25.08.2021 Views

ASA JOURNAL 02/2021

More Than Skin

More Than Skin

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

More Than<br />

Skin<br />

2<strong>02</strong>1.Jul-Aug<br />

The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


ผนังเมทัลชีท<br />

ที่กล้ารับประกันสี ไม่ซีดจาง 10 ปี<br />

Ocean Blue<br />

Text: Pratchayapol Lertwicha<br />

Photo: bluescope<br />

Interior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สำหรับงำนภำยใน<br />

SYSTEMLAYER<br />

Exterior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สำหรับงำนภำยนอก<br />

Insulation<br />

ฉนวนกันควำมร้อน<br />

สำหรับกำรเลือกแผ่นเมทัลชีทมำใช้เป็นผนังอำคำร บำงครั้ง<br />

กำรใช้แผ่นเมทัลชีท อย่ำงเดียวอำจไม่ตอบโจทย์กับกำรใช้งำนที่<br />

ต้องกำรกันควำมร้อนหรือเสียงรบกวนเพิ่มเติม ดังนั้น นวัตกรรม<br />

ระบบผนังที่มีชื่อว่ำ ‘แซนวิชพำแนล’ นั่นคือ กำรนำแผ่นเมทัลชีท<br />

สองแผ่นมำประกบตัวฉนวนเช่น PU หรือ PIR ด้ำนใน จึงเกิดขึ้น<br />

ในฐำนะผู้นำระดับโลกด้ำนผลิตภัณฑ์เมทัลชีท BlueScope<br />

จึงตอบรับนวัตกรรมระบบผนังใหม่ด้วยกำรคิดค้นผลิตภัณฑ์<br />

‘Colorbond for Panel’ แผ่นเมทัลชีทคุณภำพสำหรับกำรใช้งำน<br />

ทั้งภำยนอกและภำยในอำคำรที่มำพร้อมสีสันงดงำม พร้อมรับ<br />

ประกันว่ำสีจะไม่ซีดจำงยำวนำนถึง 10 ปี นอกจำกนี้ ยังดีไซน์รูป<br />

ลอนได้มำกมำย และมีสีสันให้เลือกหลำกหลำยเพื่อตอบทุกโจทย์<br />

ในกำรดีไซน์


สี สั นสวยงำม มีอำยุ<br />

กำรใช้งำนยำวนำน<br />

Easy clean<br />

รับประกันสู งสุ ด 30 ปี<br />

Waranty 30 years<br />

advertorial<br />

วำงใจได้เลยว่ำผลิตภัณฑ์จะมีควำมทนทำน เพรำะ BlueScope<br />

เลือกใช้เหล็กเคลือบอลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี ซึ่งมีอำยุกำร<br />

ใช้งำนมำกกว่ำเหล็กเคลือบสังกะสีทั่วไปถึง 4 เท่ำ พร้อมกำรันตี<br />

ด้วยกำรรับประกันยำวนำนถึง 30 ปีว่ำแผ่นเมทัลชีทจะไม่เป็นรูพรุน<br />

จำกกำรกัดกร่อน และไม่ต้องกังวลว่ำฉนวนที่ติดตั้งจะหลุดร่อน<br />

ไปง่ำยๆ เพรำะ Colorbond for Panel มำพร้อมกับเทคโนโลยี<br />

ชั้นเคลือบสีด้ำนหลังสูตรพิเศษ ที่เพิ่มประสิทธิภำพกำรยึดเกำะ<br />

ระหว่ำงแผ่นและฉนวนให้เต็มเปี ่ยม<br />

BlueScope ยังคงนวัตกรรมอันโดดเด่นจำกเมทัลชีทรุ ่น Colorbond มำ<br />

ไว้ใน Colorbond for Panel อย่ำงครบถ้วน ทั้ง Thermatech® Technology<br />

ช่วยสะท้อนควำมร้อนจำกภำยนอกอำคำร และ Clean Technology<br />

ที่ช่วยลดกำรยึดเกำะของครำบฝุ ่น ทำให้สีสันของบ้ำนหรือโครงกำร<br />

ดูสดใสเหมือนใหม่อยู ่เสมออีกด้วย<br />

Jade Green<br />

03<br />

เพิ่มประสิทธิภำพกำร<br />

ยึดเกำะระหว่ำงแผ่น<br />

กับฉนวนกันควำมร้อน<br />

Increase<br />

adhesion between<br />

metal sheet<br />

and insulation<br />

90.0 ํ 25.0 ํ<br />

ไม่เพียงเท่ำนั้น กำรใช้ระบบผนังเมทัลชีท<br />

แซนวิชพำแนลโดย Colorbond for Panel<br />

ก็ยังช่วยควบคุมเวลำและงบประมำณใน<br />

กำรก่อสร้ำงได้ดีขึ้น เพรำะ Colobond for Panel สำมำรถติดตั้ง<br />

ได้อย่ำงง่ำยดำย แถมช่วยลดกำรปล่อยสำรเคมีประเภท<br />

VOCs เพรำะแผ่น Colorbond for Panel มำพร้อมกับกำร<br />

เคลือบสีตั้งแต่ต้น ทำให้ไม่ต้องใช้สีทำอำคำรที่มักมีสำร<br />

VOCs เรียกได้ว่ำเป็นมิตรกับทั้งคนสร้ำงและ ผู้อยู่อำศัย<br />

อย่ำงแท้จริง<br />

Earth Brown<br />

สามารถ<br />

ติดตาม<br />

รายละเอียด<br />

ของผลิตภัณฑ์<br />

เพิ่มเติมได้ที่


MASONRY<br />

INNOVATION<br />

COMPETITION<br />

Designers have the power to help create resilient, healthy, just, and equitable communities. But solving global<br />

challenges to improve our world demands innovation. We want to see your bold new concepts that show how<br />

masonry can better our built environment. We also want to see new ideas that have the potential to change<br />

the way we design and build with masonry and create growth opportunities for our industry.<br />

Whether you have a great idea that addresses how infrastructure like schools and healthcare facilities will<br />

change in a post-pandemic world, thoughts on how to address the climate crisis, insights on improving equity,<br />

or another innovative plan, we want to hear from you. Solutions can also explore innovations in materials,<br />

the construction process, new business models, or simply show a unique aesthetic and functional use of masonry.<br />

Whatever direction you decide to take, your innovative solution should add value,<br />

usefulness, appreciation, and relevance to masonry design and construction. It can be<br />

either an improvement of an existing system or a groundbreaking proposal.<br />

SUBMISSION<br />

DEADLINE<br />

DEC 15, 2<strong>02</strong>1<br />

IMIWEB.ORG/JBCAWARD<br />

Entry Categories<br />

Students: Undergraduate or graduate students enrolled in<br />

an accredited design, architecture, or engineering school.<br />

Young Architects/Engineers: Any architects or engineers<br />

under the age of 40.<br />

A/E Firms, Individual Architects/Engineers, & Cross-Category:<br />

Architecture/engineering firms, architects and engineers<br />

age 40 and over, and cross-category teams.<br />

Prizes<br />

Monetary awards will be provided to 1st place winners in<br />

each of the 3 entry categories. In addition to monetary prizes,<br />

winners will receive special publicity opportunities, including<br />

the opportunity to present their designs on IMI’s popular<br />

webinar series. Winners will also be highlighted in digital<br />

publications and honored during an awards ceremony.


Neri & Hu Design<br />

and Research Office<br />

Thresholds: Space, Time<br />

and Practice<br />

Pre-order<br />

NOW!<br />

Today-25 August<br />

NERI & HU DESIGN AND RESEARCH OFFICE<br />

THRESHOLDS: SPACE, TIME AND PRACTICE<br />

PUBLISHED BY THAMES & HUDSON<br />

HARDCOVER, 352 PAGES, 8.5 X 10.5 INCHES<br />

WITH 404 ILLUSTRATIONS<br />

ISBN: 9780500343609<br />

Neri & Hu ก่อตั้งโดย Lyndon Neri กับ<br />

Rossana Hu ในปี 200 ปั จจุบันสํ านักงาน<br />

ของพวกเขาที่เซี่ยงไฮ้มีงานออกแบบ<br />

มากมายทั้งสถาปั ตยกรรม อินทีเรีย<br />

งานวางผังไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์และ<br />

โปรดักส์ดีไซน์งานของพวกเขากระจาย<br />

ไปทั่วโลก จากการทํางานของทีม ซึ ่ง<br />

ประกอบไปด้วยนักออกแบบมากมายหลาย<br />

เชื้อชาติ เป็ นการตอกยํ ้าแนวทางของ<br />

ออฟฟิ ศที่มีการผสมผสานทักษะของงาน<br />

สร้างสรรค์จากสาขาวิชาการและพื้นหลัง<br />

ที่แตกต่างกันเพื่อสร้างกระบวนทัศน์ ใหม่<br />

ในงานออกแบบสถาปั ตยกรรมและ<br />

อินทีเรีย หนังสื อรวบรวมผลงานของ<br />

Neri & Hu Design and Research<br />

Office เล่มใหม่ล่าสุดโดย Thames &<br />

Hudson นี้ รวบรวมผลงานสเกลต่างๆ<br />

มากกว่า 30 โครงการ ซึ ่งจะเป็ นโมโนกราฟ<br />

ที่สมบูรณ์ที่สุดของNeri & Hu หลังจาก<br />

ที่เคยมีหนังสื อรวมงานครั้งแรกมาแล้ว<br />

ในปี 2014<br />

Founded in 2004 by Lyndon Neri<br />

and Rossana Hu, Neri& Hu is an<br />

inter-disciplinary architectural design<br />

practice based in Shanghai, China.<br />

Neri&Hu works internationally<br />

providing architecture, interior, master<br />

planning, graphic, and product design<br />

services. Currently working on projects<br />

in many countries, Neri & Hu is<br />

composed of multi-cultural staff and<br />

the diversity of the team reinforces a<br />

core vision for the practice: to respond<br />

to a global worldview incorporating<br />

overlapping design disciplines for a<br />

new paradigm in architecture. This<br />

new book published by Thames &<br />

Hudson is the most comprehensive<br />

monograph of the studio's work,<br />

featuring around thirty projects at all<br />

scales.<br />

Info & Order : booksmith@smithproject.co.th


2<strong>02</strong>1<br />

JUL -AUG<br />

MORE THAN<br />

SKIN<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Assoc.Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Jaksin Noyraiphoom<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

Nathanich Chaidee<br />

Nopadon Thungsakul<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Phornnipa Wongprawmas<br />

Pornpas Siricururatana<br />

Warut Duangkaewkart<br />

Xaroj Phrawong<br />

Kukkong Thirathomrongkiat<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Designers<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Pitipat Tubtim<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Thanapong Lertpiyaboon<br />

Special Thanks<br />

DECA<br />

Dhamarchitects<br />

EAST Architects<br />

EKAR<br />

Fotomomo<br />

G8A Architecture & Urban Planning<br />

IDIN Architects<br />

Kukkong Thirathomrongkiat /<br />

Wideopen studio<br />

Nives Vaseenon<br />

pbm<br />

rollimarchini architekten<br />

Yamastudio<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright 2<strong>02</strong>1<br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Photo: Kukkong Thirathomrongkiat


09


์<br />

10<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจาปี 2563-2565<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

จู น เซคิ โน<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อั งกสิ ทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่ วมแก้ ว<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สำหรับวรสรอษนี้ ต่อเนื่องจกเล่มแรก “Comfort Zone” ได้เล่เรื่อง<br />

วัสดุ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสุขภวะและควมสุขสบยของอคร<br />

ต่งๆ ที่น่จะทำให้ทุกคนได้ประโยชน์และสมรถนำไปใช้ ได้ ในชีวิตประจำวันได้<br />

รวมไปจนถึงกรนำเสนองนออกแบบที่น่สนใจของสถปนิกไทยแล้วนั้น มถึง<br />

เล่มที่สองใน “More Than Skin” นี้ก็ยังคงมีบทควมทั้งเชิงวิชกรและข้อมูล<br />

ที่น่สนใจมให้กับสมชิกได้นำไปพัฒนต่อยอดได้อีกในอนคตนะครับ ซึ ่งก็หวัง<br />

เป็ นอย่งยิ ่งว่ในวรสรอษเล่มถัดไป น่จะต่อยอดจนครบทุกประเด็นมุมมอง<br />

ของกรออกแบบที่จะทำให้สมชิกได้รับประโยชน์ ในขณะเดียวกัน ด้วยสภพ<br />

ของบริบทของประเทศไทยตอนนี้ที่มีสถนกรณ์ค่อนข้งน่กังวลหลยเรื่องนั้น<br />

เนื้อหในเล่มนี้ก็ยังได้นำเสนอวัสดุหรือเทคโนโลยีที่เรใช้เพื่อปกป้ องอคร<br />

ว่จะช่วยปกป้ องคุณภพชีวิตของเรได้อย่งไรบ้งในหลยแง่มุม<br />

นอกจกนี้ ผมอยกจะขอประชสัมพันธ์งนของสมคมที่เป็ นกิจกรรมใหม่<br />

งนหนึ ่งของเรในชื่อ <strong>ASA</strong> WOW : Wonder of Well-Being City 2<strong>02</strong>1<br />

ซึ ่งเดิมวงแผนจะจัดภยในปี นี้แต่คงต้องเลื่อนเวลออกไปก่อน โดยจะปรับเป็ น<br />

กิจกรรมที่จะจัดขึ ้นระหว่งปี เพื่อนำเสนอเรื่องรวอันเป็ นจุดประสงค์ของงน<br />

<strong>ASA</strong> WOW ปูทงให้สมชิกได้ติดตมอย่งต่อเนื่องและนำมรวบรวมเป็ นงน<br />

ใหญ่ที่จะเกิดขึ ้นในเวลที่เหมะสม ซึ ่งเป็ นงนที่เรจะชวนบุคคลจกภคส่วน<br />

ต่งๆ มพู ดถึงเรื่องของเมืองกับสิ ่งแวดล้อมกันครับ ไม่ว่จะเป็ นนักพัฒน<br />

อสังหริมทรัพย์ นักออกแบบ ผู้ว่รชกรจังหวัด หรือแม้แต่องค์กรภครัฐ<br />

และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับกรสร้งเมือง ได้มี โอกสมรวมตัวกันในลักษณะ<br />

ของ Symposium ซึ ่งเป็ นกรให้ทั้งควมรู้และแลกเปลี่ยนควมเห็นกันเกี่ยวกับ<br />

กรปรับตัวเข้สู่เมืองในยุคใหม่ ที่ไม่ใช่กรพู ดแค่เรื่องมิติกรออกแบบอย่ง<br />

เดียว แต่รวมถึงเทคโนโลยีทุกอย่งที่เอื้อให้ทุกคนมีชีวิตที่ดีขึ ้น ไม่ว่จะเป็ นเรื่อง<br />

บล็อกเชน หรือแม้แต่เทคโนโลยีด้นสธรณสุขที่อจจะต้องมีส่วนเกี่ยวพันกับ<br />

ในแวดวงอชีพของเรและควมเป็ นอยู่ของมนุษย์ โดยจะเป็ นวงที่เรจะไม่ได้<br />

พู ดถึงแต่สถปนิกเพียงด้นเดียว แต่เรจะเป็ นเหมือนโต๊ะกลงให้ทุกคนจก<br />

หลยภคส่วนมีพื้นที่แสดงควมคิดเพื่อพัฒนให้เมืองน่อยู่ร่วมกัน ซึ ่งเป็ น<br />

กิจกรรมใหม่ที่สมคมฯตั้งใจจะให้เกิดขึ ้นและต่อเนื่องในทุกปี<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอานวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิ ยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จั นเสน<br />

กศินธ์ ศรศรี<br />

ณั ฎฐวุ ฒิพิริยประกอบ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกล้นน<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกอีสน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกทักษิณ<br />

นิพนธ์ หัสดีวิจิตร


12<br />

message from the president<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Jun Sekino<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

The first issue of <strong>ASA</strong> Journal,’ Comfort Zone,’ tells many stories<br />

of materials and technologies related to architecture and their<br />

contributions to human wellbeing and comfort, many of which<br />

we consider beneficial and applicable to architectural design<br />

and everyday life. In the ‘More Than Skin’ issue that follows, <strong>ASA</strong><br />

Journal continues to put together articles with insightful takes<br />

and academic points of view and analyses in the hope of keeping<br />

fellow members informed and up-to-date for their future works.<br />

We intend to cover all the aspects of architectural design that will<br />

be advantageous to the members in the succeeding issues. With<br />

the current pandemic crisis in Thailand, our ‘More Than Skin’ issue<br />

brings you new details and updates on materials and technologies<br />

in facade design, examining the importance of these building skins<br />

in many aspects related to our wellbeing and quality of life.<br />

In addition, I would like to take this opportunity to promote<br />

one of the Association’s new activities, <strong>ASA</strong> WOW: Wonder of<br />

Well-Being City 2<strong>02</strong>1, which was initially planned to take place<br />

this year but has to be postponed for the time being. Instead, the<br />

activity will occur throughout the year as a prelude to <strong>ASA</strong> WOW’s<br />

main storyline. The activities will begin with an introduction<br />

and gradually wind down to the big event, which will transpire<br />

when the right time comes. We will invite professionals and<br />

experts from real-estate developers, designers, governors, the<br />

government sector, and private agencies whose roles involve<br />

urban development and expansion to talk about cities and the<br />

environment. It will be a symposium where everyone shares<br />

and exchanges knowledge, insights and visions about humans’<br />

adaptation to modern-day cities. The subjects will encompass<br />

design and technologies that enable everyone to attain a better<br />

quality of life, from blockchain to technologies related to public<br />

healthcare, the architectural profession, and human wellbeing as<br />

a whole. The symposium will be the stage, not just for architects,<br />

but for professionals from various sectors and industries to propose<br />

ideas and brainstorm a wide range of different possibilities,<br />

creating a collective effort to contribute to the development of<br />

livable cities. The Association intends for this new activity to take<br />

place as an annual event in the future.<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Assoc. Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Executive Committee<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Kasin Sornsri<br />

Nutthawut Piriyaprakob<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Nipon Hatsadeevijit


<strong>02</strong><br />

ADVERTORIAL<br />

28 CHIDLOM, SC ASSET<br />

1


ระบบระแนงอลูมิเนียม<br />

(Façade) อัลเน็กซ์<br />

สร้างความรู้สึกบางและเพิ่มเอกลักษณ์ให้ตัวอาคารด้วย<br />

ฟาซาดอลูมิเนียมรุ่น Z20 ติดตั ้งโดยระบบคลิปล็อค<br />

อย่างประณีต พิถีพิถัน ทาให้ตัวอาคารโดดเด่น ออกแบบ<br />

พิเศษให้เข้ากับราวกันตกอลูมิเนียมดีไซน์สลิม เน้นความ<br />

คมและบางของรูปด้านอาคาร ระบบสีฝุ่นสาหรับภายนอก<br />

ที่ออกแบบเฉดสีพิเศษ เรียบเนียน รับประกันสูงสุด 25 ปี<br />

เพื่อให้อาคารดูใหม่อยู่เสมอ<br />

205 Moo2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com


16<br />

At Vive Ekamai-Ramindra,<br />

the aluminum façade by<br />

ALNEX is elegantly more than<br />

an ordinary screen.<br />

เวลาดีไซน์ facade อาคารแต่ละครั้ง นอกจากจะต้องคำานึงเรื่อง<br />

ความสวยงามและรูปร่างหน้าตาแล้ว อีกสิ่งที่สำาคัญไม่แพ้กันเลย<br />

ก็คือวัสดุที่เลือกใช้ เพราะวัสดุเองมีผลต่อหน้าตาอาคารที่ออกมา<br />

และยังมีผลกับเรื่องการใช้งานและดูแลรักษาอาคารในระยะยาว<br />

อีกด้วย<br />

Vive เอกมัย-รามอินทรา โครงการบ้านที่โดดเด่นด้วยดีไซน์ร่วม<br />

สมัยในแบบมินิมอล เลือกใช้วัสดุอลูมิเนียมคุณภาพจาก ALNEX<br />

มาติดตั้งเป็น facade กันแดดสีขาวที่มีดีไซน์อันเรียบง่าย<br />

Beautiful physical appearance is not the only quality<br />

designers, and architects consider when it comes to facade<br />

design. Equally important are the materials of choice, for<br />

they directly affect how a building looks, as well as its<br />

long-term usability and maintenance.<br />

Known for its contemporary and minimal design, Vive<br />

Ekamai-Ramindra uses premium aluminum from ALNEX for<br />

its facade’s simplistic appearance, perfectly embodying the


advertorial<br />

17<br />

ตอบรับกับแนวคิดของโครงการได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงเท่านั้น<br />

ตัวอลูมิเนียมเองยังมาพร้อมนวัตกรรมวัสดุที่แข็งแรงทนทาน<br />

เทียบเท่ากับอลูมิเนียมในอุตสาหกรรมยานยนต์ ประกอบ-ติดตั้ง<br />

ด้วยระบบเข้าล็อคลิ้นอย่างประณีต ไร้รอยเชื่อม และเก็บงาน<br />

ทุกรายละเอียดเพื่อความเรียบร้อยสวยงาม อีกทั้งยังปลอดสนิม<br />

ตลอดอายุการใช้งาน อลูมิเนียม ALNEX มีสีเรียบเนียน ติดคงทน<br />

ด้วยเทคโนโลยีการพ่นสีฝุ่น PowderTech TM ที่ช่วยให้ facade<br />

หน้าบ้านสวยเหมือนใหม่อยู่เสมอ และ ALNEX ยังพิถีพิถันในเรื่อง<br />

ของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์ เช่น การใช้น็อตทั้งหมด<br />

ด้วยสเตนเลสคุณภาพสูง เพื่อการยึดติดที่คงทนแข็งแรง<br />

วัสดุ facade ของ ALNEX ในโครงการ Vive เอกมัย-รามอินทรา<br />

ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อสุขภาพของลูกบ้าน<br />

ด้วยคุณสมบัติการปลอดสารก่อมะเร็ง (non-carcinogenic)<br />

และเป็นผลิตภัณฑ์ที่รับรองว่ามีคุณภาพมาตรฐาน ด้วยเทคนิค<br />

การประกอบวัสดุที่พิถีพิถันและได้รับการควบคุมในการผลิต<br />

อย่างเคร่งครัด<br />

นอกเหนือไปจากคุณภาพของตัววัสดุ อีกเหตุผลที่โครงการเลือก<br />

ALNEX ก็คือบริการหลังการขาย และทีมช่างผู้เชี่ยวชาญที่ให้การ<br />

สนับสนุนจนได้ facade ที่มีดีไซน์สวยงามอย่างจินตนาการ<br />

project’s concept. The aluminum offers innovative qualities<br />

and strength equivalent to that used in the automotive<br />

industry. The meticulously designed joinery and installation<br />

system deliver impeccable, seamless details that keep the<br />

overall appearance immaculately beautiful. The material<br />

guarantees a life-long rust-proof ability. ALNEX’s aluminum’s<br />

superlative textural quality includes smooth, durable surface<br />

thanks to the PowderTech TM technology that enables facade<br />

structures to stay good as new through time. ALNEX is<br />

particularly attentive about the quality of fitting equipment<br />

with all the parts and screws made of high-quality stainless<br />

steel, ensuring solid and secured installation.<br />

The material under the ALNEX brand used with the facade of<br />

Vive Ekamai-Ramindra is friendly to both the environment<br />

and users with non-carcinogenic substance and physical<br />

quality with certified standard thanks to the strictly controlled<br />

manufacturing and assembly techniques.<br />

Apart from the qualities of its product, ALNEX is chosen for<br />

its outstanding after-sale services and highly experienced<br />

support team of skilled technicians, making the visualized<br />

design a perfect reality.


18<br />

foreword<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

ผิว หรือเปลือก ของอาคาร เป็นองค์ประกอบส่วนแรกที่สายตาของเรารับรู ้<br />

จากภายนอกและจะจดจำาสถาปัตยกรรมนั้นๆ เปลือกอาคารไม่เพียงแต่<br />

เกี่ยวข้องกับความรับรู้ถึงความงาม ภาษาหรือแนวคิดของผู้ออกแบบ แต่มี<br />

ความสัมพันธ์กับกาล เวลา สถานที่ สภาพแวดล้อมและที่ตั้งของอาคารใน<br />

ทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ ตลอดจนแสดงถึงช่วงเวลาที่สถาปัตยกรรม<br />

แต่ละโครงการถูกสร้างขึ้นผ่านเทคโนโลยีและวัสดุที่เลือกใช้ ที่สำ าคัญยัง<br />

สะท้อนถึง ‘คน’ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นของสถาปัตยกรรมนั้นด้วย ไม่ว่า<br />

จะเป็นเจ้าของโครงการ สถาปนิกผู้ออกแบบ หรือกลุ่มเป้าหมายและผู้ใช้งาน<br />

More Than Skin ในวารสารอาษาฉบับเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2564<br />

นี้ นำาเสนอเรื่องราว ที่มา ตลอดจนแนวคิดการออกแบบของสถาปัตยกรรม<br />

หลายโครงการ ที่มีความแตกต่างกันทั้งสถานที่และประโยชน์ใช้สอย<br />

ที่สื่อสารผ่านวัสดุและการออกแบบเปลือกอาคารที่หลากหลาย นอกจากนี้<br />

ยังมีบทความที่เกี่ยวกับวัสดุเปลือกอาคารที่น่าสนใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับ<br />

สมาชิกในการศึกษาและเลือกใช้สำาหรับการออกแบบต่อไป<br />

ในบทความหลัก More Than Skin หรือคอลัมน์ Revisit สถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในอาษาฉบับนี้ ต่างสะท้อนให้เห็นว่า<br />

ผลงานของสถาปนิกในอดีตเปรียบเสมือนการบันทึกและถ่ายทอดเรื่องราว<br />

ประวัติศาสตร์ในขณะนั้น ผ่านเปลือกอาคารที่น่าสนใจ ผ่านยุคสมัยและ<br />

กาลเวลามาแล้ว สำาหรับสถาปนิกในปัจจุบันจึงมีประเด็นที่ท้าทายพวกเรา<br />

ว่า ในช่วงเวลาที่สถานการณ์โลกกำาลังเปลี่ยนแปลงไปท่ามกลางวิกฤตด้าน<br />

สุขภาวะ สิ ่งแวดล้อม ตลอดจนความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของโลกดิจิตอล<br />

และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลต่อการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมในยุคสมัยของเราหรือไม่ อย่างไร และชวนให้คิด<br />

กันต่อไปอีกว่าสถาปนิกไทยในยุค 2<strong>02</strong>0s นี้ จะสื่อสารกับเมือง โลกและ<br />

ผู้คนในยุคสมัยหน้าอย่างไร ผ่านผิวผนังหรือเปลือกอาคารที่เราออกแบบ<br />

A building’s skin is the first element one encounters when they<br />

come across and remember a piece of architecture. It involves<br />

one’s perception of the beauty and appreciation in a design accent<br />

and concept and forms a close connection to space and time,<br />

including the surrounding environment, geographical as well as<br />

climatic conditions in which the building is situated.<br />

Themed’ More Than Skin’, the July-August 2<strong>02</strong>1 issue of <strong>ASA</strong><br />

Journal, features stories, origins, and design concepts of many<br />

intriguing works of architecture. Despite their varied locations<br />

and functionalities, these works communicate their architectural<br />

narratives through the different materials and designs of their skins.<br />

The issue also includes articles on some material innovations for<br />

facade design, which we hope will be beneficial and inspirational to<br />

fellow members for future study and implementation in your work.<br />

In this issue, the featured article, More Than Skin, as well as the<br />

Revisit column, which takes a closer look at modern architecture<br />

at Khon Kaen University, all reflect how the works of architects<br />

of the past are, in and of themselves, a documentation of stories;<br />

moments in history, through building skins whose conceptions<br />

are materialized and defined by continually evolving epochs. For<br />

present-day architects, a dire challenge lies in the time and context<br />

of the world, disrupted and reshaped by the ongoing health crisis,<br />

environmental issues, economic dynamism, and digital progress. In<br />

the future, how will these factors influence the architectural design<br />

of our time? How will the Thai architects of 2<strong>02</strong>0 communicate<br />

through urban spaces, cities, localities, the world, and people in the<br />

future that lies ahead through the skins of buildings they design?<br />

All of these are thought-provoking questions worth contemplating.


