-<br />

แปะยามฝนตก ลวดลายของแสงก็จะปรากฏให้เห็นตามมา<br />

เสมอ สถาปนิกออกแบบ “ตัวกลาง” เพื่อช่วยให้ผู้อยู่อาศัย<br />

ได้ใช้ชีวิตไปพร้อมๆ กับการรับรู้ถึงฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลง<br />

ผ่านแสงธรรมชาติระหว่างวันที่ผันแปรไปในแต่ละช่วงเวลา<br />

ตัวกรอง<br />

แสงธรรมชาติเป็นสิ่งที่เหล่ามนุษย์ผู้ใช้อาคารชื่นชอบ<br />

ปรารถนาอยู่แล้วด้วยสัญชาตญาณ แต่ในภูมิอากาศที่<br />

แสงอาทิตย์แผดเผารุนแรง อะไรคือหนทางที่จะออกแบบ<br />

“ตัวกลาง” เพื่อรองรับสิ่งแวดล้อมดังกล่าว แผงช่องลม<br />

หรือ Jali ในภาษาอินเดีย หรือ Mashrabiyya แห่งดินแดน<br />

แถบตะวันออกกลาง เป็นองค์ประกอบหนึ่งของสถาปัตย-<br />

กรรมพื้นถิ่นที่ช่วยลดความรุนแรงเข้มข้นของแสงอาทิตย์<br />

ทั้งความร้อนและจ้าที่มาพร้อมกับแสงแดด ลวดลาย<br />

เรขาคณิตที่ถูกสร้างขึ้นให้มีคุณลักษณะเชิงตกแต่ง ไม่ได้<br />

ให้คุณค่าในทางสุนทรียะแต่เพียงอย่างเดียวหากแต่ยังมี<br />

ประโยชน์ด้านการใช้สอยอย่างการระบายอากาศอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพอีกด้วย<br />

The Glowing Lantern and the Light from<br />

Above<br />

As an architect designs the 'medium' between<br />

the interior and exterior, the relationship between<br />

architecture and light could manifest both from<br />

within and on the outside. At Maggie’s Barts,<br />

a support centre for cancer patients in London,<br />

Steven Holl wraps the three-storey building with<br />

translucent matte glass. The luminous white skin<br />

is punctuated by colourful glass panels. Contrasting<br />

to the clinical atmosphere that one might picture<br />

in a cancer support centre, Holl wishes the<br />

interior to be shaped by coloured light washing<br />

the floors and walls. This atmosphere shall also<br />

change by the time of day and season. Externally,<br />

it is a combined effect between the interior lighting<br />

that Holl specifically design with the effect of<br />

the translucent white glass and the positioning of<br />

the colourful panels. The result? A warm glowing<br />

lantern. It stands out from the rest of the neighbouring<br />

stone-cladded buildings and Holl hopes it<br />

would provide a 'joyful, glowing presence on this<br />

corner of the great square'.<br />

12<br />

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ในเมือง<br />

อาบูดาบี สหรัฐอาหรับ<br />

เอมิเรตส์ ออกแบบโดย<br />

Jean Nouvel ภาพถ่าย<br />

โดย Roland Halbe<br />

10<br />

Jali ที่หลุมฝังศพ<br />

ของ Salim Chishti<br />

ในประเทศอินเดีย<br />

11<br />

ตัวอย่างของ Jali ใน<br />

สถาปัตยกรรมอินเดีย<br />

Natural light is inherently desirable to building<br />

users. But in a climate where the sun is extreme,<br />

what are the ways to design the ‘medium’?<br />

Photo Courtesy of Roland Halbe<br />

12<br />

6<br />

Photo Courtesy of David Castor<br />

10<br />

11<br />

Photo Courtesy of Feng Zhong<br />

บางทีสถาปนิก Jean Nouvel อาจจะได้ให้การตีความที่<br />

ร่วมสมัยของความรู้ที่มีอยู่อย่างยาวนานนี้ไว้แล้วก็เป็นได้<br />

ในงานอย่าง Louvre Abu Dhabi แสงธรรมชาติถูกกรอง<br />

ผ่านชั้นโครงตาข่ายสแตนเลสและอลูมิเนียมอันซับซ้อน<br />

แต้มแต่งพื้นของพิพิธภัณฑ์อย่างมีพลวัต เบื้องหลังผลลัพธ์<br />

ดังกล่าว คือโครงสร้างโดมเจาะช่องแสงกว้าง 180 เมตรที่<br />

พาดตัวอยู่เบื้องบน ราวกับว่า Jali ขนาดใหญ่ยักษ์ได้ถูก<br />

แปรสภาพจากกำาแพงไปเป็นเพดาน สิ่งที่ได้คือองค์ประกอบ<br />

แสนมหัศจรรย์ ที่ปรากฏอยู่ราวกับเป็นส่วนหนึ่งของดินแดน<br />

ท้องฟ้าเบื้องบน และยึดโยงอยู่กับพื้นที่ ส่งผลให้เหล่าผู้มา<br />

เยือนรู้สึกเสมือนกับได้พักหลบร้อนจากแสงอาทิตย์ภายใน<br />

โอเอซิส<br />

Maggie’s Centre at Barts successfully manages<br />

light in a way that creates a pleasant interior<br />

atmosphere and manifests a welcoming gesture<br />

on the exterior. Both sides of the ‘medium’ call for<br />

creative use of light. Meanwhile, for a different<br />

building typology like churches, a focus on its<br />

interior is required as visitors meditate with their<br />

thoughts. Light and architecture play an important<br />

role in achieving this goal.<br />

Jørn Utzon’s Bagsværd Church on the outskirts of<br />

Copenhagen derives from his profound understanding<br />

of the nature of sunlight in the region.<br />

Sunlight in Scandinavia is scarce for most of the


46 47<br />

13<br />

Maggie’s Centre at<br />

Bart’s เมืองลอนดอน<br />

ประเทศอังกฤษ<br />

13<br />

7<br />

Photo Courtesy of Iwan Baan


48<br />

theme<br />

LET THERE BE LIGHT<br />

49<br />

โคมเรืองรองและแสงสว่างจากด้านบน<br />

ในขณะที่สถาปนิกออกแบบ “ตัวกลาง” ที่กั้นภายนอกออก<br />

จากภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างงานสถาปัตยกรรม และ<br />

แสงอาจปรากฏออกมาได้ทั้งจากภายในและภายนอก ที่<br />

Maggie’s Centre Barts ศูนย์ดูแลผู้ป่วยมะเร็งในลอนดอน<br />

สถาปนิก Steven Holl หุ้มอาคารสามชั้นด้วยกระจกโปร่ง-<br />

แสงเนื้อด้าน ผิววัสดุสีขาวสว่างนวลถูกคั่นจังหวะด้วยแผ่น<br />

กระจกสี ด้วยหน้าตาที่ตรงข้ามกับบรรยากาศแนวสถาน<br />

พยาบาลที่หลายคนอาจจินตนาการถึง เพราะสถาปนิกต้อง<br />

การให้พื้นที่ภายในเป็นรูปเป็นร่างขึ้นด้วยแสงสีที่อาบพื้น<br />

และกำาแพง บรรยากาศดังกล่าวยังแปรเปลี่ยนไป ตามแต่ละ<br />

ช่วงเวลาของวันและฤดูกาล ส่วนองค์ประกอบภายนอกนั้น<br />

เป็นผลจากการผสมผสานระหว่างการออกแบบแสงภายใน<br />

เอกลักษณ์อันเป็นเฉพาะของแสงจากกระจกโปร่งใสขาว<br />

และการออกแบบการวางตัวของแผงกระจกสีสันสดใส<br />

ให้สอดคล้องกัน แล้วผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร? คำาตอบก็คือ<br />

อาคารที่เป็นดั่งโคมเปล่งแสงอบอุ่นเรืองรอง ปรากฏกาย<br />

อย่างโดดเด่นจากอาคารกำาแพงหินที่ตั้งอยู่ภายในละแวก<br />

เดียวกัน โดยสถาปนิกหวังว่า การตั้งอยู่ของตัวอาคารจะ<br />

สร้างความสดใสและเป็นเอกลักษณ์ให้กับมุมถนนของจัตุรัส<br />

อันงดงามของเมืองแห่งนี้<br />

สถาปัตยกรรมของ Maggie's Centre Barts แห่งนี้ บริหาร<br />

จัดการแสงได้อย่างประสบความสำาเร็จในแง่มุมที่มันสามารถ<br />

สร้างบรรยากาศของพื้นที่ภายในและรูปลักษณ์ภายนอก<br />

ที่แสดงท่าทีต้อนรับแก่ผู้มาเยือน ลักษณะอาคารอย่าง<br />

Maggie’s Centre Barts เรียกร้องการออกแบบแสงอย่าง<br />

สร้างสรรค์ให้แสงแสดงออกทั้งสองฝั่งของ “ตัวกลาง” ใน<br />

ทางกลับกัน กับลักษณะของอาคารอย่างโบสถ์ การออกแบบ<br />

“ตัวกลาง” ต้องให้ความสำาคัญกับพื้นที่ภายในเป็นอย่าง<br />

มาก เนื่องจากผู้ใช้งานอาคารนั้น สื่อสารและครุ่นคิดอยู่กับ<br />

ความคิดของตนเอง แสงและสถาปัตยกรรมจึงมีบทบาท<br />

หน้าที่สำาคัญในการบรรลุจุดมุ่งหมายนี้<br />

14<br />

From Le Corbusier’s notes, we<br />

can conclude that it is the varying<br />

light and volume, in relation<br />

to our human scale and chosen<br />

materials that produce what<br />

the architect calls 'the rhythm'.<br />

Photo Courtesy of Iwan Baan<br />

15<br />

เพดานโค้งของโบสถ์<br />

Bagsværd<br />

16<br />

ทางเดินภายในโบสถ์<br />

Bagsværd<br />

ส่วนโถงพิธี เช่นเดียวกับส่วนของทางเดิน แสงถูกนำาพา<br />

เข้ามาผ่านหน้าต่างช่องรับแสงที่ด้านบนของโบสถ์ ด้วย<br />

ความช่วยเหลือจากพื้นผิวสีขาว ที่มีรายละเอียดของผิว<br />

สัมผัส ที่ปกคลุมพื้นผิวของที่ภายใน แสงถูกสะท้อน กระจาย<br />

ออก และทำาให้มีความนุ่มนวลขึ้น เมื่อมันเดินทางไปถึง<br />

พื้นที่เบื้องล่าง บรรยากาศที่ได้คือความสงบนิ่ง อันอาจเป็น<br />

สิ่งที่ Henry Plummer เรียกว่า “ความเงียบที่เปี่ยมไปด้วย<br />

บรรยากาศ”<br />

ขอแสงสว่างจงอย่าบังเกิด<br />

ในการออกแบบ “ตัวกลาง” มันอาจจะเป็นประโยชน์มาก<br />

กว่าที่เราจะตระหนักว่า แสงสามารถเข้ามาได้ในหลาก-<br />

หลายระดับแตกต่างกันไป ในหนังสือเล่มสำาคัญอย่าง<br />

Towards a New Architecture ที่เขียนโดยสถาปนิกระดับ<br />

ตำานานของโลกอย่าง Le Corbusier ตอนหนึ่งของหนังสือ<br />

เล่มนี้ Le Corbusier บรรยายการเดินทางผ่านมัสยิด<br />

Green Mosque แห่ง Broussa ในดินแดนเอเชียไมเนอร์ หรือ<br />

อนาโตเลีย (ดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย)<br />

ลำาดับของพื้นที่เริ่มขึ้นจากประตูทางเข้าเล็กๆ ตามมาด้วย<br />

บริเวณที่พื้นผิวปกคลุมไปด้วยหินอ่อนขาวและแสงสว่าง<br />

สดใส พื้นที่ข้างๆ ปรากฏอยู่ในขนาดเดียวกัน แต่ถูกยกขึ้น<br />

ให้วางตัวเหนือขั้นบันได และอยู่ภายใต้ความเข้มข้นของ<br />

แสงที่น้อยกว่าพื้นที่อีกด้าน ขนาบข้างพื้นที่นี้ คือพื้นที่อีก<br />

ส่วนหนึ่งที่มีขนาดเล็กกว่า และมีปริมาณของแสงที่อ่อน<br />

กว่า ท้ายสุดแล้ว การเดินทางผ่านอาคารนี้ จบลงที่พื้นที่<br />

ขนาดเล็กที่อยู่ใต้ร่มเงา จากข้อเขียนของ Le Corbusier<br />

เราสามารถสรุปความได้ว่า ความหลากหลายของแสงและ<br />

ปริมาตร ที่เกี่ยวพันกับสัดส่วนมนุษย์ และวัสดุที่เลือกใช้<br />

ได้สร้างสิ่งที่เขาเรียกว่า “จังหวะ” หรือ ‘the rhythm’ ขึ้นมา<br />

ในบางพื้นที่ แสงสว่างอาจเกิดขึ้น และในพื้นที่ที่เหมาะสม<br />

แสงสว่างก็อาจจะเกิดขึ้นในปริมาณที่น้อยลง<br />

Let there be no light<br />

In designing the ‘medium’, it might be useful to<br />

remember that light comes in varying degrees. In<br />

the iconic Towards a New Architecture by Le Corbusier,<br />

the world-renowned architect describes<br />

a journey through the Green Mosque in Broussa<br />

in Asia Minor. The sequence begins with a small<br />

doorway, followed by a great white marble-cladded<br />

space filled with light. An adjacent space<br />

repeats the same size but is raised on many steps,<br />

with half the light intensity of the previous. Flanking<br />

this space is the space smaller in size, with<br />

the light subdued. Culminating the narration are<br />

two smaller spaces in shade. From Le Corbusier’s<br />

notes, we can conclude that it is the varying light<br />

and volume, in relation to our human scale and<br />

chosen materials that produce what the architect<br />

calls 'the rhythm'. Perhaps, there shall be light.<br />

And where appropriate, there shall also be less<br />

light.<br />

อาคารโบสถ์ Bagsværd ออกแบบโดย Jørn Utzon ตั้ง<br />

อยู่ชานเมืองโคเปนเฮเกน ก่อร่างสร้างตัวมาจากความ<br />

เข้าใจอย่างลึกซึ้งที่สถาปนิกมีต่อธรรมชาติของแสงอาทิตย์<br />

ภายในภูมิภาคและพื้นที่ที่งานตั้งอยู่ แสงอาทิตย์ในประเทศ<br />

แถบสแกนดิเนเวียนนั้น นับว่าเป็นสิ่งที่หาได้ยากตลอด<br />

ช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปี ยกเว้นแค่เพียงในช่วงหน้าร้อน<br />

เส้นทางของดวงอาทิตย์เดินทางในระดับความสูงที่ต่ำาตลอด<br />

ทั้งปี และด้วยเหตุนี้เอง ด้านข้างของโบสถ์จึงมีหน้าต่างอยู่<br />

เพียงไม่กี่บาน โดยแสงจะได้รับอนุญาตให้เข้าสู่พื้นที่ภายใน<br />

ผ่านคอร์ทยาร์ด และช่องแสงบนเพดานที่วางตัวอยู่เหนือ<br />

ทางเดินยาวภายในที่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของอาคาร<br />

ส่วนที่โดดเด่นที่สุดนั้น แน่นอนว่าคือพื้นที่ใต้หลังคาโค้งใน<br />

year except during summer. The path of the sun<br />

travels at low altitudes for the whole year. For this<br />

reason, the sides of the Church contain a very<br />

limited number of windows. Light is admitted,<br />

instead, via courtyards and skylights that covers<br />

the long corridors transversing the building. The<br />

most distinctive feature is undoubtedly the rolling<br />

vaults in the sanctuary. Like the corridors, light is<br />

admitted from above via clerestory windows. With<br />

the help of the white textured surfaces covering<br />

the interior, light is reflected, diffused, and softened<br />

as it reaches the space below. The resulting<br />

atmosphere is serene. And perhaps what Henry<br />

Plummer may call ‘atmospheric silence’.<br />

14<br />

Maggie’s Centre at<br />

Bart’s เมืองลอนดอน<br />

ประเทศอังกฤษ<br />

Photo Courtesy of David Messent, Arne Magnnssen,<br />

Ximo Michavila except as noted<br />

15<br />

Photo Courtesy of David Messent, Arne Magnnssen,<br />

Ximo Michavila except as noted<br />

16


LET THERE BE LIGHT<br />

50 51<br />

นวันวัจน์ ยุธานหัส<br />

จบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรีและปริญญา-<br />

โทจากคณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ที่ Bartlett<br />

School of Architecture,<br />

University College<br />

London เธอเป็ นภัณฑา-<br />

รักษ์ผู้ช่วย (Assistant<br />

Curator) ของ Thai<br />

Pavilion ในนิทรรศการ<br />

สถาปั ตยกรรมนานาชาติ<br />

หรืองานเวนิสเบียนนาเล่<br />

ครั้งที่ 17 นอกจากงาน<br />

หลักที่เกี่ยวข้องกับจุด<br />

ร่วมของสถาปั ตยกรรม<br />

วัฒนธรรมและศิลปะ<br />

แล้ว ปั จจุบัน นวันวัจน์เป็ น<br />

อาจารย์พิเศษที่ International<br />

Programme<br />

in Communication<br />

Design (CommDe)<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

Nawanwaj<br />

Yudhanahas<br />

studied her Bachelor’s<br />

and Master’s degrees<br />

in Architecture at the<br />

Bartlett School of<br />

Architecture in London.<br />

She was an assistant<br />

curator for Thailand’s<br />

participation at the<br />

17th Architecture Biennale<br />

in Venice. Apart<br />

from her full-time job in<br />

the intersection of architecture,<br />

culture, and<br />

contemporary art, she<br />

is currently a part-time<br />

lecturer at the International<br />

Programme<br />

in Communication<br />

Design at Chulalongkorn<br />

University.<br />

18<br />

17<br />

ภายนอกของโบสถ์<br />

8Bagsværd<br />

17<br />

Photo Courtesy of David Messent, Arne Magnnssen, Ximo<br />

Photo Michavila courtesy except of Taro as Hirono noted<br />

18<br />

ภาพร่างผังพื้น<br />

ของมัสยิดสีเขียว<br />

(The Green Mosque)<br />

โดย Le Corbusier<br />

จากหนังสือ Towards<br />

a New Archiecture<br />

ชีวิตจงเกิด<br />

แสงอาจถูกกระจายออก กระพริบ ส่องประกาย ปรากฏ<br />

เป็นจุดระยิบระยับ เรืองรอง หรือมีความอ่อนละมุนลง<br />

และอื่นๆ ผลงานออกแบบที่กล่าวมาข้างต้นของการใช้<br />

“ตัวกลาง” เป็นเพียงตัวอย่างเพียงไม่กี่ตัวอย่างเท่านั้น<br />

สิ่งที่จะเกิดตามมาขึ้นอยู่กับจินตนาการของนักออกแบบ<br />

ในการที่จะรังสรรค์ “ตัวกลาง” โดยมีธรรมชาติของแสง<br />

อยู่ในห้วงคำานึง เพิ่มชีวิตชีวาให้กับพื้นที่ และก้าวข้ามผ่าน<br />

สภาวะของการคงอยู่อย่างไร้ซึ่งความเคลื่อนไหวของอาคาร<br />

สิ่งก่อสร้าง หรือดังที่ Henry Plummer กล่าวไว้ในคำานำา<br />

ของการศึกษาแสงของเขาว่า “สำาหรับใครก็ตามที่มองหา<br />

หนทางที่จะสร้างพื้นที่ ที่อยู่เหนือการมีอยู่ทางกายภาพ”<br />

LET THERE BE LIFE<br />

Light could be diffuse, flickering, shimmering,<br />

dappling, glowing, softened, subdued, and so on.<br />

The aforementioned designs of the ‘medium’ are<br />

merely few examples. What's next is up to the<br />

designers' imagination to create the 'medium' with<br />

the nature of light in mind, adding life to space,<br />

and going beyond the seemingly static building—<br />

or as Henry Plummer puts it in an introduction to<br />

his study on light: ‘For all those seeking to create<br />

space that transcends the physical.’


52<br />

theme / review<br />

New<br />

53<br />

Light<br />

on<br />

an<br />

Old<br />

Tale<br />

With the help of light, the design for a prominent rice mill in Nakhon<br />

Sawan by PHTAA Living Design works to compromise the preservation<br />

of the old building and the arrival of the newly constructed structure<br />

in a unique manner.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo: Beer Singnoi<br />

1<br />

01<br />

เงาที่ตกกระทบลงไปใน<br />

ผนังอิฐรูปแบบสามเหลี่ยม<br />

ที่ผู้ออกแบบจงใจออกแบบ<br />

เพื่อแก้ไขปัญหาความชื้น<br />

และฝุ่นอันเป็นปัญหา<br />

สำาคัญของโครงการ


theme / review<br />

NEW LIGHT ON AN OLD TALE<br />

54 55<br />

“I sense a Threshold: Light to Silence,<br />

Silence to Light – an ambiance of inspiration,<br />

in which the desire to be, to express,<br />

crosses with the possible Light to Silence,<br />

Silence to Light crosses in the sanctuary<br />

of art.” หลุยส์ ไอ คาห์น สถาปนิกสัญชาติ<br />

สหรัฐอเมริกา เคยกล่าวถึงคุณลักษณะของแสง<br />

และเงากับสถาปัตยกรรมเอาไว้ การเน้นย้ำาถึง<br />

สัญญะการรับรู้สถาปัตยกรรมในฐานะของอาคาร<br />

ที่ถูกใช้งานพร้อมไปกับลักษณะทางศิลปะที่<br />

สถาปัตยกรรมได้มอบไว้ให้ท่ามกลางแสงและ<br />

เงา ดังนั้นเมื่อเรากล่าวถึงแสงกับสถาปัตยกรรม<br />

การออกแบบแสงจึงเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่<br />

สำาคัญที่มีอิทธิพล ส่งเสริมให้ที่ว่าง รูปทรง<br />

และวัสดุของสถาปัตยกรรม เกิดปรากฎการณ์<br />

วิทยาขึ้น ซึ่งภายใต้พื้นที่ว่างที่ถูกโอบล้อมด้วย<br />

สถาปัตยกรรมนี้ จะเกิดคุณลักษณะของแสงใน<br />

มิติของแสงธรรมชาติที่ผันแปรเปลี่ยนตามกาล-<br />

เวลา กับแสงประดิษฐ์ที่ผู้ออกแบบได้กำาหนด<br />

พื้นที่ของแหล่งกำาเนิดแสงเอาไว้ตามความต้อง-<br />

การ เมื่อเกิดการใช้สอยตัวสถาปัตยกรรม การ<br />

กำาหนดคุณลักษณะของช่องเปิด ผนัง ส่วนปิด<br />

ล้อม ได้ก่อให้เกิดแสงและเงาขึ้นตกทอดมาสู่<br />

วัสดุอาคาร ภายใต้สภาวะปัจจุบันขณะนั้น เป็น<br />

ช่วงเวลาที่ความเงียบของสถาปัตยกรรม ได้เริ่ม<br />

บทสนทนาต่อผู้ใช้สอยสถาปัตยกรรม ที่ซึ่งเรา<br />

ไม่อาจรับรู้ได้เพียงมองจากภาพถ่าย หรือหน้าจอ<br />

โทรศัพท์มือถือ หากแต่ต้องยืนอยู่ ณ ที่แห่งนั้น<br />

ท่ามกลางช่วงเวลาแห่งปรากฏการณ์แห่งแสง<br />

ที่กระทำาต่อสถาปัตยกรรมนั้น ความรู้สึกต่อ<br />

พื้นที่ว่างจึงอุบัติขึ้นมาเป็นปรากฏการณ์วิทยา<br />

ดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นผ่านโรงสีข้าวแห่งใหม่<br />

ที่เพิ่งก่อสร้างเสร็จท่ามกลางท้องทุ่งนาข้าวใน<br />

จังหวัดนครสวรรค์<br />

ภาพของท้องทุ่งนาที่กว้างใหญ่ไพศาล สุดลูกหู<br />

ลูกตา รถบรรทุกข้าวเปลือกที่ทยอยเลี้ยวเข้า<br />

ออกเพื่อถ่ายเทข้าวเปลือกจำานวนมหาศาลกับ<br />

โรงสี เป็นภาพชินตาของคนในท้องถิ่น ข้าว<br />

เหล่านี้ในอีกไม่ช้านานจะถูกนำาไปจำาหน่าย และ<br />

เดินทางมาสู่จานข้าวที่เรารับประทานในทุกวัน<br />

ท่ามกลางท้องทุ่งนาโล่งกว้างของจังหวัดนคร-<br />

สวรรค์ที่ราบลุ่มแม่น้ำาขนาดใหญ่ อู่ข้าวอู่น้ำาที่<br />

สำาคัญของพื้นที่ตอนกลางของประเทศไทย ที่<br />

มีชื่อเรียกในอดีตว่า “ปากน้ำาโพ” ถัดออกไป<br />

จากจุดที่แม่น้ำาปิงและแม่น้ำาน่านไหลเวียนมา<br />

บรรจบกันเป็นต้นกำาเนิดของแม่น้ำาเจ้าพระยา<br />

ทางทิศตะวันออก 47 กิโลเมตร มีอาคารโรงสี-<br />

ข้าวขนาดใหญ่ตั้งตระหง่านต้อนรับเหล่าบรรดา<br />

รถบรรทุกข้าวเปลือกที่มักผลัดเปลี่ยนหมุนเวียน<br />

เข้ามาในอาคารแห่งนี้ โรงสีข้าว ล้อพูลผลไรซ์-<br />

มิลล์ เป็นโรงสีข้าวขนาดใหญ่ที่มีชื่อเสียงแห่ง<br />

หนึ่งของจังหวัดนครสวรรค์ ด้วยขนาดของกำาลัง<br />

สี 500 ตัน ต่อ 24 ชั่วโมง โรงสีจึงเป็นศูนย์กลาง<br />

ของการรวบรวมผลิตผลทางการเกษตรจาก<br />

นาข้าวในพื้นที่ใกล้เคียง เป็นตัวกลางที่มีความ<br />

สำาคัญระหว่างชาวนากับผู้บริโภค และสำาหรับ<br />

ล้อพูลผลไรซ์มิลล์ ห้วงเวลานี้ก็เป็นช่วงเปลี่ยน<br />

ผ่านที่สำาคัญต่อธุรกิจข้าวในยุคปัจจุบันด้วย การ<br />

เปลี่ยนผ่านระหว่างรุ่นสู่รุ่นเป็นส่วนหนึ่งที่ทำา<br />

ให้เกิดความพยายามในการออกแบบก่อสร้าง<br />

โครงการแห่งนี้ คุณพลวิทย์ รัตนธเนศวิไล<br />

สถาปนิกแห่ง PHTAA Living design ได้เล่าถึง<br />

ความท้าทายในมิติของการออกแบบภายหลัง<br />

จากได้รับโจทย์สำาคัญ<br />

เนื่องจากความตั้งใจในเบื้องต้นของเจ้าของ<br />

โครงการนั้น ตั้งใจที่จะเก็บรักษาตัวอาคารเก่า<br />

เอาไว้ เพราะมีความผูกพันกับอาคารเก่าซึ่งเป็น<br />

รูปแบบของสถาปัตยกรรมแบบอาคารพาณิชย์<br />

ในอดีต อาคารหลังนี้ในอดีตถูกใช้เป็นอาคาร<br />

อเนกประสงค์ โดยเป็นทั้งสำานักงาน และเป็น<br />

ทั้งพื้นที่ห้องปฏิบัติการ (Laboratory) ในการ<br />

ทดสอบคุณภาพของข้าว เมื่อสถาปนิกได้รับ<br />

เงื่อนไขในการออกแบบดังกล่าว จึงนำามาสู่<br />

ความพยายามในการประนีประนอมระหว่าง<br />

การเก็บรักษาตัวอาคารเก่าเอาไว้ ไปพร้อมๆ<br />

กับการออกแบบอาคารใหม่ที่มีความโดดเด่น มี<br />

เอกลักษณ์ และดำารงอยู่ร่วมกับสภาพแวดล้อม<br />

ในบริบทพื้นที่ตั้งได้อย่างกลมกลืน และยัง<br />

สามารถรองรับคุณลักษณะความต้องการเชิง<br />

พื้นที่ได้ตรงกับความต้องการในปัจจุบันและ<br />

ในอนาคตต่อไป<br />

ทีมออกแบบได้ทำาการศึกษาถึงปัญหาที่เคย<br />

เกิดขึ้น ทั้งเรื่องของการสัญจร (Circulation)<br />

ความชื้นที่เกิดขึ้นภายในตัวอาคาร ปัญหาน้ำ าท่วม<br />

ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรุนแรงในช่วงฤดูฝน ที่มีน้ำ าหลาก-<br />

ไหลเอ่อจากแม่น้ำา รวมไปถึงปัญหาของฝุ่นที่<br />

เกิดจากการสีข้าว นำามาสู่การออกแบบใหม่ โดย<br />

ในการแก้ไขปัญหาเรื่องการสัญจร ผู้ออกแบบ<br />

ได้กำาหนดการออกแบบให้ตัวอาคารหลักถูกแบ่ง<br />

ออกเป็น 2 ชั้น และขยายพื้นที่อาคารใหม่คลุม<br />

พื้นที่ออกไปจากอาคารเก่าในสองทิศทาง ทาง<br />

ทิศเหนือและทิศตะวันออก ล้อมพื้นที่ส่วนอ่าง<br />

เก็บน้ำาด้านทิศเหนือ โดยพื้นที่อาคารส่วนทิศใต้<br />

กำาหนดให้เป็นพื้นที่รถบรรทุกข้าวเปลือก ที่จะ<br />

เข้ามาเทียบชั่งน้ำาหนัก โดยพื้นที่ส่วนแรกนี้จะ<br />

เป็นพื้นที่สำาหรับใช้ในการทดสอบคุณภาพของ<br />

ข้าว ค่าความชื้นสัมพัทธ์ ฯลฯ พื้นที่ส่วนนี้จะถูก<br />

ใช้งานโดยเจ้าหน้าที่ของโรงสี และต้องต้อนรับ<br />

ชาวนาที่นำาส่งข้าวเปลือก ที่จะมานั่งพักคอย<br />

ระหว่างการตรวจสอบคุณภาพของข้าว พื้นที่<br />

ส่วนนี้จะถูกใช้งานมากที่สุดในช่วงเดือนพฤศจิ-<br />

กายน เนื่องจากเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิต<br />

ในช่วงปลายปี โดยพื้นที่พักคอยนี้จะสัมพันธ์<br />

กับส่วนโรงอาหาร (Canteen) ส่วนบริเวณของ<br />

สำานักงานจะใช้พื้นที่อาคารเดิมเป็นหลัก ส่วน<br />

พื้นที่ส่วนต่อขยายชั้นที่สอง จะถูกใช้เป็นพื้นที่<br />

สำาหรับห้องถ่ายทำา (Studio) ห้องเก็บของ<br />

(Storage) สำานักงานในบางส่วน และเป็นพื้นที่<br />

สำาหรับการใช้งานในอนาคต ในแง่ของการวาง<br />

แนวอาคารผู้ออกแบบได้กำาหนดให้พื้นที่ด้าน<br />

หลังของอาคารติดกับพื้นที่อ่างเก็บน้ำาด้านทิศ<br />

เหนือ พื้นที่ดังกล่าวออกแบบให้วัสดุหลักเป็น<br />

ผนังที่บล็อคลมขนาดใหญ่ เพื่อสร้างให้เกิดการ<br />

บังคับทิศทางของลมเข้าสู่พื้นที่ภายในอาคาร<br />

พื้นที่บริเวณนี้สัมพันธ์กับส่วนโรงอาหาร พื้นที่<br />

พักทานข้าวของพนักงาน ออกแบบเว้นบางส่วน<br />

ให้เป็นผนังอิฐสลับกับช่องลม เพื่อสร้างการผ่าน<br />

ของทิศทางลม (Air Ventilation) และช่วยส่ง-<br />

เสริมสุนทรียภาพของพนักงานที่ใช้พื้นที่ริมน้ำา<br />

ในการพักผ่อนจากการทำางาน<br />

ในแง่ของการแก้ปัญหาเรื่องความชื้น ผู้ออกแบบ<br />

ได้ทำาการออกแบบพัฒนาวัสดุอิฐ ที่เรียกว่า<br />

“Triangular shape brick” หรืออิฐรูปแบบ<br />

สามเหลี่ยม ที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ให้เป็น<br />

วัสดุหลักของอาคารที่ช่วยลดความชื้นและลด<br />

ฝุ่น อันเป็นปัญหาสำาคัญของโครงการ เนื่องจาก<br />

ความชื้นเกิดขึ้นจากฝนที่ตกชุกและถี่ ซึ่งเป็น<br />

คุณลักษณะของภูมิอากาศในบริเวณพื้นที่ราบลุ่ม<br />

ที่ตั้งของโครงการ การนำาอิฐมอญในรูปทรง<br />

สามเหลี่ยมหลังเต่ามาใช้ จะช่วยลดความเสี่ยง<br />

ที่น้ำาจะไหลย้อนเข้าไปในแนวปูน รวมไปถึงลด<br />

ความเสี่ยงที่จะนำาพาความชื้นเข้าไปในตัวอาคาร<br />

และมีคุณสมบัติป้องกันการซึมของความชื้น<br />

เข้าสู่พื้นที่ภายในโดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่ห้อง<br />

ปฏิบัติการพิสูจน์คุณภาพข้าว ซึ่งพื้นที่นี้จำาเป็น<br />

ต้องมีความชื้นต่ำา เพื่อความเที่ยงตรงของการ<br />

วัดค่าความชื้น อีกความโดดเด่นที่ได้จากตัว<br />

วัสดุคือการลดการเกาะตัวของฝุ่นในช่วงล่าง<br />

ของแนวอิฐ ซึ่งในแง่ของค่าใช้จ่ายพบว่าวัสดุ<br />

อิฐมีราคาถูกกว่าคอนกรีตมวลเบา และงาน<br />

คอนกรีตหล่อซึ่งมีราคาที่สูงกว่า นอกจากนี้อิฐ<br />

ดังกล่าวยังเป็นวัสดุท้องถิ่นที่ถูกเผาจากจังหวัด<br />

ใกล้เคียง ทีมผู้ออกแบบได้สั่งเผาอิฐ อปก ทำา<br />

มือจากพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น<br />

จากการขนส่งอีกด้วย<br />

การใช้อิฐรูปแบบสามเหลี่ยมก่อเป็นแนวขนาด<br />

ใหญ่ส่งผลให้เกิดเอกลักษณ์ของรูปด้านอาคาร<br />

ที่ปฏิสัมพันธ์ทางปรากฏการณ์วิทยากับแสง<br />

และเงาในแต่ละช่วงเวลา เช่นในยามที่แดดแรง<br />

ตกกระทบจะส่งผลให้เกิดมิติเส้นนอนขึ้นกับผืน<br />

ผนัง อันเกิดจากรูปทรงสามเหลี่ยมของแนวอิฐ<br />

ที่ใช้ก่อผืนผนัง โดยผู้ออกแบบได้ทำาการโชว์<br />

แนวตัดของผืนผนังอิฐสามเหลี่ยมให้เห็นถึงรูป-<br />

แบบการก่ออิฐ แสดงให้เห็นภาพตัดของวัสดุที่<br />

ใช้ในโครงการ ในส่วนของการออกแบบแสงใน<br />

พื้นที่อาคาร ผู้ออกแบบได้เน้นย้ำาถึงการสร้าง<br />

ปรากฏการณ์ของแสงผ่านการเจาะช่องเปิดตรง<br />

กลาง เป็นรูปวงกลมทะลุจากด้านบนลงมาถึง<br />

พื้นที่ชั้นล่าง ปลูกต้นไม้ตรงกลางอาคาร เพื่อ<br />

สร้างให้เกิดบรรยากาศของแสงตกกระทบแบบ<br />

indirect light ในพื้นที่ ซึ่งเป็นลักษณะเด่นที่<br />

สำาคัญของพื้นที่ภายในโครงการ ที่ผู้ออกแบบ<br />

ได้เลือกกำาหนดให้มีการเว้นช่องแสงเฉพาะ<br />

ในจุดที่ต้องการผ่านการเจาะช่องแสงกับแนว<br />

ผนังทึบของโครงการ ในมิติของการออกแบบ<br />

แสงธรรมชาติกับพื้นที่ว่างด้านในนี้ ผู้ออกแบบ<br />

ประสบความสำาเร็จในการสร้างการปกป้องฝุ่น<br />

ละอองจากการสีข้าว และปกป้องความชื้นที่<br />

เกิดจากสภาพภูมิอากาศฝนตกชุกไปพร้อมกัน<br />

กับการสร้างคุณลักษณะของการสร้างให้เกิด<br />

แสงและเงาขึ้นกับพื้นที่ทั้งภายนอกและภายใน<br />

อาคาร ด้วยการใช้ผนังอิฐสามเหลี่ยมขนาดใหญ่<br />

ในส่วนด้านบนของอาคารเก่า ผู้ออกแบบได้<br />

ใช้วัสดุ Perforate aluminium sheet เป็นวัสดุ<br />

หุ้มเปลือกอาคาร Façade เพื่ออำาพรางอาคารเก่า<br />

และวางให้แผ่นนี้บิดเอียงให้สัมพันธ์กับการ<br />

ระบายอาคาร ป้องกันการกักเก็บฝุ่น เหตุผลอีก<br />

ประการที่ใช้วัสดุหุ้มพื้นที่นี้เป็นอลูมิเนียมนั้น<br />

จะช่วยป้องกันนกที่มาเกาะหรือทำารังในพื้นที่<br />

ด้านบนอาคาร เนื่องจากในตอนกลางวันแดดจะ<br />

ร้อนจัด และวัสดุอลูมิเนียมจะมีอุณหภูมิสูงมาก<br />

ทำาให้นกไม่มาทำารังในพื้นที่ดังกล่าว<br />

แดดค่อยๆ ไล้โลมเลียเปลี่ยนแปลงไปตามช่วง<br />

เวลา เผยให้เห็นอาคารแนวผนังอิฐที่วางตัวอย่าง<br />

กลมกลืนแต่เปี่ยมด้วยเอกลักษณ์อยู่ท่ามกลาง<br />

ท้องทุ่งข้าวสีเขียวสุดลูกหูลูกตา อาคารโรงสี<br />

แห่งใหม่ในที่เก่า เป็นตัวแทนสถาปัตยกรรมแห่ง<br />

การประนีประนอมระหว่างรุ่นสู่รุ่น และระหว่าง<br />

สถาปัตยกรรมกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมแห่งท้อง<br />

ทุ่งปากน้ำาโพ<br />

02<br />

หลังคา Slab ของอาคาร<br />

ถูกออกแบบให้ปกคลุมพื ้นที่<br />

ใช้สอยทั ้งหมดของอาคาร<br />

โดยพื้นที่บริเวณด้านหน้า<br />

ผู้ออกแบบได้ทำาการใส่ท่อ<br />

ระบายน้ำาไว้คู่กับเสารับน้ำา<br />

หนักอย่างแยบคาย<br />

2


theme / review<br />

NEW LIGHT ON AN OLD TALE<br />

56 57<br />

In that precise moment,<br />

the architecture no<br />

longer keeps its silence<br />

and begins to converse<br />

with its users, as a built<br />

structure in person, at<br />

a specific place and time<br />

when light casts its spell.<br />

That is when our sensory<br />

perceptions toward a<br />

space occurs.<br />

03<br />

ผนังของอาคารที่เป็นอิฐ<br />

ถูกใช้สำาหรับพื้นที่ใช้สอย<br />

ส่วนบริเวณโถงชั้น 1 และ<br />

2 ของส่วนต่อเติม ใน<br />

ขณะที่ Perforate aluminium<br />

sheet ถูกนำามาใช้<br />

เป็นเปลือกห้อมล้อมส่วน<br />

สำานักงานที่เป็นอาคารเดิม<br />

3<br />

4<br />

“I sense a Threshold: Light to Silence, Silence<br />

to Light – an ambiance of inspiration, in which<br />

the desire to be, to express, crosses with the<br />

possible Light to Silence, Silence to Light<br />

crosses in the sanctuary of art.”<br />

The previous statement is what legendary<br />

American architect, Louis I. Kahn, once said<br />

about the merits of light and shadow in architecture,<br />

emphasizing the symbolic perception<br />

of architecture as a built structure with assigned<br />

functionalities and artistic values, all of<br />

which are enhanced by the presence of light<br />

and shadow. When it comes to the discussion<br />

about light and architecture, lighting design is<br />

one of the most critical and influential components<br />

that complement the spaces, forms and<br />

materials of architecture into a collective phenomenon.<br />

Within the spaces, the architecture<br />

embraces conceived lighting characteristics<br />

that are natural and varied by time. This natural<br />

light exists alongside artificial lighting whose<br />

effects and sources are predetermined according<br />

to a designer’s intention and preferences.<br />

Once the architecture is used, the determination<br />

of the characteristics of openings, walls,<br />

enclosed parts and sections, affect how lights<br />

and shadows interact with different material<br />

surfaces. In that precise moment, the architecture<br />

no longer keeps its silence and begins to<br />

converse with its users, as a built structure that<br />

cannot be experienced merely through photographs<br />

or the screen of a smartphone, but in<br />

person, at a specific place and time when light<br />

casts its spell. That is when our sensory perceptions<br />

toward a space occurs. Such a phenomenon<br />

can be found at a newly constructed<br />

rice mill situated in the middle of a vast land of<br />

rice fields in Nakhon Sawan province, Thailand.<br />

04<br />

รูปด้านของอาคาร<br />

05<br />

ส่วนโถงพักคอย สำาหรับ<br />

ชาวนาที่นำาข้าวเปลือกมา<br />

ชั่งน้ำาหนักที่โรงสี ซึ่งถูก<br />

ออกแบบให้เป็นโถงโล่ง<br />

ขนาดใหญ่<br />

5


58 59<br />

6<br />

<strong>06</strong><br />

แสงที่ถูกดึงเข้ามาสู่พื้นที่<br />

กลางอาคาร จากช่องเปิด<br />

บริเวณ Courtyard ทำาให้<br />

เกิดสภาวะของเวลาใน<br />

พื้นที่ภายในที่แปรผันไป<br />

กับองศาของแสงแดดที่<br />

ตกกระทบกับพื้นผิวของ<br />

พื้นที่ใช้สอยภายใน


theme / review<br />

NEW LIGHT ON AN OLD TALE<br />

60 61<br />

07<br />

มุมมองจาก Courtyard<br />

กลางอาคารที่ใช้เป็นพื้นที่<br />

ปลูกต้นไม้ ดึงแสงสว่าง<br />

และสภาพอากาศจาก<br />

ภายนอกเข้ามาสู่พื้นที่<br />

ภายในตัวอาคาร<br />

7<br />

The expansive rice field looks almost infinite.<br />

Trucks carrying paddy, making their turns<br />

around the corner transporting a massive<br />

amount of harvested produce into the mill, is<br />

a familiar sight for the locals. The paddy would<br />

later be processed and sold before making<br />

its way to the consumers as a part of their<br />

everyday meals. In the middle of the seemingly<br />

boundless terrain of rice fields of Nakhon Sawan,<br />

the province that is home to a huge delta<br />

known as ‘Pak Nam Pho’ (the Pho Delta) and<br />

one of central Thailand’s most prolific sources<br />

of agricultural products, not far from the area<br />

where Ping and Nan Rivers merge and become<br />

the source of Chao Phraya River, or 47 kilometers<br />

to the east from the city center, to be exact,<br />

sits a large rice mill that restlessly welcomes<br />

the coming and going of trucks loaded with<br />

harvested paddy.<br />

08<br />

พื้นที่ชั้นสองของอาคาร<br />

ในส่วนต่อขยายถูกใช้เป็น<br />

สตูดิโอทำาอาหาร และเป็น<br />

ส่วนสนับสนุนในอนาคต<br />

09<br />

ผังพื้นชั้นล่างของอาคาร<br />

9<br />

8<br />

Lorpoonpol Rice Mill is one of Nakhon Sawan’s<br />

most prominent rice mills with a 500-tonsper-hour<br />

milling capacity. The establishment is<br />

the hub of agricultural produce grown in and<br />

harvested from the nearby area, functioning as<br />

a significant mediator that brings products of<br />

local farmers to consumers. For Lorpoonpol<br />

Rice Mill, the past recent years were an important<br />

time of their business as the establishment<br />

was going through a transition where the<br />

owners were passing the torch to their younger<br />

generation successors. The change is one of<br />

the main reasons behind the conception of the<br />

project. Ponwit Ratanatanatevilai, architect of<br />

PHTAA Living design, talks about the challenges<br />

in the design aspect that came with Lorpoonpol<br />

Rice Mill project after being assigned<br />

to turn the owner’s vision into reality. One of the<br />

initial intentions of the owner was to preserve<br />

the old building structure for the sentimental<br />

value it holds. The old commercial building was<br />

formerly used as a multifunctional structure,<br />

housing an office space and laboratory where<br />

rice quality testing was done. With the architect<br />

being informed about the requirements, the<br />

design works to compromise the preservation<br />

of the old building and the arrival of the newly<br />

constructed structure in a unique manner. The<br />

distinctive architectural characteristics enable<br />

the new architectural structure to coexist with<br />

the surrounding environment and context while<br />

still being able to accommodate the space’s<br />

current and possible future functional requirements.


theme / review<br />

NEW LIGHT ON AN OLD TALE<br />

62 63<br />

10<br />

การใช้ระนาบโค้งในส่วน<br />

ใช้สอยต่างๆ เป็นอีกหนึ่ง<br />

เอกลักษณ์ที่สำาคัญของ<br />

โครงการ ในภาพคือพื้นที่<br />

เชื่อมต่อเข้าสู่โถงชั้นสอง<br />

ของส่วนต่อขยายอาคาร<br />

The design team looks into the site’s previously<br />

existing problems such as the circulation,<br />

the humidity level of the building’s interior,<br />

and severe flood that occurs during the rainy<br />

season when water overflows from the river<br />

into the property, including rice dust, which is<br />

a product of rice milling process. The new design<br />

solves the circulation issue by dividing the main<br />

building into two floors and expanding the new<br />

structure to extend from the old structure<br />

toward the north and the east, surrounding the<br />

reservoir located to the north of the land. The<br />

southern section of the building houses the<br />

weighing area accommodating the incoming<br />

trucks loaded with harvested produce. The first<br />

portion of the space is where the rice is tested<br />

for their quality, relative humidity, etc. with the<br />

mill’s staff overseeing all the operations. It also<br />

houses a waiting area for the farmers while they<br />

wait for their products to be tested. Designed<br />

to connect with the canteen, the area is used<br />

the most in November, which is the year-end’s<br />

harvest season. The office still uses the space<br />

inside the old building while the new structure<br />

on the second floor houses the studio, storage,<br />

and certain departments of the office, including<br />

an additional space designed for future usage.<br />

The building orientation locates the back of the<br />

building next to the reservoir, with a presence<br />

of large walls of perforated blocks that help<br />

dictate the direction of wind flowing inside<br />

the interior spaces. This particular part of the<br />

space shares certain characteristics with the<br />

cafeteria, which is designed into a series of<br />

alternating presence of brick walls and vents<br />

to maximize air ventilation efficiency while<br />

enhancing users’ spatial experience, especially<br />

for the staff who use the riverside space after<br />

working hours.<br />

The use of triangular shaped bricks for the walls of such<br />

relatively large scale creates a unique elevation, and<br />

generates dynamic interactions and phenomenon between<br />

the architecture and light and shadow at each<br />

time of day.<br />

12<br />

10<br />

11<br />

The design team comes up with the solution for<br />

the humidity issue with the ’Triangular shape<br />

brick,’ specifically developed to be the principal<br />

material of the building with the ability to reduce<br />

humidity and rice dust, which are some of the<br />

most important problems of the project. The<br />

high humidity is caused by heavy and constant<br />

rain, a common characteristics of the area’s low<br />

terrain and local climate. The use of triangular<br />

shaped bricks reduces the risk of water flowing<br />

back into the grout joints, consequently preventing<br />

humidity caused by the leaked water<br />

in the building’s interior. The brick also offers<br />

the humidity prevention attributes, particularly<br />

for the laboratory where rice’s quality testing is<br />

done. This zone is required to have low humidity<br />

in order for the humidity test to be done with<br />

highest level of accuracy. Another distinctive<br />

feature that the material brings is lessened<br />

rice dust on the surface area, especially on the<br />

bottom part of the bricks. For those who are<br />

wondering about the cost, the bricks are cheaper<br />

than autoclaved aerated concrete blocks and<br />

cast concrete. The bricks are also locally made<br />

material produced by a manufacturer within the<br />

nearby province. The design team also ordered<br />

handmade A. P.K. brick tiles from another local<br />

manufacturer in the area to eliminate high<br />

transportation costs.<br />

11<br />

การเรียงอิฐรูปแบบ<br />

สามเหลี่ยม หรือ “Triangular<br />

shape brick”<br />

ที่ทีมออกแบบพัฒนามา<br />

เพื่อโครงการนี้โดยเฉพาะ<br />

12<br />

การเรียงอิฐและการเว้น<br />

เพื่อสร้างช่องเปิดตามแนว<br />

ของผนังทำาให้เกิดแสงและ<br />

เงาที่แตกต่างกัน


NEW LIGHT ON AN OLD TALE<br />

64 65<br />

The use of triangular shaped bricks to construct<br />

the walls of such relatively large scale<br />

creates a unique elevation, and generates dynamic<br />

interactions and phenomenon between<br />

the architecture and light and shadow at each<br />

time of day. For instance, the sunlight casting<br />

on the surface renders a series of horizontal<br />

lines on the triangular shaped brick walls. The<br />

design team chooses to reveal the unique section<br />

of the walls, showcasing the masonry details<br />

of how the bricks are laid, and the section<br />

of the material. The interior lighting is designed<br />

to emphasize a lighting phenomenon in which<br />

a ray of light comes through a circular skylight<br />

situated in the middle of the program of both<br />

the upper and ground floor. The trees growing<br />

inside this tube of light create an ambience of<br />

indirect lighting, which becomes a key lighting<br />

characteristic of the project’s interior spaces.<br />

The design team determines the calculated<br />

placements of light openings on the solid<br />

masses of the walls. The design team’s solution<br />

to manipulate natural light and empty spaces<br />

of the interior program also ends up preventing<br />

the interior functional space from gathering rice<br />

dust caused by rice milling process and the<br />

humidity, which is a result of the area’s rainy<br />

climate. At the same time, the design brings<br />

interesting aesthetic characteristics of light and<br />

shadow to both the interior and exterior spaces<br />

through the masterfully designed and constructed<br />

brick walls.<br />

The upper part of the facade is built using<br />

perforated aluminum sheets to cover the old<br />

structure. The sheets are designed to deviate<br />

and enhance ventilation, preventing dust collection.<br />

Another reason behind the decision to<br />

use this specific type of aluminum sheet comes<br />

from the architect’s intention for the material to<br />

help prevent birds from nesting and invading<br />

the upper part of the facade’s structure. With<br />

the intense sunlight during the day, the sheets<br />

end up becoming too hot for birds to nest. As<br />

the sun casts its light on the surface at different<br />

times of day, revealed is the building and its<br />

brick walls situated in one perfect and unique<br />

harmony, in the middle of the vast, seemingly<br />

infinite green fields. The new mill in an old<br />

space represents, not only a beautiful transition<br />

between different generations, but also the relationship<br />

between architecture, and the culture<br />

and landscape of Pak Nam Pho.<br />

phtaa.com<br />

fb.com/PHTAAlivingdesign<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นนักวิจัยที่บริษัท<br />

NPPN Company และ<br />

นั กศึ กษาปริญญาเอก<br />

สาขาสถาปั ตยกรรมพื้นถิ่น<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สนใจศึกษามรดกทาง<br />

วัฒนธรรมและขณะนี้<br />

กำาลังทำาวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์<br />

สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

researcher at NPPN<br />

Company and a Ph.D.<br />

candidate on the vernacular<br />

architecture<br />

program at the faculty<br />

of architecture, Silpakorn<br />

University. He is<br />

interested in cultural<br />

heritage and currently<br />

conducting research<br />

on the built environment<br />

of the Malay<br />

cultural landscape.<br />

14<br />

ช่องเปิดบริเวณ Courtyard<br />

กลางอาคารที่ดึงแสงลง<br />

มาที่พื้นที่ส่วนกลางของ<br />

อาคาร<br />

13<br />

การวางช่องแสงของแนว<br />

อิฐ ที่ทำาให้เกิดการหักเห<br />

ของแสง ในบริเวณพื้นที่<br />

ภายในอาคาร<br />

13<br />

14<br />

Project: Lorpoonpol Ricemill Office Collaboration Design: PHTAA & OUR Type: Architecture & Interior Design Program: Office Location:<br />

Nakhon sawan, Thailand Area: 4,000 Sq.m. Client: Lorpoonpol Ricemill Co., Ltd. Project Completion: 2021


66<br />

theme / review<br />

67<br />

Like<br />

a<br />

Chameleon<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo: W Workspace<br />

1<br />

HAS design and research, in<br />

collaboration with LIGHT IS, has<br />

created a new showroom for<br />

an aluminum manufacturer with<br />

dramatic facades in the form of<br />

a living organism, revealing itself<br />

in the most appealing manner possible<br />

when interacting with light. 01<br />

2<br />

01<br />

มุมมองด้านข้างอาคาร<br />

แนวเส้นรางอลูมิเนียมตั้ง<br />

ฉากกับถนนราชพฤกษ์<br />

ทางเข้าอาคารกิจกรรม<br />

02<br />

หลักจากด้านทิศตะวันตก<br />

ทางเข้าพิเศษอาคาร แนว<br />

หลังคายื่นช่วยสร้างจุดเด่น<br />

เส้นรางอลูมิเนียมวางเรียง<br />

นำาสายตา จนเกิดทัศนียภาพจุดเดียว


theme / review<br />

LIKE A CHAMELEON<br />

68 69<br />

การรับรู้สถาปัตยกรรมได้ง่ายสุดคือการรับรู้<br />

ทางตา ส่วนที่สำาคัญคือแสงที่ทำาให้สามารถ<br />

รับรู้รูปทรงได้ชัดเจนตามระดับความเหมาะสม<br />

ของแสง แสงสร้างความหมายกับสถาปัตย-<br />

กรรมได้ด้วยทิศทาง อุณหภูมิสี ความหมาย<br />

ที่สื่อจะชัดเจนได้ด้วยเงา ในประวัติศาสตร์<br />

สถาปัตกรรมจะเห็นได้ถึงความสัมพันธ์ของ<br />

แสงกับสถาปัตยกรรมอย่างแยกไม่ออก แสง<br />

ทำาให้สถาปัตยกรรมมีตัวตน และส่วนที่ทำาให้<br />

ตารับรู้ถึงการมีตัวตนของสถาปัตยกรรมได้<br />

ง่ายทางหนึ่งคือเปลือก เปลือกในงานสถาปัตย-<br />

กรรมได้ทำาหน้าที่บ่งบอกถึงการใช้สอยภายใน<br />

จนเป็นภาษารูปแบบหนึ่ง สถาปนิกหลาย<br />

ยุคสมัยได้พัฒนาการสื่อสารด้วยภาษาทาง<br />

สถาปัตยกรรมให้กับผู้รับสารเพื่อส่งข้อความ<br />

ให้เกิดการรับรู้ด้วยเปลือกภายนอกก่อนก่อน<br />

ที่ผู้รับสารจะได้เข้าไปสู่การรับรู้สเปซภายใน<br />

ภายหลัง จนเมื่อเข้าสู่ยุคหลังสมัยใหม่ การ<br />

สื่อสารผ่านเปลือกจากสถาปัตยกรรมโพสต์<br />

โมเดิร์น สถาปนิกผู้ออกแบบมีความต้องการ<br />

บอกเรื่องราวของที่ตั้งโปรแกรมมากกว่าเป็น<br />

สถาปัตยกรรมที่ดูเป็นศิลปะแบบนามธรรม<br />

ไร้ความสัมพันธ์กับถิ่นที่ใดๆ การใช้เปลือก<br />

สื่อสารข้อความจึงเป็นสิ่งที่พบเห็นได้มากขึ้น<br />

ในปัจจุบันพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร และ<br />

ปริมณฑลกำาลังเจริญเติบโตไปอย่างรวมเร็ว<br />

การเติบโตเหล่านี้ส่งผลต่อรูปแบบเปลือกของ<br />

อาคารเหล่านี้ที่พบได้ทั่วไปในเอเชียอาคเนย์<br />

เราสามารถพบความหลากหลายของเปลือก<br />

ที่ห่อหุ้มที่แข่งขันแสดงตัวเอง ความน่าสนใจ<br />

เหล่านี้ทางสำานักงานสถาปนิก HAS design<br />

and research ได้สนใจทำาการค้นคว้า พัฒนา<br />

สู่การออกแบบสถาปัตยกรรม พวกเขามอง<br />

ว่าการแสดงออกเหล่านี้เป็นสิ่งที่มีชีวิตชีวา<br />

เปรียบเปรยมันดัง ‘กิ้งก่า’ ในบริบทเมือง ใน<br />

ความสนใจนี้ เปลือกมีการแปรเปลี่ยนตาม<br />

บริบทแวดล้อม บอกถึงเรื่องราวของที่ตั้ง<br />

และโปรแกรม<br />

ณ ถนนราชพฤกษ์ อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี<br />

ปรากฏอาคารสีเทาเข้ม เปลือกดูแปลกตาจาก<br />

สภาพแวดล้อมโดยรอบ มันคือโชว์รูมของ<br />

AB&W Innovation ในชื่อว่า MoMA (Museumof<br />

Modern Aluminum) AB&W ดำาเนินกิจการ<br />

เกี่ยวกับผลิต จำาหน่าย ประตูหน้าต่างอลูมิเนียม<br />

พร้อมอุปกรณ์ MoMA เริ่มเปิดการใช้งาน<br />

เมื่อต้นปี พ.ศ. 2565 โชว์รูมนี้ถูกออกแบบด้วย<br />

การต่อยอดจากการค้นคว้า วิจัย แล้วขมวดสู่<br />

การออกแบบโดย HAS design and research<br />

งานนี้เริ่มต้นจากการค้นคว้าที่เป็นความสนใจ<br />

ของสถาปนิก จากการที่มองสภาพเมืองใน<br />

กรุงเทพมหานครที่มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ<br />

‘ด้น’ (improvise) จากสิ่งที่อยู่รอบตัวตาม<br />

บริบท อย่างการครอบครองพื้นที่ของการขึง<br />

หลังคาผ้าใบแบบกึ่งชั่วคราว การหุ้มเปลือก<br />

ด้วยป้ายเหล็กรูปแบบต่างๆ จนองค์ประกอบ<br />

ที่ดูไม่เป็นเนื้อเดียวกันเหล่านี้ได้รวมเป็น<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองที่มีรูปแบบเฉพาะ<br />

ในแบบที่อุปมาอุปไมยได้ดังกิ้งก่าเมือง ซึ่ง<br />

ผิวหนังของพวกมันสามารถปรับตัวได้ตาม<br />

ฉากหลังที่พวกมันอยู่<br />

โจทย์ที่สถาปนิกได้รับคือการปรับปรุงอาคาร<br />

เก่า ซึ่งเป็นตึกแถว 2 ห้อง และบ้านเดี่ยวที่<br />

เป็นบ้านจัดสรร 2 ชั้น ตามรูปแบบที่พบได้<br />

ทั่วไป ให้กลายเป็นโชว์รูมหลังใหม่ มีความ<br />

โดดเด่นในตัวมันเอง พร้อมกับสามารถนำา<br />

เสนอเรื่องราวของสินค้าได้ดี จึงเป็นจุดเริ่มต้น<br />

ให้สถาปนิกทำาการค้นคว้า สำารวจ ถึงความ<br />

เป็นไปได้สำาหรับการออกแบบ สู่ประเด็น<br />

‘แสงจากเรื่องราวของโปรแกรม’ จากการ<br />

ค้นคว้า สถาปนิกพบถึงความน่าสนใจของ<br />

ส่วนประกอบของวงกบอลูมิเนียมในส่วนของ<br />

รางหิ้วประตูหน้าต่างบานเลื่อนด้านบน ซึ่ง<br />

เป็นแบบมาตรฐานทั่วไป แต่มันถูกซ่อนอยู่<br />

ในวงกบที่เรามองผ่านมันด้วยความชินตา<br />

สถาปนิกเลือกรางอลูมิเนียมมาผ่าแนวขวาง<br />

แล้วทำาการศึกษาให้กลายเป็นองค์ประกอบ<br />

หลักในการเปลี่ยนโฉมอาคารเก่าหลังนี้ จาก<br />

นั้นได้ทำาการทดลองสร้าง pattern ของราง<br />

ให้ยื่นพุ่งออกมาผนังอาคารตั้งฉากสู่ถนน<br />

ราชพฤกษ์ การออกแบบความยาวของราว<br />

จำานวนมากเหล่านี้มีขนาดความยาวต่างกันไป<br />

ทำาให้เกิดความเคลื่อนไหวของเปลือก หาก<br />

มองผ่านอย่างรวดเร็วจะเหมือนว่ามันไม่ได้มี<br />

รูปแบบการยื่นที่เป็นระบบ แต่สิ่งที่สถาปนิก<br />

ศึกษาผ่านหุ่นจำาลอง แผนภาพ มันมีรูปแบบ<br />

การซ้ำาอย่างละเอียดเป็นระบบที่ใช้เทคนิค<br />

สลับไปมาของ pattern การติดตั้ง รางเหล่านี้<br />

สถาปนิกเลือกใช้อลูมิเนียมแบบสีธรรมชาติ<br />

ทำาให้โดดเด่นออกมาในเวลากลางคืน ผนัง<br />

ด้านทิศตะวันออกส่วนที่ขนานไปกับถนน<br />

ราชพฤกษ์รางอลูมิเนียมถูกวางให้ตั้งฉากกับ<br />

ผนังอาคาร แต่ผนังด้านทิศเหนือรางอลูมิเนียม<br />

ถูกวางแนบไปกับผนังอาคารเดิม เทคนิคการ<br />

ติดตั้งรางอลูมิเนียมถูกยึดประกอบเข้ากับ<br />

โครงเคร่าอลูมิเนียมสีดำาแนวตั้ง ทำาให้โครง<br />

ที่รับรางยื่นเปล่านี้พรางตัวไปกับอาคาร ซึ่ง<br />

สถาปนิกต้องการให้ลดความโดดเด่นลงด้วย<br />

การทาสีเทาเข้ม เพื่อให้เปลือกปรากฏตัวมัน<br />

เองจากความมืดด้วยแสงไฟโดดเด่นมากที่สุด<br />

รายละเอียดของรางอลูมิเนียมเหล่านี้ ถูกติด<br />

ตั้งด้วยหลอด LED สีขาวแบบยาวขนานไปกับ<br />

ร่องรางอลูมิเนียมด้านบน ทิศทางการส่องแสง<br />

จึงเป็นแบบ up light กับเปลือก ส่งผลให้ตัว<br />

อาคารดูเบาขึ้นในเวลากลางคืน ผลลัพท์เหล่านี้<br />

เป็นผลจากการร่วมงานกับ Light Is ผู้เป็น<br />

Lighting Designer โครงการนี้<br />

ถนนราชพฤกษ์ในอดีต เป็นพื้นที่สวนที่มีความ<br />

สมบูรณ์ ต่อมาได้ถูกพัฒนาเป็นเมืองจนกลาย<br />

เป็นเมืองที่เราพบได้ในปัจจุบัน แต่ความอุดม-<br />

สมบูรณ์จากธรรมชาติเปล่านี้ยังสามารถหาได้<br />

ในพื้นที่ไม่ไกลจากที่ตั้งในเกาะเกร็ด เมื่อเริ่ม<br />

ออกแบบเปลือกและแสงแล้ว สิ่งที่สถาปนิก<br />

คิดควบคู่ไปพร้อมกันคือประเด็น ‘แสงจาก<br />

เรื่องราวของถิ่นที่’ สิ่งที่สถาปนิกหวนคิดถึงคือ<br />

แสงจากหิ่งห้อยในยามค่ำาคืนที่เกาะเกร็ด จาก<br />

นั้นจึงได้มีการออกแบบแสงที่สื่อถึงเรื่องราว<br />

ของหิ่งห้อยด้วยการติดตั้งไฟแบบจุดสีเหลือง<br />

ที่ปลายรางอลูมิเนียมเพียงเล็กน้อย แต่ให้<br />

กระจายไปยังเปลือกโดยรอบ แสงไฟเหล่านี้<br />

ถูกโปรแกรมให้ส่องสว่างแบบต่างกันไปตาม<br />

ช่วงเวลา สำาหรับแสงเลียนแบบหิ่งห้อยเหล่านี้<br />

จะปรากฏชัดเจนในยามดึก หลังจากดับหลอด<br />

ไฟสีขาวบนรางแล้ว<br />

วิธีหันราง และหลอดไฟ LED ลงด้านล่าง ส่วน<br />

ปลายผนังของทางเข้าเมื่อมองครั้งแรกแบบไม่<br />

ดูถึงรายละเอียดก็คล้ายการกรุกระเบื้องโมเสค<br />

ขนาดเล็ก แต่เมื่อเข้ามายังพื้นที่ส่วนนี้ จนเดิน<br />

เข้าไปพิจารณาถึงส่วนปลายผนังระนาบนี้แล้ว<br />

สายตาได้พบกับรายละเอียดจากการนำาราง<br />

อลูมิเนียมมาผ่าแนวขวางเป็นท่อนขนาดเล็ก<br />

จากนั้นทำาการกรุเข้าไปยังผนังแบบชนิดที่ไม่มี<br />

ช่องว่าง ผลลัพท์ทางสายตาของทางเข้าส่วนนี้<br />

ทำาให้เกิดเส้นที่รุนแรงแบบทัศนียภาพจุดเดียว<br />

จากเส้นของรางอลูมิเนียมและแสง ช่วยขับ-<br />

เน้นผู้ที่เลือกจะเดินเข้ามายังโชว์รูมด้วยทาง<br />

เข้านี้ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็นมุมขึ้นกล้องของ<br />

ช่างภาพ<br />

ในวันที่ผู้เขียนไปเยือนงานนี้ในเวลาเย็นจนค่ำา<br />

ได้ดูแสงของเปลือกงานนี้ในรูปแบบต่างๆ<br />

จากเวลาต่างๆ จนครบ ชวนให้คิดว่าหาก<br />

พระเจ้าอยู่ในรายละเอียดแล้ว งานนี้มีพระเจ้า<br />

ที่เรามองข้ามไปในคราวแรก จนค่อยๆ มอง<br />

รายละเอียดในเวลาต่างๆ กัน พระเจ้าจะ<br />

ปรากฏพร้อมแสงที่ผู้ประดิษฐ์รอให้พบตาม<br />

เวลาที่นัดไว้กับพระเจ้าบนถนนราชพฤกษ์<br />

03<br />

มุมมองทางเข้าพิเศษ<br />

อาคารจากด้านหน้า<br />

นอกจากการเปลี่ยนโฉมด้วยแสงกับรางอลูมิ-<br />

เนียมในส่วนภายนอกแล้ว พื้นที่ภายในบางส่วน<br />

ได้ถูกออกแบบให้ใช้รูปแบบเดียวกัน และเป็น<br />

ส่วนสำาคัญสำาหรับงานนี้คือส่วนทางเข้าพิเศษ<br />

ด้านทิศใต้ ช่องทางเข้านี้มีขนาดกว้างราว 2<br />

เมตร ลึกไปตลอดความยาวอาคาร ผนังด้าน<br />

ข้างและเพดานถูกหุ้มด้วยรางอลูมิเนียมเช่น<br />

กับเปลือกภายนอก รางขนาดความยาวต่างๆ<br />

ถูกออกแบบคละกันไปให้พุ ่งสู ่ปลายผนังด้านใน<br />

การติดตั้งทิศทางรางและหลอดไฟ LED บน<br />

ผนังด้านข้างออกแบบแตกต่างจากภายนอกที่<br />

มีลักษณะหงายขึ้น เป็นการติดตั้งให้แนวราง<br />

หันเข้าสู่พื้นที่ทางเดินตรงกลาง ส่วนเพดานใช้ 3


70 71<br />

94<br />

09 04<br />

พื้นที่โถงกลางขนาดใหญ่<br />

รางอลูมิเนียมมาผ่าแนว<br />

มองเห็นพื้นที่ระเบียง<br />

ขวางเป็นท่อนขนาดเล็ก<br />

และสวนหลังบ้าน กรุบนผนังจนเกิดลวดลาย (Back<br />

Garden) แบบใหม่


theme / review<br />

LIKE A CHAMELEON<br />

72 73<br />

The easiest way to experience architecture is<br />

through visual perception, and light contributes<br />

as a key factor to humans’ perception of<br />

forms, which can also be varied by the amount<br />

and intensity of the light source itself. Light<br />

can give meaning to a work of architecture<br />

through its directions, color temperatures as<br />

well as by the shadows it creates. Throughout<br />

the history of architecture, the relationship<br />

between light and built structures has been<br />

inseparable. Light brings architecture into<br />

existence and one of the things that makes a<br />

work of architecture visually appealing is its<br />

‘skin’. A purposefully designed building skin<br />

or façade can be an interesting implication<br />

of the building’s interior functionality; a form<br />

of language uttered to send out the intended<br />

message, so to speak.<br />

05<br />

ภาพเสกตช์ตอนเริ่มศึกษา<br />

ความเป็นไปได้ของวัสดุ<br />

6<br />

From HAS’ perspective, a building skin changes and<br />

evolves according to its surrounding context, telling<br />

stories of the location and program it was created in.<br />

5<br />

<strong>06</strong><br />

ดาดฟ้าจากมุมมอง<br />

ด้านข้าง<br />

07<br />

สวนขนาดเล็กที่ชั้นดาดฟ้า<br />

7<br />

Through time, architects have searched for<br />

ways to communicate their architectural<br />

languages to people on the receiving end,<br />

designing skins that give users different introductory<br />

messages before they actually start<br />

experiencing the interior spaces. The architecture<br />

of the postmodern world has seen new<br />

possible approaches to communicate with<br />

users through postmodern façade designs.<br />

Architects work from the desire to tell the<br />

story of a location and program rather than<br />

to create architecture that looks and feels like<br />

an abstract art piece where the connection to<br />

locality is nowhere to be found. This has led<br />

to the growing popularity of façades, used to<br />

help architects send the intended messages.


theme / review<br />

LIKE A CHAMELEON<br />

74 75<br />

9<br />

08<br />

เปลือกภายนอกที่<br />

หุ้มรางอลูมิเนียม<br />

8<br />

09<br />

ภาพ Axonometric<br />

The rapid urban expansion of the Bangkok<br />

metropolitan region has influenced the evolution<br />

of façades, an architectural component<br />

found almost everywhere in Southeast Asia.<br />

We can see and have seen great diversity<br />

in façade design; each conceptualized and<br />

materialized to make its own statement. The<br />

evolution strikes the interest of HAS design<br />

and research. This architectural practice develops<br />

its architectural design based on their<br />

research and perception toward the architectural<br />

expression of façades as a form of<br />

a living organism—a chameleon of an urban<br />

jungle. From HAS’ perspective, a building skin<br />

changes and evolves according to its surrounding<br />

context, telling stories of the location<br />

and program it was created in.<br />

On Ratchapruek Road, in Pak Kret district of<br />

Nonthaburi province sits a dark grey building<br />

with the skin that sets the structure apart from<br />

its surrounding environment. The building is<br />

the showroom of AB&W Innovation, the company<br />

with business operations in manufacturing<br />

and distribution of aluminum door and<br />

window frames and fittings. Named MoMA<br />

(Museum of Modern Aluminum), the showroom<br />

officially opened in early 20<strong>22</strong>. HAS<br />

began their work on the project with research<br />

before proceeding to the design process. The<br />

origin of the project, however, is rooted in the<br />

design team’s interest and observation of the<br />

improvisational developments of Bangkok’s<br />

urban space. Different urban and architectural<br />

elements improvise from their surrounding<br />

contexts such as the use of tarpaulin roof<br />

structure to cover or claim a certain space,<br />

the wrapping of a building skin with any<br />

imaginable designs and styles of aluminum<br />

signboards. The disparity of these components<br />

has somehow collectively evolved into<br />

a unique vernacular characteristic; one that<br />

can be metaphorically compared to an urban<br />

chameleon whose skin camouflages itself into<br />

and according to its surroundings.


theme / review<br />

LIKE A CHAMELEON<br />

76 77<br />

11<br />

3<br />

4<br />

2<br />

5<br />

1<br />

6<br />

7<br />

1. ALUMINIUM PROFILES<br />

(LENGTH: 350,450,550,650 MM)<br />

2. ALUMINIUM STRUCTURE<br />

(25X25MM)<br />

3. C STEEL STRUCTURE<br />

4. C STEEL BRACKET<br />

5. LED STRIP LIGHT<br />

6. LED DOT LIGHT<br />

7. HIDDEN SCREW<br />

The architects chose to use the aluminum in<br />

its natural color, making the façade stand out<br />

during the night. Another aluminum strip skin<br />

can be found on the east wall, installed in<br />

a 90 degree angle along the building’s exterior<br />

wall, which rests along Ratchapruek Road. For<br />

the north wing, the strips have been placed<br />

right on the original wall.<br />

The installation techniques fasten the aluminum<br />

to the vertical black aluminum frames<br />

that blend into the building’s exterior. The<br />

overall architectural mass is painted in dark<br />

grey to soften the dramatic effect, allowing<br />

the façade to reveal itself in the darkness in<br />

the most appealing manner possible when<br />

interacting with light. The rails are equipped<br />

with white LED bulbs, which run in parallel<br />

with the aluminum strips installed at the upper<br />

part of the façade. The direction of uplight<br />

accentuates the façade’s unique physical<br />

appearance and makes the building appear<br />

lighter at night. HAS collaborates with Light Is,<br />

the project’s lighting designer, to achieve this<br />

final outcome.<br />

10<br />

The rails are equipped with<br />

white LED bulbs, which run<br />

in parallel with the aluminum<br />

strips installed at the<br />

upper part of the façade.<br />

The direction of uplight<br />

accentuates the façade’s<br />

unique physical appearance<br />

and makes the building<br />

appear lighter at night.<br />

10<br />

ขยายรางอลูมิเนียม<br />

ที่ทางเข้าอาคาร<br />

11<br />

รายละเอียดการติดตั้ง<br />

เปลือกรางอลูมิเนียม<br />

ภายนอก<br />

The design team was given the brief to renovate<br />

two units of shophouse and a two-story<br />

single detached home, both are residential<br />

typologies commonly found in Bangkok. The<br />

new showroom stands out with its visually<br />

striking architecture that serves as a perfect<br />

representation of the company’s business<br />

and products. The requirements became the<br />

starting point for the design team to carry<br />

out the research and explore different design<br />

possibilities, which eventually led to the idea<br />

of ‘light from the story of the program.’<br />

The research reveals some interesting attributes<br />

of the components of the aluminum<br />

frames used in standard railing systems,<br />

particularly the upper part of a sliding door<br />

and window system. These components are<br />

hidden in the frame that most users tend to<br />

overlook. The architects dissected the aluminum<br />

strips horizontally to study its components,<br />

before using them as the key element of<br />

the renovation. A pattern created from aluminium<br />

strips was then drafted and tested with the<br />

design of the façade, which protrudes from<br />

the building’s exterior wall in a 90-degree<br />

angle with Ratchapruek Road.<br />

The design deals with the varying lengths of<br />

the strips and creates a façade with dynamic<br />

movements. A quick glance will make the<br />

protrusion seem randomized, while in reality<br />

the design is the result of intensive research<br />

and study, through models, diagrams, causing<br />

the façade to possess detailed and systematic<br />

repetition of alternating patterns.<br />

12<br />

เปลือกออกแบบให้เกิด<br />

อักษรชื่อกิจการ และ<br />

ปลายรางบางส่วนส่องแสง<br />

ที่สื่อถึงห่ิงห้อย<br />

12


theme / review<br />

LIKE A CHAMELEON<br />

78 79<br />

13<br />

In the past, Ratchapruek Road was home to<br />

vast green areas of orchards before the urban<br />

sprawl reached the suburban neighborhood<br />

and turned it into a more urbanized residential<br />

area. The richness of nature, however, can be<br />

found in Koh Kret, an island located not too<br />

far from the site’s location. Evolving alongside<br />

the design of the façade and magical lighting<br />

design is the ‘light from a local story.’ The<br />

architects recreate the lights from fireflies<br />

that used to populate the Koh Kret area with<br />

their nighttime appearance with the lighting<br />

design where small LED bulbs are installed at<br />

the tip of the protruding aluminum strips. The<br />

miniature light bulbs are scattered throughout<br />

the surface of the façade and programmed to<br />

have varying illumination effects at different<br />

times of day. The firefly light can be seen more<br />

clearly later in the night, after the white light<br />

on the strips goes out.<br />

The transformation is not brought about only<br />

through lighting and aluminum strip installations,<br />

but through the redesigned interior program,<br />

which stylistically corresponds with the<br />

design of the exterior. One of the highlights of<br />

the project is the south wing entrance, which<br />

is designed to have a two-meter width, and installed<br />

with the same skin along and throughout<br />

the narrow side of the building. Just like<br />

the façade, the sidewalls and ceiling are clad<br />

with aluminum strips of varying lengths in<br />

a calculated randomized configuration, leading<br />

visitors toward the furthest end of the walls.<br />

The direction of the strips and LED bulbs on<br />

the sidewalls is slightly different from the ones<br />

on the exterior skin where the installation is<br />

turned upward. With the interior, the strips are<br />

directed toward the tunnel’s walkway while<br />

the strips and LED bulbs on the ceiling face<br />

downward. The furthest end of the tunnel<br />

reveals what looks like a pattern of tiny mosaic<br />

tiles at first glance. In reality, a closer look at<br />

the material reveals the details of aluminium<br />

strips, cut horizontally into small pieces, and<br />

used to clad every square meter of the wall.<br />

These elements render the end result of a<br />

dramatic focal point created by the pattern<br />

of aluminium strips and lighting, which work<br />

in tandem to make the space look stunningly<br />

photogenic when captured by a camera.<br />

On the day of my visit, it was already past<br />

nightfall, so luckily I was able to see the<br />

façade evolve into all its forms. The work got<br />

me thinking that if God really is in the details,<br />

then I must have failed to see one on my first<br />

encounter with the work. This time around,<br />

as I looked at the details, at different times of<br />

day, God appeared, along with the light, just<br />

like how the architects must have intended for<br />

us to meet, at specific times and places, right<br />

here on Ratchapruek Road.<br />

fb.com/hasdesignandresearch<br />

hasdesignandresearch.com<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี ปั จจุบัน<br />