19<br />

Project: PNK Building<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

205 Moo 2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com<br />

205 Moo 2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com


2<strong>02</strong>1<br />

JUL -AUG<br />

MORE THAN<br />

SKIN<br />

around<br />

2<strong>02</strong>0 National<br />

Artist in Visual<br />

Arts 24<br />

Silpathorn<br />

Award Winner<br />

2<strong>02</strong>1 25<br />

The results of<br />

the <strong>ASA</strong> Cloud<br />

Center Songkhla<br />

Competition 26<br />

Serpentine<br />

Pavilion 2<strong>02</strong>1<br />

Designed by<br />

Counterspace 28<br />

Radical<br />

Architecture of<br />

the Future 32<br />

speacial section<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural<br />

Design Awards<br />

35<br />

theme<br />

More Than Skin<br />

In architecture, the skin<br />

or shell serves not only to<br />

protect what’s inside but<br />

as an interface that allows<br />

a building to communicate<br />

with the outside world. It<br />

acts as a sensory receptor<br />

that perceives and conveys<br />

information, transfers heat,<br />

humidity, energy and at<br />

times even contributes as a<br />

supporting composition.<br />

58<br />

theme / review<br />

Breathing In<br />

Breathing Out<br />

In this Buddhist meditation<br />

retreat, DECA Atelier has not<br />

only masterfully introduced<br />

natural ventilation to the<br />

building but also created a<br />

visually distinctive design with<br />

openings and enclosures of<br />

varying sizes and patterns.<br />

They have skilfully achieved<br />

this by using ventilation blocks<br />

specifically designed and<br />

manufactured for the project.<br />

70<br />

Photo: Beer Singnoi, Fotomomo<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

theme / review<br />

Even a Brick<br />

Wants To Be<br />

Something<br />

In this project, a modest<br />

material like bricks are<br />

presented in a universal design<br />

language, meticulously uttered<br />

to express AUAA’s cultural<br />

legacy, connections, and<br />

sentiments it has formed with<br />

Thai people over the years.<br />

82<br />

Photo: Wideopen Studio<br />

theme / review<br />

Perfectly<br />

Im-perfect<br />

At the new Boccia National<br />

Field Training Center, the design<br />

team of pbm has interpreted<br />

the concept of simplicity and<br />

imperfection into the façade by<br />

applying the shape of a scalene<br />

triangle.<br />

94<br />

theme / review<br />

One Screen,<br />

Many Views<br />

IDIN Architects has designed<br />

a mixed-use building with an<br />

eye-catching façade, using<br />

glass and aluminum panels<br />

to conceal different functional<br />

spaces and to create more<br />

diversified perspectives.<br />

104<br />

Photo: Yamastudio<br />

Photo: Ketsiree Wongwan


theme / review<br />

Writing a<br />

Modern History<br />

EKAR Architects has<br />

refurbished the 43-year old<br />

Pilot pen headquarters on<br />

Silom Road by reflecting the<br />

new brand image through a<br />

visually distinctive Façade.<br />

114<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

theme / review<br />

It’s a Living<br />

Thing<br />

Having taken inspiration<br />

from the traditional tropical<br />

architecture of the region, the<br />

design of this factory in Ho Chi<br />

Minh City was developed with<br />

a porous façade devised to act<br />

as a lush green “skin”.<br />

126<br />

Photo courtesy of G8A Architecture & Urban Planning<br />

Photo: www.vector-foiltec.com<br />

Photo: www.architectkidd.com<br />

material<br />

Functionality,<br />

Sensuality And<br />

Aesthetics<br />

Some ideas on recent<br />

materials for architecture<br />

and building skin.<br />

136<br />

Trespa<br />

Meteon 146<br />

ETFE 147<br />

Kriskadecor 149<br />

SCG DECOR<br />

Modeena Series<br />

150<br />

professional<br />

Dhamarchitects<br />

152<br />

revisit<br />

MOre MOdern<br />

Architecture in<br />

More-Kor<br />

The exhibition “MOre MOdern<br />

Architecture in More-Kor” at<br />

TCDC Khon Kaen took us to<br />

look back at the Modernist<br />

ideas of architectural design<br />

and construction emphasizing<br />

the importance of preserving<br />

the cultural heritage related to<br />

this movement.<br />

156<br />

chat<br />

Nives<br />

Vaseenon<br />

<strong>ASA</strong> spoke with Nives Vaseenon,<br />

the Vice President of the Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage on the<br />

actions taken by the <strong>ASA</strong> and the<br />

possible future of architectural<br />

practice after COVID-19.<br />

164<br />

the last page<br />

168


24<br />

around<br />

2<strong>02</strong>0<br />

National Artist<br />

in Visual Arts<br />

(Contemporary Architecture)<br />

คุณประภากร วทานยกุล อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ประจำาปี 2545-2547 และกรรมการผู้จัดการ บริษัท<br />

สถาปนิก 49 จำากัด ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ เป็นศิลปิน<br />

แห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ประจำา<br />

ปีพุทธศักราช 2563 โดยมีการประกาศผลไปเมื่อวันศิลปิน<br />

แห่งชาติ ปี 2564 ที่ผ่านมา คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ง<br />

ชาติได้เผยแพร่คำาประกาศเกียรติคุณไว้ว่า<br />

“นายประภากร วทานยกุล เป็ นสถาปนิกผู้สร้างสรรค์<br />

และมีความรักในอาชีพสถาปนิก โดยมีหลักคิดในการ<br />

ทำางานออกแบบที่เข้าถึงในรายละเอียดของทุกๆ ส่วน<br />

ของงาน มีแนวคิดว่างานสถาปั ตยกรรมที่สมบูรณ์<br />

จะต้องเป็ นการออกแบบร่วมกันของงานทุกศาสตร์<br />

ไม่แตกต่างด้วยขนาด ประเภทของงาน และต้องคำานึง<br />

ถึงสภาพแวดล้อม มีความกระตือรือร้นในงานออกแบบ<br />

ที่ได้ทำาทุกโครงการ มีพลังที่จะสร้างสรรค์และมีความ<br />

ตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ ไปสู่ผู้ที่จะก้าวเข้ามาในเส้น<br />

ทางของการเป็ น “ช่าง” เป็ น “สถาปนิก””<br />

จากการทำางานที่ผ่านมา คุณประภากรได้สร้างสรรค์<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่โดดเด่นและเป็นที่จดจำาไว้หลาย<br />

ผลงาน ทั้งในและต่างประเทศ เช่น บ้านสวนสงบ อาคาร<br />

บียู ไดมอนด์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือ อาคารมหิดล<br />

สิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากได้รับรางวัล<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นจากหลายสถาบัน คุณประภากรยัง<br />

เคยได้รับยกย่องให้เป็นสถาปนิกดีเด่นด้านวิชาชีพจาก<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็น<br />

นิสิตเก่าดีเด่นจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัยอีกด้วย<br />

Mr. Prabhakorn Vadanyakul, the former<br />

President of the Association of Siamese Architects<br />

(20<strong>02</strong>-2004) and current Managing Director of<br />

A49 Company Limited has been given the honor as<br />

2<strong>02</strong>0’s National Artist in Visual Arts (Contemporary<br />

Architecture). The announcement was made by the<br />

Board of National Culture on the National Artist Day<br />

2<strong>02</strong>1 and includes the following details.<br />

“Mr. Prabhakorn Vadanyakul is an architect<br />

with incredible creativity and passion. His<br />

work and design philosophy dives deep<br />

into every detail of architectural creation.<br />

By upholding the belief that a perfect<br />

work of architecture is a design that can<br />

integrate any possible discipline, regardless<br />

of scales or typologies, while also being<br />

environmentally conscious. He is the type of<br />

architect who is always eager to work on all<br />

types of projects, with the creative drive and<br />

determination to pass on his knowledge and<br />

experiences to whoever chooses the path of<br />

a ‘builder’ or an ‘architect’.”<br />

Throughout his career, he has created a number of<br />

distinctive works of contemporary architecture, both<br />

in and outside of Thailand, from Baan Suan Sa-nghob<br />

to Bangkok University’s Diamond project, and Prince<br />

Mahidol Hall at Mahidol University. Besides his long<br />

list of accolades and achievements, Mr. Prabhakorn<br />

Vadanyakul has been chosen as an Architect with<br />

Distinctive Professional Achievements by the Association<br />

of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

and Best Alumni Award by the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University.


้<br />

2<strong>02</strong>0 NATIONAL ARTIST IN VISUAL ARTS / SILPATHORN AWARD WINNER 2<strong>02</strong>1<br />

25<br />

Silpathorn Award<br />

Winner 2<strong>02</strong>1<br />

รางวัล “ศิลปาธร” ตามคำานิยามคือ ผู้ทรงหรือผู้รักษา<br />

ไว้ซึ่งศิลปะ เป็นรางวัลที่อยู่ภายใต้โครงการคัดเลือกศิลปิน<br />

ร่วมสมัยดีเด่นในความรับผิดชอบของสำานักงานศิลป<br />

วัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริม<br />

สนับสนุน ยกย่องศิลปินรุ่นกลางที่ทุ่มเทจิตใจในการสร้าง<br />

สรรค์งานศิลปะที่มีคุณภาพออกสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมี<br />

การกำาหนดเพิ่มสาขาสถาปัตยกรรม เป็นอีกหนึ่งรางวัล<br />

ตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา และสถาปนิกผู้ได้รับรางวัล<br />

ศิลปาธร ประจำาปี พ.ศ. 2564 นี้ คือ ศาสตราจารย์<br />

ดร.ต้นข้าว ปาณินท์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งในปัจจุบันยังปฏิบัติหน้าที่เป็น<br />

อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ประจำาปี 2563-2565<br />

อีกด้วย จากผลงานวิชาการผ่านบทความและหนังสือหลาย<br />

เล่ม ตลอดจนการถ่ายทอดความเรียบง่ายแต่ละเอียดอ่อน<br />

ผ่านงานออกแบบสถาปัตยกรรมหลายชิ้นภายในนามของ<br />

Research Studio Panin ไม่ว่าจะเป็นงานที่พักอาศัย<br />

หลายหลัง หรืออาคารสาธารณะอย่าง ศูนย์การเรียนรู<br />

เมืองฉะเชิงเทรา (Knowledge Center of Chachoengsao)<br />

โรงแรม PRY1 เขาใหญ่แกรนด์วิว หรือโรงพยาบาล<br />

กาฬสินธุ์-ธนบุรี (Kalasin Thonburi Hospital) ที่ต่าง<br />

สะท้อนความเป็นธรรมชาติของการอยู่อย่างไทย ซึ่งนับได้<br />

ว่าเป็นผลงานของครูผู้จุดประกายแก่สถาปนิกรุ่นใหม่ และ<br />

มีคุณูปการกับวงการสถาปัตยกรรมร่วมสมัยอย่างยิ่ง<br />

A receiver of Silpathron Award is defined as an<br />

individual who preserves and sustains their artistic<br />

contributions. The award is held as a part of the<br />

contemporary artist selection project hosted by the<br />

Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of<br />

Culture. In order to support, encourage and celebrate<br />

the mid-career artists with continuous dedication and<br />

valuable contribution. Architecture has been added<br />

as a category of Silpathorn award since 2010.<br />

Professor Tonkao Panin, Ph.D. has been given<br />

the honor as being one of the winners of 2<strong>02</strong>1’s<br />

Silpathorn Awards (Architecture). In addition to her<br />

role and responsibility as a professional architect<br />

and professor at the Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University, Professor Tonkao is currently<br />

the Vice President of the Association of Siamese<br />

Architects under Royal Patronage (2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2). Her<br />

contributions range from academic publications to<br />

the simplicity and delicateness of her architecture<br />

created under the name Research Studio Panin.<br />

Ranging from residential projects to public buildings<br />

such as Knowledge Center of Chachoengsao,<br />

PRY1 Hotel Khao Yai Grand View Hotel, and Kalasin<br />

Thonburi Hospital. Her works and their reflection<br />

of the intrinsic natures of the Thai way of life have<br />

become a valuable lesson for younger generation<br />

architects, proving her with the status of a true<br />

benefactor of Thailand’s contemporary architecture.


26<br />

around<br />

Results of the <strong>ASA</strong><br />

Cloud Center Songkhla<br />

Competition<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ต้องการ<br />

พัฒนาศูนย์อาษาคลาวด์เมืองสงขลา เพื่อใช้เป็นศูนย์รวม<br />

ของผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมรวมทั้งเป็นแหล่งเผย<br />

แพร่ความรู้ทางสถาปัตยกรรมแก่ผู้ที่สนใจในเมืองได้เข้า<br />

มาใช้งาน ด้วยการปรับปรุงอาคารเก่าสามคูหาในย่านถนน<br />

นครนอก ซึ่งเป็นอาคารในเขตเมืองเก่าสงขลาที่มีลักษณะ<br />

เป็นอาคารเรือนแถวรูปแบบเรียบง่ายโครงสร้างปูนและไม้<br />

ความสูงหนึ่งชั้น จึงจัดเป็นโครงการประกวดแนวความคิด<br />

ในการออกแบบปรับปรุงอาคารขึ้นเพื่อนำาเสนอเป็นอาคาร<br />

ตัวอย่างที่ส่งเสริมการอนุรักษ์คุณค่าของเมืองเก่าสงขลา<br />

สู่เมืองมรดกโลก และได้มีการประกาศผลการตัดสินรอบ<br />

สุดท้ายไปเมื่อช่วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา<br />

ผลงานที่ชนะเลิศอันดับ 1 เป็นผลงานของ คุณปกรณ์<br />

เนมิตรมานสุข ในชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD- THE<br />

EXISTING VALUE” ด้วยการออกแบบที่ขับเน้นเสน่ห์ของ<br />

บ้านจีนสามห้องที่มีจังหวะของช่องประตูหน้าต่างโบราณ<br />

ที่งดงาม แสดงให้เห็นถึงการใช้อาคารที่เคยแยกเป็นสามเจ้า<br />

ของในอดีต ผู้ออกแบบเลือกใช้วัสดุที่สื่อถึงความสัมพันธ์<br />

ของอาคารกับบริบทเมืองเก่าทางประวัติศาสตร์ และการ<br />

จัดวางพื้นที่เก่า-ใหม่ที่ปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอยได้<br />

ทั้งภายในและภายนอกให้เกิดพื้นที่สาธารณะของย่านที่<br />

ต้อนรับผู้คนให้หลั่งไหลเข้ามาชมและเข้าใจในวิชาชีพ<br />

สถาปนิกมากขึ้น<br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เป็นผลงานออกแบบของ<br />

คุณบัณฑิตทัศน์ ทสยันไชย ในชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD<br />

O–NEGATIVE - SPACE” โดยใช้ประโยชน์ของ Open space<br />

ที่เกิดจาก Negative space ของอาคารเก่าโดยรอบ เปิดให้<br />

เป็นลานสนามหญ้าที่เรียบง่าย แต่สร้างคุณค่าและความ<br />

สง่างามด้วยมุมมองต่างๆ ให้กับอาคารโดยรอบ และได้<br />

ซ่อนความซับซ้อนของประโยชน์การใช้สอยใหม่ งานโครง-<br />

สร้าง งานระบบ รวมถึงการซ่อนกระบวนการปรับเปลี่ยน<br />

การใช้งานที่หลากหลายด้วยการใช้ผ้าใบในลักษณะต่างๆ<br />

เกิดความหมายของพื้นที่เปรียบเสมือนการแต่งตัวตาม<br />

บริบทพหุวัฒนธรรมที่หลากหลายในพื้นที่<br />

An initiative of the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage is The <strong>ASA</strong> Cloud Center<br />

Songkhla Competition with an aim to develop an<br />

information center in Songkhla. In order to serve as<br />

a center for local professional architects as well as<br />

a resource of knowledge for the general public.<br />

The brief given was to renovate the three-block old<br />

building on Nakorn Nok Road which is a simple<br />

single storey building, built with brick and wood, in<br />

the old city area of Songkhla. The idea behind the<br />

project also aims to promote and conserve the<br />

value of the city. The result was recently announced<br />

in May.<br />

Pakorn Nemitmansuk’s design submission won the<br />

first prize, with the title of “<strong>ASA</strong> CLOUD- THE EX-<br />

ISTING VALUE”. The scheme emphasizes the charm<br />

of a three-room Chinese house with a composition<br />

created by the rhythmical use of beautiful ancient<br />

doors and windows. These architectural elements<br />

also represent the building’s past and former use<br />

that was previously occupied by three owners. The<br />

materials proposed in this winning scheme conveys<br />

the relationship of the building and the context of<br />

the historical old town. The old and new spaces,<br />

both from the perspective of the exterior and interior<br />

can be flexibly used to create an attractive public<br />

space in the neighborhood, a new welcoming space<br />

for the public to learn more about architects, and<br />

architectural practice.<br />

Bunthitat Tasayanchai is the first runner up who<br />

created a design proposal entitled “<strong>ASA</strong> CLOUD<br />

O-NEGATIVE - SPACE” . The designer employed<br />

the beneficial aspect of the of open space formed<br />

by the negative space of the old buildings around<br />

and turned it into a simple courtyard while creating<br />

value and elegance in different perspectives and<br />

angles from the surrounding buildings. The scheme<br />

also sophisticatedly creates the complexity of new<br />

usability, in its structural and system work, as well as


RESULTS OF THE <strong>ASA</strong> CLOUD CENTER SONGKHLA COMPETITION<br />

27<br />

1<br />

2<br />

3<br />

01<br />

ผลงานที่ชนะเลิศอันดับ 1<br />

เป็นผลงานของ คุณปกรณ์<br />

เนมิตรมานสุข ในชื่อผลงาน<br />

ว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD - THE<br />

EXISTING VALUE”<br />

<strong>02</strong><br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับ<br />

ที่ 1 เป็นผลงานออกแบบ<br />

ของ คุณบัณฑิตทัศน์<br />

ทสยันไชย ในชื่อผลงาน<br />

ว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD O–<br />

NEGATIVE - SPACE”<br />

03<br />

ผลงานรองชนะเลิศ<br />

อันดับที่ 2 เป็นผลงาน<br />

ออกแบบของ คุณธนวัฒน์<br />

สร้อยนิติรัตน์ และคุณ<br />

สุทธิพร ทีปะปาล โดย<br />

ใช้ชื่อผลงาน ว่า “<strong>ASA</strong><br />

CLOUD- อนุรักษ์ ศึกษา<br />

ต่อยอด”<br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เป็นผลงานออกแบบของ<br />

คุณธนวัฒน์ สร้อยนิติรัตน์ และคุณสุทธิพร ทีปะปาล โดย<br />

ใช้ชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD- อนุรักษ์ ศึกษา ต่อยอด”<br />

ที่พยายามเก็บรักษาทั้งรายละเอียดรูปแบบต่างๆ ของ<br />

อาคารและวัสดุไว้เพื่อการศึกษาแนวความคิดและภูมิปัญญา<br />

ของสถาปัตยกรรมยุคเก่า โดยนำาความรู้เหล่านี้ผนวกเข้า<br />

กับการอนุรักษ์เพื่อจัดแสดงให้บุคคลทั่วไป สามารถเข้าชม<br />

ได้ในส่วนนิทรรศการ เพื่อนำาไปสู่การต่อยอดให้เป็นอาคาร<br />

ตัวอย่างในการต่อเติมและซ่อมแซมอาคารในเขตชุมชน<br />

เมืองเก่าสงขลาเพื่อการอนุรักษ์ต่อไป<br />

hiding the process of modifying various applications<br />

by using the canvas in various creative ways. In turn,<br />

it helps create to create a meaning of the place,<br />

similar to dressing traditionally according to the<br />

multicultural context of the area.<br />

The second runner-up is “<strong>ASA</strong> CLOUD- Preserve,<br />

Study, Develop” - a design proposal by Thanawat<br />

Soinitirat and Suthiporn Teepapal - with an idea<br />

to preserve all the parts, details, and materials of<br />

the existing building. They chose to preserve these<br />

elements as a valuable resource to learn and appreciate<br />

the wisdom of traditional architecture. In that<br />

sense, the building will be an exhibition space and<br />

the architecture-on-display itself for the local people<br />

and visitors, further from the exhibition inside. This<br />

idea leads to possible future developments as a<br />

model for the addition and restoration of other<br />

buildings in the old town of Songkhla.


28<br />

1<br />

Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace, Exterior View © Counterspace Photo: Iwan Baan


Serpentine<br />

Pavilion 2<strong>02</strong>1<br />

Designed by<br />

Counterspace<br />

around<br />

29<br />

Sumayya Vally of Counterspace. Photographed by Justice<br />

Mukheli in Johannesburg, 2<strong>02</strong>0. © Counterspace<br />

เป็นครั้งแรกในการทำางานของ Serpentine Gallery ที ่เปิดตัว<br />

Serpentine Pavilion มากกว่าหนึ่งแห่งนอกเหนือจากอาคาร<br />

หลักในสวน Kensington Gardens และเป็นครั้งแรกเช่นกัน<br />

ที่มีกลุ่มสถาปนิกหญิงอายุน้อยที่สุดเป็นผู้ออกแบบ ผู้ก่อตั้ง<br />

สตูดิโอ Counter space จากเมืองโจฮันเนสเบิร์กในแอฟริกาใต้<br />

Sumayya Vally เองยังเป็นสถาปนิกเพียงคนเดียวในรายชื ่อ<br />

Time100 Next ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้นำาแห่งการ<br />

เปลี่ยนแปลงในอนาคตของปี 2<strong>02</strong>1<br />

ผลงานการออกแบบ Serpentine Pavilion ของ Counter<br />

Space นี้อาจเรียกได้ว่าสะท้อนแนวคิดจากมุมมองพหุนิยม<br />

(Pluralism) และให้ความสำาคัญกับ “ความเป็นอื่น” โดย<br />

นำาเสนอแนวคิดการออกแบบ Serpentine Pavilion ในฐานะ<br />

พื้นที่เพื่อการพบปะของทุกคนที่นอกเหนือจากคนในแวดวง<br />

วิชาชีพ แต่พยายามสื่อถึงการมีตัวตนอยู่ของชุมชนคน<br />

พลัดถิ่น (Diaspora Communities) จากเมืองอาณานิคม<br />

ของอังกฤษเอง หรือผู ้อพยพโยกย้ายเข้ามาตั ้งถิ ่นฐานในเมือง<br />

ไปพร้อมๆกับสถานะของผู้เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมสร้าง<br />

ประวัติศาสตร์สังคมพหุวัฒนธรรมในลอนดอน ซึ่งนอกจาก<br />

อาคารหลักในสวนแล้ว ความพิเศษของการออกแบบใน<br />

ปีนี้คือสถาปนิกและผู้จัดงานยังริเริ่มการกระจายวางงาน<br />

ออกแบบชิ้นย่อยอีก 4 ชิ้น ไปติดตั้งในพื้นที่พบปะสำ าคัญของ<br />

ย่านชุมชนชายขอบในลอนดอนและองค์กรภาคีเครือข่าย<br />

โดยที่ชิ้นส่วนผลงานทั้งหมดสามารถนำามาประกอบร่าง<br />

รวมกันได้ในภายหลัง<br />

For the first time since the Serpentine Gallery began<br />

its operations, the Serpentine Pavilion Initiative that<br />

the commission has extended to the other areas of<br />

the city outside the Kensington Gardens. Another<br />

first to be celebrated is that the Pavilion was designed<br />

by the youngest female architect Sumayya<br />

Vally who leads the Johannesburg practice- Counterspace.<br />

Vally is the only architect who has been<br />

selected in TIME100 Next List honoree of the<br />

leaders who are shaping the future in 2<strong>02</strong>1.<br />

Counterspace’s Serpentine Pavilion design could<br />

be described as a reflection of “Pluralism” with a<br />

focus on “Otherness” by designing the Pavilion as<br />

a “gathering space” for all apart from the professionals.<br />

It is also importantly trying to convey the<br />

existence of the diaspora communities from the<br />

colony itself or immigrants migrating to settle in the<br />

city along with the status of the participants who<br />

are co-creating a history of a multicultural society<br />

in London. Besides the main pavilion building in the<br />

garden, what is special this year is that the commission<br />

extends to the other areas of the city, as<br />

four fragments of the Pavilion are installed in key<br />

gathering spaces in marginalized London neighborhoods<br />

and partner organizations, all of which can<br />

be assembled together later.