กำาลังศึ กษาต่อสาขา<br />

สถาปั ตยกรรมที่ Kyoto<br />

Institute of Technology<br />

Xaroj Phrawong<br />

is an architect, writer,<br />

and instructor at the<br />

Faculty of Architecture<br />

Rajamangala University<br />

of Technology Thanyaburi.<br />

Currently studying<br />

architecture at Kyoto<br />

Institute of Technology.<br />

13<br />

มุมมองจากภายในชั้น 2<br />

สู่ถนนราชพฤกษ์<br />

14<br />

มุมมองด้านข้างยาม<br />

กลางคืน เมื่อเปิดไฟที่<br />

เปลือกเต็มที่<br />

14<br />

Project: MoMA Location: Nonthaburi, Thailand Design Firm: HAS design and research Design Team: Jenchieh Hung, Kulthida Songkittipakdee,<br />

Jiaqi Han, Qin Ye Chen Landscape Design: TROP: terrains + open space Lighting Design: Light Is Aluminum Façade Technology: AB&W<br />

Innovation Aluminum Production Consultant: Goldstar Metal Lighting Product: Neowave Technology Constructor: SL Window


80<br />

theme / review<br />

81<br />

Fifty<br />

Shades<br />

of<br />

Gold<br />

The façade of Central Ayutthaya Department Store, designed by<br />

onion, was adorned with aluminum coated with gold paint that<br />

embraces and interplays with light and illumination. 01<br />

Text: Phornnipa Wongprawmas<br />

Photo: W Workspace and Ketsiree Wongwan except as noted<br />

1<br />

แผนอลูมิเนียมสีทอง เมื่อ<br />

กระทบแสงยามเชาจนเป็น<br />

สีทองอราม


theme / review<br />

FIFTY SHADES OF GOLD<br />

82 83<br />

ตั้งแตชวงพฤศจิกายนปีที่ผานมา ใครหลายคน<br />

ที่ไดใชเสนทางสัญจรบนถนนสายเอเชียคงจะ<br />

พบกับหางสรรพสินคา Central Ayutthaya<br />

โครงการ Mixed-Use Development แหงใหม<br />

ครบครันฟังก์ชั่นดวยคอนโดมิเนียม โรงแรม<br />

หางสรรพสินคา และ Cultural Centre เพื่อ<br />

สงเสริมการทองเที่ยวที่สรางความโดดเดน<br />

ดวยการตกแตงสถาปัตยกรรมแบบไทย<br />

รวมสมัย (Thai Twist) โดยมีทีมสถาปนิก<br />

Onion ผูเคยสรางผลงานออกแบบ โรงแรม<br />

ศาลาอยุธยา (Sala Ayutthaya) และรานอาหาร<br />

บานป้อมเพชร (Baan Pomphet) มารับหนาที่<br />

ออกแบบผิวเปลือกภายนอกอาคาร (Façade)<br />

ใหกับหางสรรพสินคาแหงนี้ นับเป็นผลงาน<br />

ชิ้นที่สามที่ทีมสถาปนิกไดรวมสรางสรรค์ใน<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

หางสรรพสินคาแหงใหมนี้มีตัวอาคารสูง<br />

23 เมตร เมื่อคลี่ขนาด 1 ใน 3 ของอาคาร<br />

แนวราบนับระยะความยาว 69 เมตรไดถูก<br />

ออกแบบใหเป็นซุมทางเขาที่มีขนาดใหญและ<br />

ยาวเกินสัดสวนมนุษย์ ถูกประดับดวยผนัง<br />

คอนกรีตสำาเร็จรูปสีขาว (Precast) และลดหลั่น<br />

ดวยซุมภายในเปรียบเสมือนหองที่คอยๆ ถูก<br />

ยอยขนาดเล็กลงและหอหุมดวยแผนอลูมิ<br />

เนียมสีทอง แผนอลูมิเนียมสีทองนี้<br />

ถูกนำามาพับและขึ้นรูปเป็นระบบโมดูลาร์<br />

สรางขึ ้นในความสูง 10.20 ม. 9.80 ม. 8.40 ม.<br />

จนถึงความสูง 2.55 ม. และจัดองค์ประกอบ<br />

เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสวางเรียงรายลดหลั่นกัน<br />

โดยไดรับแรงบันดาลใจมาจาก “การยอมุมไม<br />

สิบสอง” ที่ปรากฏในงานสถาปัตยกรรมไทย<br />

ในอดีต<br />

คุณศิริยศ ชัยอำ านวย และ คุณอริสรา จักธรานนท์<br />

สองสถาปนิกหลักจาก Onion ไดถายทอด<br />

แรงบันดาลใจและความตั้งใจในการออกแบบ<br />

ครั้งนี้ ดวยแนวความคิดการออกแบบผิว<br />

ภายนอกอาคารที่มากกวาการปกปิดโครงสราง<br />

อาคาร สถาปนิกไดใหความสำาคัญกับการ<br />

สรางพื้นที่เพื่อตอนรับและเชื่อมโยงผูคนจาก<br />

ภายนอกกอนการเดินเขาสูตัวอาคาร การเลือก<br />

ใชผนังคอนกรีตสำาเร็จรูปสีขาว (Precast)<br />

ที่นอกจากการสรางความสะอาดตาใหกับผิว<br />

ภายนอกอาคาร ยังเป็นการชวยประหยัด<br />

งบประมาณการกอสรางเพื่อนำางบประมาณ<br />

สวนนั ้นมาใชกับแผนพับอลูมิเนียมสีทองที่สราง<br />

ความโดดเดนสะดุดตาไดอยางน่าประทับใจ<br />

เป็นการชวยสรางภาพจำาใหกับอาคารและ<br />

สถานที่ และเป็นการสื่อสารความเป็นไทย<br />

รวมสมัยในอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

การเลือกใชแผนพับอลูมิเนียมสีทอง เป็น<br />

เจตนาแฝงของสถาปนิกที่ตองการสื่อถึงความ<br />

อรามและเรืองรองของกรุงเกาในประวัติศาสตร์<br />

แผนอลูมิเนียมนี้ถูกฉาบผิวดวยสีทองใน<br />

ระนาบแนวตั้ง และการเลือกใช สีเขียวศิลาดล<br />

ซอนรับในระนาบแนวนอนเพื่อเพิ่มความเหลือบ<br />

สีสันและมิติแกการมองเห็น สีทองบนผิวอาคาร<br />

ถูกเลียนลอไปกับแสงธรรมชาติที่แตกตางกัน<br />

ออกไปในแตละชวงเวลา ชวงเชาคือชวงที่<br />

แสงอาทิตย์กระทบกับผิวอาคารแลวกอใหเกิด<br />

สีทองอรามไดมากที่สุด สวนแสงชวงกลางวัน<br />

ที่สองปะทะกับผิวอาคารอยางเต็มที่ยิ่งชวย<br />

เสริมสรางมิติของซุมที่ลดหลั่นใหแตกตางกัน<br />

ออกไป และเมื่อผิวเปลือกอาคารถูกกระทบ<br />

ดวยแสงไฟประดิษฐ์ที่ถูกสองเนนเป็นชวง<br />

จังหวะทำาใหเกิดบรรยากาศและความเคลื่อนไหว<br />

ของแสงเงาอีกรูปแบบหนึ่งในยามค่ำาคืน<br />

ถัดจากเสนถนนหลักจะพบกับทางเขาจาก<br />

ถนนสายยอย สถาปนิกไดออกแบบผิวอาคาร<br />

ดวยภาษาที่ตางกันออกไป โดยการเลือกใช<br />

ผนังอิฐสีสมมาเป็นวัสดุหลักซึ่งเป็นวัสดุที่พบ<br />

ไดบอยในจังหวัดอยุธยา และเปรียบเสมือน<br />

ลายเซ็นของสถาปนิกที่เคยฝากไวในแตละ<br />

ผลงานออกแบบ แตมีการลดทอนเหลี่ยม<br />

มุมและเพิ่มจุดเดนดวยการใชอิฐรูปโคงครึ่ง<br />

วงกลมนำามาเรียงลำาดับขั้นเป็นระบบเดียวกัน<br />

เพื่อสื่อสารถึง “เครื่องจักสาน” สินคาทองถิ่น<br />

ของจังหวัดอยุธยา โดยอิฐทุกกอนเป็นผลงาน<br />

ทำามือและเผาแกสจากชางทองถิ่น กลายเป็น<br />

วัสดุที่เสริมสรางรายไดใหกับชุมชนและสงเสริม<br />

ถึงภูมิปัญญาทองถิ่น<br />

พื้นที่สวนสุดทาย คือ สวนพักรถ (Drop Off)<br />

จากการเลาเรื่องดวยการจับคูภาษาของวัสดุ<br />

ผิวอาคารดานที่สีขาวกับสีทอง และผิวอาคาร<br />

ดานที่มีอิฐสีสม สถาปนิกไดเลือกใชวัสดุจาก<br />

ทั้งสองสวนมาผสมผสานกันเป็นการใชผิวอาคาร<br />

สีขาว อิฐสีสม และมีองค์ประกอบของไมอีก<br />

บางสวน เพื่อเชื่อมโยงบรรยากาศและสราง<br />

ความตอเนื่องใหกับผิวเปลือกอาคารจากถนน<br />

ทั้งสองดาน การประดับตกแตงฝ้าหลังคาที่ใช<br />

เสนสายออนชอยแบบยอนยุค (Retro) สลับกับ<br />

ตำาแหน่งของดวงโคม โดยไดรับแรงบันดาลใจ<br />

มาจากบรรยากาศของแสงเทียน<br />

เมื่อสังเกตและพิจารณาจนถึงรายละเอียด<br />

ของการเรียงวัสดุที่ผิวเปลือกอาคาร ทั้งผนัง<br />

คอนกรีตสำาเร็จรูปสีขาวที่โอบลอมผนังโมดูลาร์<br />

แผนอลูมิเนียมสีทองจาดานถนนสายหลัก<br />

รวมถึงผนังอิฐครึ่งวงกลมที่ผิวอาคารจากดาน<br />

ถนนสายยอย จะพบวาสถาปนิกมีหลักคิดใน<br />

การสรางระบบและภาษาของวัสดุใหสอดคลอง<br />

ลงตัวกับขนาดของอาคาร การกำาหนดและ<br />

คำานวณขนาดของวัสดุเพื่อรอยเรียงขนาด<br />

ใหลงตัวอยางแมนยำา เป็นการวางแผนและ<br />

ออกแบบจากรายละเอียดปลีกยอยที่รวมตัว<br />

กันจนเป็นระบบมวลใหญของผิวอาคาร<br />

และเนื่องจากโจทย์หลักของโครงการ คือ<br />

Thai Twist สิ่งที่ทาทายสำาหรับสถาปนิก คือ<br />

การสรางสรรค์ผลงานใหเกิดภาพจำาที่แปลก<br />

ใหมไปจากผลงานที่เคยฝากไว รวมถึงการ<br />

ไมเพิ่มรายละเอียดที่มากจนเกินไป หรือ<br />

การไมลดทอนรายละเอียดจนเกลี้ยงเกลา<br />

เพราะอาจทำาใหความเป็นไทยรวมสมัยถูก<br />

สื่อความหมายกลายเป็นอื่น ถึงแมวาผิวอาคาร<br />

โดยรวมจะถูกสื่อสารดวยเสนสายที่ตรงไป<br />

ตรงมาแบบสมัยใหม แตรายละเอียดในแตละ<br />

วัสดุที่เลือกใชมีการดัดโคงหรือลบเหลี่ยมมุม<br />

เพื่อลอเลียนไปกับการตกกระทบของแสง<br />

รวมถึงการพยายามสอดแทรกเนื้อหาและ<br />

สื่อสารความเป็นไทยเขาไปในผลงานการ<br />

ออกแบบ ทำาใหผิวเปลือกอาคารไมไดทำา<br />

หนาที่เพื่อหอหุมหรือแสดงความหรูหรา<br />

สวยงามของอาคารเทานั้น แตเป็นการสราง<br />

ภาพจำารูปแบบใหมใหกับอาคารประเภท<br />

หางสรรพสินคา และเป็นการสรางมิติความ<br />

เคลื่อนไหวยามเมื่อตกกระทบกับแสงที่พาด<br />

ผานบนผิวเปลือกอาคารสถาปัตยกรรม<br />

02-03<br />

ความตั้งใจจับคูวัสดุสีทอง<br />

กับสีเขียวศิลาดลเพื่อเพิ่ม<br />

มิติใหกับโมดูลาร์<br />

2<br />

3


theme / review<br />

FIFTY SHADES OF GOLD<br />

84 85<br />

This precast wall has been<br />

encased in gold aluminum<br />

sheets, folded and molded<br />

with a modular system,<br />

which was built from<br />

a height of 10.20 m, 9.80 m,<br />

8.40 m to a height of 2.55 m.<br />

5<br />

04<br />

การเลือกใช สีเขียวศิลาดล<br />

ชอนรับในระนาบแนวนอน<br />

เพื่อเพิ่มความเหลือบสีสัน<br />

และมิติ<br />

05<br />

แผนอลูมิเนียมสีทองยอ<br />

มุมเรียงตัว, ในแระนาบ<br />

แนวตั้ง สรางมิติแกการ<br />

มองเห็น ลอไปกับแสง<br />

ธรรมชาติที่แตกตางกัน<br />

ออกไปในแตละชวงเวลา<br />

6<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

4<br />

<strong>06</strong><br />

รูปแบบการเรียงตัว ของ<br />

แผนพับอลูมิเนียมสีทอง<br />

Many who have used Asia road would have<br />

likely encountered Central Ayutthaya Department<br />

store, a new mixed-use development<br />

project on Asia Road open to the public since<br />

November 2021, with condominiums, hotels,<br />

department stores, and a cultural center. The<br />

most distinctive feature to the eye is its façade<br />

design with the concept of Thai Twist. This<br />

theme is part of a brief to create contemporary<br />

Thai architecture decoration to promote<br />

the province’s identity and tourism. The team<br />

behind the design is Onion, the studio that<br />

created Sala Ayutthaya hotel and Baan Pomphet<br />

restaurant. Onion was given the task of<br />

designing the façade for the new mall, which<br />

is the third project that the studio has completed<br />

in Ayutthaya province.<br />

The new shopping mall is a 23 meters tall<br />

building, when unfolded, one-third of the<br />

building will be 69 meters long and has<br />

been designed as a super-scaled gigantic<br />

entrance arch. The entrance is adorned with<br />

white precast concrete walls and cascades<br />

into the interior space, like a room that is<br />

gradually reduced in scale.<br />

This precast wall has been encased in gold<br />

aluminum sheets, folded and molded with<br />

a modular system, which was built from<br />

a height of 10.20 m, 9.80 m, 8.40 m to a height<br />

of 2.55 m. arranged in a cascading square,<br />

inspired by a traditional Thai architecture<br />

motif.<br />

4


theme / review<br />

FIFTY SHADES OF GOLD<br />

86 87<br />

7<br />

07<br />

ซุมทางเขาระยะความยาว<br />

69 เมตร สรางความโดด-<br />

เดนทางสายตาเมื่อมอง<br />

จากถนนหลักสายเอเชีย


theme / review<br />

FIFTY SHADES OF GOLD<br />

88 89<br />

08<br />

ผังโครงการ และรูปด้าน<br />

อาคาร<br />

09<br />

ผิวอาคารจาก อิฐสีส้ม<br />

มุมมอง ด้านถนนสายย่อย<br />

Siriyot Chaiamnuay and Arisara Chaktranon,<br />

the two principal architects of Onion, intended<br />

to design the exterior surface of the building<br />

rather than concealing the building structure.<br />

The architects focused on creating a space<br />

to welcome and connect people from outside<br />

before entering the building, choosing a white<br />

precast concrete wall to create a sense of<br />

cleanliness for the exterior surface. It also<br />

saves on the construction budget which<br />

had been put toward spending on the gold<br />

aluminum flap that makes it look impressive,<br />

which helps create a captivating memory of<br />

buildings and places. This is considered as<br />

another form to convey the spirit of contemporary<br />

Thainess.<br />

Opting for a folded gold aluminum sheet is<br />

a hidden intention of the architect to convey<br />

the glow and glory of this old historic city.<br />

This aluminum sheet is coated with gold<br />

paint in the vertical plane and celadon green<br />

in the horizontal plane to add more colorful<br />

and dramatic features to the design. The gold<br />

color on the building’s surface embraces and<br />

interplays with the natural light that varies<br />

during the time of the day. In the morning,<br />

the sunlight hits the building’s surface and<br />

creates the most intense golden glow. While<br />

during the day, the light thoroughly penetrates<br />

the building’s surface, it adds dramatic dimensions<br />

to the cascading facade. And at night,<br />

when the building’s exterior is hit by artificial<br />

lights that are intermittently highlighted, the<br />

illumination creates another theatrical visual<br />

ambiance and dramatic movement of shadows.<br />

The building façade does not only serve to enclose<br />

the space or express the beauty of the building but,<br />

together with lighting design, creates a new memory<br />

for a department store building.<br />

HIGHWAY ELEVATION<br />

6<br />

LOCAL ROAD ELEVATION<br />

8<br />

9


theme / review<br />

FIFTY SHADES OF GOLD<br />

90 91<br />

10<br />

Next to the main road, there is an entrance<br />

from a small street to the site where the<br />

architect designed the building’s façade<br />

in a totally different language. The primary<br />

material for the cladding here is red brick, a<br />

common material found in Ayutthaya. Brick is<br />

the material that Onion has used in many of<br />

their projects before and in a way, it’s the<br />

studio’s signature material. But in this project,<br />

the corners are recessed. The highlight is<br />

added by using semicircular arched bricks<br />

arranged in the same order to resemble the<br />

wickerwork, a famous local handicraft of<br />

Ayutthaya. Each piece of brick is handcrafted<br />

and gas-fired by local artisans. It is a thoughtful<br />

means to increase the income for the community<br />

and promote local wisdom.<br />

The architect extended the storytelling by<br />

matching the vocabulary and language of the<br />

materials in the drop-off area. By combining<br />

materials from the white wall with gold, and<br />

the orange brick wall, the architect creates<br />

white façades with red bricks and some<br />

wooden elements to connect the atmosphere<br />

and create continuity with the building surface<br />

from the road on both sides. The decoration<br />

of the roof of the drop-off area has been<br />

designed in retro style with linear architectural<br />

elements and the composition of the<br />

lamps to create a romantic ambiance inspired<br />

by the candlelight.<br />

The architect has discreetly worked on the<br />

details of the arrangement of materials on<br />

the surface of the façade; the white prefabricated<br />

concrete wall encompasses the<br />

gold-plated aluminum modular wall from<br />

the main road, with a semicircular brick wall<br />

facade from the street on the side. They have<br />

created a system and the application of<br />

materials in line with the scale of the building,<br />

with a precise consideration and calculation<br />

of the size of the material. It is immaculate<br />

planning and design from the smallest details<br />

that come together to form a large system of<br />

the building façade.<br />

And since the initial brief of the project is<br />

Thai Twist, the challenge for architects is to<br />

create a work that creates a new memorable<br />

image of the building and at the same time<br />

not too much or too less details that makes<br />

it too bland. It needed to be in a perfect<br />

balance to convey the desirable spirit of<br />

contemporary Thainess.<br />

Although the building façade is designed<br />

with straight modern lines, the details in each<br />

material chosen are curved, chamfered, and<br />

smoothened to achieve the right angle of<br />

light, including trying to insert content and<br />

communicate Thainess into the design work.<br />

As a result, the building façade does not<br />

only serve to enclose the space or express<br />

the beauty of the building but, together with<br />

lighting design, creates a new memory for a<br />

department store building. The design has<br />

created a depth and dimension of movement<br />

when it hits the light that flows across the<br />

building.<br />

onion.co.th<br />

fb.com/onionwork<br />

พรนิภา วงศ์ พราวมาศ<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

มัณฑนศิลป์ สาขาออกแบบ<br />

ตกแต่งภายในมหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร และคณะสถา-<br />

ปั ตยกรรมศาสตร์ สาขา<br />

สถาปั ตยกรรมพื้นถิ ่น<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปั จจุบั นประกอบอาชี พ<br />

มัณฑนากรที่บริษัท Koon<br />

Studio และมีความสนใจ<br />

ด้านสถาปั ตยกรรมชุมชน<br />

Phornnipa<br />

Wongprawmas<br />

completed her<br />

Bachelor’s Degree in<br />

Interior Design and<br />

received her Master’s<br />

Degree in vernacular<br />

architecture from<br />

Silpakorn University.<br />

Currently, she is<br />

working as an Interior<br />

Designer at Koon<br />

Studio. Phornnipa<br />

also has an interest<br />

in community<br />

architecture.<br />

12<br />

10-11<br />

ผนังอิฐครึ่งวงกลมสีสมที่<br />

รอยเรียงกันเพื่อสื่อสารถึง<br />

เครื่องจักสาน<br />

12<br />

มุมมองภายนอกอาคาร<br />

พื้นที่สวน Drop Off<br />

11<br />

Project: Central Ayutthaya Client: Central Pattana Location: Ayutthaya, Thailand Façade Architecture: Onion (Siriyot Chaiamnuay<br />

/ Arisara Chaktranon) Architecture: M.A.A.R Interior Designer: Panonamaarchitect Landscape Designer: Tk studio Land Area:<br />

47 rais Building Area: 130,000 sq.m Completion: Nov 2021 Structural Engineer: VSD consultant Co.,Ltd. Mechanical Engineer:<br />

EM Sign Co.,Ltd. Contractor: - (by Central Pattana) CM S&A: Trusty Project Management Cm M&E: Mitr Technical Consultant<br />

Co.,Ltd.


92<br />

theme / review<br />

Art,<br />

93<br />

Architecture<br />

and<br />

the<br />

City<br />

Designed by Design Qua, the Jim Thompson Art Center evinces<br />

precisely the qualities of a social space with its flow of circulation,<br />

the porosity of the building skin, the careful placement of voids,<br />

sightlines, and openings.<br />

Text: Natre Wannathepsakul<br />

Photo: Beer Singnoi, Fotomomo<br />

1<br />

01<br />

บริเวณด้านหน้าทางเข้า<br />

หลักของอาคาร ออกแบบ<br />

ให้โดดเด่นด้วยแผ่น<br />

ตะแกรงเหล็กฉีก ถักทอ<br />

ผ่านหน้าอาคารสูงสามชั้น<br />

พร้อมกับไฟส่องสว่างยาม<br />

กลางคืน สร้างจุดเด่นทาง<br />

สายตา


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

94 95<br />

สถาปนิกและนักวิชาการชาวดัตช์ Herman<br />

Hertzberger ได้สนับสนุนแนวคิดของการ<br />

สร้างพื้นที่ทาง “สังคม” ซึ่งผู้คนไม่ได้เพียง<br />

แค่สามารถรวมตัวกันได้เท่านั้น แต่ยังเป็น<br />

พื้นที่ที่ได้ถูกตั้งใจออกแบบมาเพื่อให้เกิดการ<br />

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คน Hertzberger เสนอว่า<br />

อาคารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน<br />

ควรได้รับการออกแบบ “ให้สอดคล้องกับ<br />

สภาพของเมือง” เขาแนะนำาว่าการออกแบบ<br />

ให้สอดคล้องกับสภาพของเมืองนี้สามารถทำา<br />

ได้โดยอาศัยการพร่าเลือนขอบเขต ระหว่าง<br />

ภายในและภายนอก การจัดการพื้นที่ภายใน<br />

ที่ทำาหน้าที่เหมือนเครือข่ายของถนนและจัตุรัส<br />

และความรู้สึกเปิดโดยยังคงมีขอบเขตที่ชัดเจน<br />

ระหว่างพื้นที่สาธารณะและส่วนตัว ลักษณะที่<br />

มีประโยชน์อีกอย่างหนึ่งคือสถาปัตยกรรม<br />

ตามแนวคิด promenade architecturale ของ<br />

เลอ คอร์บูซิเอร์ ซึ่งเน้นและพยายามทำาให้การ<br />

เคลื่อนไหวของผู้คนมีชีวิตชีวา ดังกับว่าพื้นที่<br />

ของชีวิตทางสังคมเป็นเหมือนบันไดอันยิ่งใหญ่<br />

ของโรงอุปรากรในศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสถานที่<br />

สำาหรับ “มองเห็นและถูกมองเห็น” โครงการ<br />

The Jim Thompson Art Center ซ่อนตัวอยู่<br />

ในตรอกแคบๆ ของซอยเกษมสันต์ 2 ใจกลาง<br />

กรุงเทพฯ เพียงไม่กี่ก้าวจากพิพิธภัณฑ์บ้าน<br />

จิม ทอมป์สัน แสดงให้เห็นถึงคุณภาพของ<br />

สเปซทางสังคมที่ว่านี้ได้อย่างชัดเจน ด้วย<br />

การเลื่อนไหลของเส้นทางสัญจรที่เต็มไป<br />

ด้วยชีวิตชีวาน่าสนใจภายในอาคารและทำาให้<br />

เรารับรู้ถึงคนอื่นๆ และบริเวณใกล้เคียงอยู่<br />

ตลอดเวลา ผ่านความโปร่งของผิวอาคารและ<br />

การจัดวางช่องว่าง แนวสายตา และช่องเปิด<br />

อย่างพิถีพิถัน<br />

แม้ว่าอาคารพิพิธภัณฑ์และศูนย์ศิลปะส่วน<br />

ใหม่นี้จะแยกออกจากกันทางกายภาพโดย<br />

บ้านพักอาศัยที ่แทรกอยู ่ ระหว่างอาคารทั ้งสอง<br />

แต่ศูนย์ศิลปะแห่งใหม่นี้ก็เป็นเหมือนกับส่วน<br />

ขยายมากกว่าการเป็นอีกหน่วยหนึ่งที่แยกจาก<br />

ส่วนอื่นๆ ซึ่งในที่สุดก็ทำ าให้การแสดงนิทรรศการ<br />

ศิลปะต่างๆ มีพื้นที่แสดงงานที่รองรับโปรแกรม<br />

ทางศิลปะต่างๆ เป็นของตัวเอง จากเดิมที่เคย<br />

อยู่ภายในอาคารบ้านไทยโบราณของพิพิธภัณฑ์<br />

บ้านจิม ทอมป์สัน โครงการศูนย์ศิลปะแห่งใหม่<br />

นี้ดำาเนินการโดยมูลนิธิไม่แสวงหาผลกำาไร<br />

เจมส์ เอช ดับเบิลยู ทอมป์สัน ในขณะที่งาน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมพื้นที่ 3,000 ตร.ม.<br />

เป็นของทีมสถาปนิกจาก Design Qua ที่นำา<br />

โดย มาลีนา ปาลเสถียร และ John Erskine<br />

นอกเหนือจากพื้นที่แกลเลอรีสองแกลเลอรี<br />

สำาหรับจัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนเกี่ยวกับ<br />

สิ่งทอ กิจกรรมทางวัฒนธรรม และศิลปะ<br />

ร่วมสมัยแล้ว โปรแกรมของโครงการยังประกอบ<br />

ด้วยห้องสมุดวิลเลียม วอร์เรน คาเฟ่ ร้านค้า<br />

สำานักงาน พื้นที่อเนกประสงค์ให้เช่า และลาน<br />

เปิดโล่งสำาหรับใช้จัดกิจกรรมเชิงพาณิชย์<br />

เนื่องจากโครงการตั้งอยู่บนถนนแคบๆ อาคาร<br />

นี้จึงจำาเป็นต้องมีด้านหน้าที่โดดเด่นชัดเจน ซึ่ง<br />

สถาปนิกได้พยายามแสดงออกในเรื่องนี้โดย<br />

การออกแบบส่วนหน้าของอาคารเป็นแผ่น<br />

ตะแกรงเหล็กฉีกที่ดูราวกับถักทอผ่านหน้า<br />

อาคารสูงสามชั้น รวมทั้งทางเข้าที่ออกแบบ<br />

เป็นผนังอิฐความสูง 2 ชั้นที่ดึงดูดผู้มาเยือน<br />

จากถนน ในชั้นล่างของอาคารยังมีที่จอดรถ<br />

อัตโนมัติที่ฝังลงใต้ดินครึ่งหนึ่ง กินพื้นที่ครึ่ง<br />

หนึ่งของพื้นที่ตามแนวลึก ส่วนที่เหลือเป็นโถง<br />

ทางเดินกึ่งกลางแจ้งที่ใหญ่พอแค่สำาหรับจัด<br />

กิจกรรมเล็กๆ เป็นพื้นที่ยืดหยุ่นที่สร้างสเปซ<br />

โดยใช้กำาแพงอิฐที่มีลวดลายการเรียงอิฐคล้าย<br />

ลายผ้า เป็นอีกหนึ่งการสื่อความหมายอย่าง<br />

แยบยลถึงธุรกิจสิ่งทอของบริษัทจิม ทอมป์สัน<br />

(อุตสาหกรรมไหมไทย) ผนังโชว์นี้มีการให้แสง<br />

ขึ้นจากพื้น ซึ่งโชติมา พจนานุวัตร นักออกแบบ<br />

แสงสว่างแห่ง Lighting Studio ออกแบบ<br />

แสงสว่างโดยมีวัตถุประสงค์ในการใช้งาน<br />

เพื่อให้แสงสว่างขึ้นในบริเวณที่ใกล้กับผู้ใช้<br />

อาคาร และเพื่อความสะดวกในการบำารุงรักษา<br />

เนื่องจากเพดานในบริเวณนี้ค่อนข้างสูง<br />

พื้นที่เปิดโล่งที่ยืดหยุ่นเหล่านี้ คล้ายกับจัตุรัส<br />

สาธารณะของเมือง ได้ถูกจัดวางไว้ทั่วทั้ง<br />

อาคาร ตั้งแต่ด้านหน้าคาเฟ่บนชั้น 2 ที่มี<br />

ที่นั่งจัดไว้ด้านนอกด้วย ลานกลางแจ้งบน<br />

ชั้น 3 ที่สามารถใช้จัดกิจกรรมเชิงพาณิชย์<br />

ร่วมกับห้องเอนกประสงค์ได้ ไปจนถึงชั้น 5<br />

ซึ่งเป็นทางลาดทางสถาปัตยกรรมที่ปัจจุบัน<br />

กลายเป็นจุดถ่ายรูปยอดนิยมสำาหรับโพสต์<br />

ลงอินสตาแกรม ซึ่งสร้างความงงงวยให้กับ<br />

สถาปนิกมากทีเดียว ทางลาดนี้นำาไปสู่พื้นที่<br />

บนชั้นดาดฟ้า พื้นที่ส่วนใหญ่มีที่นั่งจัดไว้ แม้แต่<br />

ในร้านค้า เพื่อสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย<br />

เหมือนกับห้องนั่งเล่น เพื่อส่งเสริมให้เกิด<br />

ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม แนวทางของการออกแบบ<br />

แสงสว่างก็สะท้อนถึงเรื่องนี้โดยมีการกระจาย<br />

จุดให้แสงในลักษณะที่ไม่เป็นระเบียบ เลือก<br />

เน้นเฉพาะบางพื้นที่เพื่อตอกย้ำาลักษณะที่ไม่<br />

เป็นทางการของอาคาร บนชั้นดาดฟ้าเหนือ<br />

แกลเลอรีใหญ่ซึ่งวางแผนไว้ว่าจะมีร้านอาหาร<br />

แบบเคลื่อนที่ (พื้นที่บนดาดฟ้าเหนือแกลเลอรี<br />

เล็กอาจจะใช้สำาหรับเป็นฟาร์มคนเมือง) สามารถ<br />

เห็นภาพมุมกว้างมองไปเห็นอาคารต่างๆ โดย<br />

รอบ และห่างออกไปไม่ไกลก็สามารถมองเห็น<br />

เส้นหลังคาโค้งที่โดดเด่นของหอศิลปวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพมหานคร เป็นเหมือนการเชื่อมโยง<br />

ทางสายตาของสถาบันศิลปวัฒนธรรม ณ<br />

ใจกลางเมืองกรุงเทพทั้งสองนี้เข้าด้วยกัน<br />

แต่มุมมองที่สำาคัญที่สุดคือมุมมองที่มองไป<br />

เห็นบ้านจิม ทอมป์สัน ซึ่งสามารถมองเห็นได้<br />

โดยตรงจากลานโล่งบนชั้นสาม รวมทั้งมอง<br />

ได้จากหน้าต่างแคบๆ แต่สูงถึงฝ้าในแกลเลอรี<br />

เล็ก ในแกลเลอรีใหญ่ หน้าต่างที่มีสัดส่วน<br />

ใกล้เคียงกันอยู่ในตำาแหน่งที่มองลงไปที่ลาน<br />

ภายในชั้นสาม พื้นที่แกลเลอรีทั้งสองนี้เป็น<br />

ส่วนที่สำาคัญที่สุดสำาหรับการออกแบบแสง<br />

เช่นกัน โชติมาอธิบายว่าวิธีการจัดแสงใน<br />

การส่องงานศิลปะ มีหลักการอยู่ 3 ส่วน คือ<br />

การให้แสงสว่างทั่วไป แสงสว่างสำาหรับเน้น<br />

เฉพาะจุด และการให้แสงสว่างกับผนังห้อง<br />

ในพื้นที่ได้ติดตั้งโคมไฟดาวน์ไลท์แบบหรี่<br />

แสงได้และสปอตไลท์ และถ้างบประมาณ<br />

เอื้ออำานวย การเพิ่มแสงสว่างส่องผนังแบบ<br />

ยืดหยุ่นในอนาคตจะช่วยเติมเต็มอุปกรณ์<br />

ให้แสงสว่างตามที่หอศิลป์ส่วนใหญ่ต้องการ<br />

ปัจจัยที่สำาคัญที่สุดคือระบบควบคุมที่ช่วย<br />

ให้การให้แสงมีความยืดหยุ่นได้สูง เนื่องจาก<br />

พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการชั่วคราวเหล่านี้จะมี<br />