30<br />

around<br />

ส่วนของอาคารหลักสื่อถึงการประกอบร่างจากชิ้นส่วนอาคาร<br />

ที่พิมพ์แบบมาจากส่วนต่างๆ ของพื้นที่พบปะของชุมชน<br />

ในรูปแบบต่างๆทั่วลอนดอน ทั้งสุเหร่า Fazl Mosque และ<br />

East London Mosque ร้านหนังสือชุมชน Centerprise ใน<br />

Hackney ร้านอาหาร The Mangrove และ Notting Hill<br />

Carnival หรือ The Four Aces Club ที่ Dalston Lane การ<br />

รวมตัวจากองค์ประกอบหลายชิ้นส่วนทำาให้เกิดมุมและพื้นที่<br />

นั่งในรูปแบบต่างๆ หลากหลายที่เชื่อมต่อกันเกิดเป็นพื้นผิวที่<br />

ต่อเนื่องไปตลอดทั้งหลังของอาคาร ในขณะที่แต่ละชิ้นส่วนมี<br />

ความโดดเด่นของตัวเองด้วยความแตกต่างของเรื ่องราวที ่มา<br />

องค์ประกอบ สี หรือวัสดุ จากทั้งเหล็กและแผ่นคอร์กที่นำา<br />

กลับมาใช้ใหม่ หรือก้อนอิฐจากวัสดุธรรมชาติ แต่เมื่อมาอยู่<br />

ร่วมกันนั้นกลับเป็นส่วนเสริมของกันและกันภายในขอบเขต<br />

พื้นที่วงกลมใต้ระนาบหลังคาผืนเดียวกัน<br />

The main Pavilion represents the construction of<br />

abstract elements and details moulded from various<br />

parts of the community gathering spaces across<br />

London. This includes the Fazl Mosque and the<br />

East London Mosque, the Centerprise Community<br />

Bookstore in Hackney, The Mangrove Restaurant<br />

and Notting Hill Carnival as well as The Four Aces<br />

Club at Dalston Lane. The combination of various<br />

elements creates a variety of different angles and<br />

seating areas that connect to form a continuous<br />

surface throughout the building. While each piece<br />

is distinct with its origin story, composition, color, or<br />

material from both reclaimed steel and cork sheets<br />

or eco-bricks from natural materials, when they<br />

come together they are complementary to each<br />

other within the circular space under one roof.<br />

Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace, Interior View © Counterspace Photo: Iwan Baan


้<br />

SERPENTINE PAVILION 2<strong>02</strong>1 DESIGNED BY COUNTERSPACE<br />

31<br />

Fragment of Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace for The Tabernacle, Notting<br />

Hill © Counterspace Photo: George Darrell<br />

จากการทำางานในช่วงที่โควิด-19 ระบาดอย่างหนักใน<br />

ลอนดอนนั้น ส่งผลให้ต้องเลื่อนเวลาการเปิดให้เข้าชมอย่าง<br />

เป็นทางการมาเป็นช่วงมิถุนายนถึงตุลาคมของปี 2<strong>02</strong>1 นี<br />

ในช่วงที่ผ่านมาจึงเป็นโอกาสที่สถาปนิกได้ทำ างานศึกษาวิจัย<br />

ในลอนดอนตามสถานที่ต่างๆ รวมทั้งร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม<br />

ชุมชน และการค้นพบสถานที่ที่ถูกลืมเลือน สำ าหรับ Sumayya<br />

Vally นั้นแม้จะแทบไม่มีผลงานการสร้างจริง แต่สตูดิโอค่อน<br />

ข้างเน้นการทำางานวิจัยออกแบบร่วมกับศิลปิน กลุ ่มนักแสดง<br />

จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่บอกเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์<br />

ในมุมที่ไม่เคยถูกถ่ายทอดมาก่อน โดยเฉพาะเรื่องราว<br />

น่าสะเทือนใจของกลุ ่มแรงงานเหมืองผิดกฎหมายหรือกลุ ่ม<br />

คนงานที่ต้องหลบซ่อนตัวในช่วงยุคการแบ่งแยกเชื้อชาติ<br />

ของแอฟริกาใต้ (Apartheid era) ที่ถูกนำามาเล่าเพียงผิวเผิน<br />

และไม่เคยมีการเยียวยาอย่างจริงจัง การศึกษาค้นคว้าทาง<br />

ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ผ่านงานสถาปัตยกรรมไม่ว่า<br />

จะในเมืองโจฮันเนสเบิร์กหรือลอนดอนเอง แล้วถ่ายทอดออก<br />

มาในมุมอื ่นๆนอกเหนือจากประวัติศาสตร์กระแสหลักของ<br />

Counter Space จึงมีความน่าสนใจในรูปแบบของ “การสร้าง<br />

ที่แตกต่าง” อย่างที่ผู้ออกแบบตั้งใจ<br />

A delay of the official opening to June- October this<br />

year is due to the fact that COVID-19 hit London<br />

heavily during the working process. But it was a<br />

good opportunity for Vally to conduct research in<br />

London at various locations as well as participating<br />

in activities with community groups and discovering<br />

forgotten places. As for Sumayya Vally, she is the<br />

founder who directs Counterspace, the studio with<br />

hardly any built work. Much of their work emerges<br />

from research and interdisciplinary art-based creatives,<br />

undertaking predominantly creative projects<br />

that unfold historical stories in a never-before-seen<br />

angle. One of these are the heartbreaking tales<br />

of illegal miners, and workers hiding themselves<br />

during South Africa’s Apartheid era, the story which<br />

was superficially told and has never been seriously<br />

addressed. What is truly interesting about Counterspace<br />

is that the studio has conducted historical<br />

and archeological studies through architecture,<br />

whether in Johannesburg or London, and then represented<br />

it in different perspectives other than what is<br />

found in mainstream history. It is a form of “to build<br />

differently” as the architect intended.<br />

serpentinegalleries.org


32<br />

around<br />

Radical<br />

Architecture<br />

of the Future<br />

by Beatrice Galilee<br />

เมื่อภัณฑารักษ์และนักวิจารณ์ทางสถาปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

อย่าง Beatrice Galilee ตั้งคำาถามถึงบทบาทของสถาปัตย-<br />

กรรมในอนาคต ความเป็นไปได้ของทิศทางงานออกแบบที่<br />

เราอาจคาดไม่ถึง และความสุดโต่งระดับไหนที่เรายอมรับ<br />

ได้ไว้ในหนังสือเล่มล่าสุด Radical Architecture of the<br />

Future โดยสำานักพิมพ์ Phaidon ในฐานะผู้เขียน Beatrice<br />

จึงชวนสำารวจความเคลื่อนไหวจากผลงานกว่า 79 ชิ้น ใน<br />

ช่วงรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาที่อาจเรียกได้ว่าส่วนใหญ่<br />

อยู่นอกเหนือจากสถาปัตยกรรมกระแสหลัก ปรากฏอยู่<br />

ทั้งการสร้างจริงหรือผลงานเชิงความคิดและการทดลอง<br />

ที่อาจไม่ได้สร้างจากหลากหลายแหล่ง และก้าวข้ามไป<br />

ถึงผลงานศิลปะ การออกแบบแอปพลิเคชัน เกม และ<br />

แอนิเมชัน ภาพยนตร์ งานเขียนเชิงวิชาการ รวมไปถึง<br />

การทดลองด้านอวกาศ<br />

In her latest book, Radical Architecture of the<br />

Future, curator and architecture critic Beatrice<br />

Galilee, questions the role of future architecture,<br />

possibilities of new design applications beyond<br />

current imagination and the most radical take<br />

we could accept. As author, Beatrice explores<br />

architectural movements from more than seventynine<br />

architectural works from the past twenty<br />

years, the majority of which could be considered<br />

as non-mainstream. It consists of a range of works<br />

that exist in the real world as well as conceptual<br />

or experimentalones. Works come from various<br />

sources including applications in art, video games,<br />

animation design, films, academic works and even<br />

space experimentation.


RADICAL ARCHITECTURE OF THE FUTURE BY BEATRICE GALILEE<br />

33<br />

Galilee จัดหมวดหมู่การนำาเสนอในหนังสือออกเป็น 5 บท<br />

ประกอบด้วย Visionaries นำาเสนอตัวอย่างผลงานเมื่อ<br />

กระบวนการทำางานของนักออกแบบร่วมกับหลายสาขา<br />

วิชาชีพหรือจากมุมมองอื่นจะทำาให้เห็นถึงบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมที่สร้างผลกระทบต่อสังคมได้มากขึ้นเช่น<br />

ผลงานของ Rotor DC ในเบลเยี่ยมหรืองาน Design Earth<br />

ของ El Hadi Jazalry และ Rania Ghosn ส่วนในบท<br />

Insiders เป็นการนำาเสนอผลงานของสถาปนิกที่มีชื่อเสียง<br />

อย่าง Heatherwick Studio, Elemental หรือ Amateur<br />

Architecture Studio และ Studio Gang ที่รูปธรรมของ<br />

งานสถาปัตยกรรมพยายามสร้างความหมายนอกเหนือ<br />

ไปจากลายเซ็นของผู้ออกแบบ แต่ส่งผลต่อคนและสภาพ<br />

แวดล้อมในบริบทพื้นที่ที่ผลงานนั้นๆ ตั้งอยู่ บท Radicals<br />

ชวนมองย้อนกลับมายังสถาปัตยกรรมและปฏิบัติการเชิง<br />

พื้นที่ผ่านสายตาของศาสตร์แขนงอื่นๆเช่นผลงานของ<br />

ศิลปินอย่าง Cao Fei, Mishka Henner หรือฉากทัศน์เมือง<br />

Wakanda ในภาพยนตร์ Black Pantherโดย Hannah<br />

Beachler ในขณะที่ Breakthroughs เน้นกระบวนการ<br />

ทำางานของสถาปนิกรุ่นใหม่ที่ค้นคว้าทดลองกับวัสดุต่างๆ<br />

ร่วมกับบริบททั ้งในเมืองและชนบทอย่าง SO-IL, Assemble,<br />

Anna Heringer, Frida Escobedo หรือ Ensamble Studio<br />

เพื่อค้นหาหนทางในการสร้างแบบใหม่ๆ ที่น่าสนใจ พร้อม<br />

ตอบคำาถามทางสิ่งแวดล้อมหรือเศรษฐกิจไปพร้อมกันก่อน<br />

จะปิดท้ายด้วยผลงานของนักคิดทฤษฎีและนักทดลองจาก<br />

สาขาวิชาชีพอื่นๆอย่าง Donna Haraway, David OReilly<br />

หรือ Space Enabled ไว้ในบทสุดท้าย Masterminds<br />

ความหลากหลายของผลงานที่รวบรวมไว้ในหนังสือ<br />

เล่มนี้จึงน่าสนใจสำาหรับการสร้างบทสนทนาปลายเปิด<br />

และตั้งคำาถามถึงความน่าจะเป็นของสถาปัตยกรรมและ<br />

ปฏิบัติการเชิงพื้นที่ในอนาคตโดยที่ไม่จำากัดอยู่เฉพาะ<br />

แวดวงสถาปนิกเท่านั้นแต่รวมถึงผู้คนในสาขาอาชีพ<br />

อื่นๆ ที่เป็นทั้งผู้ร่วมสร้างและใช้ประโยชน์จากสิ่งแวด-<br />

ล้อมสรรค์สร้างรอบตัวเรา<br />

The book is divided into five chapters, each one<br />

delving into and discussing different categories<br />

of works. The first, ‘Visionaries’, defines design<br />

processes and the collaboration between designers<br />

and experts from various disciplines offering<br />

differing perspectives that provides for a broader<br />

range of view on the impact that architecture has<br />

on society. Works shown in this section include<br />

Rotor DC’s work in Belgium and Design Earth by<br />

El Hadi Jazalry and Rania Ghosn.Chapter two,<br />

‘Insiders’, includes works of famous architects and<br />

studios such as Heatherwick Studio, Elemental,<br />

Amateur Architecture Studio, and Studio Gang.<br />

The application of architectural abstract form here<br />

attempts to not only creates meaning representing<br />

the designers’ signature but extends further into the<br />

realms that affect individuals and their environments<br />

in the context in which they operate. Chapter<br />

three ‘Radicals’, invites the reader to look back at<br />

architecture and spatial design practices through<br />

the lenses of other disciplines. Works here include<br />

those produced by artists Cao Fei and Mishka<br />

Henner, as well as the urban scenerio of ‘Wakanda’<br />

from the film ‘Black Panther’ produced by Hannah<br />

Beachler. The fourth - Breakthroughs’ - emphasize<br />

the working process of a new generation of<br />

architects and design studios such as SO-IL,<br />

Assemble, Anna Heringer, Frida Escobedo and<br />

Ensemble studio. Here they clearly experiment<br />

with the use and application of different materials<br />

in both urban and rural contexts seeking new<br />

and interesting methods of construction while<br />

simultaneously answering questions regarding<br />

the built environment and impact on the economy.<br />

‘Masterminds’, is the final chapter and deals with<br />

works of theorists and experimenters such as<br />

Donna Haraway, David OReilly, and Space Enabled<br />

involving themselves in other related subject<br />

matters.<br />

The diversity collected in this book opens the mind<br />

to interesting open-ended discussion that questions<br />

the validity of architecture and spatial design<br />

practices today and the perceived possibilities of<br />

design applications and their role in the future. This<br />

is not only significant for architects and designers,<br />

but also for those in other subject areas who are<br />

both co-creators and co-benefactors of our built<br />

environment.<br />

Phaidon Press (January 6, 2<strong>02</strong>1)<br />

Hardback, 240 pages 270 x 205 mm<br />

ISBN: 9781838661236<br />

phaidon.com


34<br />

ORDER<br />

NOW!


2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural<br />

Design Awards<br />

35<br />

Objectives<br />

To promote and encourage the creation of excellent architecture<br />

that is valuable and beneficial to people, the environment,<br />

and society.<br />

To honor and recognize any architecture firm, any freelance<br />

architect, anyone who is not a registered architect but<br />

allowed to do the work by the regulation, all the substantial<br />

architects who worked on the project, and all other design<br />

consultants involving in creating the project. (An architecture<br />

derives from an architect’s creative idea and the participation<br />

of anyone who assisted her/him, so these people should<br />

get credits for the success.)<br />

To publicize the creation of excellent architecture to enhance<br />

the public knowledge, understanding, and appreciation of<br />

the value and benefit of that creation which impacts the<br />

quality of life.<br />

Project Eligibility<br />

- The project must be designed and submitted by any registered<br />

architect or registered architectural firm in Thailand<br />

or anyone who is not a registered architect but allowed to do<br />

the work by the regulation.<br />

- The project can be in Thailand or abroad.<br />

- The built project must be according to the building regulations.<br />

(As an organization under Royal Patronage, the <strong>ASA</strong><br />

must support only the lawful deeds and matters.)<br />

- The project must complete before the date on which the<br />

award selection process starts.<br />

- The project must have never been submitted for the <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design Awards. (As an organization under<br />

Royal Patronage, the <strong>ASA</strong> must respect the invited Jury<br />

Panel’s decision and strict to it permanently, the Architects<br />

or anyone who joins its activities must also follow this ethic.)<br />

- The project must have the owner’s permission to be<br />

submitted.<br />

- The project must credit every substantial contributor:<br />

the architecture firm or the freelance architect, substantial<br />

architects in the team (if any), and other design consultants.<br />

(An architecture derives from an architect’s creative idea and<br />

the collaboration of anyone in the team, so all these people<br />

should get credits for the success.)<br />

Jury Panel:<br />

Associate Professor Dr. Tanit Charoenpong<br />

Pisit Rojanavanich<br />

Suthit Wangrungarun<br />

Associate Professor Dr. M.L. Piyalada Thaveeprungsriporn<br />

Associate Professor Dr. Atch Sreshthaputra DGNB, TREES-F<br />

Jury Panel Main Judging Criteria<br />

- Creativity and originality in design.<br />

- Quality of form, space, and convenience of uses.<br />

- Response to the climate and the spirit of the place<br />

and its people.<br />

- Environmental sustainability.<br />

- Inspiration to the public and the design profession.<br />

Awards<br />

Awards Category<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Gold Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Silver Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Bronze Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Commended Award<br />

for The Project with Appealing Aspects<br />

Awards Organizing Committee<br />

Chairperson<br />

Metee Rasameevijitpisal<br />

Committee<br />

Dr. Attayanan Jitrojanaruk<br />

Natjaporn Kosalanun<br />

Contact Person<br />

Nawamin Trabutr<br />

www.asa.or.th/asa-awards/<br />

2<strong>02</strong>0-asa-architectural-design-awards/


36<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Gold Award<br />

Office<br />

Inter Crop Group Building<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Stu D/O Architects<br />

Design Architects:<br />

Chanasit Cholasuek<br />

Apichart Srirojanapinyo<br />

Supachart Boontang<br />

Patompong Songpracha<br />

Jury Comment<br />

โดยทฤษฎีแล้วที่ตั้งอาคารแต่ละแห่งมีคุณลักษณะเฉพาะตัวในแง่ของบริบท<br />

ของเมืองและบริบทเชิงสถาปัตยกรรม รวมทั้งสภาพภูมิอากาศ แสง เงา<br />

เสียง และทิศทางลม เมื่อพิจารณาสิ่งเหล่านี้สถาปนิกก็มักจะพบแบบแผนบาง<br />

ประการที่จะนำาไปสู่รูปทรงอาคารต่อไป<br />

อาจกล่าวได้ว่าอาคารสำานักงาน Inter Crop เป็นผลงานที่สะท้อนแนวคิดดัง<br />

กล่าวอย่างลงตัว เนื่องจากธุรกิจหลักของบริษัทคือผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร<br />

สถาปนิกจึงได้นำารูปแบบของนาขั้นบันไดมาใช้เทียบแทนในการสร้างรูปทรง<br />

ทางสถาปัตยกรรม กล่าวคือแทนที่อาคารจะเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่มีผิวผนัง<br />

ต่อเนื่องเป็นระนาบขนาดใหญ่อย่างอาคารสำานักงานที่พบได้ทั่วไป สถาปนิก<br />

ใช้แนวคิดนาขั้นบันไดมาแตกมวลอาคารเป็นชั้นๆ ยักเยื้องกัน การดึงมวล<br />

อาคารแต่ละชั้นให้เยื้องเหลื่อมกันนี้เองนอกจากจะสะท้อนความต้องการพื้นที่<br />

ใช้สอยที่แตกต่างกันไปในแต่ละชั้นแล้ว ยังทำาให้เกิดพื้นที่ภายนอกในรูปของ<br />

ชาน ระเบียง และสวน ซึ่งช่วยเสริมบรรยากาศและสุขภาวะของการทำางาน<br />

และยังเกิดเป็นส่วนยื่นที่ช่วยบังแดดให้กับอาคารบางส่วนได้อีกด้วย นอกจาก<br />

นี้ การสร้างมวลอาคารที่แยกย่อยยักเยื้องกันนี้ยังทำาให้ผสานเข้ากันได้อย่างดี<br />

กับบริบทของชุมชนพักอาศัยโดยรอบ เป็นการออกแบบที่แสดงการคำานึงถึง<br />

ความเชื่อมต่อกับบริบทเมือง แต่ก็ยังเป็นรูปทรงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนเพียง<br />

พอจนสามารถรับรู้ได้เมื่อสัญจรผ่านด้วยความเร็วบนทางด่วนศรีรัชที่ไม่ไกล<br />

จากโครงการ<br />

ในแง่ของการจัดวางที่ว่างภายในอาคาร การเปิดช่องโล่งสูงสี่ชั้นบริเวณ<br />

โถงบันไดด้านหน้าของอาคารทำาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างชั้นทั้งในด้าน<br />

กายภาพและความรู้สึก ทำาให้รู้สึกถึงความโล่งสูงและกว้าง ส่งให้องค์ประกอบ<br />

ของระบบที่ว่างโดยรวมมีชีวิตชีวาขึ้น พื้นที่สวนที่ชานภายนอกอาคารที่เกิด<br />

จากการเหลื่อมของมวลอาคาร ทำาให้เกิดกิจกรรมภายนอกและเป็นพื้นที่ผ่อน<br />

คลายของพนักงานและส่งผลดีต่อการลดหรือควบคุมสภาวะเกาะความร้อนที่<br />

เป็นกำาลังปัญหาใหญ่ในเมืองใหญ่ของเรา นอกจากนี้ การใช้แผงกันแดดทาง<br />

ตั้งที่ออกแบบรายละเอียดโดยคำานึงถึงมุมมองจากภายในเป็นองค์ประกอบ<br />

หลักของผิวอาคาร ก็ช่วยลดทอนแสงสะท้อนจากผนังกระจกออกไปยังพื้นที่<br />

โดยรอบได้เป็นอย่างดี และยังเป็นภาพจำาที่เป็นเอกลักษณ์ของอาคารอีกด้วย<br />

Contextually, each site contains its own specific qualities of<br />

urban context, architectural context, of sun and shade, and of<br />

sound and local breeze. Seek these out, the architect will discover<br />

promises of formal order that leads to the genesis of form.<br />

Given architectural brief of an agriculture related company HQ,<br />

the architect has devised the metaphor of stepped terraces<br />

of Paddy fields. The skillful interpretation gives rise to proper<br />

scale and proportion of form. The stacking of floor plates allows<br />

different departments to occupy varying sizes of floor spaces<br />

per their specific requirements. On the outside, the building<br />

fragmented itself to blend in with the immediate context of<br />

residential precinct. The glaring effect is also greatly reduced<br />

compared to a shining curtain wall building. Looking from afar<br />

at urban scale, the amalgamation of form also manifests itself<br />

at the right scale when perceived from the moving vehicles on<br />

Sirat Expressway.<br />

In terms of space planning, 4 level atrium space tying all floors<br />

together is a big plus, space wise and livability, to the whole<br />

composition. The greening of terraces allows for outdoor activities<br />

and visual relief for office workers and contributes positively<br />

to the reduction of heat island for our metropolis.


Gold Award<br />

37


38<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Gold Award<br />

Office<br />

Rabindhorn: Arsomsilp<br />

Community and<br />

Environment Architect<br />

Office, Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environment Architect<br />

Design Architects:<br />

Theeraphon Niyom<br />

Nuntapong Yindeekhun<br />

Nathapachr Pinaksilp<br />

Jury Comment<br />

อาคารรพินทรเป็นอาคารสำานักงานซึ่งเกิดขึ้นจากการปรับการใช้สอย<br />

(adaptive reuse) อาคารยิมเนเซียมเก่าของโรงเรียนรุ่งอรุณซึ่งอยู่ในบริเวณ<br />

เดียวกัน การออกแบบอาคารนี้ กล่าวได้ว่าเป็นตัวอย่างอันโดดเด่นในการ<br />

ให้กำาเนิดชีวิตใหม่แก่โครงอาคารเก่าที่คล้ายจะหมดประโยชน์ใช้สอย<br />

ตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิม<br />

ในการนี้ สถาปนิกเลือกวิธีการคงโครงสร้างหลังคาเดิม แล้วสอดแทรกพื้นที่<br />

ใช้สอยใหม่คือสำานักงานเข้าไปในที่ว่างโล่งสูงของอาคารเดิม โดยปรับความ<br />

สูงของโครงสร้างตามความต้องการของโปรแกรม เกิดผลลัพธ์ที่น่าสนใจยิ่ง<br />

คือทั้งที่เป็นอาคารที่มีมวลขนาดใหญ่ แต่ก็ยังสามารถรักษาความโล่งโปร่ง<br />

ของที่ว่างไว้ด้วยช่องแสงขนาดใหญ่ตลอดแนวอาคาร นอกจากนี้ การจัดพื้นที่<br />

ทำางานที่มีผนังโปร่งมองทะลุถึงกันเชื่อมต่อกันด้วยระบบระเบียงเปิดคล้าย<br />

สะพานเชื่อม ก็ทำาให้พื้นที่ภายในอาคารมีลักษณะเชื่อมต่อกันได้โดยการมอง<br />

เห็นซึ่งกันและกัน ให้ความรู้สึกคล้ายเป็น co-working space สร้างเสริม<br />

การทำางานร่วมกันระหว่างทีมต่างๆ ซึ่งตอบสนองธรรมชาติการทำางานของ<br />

อาศรมศิลป์เองเป็นอย่างดี<br />

สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งของที่ว่างภายในอาคารรพินทรก็คือการสร้างสมดุล<br />

ที่ลงตัวระหว่างความเรียบง่ายของภาษาสถาปัตยกรรมกับความซับซ้อนของ<br />

ที่ว่าง ระหว่างความโปร่งโล่งสง่างามในภาพรวมกับพื้นที่มุมเล็กมุมน้อยที่ให้<br />

ความรู้สึกเป็นกันเองและเป็นส่วนตัว ระหว่างบรรยากาศการทำางานที่ทันสมัย<br />

และมีประสิทธิภาพกับร่องรอยของภาษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นซึ่งสะท้อนทั้ง<br />

ปรัชญาการทำางานของสถาปนิกเองและบริบทที่ตั้งของอาคาร นอกจากนี้การ<br />

ใช้แสงธรรมชาติและการระบายอากาศธรรมชาติในพื้นที่ส่วนกลางทั้งหมด<br />

ก็ยังทำาให้เกิดบรรยากาศการทำางานที่มีสุนทรียภาพแบบเขตร้อนชื้นได้<br />

อย่างดียิ่ง<br />

A modern office which was emerging from the old school gymnasium<br />

a la adaptive reuse. This project stands out as a good<br />

example of turning a new leaf for a tired and worn out shell. In<br />

addition, language of vernacular architecture was also inserted<br />

to resonate its suburban setting.<br />

Architect‘s solution is to retain an original roof structure and<br />

insert a loose-knitted working units within the volume beneath.<br />

The result is an attractive system of connecting spaces via<br />

walking corridor and bridges, lending itself to an inspiring<br />

incidental co-working space that is so conducive to collaborative<br />

spirit of all working there.<br />

This creative arrangement reflects a balance between a rather<br />

simple architectural language and a complex interlocking<br />

spaces of different shapes and sizes. Also a balance between<br />

voluminous spaces and small corners with friendly and private<br />

atmosphere, a balance between efficient modern working space<br />

and a vernacular type of architecture which is an architect<br />

approach and which blends neatly with the site. The use of<br />

vast opening leads to sufficient natural light and ventilation<br />

— leading to a romantic feeling of working in the tropical<br />

ambience.


Gold Award<br />

39


40<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Silver Award<br />

Hospital<br />

Ratchaphruek Hospital,<br />

Khon Kaen, Thailand<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environmental Architect<br />

Design Architects:<br />

Theerapon Niyom<br />

Nuntapong Lertmaneetaweesap<br />

Jirasak Puimoontree<br />

Jury Comment<br />

โดยรวมอาคารที่น่าชื่นชมหลังนี้เป็นโรงพยาบาลร่วมสมัยที่เข้ากันสนิทกับ<br />

ความเป็นท้องถิ่นและให้ความสำาคัญกับความเป็นภูมิภาค สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ<br />

ความพยายามที่จะสร้างความสมดุลระหว่างลักษณะการใช้สอยที่ง่ายและเป็น<br />

กันเองของคนไข้หรือผู้ใช้อาคารและความต้องการทางด้านเทคนิคอันสลับ<br />

ซับซ้อนของโรงพยาบาลสมัยใหม่ ซึ่งต้องป้องกันการติดเชื้ออันเป็นความ<br />

สำาคัญสูงสุด ในเชิงการออกแบบ งานนี้เป็นการหาสมดุลระหว่างพื้นที่เปิด<br />

โล่งและพื้นที่ควบคุมและปรับอากาศและยังต้องแสดงออกซึ่งความเป็น<br />

สถาปัตยกรรมภูมิภาคด้วย ในภาวะของการระบาดของโรคโควิด-19<br />

โรงพยาบาลนี้น่าจะสามารถเป็นต้นแบบของความพยายามตอบสนองต่อ<br />

ปัญหาดังกล่าวด้วยผังพื้นที่ค่อนข้างหลวมและมีพื้นที่เปิดโล่งระบายอากาศ<br />

ได้มากพอสมควร โดยคงพื้นที่ปิดเพื่อปรับอากาศเท่าที่จำาเป็น<br />

ในแง่ของรูปทรง การออกแบบมวลขนาดใหญ่ของอาคารโรงพยาบาลนี้ให้มี<br />

ลักษณะของบ้านพักอาศัยทำาให้เกิดก้อนหลังคาจั่วขนาดใหญ่มากวางทับอยู่<br />

บนยอดอาคาร เกิดความรู้สึกหนักอึ้งแทนที่จะเบาแบบอาคารบ้านพักอาศัย<br />

อีกทั้งรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมของงานส่วนนี้ก็อยู่ไกลตาจนไม่สามารถ<br />

ที่จะมองเห็นรับรู้ได้ง่ายจากผู้ที่สัญจรผ่านไปมา<br />

All in all, a laudable project of contemporary hospital dovetailed<br />

with topicality and critical regionalism. Apparent in the design<br />

is the attempt to strike a balance between user friendliness and<br />

technical requirements of a modern hospital whereby infectious<br />

control is of prime importance, between a/c spaces and non a/c<br />

areas, and between modern efficiency and critical regionalism.<br />

Given the outbreak of COVID-19, this hospital, with loose fitted<br />

plan and pervasive non a/c areas, seems to be a prototypical<br />

response to his serious threat (luckily the threat was kept under<br />

control, Khon Kaen was pretty safe).<br />

Formally, the attempt to domesticate the building with huge<br />

gable roof is too heavy handed since a lot of fine details are<br />

too far to be perceived meaningfully from where most people<br />

move about.


Silver Award<br />

41


42<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Silver Award<br />

Hotel<br />

Raya Heritage Hotel,<br />

Chiang Mai, Thailand<br />

Architect:<br />

Boon Design<br />

Design Architects:<br />

Boonlert Hemvijitraphan<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นความสำาเร็จของแนวคิดการกลับมาใช้ที่ดินริมแม่น้ำาปิงเพื่อ<br />

อยู่อาศัยของเมืองเชียงใหม่แต่เดิม การออกแบบโดยรวมมีความเรียบง่ายแต่<br />

งดงามด้วยภาษาสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่แฝงความเป็นพื้นถิ่นด้วยการใช้<br />

วัสดุอย่างมีจังหวะจะโคนและลงตัว ช่วยสร้างคุณค่าให้กับโครงการได้โดย<br />

ไม่ฟุ่มเฟือย มีความเชื่อมต่ออย่างเหมาะสมระหว่างพื้นที่ภายนอกและภายใน<br />

และความสมดุลอย่างเหมาะเจาะของมวลอาคารและภูมิทัศน์ การออกแบบ<br />

โถงต้อนรับมีขนาดและสัดส่วนของที่ว่างที่สร้างความประทับใจได้มาก เมื่อ<br />

คนเดินเข้ามาเกิดความรู้สึกถูกย่อให้เล็กลงเมื่อเทียบสัดส่วนกับความใหญ่โต<br />

ของธรรมชาติอันบริสุทธิ์สะอาดที่แวดล้อมอยู่นั้น เมื่ออยู่ในสภาวะนั้นจังหวะ<br />

ชีวิตจักเดินช้าลงโดยอัตโนมัติ การแทรกพื้นที่กึ่งนอกกึ่งในอย่างระเบียง<br />

ชาน และทางเดินสู่ห้องพักชั้นสองเกิดระบบและจังหวะของที่ว่างที่มีเสน่ห์ของ<br />

ความเป็นพื้นถิ่นและตั้งคำาถามกับแบบแผนของที่ว่างในอาคารแบบรีสอร์ท<br />

ได้น่าสนใจ การออกแบบและก่อสร้างการตกแต่งภายในทำาได้ดีมีความรู้สึก<br />

หรูแต่เรียบและมีบรรยากาศของล้านนาอยู่โดยทั่วไป ในแง่การออกแบบที่<br />

ประสานกับบริบทโดยรอบและชุมชนอาจยังต้องปรับปรุงต่อไป<br />

The project is a successful revisit of the notion of settlement<br />

along the Ping River of old Chiang Mai. Overall design is simple<br />

with proper flow between inside and outside and a healthy<br />

balance between built form and landscape. The lobby is<br />

extremely impressive thru clever manipulation of scale and<br />

proportion. As one enters, he/she cannot help feeling smaller<br />

scale-wise and as such overwhelmed by serene natural<br />

surroundings, the pace of life is automatically downshifting.<br />

Interior architecture/design was well executed, elegant,<br />

and serene, with unmistakably Lanna ambience. Landscape<br />

design is generous and unpretentious giving rural touch.<br />

Context-wise, the attempt to connect with local community<br />

and settlement remains to be seen.


Silver Award<br />

43


44<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Education Building<br />

Faculty of Learning<br />

Sciences and Education,<br />

Thammasat University<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environment Architect<br />

Design Architects:<br />

Theeraphon Niyom<br />

Sakchai Komolroj<br />

Orapim Tanpipat<br />

Jury Comment<br />

ความน่าสนใจของอาคารหลังนี้ อาจยังไม่ปรากฏชัดเจนนักเมื่อมองจาก<br />

รูปทรงภายนอก หากแต่เมื่อได้เข้าไปสัมผัสอาคารจริง จึงพบว่ามีการ<br />

สร้างสรรค์ที่ว่างที่ไม่ธรรมดาและไม่ค่อยปรากฏในอาคารเรียนทั่วไป<br />

ความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือการเปิดพื้นที่ว่างกลางอาคารให้เป็นโถงโล่ง<br />

ที่ลื่นไหลเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ ที่ว่างเปิดโล่งเหล่านี้ถูกออกแบบให้มี<br />

บรรยากาศหลากหลาย โดยการใช้รูปสัณฐานผสมกันระหว่างเส้นตรง เส้นโค้ง<br />

หรือวงกลม หรือรูปทรงอิสระในบางจุด เมื่อประกอบกับการใช้องค์ประกอบ<br />

ธรรมชาติ เช่น บ่อเลี้ยงปลาที่ชั้นพื้นดิน และแผงไม้เลื้อย ทำาให้เกิดพื้นที่ว่าง<br />

ที่ส่งเสริมให้เกิดการพบปะสัมพันธ์กันระหว่างผู้ใช้อาคาร และยังเป็นพื้นที่ที่<br />

เอื้อต่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย เสมือนห้องเรียนที่อยู่นอกห้องเรียน เป็นพื้นที่<br />

ที่ให้บรรยากาศเป็นกันเอง ผ่อนคลาย และมีชีวิตชีวา ถือเป็นการตอบโจทย์<br />

ของอาคารได้อย่างเหมาะสม และยังสร้างสภาวะน่าสบายภายใต้เงื่อนไขของ<br />

สภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี<br />

The project is a good inspiration to both professions, architecture<br />

as well as education, in the sense that architectural design<br />

program was pushed beyond functional requirements. Desirable<br />

core values such as communality, creativity, spontaneity, shared<br />

identity were taken into considerations. As such, the building<br />

incorporates social stairs, embedded pool seatings, wide corridors<br />

and grey spaces, all of which lend themselves very well<br />

to learning experiences outside lecture rooms, auditorium, and<br />

library. Tropical design could be dovetailed into loose planning<br />

setup with further incorporation of indoor landscape elements.<br />

Apart from the Atrium design which somehow falls short, the<br />

project is a commendable one.<br />

แม้ว่าการออกแบบอาคารนี้จะมีจุดไม่ลงตัวหลายจุด โดยเฉพาะรูปแบบของ<br />

ห้องเรียนบางห้องที่เป็นรูปวงกลม แม้กระทั่งการพบว่ามีเสาบางต้นวางไว้<br />

กลางทางเดินซึ่งทำาให้เดินผ่านช่องทางนั้นไม่ได้ แต่โดยรวมอาคารหลังนี้เป็น<br />

ตัวอย่างของความสำานึกและความพยายามที่จะจัดการกับสภาพแวดล้อมของ<br />

ภูมิอากาศเขตร้อนอย่างยั่งยืน และที่น่าชื่นชมคือการแสดงออกซึ่งอุดมการณ์<br />

ของสถาปนิกและผู้บริหารสถาบันแห่งนี้ที่มองเห็นความสำาคัญของคุณค่า<br />

ทางจิตใจและคุณภาพชีวิตของผู้ใช้อาคาร มากกว่าที่จะจำากัดขอบเขตการ<br />

ออกแบบอาคารอยู่แค่การใช้งานเพียงอย่างเดียว


Bronze Award<br />

45


46<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Hotel<br />

Little Shelter Hotel,<br />

Chiang Mai, Thailand<br />

Architect:<br />

Department of Architecture<br />

Design Architects:<br />

Amata Luphaiboon<br />

Twitee Vajrabhaya Teparkum<br />

Adhithep Leewananthawet<br />

Jury Comment<br />

ความท้าทายของโครงการนี้เกิดจากขนาดพื้นที่ดินที่มีขนาดเล็กมาก แต่เป็น<br />

พื้นที่ที่สวยงามริมแม่น้ำาปิง สถาปนิกสามารถนำาข้อจำากัดของรูปร่างและขนาด<br />

ของที่ตั้งมาจัดวางอย่างชำานิชำานาญจนได้ผลดีและได้ประโยชน์เต็มที่จาก<br />

ศักยภาพของแม่น้ำาปิงในบริเวณนั้น การเล่นกับแสงสว่างผ่านเปลือกอาคารที่<br />

โปร่งแสง การจัดให้มีช่องโล่งแคบๆ แต่สูงตลอดความสูงของอาคารด้านหน้า<br />

รวมทั้งการตกแต่งผนังของห้องพักโดยการใช้ภาพกราฟิกและกระจกเงา ช่วย<br />

ให้เกิดความสดใสและภาพลวงตาของความกว้างขึ้น การออกแบบรูปลักษณ์<br />

ภายนอกของโครงการยังสามารถสร้างภาพจำาอันช่วยดึงดูดความสนใจผู้คน<br />

เพื่อมาที่โครงการได้ดี ตอบโจทย์ของธุรกิจรูปแบบนี้ในภาวการณ์ปัจจุบัน<br />

อย่างไรก็ตามการออกแบบหลายส่วนรวมทั้งวัสดุภายนอกอาคารอาจจะบำารุง<br />

รักษาค่อนข้างยากในระยะยาว<br />

Given the dimension of land plot, the major challenge for the<br />

designer is to overcome the stuffiness of the land. Capitalizing<br />

on the strategic location vis-a-vis Ping River and specific land<br />

alignment, the limitation could be overcome by artful site planning<br />

and skillful manipulation of daylight and its reflections thru time<br />

via the design of building exterior envelop and interior walls<br />

of guest rooms.<br />

On architectural level, planning on main floor could be further<br />

refined. For interior design, the confinement of small and<br />

narrow guest rooms is well compensated by tricks of the eye,<br />

thru the visual dematerialization of internal walls. Lastly, the jury<br />

committee was concerned with long term maintenance which<br />

could be quite handful.


Bronze Award<br />

47


48<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Residence<br />

V House,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

M.L. Varudh Varavarn<br />

Design Architects:<br />

M.L. Varudh Varavarn<br />

Jury Comment<br />

บ้านหลังนี้เป็นตัวอย่างที่ดียิ่งของการออกแบบอาคารพักอาศัยในบริบท<br />

อันหนาแน่นใจกลางเมืองอย่างซอยต้นสน ผู้ออกแบบประสบความสำาเร็จใน<br />

การสร้าง “ความอยู่สบายในเมืองใหญ่” ตั้งแต่การวางตัวอาคารล้อมสนาม<br />

หญ้า สร้างความต่อเนื่องจากพื้นที่สีเขียวเข้ามาสู่ชานและห้องนั่งเล่นที่<br />

เปรียบเสมือนหัวใจของการใช้ชีวิตของครอบครัวขนาดเล็กได้อย่างเหมาะเจาะ<br />

ตัวอาคารมีความเรียบง่าย จัดวางพื้นที่ใช้สอยอย่างเป็นระบบ ขนาดของ<br />

พื้นที่แต่ละส่วนสะท้อนการให้ความสำาคัญกับบริเวณที่ครอบครัวได้ใช้ร่วมกัน<br />

มากกว่าพื้นที่ส่วนตัว ซึ่งละม้ายกับแบบแผนการใช้พื้นที่อย่างไทยๆ การใช้<br />

แผงเลื่อนระแนงไม้ช่วยป้องกันแดดจ้าและลดอุณหภูมิภายในอาคาร ความ<br />

ประณีตของรายละเอียดการใช้วัสดุอย่างไม้และเหล็กที่ให้ผิวสัมผัสเฉพาะตัว<br />

ยังเสริมให้บ้านมีความน่าอยู่และร่วมสมัย ผสานความเป็นตะวันออกเข้ากับ<br />

ชีวิตเมืองได้อย่างลงตัว<br />

An exemplary development for a residential building in a<br />

dense urban area of Soi Ton Son. The project is successful<br />

in establishing “comfort in Metropolis”. Notwithstanding limit<br />

plot size, enclosed patio is well placed as the heart of the land.<br />

The building is simple with operable wood screen to amplify<br />

harsh sunlight. The use of materials, timber and steel, is quite<br />

successful in maximizing tactile qualities befitting a livable<br />

residential building.


Bronze Award<br />

49


50<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Residence<br />

Asha Farmstay,<br />

Chiang Rai, Thailand<br />

Architect:<br />

Creative Crews Ltd.<br />

Design Architects:<br />

Puiphai Khunawat<br />

Ekkachan Eiamananwattana<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นการปรับใช้ภาษาและรูปแบบการจัดวางของเรือนพื้นถิ่น ซึ่ง<br />

โดยรวมแล้วกล่าวได้ว่าออกแบบไว้อย่างชาญฉลาดและน่าชื่นชมทีเดียว การ<br />

จัดวางกรอบที่ว่างของลานกลางหมู่อาคารยังพัฒนาให้ลงตัวและสละสลวย<br />

ได้มากกว่านี้ สำาหรับส่วนห้องพักแขกนั้น ห้องชั้นบนของเรือนทำาได้ดีพอ<br />

สมควร ด้วยจังหวะที่ว่างที่ลงตัวและตอบสนองสภาพภูมิอากาศ แต่ห้องพัก<br />

ชั้นล่างอาจยังไม่ดีเท่า การเลือกใช้วัสดุทำาได้เหมาะสมมีผิวสัมผัสที่เข้ากับ<br />

ธรรมชาติและบรรยากาศโดยรวมของโครงการ อย่างไรก็ดี ท้ายที่สุดแล้ว<br />

โครงการนี้ก็ยังถือเป็นก้าวสำาคัญในการตีความและถ่ายทอดรูปทรงพื้นถิ่นมา<br />

สู่บริบทสมัยใหม่<br />

The overall adaptation of local house forms and clustering is<br />

quite skillful and commendable. The outdoor space definition<br />

of main courtyard should be further consolidated. For guest<br />

room blocks, the upper floor plan is well resolved, with efficient<br />

planning and climate sensitivity, while the lower floor plan is<br />

less so. The use of materials is very tactile befitting the nature<br />

of the project. Lastly, the project is a true benchmark of how to<br />

interpret vernacular forms in a modern context.


Commended Award<br />

51


52<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Residence<br />

JB House,<br />

Nakhon Phathom,<br />

Thailand<br />

Architect:<br />

IDIN Architects<br />

Design Architects:<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Supachai Piromrach<br />

Sakorn Thongduang<br />

Jury Comment<br />

ทัศนะของกรรมการต่อการออกแบบบ้านหลังนี้มีความหลากหลายในแง่หนึ่ง<br />

บ้านหลังนี้แสดงความพยายามตอบสนองความต้องการและวิถีชีวิตของ<br />

เจ้าของบ้านสามีภรรยา คือความรู้สึกเชื่อมต่อถึงกันในขณะที่แต่ละคนทำา<br />

กิจกรรมของตน ภายใต้เงื่อนไขของขนาดที่ดินที่จำากัด การสร้างที่ว่าง<br />

ต่างระดับเพื่อตอบโจทย์นี้ โดยพื้นที่ใช้สอยแต่ละระดับถูกจัดวางให้เกิดการ<br />

ไหลเชื่อมเข้าด้วยกันอย่างนิ่มนวลในพื้นที่จำ ากัด ช่องว่างระหว่างพื้นแต่ละระดับ<br />

นั้นนอกจากจะทำาหน้าที่สร้างความเชื่อมโยงทางสายตาให้กับผู้อยู่อาศัยแล้ว<br />

ยังทำาให้นึกถึงองค์ประกอบในเรือนไทยอย่างช่องแมวลอดอีกด้วย ถึงแม้ว่า<br />

การสัญจรเชื่อมพื้นที่หลายระดับเช่นนี้จะใช้งานลำาบากขึ้นบ้างก็ตาม<br />

ในแง่ของบริบทที่ตั้งและภูมิอากาศ รูปทรงเรียบเป็นกล่องนั้น ออกจะแปลก<br />

แยกไปจากบรรยากาศของบริเวณนั้น ซึ่งเป็นท้องถิ่นชนบทดั้งเดิมที่กำาลัง<br />

ปรับตัวเข้าสู่ความเป็นชายขอบของเมือง และยังไม่สามารถตอบสนองต่อ<br />

ภูมิอากาศเมืองร้อนอย่างได้ผลนัก รูปทรงกล่องของบ้านทำาให้เกิดหลังคา<br />

แบนและไม่มีชายคา การแก้ปัญหาโดยการทำาบานเปิดขนาดใหญ่เพื่อ<br />

เปิดออกเป็นแผงบังแดดให้กับผนังกระจกผืนใหญ่ของบ้านได้นั้น ยังอาจจะ<br />

เป็นปัญหาในการใช้งานและไม่น่าจะมีประสิทธิผลที่ดีนักต่อการจัดการกับ<br />

ปัญหาสภาวะภูมิอากาศเขตร้อนชื้นในแนวทางที่ยั่งยืน<br />

The originality of the design lies in the lively interplay of levels<br />

within such a small footprint. Benign staggering of spaces<br />

was well crafted for complex visual connections of different<br />

house domains per the specific requirement of the clients.<br />

The inside-out design approach is clearly evident which causes<br />

a certain drawback in terms of contextual harmony given its<br />

non-negotiable box-like form. Moreover, flat slab roof and large<br />

glazed opening are not sympathy with the micro-climate and<br />

require additional elements i.e., trellis and operable building<br />

enclosure for climate amplification and privacy.<br />

แม้ว่าการออกแบบบ้านหลังนี้จะมีข้อจำากัดบางประการดังกล่าวแล้ว<br />

คณะกรรมการยังพิจารณาและเห็นว่าผลงานออกแบบคงมีความน่าสนใจ<br />

ในความพยายามที่จะสร้างสรรค์ที่ว่างที่ตอบรับกับวิถีชีวิตและโลกทัศน์<br />

ของคนรุ่นใหม่


Commended Award<br />

53


54<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Hostel<br />

Pa Prank Hostel,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

IDIN Architects<br />

Design Architects:<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Eakgaluk Sirijariyawat<br />

Wichan Kongnok<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นการปรับการใช้สอย (adaptive reuse) โดยใช้โครงสร้างของ<br />

ตึกแถวสองหน่วยที่แพร่งสรรพศาสตร์มาออกแบบเป็นโรงแรมแบบ hostel<br />

ความน่าสนใจของโครงการนี้อยู่ที่การปรับเปลี่ยนรูปแบบผังพื้นและที่ว่างของ<br />

ตึกแถวโดยทั่วไป โดยยอมเสียพื้นที่ใช้สอยอาคารหนึ่งคูหาเพื่อเปิดเป็นคอร์ท<br />

ขนาดเล็ก นำาแสงเข้ามาทำาให้เกิดความสว่างตลอดความลึกของอาคาร และ<br />

ทำาให้เกิดความรู้สึกที่โปร่งสบายซึ่งช่วยให้พื้นที่ใช้สอยรวมต่างๆ ในอาคาร<br />

มีชีวิตชีวามากขึ้น ประเด็นที่โครงการนี้น่าจะยังพัฒนาได้ส่วนหนึ่งคงจะเป็น<br />

เรื่องการระบายอากาศทั้งในห้องพักรวมและพื้นที่ส่วนกลาง ซึ่งยังไม่ได้ใช้<br />

ประโยชน์จากคอร์ทในการสร้างสภาวะน่าสบายได้อย่างเต็มที่ และการใช้<br />

พื้นที่ทางสัญจรไม่เต็มศักยภาพ (พื้นที่ระเบียงทางเดินไม่สามารถใช้สอย<br />

อย่างอื่น เช่น การนั่งพักหรือทำางานเพื่อใช้ประโยชน์จากแสงสว่างและความ<br />

เปิดโล่งเพื่อชดเชยความมืดทึบของห้องนอน เป็นต้น)<br />

Adaptive reuse transformation of two units of typical shophouses<br />

within the historical area, Phraeng Sanphasat. The reorganization<br />

of typical cellular plan is a commendable one. Half a<br />

unit was sacrificed to create an atrium space bringing light and<br />

openness into the deep corner, thus injecting new vibrancy into<br />

the common spaces, i.e., circulation route, social spaces, exhibition<br />

areas etc. The over-reliance of HVAC system for the guest<br />

rooms seems to be the weak point of the project. In some rooms,<br />

guests sleep in the room devoid of daylight. Circulation routes<br />

could have been exploited as grey space. Living experience<br />

could be improved drastically if guests could relax on the corridors<br />

with seatings for relaxation and casual meeting in daylight.<br />

รูปลักษณ์ด้านหน้าของอาคารนั้น มีการดึงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม<br />

ของย่าน คือบานหน้าต่างเกล็ดมาใช้ โดยเปลี่ยนเป็นวัสดุเหล็กสีดำาที่แตกต่าง<br />

ออกไปจากลักษณะของตึกก่ออิฐถือปูนในย่านนั้น เป็นการสร้างอัตลักษณ์จาก<br />

การเปรียบต่าง สร้างบทสนทนาทางสถาปัตยกรรมได้อย่างน่าสนใจ


Commended Award<br />

55


56<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Mixed-Use Building<br />

Samyan Mitrtown,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Plan Associates<br />

and Urban Architects<br />

Design Architects:<br />

Boonrit Kordilokrat<br />

Achariya Rojanapirom<br />

Suporn Hoharitanon<br />

Prasit Pitchayapadungkit<br />

Jury Comment<br />

จุดแข็งของโครงการนี้อยู่ที่โปรแกรมการออกแบบ ซึ่งเป็นการผสมผสานกัน<br />

ระหว่างส่วนพาณิชยกรรม ส่วนพักอาศัย โรงแรม และส่วนนันทนาการ รวมทั้ง<br />

ส่วนกิจกรรมการศึกษาเข้าด้วยกันอย่างลงตัว ตอบสนองต่อธรรมชาติของ<br />

สามย่านได้อย่างชัดเจน การผสมผสานดังกล่าวนี้ช่วยสร้างความมีชีวิตชีวา<br />

ที่สัมผัสได้ทันทีเมื่อก้าวเข้าไปสู่บริเวณโครงการ นอกจากนี้ พื้นที่โครงการ<br />

ยังเอื้อให้เกิดการดึงเอาร้านอาหารและร้านขายของเล็กๆ ในรูปแบบตึกแถว<br />

ริมถนนแต่เดิมในบริเวณนี้กลับเข้ามาอยู่ร่วมกันกับการใช้สอยในรูปแบบ<br />

ใหม่ๆ ได้อย่างลงตัว<br />

เรื่องที่อาจเป็นจุดด้อยของโครงการคือ รูปลักษณ์ที่ไม่เข้ากันนักของอาคาร<br />

แต่ละส่วนในโครงการ อาจจะเพราะความแตกต่างของประเภทการใช้สอยและ<br />

การใช้สถาปนิกหลายทีมรวมกันออกแบบก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามโครงการ<br />

นี้ก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของความตั้งใจที่จะประหยัดพลังงานโดยการใช้วัสดุ<br />

และระบบอาคารที่ทันสมัย และการสร้างพื้นที่พาณิชยกรรมที่เปิดโล่งไม่ปรับ<br />

อากาศเท่าที่จะเป็นไปได้<br />

Strength of the project lies within its brilliant design program<br />

which is a well thought-out blend of commercial, residential<br />

condominium, hotel, entertainment, and education related<br />

activities. As such, the vibrancy of the development can be<br />

easily felt once one pays a visit to the premise. Displaced old<br />

activities such as small shops and roadside eateries could also<br />

make a comeback in a new setting besides new compatible<br />

activities. Coherence of architectural forms may suffer quite<br />

a bit due to discrepancies of functions as well as different designers.<br />

The project, however, demonstrates a commitment<br />

to save energy thru the selection of up to date building systems<br />

as well as maximization of non a/c areas where appropriate.