การจัดนิทรรศการใหม่ทุกสามเดือน และข้อ<br />

กำาหนดในเรื่องแสงของแต่ละนิทรรศการอาจมี<br />

ความแตกต่างกันมาก<br />

มุมมองและความรู้สึกของการเปิดกว้าง ทั้ง<br />

เปิดออกสู่บริเวณใกล้เคียงและทั่วพื้นที่ภายใน<br />

เอง คือสิ่งที่นิยามศูนย์ศิลปะแห่งนี้ ความโปร่ง<br />

โล่งที่น่าทึ่งนี้ถูกสร้างขึ้นผ่านวิธีการต่างๆ เช่น<br />

การออกแบบโดยใช้ตะแกรงเหล็กฉีกเป็นผิวผนัง<br />

ด้านหน้าอาคารและราวบันได มีความโปร่งสูง<br />

เมื่อมองจากด้านในอาคาร การออกแบบโดย<br />

ใช้ผนังกระจกเต็มความสูงในคาเฟ่ ร้านค้า<br />

และห้องสมุด การออกแบบช่องว่างที่เชื่อม<br />

ระหว่างร้านค้ากับพื้นที่ห้องสมุดในแนวตั้ง<br />

การออกแบบซุ้มที่เป็นลักษณะกรอบในห้อง<br />

สมุด หันไปทางคาเฟ่และทางเดินด้านล่าง และ<br />

การออกแบบพื้นที่เอนกประสงค์ที่มีพื้นที่ที่เป็น<br />

ผนังกระจกหันไปยังอาคารข้างเคียง แต่ซ้อน<br />

ทับด้วยกำาแพงอิฐที่เล่นช่องโปร่งเพื่อสร้าง<br />

ความเป็นส่วนตัว<br />

ความโปร่งโล่งทางสายตานี้ หมายความว่า<br />

เรารู้เสมอว่าเราอยู่ที่ไหนในอาคาร ในขณะที่<br />

บริเวณใกล้เคียงไม่ว่าจะมองผ่านวัสดุที่มีความ<br />

โปร่งเป็นรูเป็นช่อง หรือมองเห็นได้ชัดเจนผ่าน<br />

กระจกใสและโครงสร้างแบบเปิด ล้วนปรากฏ<br />

ให้เห็นอย่างเด่นชัดในทุกที่ ในตอนกลางคืน<br />

แผงตะแกรงเหล็กฉีกโปร่งด้านหน้าจะสว่างขึ้น<br />

ด้วยแสงไฟที่หรี่ได้ มาจากการคิดถึงผู้ที่อยู่<br />

ในอาคารใกล้เคียง ซึ่งบางส่วนเป็นที่พักอาศัย<br />

แสงไฟนี้ทำาให้ตะแกรงเหล็กฉีก ดูโดดเด่นขึ้น<br />

และช่วยเพิ่มสีสันให้กับสีจางๆ ของตะแกรง<br />

เหล็กฉีก สร้างบรรยากาศที่แตกต่างออกไปและ<br />

ความรู้สึกปิดล้อมมากขึ้นสำาหรับผู้ที่อยู่ภายใน<br />

ขณะเดียวกันก็เผยให้เห็นถึงโครงสร้างอาคาร<br />

และกิจกรรมของผู ้คนภายในแก่ผู ้สัญจรบนถนน<br />

นี่คงใกล้เคียงกับแนวคิดของ Hertzberger ที่<br />

กล่าวว่าอาคารต่างๆ ควรเป็น “พื้นที่ในร่มที่<br />

ต่อเนื่องกับส่วนต่างๆ ของเมือง”<br />

การเปิดโล่งนั้น นอกจากเกี่ยวข้องกับมุมมอง<br />

ทางสายตาต่างๆ แล้วยังเกี่ยวข้องกับเรื่องของ<br />

ลมฟ้าอากาศด้วย มาลีนาเน้นถึงความสำาคัญ<br />

ของการออกแบบสถาปัตยกรรมเขตร้อนชื้น<br />

และความยั่งยืน ในอาคารนี้มีเพียงหนึ่งในสาม<br />

ของพื้นที่อาคารเท่านั้นที่ใช้เครื่องปรับอากาศ<br />

ส่วนที่เหลืออาศัยการระบายอากาศตาม<br />

ธรรมชาติ ทางเดินทั้งหมดเป็นแบบเปิดโล่ง<br />

และการเชื่อมต่อทางสายตาในแนวตั้งนั้นก็<br />

ช่วยกระตุ้นให้ผู้คนขึ้นลงโดยบันไดมากกว่า<br />

การใช้ลิฟต์ ช่องว่างและพื้นที่ว่างระหว่าง<br />

ปริมาตรที่ปิดล้อมช่วยในการถ่ายเทอากาศ<br />

และรูปแบบการระบายอากาศตามธรรมชาติ<br />

แบบดั้งเดิมต่างๆ เช่น แผงเจาะรูด้านบนประตู<br />

ทำาด้วยตะแกรงเหล็กฉีกที่ดูโมเดิร์น แสง<br />

ธรรมชาติที่ส่องผ่านเข้ามาภายในอาคารได้<br />

อย่างทั่วถึงเป็นผลมาจากผิวผนังภายนอก<br />

อาคารที่มีความโปร่งและการเจาะช่องเปิด<br />

ต่างๆ ส่วนที่มีผนังกระจกเต็มความสูง ผนัง<br />

นั้นจะมีการบังแสงแดดที่สาดเข้ามาโดยตรง<br />

หรือเป็นส่วนที่หันเข้าสู่ภายในอาคาร ใน<br />

แกลเลอรีใหญ่ ยังมีหน้าต่างรับแสงทางอ้อม<br />

ที่วิ่งยาวไปตามผนังด้านหนึ่งของห้อง ช่วย<br />

นำาแสงธรรมชาติให้สะท้อนเข้ามาในพื้นที่ แต่<br />

ก็สามารถปิดช่องไม่ให้แสงเข้าได้สำาหรับ<br />

นิทรรศการที่ไม่ต้องการแสงของช่องเปิดนี้<br />

หน้าต่างรับแสงนี้เปิดออกสู่ระเบียงดาดฟ้า<br />

เป็นอีกจุดหนึ่งที่ได้รับการออกแบบให้เกิดการ<br />

เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ต่างๆ ของอาคาร<br />

วัสดุก่อสร้างหลักๆ ที่ใช้ในอาคารนี้ได้แก่<br />

คอนกรีต เหล็ก กระจก อิฐ และไม้ไผ่บางส่วน<br />

เพื่อใช้เป็นฉนวนกันเสียง ซึ่งเป็นการเลือกสรร<br />

ให้ผสมผสานกันระหว่างความทันสมัยและ<br />

แบบดั้งเดิมที่สะท้อนถึงลักษณะของความเป็น<br />

เมืองร่วมสมัยของกรุงเทพฯ ในขณะที่ภาษา<br />

การออกแบบมีความเป็นสมัยใหม่ ส่วนลาน<br />

หรือ courtyard ที่ชั้นบนและปริมาตรของ<br />

อาคารที่แยกจากกัน ทำาให้นึกถึงพื้นที่ของ<br />

บ้านไทยโบราณ การผสมผสานที่ถูกเลือกสรร<br />

มาอย่างหลากหลายและการจัดระเบียบของ<br />

ปริมาตรอาคารที่กระจายตัว ช่วยสร้างความ<br />

รู้สึกไม่เป็นทางการด้วยพื้นที่ว่างย่อยๆ สำ าหรับ<br />

การพบปะอย่างเป็นกันเองของผู้คนที่เข้ามา<br />

ใช้งาน ซึ่งทำาให้อาคารนี้เป็นมากกว่าเพียงแค่<br />

พื้นที่ที่ผู้คนมารวมตัวกัน แต่มันได้ไปสู่ระดับ<br />

ของพื้นที่ทางสังคม ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นมาได้<br />

ในประการแรกก็ด้วยความเอื้อเฟื้อต่อกันตาม<br />

พันธกิจอันเป็นรูปธรรมของมูลนิธิเจมส์ เอช<br />

ดับเบิลยู ทอมป์สัน และได้รับการสะท้อนให้<br />

เห็นและทำาให้เป็นรูปธรรมที่ประสบความสำาเร็จ<br />

เป็นอย่างดี โดยการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ของ Design Qua พวกเขาสามารถสร้างสิ่งที่<br />

สำาคัญและเป็นพื้นฐานของชีวิตสาธารณะ<br />

ให้เกิดขึ้นมาได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ยังขาดอยู่อีกมาก<br />

นักในเมืองนี้ พูดง่ายๆ ก็คือ พื้นที่ที่เชื้อเชิญ<br />

ให้ผู้คนมาพบปะกัน หรือที่กฤติยา กาวีวงศ์<br />

ผู้อำานวยการฝ่ายศิลป์ของศูนย์ศิลปะแห่งนี้<br />

เรียกมันว่า “a place to hang out”<br />

2<br />

02<br />

ซุ้มทางเข้าหลักของอาคาร<br />

ที่ออกแบบให้ดึงดูดสายตา<br />

ด้วยผนังอิฐความสูงสองชั้น


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

96 97<br />

In advocating for the creation of “social”<br />

spaces, where people not only can gather<br />

collectively but chances of social interactions<br />

are deliberately encouraged through design,<br />

the Dutch architect and educator Herman<br />

Hertzberger proposes that buildings – whether<br />

public or private – should be designed “along<br />

urbanistic lines”. He suggests that this can be<br />

done through the blurring of the boundary<br />

between inside and outside, an interior organization<br />

that acts like a network of streets and<br />

squares, and a sense of openness without<br />

forgoing a clear demarcation between public<br />

and private areas. Another useful feature is<br />

the Corbusian promenade architecturale,<br />

which highlights and makes people’s movements<br />

theatrical, as sites of social life are,<br />

like the grand staircases of the 19 th century<br />

opera houses, places for “seeing and being<br />

seen”. The Jim Thompson Art Center, tucked<br />

away in the narrow alleyway of Kasem San 2<br />

in the very heart of Bangkok, just a few steps<br />

away from the Jim Thompson House Museum,<br />

evinces precisely the qualities of such a social<br />

space, with its flow of circulation that meanders<br />

through the building and always making<br />

us aware of other people and the neighborhood<br />

through the porosity of the building skin<br />

and the careful placement of voids, sightlines<br />

and openings.<br />

Even though the museum and art center are<br />

physically disconnected by a private house<br />

sandwiched in between them, the new art<br />

center is more of an extension than a separate<br />

entity, finally allowing the art program<br />

to get its own much-needed made-for-purpose<br />

exhibition spaces, having been formerly<br />

lodged within the traditional Thai building of<br />

the Jim Thompson House Museum. Run by the<br />

non-profit James H.W. Thompson Foundation,<br />

the task of designing the 3,000 sq.m. building<br />

was given to Design Qua, led by Malina<br />

Palasthira and John Erskine. Apart from two<br />

gallery spaces for rotating exhibitions on<br />

textiles, cultural topics and contemporary art,<br />

the program includes the William Warren<br />

Library, café, shop, offices, rentable multifunction<br />

space and open terraces for commercial<br />

events.<br />

SITE PLAN<br />

03<br />

ผังโครงการ<br />

3<br />

04<br />

กำาแพงอิฐที่ออกแบบคล้าย<br />

ลายผ้า สื่อความหมายของ<br />

ธุรกิจสิ่งทอของบริษัท<br />

05<br />

แสงสว่างส่องขึ้นจากพื้น<br />

เนื่องจากผู้ออกแบบแสง<br />

ต้องการให้ใกล้กับผู้ใช้งาน<br />

และเพื่อการดูแลรักษา<br />

4<br />

5


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

98 99<br />

to the fifth floor where a quintessential architectural<br />

promenade ramp – now Instagram<br />

photo hotspot to the perplexity of the architects<br />

– leading to the rooftop space is located.<br />

Seating is provided in most spaces, even in<br />

the shop, to create a more relaxed living room<br />

atmosphere to encourage social interaction.<br />

The lighting scheme reflects this by having an<br />

uneven distribution, highlighting only certain<br />

areas to reinforce the building’s informal<br />

character. On the rooftop above the larger<br />

gallery where a mobile diner will be situated<br />

(the rooftop space over the smaller gallery<br />

might be used for an urban farm), there is a<br />

panorama of the surrounding roofscape, and a<br />

short distance away, the distinctive curvilinear<br />

roofline of the Bangkok Art and Culture Centre,<br />

visually linking these two cultural institutions<br />

at the center of the capital.<br />

The most important views though are those<br />

towards the Jim Thompson House, which the<br />

open terrace on the second floor squarely<br />

faces, as well as through the angled full-height<br />

These flexible open spaces, like public squares, are<br />

placed throughout the building. Seating is provided<br />

in most spaces to create a more relaxed living room<br />

atmosphere to encourage social interaction.<br />

6<br />

<strong>06</strong><br />

การออกแบบส่วนโถงและ<br />

คาแฟ่ด้วยกระจกสูงสร้าง<br />

ความโปร่งโล่ง<br />

07<br />

มุมมองเชื่อมต่อระหว่าง<br />

โถงกลางและส่วนของ<br />

ห้องสมุด<br />

6<br />

Being located on such a narrow street, the<br />

building needed a bold frontage and its<br />

presence is announced via an expanded metal<br />

sheet façade that appears as if woven across<br />

three storeys, as well as a double-height brick<br />

entryway that draws visitors in from the street.<br />

With the half-sunken automatic car park<br />

taking up half of the site lengthwise, the rest<br />

of the ground floor is a semi-outdoor hallway<br />

that is just about large enough for hosting<br />

small activities. It is a flexible space framed by<br />

a textile weave patterned brick wall, another<br />

discreet reference to the textile business of<br />

the Jim Thompson Thai Silk Company. This<br />

feature wall is uplit from the ground, which,<br />

according to lighting designer Chotima<br />

Photjananuwat of Lighting Studio, has the<br />

practical purposes of making it brighter in<br />

the area closer to the user and facilitating<br />

maintenance as the ceiling in this space is<br />

so high.<br />

These flexible open spaces, like public squares,<br />

are placed throughout the building: in front of<br />

the café on the first floor where the tables spill<br />

out, to the open-air courtyard on the second<br />

floor that can be used for commercial events<br />

in conjunction with the multi-function room,<br />

7


100 101<br />

08<br />

ลานและปริมาตรของ<br />

อาคารส่วนของ gallery ที่<br />

แยกจากกันสะท้อนพื้นที่<br />

ของบ้านไทยโบราณ<br />

8


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

102 103<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

10<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

1ST FLOOR PLAN 09<br />

09<br />

ผังพื้นอาคารทั้งสามชั้น<br />

10<br />

พื้นที่ภายในส่วนร้านค้า<br />

และห้องสมุดที่เชื่อมต่อกัน<br />

สร้างความโปร่งโล่งทาง<br />

สายตา<br />

slit window in the smaller gallery space. In the<br />

larger gallery, this similarly-proportioned window<br />

is positioned to look down towards the<br />

third-floor terrace. The gallery spaces were<br />

also the most crucial for the lighting design,<br />

Photjananuwat explains that there are three<br />

types of lighting to consider in art exhibition<br />

spaces, which are general ambience, accent<br />

light and wall lighting. The spaces are served<br />

by dimmable downlights and spot lights, and<br />

budget allowing, a future addition of flexible<br />

wall washers would complete the lighting<br />

fixtures demanded by most art galleries. While<br />

the most important factor is the control system<br />

that allows the lighting to be highly flexible, as<br />

these temporary exhibition spaces will have a<br />

new show set up every few months and their<br />

requirements may vary widely.<br />

The views and feeling of openness, both<br />

outwards to the surrounding neighborhood<br />

and across the interior spaces themselves,<br />

are what define this art center. This incredible<br />

transparency is created through various<br />

means: the expanded metal sheets, used for<br />

the front façade as well as the railings, are<br />

highly transparent from inside; full-height<br />

glazed walls in the café, shop and library<br />

areas; a void that visually connects the shop<br />

and library areas vertically; framed niches in<br />

the library that looks towards the café area<br />

and corridor below; the multi-function space<br />

also has a glazed wall area in the direction of<br />

the neighbors, but is overlaid by a perforated<br />

brick wall to allow for a measure of privacy.


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

104 105<br />

11<br />

11<br />

บริเวณโถงบันไดหลักของ<br />

อาคาร


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

1<strong>06</strong> 107<br />

Photjananuwat explains that there are<br />

three types of lighting to consider in art<br />

exhibition spaces, which are general<br />

ambience, accent light and wall lighting.<br />

12<br />

SECTION<br />

13<br />

This visual transparency means that we always<br />

know where are in the building, while the<br />

neighborhood, whether glimpsed through<br />

perforated materials, or plainly through clear<br />

glass and open structure, is visually and prominently<br />

present everywhere. At night, the<br />

porous front façade is lit up by dimmable lights,<br />

a consideration for the neighbors, some of<br />

whom are residential properties. The lighting<br />

makes visible the presence and subtle colors<br />

of the expanded metal sheeting to provide an<br />

alternate, more enclosed atmosphere for those<br />

inside, while revealing the building structure<br />

and human activities within to passersby on<br />

the street. This is probably not far off from<br />

what Hertzberger had in mind when he called<br />

for buildings to be “an indoor continuation of<br />

the city”.<br />

The openness is as much about views as<br />

about weather. Palasthira stresses the importance<br />

of tropical design and sustainability,<br />

here only one-third of the building is air-conditioned<br />

and the rest relies on passive ventilation,<br />

the corridors are all open air and the<br />

vertical visual connection encourages people<br />

to walk up rather than take the lift. Gaps and<br />

voids between enclosed volumes aid air flow<br />

and traditional natural ventilation features<br />

such as perforated panels above doors are<br />

rendered in modern expanded metal. Ample<br />

amount of daylight penetrates the interior as<br />

a result of the perforated façades and various<br />

openings. Where there are full-height glazed<br />

walls, they are always shaded against direct<br />

sunlight or faces into the interior. Running<br />

along one side of the larger exhibition room,<br />

there is also an indirect clerestory window<br />

that allows reflected daylight into the space,<br />

though it can be blacked out during exhibitions<br />

that do not require it. The clerestory<br />

opens up into the roof terrace, providing yet<br />

another connection between the different<br />

building spaces.<br />

The building materials include concrete, steel,<br />

glass, brick and some bamboo for sound<br />

insulation, an eclectic mix of modern and traditional<br />

that echoes the contemporary urban<br />

fabric of Bangkok. While the design language<br />

is modern, the elevated courtyard and separated<br />

building volumes recall the spaces of<br />

the traditional Thai house. The eclecticism and<br />

dispersed organization of building volumes<br />

12<br />

การจัดแสงในห้องจัดแสดง<br />

งานศิลปะ ที่ประกอบกัน<br />

ระหว่างแสงประดิษฐ์และ<br />

เปิดช่องรับแสงทางอ้อมวิ่ง<br />

ยาวตามผนังของห้อง<br />

13<br />

รูปตัดอาคาร<br />

14<br />

การจัดแสดงผลงานใน<br />

อาคาร<br />

14


theme / review<br />

ART, ARCHITECTURE AND THE CITY<br />

108 109<br />

16<br />

แสงสว่างบริเวณพื้นที่เปิด<br />

โล่งของอาคารมีการออก-<br />

แบบให้กระจายจุดกำาเนิด<br />

แสงและเน้นเฉพาะบางพื้นที่<br />

เพื่อตอกย้ำาความไม่เป็น<br />

ทางการของพื้นที่ที่ยืดหยุ่น<br />

16<br />

create a sense of informality with its pockets<br />

of spaces for social encounters that take this<br />

building beyond the merely collective into<br />

the realm of the social. It is made possible<br />

firstly by the generosity of spirit of the James<br />

H.W. Thompson Foundation’s mission, but<br />

which has then been successfully reflected<br />

and embodied by Design Qua’s architectural<br />

design. They have managed to create what is<br />

in fact so basic and fundamental to public life,<br />

and yet still lacking in much of this city, to put<br />

it more simply and in the words of the art center’s<br />

artistic director Gridthiya Gaweewong:<br />

“a place to hang out”.<br />

designqua.com<br />

เนตรี วรรณเทพสกุล<br />

นั กเขียนด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมและการออกแบบ<br />

ปั จจุบันเป็ นอาจารย์สอน<br />

ด้านสถาปั ตยกรรมอยู่<br />

ที่คณะสถาปั ตยกรรม-<br />

ศาสตร์และการผังเมือง<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

และยังมีความสนใจใน<br />

เทคนิคการนำาเสนอทาง<br />

สถาปั ตยกรรมและสื่อ<br />

Natre Wannathepsakul<br />

writes about architecture<br />

and design and<br />

currently teaches architecture<br />

at Thammasat<br />

University. Her interests<br />

include architectural<br />

representation techniques<br />

and media.<br />

15<br />

ทางลาดสู่พื้นที่ชั้นดาดฟ้า<br />

ของอาคารซึ่งวางแผนไว้<br />

สำาหรับเป็นร้านอาหาร<br />

แบบเคลื่อนที่และพื้นที่<br />

ฟาร์มสำาหรับคนเมืองใน<br />

อนาคต<br />

15 11<br />

15<br />

Project: Jim Thompson Art Center Location: Soi Kasemsan 2, Bangkok Client: J.H.W. Thompson<br />

Foundation Architect: Design-qua Structure Engineer: JET Structure MEP Engineer: Power Plus<br />

The Design Consultants Lighting Designer: Lighting Studio, Pum Photjananuwat Landscape<br />

consultant: Paweena Darmdenngarm Construction & Project Manager: Currie & Brown<br />

Main Contractor: CES Automate parking: KP Tech Building Area: useable area including roof<br />

top 2831.82 sq.m Completion: 2021 Materials: Brick - APK / General - Paint - Jotun / Glass<br />

and Aluminuim system - Bangkok Vinyl / Vinyl Floor - Floorament / Toilet Partition Willy 30 MFF<br />

Series61 - Willy / Cafe chair - Actiu : wing - Thai dealer Wurkon / Automate parking - KP Tech /<br />

Cement color floor - Earth color / Acid washed - Eco nova / Sanitary - Hafele / Elevator - KONE<br />

/ Terrazzo - Kungcharoenkij Lighting Supplier: Lighting control : Lutron / L&E / Philips / WE-EF /<br />

L&L Luce&Light / SORAA / Erco / Ligman / Unilamp / TRIPLE s - Nakawa Light Studio


110<br />

theme / review<br />

111<br />

For the<br />

Sake<br />

of<br />

Beauty<br />

Atelier of Architects has<br />

applied a variety of lines<br />

to compose the facade,<br />

walls, and interior spaces,<br />

including the lighting in<br />

the interior, in the design<br />

of Wansiri Aesthetic Hospital.<br />

01<br />

ตราสัญลักษณ์ทาง<br />

การแพทย์<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo Courtesy of Atelier of Architects<br />

1<br />

2<br />

02<br />

ส่วนด้านหน้าของอาคาร


theme / review<br />

FOR THE SAKE OF BEAUTY<br />

112 113<br />

ในมุมของนักออกแบบ โปรเจ็คต์โรงพยาบาล<br />

ถือว่ามีความท้าทาย และน่าสนใจในเชิงของ<br />

การจัดการพื้นที่ การร้อยเรียงฟังก์ชั่นต่างๆ ที่<br />

เชื่อมโยงกัน รวมไปถึงความเรียบร้อย ความ<br />

สะอาด ที่ถือว่าเป็นปัจจัยสำาคัญสำาหรับโรง-<br />

พยาบาล แต่ในขณะเดียวกัน กระบวนการ<br />

ออกแบบงานสถาปัตยกรรม ก็สามารถเข้ามา<br />

ช่วยสร้างความงาม และความน่าสนใจให้กับ<br />

พื้นที่ของโรงพยาบาล ทั้งภายนอกและภายใน<br />

ได้ เช่นเดียวกับโจทย์ของโครงการ Wansiri-<br />

Aesthetic Hospital ที่ต้องการให้โครงการ<br />

ดูน่าเชื่อถือ แต่ยังคงมีความทันสมัยในงาน<br />

ออกแบบ เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ<br />

โรงพยาบาล<br />

ในงานออกแบบสถาปัตยกรรมแต่ละชิ้นนั้น<br />

สถาปนิกต่างมีจุดมุ่งหมาย วิธีการ และการนำา<br />

เสนอที่แตกต่างออกไป สำาหรับ Atelier of-<br />

Architects แล้ว นอกจากโจทย์ที่ได้รับจะมี<br />

ความน่าสนใจแตกต่างกันในหลายโครงการ<br />

สิ่งที่ให้ความสำาคัญและเชื่อว่าเป็นปัจจัยของ<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมที่ดีนั้น จะช่วย<br />

เข้ามาประกอบให้อาคารทุกหลังมีความ<br />

สมบูรณ์มากยิ่งขึ้นโดย ศัลยเวทย์ ประเสริฐ-<br />

วิทยาการ ผู้ก่อตั้ง Atelier of Architects ได้<br />

บอกเล่าให้ฟังถึงแนวความคิดในการทำางาน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

“ข้อแรกเลยที่สำาคัญคือ Durability ความ<br />

ทนทาน ในแง่ของช่วงเวลา เมื่อเวลาผ่านไป<br />

นานมากพอ สถาปัตยกรรมเรายังคงอยู่ และ<br />

มีความสวยงามได้ ข้อที่สองคือประสบการณ์<br />

ความตื่นเต้นของตัวอาคาร เพื่อให้ตัวอาคาร<br />

น่าสนใจ สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับผู้ใช้<br />

งาน ข้อที่สามคือเรื่องของถิ่นที่ บริบทของ<br />

งานออกแบบที่จะเกิดขึ้นเฉพาะที่นี่เท่านั้น<br />

ข้อสุดท้ายคือวิสัยทัศน์ในการจัดการ และ<br />

แก้ปัญหาที่จะนำาพาไปหาคำาตอบที่เรียบง่าย<br />

แต่มีประสิทธิภาพที่สุด”<br />

โรงพยาบาลวรรณสิริ ตั ้งอยู ่บนถนนพระราม 3<br />

พื้นที่ข้างเคียงคือย่านที่อยู่อาศัย และ Community<br />

Mall ด้วยความที่พื้นที่เป็นสี่เหลี่ยม<br />

ผืนผ้า ตัวอาคารจึงถูกออกแบบให้เรียบง่าย<br />

เป็นไปตามฟังก์ชั่นการใช้งานภายในและ<br />

กฏหมายอาคาร จากภายนอกสามารถมอง<br />

เห็นการแบ่งอาคารได้อย่างชัดเจนตามพื้นที่<br />

ใช้สอย โดยโรงพยาบาลวรรณสิรินั้นเป็น<br />

โรงพยาบาลด้านความงามและสุขภาพ ที่<br />

แม้จะเป็นโรงพยาบาลเฉพาะ แต่ฟังก์ชั่นการ<br />

ใช้งานภายในก็มีความต้องการไม่ต่างจาก<br />

โรงพยาบาลทั ่วไป ได้แก่ พื ้นที ่ต้อนรับ ห้องตรวจ<br />

ห้องผ่าตัด ห้องพัก และ ลิฟท์จอดรถด้านหลัง<br />

ที่อัดแน่นอยู่ภายในอาคารที่มีความสูงทั้งหมด<br />

6 ชั้น ซึ่งสามารถมองเห็นการใช้งานที่แตกต่าง<br />

กันออกไปจากชั้นผ่านวัสดุของเปลือกอาคาร<br />

ที่ถูกออกแบบจากภายนอก<br />

เริ่มต้นจากโถงต้อนรับที่ ชั้น 1 และ ชั้น 2<br />

ที่ถูกออกแบบให้เป็นผนังกระจกเพื่อเปิดรับ<br />

มุมมองจากภายนอก ทั้งยังรับแสงธรรมชาติ<br />

ให้เข้าสู่พื้นที่ภายในได้ เป็นส่วนต้อนรับสำ าหรับ<br />

ผู้ที่จะเข้ามาใช้บริการ ซึ่งผนังกระจกนี้ช่วย<br />

ให้พื้นที่ภายในมีแสงสว่างตลอดทั้งวัน และ<br />

ประกอบด้วยระแนงแนวตั้งที่ถูกออกแบบให้<br />

ล้อมเปลือกอาคาร เพื่อช่วยกรองแสงแดดและ<br />

ความร้อนอีกชั้นหนึ่ง ในส่วนของชั้น 3 นั้น<br />

เป็นพื้นที่ของ OPD หรือห้องตรวจ โดยจะมี<br />

ส่วนต้อนรับสำาหรับรอตรวจอีกจุดหนึ่ง ที่ถูก<br />

ออกแบบให้ผนังด้านหน้านั้นเป็นกระจกใสเพื่อ<br />

เปิดมุมมอง และรับแสงธรรมชาติ ถัดเข้าไป<br />

ด้านในยังสามารถแบ่งพื้นที่ห้องตรวจออกเป็น<br />

2 ส่วน คือห้องตรวจสำาหรับผู้ที่มาปรึกษาก่อน<br />

ทำาศัลยกรรม และส่วนของผู้ที่มาติดตามผล<br />

ซึ่งถูกออกแบบให้มีทางเข้าแยกส่วนกัน เพื่อ<br />

รักษาความเป็นส่วนตัวของผู ้ที ่มาใช้งาน ชั ้น 4<br />

ที่ถูกออกแบบให้เป็นผนังกระจกทึบ สำาหรับ<br />

ส่วนห้องผ่าตัดที่ต้องการการปิดล้อม และ<br />

แสงไฟเฉพาะสำาหรับการทำางาน สุดท้ายคือ<br />

บริเวณชั้น 5 และ ชั้น 6 นั้นเป็นห้องพักจำ านวน<br />

40 ห้อง ที ่ต้องการแสงสว่างอย่างมากในพื ้นที่<br />

จึงถูกออกแบบให้ทุกห้องนั้นมีหน้าต่างขนาด<br />

ใหญ่ โดยถูกหุ้มด้วยเปลือกอาคารอีกชั้น เป็น<br />

Double Skin Façade สำาหรับการกรองแสงแดด<br />

ให้พื้นที่ภายในห้องพักนั้นมีแสงสว่างที่พอเหมาะ<br />

กับการใช้งาน<br />

ส่วนเส้นสายที่ถูกนำามาใช้ในการออกแบบนั้น<br />

ได้รับแรงบันดาลใจในการนำาเส้นสายของ<br />

ร่างกายมนุษย์ที่มีความงามตามธรรมชาติ จึง<br />

เป็นที่มาของเส้นโค้งที่เกิดขึ้นภายนอกอาคาร<br />

ที่เห็นได้จากการออกแบบให้อาคารแต่ละชั้น<br />

มีการยื่นและร่นระยะแตกต่างกัน อีกทั้งยังใช้<br />

เส้นโค้งในการลดทอนรูปฟอร์มโดยรวมของ<br />

ตัวอาคารให้มีความน่าสนใจมากขึ้น รวมไปถึง<br />

การใช้เส้นต่างๆ ในการจัดองค์ประกอบของ<br />

Façade ผนัง และพื้นที่ภายใน ควบคู่ไปกับ<br />

การออกแบบแสงสว่างภายในอาคาร ที่นำา<br />

เส้นสายที่โค้งมนนั้นมาใช้ในพื้นที่แต่ละส่วน<br />

รวมถึงการเลือกสีขาวเป็นสีหลักในการออกแบบ<br />

เพื่อให้รู้สึกถึงความสะอาด ทันสมัย และทำาให้<br />

พื้นที่โดยรวมนั้นดูสว่างอยู่ตลอดเวลา ซึ่งใน<br />

แง่ของการออกแบบแสงสว่างสำาหรับโครงการ<br />

ลักษณะนี้นั้น ไม่ใช่เพียงเรื่องของช่องเปิด<br />

หรือ ผนังทึบ โปร่ง เพียงอย่างเดียว แต่ต้อง<br />

ออกแบบให้สอดคล้องไปกับการใช้งานใน<br />

แต่ละพื้นที่<br />

ความพิถีพิถันในการออกแบบ คือสิ่งสำาคัญ<br />

เมื่อนำาโจทย์ต่างๆ ที ่ได้รับมาหารูปแบบ วิธีการ<br />

ประกอบกับแนวความคิดในการออกแบบที่<br />

กล่าวข้างต้น ทำาให้โรงพยาบาลวรรณสิรินั้นมี<br />

ความน่าสนใจ ทั้งในมุมของความสวยงาม และ<br />

การใช้งานพื้นที่ ซึ่งไม่ใช่เพียงความสวยงาม<br />

เท่านั้น รวมไปถึงการแก้ปัญหา และผสมผสาน<br />

องค์ประกอบต่างๆ จนเกิดเป็นโครงการนี้<br />

ที่แม้ว่าจะไม่ใช่อาคารประเภทที่ผู้ออกแบบ<br />

คุ้นชินนัก แต่ด้วยความเข้าใจในโปรแกรม<br />

และเข้าใจถึงงานสถาปัตยกรรมที่ดีในแบบ<br />

ของตัวเอง ทำาให้ความสมดุลเกิดขึ้นในที่สุด<br />

03<br />

แบบสเก็ตช์แนวคิด<br />

การออกแบบรูปฟอร์ม<br />

อาคาร<br />

3


theme / review<br />

FOR THE SAKE OF BEAUTY<br />

114 115<br />

The form and shape of the<br />

building are inspired by<br />

the shape of the human<br />

body, which is the perfect<br />

form of natural beauty in<br />

itself. It is the origin of<br />

the curved lines on the<br />

building exterior.<br />

Designing a hospital is both challenging and<br />

interesting in terms of managing the space,<br />

organizing all the inter-connecting functional<br />

programs, and maintaining cleanliness and<br />

hygiene protocols, which are important aspects<br />

of hospitals. Still, the architectural design<br />

can help create an aesthetic appeal and<br />

attraction to the interior and exterior space.<br />

The same goes for Wansiri Aesthetic Hospital,<br />

whose owner requested that, in line<br />

with the hospital’s vision, the facility has to<br />

be reliable while at the same time modern<br />

in design.<br />

In design, architects all have different goals,<br />

methods, and presentations. For Atelier of<br />

Architects, incorporating what they believe<br />

is an integral part of a particular design to<br />

help the project become more complete,<br />

apart from incorporating different interesting<br />

aspects in different project requirements.<br />

Salyawate Prasertwittayakarn, the founder<br />

of the studio, shares the concept behind<br />

the design.<br />

DETAIL GRATING FAÇADE<br />

DETAIL SOLAR SHADING<br />

5<br />

04<br />

05<br />

<strong>06</strong><br />

พื้นที่ส่วนพักรถ<br />

องค์ประกอบของ เปลือกอาคาร (Faҫade)<br />

(Drop off) บริเวณ<br />

โครงสร้างเปลือกอาคาร ที่ห้อหุ้มโครงสร้างส่วน<br />

ทางเข้าโรงพยาบาล 4<br />

(Faҫade) ด้านหน้าอาคาร<br />

6 4


theme / review<br />

FOR THE SAKE OF BEAUTY<br />

116 117<br />

“First and foremost is durability. Architecture<br />

must be able to stand through time while<br />

retaining its aesthetic. The second is the experience,<br />

the exhilaration the building brings.<br />

It is important to give a new experience to the<br />

users. The third is the locality - how the work<br />

fits in a specific context. And last but not least<br />

– the vision of management and problemsolving<br />

that leads to the simplest but most<br />

effective solution.”<br />

Wansiri Hospital is located on Rama III Road,<br />

with a residential district and a community<br />

mall nearby. Due to the rectangular land plot,<br />

the design of the building is a simple one that<br />

goes in line with the functional programs and<br />

requirements as well as the building regulations.<br />

From the outside, it can be seen that<br />

the interior spaces of different functions and<br />

utilities are clearly partitioned. Even though<br />

Wansiri is a specialized hospital that focuses<br />

on health and beauty, its internal functional<br />

requirements are similar to general hospitals.<br />

These include the reception area, inspection<br />

rooms, operation rooms, patient rooms, and<br />

parking elevators at the back. These areas<br />

are packed inside the six-storey building,<br />

and different utilities for each one can be<br />

seen from the exterior through the façade<br />

materials.<br />

Different line patterns are also applied to compose the<br />

façade, walls, and interior spaces, while the curved line<br />

is used to design the lighting in the interior varied in<br />

each area.<br />

07<br />

08<br />

พื้นที่โถงสำาหรับนั่ง<br />

บรรยากาศโดยรอบ<br />

พักคอยระหว่างรอคิว<br />

ของโถงพักคอย เพื่อ<br />

พบแพทย์ 7<br />

รอคิวพบแพทย์<br />

8


MH<br />

RAG<br />

B1-03<br />

SN.<br />

PA.<br />

EXH.<br />

SN.<br />

FHC<br />

B1-05 B1-05<br />

SN.<br />

MG.<br />

SN.<br />

AC.<br />

MDB<br />

EE<br />

FHC<br />

theme / review<br />

FOR THE SAKE OF BEAUTY<br />

118 SECTION A 119<br />

The 1 st and 2 nd floors are reception halls to<br />

welcome patients. These two floors have<br />

glass walls included in the design for a clear<br />

view from the exterior. It also allows natural<br />

light to pass through so that the interior is lit<br />

up all day long. The walls also have vertical<br />

panels surrounding the façade and act as<br />

another layer that filters out sunlight and<br />

heat. On the 3 rd floor are OPD and inspection<br />

rooms. The floor also has its own reception<br />

area. Again, the front wall of this area is<br />

made of clear glass for a clear view and to<br />

bring in natural light. The inspection room<br />

area is separated into two different spaces,<br />

with one for pre-cosmetic surgery consulting<br />

and the other one for post-surgery follow-ups.<br />

The entrances are separated to give a sense<br />

of privacy to users.<br />

9<br />

SECTION A<br />

SECTION A<br />

8,200<br />

SECTION B<br />

SECTION B<br />

5 M.<br />

11<br />

For the 4 th floor, where the operating rooms<br />

are located, the solid glass walls are opaque<br />

as the rooms need enclosure and specific<br />

lighting for operations. Lastly, the 5 th and 6 th<br />

floors are 40 patient rooms. As the rooms<br />

need a lot of lighting, large windows are incorporated<br />

into the design, with another layer<br />

of façade added. This double-skin façade<br />

helps filter sunlight while providing ample<br />

light for the room interiors.<br />

The form and shape of the building are inspired<br />

by the shape of the human body, which is the<br />

perfect form of natural beauty in itself. It is<br />

the origin of the curved lines on the building<br />

exterior, which come from different extensions<br />

and retractions of each floor. These curved<br />

lines also help smoothen the building’s overall<br />

form, giving it a more fascinating appearance.<br />

Different line patterns are also applied to compose<br />

the façade, walls, and interior spaces,<br />

8,200<br />

09<br />

บรรยากาศภายใน<br />

ห้องพักผู้ป่วย<br />

RAMA III ROAD<br />

SECTION B<br />

5 M.<br />

1<br />

2<br />

5<br />

4<br />

3<br />

EXH.<br />

10<br />

โถงทางเดินโซน<br />

ห้องพักผู้ป่วย<br />

12<br />

LAYOUT PLAN<br />

1 DROP OFF<br />

2 MAIN LOBBY<br />

3 VIP LOBBY<br />

1 DROP OFF 4 EMERGENCY ROOM<br />

2 MAIN LOBBY 5 PARKING<br />

3 VIP LOBBY<br />

4 EMERGENCY ROOM<br />

5 PARKING<br />

LAYOUT PLAN<br />

5 M.<br />

6<br />

10<br />

11<br />

รูปด้านของอาคาร<br />

12<br />

แปลนแสดงพื้นที่การใช้<br />

งานภายในอาคารชั้น G


4<br />

1<br />

1<br />

1 1<br />

1<br />

theme / review<br />

FOR THE SAKE OF BEAUTY<br />

120 121<br />

4TH FLOOR PLAN<br />

R600<br />

5<br />

8<br />

9<br />

7<br />

FHC<br />

FHC<br />

9<br />

1 OPERATION<br />

2 PREPARE<br />

3 RECOVERY<br />

4 CLEANING CORRIDOR<br />

6<br />

2 3<br />

5 SPA<br />

6 WARD<br />

7 NURSE STATION<br />

8 DOCTOR ON CALL<br />

10<br />

FHC<br />

5TH FLOOR PLAN<br />

9 STORAGE<br />

10 DIRTY ROOM<br />

5TH FLOOR PLAN<br />

5 M.<br />

1 OPERATION<br />

2 PREPARE<br />

3 RECOVERY<br />

4 CLEANING CORRIDOR<br />

5 SPA<br />

6 WARD<br />

7 NURSE STATION<br />

8 DOCTOR ON CALL<br />

9 STORAGE<br />

10 DIRTY ROOM<br />

while the curved line is used to design the<br />

lighting in the interior varied in each area.<br />

In terms of color, white is the primary color<br />

used in the design to bring a hygienic feel,<br />

modernness, and brightness to the overall<br />

space. For this type of project, lighting design<br />

is not just about openings or opaque-transparent<br />

walls, but it has to be carefully designed<br />

to fit the function of each space.<br />

A meticulous design process is vital, especially<br />

as a method to problem solve. Examining the<br />

requests to consider the best design method<br />

and embodying the studio’s own design principles<br />

makes Wansiri Hospital an interesting<br />

piece of architecture aesthetically and in terms<br />

of space utility. After all, problem-solving<br />

and combining all the elements have led to<br />

a well-completed project and end result<br />

here. With a good understanding of the program<br />

and design from the architect, an ideal<br />

balance is found.<br />

atelierofarchitects.com<br />

fb.com/AtelierofArchitects<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และ<br />

ทัศนศิลป์ ทำางาน<br />

สร้างสรรค์อิสระ โดย<br />

สนใจการออกแบบ<br />

ที่ผสมผสานระหว่าง<br />

สถาปั ตยกรรม ศิลปะ<br />

และชีวิต<br />

Warut<br />

Duangkaewkart<br />

is a graduate of<br />

architecture and<br />

visual arts, Currently<br />

working independently<br />

with a focus on design<br />

that blends architecture,<br />

art and life<br />

LC<br />

4<br />

1<br />

FHC<br />

FHC<br />

1<br />

1<br />

1<br />

4<br />

1 1<br />

FHC<br />

2<br />

4TH FLOOR 3 PLAN<br />

4TH FLOOR PLAN<br />

5<br />

5<br />

8<br />

9<br />

7<br />

FHC<br />

FHC<br />

6<br />

9<br />

6<br />

7<br />

10<br />

FHC<br />

FHC<br />

M FLOOR PLAN<br />

1 X-RAY ROOM<br />

2 VIP LOUNGE<br />

3 OFFICE<br />

4 HALLWAY<br />

5 CONSULT AREA<br />

6 PRE OPD.<br />

7 POST OPD.<br />

8 DIRTY ROOM<br />

8<br />

1 OPERATION<br />

2 PREPARE<br />

3 RECOVERY<br />

4 CLEANING CORRIDOR<br />

5 SPA<br />

6 WARD<br />

7 NURSE STATION<br />

8 DOCTOR ON CALL<br />

1 X-RAY ROOM<br />

2 VIP LOUNGE<br />

3 OFFICE<br />

4 HALLWAY<br />

9 STORAGE<br />

10 DIRTY ROOM 5TH FLOOR PLAN<br />

5 M.<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

5 CONSULT AREA<br />

6 PRE OPD.<br />

7 POST OPD.<br />

8 DIRTY ROOM<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

5 M.<br />

1<br />

FHC<br />

4<br />

FHC<br />

14<br />

2<br />

3<br />

13<br />

แปลนแสดงพื้นที่<br />

การใช้งานภายใน<br />

อาคารแต่ละชั้น<br />

M FLOOR PLAN<br />

13<br />

M FLOOR PLAN<br />

Project: Wansiri Aesthetic Client: WANSIRI Aesthetic Hospital Location: Rama 3Rd., Bangkok Interior Designer: Atelier<br />

of Architects Company Limited & SSW & ASSOCIATES Company Limited Building Area: 4,874 Sq.m. Completion: 2021<br />

Structure Engineer: CA Consultant Company Limited<br />

FHC<br />

6<br />

7<br />

FHC


1<strong>22</strong><br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

123<br />

Lighting<br />

(as)<br />

Material<br />

Home<br />

Electrical<br />

Equipment<br />

In-Home<br />

Security<br />

In the<br />

Restrooms<br />

Almost 20 years ago, Solid State Lighting – White LED 1 (Light Emitting Diodes<br />

that used an electronic semiconductor component) light sources were introduced<br />

in the market as an alternative and promising light source for future<br />

luminaires. Over a short time, it has greatly improved in efficiency (using less<br />

power), better heat management, longer lamp life, and quality of light to match<br />

high color rendering index light sources like incandescent lights.<br />

Using LED as a light source has changed lighting industries from the root. All<br />

the way from the supply chain of manufacturing light sources to luminaire’s<br />

design method and control optic, unlike traditional incandescent or fluorescent<br />

lighting. LED allows for the luminaire envelope to become smaller, and<br />

with electronic components, it also allows simpler communication with other<br />

construction peripheral and mechanical ecosystems.<br />

Around five years ago, LED lighting took over lighting industries from other<br />

types of light sources (Incandescent, Fluorescent, Metal Halide, High-Pressure<br />

Sodium, etc.), which have gradually discontinued due to the demand for power<br />

conservation and policies around the world.<br />

Osram, GE, and Philips, which are major light source manufacturers, have significantly<br />

dropped manufacturing in the traditional light source sector to focus<br />

on LED production. Other electronic component manufacturers like Samsung<br />

and LG have also joined the market. New major LED manufacturers like CREE,<br />

Lumileds, Nichia, and Citizen have sprung up.<br />

เกือบประมาณ 20 ปี ที่แล้ว Solid State Lighting - White LED1 (ไอโอดเปล่งแสง (LED) ซึ ่งพัฒนาขึ ้นมาจากชิ้นส่วนงาน<br />

อิเล็กทรอนิกส์ เซมิคอนดักเตอร์) เป็ นหลอดไฟชนิดล่าสุดที่ได้ถูกคิดค้นขึ ้นและเพิ่งเริ่มได้รับการพัฒนาเพื่อใช้ ในโคมไฟให้<br />

แสงสว่าง ได้ออกวางจาหน่ายในท้องตลาดเพื่อเป็ นทางเลือกและเป็ นความหวังใหม่ของหลอดไฟสาหรับโคมไฟในอนาคต<br />

ในขณะนั้น เพียงในช่วงเวลาไม่นานนักเมื่อเทียบกับหลอดไฟชนิดอื่น ประสิทธิภาพของหลอดไฟ LED ได้เพิ ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว<br />

มาก ด้วยคุณสมบัติที่ใช้พลังงานน้อยลง จัดการความร้อนได้ดีกว่าหลอดไฟชนิดอื่น อายุการใช้งานยาวนานขึ ้น และมีการ<br />

พัฒนาคุณภาพของ Spectrum แสง Color Rendering Index ได้ดีเทียบเท่ากับหลอดไส้แบบเดิมที่เรียกว่า incandescent<br />

LED technologies in current<br />

lighting industries that<br />

are worth acknowledging.<br />

การคิดค้นหลอดไฟ LED ได้เพลิกโฉมอุตสาหกรรมโคมไฟแสงสว่างใหม่อีกครั้งนับตั้งแต่ฐานรากของวงการ ห่วงโซ่อุปทานใน<br />

การผลิตหลอดไฟ ชิ้นส่วนประกอบโคมไฟ ไปจนถึงวิธีการออกแบบเทคนิคการกระจายแสงของโคมไฟ ซึ ่งแตกต่างจากหลอดไส้<br />

หรือหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบเดิม หลอดไฟ LED ช่วยให้อุปกรณ์ โคมไฟมีขนาดเล็กลง และด้วยส่วนประกอบแบบวงจรอิเล็ก-<br />

ทรอนิกส์ ยังช่วยให้การทางานกับอุปกรณ์ต่อพ่วงด้านการก่อสร้างและระบบนิเวศของวิศวกรรมงานระบบอื่นๆ ได้ง่ายขึ ้น<br />

และเมื่อประมาณห้าปี ที่แล้วนี้เอง หลอดไฟ LED ก็ได้เข้ามาแทนที่หลอดไฟประเภทอื่น (หลอดไส้, หลอดฟลูออเรสเซนต์, หลอด<br />

เมทัลฮาไลด์, หลอดโซเดียมความดันสูง ฯลฯ) ในอุตสาหกรรมการผลิตโคมไฟแสงสว่างซึ ่งค่อยๆ เลิกผลิตไปเนื่องจากความ<br />

ต้องการที่น้อยลง และนโยบายในการอนุรักษ์พลังงานทั่วโลก<br />

Osram, GE และ Philips ซึ ่งเคยเป็ นผู้ผลิตหลอดไฟรายใหญ่ของโลก ได้เปลี่ยนความสนใจจากภาคการผลิตหลอดไฟแบบ<br />

ดั้งเดิมและมุ่งเน้นไปที่หลอดไฟ LED ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Samsung และ LG รวมไปถึงผู้ผลิตหลอดไฟ LED<br />

รายใหม่ๆ เกิดขึ ้นมากมาย เช่น CREE, Lumileds, Nichia และ Citizen ก็ได้เข้ามาร่วมแข่งขันในตลาดนี้อย่างคึกคักเช่นกัน<br />

Text: Pum Photjannawat


124<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

125<br />

ในปั จจุบัน มีประเด็นล่าสุดเกี่ยวกับเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรม<br />

แสงสว่าง ในปั จจุบันที่น่าพูดถึง และเป็ นหัวข้อที่นักออกแบบที่<br />

เกี่ยวกับงานสถาปั ตยกรรมควรรู้ ดังนี้<br />

• Human-Centric Lighting - ระบบแสงสว่างที่ใช้ปั จจัย<br />

ทางชีวภาพของมนุษย์เป็ นศูนย์กลาง<br />

• โคมไฟประดับรูปแบบใหม่ซึ ่งออกแบบตามคุณลักษณะ<br />

ที่แตกต่างของหลอดไฟ LED<br />

• ระบบโคมแสงสว่างที่บูรณาการไปกับการออกแบบ<br />

สถาปั ตยกรรม<br />

• โคมไฟแสงสว่างสาหรับพืชในอาคาร<br />

• ระบบควบคุมแสงสว่างแบบไร้สาย<br />

Human-Centric Lighting - ระบบแสงสว่างที่ใช้ปั จจัยทางชีวภาพ<br />

ของมนุษย์เป็ นศูนย์กลาง<br />

การออกแบบโดยคำานึงถึงการมีสุขภาวะที่ดีถือเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน<br />

แนวทางการการออกแบบในปัจจุบันเนื่องจากผู้คนมีแนวโน้มที่จะใช้เวลา<br />

ทำางานหรือมุ่งเน้นไปที่กิจกรรมภายในอาคารมากขึ้น การควบคุมระบบ<br />

แสงสว่างแบบบูรณาการสามารถช่วยสร้างสมดุลของนาฬิกาชีวภาพ<br />

สำาหรับแต่ละบุคคลให้สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เสริมสร้างสุขภาพทั้ง<br />

ทางกายและจิตให้ที่ดีขึ้นได้ ระบบโคมไฟที่ให้ความสำาคัญกับ Human-<br />

Centric Design สามารถปรับความสว่างและอุณหภูมิสีของแสงไฟให้<br />

สัมพันธ์กับแสงแดดภายนอก โดย Tunable White LED สามารถผสม<br />

แสงขาวออกโทนเหลือง-ส้ม (เหมือนแสงอาทิตย์ช่วงเช้าและเย็น) และ<br />

แสงขาวออกโทนฟ้า (เหมือนแสงอาทิตย์เที่ยงถึงบ่าย) ซึ่งจะช่วยในการ<br />

ปรับสมดุลของนาฬิกาชีวภาพ (Circadian Rhythm) ให้แต่ละคน<br />

ระบบนาฬิกาชีวภาพช่วยจัดจังหวะการทำางานของระบบต่างๆ ในร่างกาย<br />

เช่น ฮอร์โมน อุณหภูมิของร่างกาย การหลับและการตื่น เป็นต้น ความ-<br />

สมดุลของนาฬิกาชีวภาพนี้เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับสุขภาพร่างกาย จิตใจ<br />

และพฤติกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง ผู ้ป่วยในโรงพยาบาล หรือ<br />

ผู้คนที่ใช้เวลาทำางานในอาคารสำานักงานมากขึ้นและสามารถลืมวันเวลา<br />

ภายนอกได้ง่ายๆ หลอดไฟ LED ซึ่งใช้เทคโนโลยีปรับอุณหภูมิสีแสงขาว<br />

ด้วย Tunable White LED ซึ่งมีวางจำาหน่ายในตลาดมาระยะหนึ่งแล้ว ได้<br />

มาจากการพัฒนาการผสม LED แบบ RGB ออกมาเป็นสีต่างๆ ของกลุ่ม<br />

อุตสาหกรรมแสงสว่างเพื ่อความบันเทิง<br />

1<br />

3<br />

In this article, we will discuss LED technologies<br />

in current lighting industries that are worth<br />

acknowledging;<br />

• Human-Centric lighting<br />

• New Style of Decorative lighting based on<br />

the nature of LED<br />

• Architectural design integration<br />

• Indoor Plant lighting<br />

• Control and wireless integration<br />

Human-Centric lighting<br />

Wellbeing is considered part of new design standards as<br />

people intend to spend more time working or focusing on<br />

indoor activities. Integrated lighting and control technology<br />

can help balance our natural biological time clock for each<br />

individual to live a healthier lifestyle.<br />

Luminaire system for Human-Centric allows for adjustments<br />

in brightness levels and color temperature of electric<br />

lights in relation to the sunlight, which can help balance<br />

Circadian Rhythms for each individual. Circadian Rhythms<br />

are essential for humans’ physical, mental, and behavioral<br />

health, especially in healthcare facilities and office buildings<br />

where people spend more time indoors and can easily<br />

forget the time of the day.<br />

Thanks to the mixed color LED chips technology for the<br />

entertainment lighting sector, the combination of warm and<br />

cool white LEDs is called tunable white. LED technology<br />

that creates a different range of lighting color temperature<br />

has been available in the market for some time now.<br />

Many lighting manufacturers have developed Tunable White<br />

light luminaire that can correspond to the time of the day<br />

to help boost the users’ energy during the day and allow<br />

for better sleep time at night. Dimming capability can also<br />

create different moods for the space to correspond to<br />

different activities.<br />

ผู้ผลิตโคมไฟแสงสว่างหลายรายได้พัฒนาระบบของหลอดไฟ LED แบบ<br />

ปรับอุณหภูมิสีของแสงได้ให้สอดคล้องกับช่วงเวลาของวันเพื่อช่วยเพิ่ม<br />

พลังงานให้กับผู้ใช้ในระหว่างวันและช่วยให้นอนหลับในเวลากลางคืนได้<br />

มากยิ่งขึ้น ความสามารถในการหรี่แสงยังสามารถสร้างอารมณ์ที่แตกต่าง<br />

กันสำาหรับพื้นที่ที่มีกิจกรรมที่แตกต่างกัน<br />

ERCO ผู้ผลิตไฟส่องสว่างรายใหญ่จากเยอรมนี ซึ่งเป็นที่รู้จักในด้านแสง<br />

สว่างทางสถาปัตยกรรมคุณภาพสูง ได้พัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ดาวน์ไลท์<br />

ด้วย LED แบบปรับอุณหภูมิสีของแสงได้นี้ โคมไฟถูกออกมาให้มีการ<br />

2<br />

ERCO, a German-based lighting manufacturer well known<br />

for high-quality architectural lighting, has developed a whole<br />

line of downlight products with Tunable White LED light<br />

that bring excellent visual comfort and a high 82 CRI (Color<br />

Rendering Index) at minimum.<br />

ERCO - Iku down lights product line is available in different<br />

sizes of down lights and optic including wall washers.<br />

ERCO has developed a new type of LED CSP chips that<br />

allows tunable white and even color-changing RGB to<br />

maintain a high CRI above 92 at all times.<br />

Photo Reference<br />

1. ERCO<br />

2-4. FLOS<br />

4


126<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

127<br />

ควบคุมแสงแยงตาที ่ยอดเยี ่ยมและมีค่า CRI สูงถึง 82 (CRI-Color<br />

Rendering Index ดัชนีการแสดงผลสีของแสง) เป็นอย่างน้อย กลุ่ม<br />

ผลิตภัณฑ์ดาวน์ไลท์ Iku ของ ERCO มีจำาหน่ายในขนาดที่แตกต่างกัน<br />

ทั ้งการกระจายแสงแบบ ดาวน์ไลท์ที ่มีมุมแสงต่างๆ และ Wallwasher-<br />

ERCO ได้พัฒนาชิป LED CSP ชนิดใหม่ที่ช่วยให้แสงสีขาวที่ปรับแต่งได้<br />

และเปลี่ยนสี RGB ได้ เพื่อรักษาค่า CRI ให้สูงกว่า 92 ตลอดเวลาด้วย<br />

ในการผลิตโคม ERCO ยังพยายามก้าวไปสู่ความยั่งยืนของกระบวนการ<br />

ผลิต โดยมุ่งสู่การลดร่องรอยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ลงในทุกๆ ส่วน โคมไฟ<br />

ได้รับการออกแบบในรูปแบบโมดูลาร์ ทำาให้สามารถเปลี่ยนส่วนประกอบ<br />

ระหว่างรุ่น ซึ่งช่วยให้สามารถใช้วัสดุสิ้นเปลืองน้อยลงได้ วัสดุสามารถนำ า<br />

กลับมาใช้ใหม่ได้ วัสดุพลาสติกคุณภาพสูงยังถูกนำามาใช้ในส่วนประกอบ<br />

บางอย่างเพื่อลดขยะพิษ<br />

โคมไฟประดับรูปแบบใหม่ซึ ่งออกแบบตามคุณลักษณะที่แตกต่าง<br />

ของหลอดไฟ LED<br />

เนื ่องจากหลอดไฟ LED มีขนาดเล็กลงพร้อมกับประสิทธิภาพที ่สูงขึ ้น<br />

จึงสามารถช่วยให้รูปทรงของโคมไฟได้รับการออกแบบที่แตกต่างไป<br />

จากหลอดไฟแบบเดิมได้ หลอดไฟ LED อาจเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม เส้น<br />

ตรง หรือเส้นโค้งก็ได้ ในหลอดไฟที่มีลักษณะเป็นเส้น ไฟ LED จะถูก<br />

จัดเรียงในแถวที่สามารถวางในรูปทรงได้มากมายหลายแบบ ซึ่งทำาให้<br />

นักออกแบบโคมไฟสามารถสร้างรูปแบบที่แตกต่างของโคมไฟตกแต่ง<br />

จากแบบเดิมในอดีต<br />

FLOS – ออกแบบโดย Michael Anastassiades เป็นโคมไฟโมดูลตกแต่ง<br />

แบบแขวนพร้อมแสงส่องสว่างแบบกระจายที่มาในรูปทรงต่างๆ อย่าง<br />

วงกลม สี่เหลี่ยม หรือเป็นเส้น โคมไฟสามารถ จัดวางในรูปแบบต่างๆ ได้<br />

ขึ้นอยู่กับการเลือกของลูกค้าโดยใช้การข้อต่อที่มากับโคมยึดรูปทรงต่างๆ<br />

เข้าด้วยกันได้หลายแบบ<br />

ARTEMIDE: Alphabet<br />

โคมไฟโมดูลแบบเส้นต่อเนื่องช่วยให้แสงสว่างกระจายรอบด้าน ผลิตภัณฑ์<br />

ในชุดนี้มาเป็นเส้นโค้งที่แตกต่างกันหรือเป็นลักษณะเส้น ซึ่งสามารถ<br />

กำาหนดค่าด้วยรูปร่างที่แตกต่างกันหรือจัดเรียงเป็นตัวอักษรเพื่อสร้าง<br />

ข้อความด้วยแสงได้ด้วย<br />

Moving on to sustainability for manufacturing, ERCO is<br />

moving towards reducing their carbon footprint for all<br />

the components. Luminaires are designed for modularity<br />

allowing components to be interchangeable between<br />

models which ends up using less materials and minimizing<br />

waste. Materials can also be recycled and high-quality<br />

plastic materials are used in some components to reduce<br />

toxic waste.<br />

New Style of Decorative lighting<br />

Since LED light sources can get smaller while maintaining<br />

high efficiency, it allows the shape of a luminaire to be<br />

designed differently from traditional ones. LED Light<br />

sources can come in round, square, linear or curved lines.<br />

In linear light sources, the LEDs are arranged in an array<br />

that can be placed in flexible housing material to allow<br />

the light source to be bent in a curve. This allows luminaire<br />

designers to create a different form of decorative luminaire<br />

from traditional ones from the past.<br />

FLOS - Arrangements by Michael Anastassiades is a suspended<br />

decorative luminaire module with diffused light that<br />

comes in different shapes; circles, squares, or lines. The<br />

luminaire can be configured in various settings depending<br />

on the design with a simple connection joint.<br />

ARTEMIDE: Alphabet<br />

Linear continuous luminaire module provides an all-around<br />

diffused glow. The product lines come in different curves<br />

or linear sections, which can be configured with a different<br />

shape or arranged into an alphabet to create a message<br />

using light.<br />

FLOS: Super Flat<br />

Lighting Panels are created from a LED light source<br />

located inside frames which emit light to particular kind of<br />

translucent acrylic diffuser that provides direct/ indirect<br />

glow lighting. This creates a super-thin light panel with<br />

usable efficiency light output while also being comfortable<br />

visually for any space.<br />

7<br />

6<br />

5<br />

FLOS: Super Flat<br />

แผงไฟส่องสว่างที่สร้างขึ้นจากหลอดไฟ LED ซึ่งอยู่ภายในกรอบปล่อย<br />

แสงไปยังตัวกระจายแสงอะคริลิกชนิดพิเศษที่ให้แสงสว่างโดยตรงหรือ<br />

แบบตกกระทบไปที่พื้นผิวอื่น ช่วยทำาให้แผงไฟบางเฉียบพร้อมแสงสว่าง<br />

ที่ใช้งานได้จริง และทำาให้แสงที่ออกมาดูนวลสบายตา<br />

Architectural Design Integration<br />

Reflected ceiling plan design might sound boring, but putting<br />

together all the components for safety and functional<br />

reasons like luminaires, speakers, sensors, smoke detectors,<br />

sprinklers, etc., onto the ceiling has been a challenge,<br />

especially to keep it visually organized. In order for the ceiling<br />

to simply be a backdrop of stunning interior or architecture<br />

space.<br />

Photo Reference<br />

5-7. ARTEMIND<br />

8-9. FLOS<br />

8<br />

9


128<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

129<br />

ระบบโคมแสงสว่างที่บูรณาการไปกับการออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

การออกแบบแปลนฝ้าเพดานอาจฟังดูน่าเบื่อ แต่การออกแบบจัดวาง<br />

อุปกรณ์ทั้งทางวิศวกรรมงานระบบทั้งหมดซึ่งมีความจำาเป็นในการใช้งาน<br />

เช่น โคมไฟ ลำาโพง เซ็นเซอร์ เครื่องตรวจจับควันไฟ สปริงเกลอร์ และ<br />

อื่นๆ ไว้บนเพดานนั้นเป็นสิ่งที่ท้าทายในการจัดวางให้เป็นระเบียบทาง<br />

สายตา เพื่อให้ได้เพดานที่ดูเรียบสะอาดตาเป็นเพียงฉากหลังของพื้นที่<br />

ภายในหรือพื้นที่สถาปัตยกรรมที่เด่นและสวยงาม<br />

โคมไฟสามารถออกแบบให้ผสานรวมกับระบบสถาปัตยกรรมและโครง-<br />

สร้างพื้นฐานได้ โดยมีวิธีการติดตั้งได้แบบไร้รอยต่อ ซึ่งสามารถทำ าให้ดู<br />

ผสมผสานเข้ากับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่มีเอกลักษณ์<br />

เฉพาะ เช่น ระบบฝ้าเพดานหรือระบบ acoustic เพื่อซึมซับเสียง ต่อไปนี้<br />

คือตัวอย่างโคมไฟแสงสว่างที่ออกแบบมาเพื่อให้สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของการออกแบบสถาปัตยกรรมได้<br />

นอกจากนี้ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์โควิด ทำาให้การออกแบบพื้นที่เพื่อ<br />

การทำาการค้าเปลี่ยนไป ระบบโคมไฟสำาหรับพื้นที่เชิงพาณิชย์ได้รับการ<br />

ออกแบบมาเพื่อให้สามารถใช้พื้นที่ได้อย่างยืดหยุ่นมากขึ้นสำ าหรับสัญญา<br />

เช่าพื้นที่ที่สั้นลงกว่าเดิม<br />

FLOS: LIGHT SHADOW โคมไฟฝังฝ้าเพดาน โดยโคมดาวน์ไลท์แต่ละ<br />

ดวงโมดูลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 32.5 มม. โดยบางรุ่นสามารถติดตั้ง<br />

ด้วยดีเทลแบบไร้ขอบโดยการฉาบปูนปิดทับแผ่นยึดช่องว่างระหว่างรู-<br />

ของโคมไฟ ทำาให้โคมไฟดูเหมือนจุดเล็กๆ บนเพดาน<br />

LIGHT SHADOW ระบบรางไฟแม่เหล็กด้วยการติดตั ้งแบบฝังโดยไร้ขอบ<br />

โคมไฟที่ใช้ในรางไฟมีให้เลือกเป็นโมดูล ซึ่งแบบกระจายแสงหลากหลาย<br />

DELTA LIGHT: Soliscape (โดย Delta Light และ UNstudio)<br />

ระบบโคมไฟแบบแขวนพร้อมเซ็นเซอร์ซึ่งปรับแสงไฟที่ตอบสนองต่อ<br />

กิจกรรมของผู้ใช้ (เซ็นเซอร์ li-Sense จะตรวจจับการเคลื่อนไหว ความ<br />

สว่างของแสงไฟ ความชื้น อุณหภูมิ และคุณภาพอากาศ) สั่งการควบคุม<br />

ด้วยเสียงของผู้ใช้งาน และรองรับการติดตั้งอุปกรณ์ดูดซับเสียงได้ เป้า-<br />

หมายของผลิตภัณฑ์นี้ไม่เพียงแต่จะมีรูปลักษณ์สวยงามจากการออกแบบ<br />

ทางสายตาเท่านั้น แต่ยังสนับสนุนการบูรณาการเพื่อรองรับการออกแบบ<br />

แบบ Human Centric Design อีกด้วย<br />

ERCO – Jilly<br />

NODE; ผู้ผลิต - Price Industries กำาลังพัฒนาร่วมกับ Foster and<br />

Partners, Lighting ทั้งเรื่องความปลอดภัย เสียง และแสงสว่าง ซึ่ง<br />

เป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

สามารถเลือกการติดตั้งได้หลากหลายทั้งแบบติดลอย ฝังเรียบเสมอฝ้า<br />

เพดาน หรือฝังฝ้าแบบไร้รอยต่อ<br />

10<br />

11<br />

14<br />

12<br />

13<br />

Luminaires can be designed to integrate with architectural<br />

and infrastructure systems providing a solution for seamless<br />

details to blend in with unique modern architectural elements<br />

like a ceiling or acoustic system. Here are samples of luminaire<br />

designed to allow for an integrated solution to Interior and<br />

Architectural space.<br />

The recent Covid Crisis has been shaping the commercially<br />

used Luminaire systems, which are now designed so that<br />

space can be used with more flexibility for a shorter leasing<br />

contract.<br />

FLOS: LIGHT SHADOW in a recessed application. Each<br />

downlight is based on a 32.5mm diameter module. Some<br />

downlight models can allow a trim-less plaster detail to<br />

cover the mounting plate leaving luminaire aperture holes<br />

to look like dots on the ceiling.<br />

LIGHT SHADOW in Magnetic Trimless track mounting<br />

application. Lighting modules are available in various optics<br />

and wall washers.<br />

DELTA LIGHT: Soliscape (by Delta Light and UNstudio)<br />

Suspended luminaire system with sensors to calibrate<br />

light that responds to user activities (So li-Sense’s sensor<br />

detects movement, luminescence, humidity, temperature,<br />

and air quality), voice control, and allows acoustic system<br />

integration. The goal of this product is not only to provide<br />

visual design aesthetic but also to support integration to<br />

serve human-centric lighting.<br />

NODE system; Manufacturer - Price Industries developed<br />

with Foster + Partners, Lighting by ARTEMIDE<br />

An integrated part of the design process suitable for all<br />

building services – security, safety, and functional lighting<br />

into a channel system that allows various kinds of mounting<br />

applications to fit into each architectural space seamlessly;<br />

recessed, regressed slot, and surface mounted.<br />

The products range are cover different types of luminaire;<br />

linear diffused lights, adjustable spotlights, fixed downlights<br />

to building infrastructures such as the emergency light<br />

module, sprinkler, multi-sensory, smoke detector, security<br />

camera and air distribution.<br />

NEKO: Fusion Linear System<br />

Neko is one of the competitive lighting system manufacturers<br />

that allow multiple applications of a linear system with<br />

a wide range of light engines; optical downlight, linear<br />

soft glow module, wall washer, or adjustable spotlight for<br />

flexibility.<br />

Photo Reference<br />

10-13. FLOS<br />

14. parc-ceiling.com<br />

15. DELTA LIGHT<br />

15


130<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

131<br />

กลุ ่มผลิตภัณฑ์โคมไฟแสงสว่างมีให้เลือกหลายประเภท ทั ้งแบบเป็นเส้น<br />

ไฟสปอตไลท์แบบปรับทิศทางได้ และปรับไม่ได้ สำาหรับอุปกรณ์งาน<br />

ระบบมีทั้ง โมดูลไฟฉุกเฉิน สปริงเกลอร์ มัลติเซนเซอร์ เครื่องตรวจจับ<br />

ควัน กล้องวงจรปิด และหัวจ่ายระบบปรับอากาศ<br />

NEKO: Fusion Linear System<br />

Neko เป็นหนึ่งในผู้ผลิตระบบรางไฟขนาดเล็กทั้งแบบฝัง ติดลอย และ<br />

แขวน โดยมีความกว้างประมาณ 50 มม. ซึ่งสามารถรองรับผลิตภัณฑ์<br />

โคมไฟที ่มีความหลากหลายในการใช้งาน ทั ้งแบบเป็นเส้นแสงนวล<br />

หลอดไฟแบบที่มีการกระจายด้วยองศาแสงที่ต่างกัน รวมถึง spotlight<br />

ที่ปรับมุมได้ ตัวรางมาพร้อมแผ่นปิดช่องว่างระหว่างโมดูลแสงสว่างเพื่อ<br />

ให้การออกแบบดูเรียบง่ายและสะอาดตา<br />

NEKO offers wire-way channels in different mounting<br />

applications; recessed, surface, or pendant with a narrow<br />

width dimension – 50mm. length which can be connected<br />

into a long run based on a 300mm module increment.<br />

The product comes with a black panel to fill in the gap<br />

between modules to make the design look simple and clean.<br />

XAL: Acoustic is invisible but very important, which is one<br />

factor in providing well-being and a comfortable design for<br />

space users, especially in office environments and interior<br />

public areas. XAL – Belgium-based manufacturer provides<br />

luminaire with integrated acoustic material as a system<br />

solution.<br />

17<br />

XAL: Acoustic<br />

ระบบดูดซับเสียงเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่สำาคัญในงานออกแบบ เสียงสิ่งที่<br />

มองไม่เห็นแต่เป็นเรื่องสำาคัญมากในกระบวนการออกแบบสภาพแวดล้อม<br />

ให้น่าอยู่ น่าใช้งาน ซึ่งการควบคุมเสียงได้นั้นเป็นปัจจัยหนึ่งในการสร้าง<br />

สุขภาวะที่กับผู้ใช้งานพื้นที่ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมในสำานักงานและ<br />

พื้นที่สาธารณะภายใน XAL ซึ่งเป็นผู้ผลิตโคมไฟจากเบลเยียมจำาหน่าย<br />

โคมไฟซึ่งมีระบบรองรับการติดตั้ง หรือผสมผสานวัสดุดูดซับเสียงได้เพื่อ<br />

เสนอเป็นแนวทางเลือกของผลิตภัณฑ์<br />

ผู้ผลิตมีโคมไฟและระบบให้เลือกหลายแบบตั้งแต่ระบบพื้นฐานโมดูลไป<br />

จนถึงโคมระย้าสำาหรับตกแต่ง ฝ่ายผลิตสามารถเสนอบริการแนะนำาการ<br />

ใช้โซลูชั่นเสียงที่เหมาะสมได้ด้วย<br />

แสงสว่างสาหรับพืชในอาคาร<br />

การเลี้ยงต้นไม้ในอาคารเป็นที่นิยมเนื่องจากนำาความสบายตาและความ<br />

รู้สึกเชื่อมโยงกับธรรมชาติภายนอกมาสู่พื้นที่ภายใน เคยมีความเข้าใจ<br />

อยู ่ว่าการใช้แสงเพื ่อให้ต้นไม้สังเคราะห์แสง จะต้องเป็นแสงสีชมพูอมม่วง<br />

แต่ในปัจจุบันมีการเรียนรู้เกี่ยวกับสเปคตรัมของแสงสำาหรับการเลี้ยง<br />

พืชต่างชนิด และวัตถุประสงค์หลายแบบ ถ้าใช้แสงเพื่อให้เลี้ยงต้นไม้<br />

ให้รอดได้ ไม่ใช่เพื่อออกผล หรือเจริญเติบโต แสงแบบสีขาวที่ใช้ในงาน<br />

สถาปัตยกรรมปกติก็สามารถใช้ได้ (โดยมีโทนสีชมพูขึ้นเล็กน้อยจาก<br />

สเปคตรัมสีแดงและสีน้ำาเงิน) สามารถใช้เพื่อรักษาความสวยงามในพื้นที่<br />

สถาปัตยกรรมโดยทั่วไปได้<br />

ไฟสำาหรับปลูกพืชสามารถช่วยดูแลรักษาพืชเหล่านั้นโดยไม่ต้องหมุนเวียน<br />

ไปยังที่เพาะต้นไม้เป็นครั้งคราว ซึ่งช่วยประหยัดค่าบำ ารุงรักษาในระยะยาว<br />

The luminaire + acoustic system comes in various product<br />

ranges from module base system to decorative pendant<br />

luminaire. The manufacturer can offer detailed advice<br />

regarding the appropriate use of acoustic solutions.<br />

Indoor Plant Lighting<br />

Indoor plants are popular as they bring comfort and a visual<br />

link to nature into interior spaces. There is a perception of<br />

using pink/ purple-ish color lighting for plant lighting in the<br />

photosynthesis process. If the intention is to only sustain<br />

indoor plants for interior spaces where sunlight cannot reach,<br />

not for them to grow, this may not be the case. Regular white<br />

light color temperature (with a slight tint of pink from Red<br />

and Blue Color Spectrum) can be used to maintain a typical<br />

architectural lighting aesthetic.<br />

Horticulture light can help maintain plants without access<br />

to rotating to nurseries now and then, saving maintenance<br />

costs in the long run.<br />

Some manufacturer product lines can provide these<br />

horticulture lighting as standard fixtures like ERCO or<br />

customized solutions like XAL provide custom luminaire for<br />

the plant at Givaudan - Zurich Innovation Center (https://<br />

youtu.be/kK-GHoFZEVA)<br />

Local manufacturers like L&E in Thailand can supply Horticulture<br />

lighting with architectural style lighting luminaire.<br />

They also provide calculation services to suggest appropriate<br />

fixture quantities and operating hours for each type of plant.<br />

18<br />

16<br />

20<br />

สำาหรับผู้ผลิตโคมไฟแสงสว่างบางเจ้าสามารถเสนอผลิตภัณฑ์มาตรฐาน<br />

สำาหรับส่องเลี่ยงต้นไม้ได้ เช่น ERCO ซึ่งจะได้คุณลักษณะของแสงที่เป็น<br />

แบบเดียวกับการส่องพื้นที่ภายในอาคารตามปกติเลย หรือบางรายมี<br />

โซลูชั่นที่ปรับแต่งดัดแปลงโคมได้ เช่น XAL ซึ่งดูจากโปรเจคที่ Gi vaudan-<br />

Zurich Innovation Center<br />

Control and wireless integration<br />

Lighting Control is an essential part of lighting infrastructure,<br />

which helps organize lighting operations and create the ideal<br />

mood for different scenarios.<br />

19<br />

Photo Reference<br />

16-17. ERCO<br />

18-19. NEKO<br />

20-21. XAL<br />

21


่<br />

132<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

133<br />

ผู้ผลิตในท้องถิ่นเช่น L&E ในประเทศไทยสามารถจัดหาไฟสำาหรับพืช<br />

ด้วยโคมไฟสไตล์สถาปัตยกรรม L&E ยังให้บริการคำานวณเพื่อแนะนำา<br />

ปริมาณการติดตั้งและเวลาใช้งานที่เหมาะสมสำาหรับพืชหรือต้นไม้แต่ละ<br />

ประเภทด้วย<br />

ระบบควบคุมแสงสว่างแบบไร้สาย<br />

ระบบควบคุมแสงเป็นส่วนสำาคัญของการออกแบบงานระบบไฟฟ้าเพื่อ<br />

แสงสว่าง ซึ่งช่วยจัดระเบียบการทำางานของระบบไฟและสร้างอารมณ์<br />

สำาหรับการใช้งานในเวลาต่างกันได้<br />

ในอดีตระบบควบคุมแสงสว่างถือเป็นเรื่องพิเศษของงานก่อสร้างเนื่องจาก<br />

การลงทุนด้านระบบอุปกรณ์ควบคุมและการเดินสายไฟซึ ่งมักมีราคาสูง<br />

แต่ในปัจจุบันความเร็วและความเสถียรของเทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สาย<br />