Commended Award<br />

57


58<br />

theme<br />

More Than<br />

Skin<br />

‘Skin’ or ‘Shell’ are often associated with superficiality<br />

or shallowness. Expressions that illustrate this point<br />

include, skin-deep knowledge or an empty shell of a<br />

human being. But in reality, the skin or shell, whether of<br />

humans or fruits, have significant roles, ones that cannot<br />

be disconnected from their existences. Imagine a durian<br />

without its spiky husk, or a banana or an apple without<br />

any skin. The thickness, rigidity, textural characteristics<br />

or even chemical compounds, colors, forms and structures<br />

all function collectively and indivisibly with the content<br />

and essence. Architecture is similar in that sense. The shell<br />

serves, not only to protect what’s inside, but as an interface<br />

that allows a building to communicate with the outside<br />

world. It acts as a sensory receptor that perceives and<br />

conveys information, transfers heat, humidity, energy and<br />

at times even contributes as a supporting composition.<br />

Text: Pornpas Siricururatana


MORE THAN SKIN<br />

59<br />

Beer Singnoi, Fotomomo


60<br />

theme<br />

คำว่ผิว หรือเปลือก มักถูกใช้ในทำนองว่ไม่มีแก่นสร<br />

ไม่ลึกซึ้ง ไม่ว่จะเป็น รู้แบบผิวๆ คบแบบผิวๆ มีแต่เปลือก<br />

หรืออื่นๆ อีกมกมย แต่ถ้ลองมคิดดู ไม่ว่ผิวคน หรือ<br />

เปลือกผลไม้ ต่งก็มีหน้ที่อันยิ่งใหญ่ ที่ไม่สมรถตัดขด<br />

จกตัวของมันเองได้ ถ้ทุเรียน กล้วย หรือแอปเปิ้ลไม่มี<br />

เปลือก คุณคิดว่มันจะกลยเป็นอย่งไร ควมหน ควม<br />

แข็ง ลักษณะของผิวสัมผัส หรือแม้แต่องค์ประกอบทง<br />

เคมี สี รูปทรงโครงสร้งของมันล้วนทำงนร่วมกับเนื้อ<br />

หรือแก่น อย่งยกที่จะแยกออกจกกันได้ สถปัตยกรรม<br />

ก็เช่นเดียวกัน ผิวไม่เพียงทำหน้ที่ห่อหุ้ม ปกป้อง สิ่งที่<br />

อยู่ข้งใน แต่ยังทำหน้ที่เป็น interface สื่อสรกับโลก<br />

ภยนอก เป็นต่อมรับรู้ และถ่ยทอด ข้อมูล ควมร้อน<br />

ควมชื้น พลังงน หรือแม้แต่เป็นโครงสร้งรองรับตัวมัน<br />

เองด้วย<br />

นักประวัติศสตร์สถปัตยกรรม Reyner Banham กล่วไว้<br />

ประมณว่ เทคโนโลยีอย่งระบบปรับอกศ หลอดไฟ<br />

ฟลูออเรสเซ้น และวิวัฒนกรทงโครงสร้ง ทำให้สถ-<br />

ปัตยกรรมยุค 1950s ของอเมริก “หย่” กับท้องถิ่น<br />

และดินฟ้อกศ แต่เมื่อมองกลับมที่ประเทศไทยหรือ<br />

ประเทศในเขตร้อนแบบเรๆ แล้ว กลับกลยเป็นว่ ใน<br />

ขณะที่ curtain wall และระบบปรับอกศกำลังรุ่งเรือง<br />

ในสหรัฐอเมริก รูปแบบอครลักษณะหนึ่งได้ถูกพัฒน<br />

แผ่ขยย และสร้งซ้ำอย่งรวดเร็ว โดยสถปนิกและ<br />

วิศวกรที่ทำงนในประเทศที่กำลังก้วเข้สังคมหลังอณ-<br />

นิคมเหล่นี้ โจทย์ของอครในประเทศเหล่นี้ ไม่ใช่กร<br />

เปิดรับแสงอทิตย์เพื่อแสงสว่งและควมอบอุ่น แต่เป็น<br />

กรต่อสู้กับแสงอทิตย์ที่แผดเผ พร้อมๆ กับกรรับมือ<br />

กับฝนฟ้และพยุโซนร้อน ในประเทศที่สธรณูปโภค<br />

พื้นฐน เทคโนโลยี หรือเงินทุน ยังไม่เพียงพอที่จะผลิต<br />

คิดค้นระบบปรับอกศเองได้ และกระจกคุณภพสูง<br />

ก็ยังเป็นสินค้นำเข้ที่มีรคแพง ระบบแผงบังแดดที่มี<br />

ลักษณะเป็นเลเยอร์ หรืออจเรียกได้ว่เป็นผิวที่มีควมลึก<br />

จึงกลยเป็นทงออกที่น่สนใจ เพระนอกจกจะช่วยรับมือ<br />

กับแสงแดด และปล่อยให้ลมพัดผ่นแล้ว ยังช่วยลด<br />

ควมเป๊ะของกรก่อสร้ง ที่เป็น a must ในระบบ Single<br />

Glazing หรือพวกหน้ต่งโล้นๆ ที่พึ่งพควมสมรถ<br />

ทุกๆ อย่ง ไปที่กระจกและรอยต่อที่เประบง<br />

แน่นอนว่กรแก้ปัญหของผิวที่เประบง ไม่ใช่โจทย์<br />

ใหม่เอี่ยมแกะกล่อง วิธีกรจัดกรกับปัญหเก่แก่นี้ จริงๆ<br />

แล้วก็ทำได้อย่งที่เรรู้กันดีจกอครพื้นถิ่นในภูมิภค<br />

ไม่ว่จะเป็นกรใช้หลังคหรือชยค เข้มปกป้องผิว<br />

เหล่นี้ หรือกรทำงนร่วมกับพื้นที่ภยนอก จัดวงพื้นที่<br />

แบบ in between สอดแทรกเข้ไป เพื่อรับมือกับแดด ลม<br />

ฝน และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ แต่เมื่อหลังคแบบพื้นถิ่น หรือ<br />

Architectural historian, Reyner Banham, made an<br />

argument about how modern technologies such as<br />

air conditioning systems, fluorescent bulbs and the<br />

structural evolution as a whole had caused American<br />

architecture from the 1950s to ‘divorce’ itself from<br />

the locality and regional climate. However, looking<br />

back at Thailand or other tropical counties, it turns<br />

out that while curtain wall and air conditioning<br />

systems were seeing their heyday in the United States,<br />

another building typology was being developed, and<br />

reproduced at such a fast pace by architects and<br />

engineers practicing in these countries. What these<br />

buildings were required to deliver wasn’t increasing<br />

an exposure to sunlight and warm weather, but<br />

instead, to battle the glaring natural light with burning<br />

temperatures alongside heavy rain and tropical<br />

storms. In the counties where basic infrastructure or<br />

financial capabilities were still too insufficient to invent<br />

and manufacture air conditioning systems, the sun<br />

protection panel system with layered skins became an<br />

interesting option. Not only was it a potential solution<br />

that could help buildings handle excessive sunlight<br />

and maximize natural ventilation, it lessened the<br />

need for the precision of the construction. This was<br />

considered a must in the single glazing system or the<br />

frame-less windows and openings that applied all the<br />

weight on glass or relatively fragile joints.<br />

Certainly, the attempt to solve these regional problems<br />

was far from novel. Several methods have been<br />

invented in hopes to find the right solution for this<br />

long-standing dilemma. Some can be found in the<br />

region’s vernacular architecture, such as the use of a<br />

roof structure or canopy to help protect the building’s<br />

skin or an integrative approach where outdoor spaces<br />

are incorporated as an in-between element that<br />

helps a building cope with these climatic conditions.<br />

However, especially during the independence movement,<br />

vernacular or traditional roof structures became<br />

associated with some unwanted social implications.<br />

The rise of urban space’s density also made the<br />

integrative approach become somewhat luxurious.<br />

In these contexts, the mechanism of the sun protection<br />

panel system AKA Brise Soleil, has become an alternative<br />

adopted in almost every part of the world.<br />

Especially in Global South countries during the postcolonial<br />

era, by both the locals and outsiders.<br />

Post World War II Thailand saw a great number of<br />

newly built structures, from government, educational to<br />

hospital buildings or even shophouses that employed<br />

the use of building skins of such depth. Building skins<br />

became an even more prominent during the 1960s and<br />

1970s, either because of influences from the global


MORE THAN SKIN<br />

61<br />

L’Architecture d’Aujourd’hui No.13-14 Septembre 1947<br />

1<br />

หลังครูปแบบต่งๆ ถูกโยงกับควมหมยทงสังคมที่<br />

ไม่เป็นที่ต้องกร และควมหนแน่นของพื้นที่ก็เริ่มสูงเกิน<br />

กว่ที่จะตอบโจทย์ในแบบหลังได้อีก กลไกของระบบแผง<br />

กันแดด หรือที่เรียกกันว่ Brise Soleil นี้ จึงกลยเป็น<br />

ทงเลือกที่เห็นได้ในทุกๆ มุมโลก โดยเฉพะอย่งยิ่งใน<br />

ประเทศกลุ่ม Global South ในยุคหลังอณนิคม ไม่ว่จะ<br />

โดยคนในประเทศ หรือนอกประเทศ<br />

ในประเทศไทยเอง โดยเฉพะอย่งยิ่งหลังสงครมโลก<br />

ครั้งที่สอง อครสร้งใหม่จำนวนมกก็ทำงนกับผิวที่มี<br />

ควมลึกพวกนี้ ทั้งอครที่ทำกรรชกร สถนศึกษ<br />

โรงพยบล หรืออครตึกแถว ซึ่งกรทำงนกับผิวที่ว่<br />

ก็ทวีควมชัดเจนขึ้นไปอีก ในยุค 60-70 ไม่ว่จะเพระ<br />

อิทธิพลจกวงกรสถปัตยกรรมของโลก หรือจะเพระ<br />

บริบทเมืองที่อครค่อยๆ สูงมกขึ้นก็ดี แม้ว่ไม่กี่ปีที่<br />

ผ่นม อครจำนวนมกในยุคนี้จะถูกทุบทิ้งลงอย่ง<br />

น่เสียดย เรน่จะเคยผ่นตกับอครเหล่นี้บ้ง<br />

ไม่ว่จะในชีวิตจริง หรือผ่นสื่ออย่ง fotomomo และ<br />

กระแสอนุรักษ์อครต่งๆ<br />

architectural trend or the growing tendency of vertical<br />

urban expansion that had caused buildings to become<br />

higher. Although many buildings from this particular<br />

time period have, unfortunately, been demolished in<br />

the past recent years, we have all witnessed their<br />

existences first-hand and through medias such as<br />

fotomomo, including the rising awareness in architectural<br />

conservation.<br />

Buildings such as the Suan Mali branch of Krungthai<br />

Bank (the former Thai Pattana Bank’s building) designed<br />

by Amorn Sriwong and Rachot Kanchanawanich<br />

still looks extremely modern despite the fact<br />

that over five decades have passed. The complexlooking<br />

facade is made up of only one type of precast<br />

concrete part, which works in tandem with the suspension<br />

structure. Sri Fueng Foong Building (the old<br />

Cathay Trust Building) uses over 3000 pieces of<br />

miniature HP shell precasts (by installing them around<br />

the architectural structure) to help filer the sunlight. It<br />

also simultaneously protects the glass panels between<br />

column spans. Similar to the old Thai Pattana building,<br />

what’s particularly interesting about Cathay Trust’s<br />

01<br />

Gustavo Capanema<br />

Palace หรือ Ministry<br />

of Education and<br />

Health, Rio de Janeiro<br />

(1936-1945)<br />

อครที่ใช้ระบบ Brise<br />

Soleil ที่เรรู้จักกัน<br />

อครแรกๆ ผลงน<br />

ออกแบบร่วมระหว่ง<br />

Le Corbusier กับทีม<br />

สถปนิกบรซิล ที่รวม<br />

ถึง Lucio Costa, Oscar<br />

Niemeyer, Alfred Reidy


62<br />

theme<br />

Not only was it a potential<br />

solution that could help<br />

buildings handle excessive<br />

sunlight and maximize natural<br />

ventilation, it lessened the<br />

need for the precision of the<br />

construction.<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

อคร Cathey Trust เก่<br />

หรือ อครศรีเฟื่องฟุ้ง<br />

ในปัจจุบัน<br />

03-04<br />

อครไทยพัฒน<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

3


63<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

4


64<br />

theme<br />

The two superimposed square masses, twisted to 45<br />

degrees, help lessen the circulation space for maximum<br />

rentable spaces. It is an attempt to calculate and work<br />

with sunlight and the surrounding environment.<br />

A+E+C, 1976 (from Professsor Ruekdee Phowanakul’s archive)<br />

5<br />

05<br />

Sketch กระบวนกร<br />

ออกแบบ อคร Cathey<br />

Trust ของสถปนิก<br />

Intaren<br />

อครอย่ง ธนครกรุงไทย สขสวนมะลิ (อคร<br />

ธนครไทยพัฒนเก่) ผลงนของคุณอมร ศรีวงศ์ ร่วมกับ<br />

คุณรชฎ กญจนะวณิชย์ ยังคงดูทันสมัยแม้เวลผ่นม<br />

กว่ห้สิบปีแล้ว façade ที่ดูซับซ้อน จริงๆ แล้วมจก<br />

ชิ้นส่วน precast concrete เพียงหนึ่งชนิด ที่ทำหน้ที่<br />

ร่วมกับโครงสร้งแบบแขวน ได้อย่งผสมผสน หรือ<br />

อครศรีเฟื่องฟุ้ง (อครคเธ่ย์ทรัสต์เก่) ที่ใช้ HP<br />

shell precast ขนดจิ๋ว มกกว่สมพันอัน ติดตั้งโดย<br />

รอบ เพื่อเป็นตัวกรองแสงแดด และปกป้องผนังกระจก<br />

โล้นๆ ที่ติดตั้งระหว่งเส เช่นเดียวกับอครไทยพัฒน<br />

เก่ สิ่งที่น่สนใจของอครคเธ่ย์ทรัสต์ คือกลไกเบื้อง<br />

หลังของ “ผิว”เหล่นี้ ไม่ว่จะเป็นขนดของ mini shell<br />

ที่ทำงนสอดคล้องกับระยะช่วงเสที่ถูกดันออกมที่ขอบ<br />

อคร ด้วยระบบโครงสร้งแบบ Diagrid Slab ซึ่งว่กันว่<br />

ก่อสร้งยกมก และผังอคร ที่เป็นสี่เหลี่ยมจตุรัสหมุน<br />

45 องศ ซ้อนกันสองชิ้น ซึ่งช่วยลดพื้นที่ circulation ใน<br />

กรให้เช่ได้มก ภพร่งของผู้ออกแบบจกสำนักงน<br />

สถปนิกอินทเรน ทำให้เรเห็นร่องรอยของควมคิดและ<br />

ควมพยยมในกรคำนวณ กรทำงนกับแสงอทิตย์<br />

และพื้นที่โดยรอบ<br />

architecture is the mechanism behind the shells. One<br />

of the examples is the size of the mini shells and how<br />

they work in accordance to the column spans. These<br />

shells are pushed toward the building’s edges using a<br />

structural system called Diagrid Slab, which is known<br />

to be highly difficult to construct. The building’s layout<br />

is made up of two superimposed square masses,<br />

twisted to 45 degrees to help lessen the circulation<br />

space for maximum rentable spaces. The sketches<br />

created by the architect from the Intaren Architecture<br />

Office allows us to see traces of ideas as well as<br />

attempts to calculate and work with sunlight and the<br />

surrounding environment.<br />

Inevitably, time passed as requirements and demands<br />

altered. Over time, local manufacturers learned to<br />

produce high-quality glass, which used to be a pricy<br />

imported product. The air conditioning system became<br />

more affordable, and at the same time, land price in<br />

the city areas continued to rise. Urban density and<br />

pollution, as well as people’s constantly changing<br />

values made passive design somewhat insufficient.<br />

Surfaces that required a relatively larger portion of<br />

spaces were being called into question. In many fire


MORE THAN SKIN<br />

65<br />

แน่นอนว่ เมื่อเวลผ่นไป โจทย์ก็เริ่มปรับเปลี่ยน กระจก<br />

คุณภพสูงที่เคยเป็นสินค้นำเข้รคแพง เริ่มผลิตเองใน<br />

ประเทศได้ ระบบปรับอกศ ก็เริ่มมีรคถูกลง ในขณะที่<br />

ที่ดินในเขตเมืองกลับมีรคสูงขึ้นเรื่อยๆ ควมหนแน่น<br />

ของเมืองและมลภวะต่งๆ ประกอบกับค่นิยมที่เปลี่ยน<br />

ทำให้กรออกแบบในลักษณะของ passive เริ่มไม่เพียงพอ<br />

ผิวที่ต้องใช้พื้นที่มกเหล่นี้ จึงเริ่มถูกตั้งคำถม เหตุกรณ์<br />

ไฟไหม้หลยๆครั้งที่ระบบแผงกันแดดเหล่นี้ กลยเป็น<br />

อุปสรรคในกรดับเพลิงและหนีภัยยิ่งทำให้ควมนิยมต่อ<br />

รูปแบบอครลักษณะนี้ลดลงอย่งรวดเร็ว กรผลิตซ้ำ<br />

แบบควมเร็วสูง เพื่อตอบรับควมต้องกรทงเศรษฐกิจ<br />

ยิ่งทำให้ระบบแผงกันแดด ที่เคยทำหน้ที่ร่วมกับพื้นที่<br />

ภยในอย่งใกล้ชิด ถูกลดทอนกลยเป็นเพียงผิวที่แยกตัว<br />

ออกจกเนื้อในมกขึ้นเรื่อยๆ<br />

อจกล่วได้ว่ ยุค ’80s เป็นยุค ที่กรเงินและกรลงทุน<br />

เริ่มก้วมนำหน้เหนือสิ่งอื่นๆอย่งชัดเจน ควมต้องกร<br />

ที่จะขยหน้ต ภพลักษณ์ ดึง form ออกมจก force<br />

(โครงสร้ง) และ flow (พลังงนและสิ่งแวดล้อม) ที่เคย<br />

ถูกพยยมให้ทำงนร่วมกัน ควมต้องกรในกรควบคุม<br />

สภวะแวดล้อมในอคร จกมลภวะภยนอก ผลักให้<br />

งนระบบพัฒนขึ้น และรคถูกลงอย่งรวดเร็ว ในขณะ<br />

ที่กระแส postmodern ก็เป็นแรงถีบให้ควมหมยเชิง<br />

สัญลักษณ์ เขยิบลำดับควมสำคัญขึ้นมเป็นอันดันต้นๆ<br />

สเกลของอครที่มีขนดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ก็เป็นแรงดันอีก<br />

ส่วน ที่ทำให้เกิดกรแตกกลุ่มย่อยของควมเชี่ยวชญ<br />

กรทำงนร่วมกันแบบผสมผสนระหว่งสถปนิก วิศวกร<br />

และทีมก่อสร้งที่เห็นได้ในยุคก่อนหน้ เริ่มเห็นได้ยกขึ้น<br />

ควมหมยเริ่มถูกตัดขดจกถิ่นที่และระบบกรก่อสร้ง<br />

กดปุ่ม fast forward เร็วๆ กลับมที่โลกสถปัตยกรรม<br />

ช่วง 10-20 ปีมนี้ ถิ่นที่และท้องฟ้อกศ วัฒนธรรม<br />

และบริบท โครงสร้งและระบบกรก่อสร้ง ถูกนำมปัด<br />

ฝุ่น และพัฒนอย่งก้วกระโดด ภยใต้แรงสนับสนุน<br />

และผลักดันจกกระแส computerization และ digitization<br />

ที่กลับมเชื่อมกรทำงนระหว่งกลุ่มควมเชี่ยวชญ<br />

พร้อมๆ กับทำให้ควมสมรถในกรคำนวนทงโครง-<br />

สร้ง กรพัฒนของวัสดุ และกระบวนกรก่อสร้งใหม่ๆ<br />

ก้วไปในอีกระดับ Pluralism ของ postmodern ที่ยังติด<br />

กับดักภพลักษณ์ที่ตยตัว ถูกคลี่คลยและพัฒนพร้อมๆ<br />

กับ tectonic ornamentation ที่ถูกพัฒนอย่งก้วกระโดด<br />

อคร Flagship store จำนวนมก ในย่นกรค้ Aoyama<br />

Ginza หรือ Omotesando เป็นเหมือนโชว์เคสของอคร<br />

more than skin เหล่นี้ มตั้งแต่ช่วงปี 2000s ไม่ว่จะเป็น<br />

Prada ของ Herzog de Mouron ที่บูรณกรโครงสร้ง<br />

พื้นที่ และ façade เข้ด้วยกันอย่งแยกออกไม่ได้ Tube<br />

incidents, these sun protection panel systems became<br />

an obstacle for fire control, evacuation measures and<br />

protocols, causing the popularity of this architectural<br />

element to drop dramatically. Mass production occurred<br />

at a fast pace to supply the growing demands,<br />

but it gradually lessened the role of the sun protection<br />

panel system, which was once intertwined with the<br />

interior spaces. Where it has turned into a separate<br />

layer of skin that has been gradually disconnected<br />

from the ‘inside’ of the architecture.<br />

In the 1980s when the financial and investment sector<br />

saw a significant boom, a desire to market appearance<br />

and image, took form out of force (structure) and flow<br />

(energy and environment). The demand to control<br />

and protect the interior environment from the outside<br />

pollution propelled building systems to speedily<br />

develop and become cheaper. Meanwhile, the postmodern<br />

movement was an influential driving force<br />

that glorified the symbolic values of architectural<br />

works. Buildings were becoming larger in scale, and<br />

the shift led to the ramification of more specialized<br />

expertise. The interdisciplinary and collaborative<br />

approaches between architects, engineers and the<br />

construction team became somewhat of a rarity, while<br />

meanings were disconnected from local identity and<br />

construction system.<br />

Fast forward to the architecture world in the past<br />

10-20 years, factors such as locality, climate, culture<br />

and context, structure and construction system, have<br />

been revived with some big progresses and developments<br />

driven by the global computerization and digitization<br />

phenomena. These trends have been facilitating<br />

collaborations between different groups of<br />

experts. In doing so it has enabled humans’ ability in<br />

structural calculations, material developments as well<br />

as new construction methodologies to reach a new<br />

level. Postmodern Pluralism, which was once trapped<br />

in its own stagnant image, has been reconciled and<br />

developed alongside the progressive advancement<br />

of tectonic ornamentation.<br />

Several flagship store buildings in Tokyo’s commercial<br />

districts such as Aoyama, Ginza or Omotesando have<br />

existed as a spectacular showcase of the ‘more than<br />

skin’ architecture since the 2000s. The Prada flagship<br />

store designed by Herzog de Mouron integrates<br />

different elements of structure, building system and<br />

façade into an inseparable union. Part of the façade<br />

was extruded horizontally, piercing through the<br />

building which serves as both the façade’s structure<br />

and the tube containing commercial space. Although<br />

the façade of the Dior flagship in Omotesando by


66<br />

theme<br />

แนวนอนที่พุ่งทะลุอคร ทำหน้ที่เป็นทั้งโครงสร้ง façade<br />

และ “ห้อง” ไปพร้อมๆกัน หรือ Dior ของ SANAA ที่ Omotesando<br />

ที่แม้ว่จะไม่ได้ทำงนกับโครงสร้งเป็นพิเศษ<br />

แต่ก็เป็น façade ที่ทำงนกับกระบวนกรสร้งและbrand<br />

ของ Dior อย่งละเอียดอ่อน façade โปร่งแสง สีขว<br />

คล้ยม่น ดูพริ้วและนุ่ม ทั้งๆที่ทำจกอะคริลิกที่ติดตยตัว<br />

มันคือควมพริ้วที่เกิดจกกรทำงนระหว่งควมโค้งของ<br />

แผ่นอะคริลิก และแพทเทิร์นของ ceramic print โปร่งแสง<br />

สีขวที่ถูกปริ้นท์บนอะคริลิกก่อนทำให้โค้ง ควมโค้งและ<br />

ควมโปร่งแสงหลยระดับนี้ทำงนร่วมกับแสงจนเกิด<br />

ปรกฏกรณ์ที่ไดนมิค ที่ทั้งนุ่มและพลิ้วอย่งที่เรเห็น<br />

อคร Louis Vuitton หลยๆ สขโดย Jun Aoki ก็เป็น<br />

ชุดอครที่ให้ควมสำคัญกับผิวที่ทำงนกับสภวะแวดล้อมที่<br />

Dynamic เหล่นี้เช่นเดียวกัน สขล่สุดที่ Ginza ในชื่อ<br />

ออฟฟิศใหม่ AS น่จะเป็นตัวอย่งที่ดีที่โปรเจคทีม สมรถ<br />

นำพัฒนกรของวัสดุทั้งเทคนิคกร Coating กรผลิต<br />

กระจกโค้งสมมิติ รวมถึงกระบวนกรผลิตชิ้นส่วนอลูมิ-<br />

เนียมซัพพอร์ต มทำงนร่วมกัน เพื่อตอบโจทย์ที่ซับซ้อน<br />

ได้ (หนึ่งในนั้น คือควมเป็นเสจกน้ ำทะเล ระลึกถึง Ginza<br />

ในสมัยเอโดะ ที่ยังเป็นแหลมยื่นไปในทะเล!)<br />

สิ่งหนึ่งที่เชื่อมอครเหล่นี้เข้ด้วยกัน นอกจกควม<br />

พยยมทำงนกับกระบวนกรสร้ง และวัสดุที่ละเอียด<br />

อ่อนและพิถีพิถันของทั้งโปรเจกทีม ไม่ว่จะเป็นสถปนิก<br />

วิศวกร และทุกๆคนในกระบวนกรสร้งแล้ว แน่นอนว่<br />

สิ่งที่ขดไม่ได้เลย คือควมเป็น Flagship store ของ brand<br />

high-end ที่มีเงินทุนหน และเทคโนโลยีกรคำนวนและ<br />

กรก่อสร้งขั้นสูง ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่เปิดโอกสให้อคร<br />

ที่มีควมซับซ้อนสูงมกๆ เหล่นี้ เกิดขึ้นได้ แม้ว่หลัง<br />

Hamburger Crisis อครลักษณะนี้อจจะมีให้เรเห็นน้อย<br />

ลงไปบ้ง แต่ก็ไม่ได้หยไปเลย กรทำงนร่วมกับวัสดุ<br />

และกระบวนกรสร้ง หรือกรทำงนของวัสดุ กับสภวะ<br />

แวดล้อม ยังคงเป็น theme อมตะ ของสถปนิกและวิศวกร<br />

ในบริบทที่หลกหลย<br />

SANAA, has no specific functional contribution to<br />

the structure, it works relatively close and in such<br />

a delicate manner to amplify the fashion house’s<br />

branding process. The white, translucent façade looks<br />

like curtains, wavy and soft despite being made of<br />

fixated acrylic mass. The undulating and weightless<br />

appearance is made possible by the interaction<br />

between the acrylic sheets’ curvy features and the<br />

white, translucent ceramic print pattern on the acrylic<br />

surface, which was imprinted before the material<br />

was bent into the desired form. These multiple layers<br />

of curves and translucent surface work together in<br />

creating a dynamic phenomenon that makes the<br />

façade appear soft and wavy.<br />

The Louis Vuitton shops that Jun Aoki has designed are<br />

a series of buildings that highlight how building skins<br />

work and interact with their dynamic surroundings.<br />

The latest branch of the brand, which the architect<br />

designed under the new office name, AS, is a great<br />

example of how the team was able to incorporate new<br />

material developments and coating techniques to build<br />

the three-dimensional glass facade that delivers such<br />

as a mesmerizing effect. The endeavor included the<br />

manufacturing process of the aluminum supporting<br />

parts, which were used to help complete the physical<br />

and functional details of the complex compositions.<br />

One element that connects these buildings together,<br />

in addition to the attempt to deal with the construction<br />

process, and the meticulousness of the entire project<br />

team from the architects, engineers to everyone<br />

involved in the process, is the status of these projects<br />

as flagship stores of high-end brands, which came<br />

with a hefty budget. All of these aspects coupled<br />

with highly advanced building configureration and<br />

construction technologies, allowed for the birth of<br />

such highly complex buildings to be possible. Although<br />

we have seen fewer numbers of buildings of this nature<br />

after the Hamburger crisis was over, they have not<br />

disappeared entirely. An integrative and collaborative<br />

effort between materials and the construction<br />

process, or interactions between materials and<br />

their surrounding environments, are still timeless<br />

themes that architects and engineers go after when<br />

Figureuring out ways to work with various contexts<br />

of their projects.