ที่ดีขึ้นซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินสายและฮาร์ดแวร์ให้ลดลงอยู่ในราคา<br />

ที่ไม่แพงมากและมีความยืดหยุ่นกว่า ซึ่งไม่เพียงแต่เอื้ออำ านวยต่อระบบ<br />

แสงสว่างเท่านั้น ยังรวมไปถึงระบบวิศวกรรมเครื่องกลและงานระบบ<br />

ไฟฟ้า แสง เสียง อากาศ ม่าน และเซนเซอร์ต่างๆ ระบบสื่อสารไร้สายยัง<br />

ง่ายต่อการเปลี่ยนหรือเพิ่มในอุปกรณ์อื่นๆ ในอนาคต<br />

การเชื่อมต่อของการควบคุมแบบไร้สายสามารถทำาได้ผ่านปุ่มกดจากระยะ<br />

ไกลหรือ Application ในอุปกรณ์แบบพกพาหรือปุ ่มกดที ่ใช้แบตเตอรี<br />

ด้วยการเชื่อมต่อซอฟต์แวร์ที่เป็นมิตรกับผู้ใช้ ผู้ใช้จะสามารถควบคุม<br />

ความสว่างได้อย่างสะดวก สร้าง scene สำาหรับควบคุมการรวมกลุ่มแต่ละ<br />

กลุ่ม ตั้งเวลา และเปลี่ยนแปลงได้ทุกเมื่อที่ต้องการ<br />

<strong>22</strong><br />

24<br />

In the past, lighting control was considered a luxury due to<br />

investment costs for system hardware and wiring. Today’s<br />

higher speed and stability of wireless technology helps<br />

bring the wiring cost and hardware down to be more<br />

affordable and flexible. Not only in the case for lighting<br />

systems but the whole M&E automation ecology; light, sound,<br />

air, curtain, and sensors; in many ways being wireless also<br />

makes it easier to adjust or add on more devices.<br />

Wireless Control interface can be done through remote<br />

keypad or an APP in portable handheld devices or on<br />

a battery-operated keypad. With a user-friendly software<br />

interface, the users can conveniently control brightness<br />

levels, create scenes for each control grouping, set a timer,<br />

and change them whenever desired.<br />

In public spaces, this system integration can help link all the<br />

devices effectively, which will help to manage the usage of<br />

space and save energy in that space where longer required<br />

luminaire is switched on.<br />

Various wireless technologies are now available in the market<br />

such as Bluetooth, Zigbee, Wifi, etc. It normally operates on<br />

separate frequencies to avoid mixing up signals with other<br />

devices. This signal can then be linked to a smart home<br />

system like Google Home for voice operating commands.<br />

ในพื้นที่สาธารณะ การบูรณาการระบบนี้จะช่วยเชื่อมโยงอุปกรณ์ทั้งหมด<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้จัดการการใช้พื้นที่และประหยัดพลังงาน<br />

ในพื้นที่นั้นซึ่งต้องเปิดโคมไฟนานขึ้น<br />

25<br />

ในปัจจุบันนี ้เทคโนโลยีไร้สายต่างๆ สามารถหาได้ตามท้องตลาด เช่น<br />

Bluetooth, Zigbee, Wifi เป็นต้น เทคโนโลยีไร้สายเหล่านี้ทำางานแยกกัน<br />

ตามความถี่เพื่อหลีกเลี่ยงสัญญาณที่ปะปนกับอุปกรณ์อื่น สัญญาณนี้ยัง<br />

สามารถเชื่อมโยงกับระบบสมาร์ทโฮม เช่น Google Home เพื่อรับคำาสั่ง<br />

เสียงอีกด้วย<br />

23<br />

Photo Reference<br />

12-26. XAL<br />

26


134<br />

materials<br />

LIGHTING (AS) MATERIAL<br />

135<br />

การพัฒนาในอนาคตของอุตสาหกรรมแสงสว่างยังคงอยู่บนฐาน<br />

ของ Solid State Lighting ซึ ่งยังได้รับการพัฒนาเรื่องประสิทธิภาพ<br />

และทาให้นักออกแบบโคมไฟสามารถเห็นแนวทางในการออกแบบ<br />

ที่แตกต่างไปจากเดิมได้มากยิ่งขึ ้น การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ<br />

เทคโนโลยีหลอดไฟ LED ได้ทาให้อุตสาหกรรมโคมไฟแสงสว่างเกิด<br />

ความพลิกผันไปทั้งระบบ ซึ ่งนอกจากทาให้ผู้ผลิตและผู้ที่เกี่ยวข้อง<br />

มากมายต้องปรับตัวแล้ว ยังทาให้ห่วงโซ่อุปทานส่วนใหญ่ของ<br />

หลอดไฟอื่นๆ หยุดชะงัก<br />

Future development of Lighting Industries is still<br />

holding on to Solid State Lighting, which will be<br />

even more efficient and allow luminaire designers<br />

to explore more possibilities. The advanced development<br />

of LED technology has already disrupted<br />

lighting industries and caused most of the supply<br />

chain of other light sources<br />

to discontinue.<br />

Photo Reference<br />

27-28. C<strong>ASA</strong>BI<br />

29-30. se.com<br />

27<br />

30<br />

29<br />

28<br />

ผู้ผลิตส่วนประกอบไฟ LED รายใหญ่ที่สุดสาหรับทั้งหลอดไฟและ<br />

โคมไฟตั้งอยู่ในประเทศจีน แต่ส่วนประกอบคุณภาพสูงและล ้าหน้า<br />

กว่านั้นยังคงผลิตในยุโรป ประเทศตะวันตกในยุโรปและอเมริกายัง<br />

คงเป็ นผู้นาในเทคโนโลยีการออกแบบโคมไฟแสงสว่าง ในขณะที่<br />

เทรนด์การออกแบบถูกกาหนดจากตลาดโลก ไม่ใช่จากภูมิภาคใด<br />

ภูมิภาคหนึ ่ง<br />

แรงผลักดันของการให้ความสาคัญกับความยั่งยืนและสุขภาวะ<br />

ที่ดีในงานออกแบบ ได้ส่งผลต่อแนวโน้มการออกแบบในระดับโลก<br />

หลอดไฟและโคมไฟที่มีคุณภาพดีขึ ้นซึ ่งมีราคาที่ไม่แพงและมี<br />

จาหน่ายในตลาดของบ้านเรา ผู้ผลิตจานวนมากขึ ้นกาลังเปลี่ยนวิธี<br />

การผลิตไปสู่วัสดุที่ยั่งยืนมากขึ ้น เพื่อลดขยะพิษและรีไซเคิลได้ เช่น<br />

พลาสติกคุณภาพสูงกาลังมาแทนที่วัสดุที่เป็ นโลหะ หลอดไฟ LED<br />

จะจะมีค่าในดัชนีวัดค่าแสงที่มีความถูกต้องของสีดีขึ ้น<br />

โคมไฟสไตล์ Retrofit พร้อมฐานโคมไฟ E27 หรือ MR16 GX3.5<br />

อาจจะไม่มีใช้กันในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า เราจะต้องยอมรับเทคโนโลยี<br />

ไฟ LED แบบบูรณาการซึ ่งสามารถใช้งานได้นานขึ ้น แต่อะไหล่อาจ<br />

ไม่มีในตลาดเปิ ด ผู้ ใช้เฉพาะทางจาเป็ นต้องตัดสินใจอย่างชาญ-<br />

ฉลาดในการเลือกโคมไฟเนื่องจากสามารถพิจารณาถึงการลงทุน<br />

ระยะยาวได้ การทาความเข้าใจคุณภาพและมูลค่าของโคมไฟ รวม<br />

ถึงฟั งก์ชันเพิ ่มเติมของระบบไฟส่ องสว่าง เป็ นสิ ่งสาคัญสาหรับผู้-<br />

ใช้เฉพาะทางอย่างนักออกแบบแสงสว่าง ซึ ่งจะต้องมีการเลือกใช้<br />

ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสม เพื่อความลงตัวที่คุ้มค่าที่สุดสาหรับ<br />

งบประมาณและคุณภาพของงานออกแบบที่ดี<br />

ปุ ้ ม โชติมา พจนานุวัตร<br />

สำ เร็จกรศึกษจก<br />

คณะสถปั ตยกรรมภยใน<br />

สถบันเทคโนโลยีพระ-<br />

จอมเกล้ เจ้คุณทหร<br />

ลดกระบัง และสขกร<br />

ออกแบบและเทคโนโลยี<br />

จก Parsons School of<br />

Design ในนิวยอร์ก เคย<br />

ทำงนเป็ นนักออกแบบ<br />

แสงทงสถปั ตยกรรม<br />

ในนิวยอร์กและในสหรัฐ-<br />

อเมริกมนนกว่สิ บปี<br />

ปั จจุบันอยู่ที ่กรุงเทพฯ และ<br />

ทำงนเป็ นที่ปรึกษอิ สระ<br />

ด้นกรออกแบบแสง<br />

Pum Photjananuwat<br />

received a Bachelor of<br />

Interior Architecture from<br />

King Mongkut Institute of<br />

Technology Ladkrabang,<br />

and a Master of Fine Arts<br />

in Design and Technology<br />

from Parsons School of<br />

Design in New York. She<br />

worked as an architectural<br />

lighting designer in New<br />

York and USA for more<br />

than ten years and is now<br />

based in Bangkok and<br />

working as an independent<br />

Lighting Design Consultant.<br />

The largest manufacturers of LED components<br />

for both light sources and Luminaire are located<br />

in China. More advanced and higher quality<br />

components are still made in Europe. The luminaire<br />

design technology is still led from western countries<br />

in Europe and America. Design trends are, however,<br />

dictated from the global market, not from the<br />

region.<br />

With Sustainability and Well-being high up on<br />

global design trends, better quality light sources<br />

and luminaires have become more affordable and<br />

available in our market. More manufacturers are<br />

changing manufacturing methods toward more<br />

recyclable and sustainable materials to reduce<br />

toxic waste. High-quality plastic is now replacing<br />

the metal base material. LED light sources are<br />

better in the Color Rendering Index, providing<br />

a better visible lighting spectrum.<br />

Retrofit style luminaire with E27 or MR16 GX3.5<br />

lamps bases will be obsolete in a few years from<br />

now. We will have to accept the integrated LED<br />

technology, which can last longer, but spare parts<br />

may not be available in the open market. Lighting<br />

specifiers need to make a wise choice for luminaire<br />

selections as it can be considered a long-term<br />

investment. Understanding Luminaire’s quality<br />

and value, including the extended function of<br />

the lighting system, is essential for specifiers in<br />

Lighting Designer Practices especially to provide<br />

an appropriate selection to fit the best value for<br />

the budget and meet standards and quality for<br />

design.


136<br />

&Tradition<br />

Floor Lamp<br />

materials<br />

&Tradition ได้เปิดตัวโคมไฟตั ้งพื ้น Bellevue<br />

ออกแบบโดย Arne Jacobsen เพื่อเป็นการ<br />

เฉลิมฉลองครบรอบ 120 ปีของสถาปนิกชาว<br />

เดนมาร์กที่ยิ่งใหญ่ผู้นี้ Jacobsen สร้างโคมไฟ<br />

ครั้งแรกในปี 1929 และถือเป็นชิ้นคลาสสิกของ<br />

การออกแบบ Minimalist แบบเดนมาร์ก โคม-<br />

ไฟมีฐานเหล็กหล่อและโป๊ะโคมซึ่งประกอบขึ้น<br />

จากโลหะชิ้นเดียว ด้วยเส้นสายที่สวยงาม ดู<br />

สะอาดตา รูปทรงที่เรียบง่าย โคมไฟนี้ถือเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของยุคเปลี่ยนผ่านที่หลอมรวมความ<br />

คิดใหม่ที่เกิดจากการผสมผสานความเรียบง่าย<br />

เชิงประติมากรรมเข้ากับรูปแบบ Functionalism<br />

ของ Bauhaus<br />

โคมไฟรุ่นพิเศษนี้ได้เก็บรักษางานออกแบบ<br />

ดั้งเดิมของ Jacobsen โดยวางจำาหน่ายสองสี<br />

ได้แก่ สีขาวและสีเทา ส่วนก้านโคมทำาด้วย<br />

ทองเหลือง<br />

To celebrate Arne Jacobsen’s 120th<br />

birthday, &Tradition has launched two<br />

special editions of the Danish architect’s<br />

Bellevue floor lamp. Jacobsen<br />

first created the lamp in 1929, and it<br />

is considered to be a classic piece of<br />

Danish minimalist design.<br />

The lamp features a cast iron base and<br />

distinctive lampshade that is formed<br />

from a single piece of metal. With its<br />

graceful lines and clean, understated<br />

silhouette, the lamp was part of a wider<br />

shift towards a new school of thought<br />

that melded sculptural simplicity with<br />

the functionalism of Bauhaus.<br />

The brand’s anniversary edition of<br />

the lamp nods to Jacobsen’s original<br />

design and is available in two new<br />

finishes - white and stone grey. The<br />

lampshade and base come in white<br />

or stone grey, and the stem of the lamp<br />

is finished in bronzed brass.<br />

andtradition.com<br />

De Vorm<br />

Pendant Light<br />

Pivot ไฟแขวนรุ ่นใหม่จากแบรนด์ De Vorm<br />

เป็นโคมไฟรูปทรงระฆังที่ทำาจากพลาสติก PET<br />

รีไซเคิล หุ้มผ้าสักหลาด ประกอบด้วยปลอก<br />

สักหลาดหุ้มด้านนอกที่สามารถหมุนและเอียง<br />

เพื่อปรับทิศทางของแสงได้ มีให้เลือกใช้เป็น<br />

โคมแขวนเดี่ยวหรือเป็นแบบคู่ที่เชื่อมต่อด้วย<br />

รางอลูมิเนียม<br />

Pivot เริ่มต้นจากแนวคิดในการสร้างโคมไฟที่ใช้<br />

งานได้หลากหลายทั้งในด้านรูปลักษณ์และการ<br />

ใช้งาน โคมไฟในรุ่นนี้ ยังมีรูปแบบอิสระที่ต่อ<br />

เติมหรือขยายได้ตามการใช้งานโดยผสมผสาน<br />

องค์ประกอบที่ไม่ตายตัวและมีอิสระ เข้ากับการ<br />

ออกแบบ โดยโคมสามารถตั้งได้ 5 ตำาแหน่งที่<br />

แตกต่างกัน ใช้แขวนจากเพดานด้วยสายเหล็ก<br />

และสายไฟโปร่งใสที่ยาวได้ถึง 3 เมตร<br />

Pivot มีการตั ้งค่าแสงที ่ปรับได้สองแบบ คือ<br />

warm white และ neutral white และมีสีให้<br />

เลือกอีก 11 สีสำาหรับเฉดสีของผ้าสักหลาด<br />

ทำาให้เลือกใช้ได้กับงานดีไซน์ภายในหลาก<br />

หลายรูปแบบ ตั้งแต่สำานักงาน ร้านอาหาร และ<br />

พื้นที่สาธารณะต่างๆ ตัวรางทำาจากอลูมิเนียม<br />

น้ำาหนักเบา ตัวโคมหุ้มด้วยผ้าสักหลาดชิ้นเดียว<br />

ซึ่งผลิตจากขวดพลาสติกรีไซเคิล วัสดุซึ่งเป็น<br />

คำาตอบสำาหรับความยั่งยืนของระบบนิเวศและ<br />

ทางเลือกที่น่าสนใจสำาหรับสิ่งแวดล้อมในการ<br />

ออกแบบตกแต่งภายในร่วมสมัย<br />

De Vorm has launched Pivot, a bellshaped<br />

pendant light made from<br />

recycled PET felt. Consisting of felt caps<br />

that can be turned and tilted to tailor the<br />

direction of the light, the Pivot is available<br />

as a singular pendant or as a duo connected<br />

by an aluminium rail.<br />

Pivot started with the idea to create<br />

a lamp that is versatile in its expression<br />

as well as in use. With this new lamp,<br />

the brand also offers extra freeform in its<br />

application by incorporating a dynamic<br />

element into the design. The lampshades<br />

can be set in five different positions while<br />

suspended from the ceiling using steel<br />

cables and a transparent electrical cord<br />

that can reach up to three meters.<br />

Pivot has two dimmable light settings,<br />

warm white and neutral white, and 11<br />

color options for the felt shade, making<br />

it suitable for various interiors, including<br />

offices, restaurants, and social spaces.<br />

The rail is made from lightweight aluminium,<br />

the textured lampshade consists of<br />

a single piece of felt manufactured from<br />

recycled plastic bottles. The material is<br />

thus answers to ecological sustainability<br />

and environmental quality requirements<br />

in contemporary interior design.<br />

devorm.nl


138<br />

materials<br />

139<br />

Hulasol<br />

Outdoor Light<br />

ฟังก์ชั่นการทำางานรูปแบบคู่และการออกแบบ<br />

ล้ำาสมัยบ่งบอกถึงลักษณะของ Hulasol ร่ม<br />

กันแดดที่เป็นเอกลักษณ์ของ Hulasol แบรนด์<br />

จากเบลเยียม ทำาหน้าที่เป็นทั้งร่มกันแดด<br />

และเป็นไฟกลางแจ้ง ซึ่งสามารถควบคุมได้<br />

ผ่านแอปพลิเคชั่นสมาร์ทโฟน ตัวโคมมีความ<br />

สวยงามสะดุดตา ออกแบบโดยใช้เส้นสายที่<br />

ล้อกับฟอร์มของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์<br />

ส่วนกันแดดกันฝนที่ทำาจากโพลีเอสเตอร์และ<br />

พื้นผิวอื่นๆ ทั้งหมดสามารถทนต่อน้ำา สิ่ง-<br />

สกปรก และเชื้อรา<br />

โครงสร้างหลักๆ ประกอบด้วยฐานล้อเพื่อ<br />

ความคล่องตัวและกันสาดร่มที่ได้รับการออก-<br />

แบบตามหลักอากาศพลศาสตร์ให้มีความมั ่นคง<br />

สามารถพับเป็นรูปทรงคล้ายใบไม้ขนาดกะทัดรัด<br />

จัดเก็บง่าย มีสีให้เลือก 2 สี คือสีดำาด้านและสี<br />

ขาวด้าน<br />

Dual functionality and futuristic design<br />

characterize Hulasol, the signature<br />

sun umbrella of Belgian manufacturer<br />

Hulasol. The umbrella functions both<br />

as a traditional parasol and an outdoor<br />

light source, which can be controlled<br />

via a smartphone application. The<br />

umbrella comprises a base with wheels<br />

for maneuverability and an aerodynamically<br />

designed canopy to ensure<br />

stability. It folds away into a compact<br />

leaf-like shape for easy storage.<br />

Hulasol is the world’s first outdoor<br />

mood lamp and sun umbrella combined<br />

in one beautiful eye-catcher, designed<br />

to captivate and comfort. Its curves<br />

celebrate the sun and moon. The polyester<br />

canopy and all ot her surfaces<br />

have been treated to withstand water,<br />

dirt, and mildew. Hulasol comes in two<br />

finish options - matte black and matte<br />

white colorways.<br />

Hulasol.com<br />

Moooi<br />

Pendant Light<br />

Heracleum เป็นโคมไฟแขวนที่ออกแบบโดย<br />

Bertjan Pot ดีไซเนอร์ดัตช์ที่มีชื่อเสียงให้กับ<br />

Moooi โคมไฟแขวน LED นี้ ให้แสงที่มีความ<br />

หรูหราและความนุ่มละไม แสงโดยรอบที่ทำา<br />

ให้เป็นส่วนประกอบสำาคัญสำาหรับแสงสว่าง<br />

ภายในร่วมสมัย โคมไฟ Heracleum ได้รับ<br />

การตั้งชื่อตามชื่อดอกไม้ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจ<br />

ของงานออกแบบชิ้นนี้ อย่างไรก็ตาม Pot<br />

กล่าวว่าแรงบันดาลใจของงานไม่ได้มาจาก<br />

ธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลทางคณิต-<br />

ศาสตร์อยู่เบื้องหลังการออกแบบด้วย ส่วน<br />

ของใบทำาจากโพลีคาร์บอเนตสีขาว 63 ใบ<br />

แตกแขนงออกจากก้านเดียว สร้างโครงสร้าง<br />

ทางเทคนิคที่เป็นธรรมชาติ โดยใช้เทคนิคการ<br />

เคลือบชั้นนำาไฟฟ้า (Electrosandwich) ตัวโคม<br />

จึงมีความบางและละเอียดอ่อนมาก และไม่<br />

สามารถทำาได้ด้วยสายไฟปกติทั่วไป ใบไม้ของ<br />

Heracleum จะไม่อยู่ตายตัวในตำาแหน่งเดียว<br />

แต่สามารถจัดตำาแหน่งใหม่ได้อย่างอิสระโดย<br />

การหมุนรอบก้านของใบ<br />

แม้ว่าการออกแบบจะได้รับการผลิตมานานกว่า<br />

ทศวรรษแล้ว แต่ Heracleum ก็ถือว่าเป็นหนึ่ง<br />

ในสินค้าขายดีด้านระบบไฟส่องสว่าง และได้มี<br />

การเพิ่มโมเดลใหม่สองถึงสามรุ่นในซีรีส์นี้<br />

Designed by internationally acclaimed<br />

Dutch designer Bertjan Pot for Moooi,<br />

the Heracleum II LED Chandelier<br />

offers a dazzling array of soft, ambient<br />

lighting that makes it a quintessential<br />

piece for contemporary interior lighting.<br />

The Heracleum light was named after<br />

the same name flower, a reference for<br />

the work. However, Pot also noted the<br />

mathematical influences behind the<br />

design of the light fixture. The 63 white<br />

polycarbonate leaves/lenses ramify<br />

from one branch, creating a technical,<br />

natural structure. By using the technique<br />

of coating conductive layers<br />

(Electrosandwich), the lamp is very thin<br />

and delicate. A design is not possible<br />

with regular wires. The Heracleum<br />

leaves are not frozen in one position<br />

and can be freely re-positioned by<br />

rotating them around their stem.<br />

Though the design has been in production<br />

for more than a decade now, the<br />

Heracleum is considered one of the<br />

best-sellers in lighting and has been<br />

added on with a few new models in the<br />

series.<br />

moooi.com


140<br />

Zero Lighting<br />

Pendant Lamp<br />

materials<br />

Front นักออกแบบดูโอจากสวีเดนได้สร้างโคม-<br />

ไฟแขวน Curve Crown ซึ่งหยิบยืมคุณลักษณะ<br />

จากโคมไฟห้องสมุดคลาสสิก เดิมที Curve-<br />

Crown ได้รับการออกแบบมาสำาหรับการบูรณะ<br />

พิพิธภัณฑ์แห่งชาติของสวีเดนและห้องสมุดใน<br />

ปี 2018 ซึ่งทำาให้ Front มองไปที่แสงห้องสมุด<br />

แบบดั้งเดิมในการเป็นข้อมูลอ้างอิง ต่อมาพวก<br />

เขาได้พัฒนาการออกแบบให้เป็นโคมไฟแขวน<br />

ขนาดใหญ่ ซึ่ง Zero Lighting แบรนด์ผู้ผลิตได้<br />

อธิบายว่าดูเหมือนการเต้นรำาเป็นจังหวะวงกลม<br />

โดยมีแขนที่โอบโยงกัน อุปกรณ์ติดตั้งสามชิ้น<br />

ถูกประกอบเข้าด้วยกันและมีแขนที ่เกาะเกี ่ยวกัน<br />

ทำาให้เกิดเป็นโคมระย้า Curve Crown ขึ้นมา<br />

ตัวโคมทำาจากโลหะ โดยมีสีให้เลือกสี่สี คือสีเขียว<br />

สีขาว สีงาช้าง และสีน้ำาเงิน ตลอดจนเฉดสีอื ่นๆ<br />

ซึ่งสามารถทำาได้ตามความต้องการอีกด้วย<br />

Curve Crown มีโมดูล LED ที่สามารถหรี่แสง<br />

ได้โดยใช้ไฟหลักหรือผ่านตัวควบคุม Digital<br />

Addressable Lighting Interface (DALI) มี<br />

สามขนาดตั้งแต่ 150 ถึง 300 มม.<br />

Front, a Swedish design duo, has created<br />

the Curve Crown pendant, which<br />

borrows features from classic library<br />

lamps. The Curve Crown was originally<br />

designed for the 2018 renovation of<br />

Sweden’s National Museum and its<br />

library, which led Front to look to<br />

traditional library lighting for reference.<br />

Later the designers have evolved the<br />

design into a large pendant, which<br />

Zero Lighting describes as looking like<br />

a rhythmic circle dance with arms<br />

interlinked. Three or more fixtures are<br />

grouped together and their arms intertwined<br />

to make a single Curve Crown<br />

chandelier.<br />

The painted metal designs are available<br />

in a choice of four colours, including<br />

green, white, ivory or pigeon blue,<br />

as well as other hues also on request.<br />

Curve Crown has an LED module<br />

that is dimmable via mains or through<br />

Digital Addressable Lighting Interface<br />

(DALI) controls, and the shades come<br />

in three sizes ranging from 150 to 300<br />

millimetres.<br />

zero.se<br />

Zuma<br />

Downlight<br />

Lumisonic เป็นโคมไฟดาวน์ไลท์แบบฝังขนาด<br />

กะทัดรัดพิเศษพร้อมลำาโพงในตัว ซึ่งทำางาน<br />

แบบไร้สายทั้งหมดและสั่งงานผ่านการเปิดใช้<br />

งานด้วยเสียง เป็นระบบเสียงมัลติรูมไร้สายที่<br />

ส่งเสียงผ่านดาวน์ไลท์<br />

ระบบเสียงมัลติรูม Zuma นี ้ออกแบบโดย Morten-<br />

Warren ผู้ก่อตั้ง Zuma ซึ่งเริ่มต้นบริษัทหลังจาก<br />

ประสบปัญหากับลำาโพงติดเพดานที่ไม่สวยและ<br />

ดูเกะกะ คุณภาพเสียงที่ไม่ดี และขั้นตอนการ<br />

ติดตั้งที่ซับซ้อน การออกแบบแก้ไขข้อบกพร่อง<br />

เหล่านี ้ในขณะที ่เพิ ่มคุณสมบัติต่างๆ เช่น<br />

แสงที ่เหมาะกับจังหวะเซอร์คาเดียนและโหมด<br />

Wellbeing ซึ่งเลือกการตั้งค่าที่เหมาะสมที่สุด<br />

สำาหรับอารมณ์ใดๆ ผ่านค่าที่ตั้งไว้ล่วงหน้าใน<br />

แอปพลิเคชั่น<br />

การตั้งค่าลำาโพงให้เสียงที่สมจริงสำาหรับบ้าน<br />

โดยไม่ต้องใช้สายเคเบิลหรือสายไฟ สามารถติด<br />

ตั้ง Lumisonic เข้าไปในห้องใดก็ได้เพื่อส่งมอบ<br />

สิ ่งที ่ Zuma อธิบายว่าเป็น “หลังคาแห่งเสียง”<br />

ที่มีรายละเอียดมากมาย ระบบไฟส่องสว่างแบบ<br />

ใหม่นี้ ตามที่ Zuma ระบุ สามารถ “เปลี่ยนห้อง<br />

น้ำาเป็นสปา ยิมที่บ้านให้เป็นสปินสตูดิโอ ห้อง<br />

ครอบครัวกลายเป็นโรงภาพยนตร์ หรือแม้แต่<br />

ห้องครัวให้เปลี่ยนเป็นดิสโก้คลับ”<br />

Lumisonic is an ultra-compact recessed<br />

downlight with an integrated loudspeaker,<br />

which works entirely wirelessly and is<br />

operated through voice activation. It is<br />

a wireless multi-room system delivering<br />

audio through downlights.<br />

The multi-room system was designed<br />

by Zuma founder Morten Warren, who<br />

started the company after experiencing<br />

frustration with unattractive and<br />

obtrusive ceiling speakers, their poor<br />

audio quality, and complex installation<br />

process. The designs address these<br />

shortcomings while adding features<br />

including circadian rhythm lighting<br />

and a Wellbeing mode, which selects<br />

the optimal settings for any mood via<br />

presets on the application.<br />

The speaker set-up provides immersive<br />

audio for the home with no cables or<br />

wires. Lumisonic can be retrofitted<br />

into any room to deliver what Zuma<br />

describes as a “canopy of sound” that<br />

is rich in detail. This new lighting system,<br />

according to Zuma, can “turns<br />

a bathroom into a spa, a home gym into<br />

a spin studio, a family room into a cinema,<br />

or even a kitchen into a disco”.<br />

zuma.ai


142<br />

AICA<br />

AICA ผู้ผลิตวัสดุปิดผิว เราผสมผสานพลังแห่ง<br />

การออกแบบที่สร้างสรรค์และความสมบูรณ์<br />

แบบของฟังก์ชันการทำางานเพื่อสร้างแรง-<br />

บันดาลใจและจินตนาการ AICA BIM solution<br />

ช่วยให้นักออกแบบทั่วโลกสามารถเข้าสู่โลก<br />

ดิจิทัลของงานก่อสร้างได้อย่างง่ายดาย และ<br />

เข้าถึงสินค้าได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภาพ<br />

และคุณภาพของการออกแบบ<br />

AICA จะยังคงตอบสนองความท้าทายของ<br />

เทคโนโลยีใหม่ๆ ผ่านการจัดการที่สร้างสรรค์<br />

อย่างมั่นคง เรามุ่งมั่นที่จะสร้างพื้นที่ชีวิตที่น่า-<br />

ตื่นตาตื่นใจด้วยการออกแบบที่เป็นนวัตกรรม<br />

ใหม่ๆ สร้างเทรนด์ใหม่ๆ และยังเป็นพลังแห่ง<br />

การออกแบบตกแต่งภายในร่วมสมัยที่ทันสมัย<br />

AICA decorative surfacing materials<br />

manufacture, we combine the electricity<br />

of creative design and the<br />

perfection of functionality to inspire<br />

one’s imagination AICA BIM solution<br />

support designer around the world<br />

can enter the digital world of<br />

construction easily and help them<br />

to accelerates product selections,<br />

improve the speed and quality of<br />

specification.<br />

AICA will continue to meet the challenge<br />

of new technologies through<br />

creative management firmly. We are<br />

determined to exceed expectations in<br />

creating amazing life spaces with new<br />

innovative designs, establishing new<br />

trends and remaining a rising force in<br />

modern contemporary interior design.<br />

AICA ASIA LAMINATES HOLDING CO., LTD<br />

T: +66 2059 7185<br />

F: +66 2059 7186<br />

E: INFO@AICA-AL.COM<br />

W: WWW.AICA-AL.COM<br />

BIM<br />

Download<br />

SCG D’COR<br />

SCG D’COR ผู ้ผลิตวัสดุตกแต่งทางเลือกใหม่<br />

ที่ไม่เพียงแต่ผลักดันการยกระดับมาตรฐานงาน<br />

ก่อสร้างของประเทศไทยให้เป็นมิตรแก่สิ่งแวดล้อม<br />

ในทุกกระบวนการก่อสร้าง และเน้นการใช้<br />

ทรัพยากรหมุนเวียนให้สอดคล้องไปกับหลัก ESG<br />

SCG ยังสนับสนุนการนำา BIM Solution หรือ<br />

เทคโนโลยีจำาลองสารสนเทศสำาหรับอาคารใน<br />

รูปแบบดิจิทัลมาให้กลุ่มลูกค้าและนักออกแบบ<br />

ได้เลือกนำาไปประยุกต์ใช้กับการทำางาน รวมถึง<br />

ควบคุมงานก่อสร้างให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย<br />

ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่ช่วยเอื้อทั้งการทำ างาน<br />

และการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของ SCG ได้อย่าง<br />

สะดวกสบาย<br />

SHERA<br />

จากพื้นถึงฝ้า จากผนังถึงหลังคา ทุกๆ ส่วนของ<br />

อาคาร SHERA มุ่งมั่นที่จะผลักดันทุกจินตนาการ<br />

ของคุณ SHERA Design Partner พร้อมที่จะ<br />

เป็นส่วนหนึ่งในทุกแนวความคิด ทำางานร่วม<br />

กับสถาปนิกและดีไซน์เนอร์เพื่อเป็นผู้ช่วยให้ผู้-<br />

ออกแบบ เลือกใช้สิ่งที่เหมาะสมที่สุดตอบรับทุก<br />

แรงบันดาลใจและการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ<br />

SHERA BIM Solution ระบบ BIM จะเข้ามารองรับ<br />

การทำางานทุกรูปแบบ ทั้งวัสดุ การติดตั้งและข้อมูล<br />

สินค้า เพื่อให้ผู้ออกแบบ เลือกใช้วัสดุได้หลาก<br />

หลาย ทำางานสะดวก เกิดแรงบันดาลใจ และ ใช้<br />

งานได้จริง ตอบโจทย์ทุกการทำ างานพร้อมปรับ<br />

เปลี ่ยนและยืดหยุ ่นได้ตามที ่ต้องการ<br />

SCG D’COR, the developer and manufacturer<br />

of alternative decorative materials,<br />

has been a driving force behind the<br />

improvement of Thailand’s construction<br />

standard. One of its attempts is for the<br />

architectural and construction industry<br />

to take environmental impacts caused by<br />

construction processes into a serious account,<br />

including the emphasis on the circular<br />

approach to material usage, coinciding<br />

with the ESG principles. Not only that,<br />

SCG has been an avid advocate of BIM<br />

Solution, the digital building information<br />

modeling technology that enables clients<br />

and designers to achieve a more efficient<br />

management of construction processes.<br />

The technology also serves as one of the<br />

ways that can help facilitate workflow efficiency,<br />

and a better and more convenient<br />

access to SCG’s products.<br />

SIAM FIBRE CEMENT GROUP CO., LTD.<br />

T: +662 586 <strong>22</strong><strong>22</strong><br />

F: +662 586 2121<br />

E: CONTACT@SCG.COM<br />

W: FACEBOOK.COM/SCGBRAND<br />

BIM<br />

Download<br />

From floor to ceiling, from wall to the<br />

roof, SHERA pushes forward your<br />

imaginations to bring them to life. With<br />

SHERA Design Partner service, we work<br />

together with architects and designers<br />

across the world and assist them in<br />

creating the better build environment;<br />

sharing and inspiring their creativity<br />

as a true partner for every design.<br />

SHERA BIM SOLUTION ; Bim will support<br />

designer’s works in all styles including,<br />

model, installation and information.<br />

Even for work’s inspiration and comfortable<br />

to using SHERA BIM SOLUTION is<br />

flexible for all creative design.<br />

SHERA PUBLIC COMPANY LIMITED<br />

T: +66 <strong>22</strong>89 9888<br />

E: CALLCENTER@SHERA.COM<br />

W: WWW.SHERA.COM<br />

BIM<br />

Download


144<br />

revisit<br />

LIGHT AND CONCRETE AT TUEK KLOM<br />

145<br />

Light and Concrete<br />

at Tuek Klom<br />

The light at Tuek Klom is always gorgeous, and it is<br />

as gorgeous as Amorn Srivongse, the architect of the<br />

Lecture Building (informally called Tuek Klom) at the<br />

Faculty of Science, Mahidol University, had developed<br />

from another lecture building he previously designed in<br />

1964 for the Faculty of Science, Khon Kaen University.<br />

2<br />

3<br />

Text: Pinai Sirikiatikul<br />

Photo Courtesy of Sithisak Namkom<br />

1<br />

01<br />

อาคารปาฐกถา คณะ<br />

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

มหิดล ออกแบบโดย<br />

อมร ศรีวงศ์ และรชฏ<br />

กาญจนะวณิชย์ เมื่อพ.ศ.<br />

2508-2511<br />

02<br />

ช่องแสง Oculus นำาแสง<br />

สว่างลงมายังบริเวณใต้ถุน<br />

อาคารปาฐกถา<br />

03<br />

หลังคา<br />

แสงที่ตึกกลมนั้นสวย เป็นความสวยที่ อมร ศรีวงศ์<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบอาคารปาฐกถา คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พัฒนาขึ้นจากการออกแบบอาคาร<br />

ทรงกลมคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่เขา<br />

เคยทำามาก่อน เมื่อ พ.ศ. 2507<br />

ที่ตึกกลม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

อมรฝังส่วนหนึ่งของอาคารลงไปในดินแล้วทำาทางเดินจาก<br />

ภายนอกมุดลงไปใต้ดินเพื่อเข้าสู่ห้องบรรยาย จังหวะ<br />

การเปลี่ยนผ่านจากภายนอกที่มีความสว่างจ้าไปสู่ภายใน<br />

ที่ค่อนข้างมืดนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างงดงามที่ตึกกลม<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล เพราะที่นี่การเปลี่ยนผ่านจากสว่าง<br />

ไปสู่มืดไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน หลังจากที่เดินขึ้นบันได<br />

มาแล้วผู้ใช้อาคารจะยังไม่ได้เข้าสู่ห้องบรรยายโดยทันที<br />

แต่จะต้องใช้เวลาสักครู่หนึ่งที่ทางเดินรูปวงแหวนบริเวณ<br />

ศูนย์กลางอาคารก่อนเข้าสู่ห้องบรรยาย ณ ใจกลางของที่ว่าง<br />

แห่งนี้เองที่อมรได้เปิดแสงลงมาจากทางด้านบน ผ่านช่อง<br />

แสงรูปวงกลมในลักษณะ oculus ทำาให้พื้นที่ซึ่งควรจะมืด<br />

สุดนั้นกลับไม่มืดทึบ แต่มีแสงสว่างคอยหล่อเลี้ยง สร้าง<br />

บรรยากาศการเปลี่ยนผ่านจากภายนอกสู่ภายในให้นุ่มนวลขึ้น<br />

และมีชั้นเชิง ที่สำาคัญคือ ไม่ทำาให้เกิดอาการวูบจากการที่<br />

สายตาเราปรับตามสภาพแสงไม่ทัน<br />

At Khon Kaen University, Amorn buried a portion of<br />

the building into the ground and created an underground<br />

walkway that leads visitors coming into the<br />

building from the outside and into the lecture hall.<br />

The sequence of the transitions from the brightly<br />

lit outside environment into the rather dark interior<br />

space is a beautifully developed design he did<br />

with the Lecture Building at the Faculty of Science,<br />

Mahidol University. There, a shift from brightness<br />

to darkness isn’t immediate. After walking up the<br />

stairs, visitors are not directly led into the lecture<br />

hall, but need to spend a bit of an extra time at<br />

the circular walkway at the center of the building<br />

before finally entering the lecture rooms. At the<br />

center of the interior program, Amorn designed for<br />

the light to come through the oculus, making the<br />

space that would have otherwise been the darkest<br />

to be brightened up with the right amount of natural<br />

light from above. Such a smooth transition from<br />

the exterior to the interior prevents any unpleasant<br />

effect that a sudden change of exposure to different<br />

lighting conditions might bring to users’ spatial<br />

experience.