MORE THAN SKIN<br />

67<br />

These buildings attempt to deal with the construction process<br />

and the meticulousness of the entire project team from the<br />

architects, engineers to everyone involved in the process.<br />

Shinkenchiku 2003.09<br />

6 7 8<br />

Shinkenchiku 2004.01<br />

Architects: AS Co., Peter Marino Architect / Photo:<br />

Daici Ano<br />

06<br />

Prada Aoyama<br />

– Herzog de Mouron<br />

07<br />

Dior Omotesando<br />

– SANAA<br />

08<br />

Louis Vuitton<br />

Ginza Namiki<br />

– Jun Aoki<br />

and Peter Marino<br />

ในประเทศไทยเอง ผลงานหลายๆ ชิ้น ของ studiomake<br />

หรือ โปรเจคอย่าง MAIIAM ของ all(zone) น่าจะเป็น<br />

ตัวอย่างที่ทำาให้เห็นการทำางานในลักษณะดังกล่าวในบริบท<br />

ที่แตกต่างอย่างเมืองไทยได้เป็นอย่างดี ในสภาวะที่ระบบ<br />

นิเวศของการก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ ทักษะ ไปจนถึง<br />

เงินทุนมีความแตกต่างไปมาก โจทย์ทางวัสดุถูกขยาย<br />

ออกไปถึงที่มาที่ไปและกระบวนการได้มาซึ่งวัสดุนั้นๆ การ<br />

ตอบโจทย์สิ่งแวดล้อมก็ถูกพัฒนาไปมากเช่นกัน เทคโนโลยี<br />

simulation ต่างๆ ทำาให้เราก้าวเข้าสู่การคำานวณแบบ nonlinear<br />

ที่ไดนามิค พร้อมๆ กับที่คำาอย่าง sustainability<br />

หรือ resilience ที่ก้าวขึ้นมาเป็นคีย์เวิร์ดหลักของสังคม<br />

อาคารสำานักงานขนาดย่อม อย่าง Coop Kyozai Plaza<br />

โดย Nikken Sekkei เป็นอีกตัวอย่างของความพยายามนี้<br />

โครงสร้างคานแบบกลับหัวที่ใช้ในโครงการ นอกจากจะทำา<br />

ให้พื้นที่อาคารภายใน ไม่ต้องมีฝ้าแล้ว เพราะจากเหตุการณ์<br />

แผ่นดินไหวหลายๆ ครั้ง ทำาให้เรารู ้ว่า ฝ้า และ sub-structure<br />

เป็นสาเหตุหลักอย่างหนึ ่งของอุบัติเหตุที ่เกิดขึ ้นระหว่างภัย<br />

จากแผ่นดินไหว ยังเป็นพื้นที่เก็บอุปกรณ์ต่างๆ สำาหรับการ<br />

ป้องกันภัยพิบัติ และทำาให้พื้น slab ภายนอกอาคารที่เต็ม<br />

ไปด้วยต้นไม้คงความบางไว้ได้ ระบบ Bioskin หรือ การ<br />

ปล่อยน้ำาผ่านท่อเซรามิคภายนอกอาคาร เพื่อให้การระเหย<br />

In Thailand, many works by studiomake or MAIIAM<br />

Museum by all(zone) are interesting examples of this<br />

particular approach. In the scenario and context where<br />

the elements in the ecosystem of construction, be<br />

there materials, skills and budget are starkly different,<br />

issues and discussions concerning materials have<br />

been extended to the origins and processes from<br />

which each material has been obtained.<br />

Environmentally conscious design has also been<br />

diligently developed. Simulation technologies have<br />

enabled us to utilize more dynamic, non-linear<br />

calculation since words such as sustainability or<br />

resilience are being more recognized as the society’s<br />

keywords. Moderate sized office building, Coop Kyosai<br />

Plaza, designed by Nikken Sekkei, is another example<br />

of such an endeavor The reversed beam structure<br />

employed to the design of the project eliminates the<br />

need for a ceiling in the interior space. The attempt<br />

the get rid of the ceiling actually originated from the<br />

previous earthquake incidents in the past, which over<br />

time, become a lesson that displayed how ceilings and<br />

sub-structures are one of the main causes of accidents<br />

during earthquakes. The structure also contains a<br />

space that stores disaster prevention equipment


68<br />

theme<br />

Harunori Noda *Gankohsha<br />

08-09<br />

Coop Kyozai Plaza<br />

โดย Nikken Sekkei<br />

10-11<br />

ระบบกรทำงนกับผิว<br />

อครเก่ ในโครงกร<br />

ปรับปรุงอครที่พักอศัย<br />

รวมในยุค’60 กว่500<br />

อคร<br />

8<br />

Harunori Noda *Gankohsha<br />

9<br />

11<br />

Philip Ruault<br />

Philip Ruault<br />

10


MORE THAN SKIN<br />

69<br />

The challenge lies in the search for new possibilities for the<br />

‘skin’ to be a part of networks and mechanisms that will work<br />

and interact with spaces and society on larger scales, from<br />

neighborhoods to urban landscapes and even on an earth level.<br />

ของน้ำช่วยลดอุณหภูมิรอบๆ ถูกนำมทำให้ เรียบ-ง่ย<br />

โดยกรติดตั้งโซ่ช่วยระบยน้ำฝนรอบอครและกรเลือก<br />

ต้นไม้ที่พิถีพิถัน Bioskin แบบโลเทคนี้ ทำงนร่วมกับ<br />

พฤติกรรมของต้นไม้ต่งๆ ซึ่งไม่เพียงช่วยปรับสภวะ<br />

แวดล้อมของพื้นที่อครด้นในของตัวมันเอง แต่ยังมีส่วน<br />

ช่วยลดอุณหภูมิของพื้นที่ในระดับย่น และบรรเทปัญห<br />

เกะควมร้อนของเมืองอีกด้วย โดยล่สุด Nikken Sekkei<br />

นำหลักกรของ Bioskin มทำงนกับอิฐดินเผบ้นเร<br />

ภยใต้ชื่องน ศลคอย(ล์) เย็น และจัดแสดงในงน<br />

Bangkok Design Week ที่ผ่นม<br />

กระแสสำคัญอีกอย่งที่มพร้อมๆกับโจทย์สิ่งแวดล้อม<br />

คงหนีไม่พ้นกรเข้ไปทำงนกับผิวอครเก่ เพื่อเพิ่ม<br />

ประสิทธิภพและฟื้นฟูพื้นที่ของอครเก่ วิธีกรทำงน<br />

กับผิวอครเก่ของ Lacaton & Vassal โดยเฉพะอย่งยิ ่ง<br />

ชุดโครงกร Transform อครพักอศัยเก่ในยุค 60s<br />

จำนวนกว่ 500 อคร โดยกร insert ผิว หรืออจจะ<br />

ควรเรียกว่ balcony unit เข้ไปบนผิวเดิม นั้นเป็นจุด<br />

เปลี่ยนแปลงที่สำคัญของวทกรรม ผิว-แก่น ที่ถูกถกม<br />

ยวนน ผิวที่เคยถูกดูแคลน (เป็นระยะๆ) ในโลกของกร<br />

สร้งอครใหม่ ถูกพลิกกลับในโลกของกรทำงนกับ<br />

อครเก่ ที่กรจำกัดพื้นที่กรทำงนมีควมสำคัญยิ่ง<br />

ในโลกที่ควมหมยไม่ใช่สิ่งที่ตยตัวอีกต่อไป ผิวที่ถูก<br />

ถมหคงไม่ใช่ผิวที่เป็นสื่อในกรถ่ยทอดภพลักษณ์และ<br />

ควมหมยเชิงสัญลักษณ์อีกต่อไป แต่เป็นผิวที่มีควม<br />

ยืดหยุ่น ทำงนกับสภวะแวดล้อมที่เป็นพลวัตและปรับ-<br />

เปลี่ยนได้ตมสถนกรณ์ โจทย์ของเรตอนนี้คงไม่หยุด<br />

แค่ ผิวที่เป็นมกกว่ผิว ของตัวสถปัตยกรรมเอง แต่อจ<br />

เป็นโจทย์ที่ถมห ผิว ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ยและ<br />

กลไกที่ทำงนกับพื้นที่และสังคมภยนอกในระดับ ย่น<br />

เมือง หรือแม้แต่โลก ก็เป็นได้<br />

while keeping the exterior slabs where the plants are<br />

growing physically thin. The building adopted the<br />

mechanism of Bioskin system-- a skin of water-filled<br />

ceramic pipes which allows the evaporated water to<br />

reduce the temperature around the building. Here,<br />

the system is simplified by using the rainwater chain<br />

instead of ceramic pipes together with a meticulous<br />

selection of plants. This somewhat, low-tech Bioskin<br />

works together with the plants’ varying behaviors,<br />

and collectively helps adjust, not only the interior<br />

environment of the building but also the outside<br />

temperature of the area as well as the city’s heatisland<br />

phenomenon. Nikken Sekkei have recently used<br />

the Bioskin principles with Thailand’s locally made red<br />

bricks for the Stay Cool Pavilion created and exhibited<br />

as a part of the 2<strong>02</strong>1’s Bangkok Design Week.<br />

An equally popular and important trend in line<br />

with environmentally friendly design is architects’<br />

attempt to bring life to old buildings by dealing with<br />

the existing skins. This process can be witnessed<br />

through Lacaton & Vassal’s approach to old building<br />

refurbishments, particularly with their Transform series.<br />

The refurbishment of over 500-year-old residential<br />

structures from the 1960s have been made by adding<br />

balcony units to the buildings’ original exterior<br />

surfaces. It has become a monumental turning point<br />

for the long-standing discussions surrounding the<br />

shell/core discourse. The shell, as an element that<br />

has been looked down upon (from time to time) in the<br />

world of newly constructed buildings, gets turned<br />

upside down with old buildings where the limitation<br />

of usable spaces is a highly crucial factor.<br />

In a world where definitions keep changing, the kind<br />

of skin people look for is perhaps not an element with<br />

fixed visuals and symbolic implications, but rather,<br />

as a flexible aspect with the ability to simultaneously<br />

work and interact with the surrounding environment.<br />

At the moment, perhaps the challenge lies not just in<br />

the physical development of individual architectural<br />

skin, but in the search for new possibilities for the 'skin'<br />

to be a part of networks and mechanisms that will<br />

work and interact with spaces and a society on larger<br />

scales, from neighborhoods to urban landscapes and<br />

even on an earth level.<br />

ภรพัสุ ศิริคุรุรัตน์<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

และ สถาปนิกร่วมก่อตั้ง<br />

สำานั กงาน bsides ปั จจุ บัน<br />

สนใจเกี่ยวกับกระบวนการ<br />

“ผลิต” ของสถาปั ตยกรรม<br />

และความสัมพันธ์กับสังคม-<br />

ทรัพยากรแวดล้อม<br />

Pornpas Siricururatana<br />

is a lecturer at the<br />

Faculty of Architecture,<br />

Kasetsart University<br />

and co-founder of bsides.<br />

Currently, her interests<br />

lay particularly in the<br />

process of architectural<br />

production and its<br />

mechanism concerning<br />

the societal condition<br />

and its surrounding<br />

resources.


70<br />

theme / review<br />

Breathing<br />

In<br />

Breathing<br />

Out<br />

In this Buddhist meditation retreat, DECA Atelier has not only masterfully<br />

introduced natural ventilation to the building but also created a<br />

visually distinctive design with openings and enclosures of varying<br />

sizes and patterns.They have skilfully achieved this by using ventilation<br />

blocks specifically designed and manufactured for the project.<br />

Text: Phornnipa Wongprawmas<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


71<br />

1<br />

01<br />

ผนังภายนอกที่เป็น<br />

เปลือกห่อหุ้มอาคาร


้<br />

่<br />

72<br />

theme / review<br />

“คงจะเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจ ความเป็นไปของ<br />

สถาปัตยกรรมทั้งหมด หากมองแค่รูปแบบ<br />

และรูปทรงของผนังภายนอกที่เป็นเปลือก โดย<br />

ละเลยหรือเพิกเฉยต่อเรื่องราวที่หลากหลาย<br />

ของทุกชีวิตที่เคลื่อนไหวอยู่ภายใต้หรือด้านใน<br />

ของเปลือกที่ห่อหุ้มนี้” เมื่อ คุณสมชาย จงแสง<br />

สถาปนิกจากสตูดิโอ DECA ATELIER เริ่มกล่าว<br />

ถึงงานออกแบบ อาคารธรรมาศรม ที่เสถียร-<br />

ธรรมสถาน ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากเจตนารมย์ที่<br />

ต้องการจะสร้างอาคารแห่งนี้เพื่อเป็นสถานที่<br />

สำาหรับฟื้นฟูและเยียวยาสำาหรับบุคคลทั่วไป<br />

ที่มีความรู้สึกป่วยทางจิตใจ และเป็นที่พักอาศัย<br />

สำาหรับผู้มาทำากิจกรรมในโครงการ มีวัตถุ-<br />

ประสงค์ในการใช้ “ธรรมชาติบำาบัด” เพื่อบำาบัด<br />

จิตใจสำาหรับทุกช่วงวัย เริ่มตั้งแต่ผู้ที่ยังอยู่ใน<br />

ครรภ์ของมารดา ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิม<br />

วัย โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อสร้างเป็น<br />

ชุมชนแห่งการเรียนรู้<br />

แนวความคิดหลักในการออกแบบอาคาร คือ<br />

“สุขง่าย ใช้น้อย” เป็นการออกแบบสถาปัตย-<br />

กรรมเพื่อสร้างพื้นที่สำ าหรับบุคคลหลากหลาย<br />

วัยได้อยู่อาศัยร่วมกัน โดยมุ่งเน้นให้เป็นอาคาร<br />

ที่ประหยัดและไม่ฟุ่มเฟือยพลังงาน และการ<br />

อยู่อาศัยอย่างเคารพธรรมชาติ แนวความคิด<br />

เหล่านี้ได้ถูกถ่ายทอดด้วยการสร้างสรรค์การ<br />

จัดวางพื้นที่ภายใน และการสื่อสารผ่านภาษา<br />

และวัสดุของผิวเปลือกอาคารภายนอก (Façade)<br />

ที่เป็นจุดเด่นและสร้างอัตลักษณ์ให้กับสถา-<br />

ปัตยกรรมแห่งนี้<br />

“ผนังภายนอก คือ เปลือกที่ห่อหุ้มอาคารเพื่อ<br />

ป้องกันแสงแดดและความร้อนไม่ให้เข้าถึงพื้นที่<br />

ภายใน แต่ในเวลาเดียวกันทำาหน้าที่ทั้งถ่ายเท<br />

อากาศและระบายความร้อนเพื่อความสบายให้<br />

ผู้อยู่อาศัยภายในอาคาร ด้วยงานออกแบบที่มี<br />

ลักษณะโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบ<br />

ให้เปลือกของอาคารมีทั ้งส่วนปิดทึบและเปิดโล่ง<br />

มีความหลากหลายทั้งขนาดและลวดลายของ<br />

ซีเมนต์บล็อกช่องลมที่ออกแบบและผลิตมา<br />

เป็นการเฉพาะให้กับอาคาร ธรรมาศรม”<br />

ผิวเปลือกอาคารจากซีเมนต์บล็อกช่องลมที่สั่ง<br />

ทำาเฉพาะ ได้รับความร่วมมือจากศิลปินรับเชิญ<br />

อีก 7 ท่าน อย่าง จรูญ อังศวานนท์ ปฐมา<br />

หรุ ่นรักษ์วิทย์ วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ ไพโรจน์<br />

ธีระประภา กรกต อารมณ์ดี ศรัณญ อยู ่คงดี<br />

และศรุตา เกียรติภาคภูมิ ที่มาร่วมออกแบบ<br />

แต่ละลวดลายให้แตกต่างกันตามแต่การตีความ<br />

และเจตนาในการสื่อสารของศิลปินท่านนั้นๆ นำา<br />

เข้าสู่กระบวนการเทคนิคขึ้นรูปใหม่จากบล็อก<br />

เหล็กไปสู่การผลิตออกมาเป็นชิ้นงาน และความ<br />

จงใจปลดปล่อยให้วัสดุเป็นอิสระเพื่อแสดงสีสัน<br />

ที่เป็นสัจจะของตัววัสดุเอง โดยมวลรวมทั้งหมด<br />

ของผิวเปลือกอาคารได้ถูกจัดสรรด้วยรูปทรง<br />

เรขาคณิตเพื่อสร้างการรับรู้และสัมผัสทาง<br />

ความคิดด้วยหลักคณิตศาสตร์ ที่ก่อเรียงตัว<br />

กันสำาหรับเป็นผนังรับน้ำาหนักและยึดโยงกับ<br />

โครงสร้างของอาคาร รวมถึงอีกหน้าที่สำาคัญ<br />

ของผนังซีเมนต์บล็อกช่องลมที ่มีต่ออาคารแห่งนี<br />

คือ ช่วยในการพรางสายตาจากสภาพแวดล้อม<br />

ภายนอกเพื่อสร้างความเป็นส่วนตัวให้กับผู้ใช้<br />

พื้นที่ภายใน<br />

การจัดวางพื้นที่ภายในอาคารได้ถูกจัดสรร<br />

สำาหรับกิจกรรมและการใช้ประโยชน์ที่หลาก-<br />

หลาย โดยพื้นที่ชั้น 1 ถูกใช้เป็นพื้นที่ทำาสปา<br />

เกลือ นวดแผนไทย และที่รับประทานอาหาร<br />

ของนักปฏิบัติ พื้นที่ชั้น 2-4 เป็นส่วนที่พัก<br />

สำาหรับผู้มาเยือน ชั้น 5 ถูกใช้เป็นพื้นที่ฝึกหัด<br />

ภาวนา พื้นที่จัดนิทรรศการ และพื้นที่จัดกิจ-<br />

กรรมอาสา ส่วนสุดท้ายคือพื ้นที ่ดาดฟ้าถูกใช้<br />

สำาหรับทำาโซล่าร์ฟาร์ม และมีพื้นที่บางส่วนที่<br />

เคยเตรียมไว้สำาหรับสวนสมุนไพรและพืชผัก<br />

สวนครัวที่กำาลังอยู่ในช่วงวางแผนพัฒนาการ<br />

ใช้ประโยชน์พื้นที่สำาหรับกิจกรรมอื่นๆ<br />

ส่วนของห้องพักภายในอาคารสำาหรับผู้มา<br />

ปฏิบัติธรรมหรือผู้มาทำากิจกรรมในโครงการ<br />

สถาปนิกได้ใช้แนวความคิดการออกแบบตาม<br />

ลักษณะช่วงวัยของผู้ใช้พื้นที่ จึงมีการจัดวางผัง<br />

และการตกแต่งภายในห้องพักที่สะท้อนต่อ<br />

รูปลักษณะของผู ้ใช้พื ้นที ่ตั ้งแต่ปฐมวัย มัชฌิมวัย<br />

และปัจฉิมวัย และมุ่งเน้นประโยชน์ใช้สอย<br />

ขั้นพื้นฐานที่จำาเป็นต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน<br />

โดยได้รับความร่วมมือจากนักออกแบบอีก 3<br />

ท่าน คือ บริษัท ไตรโหมด ดีไซน์ จำากัด โดย<br />

คุณชินภานุ อธิชาธนบดี ออกแบบตกแต่งห้อง<br />

พักปฐมวัย อีฟ-อิท-อิส โดยคุณนุดี กีรติยะ<br />

อังกูร และคุณรัตนนันท์ กิติวัฒน์ ออกแบบ<br />

ตกแต่งห้องพักมัชฌิมวัย และคุณไชยรัตน์<br />

ณ บางช้าง ออกแบบตกแต่งห้องพักปัจฉิมวัย<br />

เนื่องจากการจัดวางผังภายในอาคารเป็นแบบ<br />

โถงทางเดินด้านเดียว จึงทำาให้ทุกห้องพักมี<br />

การเปิดผนังเป็นช่องแสงหน้าต่างตั้งแต่พื้นจรด<br />

ฝ้าเพดานจำานวนหนึ่งด้านเพื่อเชื่อมออกไปสู่<br />

ไปพื้นที่ระเบียงที่ถูกปกคลุมด้วยซีเมนต์บล็อก<br />

ช่องลมอีกหนึ่งชั้น ทำาให้ผู้ใช้พื้นที่ภายในได้ใช้<br />

ประโยชน์จากผนังซีเมนต์บล็อกช่องลมในทุก<br />

ช่วงเวลาของกิจวัตรประจำาวัน เช่น การเปิด<br />

รับทิศทางลมเพื่อช่วยหมุนเวียนสภาพอากาศ<br />

ภายในห้องพัก การเปิดรับแสงแดดที่ลอดผ่าน<br />

ผนังซีเมนต์บล็อกช่องลม อีกทั้งยังช่วยกรอง<br />

อุณหภูมิร้อนจากภายนอกอาคาร รวมถึงการ<br />

ช่วยพรางกิจกรรมบางอย่างของผู้อยู่อาศัยจาก<br />

สายตาภายนอก เช่น การซักผ้า การตากผ้า<br />

ทำาให้ผู้ใช้พื้นที่ภายในเกิดความรู้สึกสงบและมี<br />

ความเป็นส่วนตัว อยู่อาศัยได้ไม่ต้องใช้เครื่อง<br />

ปรับอากาศ และใช้แสงสว่างจากไฟฟ้าในช่วง<br />

เวลาที่จำาเป็น สิ่งเหล่านี้เป็นการตอบสนองต่อ<br />

เจตนารมย์ที่เป็นแนวความคิดหลักของโครงการ<br />

เนื่องจากตัวอาคารมีขนาดใหญ่และแผ่ออกทาง<br />

ด้านยาว สถาปนิกได้เลือกใช้ ปริมาตรของที่<br />

ว่าง ในการกำาหนดทิศทางและการจัดการต่อ<br />

สภาพแวดล้อมภายในอาคาร โดยการเปิด<br />

ช่องว่างภายในอาคารทั้งในแนวตั้งและแนว<br />

นอน ซึ่งมีนัยยะทั้งการเป็นช่องแสงเพื่อให้แสง<br />

สว่างสามารถส่องเข้าถึงพื้นที่ภายใน และนัยยะ<br />

ของการเป็นช่องลมเพื่อการไหลเวียนอากาศ<br />

ภายในอาคาร รวมถึงการใช้เส้นสายลายโค้ง<br />

บนผิวเปลือกอาคารเพื่อเปิดช่องว่างและสร้าง<br />

ความกลมกลืนกับพืชพรรณที ่มีอยู ่เดิมในพื ้นที<br />

ทำาให้พื้นที่ภายในอาคารมีสภาวะที่อยู่สบาย<br />

โดยพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าเท่าที่จำ าเป็น เป็นการ<br />

เชื่อมโยงและอยู่ร่วมกันระหว่างสภาพแวดล้อม<br />

ภายในกับภายนอกอาคาร ซึ่งเป็นการสอดรับ<br />

กับแนวความคิดในการประหยัดและไม่ฟุ่มเฟือย<br />

พลังงาน และการอยู่อาศัยอย่างเคารพธรรมชาติ<br />

ด้วยเจตนาของสถาปนิกที่หยิบยกและเลือกใช้<br />

ซีเมนต์บล็อกช่องลมอันเป็นวัสดุที่ดูคุ้นชินมานำ า<br />

เสนอในมิติของขนบประเพณีแบบใหม่ เป็นการ<br />

สร้างสรรค์วิธีการใช้ประโยชน์เพื่อปกปิดที่ไม่<br />

มากเกินจนเป็นการบดบัง และการใช้ประโยชน์<br />

จากที่ว่างเพื่อเปิดเผยอย่างไม่โจ่งแจ้ง รูปทรง<br />

ภายนอกที่ถูกแทนค่าและความหมายจากชีวิต<br />

ที ่อยู ่ภายในและการเคลื ่อนไหวตามสิ ่งที ่ห่อหุ ้ม<br />

กลายเป็นภาษาที่ตัวสถาปัตยกรรมนำาไปใช้ใน<br />

การสนทนากับสภาพแวดล้อม ทำาให้อาคาร<br />

ธรรมาศรมได้ทำาหน้าที่มากกว่าการเป็นที่อยู่<br />

อาศัย และผิวเปลือกอาคารได้ทำ าหน้าที่มากกว่า<br />

การห่อหุ ้มเพียงเพื ่อสร้างสุนทรีย์และความงาม


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

73<br />

2<br />

3<br />

The design materializes these ideas into the allocated interior<br />

spaces, including the facade, which brings meaningful visuals and<br />

identity to the building through its humble architectural language<br />

and simplistic materiality.<br />

<strong>02</strong><br />

ภาพร่างรูปตัดของ<br />

ผิวเปลือกอาคาร<br />

03-04<br />

ผิวเปลือกอาคารที่ถูก<br />

จัดสรรด้วยรูปทรง<br />

เรขาคณิต<br />

4


5<br />

74<br />

review


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

75<br />

05<br />

ช่องแสงจากผิวเปลือก<br />

อาคารที่กระทบจนเกิด<br />

แสง-เงาบนผืนผนังภายใน<br />

06<br />

ภาพร่างแบบแนวความ<br />

คิดการใช้ที่ว่างเพื่อจัดการ<br />

สภาพแวดล้อมภายใน<br />

อาคาร<br />

6<br />

“You can’t understand the whole design process<br />

and the making of architecture merely by looking<br />

at its style or its appearances, without understanding<br />

all those diverse stories and lives existing<br />

underneath those shells.’’ Somchai Jongsaeng,<br />

the principal architect and founder of DECA<br />

ATELIER, starts off our conversation about the<br />

design of the Dharmasharam Building at Sathira<br />

Dhammasathan Meditation Center. The project<br />

originated from an intention to create a facility<br />

that can provide rehabilitation and treatments<br />

for individuals who are mentally ill. The building<br />

also accommodates visitors who partake in the<br />

activities organized by the center. The program’s<br />

purpose includes the use of natural therapy,<br />

serving the role as a key to the rehabilitation for<br />

people from all age groups. Starting from those<br />

who are still in their mother’s womb, to children,<br />

adults, and senior individuals with a variety of<br />

programs developed to help nurture and create<br />

a community of knowledge.<br />

The concept ‘simple happiness, minimized demands’<br />

is translated into the architectural design<br />

that creates a space for people of all ages to share.<br />

The architect aimed to design an economical and<br />

energy-saving building with the highest respect<br />

for nature. The design materializes these ideas<br />

into the allocated interior spaces, including the<br />

facade, which brings meaningful visuals and<br />

identity to the building through its humble architectural<br />

language and simplistic materiality.<br />

“The façade is the shell that envelops the building<br />

to prevent excessive sun rays and heat from<br />

coming into the interior spaces. At the same time,<br />

it helps ventilate natural air and heat, creating<br />

thermal comfort for building users. The building’s<br />

enclosures are also designed to be both enclosed<br />

and open. By using perforated cement blocks<br />

specifically designed and manufactured for the<br />

Dharmasharam building, we have been able to<br />

create a visually distinctive design, which consists<br />

of openings and enclosures of varying sizes and<br />

patterns.”


7<br />

76


77<br />

07<br />

การเปิดช่องว่าง<br />

ที่ผิวเปลือกอาคารเพื่อ<br />

สอดรับกับพืชพรรณเดิม<br />

ที่มีอยู่ในพื้นที่


78<br />

theme / review<br />

8


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

79<br />

The cement block façade is the result of a collective<br />

contribution of seven artists and architects<br />

(Charun Angsawanon, Patama Roonrakwit,<br />

Wasinburee Supanichvoraparch, Pairoj Teeraprapa,<br />

Korakot Aromdee, Sarran Youkongdee, and Saruta<br />

Kiatparkpoom), who each designed a pattern from<br />

their interpretation and artistic intent. Using steel<br />

molds to produce concrete blocks in the designed<br />

patterns, the architect created the facade with<br />

unique masonry details where the material reveals<br />

its true physical nature. The overall mass of the<br />

façade is made up of geometric forms, rendering<br />

a sensory perception that is more mathematical<br />

and systematic. The blocks are arranged and<br />

constructed with the additional functionality of<br />

a weight-bearing wall, joined together to support<br />

the building’s main structure. The cement blocks<br />

also obstruct the interior functional space from<br />

outside visual access, providing users with greater<br />

privacy.<br />

The interior spaces are purposefully allocated<br />

to accommodate different activities and uses.<br />

The first-floor area houses a salt spa and Thai<br />

massage facilities as well as a dining area for<br />

visitors participating in the center’s programs and<br />

activities. The accommodation units for overnight<br />

visitors occupy the space on the 2 nd -4 th floor<br />

while the meditation area; exhibition room and the<br />

space for hosting volunteering activities take over<br />

the 5 th floor. The last part of the program is the<br />

outdoor rooftop, with parts of the area preserved<br />

for herbal and kitchen gardening with an ongoing<br />

consideration for future uses.<br />

08<br />

ผังพื้นชั้น 1-5<br />

และชั้นดาดฟ้า<br />

09<br />

อีกบรรยากาศ<br />

รูปแบบห้องพัก โดย<br />

คุณสมชาย จงแสง<br />

Photo courtesy of Deca Atelier<br />

9


80<br />

theme / review<br />

10<br />

10<br />

บรรยากาศโถงทางเดิน<br />

ภายในอาคารที่เกิดจาก<br />

การเชื่อมโยงกับผิวเปลือก<br />

อาคาร<br />

11<br />

การเปิดช่องว่างที่ผิว<br />

เปลือกอาคาร เพื่อเชื่อม<br />

โยงพื้นที่ภายในกับ<br />

ภายนอกอาคาร<br />

11


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

81<br />

The exterior form and the meaning of the lives<br />

moving inside its protective shell represent an<br />

architectural language that converses beautifully<br />

with the surroundings.<br />

Since the building users are from different age<br />

groups with varying physical features and activities<br />

which includes those who come to practice dharma,<br />

the accommodation units are designed to have all<br />

the fundamental functions needed for a person’s<br />

everyday life. Four designers from three design<br />

studios, Shinpanu Athichathanabodi (Trimode<br />

Studio), Nudee Kiratiya-angul, and Rattananan<br />

Kitiwat (IfItIs), and Chairat Na Bangchang, were<br />

asked to design the interior program of the Early<br />

Childhood Room, Middle-Aged Room, and Senior<br />

Room, respectively. Organized around the singleload<br />

corridor, each room has a wall with a floorto-ceiling<br />

opening that partitions the interior space<br />

from the balcony. In the meantime, each terrace<br />

has a screen wall providing natural airflow,<br />

keeping the interior space ventilated while simultaneously<br />

filtering the high outdoor air temperature.<br />

This particular screen wall also prevents<br />

outsiders from visually accessing users’ daily<br />

activities such as washing and hanging clothes,<br />

making the interior space more private and undisturbed.<br />

Exposure to natural ventilation and<br />

sunlight means that each unit needs to use the<br />

air conditioning system and electricity only when<br />

necessary. Everything is designed and constructed<br />

to follow the building’s main objective and core<br />

concept.<br />

The architect utilizes the volume of negative spaces<br />

when determining the direction and management<br />

of the interior environment since the building is<br />

relatively large and wide. The vertical and horizontal<br />

voids serve as openings that bring sunlight<br />

into the interior space while enhancing natural<br />

airflow and internal ventilation. The curvy lines<br />

on the building’s exterior surface create visual<br />

access to existing trees and plants growing in<br />

the area. All these elements contribute to the<br />

building’s thermal comfort, while air conditioning<br />

systems and artificial lights are needed to be<br />

used sparingly. The connection and coexistence<br />

between the interior and exterior environment<br />

correspond with the project’s design concept,<br />

highlighting the importance of energy-saving<br />

methods and respecting nature.<br />

The architect’s intention was to use a material<br />

as standard as cement blocks in a more modern<br />

architectural tradition. The design, as a result,<br />

makes the best use of the material to not create<br />

a complete enclosure and obstruction, but instead<br />

provides a subtle openness, which is made possible<br />

by a masterful manipulation of spaces. The<br />

exterior form and the meaning of the lives moving<br />

inside its protective shell represent an architectural<br />

language that converses beautifully with<br />

the surroundings. It makes the Dharmasharam<br />

Building more than just an accommodation and its<br />

façade is so much more than just an aesthetically<br />

pleasing exterior shell.<br />

facebook.com/DECA-ATELIER-CoLtd-<br />

239603569520172/<br />

พรนิภา วงศ์พราวมาศ<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

มัณฑนศิ ลป์ สาขาออกแบบ<br />

ตกแต่งภายใน มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร และคณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ สาขาสถาปั ตย-<br />

กรรมพื้นถิ ่น มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร ปั จจุ บันประกอบ<br />

อาชีพมัณฑนากรที่บริษัท Madi<br />

Collaborative และมีความ<br />

สนใจในด้านสถาปั ตยกรรม<br />

ชุมชน<br />

Phornnipa Wongprawmas<br />

earned her bachelor’s<br />

degree in interior design,<br />

and master’s degree in<br />

vernacular architecture<br />

from Silpakorn University.<br />

She is currently an interior<br />

designer at Madi Collaborative<br />

and has an interest in<br />

community architecture.<br />

Project: Dharmasharam Client: Sathira Dhammasathan Location: Vacharaphol Road, Bangkok Building Area: 4,800 sq.m. Completion: 2017<br />

Architect: Deca Atelier Lead Designer: Somchai Jongsaeng Structural Engineer: R.K.V. / Darin Nopnirapath System Engineer: Degree System /<br />

Petch Panyangam Landscape Architect: Shma / Prapan Napawongdee Guest Designers for ventilation blocks: Charun Angsawanon, Somchai Jongsaeng,<br />

Patama Roonrakwit, Wasinburee Supanichvoraparch, Pairoj Teeraprapa, Korakot Aromdee, Sarran Youkongdee, Saruta Kiatparkpoom Guest Designers<br />

for guestrooms: Chairat Na Bangchang, Deca Atelier / Somchai Jongsaeng, Trimode Studio / Shinpanu Athichathanabodi IfItIs / Nudee Kiratiya-angul &<br />

Rattananan Kitiwat Materials / Suppliers: Exterior & interior paint - See Jorakay


82<br />

theme / review<br />

Even<br />

a<br />

Brick<br />

Wants<br />

To Be<br />

Something<br />

In this project, a modest<br />

material like a bricks are<br />

presented as a universal<br />

design language, meticulously<br />

uttered to express AUAA’s<br />

cultural legacy, connections,<br />

and sentiments it has<br />

formed with Thai people<br />

over the years.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo: Wideopen Studio 1


83<br />

2<br />

01<br />

ซุ้งโค้งทางเข้าอาคาร<br />

<strong>02</strong><br />

มุมมองภายนอกด้านหน้า<br />

อาคาร


84<br />

theme / review<br />

3<br />

เมื่อไม่นานมานี้ อาคารสมาคมนักเรียนเก่า<br />

ไทย-สหรัฐอเมริกา ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้<br />

ถูกก่อสร้างขึ้นริมถนนราชดำาริ ด้วยความโดด<br />

เด่นทางสถาปัตยกรรม การเลือกใช้วัสดุและ<br />

รูปทรงเรขาคณิตที่น่าสนใจ ส่งผลให้อาคาร<br />

หลังนี้กลายเป็นอาคารกึ่งสาธารณะหลังสำาคัญ<br />

กลางพื้นที่ทำาเลทองของย่านพาณิชยกรรม<br />

ซึ่งแวดล้อมไปด้วยคอนโดมิเนียม ตึกสูงระฟ้า<br />

สนามม้า และสวนสาธารณะขนาดใหญ่ โจทย์<br />

ใหญ่ที่สำาคัญนี้ เป็นความท้าทายที่สำาคัญยิ่ง<br />

ซึ่งทีมผู้ออกแบบจาก EAST Architects ต้อง<br />

พัฒนาโครงการภายใต้ข้อจำากัดนานัปการ<br />

เพื่อให้ได้สถาปัตยกรรมที่รองรับตามความ<br />

ต้องการของสมาคม ในการเป็นอาคารสำาหรับ<br />

รองรับกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนสอนภาษา<br />

ที่เปิดดำาเนินการมากว่า 69 ปี สถาปัตยกรรม<br />

แห่งใหม่นี้จึงต้องบรรจุเอาความทรงจำา ความ<br />

ผูกพันที่มีต่อสถาบันแห่งนี้เข้าไว้ด้วยกัน<br />

โครงการนี้ผ่านระยะเวลาการพัฒนา ออกแบบ<br />

และก่อสร้างมาร่วม 10 ปี เป็นสิบปีที่ทีม<br />

ผู้ออกแบบได้เสนอแนวทางการออกแบบ<br />

ต่อตัวสถาปัตยกรรมหลายทางเลือก ไม่ว่าจะ<br />

ในรูปแบบของคอนกรีตเสริมเหล็ก กระจก ฯลฯ<br />

จนคณะกรรมการตัดสินใจใช้อิฐเป็นวัสดุ<br />

ก่อสร้างหลักของตัวอาคารในที่สุด ซึ่งอิฐเป็น<br />

วัสดุที่มีความสำาคัญทั้งในเชิงการออกแบบและ<br />

มีนัยยะทางวัฒนธรรม เนื่องจากอิฐถูกใช้ใน<br />

การก่อสร้างสถาปัตยกรรมพื้นฐานซึ่งปรากฏ<br />

ผ่านงานสถาปัตยกรรมไทยประเพณี และ<br />

งานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในบริบทสากล<br />

เป็นวัสดุที่เชื่อมโยงความเป็นตะวันออกและ<br />

ความเป็นตะวันตกเข้าด้วยกัน ในมิตินี้อิฐจึง<br />

ทำาหน้าที่เป็นภาษาสื่อกลางที่ผู้ออกแบบ<br />

เลือกนำามาใช้เชื่อมโยงมรดกทางวัฒนธรรม<br />

ประสานความรู้สึกของผู้ใช้สถาปัตยกรรม<br />

ภายใต้ร่มสำาคัญคืออาคารของสมาคม<br />

“เราออกแบบตั้งแต่การวางผังแม่บท (Master<br />

Plan) ไปจนถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

และการตกแต่งภายใน ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากและ<br />

ท้าทายมากในการสร้างความสมดุลระหว่าง<br />

ความเป็นอาคารกึ่งสาธารณะกับความเป็น<br />

ส่วนตัว (Privacy) ที่ต้องรักษาเอาไว้ภายใน<br />

โครงการ ดังนั้นในมิตินี้อิฐจึงถูกนำามาใช้<br />

เพราะการใช้อิฐก่อสามารถสร้างรูปแบบของ<br />

ช่องเปิดในส่วนที่เราต้องการ ในขณะเดียวกัน<br />

ช่วยสร้างการปิดล้อมในส่วนที่เราต้องการ<br />

สร้างพื้นที่ปิดล้อม (Courtyard) ในพื้นที่<br />

ภายใน” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิรัส พัชรเศวต<br />

และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยาณี วิโรจน์รัตน์<br />

สถาปนิกจาก EAST Architects ผู้ออกแบบ<br />

สำาคัญในทีมได้ให้ความเห็นต่อลักษณะสำาคัญ<br />

ของสมดุลระหว่าง ความเป็นสาธารณะและ<br />

ความเป็นส่วนซึ่งเป็นนัยยะที่สำาคัญของงาน<br />

ออกแบบโครงการนี้


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

85<br />

สิ่งที่สำาคัญของอาคารคือลำาดับของการเข้าถึง<br />

พื้นที่ (Sequence) ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงการ<br />

เข้าถึงตั้งแต่ในส่วนแรกของการเข้าถึงอาคาร<br />

ผ่านรูปแบบของซุ้มโค้งขนาดใหญ่ (Arch)<br />

ที่ทำาหน้าที่เชื้อเชิญระหว่างพื้นที่ภายนอกจาก<br />

ทางเข้าติดถนนราชดำาริ เข้ามาสู่พื้นที่ภายใน<br />

อาคาร ในส่วนนี้ทีมออกแบบได้พัฒนารูปแบบ<br />

จนสรุปได้ว่าเป็นการใช้ซุ้มโค้ง ซึ่งเป็นองค์<br />

ประกอบอาคารที่สร้างความโดดเด่น ไปพร้อม<br />

กับการสร้างความดึงดูดให้กับตัวอาคารไป<br />

พร้อมกัน ถัดมาจากซุ้มโค้งของตัวอาคารคือ<br />

บันไดกว้างที่นำาเข้าไปสู่ส่วนโถงขนาดใหญ่ที่<br />

มีการระบายความร้อนแบบ Passive ในจุดนี้<br />

เองทีมผู้ออกแบบได้ใช้เทคนิคของการถ่ายเท<br />

ความร้อนภายในอาคาร ‘Natural Ventilation’<br />

เพื่อสร้างสภาวะน่าสบายให้เกิดขึ้นในอาคาร<br />

ทุกส่วน เนื่องจากตามเป้าประสงค์ของการเป็น<br />

อาคารกึ่งสาธารณะจำาเป็นต้องคิดในเชิงการ<br />

ดูแลรักษาอาคาร ซึ่งไม่สามารถติดเครื่องปรับ<br />

อากาศทั้งอาคารได้ การออกแบบที่อาศัยการ<br />

ระบายความร้อนโดยธรรมชาติจึงเป็นหัวใจ<br />

สำาคัญของการออกแบบ ตัวอาคารมีทั้งหมด<br />

7 ชั้น มีส่วนจอดรถใต้ดินแบบ Smart Parking<br />

2 ชั้น และพื้นที่ดาดฟ้า มีพื้นที่ของโรงเรียน<br />

สอนภาษา พื้นที่สำานักงาน พื้นที่ของสมาคม<br />

ศิษย์เก่า AUA พื้นที่ให้เช่า และส่วนหอประชุม<br />

ขนาด 220 ที่นั่ง<br />

“นอกจากนี้การเลือกใช้อิฐยังตอบสนองต่อ<br />

ข้อจำากัดในเรื่องของงบประมาณ และระยะ<br />

เวลาในการก่อสร้างอีกด้วย ซึ่งเราได้พัฒนา<br />

เป็นงานวิจัยในรูปแบบของการก่อสร้าง”<br />

ทีมผู้ออกแบบได้อธิบายถึงการเรียนรู้ ระหว่าง<br />

การพัฒนาโครงการ ด้วยความที่ทั้งสองท่าน<br />

เป็นอาจารย์ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย จึงได้ใช้โครงการนี้เป็นเครื่องมือ<br />

ในการเรียนรู้ การทดลองวัสดุและโครงสร้าง<br />

ทางสถาปัตยกรรม ซึ่งในตัวโครงการได้สร้าง<br />

รูปแบบของการก่ออิฐทั้งภายนอกและภายใน<br />

ทั้งหมด 16 รูปแบบ (จาก 50 รูปแบบที่ทีม<br />

ผู้ออกแบบเลือกมา) ซึ่งรูปแบบเหล่านี้นำามา<br />

ซึ่งการสร้างการระบายอากาศในแต่ละส่วน<br />

ไปพร้อมกับการสร้างเอกลักษณ์ของช่องเปิด<br />

และรูปแบบของรูปด้านอาคาร ซึ่งมีความแตก<br />

ต่างกันทั้ง 4 ด้านของอาคาร<br />

อย่างไรก็ตามในการออกแบบ ผู้ออกแบบได้<br />

พัฒนาถึงรูปแบบของการก่อสร้างด้วยเพื่อ<br />

ให้ทันกับกรอบระยะเวลาของการก่อสร้าง<br />

ภายใน 2 ปี จึงใช้การออกแบบด้วยระบบ<br />

ประสานทางพิกัด (Modular Coordination)<br />

และแทนที่จะต้องเรียงก่ออิฐทีละก้อน<br />

เปลี่ยนมาพัฒนารูปแบบการก่อสร้างแบบ<br />

กึ่ง Pre cast แบบเดียวกับหลักการก่อสร้าง<br />

Curtain Wall ประกับส่วนอิฐเอาไว้เป็นชุดๆ<br />

ภายใต้ระบบกริตเสา 6 เมตร แนวอิฐทั้งหมด<br />

จะลงตัวที่ 60 เซนติเมตร โดยโครงสร้างของ<br />

อาคารจริงคือคอนกรีตเสริมเหล็กที่ยึดเข้ากับ<br />

คานเหล็ก และใช้เหล็กฉาก 3 นิ้วยึดแนวอิฐ<br />

ด้วยตัวประสานที่เพิ่มความแข็งแรงด้วยปูน<br />

มอร์ตาร์ชนิดพิเศษ ความพิเศษของการผสม<br />

ผสานรูปแบบการก่อสร้างนี้ส่งผลให้โครงการ<br />

สามารถเรียงอิฐ 1.7 ล้านก้อนได้ทันเวลา<br />

เป็นระเบียบได้มาตรฐาน ตอบสนองความ<br />

ต้องการของทีมผู้ออกแบบในการแสดงให้เห็น<br />

ถึงสัจจะของวัสดุไม่ว่าจะเป็นอิฐ เหล็ก หรือ<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

การให้ความสำาคัญต่อการสร้างการรับรู้<br />

ระหว่างพื้นที่ กับเวลา เป็นสิ่งที่ผู้ใช้อาคาร<br />

สามารถสัมผัสได้ผ่านการเข้าใช้งานภายใน<br />

พื้นที่อาคาร ด้วยการออกแบบที่เน้นการ<br />

ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติ ตามแนวทาง<br />

ของสถาปัตยกรรมเขตร้อน ตัวอาคารจึงเน้น<br />

สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ต่อพื้นที่<br />

โดยเฉพาะส่วนบันไดขนาดใหญ่สีดำาที่กำาหนด<br />

ให้เป็นพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างชั้น ด้วยลูกนอน<br />

ที่กว้างของสะพานที่ทอดยาวชิดติดกับผนังอิฐ<br />

ซึ่งผ่านการเว้นร่องตามรูปแบบที่ได้กล่าวไป<br />

ส่งผลให้พื้นที่บันไดเป็นหนึ่งในพื้นที่เชื่อมต่อที่<br />

สร้างการรับรู้ของเวลา ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วง<br />

ระยะเวลา เราจะพบความโดดเด่นที่สำาคัญของ<br />

สภาวะนี้ในอีกส่วนที่เป็นช่องเปิดรูปทรงกลม<br />

ขนาดใหญ่ของพื้นที่ด้านหน้าชั้น 5 จุดเดียว<br />

กับที่มองมาจากภายนอกจะเห็นเป็นวงกลม<br />

ด้านบนของตัวอาคาร พื้นที่ส่วนนี้กลายเป็น<br />

เอกลักษณ์ที่สำาคัญของการสร้างการรับรู้ให้<br />

กับพื้นที่ระหว่างช่วงเวลาที่ทีมผู้ออกแบบตั้งใจ<br />

ให้แสงแดดจากภายนอกล้วงเข้ามาสัมผัสกับ<br />

พื้นที่ภายใน<br />

“เมื่อคุณได้เริ่มสนทนากับวัสดุก่อสร้างของ<br />

คุณ คุณถามอิฐว่าคุณต้องการอะไร อิฐบอก<br />

กับคุณว่า “ฉันชอบซุ้มโค้ง” หลุยส์ ไอ คาห์น<br />

สถาปนิกอเมริกัน เคยกล่าวบทสนทนานี้กับ<br />

ลูกศิษย์ของตน เพื่อเน้นย้ำาว่าแม้แต่วัสดุ<br />

ก่อสร้างก็มีความต้องการของตน และอย่าได้<br />

ละเลยถึงความรู้สึกที่วัสดุมีต่อสถาปัตยกรรม<br />

เอง ในเชิงปรัชญา มนุษย์ต้องการความมั่นคง<br />

ปลอดภัยสูง เมื่อมนุษย์ได้สร้างสิ่งก่อสร้าง<br />

ของเขา ความประทับใจแรกที่มนุษย์ต้องการ<br />

คือความปลอดภัย มนุษย์เข้าไปอยู่ในถ้ำา<br />

เพื่อความปลอดภัย ดังนั้นแม้ว่าจะเป็นอาคาร<br />

กึ่งสาธารณะแต่สิ่งที่จำาเป็นต้องคำานึงถึงคือการ<br />

สร้างประสิทธิภาพของการปกป้องไปพร้อม<br />

กับการออกแบบท่วงทำานองของการเชื้อเชิญ<br />

สภาพแวดล้อมภายนอกเข้ามา อันเป็น<br />

คุณสมบัติที่สถาปัตยกรรมพึงมี ซึ่งทีมผู้<br />

ออกแบบได้แสดงให้เห็นถึงความสำาคัญของ<br />

การสร้างสภาวะกึ่งไร้กาลเวลาฉายสะท้อน<br />

ผ่านวัสดุเชิงสัจจะนิยมอย่างอิฐ ปรากฏบน<br />

สถาปัตยกรรมกลางย่านราชดำาริ<br />

03<br />

ทัศนียภาพภายนอกจาก<br />

มุมมองฝั่งถนนราชดำาริ


86<br />

04<br />

ผนังอาคารภายใน มี<br />

รายละเอียดของรูปแบบ<br />

การเรียงอิฐ และช่องเปิด<br />

ที่หลากหลาย


87<br />

4


88<br />

theme / review<br />

5<br />

05<br />

ภาพ isometric รูปแบบ<br />

การเรียงอิฐและช่องเปิด<br />

ในแต่ละส่วนของผนังอาคาร<br />

Recently, the American University Alumni Association<br />

under the Royal Patronage finally completed the<br />

construction of its new home. Sited on Ratchadamri<br />

Road, the new AUAA Building reveals its distinctive<br />

architectural attributes and intriguing details of materials<br />

and geometric form. The semi-public building<br />

stands in its full glory in Bangkok’s most upscale<br />

district, surrounded by expensive condominium<br />

projects, high-rise office buildings, and large-scale<br />

public parks. These qualities and factors become<br />

both the homework and challenge for the design<br />

team of EAST Architects. The design development<br />

needs to tackle a handful of limitations to deliver<br />

the architectural design that fulfills AUAA’s requirements,<br />

including the program that accommodates<br />

different activities of the language school and its 69<br />

years of continual operations. The new building is<br />

a chronicle of memories and connections between<br />

AUAA and everyone.<br />

The project’s development, design, and construction<br />

take over a decade to complete. The design team<br />

proposed several ideas for the architectural design<br />

throughout those ten years, from reinforced concrete<br />

to glass, before the board decided on using<br />

bricks as the principal material. Bricks hold significance<br />

in both the aspect of design and cultural<br />

implications as rudimentary material in traditional<br />

Thai architecture and contemporary architecture<br />

worldwide. It is one of those materials that interconnect<br />

the western and eastern worlds. With this<br />

project, bricks are presented as a universal design<br />

language, meticulously uttered to express AUAA’s<br />

cultural legacy, including the connections and<br />

sentiments the association has formed with people<br />

over the years.<br />

“We handle the master plan, the architectural<br />

design, and interior decoration. It was a complex<br />

and highly challenging task to balance the building’s<br />

semi-public program and the requirements while<br />

still preserving a sense of privacy. Bricks were chosen<br />

because they enabled us to locate the openings<br />

and enclosures in different parts of the program,<br />

such as the interior courtyard. Assistant Professor<br />

Pirast Pacharaswate and Assistant Professor<br />

Sayanee Virochrut, the two architects leading the<br />

design team of EAST Architects, share their views<br />

on facilitating the balance between private and<br />

public- the project’s key concept and starting point<br />

of the design.


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

89<br />

6<br />

06<br />

พื้นที่โถงชั้นล่าง<br />

07<br />

รูปด้านหน้าและด้านข้าง<br />

The design team selects 16 different<br />

brick patterns, from 50 options, for<br />

exterior and interior compositions.<br />

The varied patterns help to bring<br />

unique characteristics to the building’s<br />

four different-looking elevations.<br />

7


6<br />

90<br />

theme / review<br />

The integrated method is intriguing, for they manage to<br />

successfully construct the building from 1.7 million bricks<br />

in time and at such a high level of organization and<br />

standard.<br />

8<br />

08<br />

ผังพื้นชั้นต่างๆ<br />

09<br />

ช่องเปิดวงกลมขนาด<br />

ใหญ่ส่วนพื้นที่ด้านหน้า<br />

ของชั้น 5<br />

Another essential characteristic of the building<br />

is the spatial sequence. Essentially, it involves<br />

facilitating how the building is accessed. The idea<br />

gets translated into a large-scale arcade that leads<br />

visitors from the Ratchadamri Road entrance into<br />

the building. The arcade’s design was developed to<br />

function as an architectural element that brings both<br />

distinctiveness and visual appeal to the building.<br />

Next to the arcade is the stairway leading to the<br />

large foyer. In this area, passive ventilation is devised<br />

using natural ventilation techniques to bring thermal<br />

comfort to different parts of the program. With the<br />

project being a semi-public building, maintenance is<br />

one of the issues the design prioritizes. The design<br />

employs natural ventilation as the critical element to<br />

avoid the excessive use of air conditioning systems.<br />

The program includes the Smart Parking space<br />

occupying two underground floors, the rooftop area,<br />

the language school, an office space, the space<br />

reserved for the AUA alumni, rental spaces, and the<br />

220-seat auditorium.<br />

“Bricks are chosen, in parts, because they match the<br />

project’s limited budget and construction period.<br />

We developed this project and the entire construction<br />

process as a research project,” explained the<br />

design team about the lessons they learned along<br />

the entirety of the development. With both architects<br />

being professors at the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University, the project became a<br />

learning opportunity to experiment with architectural<br />

structures and materials. The design team selects 16<br />

different brick patterns (from 50 options) for exterior<br />

and interior compositions. The varied patterns help<br />

facilitate natural ventilation in each section, bringing<br />

unique characteristics to the building’s four different-looking<br />

elevations with diverse patterns and<br />

configurations of the openings.