146<br />

revisit<br />

LIGHT AND CONCRETE AT TUEK KLOM<br />

147<br />

ประเด็นเรื่องแสงที่กล่าวมานี้ คือสิ่งที่บรรดาสถาปนิกที่<br />

พอจะมีประสบการณ์สักหน่อยเข้าใจกันอยู่แล้ว แต่แสง<br />

อีกลักษณะหนึ่งที่ผมอยากกล่าวถึงในที่นี้ คือแสงในเชิง<br />

อุปมาอุปมัย (metaphorical) ซึ่งต้องทำาความเข้าใจผ่าน<br />

การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างแสง การถ่ายภาพ และ<br />

คอนกรีต<br />

นักประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมชาวอังกฤษ เอเดียน โฟตี้<br />

(Adrian Forty) กล่าวในหนังสือ Concrete and Culture:<br />

A Material History ว่า คอนกรีตและการถ่ายภาพมีจุดกำาเนิด<br />

และพัฒนาการในห้วงเวลาไล่เลี่ยกัน โดยถือกำาเนิดขึ้น<br />

ในทศวรรษที่ 1830s และพัฒนาขึ้นถึงจุดสูงสุดในปลาย<br />

ทศวรรษที่ 1880s และทั้งคู่ยังเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการ<br />

เนกาทีฟ-โพสิทีฟ (a negative-positive process)<br />

เช่นเดียวกัน<br />

กล่าวคือในการถ่ายภาพ ช่างภาพต้องนำาฟิล์มซึ่งมีเยื่อไวแสง<br />

ตรงข้ามกับสีของวัตถุออกมารับแสงผ่านกล้องถ่ายภาพ<br />

โดยแสงจากคนหรือวัตถุจะถูกบันทึกไว้บนแผ่นฟิล์มใน<br />

ลักษณะที่เรียกว่าเนกาทีฟ จากขาวกลายเป็นดำา และจาก<br />

ดำาจะกลายเป็นขาว ส่วนที่สว่างในความเป็นจริงนั้นเมื่อ<br />

ปรากฏบนฟิล์มจะดูมืด ส่วนที่มืดจะดูสว่าง กระทั่งเมื่อนำา<br />

ฟิล์มไปอัดขยายจึงได้ภาพที่มีสีตรงกับความเป็นจริงตาม<br />

ที่ตาเห็น<br />

ฉันใดก็ฉันนั้นกระบวนการของคอนกรีตก็ทำานองเดียวกัน<br />

ขั้นแรกต้องทำาไม้แบบ (formwork) ขึ้นมา จากนั้นจึงเท<br />

คอนกรีตเหลวลงในไม้แบบ ทิ้งให้แห้งได้ที่แล้วจึงถอดไม้<br />

แบบออก รูปร่างของคอนกรีตที่เกิดจากกระบวนการหล่อนี้<br />

คือรูปหล่อโพสิทีฟจากไม้แบบเนกาทีฟ การขึ้นไม้แบบจึง<br />

ถือเป็นกระบวนการที่มีความสำาคัญต่อการก่อรูปและพื้นผิว<br />

ของคอนกรีตที่จะเกิดขึ้นตามมาทันทีจากการหล่อนั้น<br />

ยิ่งหากเป็นกรณีของคอนกรีตเปลือยด้วยแล้ว สถาปนิก<br />

ยิ่งต้องใส่ใจกับการวางตัวของไม้แบบ เพราะในขณะที่<br />

4<br />

While photography requires a photographer’s<br />

skills and knowledge in<br />

color tones and brightness of light,<br />

the casting process of exposed concrete<br />

parts for a building calls for<br />

architects’ understanding in how<br />

molds and casts work.<br />

These light-related issues are what most experienced<br />

architects would understand. But there<br />

is another type of light I wish to talk about in this<br />

article, and that is metaphorical light, which needs<br />

to be understood through an exploration into the<br />

relationships between light, photography and<br />

concrete.<br />

Adrian Forty, a British architectural historian, said<br />

in the book ‘Concrete and Culture: A Material<br />

History’ that concrete and photography both<br />

originated in a relatively close time period, which<br />

was around the 1830s before the developments<br />

reached a peak in the 1980s. What the two inventions<br />

have in common is that they are both a result<br />

from negative-positive processes.<br />

In photography, a photographer basically uses<br />

a camera to capture an object on a film whose<br />

light-sensitive material renders a reaction to the<br />

opposite colors of the object. When exposed to<br />

light, an object or a person is photographed on<br />

the film as a ‘negative’ image, for example, white<br />

appears as black and vice versa. The bright part,<br />

when on film, appears dark, and the dark portion<br />

looks bright. When developed on a photographic<br />

paper, the negative delivers a positive image, which<br />

matches the object’s actual colors seen by one’s<br />

bare eyes.<br />

Like photography, concrete similarly lends itself<br />

to this kind of positive-negative process. The<br />

formwork is first created, and the wet concrete<br />

mixture is poured into the mold. When left to dry, the<br />

mold is taken off with the final result being a solid<br />

concrete form. This particular casting process<br />

creates a positive concrete mass out of a negative<br />

04<br />

คนงานกำาลังจัดเรียงไม้<br />

แบบหล่อพื้นอาคารอย่าง<br />

พิถีพิถัน สังเกตการเว้น<br />

ร่องระหว่างไม้แบบแต่ละ<br />

แผ่นเพื่อให้เนื้อคอนกรีต<br />

ดันตัวออกมาทางร่องที่<br />

เว้นไว้ กลายเป็นริ้วครีบ<br />

ปูนทิ้งไว้กับท้องฝ้าหลัง<br />

คอนกรีตแข็งตัว<br />

05<br />

ครีบปูนใต้ท้องฝ้า นอกจาก<br />

ทำาหน้าที่เป็นบัวหยดน้ำา<br />

แล้ว ยังส่งเสริมมิติทาง<br />

ประติมากรรมของอาคาร<br />

อย่างน่าอัศจรรย์<br />

ลงมือหล่อ พื้นผิวด้านในของไม้แบบจะถูกบันทึกติดแน่น<br />

จนกลายเป็นพื้นผิวด้านนอกของคอนกรีต อันเป็นองค์-<br />

ประกอบที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีกหากคอนกรีตนั้น<br />

แข็งตัวไปแล้ว<br />

สถาปนิกที่ต้องการทำาอาคารคอนกรีตเปลือยจึงจำาเป็นต้อง<br />

มีความเข้าใจในกระบวนการเนกาทีฟ-โพสิทีฟ ไม่ต่างจาก<br />

ช่างภาพที่ต้องรู้จักเลือกสีฟิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการถ่าย<br />

ภาพขาวดำา อย่างไรก็ตามในขณะที่การถ่ายภาพนั้นใช้<br />

ทักษะความรู้เรื่องโทนสีและความสว่างของแสง การหล่อ<br />

อาคารคอนกรีตเปลือยก็จำาเป็นต้องเข้าใจในแม่พิมพ์และ<br />

รูปหล่อ (mould and cast) ซึ่งในบรรดาสถาปนิกไทย<br />

ยุคหลัง พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา น้อยคนนักที่จะสามารถ<br />

เล่นกับความเป็นเนกาทีฟ-โพสิทีฟของคอนกรีตได้อย่าง<br />

สร้างสรรค์เฉกเช่นอมร ศรีวงศ์ โดยเฉพาะคอนกรีตที่<br />

ตึกกลม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท<br />

นั้น ต้องนับว่าเป็นการตกผลึกในเรื่องนี้อย่างแท้จริง<br />

ดังที่กล่าวแล้วว่า ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาคารปาฐกถา<br />

ได้รับการออกแบบให้วางตัวฝังลงไปในดินส่วนหนึ่ง ซึ่ง<br />

อมรได้ใช้พื้นดินที่โอบล้อมอาคารนั้นเป็นไม้แบบสำาหรับ<br />

หล่อพื้นอาคารไปในตัว ขณะที่มหาวิทยาลัยมหิดล อมร<br />

ได้ออกแบบตึกกลมเป็นรูปชามท้องลึกที่ลอยตัวเหนือลาน<br />

sunken ด้านล่าง โดยคอนกรีตรูปชามท้องลึกนี้หล่อขึ้นจาก<br />

ไม้แบบที่ได้รับการจัดวางแพทเทิร์นตามแนวรัศมีพุ่งเข้าหา<br />

ศูนย์กลางอย่างค่อนข้างพิถีพิถัน<br />

จากภาพถ่ายอาคารขณะกำาลังก่อสร้าง จะเห็นว่าการวาง<br />

ไม้แบบเรียงตามแนวรัศมีพุ่งเข้าหาศูนย์กลางทำาให้เกิดช่อง<br />

ว่างรูปลิ่มสามเหลี่ยมระหว่างไม้แบบแต่ละแผ่นเสมอ และ<br />

มีการใช้เศษไม้อุดร่องช่องว่างดังกล่าวเพื่อเตรียมพร้อม<br />

รองรับการเทคอนกรีต จนเมื่อเทคอนกรีตและปล่อยให้<br />

เริ่มเซตตัวในระดับหนึ่งแล้ว จึงถอดเศษลิ่มไม้เหล่านั้น<br />

ออก เพื่อปล่อยให้เนื้อคอนกรีตค่อยๆ ปลิ้นตัวออกมาตาม<br />

แรงโน้มถ่วงทางร่องที่เว้นไว้<br />

5<br />

mold, which means the making of formwork is a<br />

crucial step in the casting process for it contributes<br />

to the formation of both the shape and texture of<br />

a concrete mass. In the case of exposed concrete,<br />

an architect is required to be extra attentive to how<br />

a formwork is designed and built, for as the casting<br />

process is carried out, the inner part of the formwork<br />

will imprint itself on the outer surface of the<br />

concrete, creating permanent textural details when<br />

the concrete becomes dry and solidified.<br />

Architects who work on buildings with the use of<br />

exposed concrete need to understand the negativepositive<br />

process just like how photographers know<br />

which is the right filter to use with black and white<br />

photography. Nevertheless, while photography<br />

requires a photographer’s skills and knowledge<br />

in color tones and brightness of light, the casting<br />

process of exposed concrete parts for a building<br />

calls for architects’ understanding in how molds<br />

and casts work. Among the post-1957 architects in<br />

Thailand, few have been able to play around with<br />

the negative-positive process of concrete casting<br />

better than Amorn Srivongse, especially with the<br />

Lecture Building at the Faculty of Science, Mahidol<br />

University, Phayathai Campus, the work, which is<br />

a testament of a profound crystallization of his idea<br />

and knowledge.<br />

As mentioned, the Lecture Building at Khon Kaen<br />

University is designed with a part of its structure<br />

buried into the ground, Amorn utilized the ground<br />

surrounding the building as the formwork for concrete<br />

pouring. Meanwhile, for the Lecture Building<br />

at Mahidol University, he designed the building<br />

in the shape of a deep bowl concrete structure,<br />

elevated above the sunken plaza. The concrete<br />

bowl structure was cast using temporary wooden<br />

formwork with calculated patterns.<br />

The photographs taken when it was under construction<br />

show that each wooden panel was oriented into<br />

radial lines pointing toward the center, consequently<br />

creating a series of triangular wedges between every<br />

adjacent wood panels. Wood scraps were placed to<br />

close the gaps, in preparation as the formwork for the<br />

concrete pouring process. Once the concrete was<br />

poured and left to set to a certain level, the wooden<br />

wedges were removed, allowing gravity to push the<br />

concrete towards the gaps that were left open.


148<br />

revisit<br />

LIGHT AND CONCRETE AT TUEK KLOM<br />

149<br />

<strong>06</strong><br />

ทางเดินโค้งนำาไปสู่ทางเข้า<br />

ห้องบรรยายที่ฝั่งตัวส่วน-<br />

หนึ่งลงไปในดิน, อาคาร<br />

ปาฐกถา คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

07<br />

บันไดลงสู่ชั้นใต้ดินของ<br />

ห้องบรรยาย<br />

When exposed to light, these concrete fins render<br />

varying patterns of light and shadow, accentuating<br />

the building’s sculptural features to be even more<br />

eminent and visually striking without the need for<br />

other ornamental elements.<br />

08<br />

อาคารปาฐกถา คณะ<br />

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น ออกแบบโดย<br />

อมร ศรีวงศ์ และรชฏ<br />

กาญจนะวณิชย์ เมื่อพ.ศ.<br />

2507-2509<br />

8<br />

6<br />

7<br />

สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อคอนกรีตแข็งตัวคือครีบปูนที่ทิ้งร่องรอยไว้<br />

บนท้องฝ้า ซึ่งทำาหน้าที่เป็นบัวหยดน้ำาควบคุมทิศทางการ<br />

ไหลของน้ำาฝน ขณะเดียวกันยามเมื่อครีบปูนเหล่านี้ต้องการ<br />

แสงก็ทำาให้เกิดแพทเทิร์นของแสงเงาที่ส่งเสริมลักษณะ<br />

ทางประติมากรรมของอาคารให้เฉิดฉายเปล่งประกาย<br />

โดยไม่จำาเป็นต้องตกแต่งประดับประดาด้วยวิธีการอื่นใด<br />

เพิ่มเติม<br />

การออกแบบไม้แบบหล่อคอนกรีตที่นำามาสู่ผลลัพธ์ทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สวยสดงดงามนี้ ยังพบได้ในงานออกแบบ<br />

ชิ้นอื่นๆ ของอมร ศรีวงศ์ด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นหอส่ง<br />

สัญญาณวิทยุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา<br />

นครินทร์, หอสูงเก็บน้ำา คณะพาณิชยกรรมศาสตร์และ<br />

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหอสูงเก็บน้ำา<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์ ซึ่งทั้งหมดนี้<br />

นอกจากแสดงให้เห็นทักษะทางการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

อย่างชนิดหาตัวจับยากแล้ว ยังแสดงถึงความเข้าใจใน<br />

ความเป็นเนกาทีฟ-โพสิทีฟของกระบวนการทางคอนกรีต<br />

ของผู้ออกแบบอย่างลึกซึ้ง เพราะหากพินิจเทคนิคการหล่อ<br />

คอนกรีตที่ตึกเหล่านี้ เราจะต้องฉงนว่า สิ่งใดกันแน่คือองค์-<br />

ประกอบเนกาทีฟ และสิ่งใดคือโพสิทีฟ ใช่หรือไม่ว่าไม้<br />

แบบคือเนกาทีฟ ส่วนอาคารคอนกรีตที่ได้รับการหล่อ<br />

ขึ้นมาคือโพสิทีฟ หรือแท้จริงแล้วทุกอย่างกลับตาลปัตรกัน<br />

ไม่บ่อยครั้งนักที่เราจะพบว่า ในบรรดาผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ยุคหลัง พ.ศ. 2500 ของไทย งานสถาปัตยกรรมชิ้นเดียวกัน<br />

จะสร้างประเด็นคำาถามเรื ่องแสง การถ่ายภาพ และคอนกรีต<br />

ให้เกิดขึ้นได้พร้อมๆ กัน<br />

The final result after the concrete was left to its<br />

solid state is the fin-like details found on the ceiling,<br />

which function as the molding that helps rainwater<br />

flow in the proper direction. At the same time,<br />

these concrete fins, when exposed to light, render<br />

varying patterns of light and shadow, accentuating<br />

the building’s sculptural features to be even more<br />

eminent and visually striking without the need for<br />

other ornamental elements.<br />

Amorn Srivongse’s masterful use of formwork<br />

creates a number of incredible works of architecture<br />

such as the Radio Tower at the Faculty of<br />

Engineering, Prince of Songkla University, the<br />

water storage towers at the Faculty of Commerce<br />

and Accountancy at Thammasat University, and<br />

Silpakorn University’s Sanamchan Campus. All of<br />

which do not only manifest Amorn’s remarkable<br />

skills and vision in architectural design, but also<br />

demonstrates his extensive knowledge in the<br />

negative-positive process of concrete molding and<br />

casting. Looking into the techniques developed<br />

and devised for the construction of these buildings,<br />

one may wonder which elements are the negative<br />

and positive elements? Is the wooden formwork<br />

the negative and the concrete form the positive?<br />

Or, questioning, in fact, if everything is actually<br />

reversed?<br />

Among the post-1957 architectural creations,<br />

it isn’t often that we’re able to find the type of<br />

buildings from which some thoughtful conversations<br />

about light, photography and concrete emerge<br />

simultaneously, in the way and to the extent that<br />

has been achieved by Amorn’s works.<br />

พินัย สิริเกียรติกุล<br />

ส ำเร็จกำรศึกษำทำง<br />

ด้ำนสถำปั ตยกรรมและ<br />

สถำปั ตยกรรมไทยจำก<br />

มหำวิทยำลัยศิ ลปำกร<br />

และประวัติศำสตร์<br />

สถำปั ตยกรรมใน<br />

ระดับดุษฎีบัณฑิตจำก<br />

มหำวิทยำลัยคอลเลจ<br />

ลอนดอน ปั จจุบัน<br />

ดำรงตำแหน่งผู้ช่วย<br />

ศำสตรำจำรย์ คณะ<br />

สถำปั ตยกรรมศำสตร์<br />

มหำวิทยำลัยศิ ลปำกร<br />

วังท่ำพระ โดยมีผลงำน<br />

หนังสื อล่ำสุ ดได้ แก่<br />

เปิ ดคลังเอกสำร อมร<br />

ศรีวงศ์ (2563) ซึ ่งศึกษำ<br />

ผลงำนสถำปั ตยกรรม<br />

ของ “สถำปนิก” ผู้ซึ ่ง<br />

ไม่เคยเรียนในโรงเรียน<br />

สถำปั ตยกรรม<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

studied Architecture<br />

and Thai Architecture<br />

at Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University,<br />

Bangkok, and<br />

completed his PhD<br />

in 2012 at University<br />

College London. He is<br />

currently an assistant<br />

professor at Faculty<br />

of Architecture,<br />

Silpakorn University,<br />

Bangkok. His recent<br />

book, Unpacking<br />

the Archives: Amorn<br />

Srivongse, released<br />

in 2020 explores the<br />

architectural works<br />

of the lesser-known,<br />

self-taught architect,<br />

Amorn Srivongse.


150<br />

PROFESSIONAL<br />

151<br />

“<br />

LIGHT<br />

IS:<br />

Light Is...<br />

“<br />

“Architectural Lighting Designer” is another<br />

profession that is gaining more attention in the Thai<br />

design industry. <strong>ASA</strong> Professional had the opportunity<br />

to talk to two rising lighting designers - Vida<br />

Khemachitphan and Papon Kasettratat. Two close<br />

friends who joined together and opened a lighting<br />

design company called “LIGHT IS”. 01<br />

Text: Nuttawadee Suttanan<br />

Photo Courtesy of LIGHT IS except as noted<br />

เบื้องหลังการทำางาน<br />

01<br />

ของ LIGHT IS<br />

ทีมงานออกแบบ<br />

ภาพโดย Aweken<br />

Studio 1 Tofu Design Studio 1


professional<br />

“LIGHT IS: LIGHT IS …”<br />

152 153<br />

03<br />

เบื้องหลังการทำางาน<br />

ของ LIGHT IS<br />

ภาพโดย Has design<br />

and reseaech<br />

“We can work together without talking much, as if we simply understand what<br />

the other one is thinking.”<br />

“LIGHT IS” was founded in 2019 by two friends who graduated from the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University. Vida studied Industrial Design, while Papon studied Architecture.<br />

Vida is interested in lighting since her school days and became part of lighting team in the<br />

Faculty’s theatrical group. After graduation, Vida jumped right into lighting design profession,<br />

while Papon continued to work as an architect in Singapore for few years before joining<br />

the same lighting design company. They both later went on to pursue a master’s degree in<br />

lighting design in Germany and also did their internships in New York. During the past few<br />

years the two have had not many opportunities to work together, but when they do they know<br />

they work well and would make a good design partner. And this was the starting point of<br />

LIGHT IS.<br />

2<br />

02<br />

ปภณ เกษตรทัต และ<br />

วิดา เขมะจิตพันธุ์<br />

ผู้ก่อตั้ง LIGHT IS<br />

ภาพโดย LIGHT IS<br />

“When Papon came back to Thailand after working in New York for 7 years,<br />

it was the same time Vida decided to leave her full-time job at one of<br />

Thailand’s leading lighting design firms. We started working together on<br />

some small projects with very few words exchanged, but we were able to<br />

work hand-to-hand seamlessly as if we simply understand what the other<br />

person is thinking. We agreed that we are going in the same direction with<br />

the similar design approach. Since then, LIGHT IS was founded.”<br />

“LIGHT IS: เพราะแสงทาให้พื้นที่มีชีวิต”<br />

“นักออกแบบแสงสว่างทางสถาปัตยกรรม” หรือ “Lighting<br />

Designer” คืออีกหนึ่งอาชีพที่กำาลังเป็นที่จับตามองใน<br />

วงการออกแบบเมืองไทย <strong>ASA</strong> Professional ได้มีโอกาส<br />

พูดคุยกับสองนักออกแบบแสงรุ่นใหม่อย่าง “ก้อย” วิดา<br />

เขมะจิตพันธุ์ และ “เต้” ปภณ เกษตรทัต สองเพื่อนสนิท<br />

ที่ร่วมกันเปิดบริษัทออกแบบแสงในชื่อ “LIGHT IS”<br />

“เราทางานต่อกันได้ โดยไม่ต้องพู ดอะไรเลย เหมือนรู้<br />

ว่าอีกคนหนึ ่งคิดอะไรอยู่”<br />

“LIGHT IS” ก่อตั้งเมื่อปี 2562 จากการรวมตัวของสอง<br />

เพื่อนร่วมรุ่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ-<br />

มหาวิทยาลัย “ก้อย” จบจากสาขาออกแบบอุตสาหกรรม<br />

ส่วน “เต้” จบจากสาขาสถาปัตยกรรม ก้อยสนใจเรื่องแสง<br />

ตั้งแต่สมัยเรียน และได้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานเรื่อง<br />

แสงในละครเวทีคณะ หลังจากเรียนจบจึงตัดสินใจทำางาน<br />

ด้านออกแบบแสง ส่วนเต้หลังเรียนจบก็ไปเป็นสถาปนิกที่<br />

สิงคโปร์ก่อนจะกลับมาทำางานที่บริษัทเดียวกันตามคำาชวน<br />

ของก้อย ทั้งคู่ไปเรียนต่อปริญญาโทด้านการออกแบบแสง<br />

ที่ประเทศเยอรมนีและฝึกงานที่นิวยอร์กเช่นเดียวกัน แม้<br />

ช่วงเวลาที่ผ่านมาทั้งคู่จะมีโอกาสทำางานร่วมกันไม่มากนัก<br />

แต่เมื่อพวกเขาได้ร่วมงานกันแล้ว ก็รู้ว่าสามารถทำางาน<br />

ด้วยกันได้เป็นอย่างดี และเป็นจุดเริ่มต้นของ LIGHT IS ใน<br />

ทุกวันนี้<br />

“เมื่อเต้กลับมาเมืองไทยหลังจากทางานที่นิวยอร์ก<br />

ได้ 7 ปี พอดีกับก้อยที่ตัดสินใจลาออกจากการเป็ น<br />

พนักงานประจาที่บริษัทออกแบบแสงแถวหน้าของไทย<br />

เราได้เริ่มทางานเล็กๆด้วยกัน ตอนทางานคือเราคุย<br />

กันน้อยมาก สามารถทางานผลัดมือต่อกันได้ โดยแทบ<br />

จะไม่ต้องพู ดอะไรเลย เหมือนรู้ว่าอีกคนหนึ ่งคิดอะไรอยู่<br />

และรู้สึกว่าเรามีแนวทางทางานคล้ายกันมาก จากนั้น<br />

จึงได้ตั้งบริษัท LIGHT IS ขึ ้นมา”<br />

“เรารู้แล้วว่าใครขาดตรงไหน อีกคนก็พยายามไปเติม<br />

ที่ขาดไป”<br />

จากจุดเริ่มต้นในปี 2562 จนถึงวันนี้ เต้และก้อย เป็นทั้ง<br />

หุ ้นส่วนและพนักงานของบริษัท พวกเขารู้สึกว่าปริมาณงาน<br />

ยังอยู ่ในสัดส่วนที่สามารถทำางานด้วยสองคนหลักๆ ได้<br />

โดยอาจจะมีงานบางส่วนตัดออกไปให้ outsource ช่วยทำา<br />

สิ่งสำาคัญสำาหรับทั้งสองคนในการทำางานบริหารคือ “การคุย<br />

แลกเปลี่ยนกันให้มากและเติมในสิ่งที่อีกฝ่ ายหนึ ่งขาด”<br />

ในส่วนของงานออกแบบก็เช่นกัน นั่นคือแบ่งงานกันในส่วน<br />

ที่แต่ละคนถนัด เต้จบสถาปัตยกรรมหลัก จึงทำาให้มีความ<br />

ถนัดในส่วนงานที ่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง<br />

ในขณะที่ก้อยที ่มีพื้นฐานมาจากสาขาออกแบบอุตสาหกรรม<br />

ก็จะถนัดงานออกแบบภายในหรืองานที่ต้องลงรายละเอียด<br />

มากกว่า<br />

3<br />

“We know what is missing in each other, and the other person would try to fill in<br />

the missing piece.”<br />

From the beginning in 2019 until today, Papon and Vida is both partners and employees of<br />

the company. They are able to cope with the current workload with some tasks being cut off<br />

to the outsources. What they both found important in the studio management is “To openly<br />

discuss a lot and to fill in what the other person lacks.” This approach also applies to the<br />

design work. They divided their work to match their expertise. Papon graduated in architecture,<br />

so he has an aptitude for architecture and construction-related work. While Vida has a background<br />

in industrial design, so she is better at interior design work or work that requires more<br />

details.<br />

“For the first few projects, we let the work flows freely, and we observed which<br />

areas the other person excels at. Now we know what the other person’s strengths<br />

and weaknesses are so we could fill in the missing points. While in the USA, Papon<br />

worked mostly in the design process but rarely in management. Instead, Vida<br />

used to take charge as a Project Designer in Thailand working on the scope of<br />

design, setting up work schedules, and coordinating with all parties. So, she is<br />

more apt when it comes to management than Papon.”<br />

“Lighting design is about creating a sense of space.”<br />

Recently, Thais are becoming more familiar with the lighting design profession. However,<br />

LIGHT IS, who had the opportunity to work globally, still thinks that although the lighting<br />

design profession in Thailand is starting to be acknowledged, it is still in a limited domain.<br />

Unlike some countries, where lighting designers have already been well recognized as<br />

a respectable profession and perform in a very clear scope of work, and have a more efficient<br />

working system.


professional<br />

“LIGHT IS: LIGHT IS …”<br />

154 155<br />

04-05<br />

CHAVANA, Central<br />

Embassy<br />

ภาพโดย AIM Imaginarist,<br />

Jinnawat Borihankijanan<br />

“ช่วงโปรเจคแรกๆ ที่ทดลองทางานด้วยกัน เราก็จะ<br />

ปล่อย แล้วก็จะดูว่าอีกคนถนัดทางไหน อย่างตอนนี้ก็รู้<br />

แล้วว่าใครขาดตรงไหน ก็พยายามไปเติมจุดนั้นที่ขาด<br />

อย่างเต้ตอนทางานที่อเมริกาก็จะเป็ นนักออกแบบเลย<br />

ไม่ค่อยได้ทางานในส่วนของการจัดการ ส่วนก้อยตอน<br />

อยู่บริษัทในไทยก็เคยจะทาหน้าที่เป็ น Project Designer<br />

ซี่งทางานตั้งแต่ออกแบบ กาหนดตารางการทางาน<br />

จนถึงการประสานงานกับทุกฝ่ ายก็จะถนัดเรื่องการ<br />

จัดการมากกว่า”<br />

“การออกแบบแสงคือการสร้างความรู้สึกให้กับพื้นที่”<br />

ปัจจุบันหลายคนมองว่าอาชีพนักออกแบบแสงเริ่มเป็นที่<br />

รู้จักในเมืองไทยมากขึ้น แต่ในมุมมองของ LIGHT IS ที่<br />

มีโอกาสทำางานออกแบบแสงในต่างประเทศมาก่อน พวก<br />

เขามองว่าแม้งานออกแบบแสงในประเทศไทยจะเริ่มเป็นที่<br />

รู้จัก แต่ก็ยังอยู่ในวงจำากัด ต่างกับอาชีพนักออกแบบแสง<br />

ที่ต่างประเทศซึ่งเป็นอาชีพที่ถูกให้ความสำาคัญอยู่แล้ว การ<br />

ทำางานของนักออกแบบแสงในต่างประเทศจึงมีความชัดเจน<br />

และมีระบบการทำางานที่คล่องตัวกว่า<br />

4<br />

“ในต่างประเทศที่เราเคยมีประสบการณ์ เขาให้<br />

ความสาคัญกับอาชีพนักออกแบบทั้งหมด ไม่ใช่แค่<br />

นักออกแบบแสง”<br />

และแม้งานออกแบบแสงจะเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น ก้อย<br />

และเต้คิดว่าในมุมมองของคนส่วนใหญ่หรือแม้กระทั่งนัก-<br />

ออกแบบด้วยกันเอง ยังคงมองว่างานออกแบบแสงเป็นงาน<br />

ที่เหมาะกับงาน Luxury หรืองานที่ต้องใช้งบประมาณมาก<br />

เท่านั้น ซึ่งพวกเขามองว่า “งานออกแบบแสงคืองานที่<br />

ใช้แสงสร้างความรู้สึกให้กับพื้นที่นั้นๆ โดยไม่ได้มีข้อ<br />

จากัดว่าต้องเป็ นงานออกแบบประเภทใด”<br />

“เราอยากให้มองว่า งานออกแบบแสงเป็ นการไปเติม-<br />

เต็มให้งานสถาปั ตยกรรม ช่วยส่งเสริมการออกแบบ<br />

ของผู้ออกแบบทั้งสถาปนิกและมัณฑนากร ในแง่การ<br />

มองพื้นที่หรือรายละเอียดงานสถาปั ตยกรรมในบางจุด<br />

ที่อาจถูกมองข้ามไป<br />

สาหรับเราทั้งคู่ ทุกอย่างสว่างอาจไม่ใช่คาตอบ การ<br />

ละทิ้งความสว่างบางจุด ปล่อยให้ความมืดได้ทาหน้าที่<br />

ของมัน อาจทาให้พื้นที่นั้นดูน่าสนใจขึ ้น การเล่นกับวัสดุ<br />

การเน้นเฉพาะจุดที่ควรเน้น ควบคู่ไปกับการใช้งานที่<br />

เพียงพอ ความสว่างแค่พอดีจะสร้างความรู้สึกและ<br />

ประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้ที่เข้ามาใช้พื้นที่ได้ด้วย”<br />

“บางครั้ง การออกแบบแสงก็เป็ นการสะท้อนตัวตน<br />

ของพื้นที่”<br />

งานออกแบบแสง นอกจากจะเป็นการสร้างความรู ้สึกให้พื้นที่<br />

นั้น ก้อยและเต้มองว่างานออกแบบไม่ใช่เพียงการทำาให้พื้นที่<br />

สว่าง และไม่ใช่เพียงความสวยงาม แต่พวกเขามองว่าการ<br />

ออกแบบแสงคือการสะท้อนตัวตนของพื้นที่หรือเจ้าของพื้นที่<br />

นั้นๆ อีกสิ่งสำาคัญสำาหรับการออกแบบแสงในแต่ละงาน<br />

จึงเป็นการที่ผู ้ออกแบบแสงได้รู ้ถึงความเป็นมาของพื้นที่<br />

รวมทั้งอุปนิสัยของเจ้าของพื้นที่<br />

“เราอยากรู้ว่าพื้นที่นี้มีความเป็ นมายังไง เจ้าของ<br />

เป็ นใคร ผู้ ใช้พื้นที่เป็ นใคร เราจะคุยกับลูกค้าว่าเวลา<br />

อยู่ในพื้นที่นี้แล้วอยากให้รู้สึกยังไง บางงานคุยไปถึง<br />

คาแรคเตอร์ของคุณแม่เจ้าของร้าน ตอนแรกที่เห็น<br />

การออกแบบตกแต่งภายใน ยังไม่ได้ฟั งบรีฟ เรา<br />

ออกแบบคร่าวๆ ไว้แบบหนึ ่ง แต่พอเขาเล่ามาถึง<br />

ลักษณะของเจ้าของร้านและคุณแม่เจ้าของร้าน เรา<br />

ก็ล้มแบบตัวเอง แล้วออกแบบใหม่เลย ก็คือเหมือน<br />

การดึงคาแรคเตอร์ของเจ้าของพื้นที่ออกมาให้ ได้<br />

มากที่สุด ให้เขารู้สึกสบายใจในการอยู่ในพื้นที่นั้น<br />

ซึ ่งลักษณะการทางานแบบนี้ก็เป็ นความสนุกอีกอย่าง<br />

หนึ ่ง ลักษณะแสงมันก็สะท้อนสิ ่งเหล่านี้ออกมาได้<br />

เหมือนกัน”<br />

<strong>06</strong><br />

Villa Lamphaya<br />

ภาพโดย LIGHT IS<br />

6<br />

5<br />

“In the countries where we used to work, designers in all design fields are valued<br />

and recognized, not just lighting designers.”<br />

Although lighting design become more widely recognized, Vida and Papon feel that most<br />

people or even designers themselves still think that lighting design is only for luxury projects<br />

or the ones that require large budget. In their view, “Lighting design is a practice that<br />

implements light to create an experience and sense of space, no matter what type<br />

of project it is.”<br />

“Lighting design should be viewed as a complement to the architecture, it can help<br />

to draw attention to the design and examining spaces or architectural details in<br />

the areas that architects and interior designer might have overlooked.<br />

For both of us, ‘to brighten up everything’ might not be the right way for lighting<br />

design. Abandoning some light and allowing the darkness to shine could make<br />

the space more enjoyable. Playing with materials, emphasizing on specific<br />

spots where necessary, together with sufficient light for the usage with proper<br />

illumination, will create a pleasant feeling and memorable experience for those<br />

who come into the space.”<br />

“Sometimes, lighting is a reflection of the identity of space.”<br />

Vida and Papon think that, in addition to create a feeling of the space, lighting design is not<br />

just about brightening up the area. It’s not just about beauty either. But they view lighting<br />

design as a reflection of the identity of the space or its owner. Another important aspect of<br />

lighting design in each project is that, the lighting designer knows the background of the<br />

space, including the character of its owner.<br />

“We wanted to know the background of the place, who is the owner, who are the<br />

users? We talk to our clients about how they would like to feel when they are<br />

inside this space. In one project, we even talked about the character of the shop<br />

owner’s mother. When we first saw the interior design without the brief, we did<br />

a rough design scheme, but when the client started talking about the nature of the<br />

owner and his mother, we simply scrapped the scheme we just did and redesigned<br />

it. It is like pulling out the character of the project owner as much as you can to<br />

make them feel comfortable using the space. This kind of approach is another fun<br />

aspect to work with. The nature of the light can reflect these charactors.”<br />

“A fun job”<br />

MoMA: Museum of Modern Aluminum and UNDER THE SUN are projects that LIGHT IS<br />

defines as “fun” when we ask them a question about the work they like or want to share with<br />

us. Vida and Papon said that MoMA is the lighting design for the façade of an aluminum<br />

company’s new showroom, which uses aluminum as the primary material of the building skin.<br />

It was a job they had the opportunity to work on since day one from the conceptual design<br />

stage. They consider that good lighting design should be commence together, allowing<br />

designers from all parties to develop the project together for a better result. They also see<br />

the advantage of being a small company, that they are open to jobs at various scales, offer<br />

them the opportunities to have a place for experimenting and learning, allow them to experiment<br />

with unfamiliar elements.


PROFESSIONAL<br />

ARCHITECTURE THROUGH THE LENS<br />

156 157<br />

7<br />

07<br />

Livist Resort,<br />

Phetchabun<br />

ภาพโดย LIGHT IS


professional<br />

“LIGHT IS: LIGHT IS …”<br />

158 159<br />

“งานที่สนุก”<br />

MoMA: Museum of Modern Aluminum และ UNDER<br />

THE SUN คืองานที่ LIGHT IS ให้คำานิยามว่า “สนุก” เมื่อ<br />

เราตั้งคำาถามถึงงานของที่พวกเขาชอบหรืออยากจะเล่าให้<br />

เราฟัง ก้อยและเต้เล่าว่า MoMA คืองานออกแบบแสงสว่าง<br />

ให้กับเปลือกอาคารโชว์รูมแห่งใหม่ของบริษัทอะลูมิเนียมที่<br />

ใช้วัสดุอะลูมิเนียมเป็นส่วนหลักของเปลือกอาคาร และเป็น<br />

งานที่พวกเขาได้มีโอกาสเข้าไปทำาตั้งแต่เริ่มร่างแนวคิดใน<br />

การออกแบบ ซึ่งพวกเขามองว่างานออกแบบแสงที่ดี คือ<br />

งานที่ควรต้องได้เริ่มไปพร้อมกันตั้งแต่ต้น เพราะจะทำาให้<br />

ผู้ออกแบบทุกฝ่ายได้พัฒนาแบบไปพร้อมกัน และจะทำาให้<br />

งานกลมกล่อมขึ้น นอกจากนี้ ข้อได้เปรียบของการเป็น<br />

บริษัทขนาดย่อม คือการที่ LIGHT IS ได้รับงานที่ในสเกลที่<br />

หลากหลาย เปิดโอกาสให้เรามีพื้นที่ที่เป็นดั่งสนามทดลอง<br />

และเรียนรู้ ให้พวกเขาได้ทดลองทำาในสิ่งที่ไม่คุ้นเคย<br />

“งานเล็กๆ เป็ นงานที่สนุกอีกแบบหนึ ่ง เราได้เอาของที่<br />

อยู่ใกล้ตัว หยิบเอาโคมไฟที่หาได้ทั่วไปมาใช้และเราก็ได้<br />

เรียนรู้ว่าแบบนี้ก็ใช้ ได้เหมือนกัน การทางานในบางครั้ง<br />

ของเราจึงเหมือนเราได้ทดลองไปด้วย”<br />

“เราสามารถเอาประสบการณ์การได้ทาหลายๆ อย่าง<br />

ก่อนหน้ามาใช้ ในงานของเราได้”<br />

“คนที่อยากทางานด้านนี้ เราอยากแนะนาให้ลองทางาน<br />

ด้านอื ่นมาก่อน เพื่อให้มีประสบการณ์ และที ่สาคัญ<br />

อยากให้ “สนใจ” และ “สังเกต” ให้มาก เช่น ทาไมเรา<br />

เข้าไปในพื้นที ่นี้แล้วเรารู้สึกสงบจัง หรือ รู้สึกกระตือ-<br />

รือร้นจัง ทาไมมุมนี้ของร้านดูสวย สวยเพราะอะไร หรือ<br />

ว่าเราไม่ชอบพื้นที่นี้เพราะอะไร การทางานอย่างอื่น<br />

มาก่อน เช่น งานสถาปั ตยกรรม งานออกแบบตกแต่ง<br />

ภายใน หรือ งานภูมิสถาปั ตยกรรม จะช่วยให้เราเข้าใจ<br />

บริบทการทางานได้ดีขึ ้นมาก ทั้งกระบวนการทางาน<br />

ของนักออกแบบร่วมทีม ความรู้เรื่องวัสดุ พื้นฐาน<br />

การก่อสร้าง หรือรู้จักพรรณไม้ต่างๆ ก็จะช่วยให้งาน<br />

ออกแบบแสงนั้นกลมกล่อมยิ่งขึ ้น”<br />

คำาถามสุดท้ายของเรากับ LIGHT IS คือคำาถามสำาหรับคนที่<br />

อยากเดินในเส้นทางนักออกแบบแสงเช่นเดียวกับพวกเขา<br />

ทั้งสองคน ว่าควรเริ่มต้นอย่างไร สิ่งที่ก้อยและเต้บอกกับเรา<br />

พื้นฐานด้านการออกแบบอาจไม่จำาเป็นเท่ากับประสบการณ์<br />

ดังนั้นนักออกแบบแสงจึงไม่จำาเป็นต้องมีพื้นฐานหรือจบ<br />

ด้านออกแบบมาเท่านั้น “ถ้าเรามีความสนใจ เราจะเรียน<br />

รู้อะไรก็ได้”คือสิ่งต่อมาที่เต้และก้อยบอกกับเรา จาก<br />

ประสบการณ์การไปเรียนต่อต่างประเทศทำาให้พวกเขาเห็น<br />

ว่าเพื่อนร่วมชั้นเรียนระดับปริญญาโทหลายคนก็มาจาก<br />

พื้นฐานที่แตกต่างกัน ทั้งวิศวกร นักบัญชี หรือแม้กระทั่ง<br />

นักจิตวิทยา สิ่งสำาคัญสำาหรับคนที่อยากจะเป็นนักออกแบบ<br />

แสงจึงไม่ใช่พื้นฐานการออกแบบ แต่เป็น “ประสบการณ์<br />

ความสนใจ และการสังเกต” นอกจากนี้ พวกเขามอง<br />

ว่าการได้โอกาสทำางานด้านอื่นๆ ก่อนจะมาเป็นนักออกแบบ<br />

แสงก็เป็นสิ่งสำาคัญเช่นกัน เพราะประสบการณ์หรือความ<br />

เชี่ยวชาญจากงานนั้นๆ เป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้งานออกแบบ<br />

แสงของพวกเขาเกิดผลลัพธ์ที่ดี<br />

หลังจบการพู ดคุยกับ “LIGHT IS” นอกจากมุมมอง<br />

ที่เกี่ยวกับนักออกแบบแสงจะเปลี่ยนไป เรายังเห็น<br />

ว่า LIGHT IS คือคนที่ให้ความสาคัญการออกแบบ<br />

“แสง” เพราะพวกเขาเชื่อว่า “แสง” เป็ นสิ่งธรรมดา<br />

ที่มีความสาคัญกับทุกพื้นที่<br />

“เราอยากให้มีคาว่า Light อยู่ในชื่อ จะได้ชัดเจนว่า<br />

เราทาอะไร ชื่อแรกก็เลยแบบ LIGHT IS ไหม คล้ายๆ<br />

ค่ายเพลงพี่บอย เพราะเราชอบความน้อย เป็ นคาง่ายๆ<br />

สั้นๆ เข้าใจได้เลย คาว่า IS มันให้คาจากัดความได้ ไม่<br />

จากัด พอมารวมกัน มันก็ให้ความหมายเหมือนว่า เรา<br />

อยากให้มองแสงคืออะไร IS คืออะไร IS เป็ นอะไร และ<br />

LIGHT IS.....อะไร คาว่า Is สาหรับเราคือคาที่เรา<br />

ไม่รู้ว่ามีอยู่ แต่ว่ามัน ‘มีอยู่’ ในทุกประโยค ‘เป็ น อยู่ คือ’<br />

คือทุกอย่าง เวลาเราแปลเป็ นภาษาไทย มันคือคา<br />

ธรรมดา แต่ว่ามันมีความหมายในทุกประโยค มีอยู่ใน<br />

ทุกที่ แสงก็เหมือนกัน เหมือนบอกว่าแสงมีอยู่ในทุกที่<br />

แต่ว่าปกติเราก็ไม่ได้คิดถึงความสาคัญของแสง เหมือน<br />

ความสาคัญของ IS”<br />

8<br />

08<br />

MoMA - Museum of<br />

Modern Aluminium<br />

ภาพโดย LIGHT IS<br />

09<br />

Under The Sun,<br />

Ana Anan Pattaya<br />

ภาพโดย LIGHT IS<br />

10<br />

เส้นสายและรายละเอียด<br />

การออกแบบภายนอก<br />

อาคาร<br />

9<br />

ณัฐวดี สั ตนันท์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร ปั จจุ บันกำ าลัง<br />

ศึ กษาต่อระดับปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น ที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยา-<br />

ลัยศิ ลปากร พร้อมกับ<br />

การทำาบริษัทชื่อ “สนใจ”<br />

ที่ทำางานเรื่องการพัฒนา<br />

เมือง การให้คนเป็ นศูนย์-<br />

กลางและกระบวนการ<br />

มีส่วนร่วมในรูปแบบที่<br />

หลากหลาย<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

completed her bachelor’s<br />

degree in archaeology<br />

and is currently pursuing<br />

PhD in vernacular<br />

architecture at<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

She is also a partner<br />

of “SONJAI”, a studio<br />

working on urban development,<br />

people-centered<br />

and participatory<br />

process in various<br />

means.<br />

“Small jobs are fun. We can play with things we see everyday, pick up ordinary<br />

lamps for the project and learn that it also works. Sometimes our work is just like<br />

an experiment.”<br />

“We can learn from so many things we have done before and use it in our work.”<br />

“For those who want to work in this field, we would recommend trying out other areas of work<br />

first to gain experience, and most importantly, you have to be “Curious” and “Observant” -<br />

and you have to think about how and why do we feel so calm or so active when we enter this<br />

room? Why does this corner of the shop look so impressive and what made it look so, or why<br />

do we feel uncomfortable in this space? Working in other design fields before – architecture,<br />

interior design, or landscape architecture - will help you understand the context and the<br />

working process of the design team much better. Knowing about materials, basic construction<br />

work, or various plants and vegetation, will help the lighting design to be more favorable.”<br />

Our final question for LIGHT IS was for those who want to walk the path of lighting designers<br />

like Vida and Papon. They said that a design background may not be as essential as experience.<br />

Lighting designer doesn’t need a design background or a design degree. “If we are<br />

truly interested, we can learn anything,” was the next thing they told us. Their study abroad<br />

experiences allowed them to see that many classmates graduated from different backgrounds<br />

– engineers, accountants, or even psychologists. The most important things for<br />

those who want to become lighting designers are not the design degree but to have “Curiosity<br />

and Observations.” What one has done before becoming a lighting designer is also crucial<br />

because the experience or expertise from that job might help. It could propel their design to<br />

produce memorable results.<br />

After the conversation with “LIGHT IS”, not only our perspective on lighting designers have<br />

changed, but we also see that LIGHT IS values “lighting” design because they believe that<br />

“light” is an ordinary element that matters in every space.<br />

“We wanted to have the word “LIGHT” in the title, so it is clear what we do.<br />

The first name coming to our mind is LIGHT IS?, sounds like the name of Boyd<br />

Kosiyapong’s music company - a simple, short, understandable word. The word<br />

“IS” has an infinite number of definitions. When combined, we want people to<br />

question what “light” is, what “is” is, and what LIGHT IS...”<br />

To us, ‘IS’ is a word we rarely noticed, but it occurs in every sentence regardless of forms.<br />

‘IS’ can be anything and everything when translated to Thai. It is a simple word, yet has the<br />

meaning and value in every sentence.<br />

“IS” exists everywhere, and so is Light.<br />

Ig: lightis.studio<br />

fb.com/lightis<br />

light-is.com


160<br />

professional / studio<br />

INLY STUDIO<br />

161<br />

Inly<br />

Studio<br />

The hidden<br />

จุดเริ ่มต้นของ Inly Studio เป็ นอย่างไร<br />

กอลฟ์-ปกรณ์ อยู ่ดี และ ก้อย-วิภาดา อยู ่ดี เรา<br />

สองคนอยู ่ในวิชาชีพได้ราวๆ 16 ปีแล้วตั้งแต่<br />

เรียนจบ โดยเริ่มต้นจากการเป็น พนักงานบริษัท<br />

ก่อน จากนั้นจึงค่อยมาเริ่มใช้ชื่ออินลี่ (Inly) ได้<br />

12-13 ปีให้หลัง ซึ่งชื่ออินลี่ (Inly) เป็นคาที่พ้อง<br />

กันกับคาว่า “อินลิ” ในภาษาเหนือ แปลว่า เจ๋งพอ<br />

แสลงมาเป็นภาษาอังกฤษก็ออกเสียงเป็นอินลี่<br />

(Inly) ให้ความหมายที่สื่อถึงเรื่องอินเนอร์หรือ<br />

อารมณ์ และการทาให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เราเริ่มใช้ชื่อนี้<br />

กันมาตลอดตั้งแต่เริ่มต้นรับงานใหม่ๆ จนทาให้<br />

ผู ้คนเริ่มคุ ้นหูและรู ้จักเรามากขึ ้นในชื่อนี้ เริ่ม<br />

เข้าใจแนวทางการทางานของเราว่าเราถนัดอะไร<br />

เริ่มเห็นภาพว่าเราชอบออกแบบประมาณไหน<br />

พอมีโปรเจ็คต์เข้ามาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราสองคนจึง<br />

ค่อยตัดสินใจก่อตั้งสตูดิโอขึ้นอย่างเป็นจริงเป็นจัง<br />

ความสนใจอะไร หรือแรงบันดาลใจอะไรที่ถูก<br />

ใช้ในการทางานมาจนถึงทุกวันนี้<br />

ระหว่างทางที่ผ่านมาเรารับงานทุกแนวและทุก<br />

ขนาด มีตั้งแต่เล็กไปจนถึงใหญ่และประเภท<br />

อาคารก็คละๆ กันไป แต่ช่วงก่อนโควิด-19 ได้<br />

ไม่นาน เรามีโอกาสได้จับงานประเภทที่พักอาศัย<br />

ค่อนข้างเยอะ ช่วงนั้นจึงเริ่มรู ้สึกชัดเจนมากขึ้นว่า<br />

เราสนุกกับการออกแบบงานประเภทที่พักอาศัย<br />

แต่ขณะเดียวกันก็ยังรับงานประเภทอื่นอยู ่ เพราะ<br />

เราก็ไม่ได้ออกปากว่าเราเป็นสถาปนิกอออกแบบ<br />

บ้านอย่างเดียว แต่เราแค่รู ้สึกชอบและท้าทายกับ<br />

งานประเภทที่พักอาศัยเป็นพิเศษ ยิ่งเราได้มี<br />

โอกาสขยายวงกว้างไปรับงานในพื้นที่อื่นๆ นอก-<br />

จากในเชียงใหม่ด้วยแล้ว ก็ยิ่งรู ้สึกท้าทายกับความ<br />

หลากหลายของผู ้คนและพื้นที่ใหม่ๆ มากขึ้นด้วย<br />

คิดว่าอะไรคือสิ ่งที่ทาให้เจ้าของโครงการ<br />

หรือลูกค้าจากภูมิภาคอื่นๆ สนใจผลงาน<br />

ออกแบบของอินลี่ (Inly)<br />

“เรียบง่ายไว้ดีที่สุด หรือ Basic is the best”<br />

ส่วนตัวคิดว่าอาจเพราะเราเน้นความเรียบง่าย<br />

หรือการเข้าถึงที่ง่ายเป็นหลัก เราออกแบบบ้าน<br />

ให้เป็นบ้านมากที่สุด เน้นนาเสนอความพิเศษให้<br />

กับผู ้อยู ่อาศัยผ่านความเรียบง่ายที่เจ้าของบ้าน<br />

เข้าใจได้ไม่ยาก ขณะที่เราก็สอดแทรกดีเทลใน<br />

งานสถาปัตยกรรม เช่น การออกแบบไฟ หรือ<br />

การเลือกใช้วัสดุที่มีเอกลักษณ์ให้เหมาะสมกับ<br />

คาแร็คเตอร์ของเจ้าของบ้าน ซึ่งตรงนี้จะทาให้<br />

บ้านแต่ละหลังมีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง<br />

เพราะเราอิงและตีความจากผู ้อยู ่อาศัยเป็นหลัก<br />

จากนั้นจึงค่อยประยุกต์รูปแบบของอาคารให้<br />

เกิดความน่าสนใจเป็นลาดับต่อมา<br />

ยังจาภาพในช่วงที่เพิ่งเริ่มเปิ ดออฟฟิ ศแรกๆ<br />

ได้ไหม จากวันนั้นจนวันนี้เป็ นอย่างไรช่วยเล่า<br />

ให้ฟั งสั้นๆ<br />

แน่นอนว่าช่วงแรกก็ต้องไฟแรงเป็นธรรมดา เรา<br />

ทางานกันอย่างบ้าคลั่ง (หัวเราะ) คิดว่าหลายๆ<br />

คนก็น่าจะไม่ต่างกัน ซึ่งจากวันนั้นจนวันนี้เราก็<br />

ยังคงทาเหมือนเดิมมาตลอดอาจไม่ได้ต่างไปจาก<br />

ช่วงแรกเริ่มเท่าไหร่ แต่ส่วนที่รู ้สึกว่าต่างออกไป<br />

คงเป็นเรื่องของมุมมองในการออกแบบที่คมขึ้น<br />

หรือแม่นยาขึ้น และยังมีทีมเพิ่มขึ้นด้วย จากเคย<br />

ทางานกันแค่ 2 คน ผ่านมาเรื่อยๆ ก็กลายเป็น<br />

10 คน ซึ่งส่วนตัวคิดว่าเป็นขนาดของทีมที่กาลัง<br />

ทางานสนุก เรามีความถนัดที่ไม่เหมือนกัน มี<br />

มุมมองที่หลากหลายมาแบ่งปันกันมากขึ้น รวม<br />

ถึงศักยภาพการทางานก็ดีขึ้นด้วย ยิ่งตอนเริ ่ม-<br />

วางระบบ Work from home ใหม่ๆ ก็ทาให้เรา<br />

เห็นรูปแบบการทางานอีกมุมหนึ่ง ซึ่งให้ความ<br />

ยืดหยุ ่นกับการใช้ชีวิตของคนในทีม เราจึงคิดว่า<br />

ในอนาคตก็คงจะยังนาระบบ Work from home<br />

มาใช้กับการทางาน ร่วมกับการเข้าออฟฟิศด้วย<br />

เหมือนกัน ตรงนี้มันเป็นการปรับวิธีการทางาน<br />

ตามความเหมาะสมและยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ซึ่ง<br />

เราว่ามันดีกับหลายๆ ฝ่าย<br />

ช่วยยกตัวอย่างผลงานที่รู้สึกประทับใจ หรือ<br />

ผลงานที่กาลังทาอยู่และมีความน่าสนใจมา<br />

2-3 ผลงาน<br />

จริงๆ มีหลายโปรเจ็คต์มากที่ค่อนข้างประทับใจ<br />

แต่หากให้ยกตัวอย่างโปรเจ็คต์แรกอาจเป็นบ้าน<br />

ของเราเองที่แม้จะตั้งต้นด้วยจานวน สมาชิกใน<br />

ครอบครัว งบประมาณ และข้อจากัดของเวลา<br />

แต่เราก็สามารถออกแบบลายเส้นของตัวเองได้<br />

อย่างเต็มที่ตามแนวคิดที่เราชอบ โปรเจ็คต์ต่อมา<br />

ที่ประทับใจคือ The Hidden เป็นบ้านที่สนุกมาก<br />

เพราะเราเสนออะไรไปลูกค้าก็เล่นด้วยหมด บ้าน<br />

หลังนี้จะเป็นบ้านที่มีลูกเล่นและมิติที่แปลกใหม่<br />

สาหรับการออกแบบบ้านค่อนข้างเยอะ ส่วนหลัง<br />

สุดท้าย C-2 House เป็นอีกผลงานที่สนุกเช่นกัน<br />

เพราะเราคุยกับเจ้าของบ้านจนกลายเป็นเพื่อนกัน<br />

คลุกคลีกับเขาจนเข้าใจว่าเขาต้องการอะไร มีการ<br />

ศึกษากันค่อนข้างเยอะ เราเชื่อว่าสถาปนิกค่อน-<br />

ข้างมีส่วนกับการออกแบบการใช้ชีวิตภายในบ้าน<br />

ของเจ้าของบ้านมาก ถ้าเราทาความเข้าใจ รับฟัง<br />

ปัญหา และนาเสนอการแก้ปัญหาผ่านงานสถา-<br />

ปัตยกรรมได้น่าจะเป็นสิ่งที่ประสบความสาเร็จ<br />

แล้ว ในแต่ละโปรเจ็คต์นั้นๆ<br />

The hidden<br />

Yoodee house


162<br />

professional / studio<br />

INLY STUDIO<br />

163<br />

Tell us about how Inly Studio<br />

started?<br />

Golf - Pakorn Yoodee and Koi - Wiphada<br />

Yoodee, we both have been in<br />

the profession for about 16 years since<br />

graduation. Starting from being a company<br />

employee first, we began to use<br />

Inly some 12-13 years later. The name<br />

“Inly” is a word that is synonymous with<br />

“Inli” in the Northern dialect, meaning<br />

great. In English, it is also pronounced<br />

as Inly, meaning something that conveys<br />

the inner or emotional feeling or<br />

to deepen. We’ve been using this name<br />

ever since we started accepting new<br />

jobs. Later, people became familiar<br />

with and knew us better by this name,<br />

began to understand how we work and<br />

what we are good at, and started to<br />

understand how we design. With more<br />

and more projects coming in, we decided<br />

to start a studio seriously.<br />

What interests or motivates you<br />

in your work to this day?<br />

We have been, along the way, accepting<br />

jobs of all types and sizes, ranging<br />

from small to large, and the building<br />

types are varied. Anyway, shortly<br />

before COVID-19, we had the opportunity<br />

to get quite a lot of residential<br />

work, and at that time, it became clear<br />

that we enjoyed designing residential<br />

buildings. But we are still accepting<br />

other types of work because you can’t<br />

say that you open your office to design<br />

houses only though we’re particularly<br />

fond of working on housing projects.<br />

The more we have the opportunity to<br />

expand to work in other areas outside<br />

Chiang Mai, the more we feel challenged<br />

with the diversity of new people<br />

and new places.<br />

What makes project owners or<br />

your clients from other regions<br />

interested in Inly’s designs?<br />

“Basic is the best.” Personally, I think it<br />

might be because we mainly focus on<br />

simplicity or design that is comprehensible.<br />

We like to design the house to be<br />

as home as much as possible. We also<br />

emphasize presenting exclusivity to the<br />

owners through simplicity that is not<br />

At first, we are very energetic.<br />

We work like crazy. That could be<br />

the same for many people. From<br />

that day until today, I would say<br />

we still do the same thing all the<br />

time, not quite different from the<br />

beginning.<br />

too difficult to understand. At the same<br />

time, we love to integrate extra details<br />

in architecture, such as lighting design<br />

or selecting unique materials that go<br />

along well with the house’s character.<br />

We feel that it makes each project<br />

wholly different and unique because<br />

we always come up with architectural<br />

elements and vocabulary that are particular<br />

for each owner first. It was later<br />

that we applied design to make it more<br />

interesting.<br />

Would you share with us the<br />

very first day that Inly started?<br />

How was it from that day until<br />

today?<br />

Of course, at first, we are very energetic.<br />

We work like crazy (laugh). I<br />

think that could be the same for many<br />

people. From that day until today, I<br />

would say we still do the same thing<br />

all the time, not quite different from the<br />

beginning. But what is different is probably<br />

our perspectives – we are sharper<br />

and more precise. And there are more<br />

members in the team as well. From<br />

working with only 2 people, become 10<br />

now, which I think is the team size that<br />

works. There are different aptitudes,<br />

and there are different attitudes to<br />

share. It means more potential to work<br />

better as well. When we started the<br />

Work from Home system, it made us<br />

see another aspect of our office administration<br />

that gives flexibility to the<br />

life of the people in the team. So we<br />

think perhaps in the future, we might<br />

continue to apply this WFH system<br />

along with standard office work style.<br />

This could be our new way of working<br />

adapted to the current situation, which<br />

we think is good for many of us.<br />

Would you share a few<br />

interesting projects that you are<br />

working on?<br />

For us, many projects are quite impressive.<br />

But to give an example, the first<br />

project might be our own home that<br />

even started with the family members,<br />

budget, and time constraints, but we<br />

can design as we like. The next project,<br />

The Hidden, is also a project we like.<br />

It’s a house that we enjoy working with<br />

because the client seemed to accept<br />

all the ideas that we proposed. The-<br />

Hidden is a house with a lot of features<br />

and elements that are pretty new for<br />

home design. And last but not least-<br />

C-2 House - is also fun because we<br />

talk to the owners so much that we<br />

become friends. We mingle with them<br />

until they realize what they really want.<br />

We also spend a lot of time studying<br />

the owners’ requirements and how they<br />

want the space to serve their lifestyle.<br />

We believe that architects play a significant<br />

role in the design of the house<br />

and the way the owners live. If we can<br />

understand, listen to the problems, and<br />

offer solutions through architecture,<br />

there will be no failure in each project.<br />

fb.com/inlystudio<br />

บ้านลาลูกกา<br />

C-2 House<br />

C-2 House


164<br />

chat<br />

KHOMSAN SAKULAMNUAYPONGSA<br />

165<br />

งนหลักๆ ของฝ่ ยทะเบียนคือ ต้องเข้มจัดกรควมเรียบร้อย<br />

ของระบบสมชิก และพัฒนให้เกิดกรตรวจสอบ รวมถึงกรเข้ถึง<br />

ที่ง่ยขึ ้น กรทำงนของเรที่ผ่นมจึงประกอบด้วย 2 ส่วน คือ<br />

กรแยกข้อมูลของสมชิก และกรเข้ถึงข้อมูลสมชิก<br />

คุณคมสัน สกุลอำนวยพงศ<br />

ฝ่ยทะเบียน สมคมสถปนิกสยมฯ<br />

อาษา: นโยบายและวิสัยทัศน์ของฝ่ ายทะเบียน<br />

ในคณะกรรมบริหารชุดนี้มีแนวทางเป็ นอย่างไร<br />

คุณคมสัน สกุลอำนวยพงศ: หลักๆ คือเราต้องการเข้า<br />

มาจัดการความเรียบร้อยของระบบสมาชิก และพัฒนาให้<br />

เกิดการตรวจสอบ รวมถึงการเข้าถึงที่ง่ายขึ้น การทำางาน<br />

ของเราที่ผ่านมาจึงประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การแยกข้อมูล<br />

ของสมาชิก และการเข้าถึงข้อมูลสมาชิก โดยส่วนแรกจะ<br />

เป็นการเข้าไปปรับปรุงแก้ไขระบบในเรื่องของชื่อ และราย-<br />

ละเอียดของสมาชิกที่มีความซับซ้อน รวมถึงบางส่วนเป็น<br />

ข้อมูลที่ไม่ได้รับการอัพเดทหรือไม่สามารถนำาไปใช้ได้จริง<br />

เช่น อายุของสมาชิกบางท่านมีอายุถึง 199 ปี แบบนี้เรา<br />

ก็ต้องสกรีนและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องกันอย่างละเอียด<br />

อีกครั้ง รวมถึงการแยกข้อมูลในส่วนของการลงทะเบียน<br />

จากระบบเก่า หรือการลงทะเบียนด้วยเอกสารทั่วไป ซึ่ง<br />

ปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นระบบที่มีข้อมูลสมาชิกอยู่ค่อนข้างเยอะ<br />

พอสมควร จึงทำาให้ฝ่ายทะเบียนต้องใช้เวลากับการตรวจ<br />

สอบค่อนข้างมาก เพื่อแยกว่าปัจจุบันมีสมาชิกจำานวนที่<br />

ถูกต้องอยู่เท่าไหร่ และข้อมูลส่วนไหนเป็นข้อมูลที่ผิดแปลก<br />

ไปบ้าง<br />

อีกแนวทางการพัฒนาคือเรื่องของการเป็นส่วนหนึ่งกับ<br />

สภาสถาปนิกฯ เพราะสมาชิกรวมถึงหลายๆ ท่านยังคงไม่<br />

เข้าใจว่าสภาสถาปนิกฯ และสมาคมสถาปนิกฯ แตกต่าง<br />

กันอย่างไร บางครั้งโทรเข้ามาติดต่อสอบถามข้อมูลซึ่งเป็น<br />

ส่วนของทางสภาฯ เราก็จะให้ข้อมูลได้เพียงเบื้องต้นและ<br />

แจ้งว่าต้องดำาเนินการอย่างไรต่อ ในอนาคตทางสมาคมฯ<br />

จึงอยากให้มีการวางแผนร่วมกันหรือเรียกว่าเป็นประตู<br />

บานเดียวกันที่เมื่อมีคนหลงเข้ามาในประตูบานนี้ เราก็จะ<br />

ได้แจ้งเป็นข้อมูลเดียวกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นทิศทางการ<br />

ออกแบบวิธีการทำางานร่วมกันกับทางสภาฯ อีกวิธีหนึ่ง<br />

อาษา: ทิศทางการพัฒนาและการปรับเปลี่ยน<br />

รูปแบบงานทะเบียนในอนาคต หรือที่กำาลัง<br />

ดำาเนินการอยู่มี โครงการใดบ้าง<br />

คุณคมสั น สกุลอำนวยพงศ: ถึงแม้สมาชิกบางส่วนจะ<br />

ยังคงใช้การตอบรับผ่านเอกสารอยู่ ซึ่งเราก็ยังคงอำานวย<br />

ความสะดวกในส่วนนี้ให้กับทางสมาชิกเช่นเดิม แต่ส่วนที่<br />

ได้เพิ่มและพัฒนาเพื่อการเข้าถึงที่ง่ายขึ้นก็คือการเข้าถึง<br />

ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตในช่องทางอื่นๆ เช่น แอปพลิเคชั่น<br />

Line ซึ่งจะทำาให้สมาชิกได้รับข้อมูลข่าวสารโดยตรงจาก<br />

แอปพลิเคชั่นที่ใช้งานกันเป็นประจำาทุกวันอยู่แล้ว


166<br />

chat<br />

167<br />

ส่วนอีกโครงการที่กำาลังวางแผนกันอยู่ คือแนวทางในการเพิ่มจำานวน<br />

สมาชิกคนรุ่นใหม่ เราจึงหนักเน้นการประชาสัมพันธ์ไปทางนิสิต<br />

นักศึกษาในมหาวิทยาลัยมากขึ้น โดยอาจร่วมกันกับทาง ISA เดินทาง<br />

ไปตามสถาบันหรือภูมิภาคต่างๆ เพื่อให้คนรุ่นใหม่หรือนิสิตนักศึกษา<br />

คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบได้เข้าใจถึงการเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

สมาคมสถาปนิกฯ และการเห็นความสำาคัญของข่าวสารในแวดวงการ<br />

สถาปัตยกรรมผ่านกิจกรรมและช่องทางของสมาคมฯ มากขึ้นก่อนการ<br />

ก้าวขึ้นมาเป็นสถาปนิกในอนาคต<br />

สมคมฯ อยกเชิญชวนให้ผู้ที่สนใจ<br />

ทุกท่น รวมถึงผู้ที่ประกอบวิชชีพ<br />

สถปนิก เข้ม ร่วมเป็ นสมชิก<br />

สมคมสถปนิกสยมฯ กันก่อน<br />

หลังจกนั้นทุกท่นก็จะได้รับข้อมูล<br />

ข่วสร และกิจกรรมดีๆ ที่เรตั้งใจ<br />

ส่งมอบให้กับสมชิกแน่นอน โดย<br />

เฉพะโครงกรช่วยเหลือสมชิก<br />

ที่จะเปิ ดให้ทุกท่นสมรถเข้ม<br />

สมัครเป็ นสมชิกได้ฟรี เรจะมีกร<br />

เพิ่มช่องทงในกรสนับสนุนสมชิก<br />

และมีกิจกรรมใหม่ๆ ให้ ได้ติดตมกัน<br />

อย่งต่อเนื่อง<br />

อาษา: ทางสมาคมมีความคิดเห็น และมีแผนในการส่งเสริม<br />

สมาชิกอย่างไรบ้าง<br />

คุณคมสัน สกุลอำนวยพงศ: สิ่งที่มักถูกถามอยู่บ่อยครั้งจากสมาชิก<br />

และผู้ที่กำาลังสนใจเป็นสมาชิก คือการเข้าร่วมเป็นสมาชิกจะได้อะไรจาก<br />

ตรงนี้บ้าง จริงๆ แล้วในสมาคมฯ เรามีกิจกรรมและสิทธิพิเศษมากมาย<br />

ที่จัดให้กับสมาชิกเป็นประจำาอยู่แล้ว แต่สิ่งที่เราพบจากการทำางานที่<br />

ผ่านมาคือสมาชิกหลายๆ ท่านได้รับข่าวสารไม่ทั่วถึง หรือลงทะเบียน<br />

กิจกรรมต่างๆ ไม่ทัน ซึ่งทำาให้ต้องเสียสิทธิและโอกาสในการเข้าร่วม<br />

กิจกรรมของทางสมาคมฯ ดังนั้นนอกจากกิจกรรมที่เราต้องการส่งเสริม<br />

สมาชิกเป็นอย่างดีอยู่แล้ว เราก็อยากให้สมาชิกติดตามข่าวสารดีๆ จาก<br />

สมาคมฯ ด้วยเช่นกัน โดยทางสมาคมฯ เราก็จะพยายามพัฒนาระบบ<br />

ให้สามารถเข้าถึงข่าวสารได้รวดเร็วขึ้นอย่างที่กล่าวไปข้างต้น ควบคู่กับ<br />

การให้ความร่วมมือกับทางสมาชิก<br />

อาษา: สัดส่วน หรือประเภทของสมาชิกในปั จจุบันมีการ<br />

อัพเดทเพิ ่มเติมบ้างไหม อย่างไร<br />

คุณคมสัน สกุลอำนวยพงศ: ที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะยังไม่ค่อยทราบ<br />

กันว่าสมาชิกสมาคมสถาปนิกฯ ไม่จำาเป็นต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ<br />

สถาปนิกก็ได้ ซึ่งทำาให้สัดส่วนของสมาชิกประเภทบุคคลทั่วไป นิสิต<br />

นักศึกษา หรือกิตติมศักดิ์ยังมีไม่มากนักเมื่อเทียบกับสัดส่วนของผู้-<br />

ประกอบวิชาชีพสถาปนิกโดยตรง ซึ่งเราก็จะพยายามประชาสัมพันธ์<br />

ข่าวสารในส่วนนี้ให้วิชาชีพอื่นๆ และบุคคลทั่วไปได้ทราบกันมากขึ้น<br />

ส่วนอีกประเภทสมาชิกที่อยากจะเพิ่มเข้ามาก็คือประเภทนิติบุคคล<br />

เพราะเป็นประเภทที่มีการทำางานเกี่ยวเนื่องกับองค์กรหลายๆ ฝ่าย อีก<br />

ทั้งยังเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ในองค์กรนั้นๆ ให้ทราบถึงการเข้าร่วม<br />

เป็นสมาชิกสมาคมสถาปนิกฯ ตลอดจนยังเป็นการเพิ่มจำานวนสมาชิก<br />

ประเภทอื่นๆ ได้ในคราวเดียวกัน<br />

อาษา: ระหว่างนี้มีกิจกรรมหรือข่าวสารอะไรจากจาก<br />

ฝ่ ายทะเบียนที่ต้องการประชาสัมพันธ์ ให้สมาชิกได้ทราบ<br />

กันบ้างไหม<br />

คุณคมสัน สกุลอำนวยพงศ: สิ่งสำาคัญเลยคือทางสมาคมฯ ก็อยาก<br />

เชิญชวนให้ผู้ที่สนใจทุกท่าน รวมถึงผู้ที่ประกอบวิชาชีพสถาปนิก เข้ามา<br />

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ กันก่อน หลังจาก<br />

นั้นทุกท่านก็จะได้รับข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมดีๆ ที่เราตั้งใจส่งมอบ<br />

ให้กับสมาชิกแน่นอน โดยเฉพาะโครงการช่วยเหลือสมาชิก ที่จะเปิดให้<br />

ทุกท่านสามารถเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกได้ฟรี โดยจะสิ้นสุดโครงการ<br />

ถึงวันที่ 30 เมษายน 2565 นี้ ส่วนหลังจากนั้นก็ยังอยากเชิญชวนให้<br />

เข้ามาสมัครกันเรื่อยๆ เพราะเราก็จะมีการเพิ่มช่องทางในการสนับสนุน<br />

สมาชิก และมีกิจกรรมใหม่ๆ ให้ได้ติดตามกันอย่างต่อเนื่อง


168<br />

the last page<br />

Photo: Nuanwan Tuaycharoen<br />

รองศาสตราจารย์<br />

ดร. นวลวรรณ ทวยเจริญ<br />

อาจารย์ประจำาและ<br />

หัวหน้าศูนย์ออกแบบ<br />

สภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

Associate Professor<br />

DR. Nuanwan Tuaycharoen<br />

Lecturer and Head of<br />

Kasetsart Universal<br />

Design Center (KU.UDC)<br />

สถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นทำ าให้รู ้ว่า<br />

“ไม่มีอะไรแน่นอน” ในชีวิต<br />

และทำาให้เราเรียนรู ้ที ่จะเยียวยาจิตใจตนเอง<br />

เพื่อที่ว่าวันนึงเราจะสามารถก้าวเดินได้อย่างมั่นคง<br />

อีกครั้งหนึ่ง…..<br />

แสงสว่างเป็นปัจจัยที่สำาคัญที่สามารถช่วยเยียวยา<br />

จิตใจของเราได้ในสถานการณ์ปัจจุบันดังที่<br />

Nightingale กล่าวไว้ว่า<br />

“สิ่งที่ผู้ป่วยต้องการเป็นอันดับสองรองจากอากาศ<br />

ที่สดชื่นคือแสง…แสงสว่างไม่ว่าจะเป็นแสงประดิษฐ์<br />

หรือแสงธรรมชาติต่างมีผลกระทบต่อการรักษา<br />

พยาบาลและฟื้นฟูผู ้ป่วยทั ้งสิ ้น”<br />

(Nightingale, 1970: 47-48)<br />

The current situation that occurs makes us<br />

know that “Nothing is certain” in life, and<br />

make us learn to heal ourselves so that<br />

one day we will be able to walk steadily<br />

again…..<br />

Light is an important factor that can heal<br />

our minds in the present situation, as<br />

Nightingale puts it:<br />

“Second only to fresh air, the patients need<br />

the most is light…Light, whether artificial or<br />

natural, has an impact on the healing and<br />

rejuvenation of the patient.” (Nightingale,<br />

1970: 47-48).

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!