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

91<br />

9


92<br />

theme / review<br />

10<br />

บรรยากาศภายในอาคาร 10


93<br />

11<br />

ช่องเปิดในส่วนดาดฟ้า<br />

อาคาร เผยให้เห็นมุมมอง<br />

ทัศนียภาพของเมืองที่อยู่<br />

ภายนอก 11<br />

The design team developed a method to fit in the<br />

two-year time frame scheduled for the construction<br />

period. Instead of brick by brick construction, the<br />

design utilizes a modular coordination system. The<br />

semi-precast technique (similar to constructing a<br />

curtain wall) calculates the material into 60-centimeter<br />

modules to fit the grid-based layout system<br />

with a 6-meter span between the columns. The<br />

principal structure of the building was constructed<br />

using reinforced concrete and steel beams. 3” angle<br />

steel bars hold the brick modules with the help of a<br />

particular type of mortar concrete for extra strength.<br />

The integrated method is intriguing, for they manage<br />

to successfully construct the building from 1.7 million<br />

bricks in time and at such a high level of organization<br />

and standard. The effort fulfills the design team’s<br />

intention to showcase the materials’ true natures,<br />

whether bricks, steel, or reinforced concrete.<br />

Users can experience the curated perception of time<br />

and space when interacting with the architectural<br />

and interior program. The design’s emphasis on<br />

Tropical Architecture’s natural ventilation pays extra<br />

attention to the facilitated connection between spaces,<br />

particularly the large stairway linking each floor<br />

together. The placement of the stairs’ extra-wide<br />

landings with no risers next to the brick wall causes<br />

the composition to become one of the transitioning<br />

spaces, introducing users to the dynamic perception<br />

of time throughout the day. A similar experience can<br />

be found at the front-facing wall on the fifth floor,<br />

where a massive circular-shaped opening is present<br />

as a part of the building’s exterior mass and interior<br />

program. This particular portion of the space becomes<br />

one of the building’s physical characteristics,<br />

allowing users to experience the space, especially<br />

when the outside natural light makes its way into the<br />

interior space.<br />

“You say to brick, “What do you want, brick?” Brick<br />

says to you, “I like an arch.” Louis I. Kahn said during<br />

a conversation with his students. The statement<br />

emphasizes that even a construction material has its<br />

own needs, and architects should not neglect the<br />

material’s inherent sentiments for architecture it is<br />

a part of. On a philosophical level, humans instinctively<br />

demand a sense of safety and security. When<br />

humans build their own spaces, the first impression<br />

they look for is safety. Humans lived in caves for the<br />

safety they provided. Even with its functionality as a<br />

semi-public building, AUAA’s architecture’s priority<br />

is delivering efficient protection while welcoming<br />

the presence of an outside environment. Such<br />

qualities are what architecture should pursue and<br />

attain. What the design team of EAST Architects has<br />

demonstrated is the significance of the state where<br />

the absence of time is materialized through this<br />

primary yet wonderous material -- a known realist in<br />

the world of architecture. Delivered is a mesmerizing<br />

work of architecture sited in one of Bangkok’s most<br />

commercially valuable neighborhoods.<br />

eastarchitects.com<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

เป็ นผู้จัดการสถาบัน<br />

ปรีดี พนมยงค์ และ<br />

นักศึกษาปริญญาเอก<br />

สาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร สนใจศึ กษามรดก<br />

ทางวัฒนธรรมและ<br />

ขณะนี้กำาลังทำาวิจัยเกี่ยว<br />

กับสภาพแวดล้อมสรรค์<br />

สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is the general manager<br />

at Pridi Banomyong<br />

Institute and a Ph.D.<br />

candidate on the<br />

vernacular architecture<br />

program at the faculty<br />

of architecture, Silpakorn<br />

University. He is<br />

interested in cultural<br />

heritage and currently<br />

conducting research on<br />

the built environment<br />

of the Malay cultural<br />

landscape.<br />

Project: AUAA Building Client: American University Alumni Association - AUAA Location: Rajdamri Road, Bangkok Architect: EAST<br />

Architects Project Team: Pirast Pacharaswate, Sayanee Virochrut, Lanna Trakantalerngsak, Jakkaphan Tasniyom, Chitipat Sornsukolrat,<br />

Chitathon Kupwiwat, Sakan Udompanich, Patara Warathanasin, Vilin Pipatnadda, Nicha Kachamas, Chalath Nettayawichit Interior Designer:<br />

EAST Architect Structural Engineer: Site 83 Mechanical Engineer: Site 83 Contractor: McTRIC PCL Land Area: 9,000 sq.m. Building Area:<br />

7,000 sq.m. Completion: 2<strong>02</strong>1 Materials / Suppliers: Brick - APK Dawkoo, Elevator - Schindler, Air conditioning system - Daikin, Sanitary<br />

wares - Cotto, Tiles - Sinpongstorn / Thai Soung, Acoustic board - SCG / Trendar ( auditorium), Lighting - L&E


94<br />

theme / review<br />

Perfectly<br />

Im-<br />

Perfect<br />

At the new Boccia National Field Training Center, the design team<br />

of pbm has interpreted the concept of simplicity and imperfection<br />

into the façade by applying the shape of a scalene triangle.<br />

Text: Nathanich Chaidee<br />

Photo: Yamastudio


95<br />

01<br />

ผิวผนังภายนอกอาคารทำา<br />

จากแผ่นอะลูมิเนียมเจาะรู<br />

1


96<br />

theme / review<br />

Boccia (บอคเซีย) คือหนึ่งในกีฬาความหวัง<br />

ที่ตัวแทนนักกีฬาคนพิการชาวไทยซึ่งเข้าร่วม<br />

การแข่งขันในระดับโลกอย่างพาราลิมปิกเกมส์<br />

และคว้าเหรียญรางวัลติดมือกลับมาฝากแฟน<br />

กีฬาชาวไทยอย่างสม่ำาเสมอ ศูนย์ฝึกกีฬา<br />

บอคเซียแห่งชาติ สมาคมกีฬาคนพิการทาง<br />

สมองแห่งประเทศไทย จึงถูกออกแบบและ<br />

ก่อสร้างเพื่อรองรับการฝึกซ้อมและอำานวย<br />

ความสะดวกสำาหรับนักกีฬาคนพิการโดย<br />

เฉพาะ เพื่อเตรียมพร้อมสำาหรับการแข่งขัน<br />

ไปจนถึงการเป็นพื้นที่เรียนรู้และเผยแพร่<br />

เทคนิคกีฬาบอคเชียให้กับนักกีฬาคนพิการ<br />

ทั้งในประเทศและเพื่อนบ้านภูมิภาคอาเซียน<br />

โครงการครั้งนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือของ<br />

การกีฬาแห่งประเทศไทย หัวหมาก โดยมีสิงห์<br />

เอสเตทเป็นเจ้าภาพในการให้การสนับสนุน<br />

จึงได้ชักชวน pbm ซึ่งเคยร่วมงานกันในฐานะ<br />

ผู้ออกแบบสำานักงานใหญ่บริษัท บุญรอด<br />

บริวเวอรี่ ณ ตึกสิงห์ คอมเพล็กซ์ มาเป็น<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบอาคารศูนย์กีฬาบอคเซีย<br />

แห่งชาติในครั้งนี้<br />

“โครงการนี้เป็นเหมือนกับการกุศล วัสดุต่างๆ<br />

ส่วนหนึ่งก็ได้รับจากการร่วมบริจาคจากหลาย<br />

หน่วยงาน จึงเกิดเป็นข้อจำากัดบางอย่างที่<br />

ทำาให้เราต้องออกแบบเพื่อให้รองรับกับวัสดุ<br />

นั้นๆ ด้วย รวมไปถึงกรอบอาคารหรือความ<br />

ต้องการใช้งานพื้นที่ต่างๆ มันเลยไม่ได้เริ่มต้น<br />

จากศูนย์ไปเสียทีเดียว”<br />

โจทย์ที่ทาง pbm ได้รับมา คือการออกแบบ<br />

อาคารให้กับนักกีฬาบอคเซีย โดยชั้นล่างเป็น<br />

สนามซ้อมจำานวน 4 สนาม และชั้นบนเป็น<br />

พื้นที่พักนักกีฬา แนวคิดหลักจึงเน้นการเข้าถึง<br />

ของผู้ใช้ผ่านพฤติกรรมการใช้งานรถเข็น<br />

งานสำาคัญสำาหรับทีมออกแบบจึงเป็นเรื่องการ<br />

ออกแบบทางลาดขนาดใหญ่ในโถงอาคารซึ่ง<br />

เป็นตัวเชื่อมต่อเส้นทางสัญจรภายในอาคาร<br />

ในแนวดิ่งให้ใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย และ<br />

เป็นเส้นสายที่สร้างลักษณะเด่นที่ แสดงออก<br />

ถึงความภาคภูมิใจทั้งกับกีฬาบอคเซียและ<br />

ตัวนักกีฬาเอง<br />

ข้อกำาหนดสำาคัญในส่วนการออกแบบสนาม<br />

กีฬา นั่นคือพื้นที่ใช้สอยภายในสนามซ้อมที่<br />

ควรหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสาซึ่งจะกีดขวางภายใน<br />

บริเวณทั้งหมด การออกแบบและจัดการ<br />

โครงสร้างอาคารจึงเลือกใช้โครงสร้างเหล็ก<br />

พาดช่วงยาวสำาหรับรับน้ำาหนักของชั้นบนซึ่ง<br />

เป็นพื้นที่พักนักกีฬา ไปพร้อมกับการออกแบบ<br />

บริเวณภายในพื้นที่พักให้โปร่งโล่ง มีการ<br />

ระบายอากาศที่ดี และให้ผู้ใช้งานได้สัมผัส<br />

กับธรรมชาติระหว่างการพักผ่อนหลังจาก<br />

การฝึกซ้อม<br />

ด้วยรูปทรงของอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

สัดส่วนแปลกตาที่มีปัจจัยบังคับจากขนาดของ<br />

สนามซ้อมภายใน และเส้นสายของอาคารที่<br />

สะท้อนให้เห็นความเป็นเส้นนอนและเส้นเฉียง<br />

ของทางลาด ทีมออกแบบจึงมีแนวคิดที่จะใช้<br />

façade สำาหรับปกคลุมรูปด้านของอาคารเพื่อ<br />

ให้ตัวอาคารดูมีมิติและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น<br />

ด้วยแนวความคิด “ความงามของความไม่<br />

สมบูรณ์” ที่ดึงเอาความเคลื่อนไหวในแบบ<br />

มั่นคงและเรียบง่ายอย่างเช่นอากัปกิริยาของ<br />

นักกีฬาบนรถเข็น<br />

“เริ่มจากผู้มาเยือนอาคารจะต้องเห็นความ<br />

มั่นคง เริ่มต้นจากรูปร่างและรูปทรงของตัว<br />

อาคารที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า เส้นนอนที่มั่นคง<br />

ด้วยตัวของเส้นสายเอง เราก็เอาความมั่นคงนี้<br />

มาตีความต่อถึงวัสดุประกอบอาคาร เพื่อให้<br />

ผสมผสานอย่างดีกับความเรียบง่าย”<br />

ความเรียบง่ายจึงถูกแปลความผ่าน façade<br />

ออกมาเป็นรูปร่างสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า เมื่อ<br />

ผสานกับแนวคิดเรื่องความไม่สมบูรณ์แบบ<br />

ของรูปทรง ความงามตามธรรมชาติจึงเกิดขึ้น<br />

จากแต่ละเหลี่ยมมุมที่ไม่เท่ากันของ façade<br />

พร้อมกับความเคลื่อนไหวของพื้นผิวภายนอก<br />

อาคารเมื่อกระทบกับแสงอาทิตย์ตลอดวัน<br />

ลำาดับต่อมาจึงเป็นเรื่องการเลือกวัสดุสำาหรับ<br />

façade โดยเลือกจากวัสดุที่สามารถหาได้ง่าย<br />

จากท้องตลาด สถาปนิกจึงเลือกใช้งานแผ่น<br />

อะลูมิเนียมเจาะรู (Perforated Aluminium)<br />

โดยดึงเอาอัตลักษณ์รูปวงล้อของโลโก้องค์กร<br />

บอคเซียที่สื่อให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวของ<br />

นักกีฬาบนรถเข็นมาเป็นแพทเทิร์นของการ<br />

เจาะ “เราไปเห็นโลโก้ขององค์กรที่เห็นความ<br />

เฉพาะของกีฬา และเราก็เห็นว่าถ้าดึงโลโก้<br />

ตัวนี้มาเป็นแพทเทิร์น ก็จะยิ่งช่วยสนับสนุนให้<br />

นักกีฬามีความมั่นใจมากขึ้นในการทำากิจกรรม<br />

บนรถเข็นหรือวงล้อตัวนี้ และคนที่ใช้งาน<br />

อาคารก็จะเห็นภาพจำาลองเหมือนเราได้อยู่ใน<br />

พื้นที่ของนักกีฬาผ่านวงล้อนับพันที่อยู่ภายใน<br />

พื้นที่”<br />

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานอาคารกับพื้นที่<br />

ภายในเกิดขึ้นผ่าน façade ที่เป็นเหมือนม่าน<br />

กรองแสงขั้นแรกก่อนเข้าสู่ตัวอาคาร แสง<br />

ธรรมชาติที่ลอดผ่าน façade ซึ่งแตกต่าง<br />

ตลอดวันสร้างความเคลื่อนไหวส่งต่อตก<br />

กระทบลงบนพื้นผิวในระนาบต่างๆ สร้าง<br />

ให้อาคารกลับมามีชีวิตชีวาภายใต้โครงสร้าง<br />

ของเส้นสายที่มั่นคง<br />

ประโยชน์ใช้สอยอีกประการของแผ่น façade<br />

อะลูมิเนียมเจาะรูเป็นเรื่องของการประหยัด<br />

พลังงาน ซึ่งทำาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างธรรมชาติ<br />

ของบริบทที่รายล้อมตัวอาคารเข้ามาสู่ภายใน<br />

อาคาร จึงสามารถถ่ายเทอุณหภูมิ ลมที่พัด<br />

กระทบผิวหนัง และการระบายอากาศภายใน<br />

พื้นที่ได้ดี เพิ่มความรู้สึกที่เป็นธรรมชาติของ<br />

การใช้งานพื้นที่ภายในอาคารได้ดียิ่งขึ้น<br />

ความท้าทายสำาหรับสถาปนิกในงานออกแบบ<br />

façade อาคารในครั้งนี้เป็นเรื่องของฟอร์ม<br />

อาคารที่ความยาวและขนาดใหญ่เป็นพิเศษ<br />

จึงจำาเป็นต้องออกแบบอาคารเพื่อสร้างสรรค์<br />

สัดส่วนอาคารให้ดูกระชับและสวยงามมาก<br />

ยิ่งขึ้น และสร้างความสม่ำาเสมอให้กับทั้ง<br />

อาคารกลายเป็นเรื่องราวเดียวกัน<br />

façade ของอาคารศูนย์ฝึกกีฬาบอคเซียแห่งนี้<br />

นอกเหนือจากการสร้างสรรค์ลีลาจากความ<br />

เคลื่อนไหวของแสงธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ตลอดทั้งวันผ่านเปลือกอาคาร คุณค่าจากงาน<br />

ออกแบบยังส่งผลทางจิตวิทยาสำาหรับผู้ใช้งาน<br />

หลักอย่างนักกีฬาคนพิการ ให้ความรู้สึกมั่นใจ<br />

ในการฝึกซ้อม ลงแข่งขัน หรือการทำากิจกรรม<br />

ต่างๆ ภายในอาคาร พร้อมกันกับคุณค่าของ<br />

การทำางานที่ส่งกลับคืนให้กับสถาปนิกที่ว่า<br />

มุมมองและทักษะในเรื่องการออกแบบและแก้<br />

ปัญหารูปทรงของอาคารครั้งนี้ เป็นทั้งเรื่อง<br />

การส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กับองค์กร ไปพร้อม<br />

กับการสร้างคุณภาพชีวิตให้กับผู้ใช้งานให้<br />

เกิดขึ้นได้จริงผ่านงานออกแบบสถาปัตยกรรม


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

97<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

แบบขยายต่างๆ ของ<br />

งานออกแบบบริเวณผนัง<br />

ภายนอก<br />

4<br />

3<br />

03<br />

ทัศนียภาพภายนอก<br />

04<br />

รายละเอียดส่วนผนังกับ<br />

หลังคาบริเวณช่องทางเข้า<br />

อาคาร


98<br />

5


99<br />

05<br />

ผิวผนังภายนอกอาคาร<br />

ที่สะท้อนถึงแนวคิดเรื่อง<br />

ความไม่สมบูรณ์แบบ<br />

ด้วยการใช้เหลี่ยมมุมของ<br />

ผนังโลหะที่ไม่เท่ากัน


100<br />

theme / review<br />

Boccia is one of the sports where Thai athletes<br />

have always won medals at the Paralympic Games.<br />

Operated under the Cerebral Palsy Sports Association<br />

of Thailand, the new Boccia National Field<br />

Training Center is specifically designed and constructed<br />

to accommodate the training programs<br />

and facilities for athletes with disabilities. The<br />

training center prepares the athletes for competition<br />

and functions as a space that educates<br />

and promotes Boccia for broader national and<br />

regional recognition.<br />

The project is a collaborative effort between the<br />

Sports Authority of Thailand (Huamark) and Singha<br />

Estate. Having worked with pbm for its headquarters<br />

at Singha Complex, Boon Rawd Brewery then<br />

asked the firm to be the project’s architect. “This<br />

is a charity project, and the construction materials<br />

are donations from many different agencies. That<br />

becomes somewhat a limitation that forces us<br />

to develop the design according to the materials<br />

we have, including the plan and the requirements<br />

for spatial usages, so we didn’t exactly start from<br />

zero.” Says the architect.<br />

The brief is to design a building for Boccia athletes.<br />

The first floor hosts four training fields while the<br />

accommodation for athlete accommodation occupies<br />

the space on the upper floor. The design concept<br />

of accessibility for wheelchair users who are<br />

also primary users of the building comes with a<br />

challenge. The pbm team has to design a series<br />

of large indoor ramps that link the entire vertical<br />

circulation together, making the building’s access<br />

as convenient as possible. The ramps become<br />

an integral element of the building’s physical<br />

character, expressing its pride in the sports and<br />

the athletes.<br />

06<br />

การใช้ทางลาดเป็น<br />

ประโยชน์ใช้สอยซึ่งเป็น<br />

จุดเด่นของอาคาร<br />

6


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

101<br />

07<br />

บรรยากาศภายในบริเวณ<br />

โถงสัญจร เห็นเส้นสายที่<br />

น่าสนใจของทางลาด<br />

The façade of the<br />

Boccia Training<br />

Center designed by<br />

pbm enlivens the<br />

constant movements<br />

of natural light with<br />

its meticulously<br />

designed structure<br />

and surface.<br />

7<br />

1. ENTRANCE HALL<br />

2. RAMP HALL<br />

3. LIFT HALL<br />

4. MALE W.C.<br />

5. FEMALE W.C.<br />

6 BOCCIA INDOOR FIELD<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

2M


1<strong>02</strong><br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

มุมมองจากภายในออกสู่<br />

ภายนอก ผ่านผิวผนังที่ทำา<br />

จากแผ่นอะลูมิเนียมเจาะรู


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

103<br />

One of the vital requirements of sports field architecture<br />

and design is the absence of columns in<br />

the training areas. The design and management of<br />

the building’s structure rely on the long-span steel<br />

structure, which can bear the weight of the upper<br />

floor where the athlete accommodation is located.<br />

The design grants the living units and common<br />

areas efficient natural ventilation, allowing users<br />

to relax from the surrounding natural elements<br />

during their breaks from training. The rectangular<br />

form with unusual proportions is defined by the<br />

functionally derived sizes of the training fields<br />

and the ramps’ horizontal and inclined lines. With<br />

the intention for the façade to bring more exciting<br />

dimensions to the building’s outer appearance,<br />

the design team interprets the ‘beauty of imperfection’<br />

concept into the solid and straightforward<br />

movements of how athletes operate their wheelchairs.<br />

“Visitors will see and sense the solidity of the<br />

building, from the rectangular form and shape to<br />

the stable horizontal lines. We further interpret<br />

this stability into construction materials, which<br />

also convey and blend well with the notion of<br />

simplicity.” Here the concept of simplicity and<br />

imperfection gets translated into the façade with<br />

the shape of a scalene triangle. The structure’s<br />

design renders a natural beauty of the geometric<br />

form’s unequal sides, complemented with the dynamic<br />

movements of the surface when interacted<br />

with sunlight at different times of the day.<br />

The façade’s materials are all locally available,<br />

including perforated aluminum. Inspired by the<br />

Boccia Association’s logo, which conveys athletes’<br />

movements on wheelchairs, the design team<br />

creates a pattern on the aluminum’s perforated<br />

surface. “We saw the logo and how it represented<br />

the particular characteristics of the sports and<br />

thought that if we used that with the pattern, it<br />

could give a sense of assurance for the athletes<br />

when they’re using their wheelchairs when they<br />

engage in different kinds of activities. Through<br />

this wheel-inspired perforated pattern, building’s<br />

users can experience the feeling of being a part<br />

of the training fields.”<br />

The interactions between users and interior space<br />

occur through the façade, which serves as the first<br />

layer of sun filtration for the building. Natural light<br />

coming through the architectural element alters<br />

throughout the day, bringing dynamic effects to<br />

different planes and surfaces, adding life to the<br />

architecture with gradually moving visible lines.<br />

Another function of the perforated aluminum<br />

façade is its energy-saving ability. It also serves<br />

as an interface that brings in the surrounding<br />

natural elements to the interior program. The<br />

circulated air means the balanced transfer of<br />

temperature, airflow, and internal ventilation. It<br />

enhances the presence of nature in the interior<br />

functional spaces. One of the most significant<br />

challenges of this façade design is the extra<br />

length and large size, which requires the architectural<br />

design to have an even more concise<br />

and visually appealing form while keeping the<br />

building and the enveloping composition into<br />

one unanimous narrative.<br />

The façade of the Boccia Training Center enlivens<br />

the constant movements of natural light with<br />

its meticulously designed structure and surface.<br />

At the same time, the design’s psychological<br />

impacts on the athletes reassure the confidence<br />

in the training, competition, and participation in<br />

other activities. In return, for the architect, these<br />

values are rewarding for they are testaments of<br />

their visions, skills, and the power of architecture.<br />

The work they create has provided solutions that<br />

resolve all the limitations and restrictions, promoted<br />

the organization’s identity and image while<br />

successfully and meaningfully improved users’<br />

quality of life at the same time.<br />

pbm.co.th<br />

ณัฐนิช ชัยดี<br />

จบการศึกษา<br />

ด้านออกแบบตกแต่ง<br />

ภายใน ปั จจุบันเป็ น<br />

คอลัมนิสต์อิสระ<br />

ด้านสถาปั ตยกรรม<br />

งานออกแบบ และ<br />

วัฒนธรรม<br />

Nathanich Chaidee<br />

is a graduate<br />

of interior design<br />

and currently<br />

working as a<br />

freelance journalist<br />

in architecture,<br />

design and culture.<br />

Project: Boccia Field Training Center Client: Cerebral Palsy Sports Association of Thailand<br />

Architect: pbm Project Team: Matetaporn Visitpongpun Suvijak Yatinuntsakul Shaloemsak Kuakul<br />

Project Management: Singha Estate PCL. Construction Management: I.M. Project Management<br />

Building Contractor: 1. NMC Conland (Structure, Architecture, M&E, Facade) 2. Chamnan Construction<br />

(Piling Work) 3. C N Electric (Main Electrical High Voltage) 4. Jardine Schindler (Thai) CO.,Ltd. (Passenger<br />

Elevator) Building Area: 2,200 sq.m. Completion: 2<strong>02</strong>1 Material /Supplier: Aluminum Composite - BFM


104<br />

theme / review<br />

One<br />

Screen,<br />

Many<br />

Views<br />

IDIN Architects has designed a mixed-use building with an eye-catching<br />

façade, using glass and aluminum panels to conceal different functional<br />

spaces and to create more diversified perspectives.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


105<br />

1<br />

01<br />

ภาพภายนอกของตัว<br />

อาคาร ที่เส้นสายของผิว<br />

อาคารหยอกล้อไปกับ<br />

เสามังกรของศาลเจ้า


106<br />

theme / review<br />

The architect intends for<br />

the building to exist as<br />

a community backdrop<br />

with a vertical garden<br />

bringing green space to<br />

the surrounding area.<br />

With such an idea in<br />

mind, the team started<br />

the design development<br />

process with the<br />

building’s façade.<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

มุมอาคารที่ถูกปิดทึบด้วย<br />

Facade ภายนอก<br />

03<br />

มุมมองจากศาลเจ้าที่เห็น<br />

ถึงจังหวะ และ รูปแบบการ<br />

ปิด-เปิดผิวอาคาร<br />

3


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

107<br />

ในแง่มุมของงานสถาปัตยกรรม หลายครั้งเรา<br />

แบ่งแยกอาคารต่างๆ ด้วยรูปลักษณ์ภายนอก<br />

ของอาคารที่แตกต่างออกไปตามยุคสมัย ตาม<br />

ความนิยม และการใช้งานของแต่ละช่วงเวลา<br />

นอกจากนั้นสถาปัตยกรรมยังบ่งบอกถึงแนว<br />

ความคิดที่เป็นตัวขับเคลื่อนความเป็นอยู่ในยุค<br />

นั้นๆ จนถึงปัจจุบันที่หลากหลายแนวความ<br />

คิดถูกนำา มาประยุกต์ใช้ร่วมกันเพื่อแสดงออก<br />

ถึงเอกลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรม ในขณะ<br />

เดียวกันด้วยองค์ความรู้ที่หลากหลายมากขึ้น<br />

การออกแบบยังต้องช่วยตอบโจทย์ในแง่มุม<br />

ที่ต่างออกไป ทั้งในเรื่องของการใช้งาน<br />

บริบทของพื้นที่ตั้ง ความเชื่อส่วนบุคคล หรือ<br />

การแสดงออกในเชิงธุรกิจ ที่เป็นปัจจัยเข้ามา<br />

ทำาให้แต่ละอาคารมีความแตกต่างกันออกไป<br />

Suan Phlu 9 Office เป็นงานออกแบบโดย<br />

IDIN Architects ตั้งอยู่ในชุมชนซอยสวนพลู 9<br />

ซึ่งเป็นหนึ่งในเขตที่อยู่อาศัยสำาคัญใจกลาง<br />

กรุงเทพมหานคร ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่ดิน<br />

ติดกับศาลเจ้า ที่เป็นเสมือนพื้นที่เปิดโล่งสำาหรับ<br />

ชุมชนละแวกนี้ นำามาสู่โจทย์สำาคัญที่ทำาให้ IDIN<br />

คำานึงถึงบริบทของพื้นที่ในช่วง เริ่มต้นของ<br />

การออกแบบ ด้วยความตั้งใจที่อยากให้อาคาร<br />

ทำาหน้าที่เป็นฉากผืนใหญ่ ผนวกกับการเพิ่ม<br />

พื้นที่สีเขียวให้กับพื้นที่โดยรอบในลักษณะ<br />

Vertical Garden เปลือกของอาคารหรือ Façade<br />

จึงเป็นสิ่งแรกที่ถูกคำานึงถึงในการออกแบบของ<br />

โครงการนี้<br />

จากโจทย์ที่ได้รับให้ออกแบบอาคารสำานักงาน<br />

และที่อยู่อาศัยสำาหรับครอบครัวใหญ่ ด้วย<br />

ฟังก์ชั่นทั้งหมด อาคารถูกออกแบบให้มี 8 ชั้น<br />

โดยชั้นล่างเป็นส่วนต้อนรับ และที่จอดรถใต้<br />

อาคาร ส่วนชั้นที่ 2 - 4 เป็นสำานักงาน และ<br />

ด้านบนเป็นที่อยู่อาศัยทั้งหมด ซึ่งในการวางผัง<br />

อาคารผู้ออกแบบได้ทำางานร่วมกับซินแสในการ<br />

จัดวางห้องต่างๆ เพื่อให้เป็นตามหลักการฮวงจุ้ย<br />

ที่เหมาะสม ที่ดินทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นผัง<br />

9 ช่อง ทำาให้ฟังก์ชั่นบางส่วนต้องถูกจัดวางด้าน<br />

ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ที่จะเป็นฉากหน้าอาคาร<br />

จนเกิดเป็นจังหวะของการใช้งานที่แต่ละชั้น<br />

เริ่มมีความแตกต่างกัน บวกกับอีกหนึ่งโจทย์ที่<br />

สำาคัญคือวัสดุในการก่อสร้างที่เจ้าของโครงการ<br />

ต้องการให้ใช้เหล็กในการออกแบบ เพื่อให้<br />

แสดงถึงภาพลักษณ์ของกิจการด้วยอีกทางหนึ่ง<br />

จึงเป็นสิ่งที่เข้ามาส่งเสริมแนวความคิดในการ<br />

ออกแบบเปลือกนอกอาคารให้ใช้ประโยชน์ใน<br />

การออกแบบ โดยมี Curtain Wall เป็นรากฐาน<br />

ของไอเดีย ที่จะถูกนำามาออกแบบในลักษณะของ<br />

Double Façade ซึ่งในเรื่องของการใช้กระจกเข้า<br />

มาเกี่ยวข้อง ยังต้องคำานึงถึงสิ่งที่จะเกิดผลกระทบ<br />

ต่อพื้นที่โดยรอบด้วย เนื่องจากการใช้ผนังกระจก<br />

ที่อาจจะสะท้อนแสงแดดออกไปยังชุมชนโดยรอบ<br />

ประกอบกับการที่ฉากใหญ่ของอาคารนั้นตรง<br />

กับทิศตะวันตกเฉียงใต้ ที่จะต้องรับแสงอาทิตย์<br />

โดยตรง ทำาให้เปลือกอาคารที่ออกแบบยังต้องทำา<br />

หน้าที่คอยกันแสงแดด และความร้อนที่จะเข้าสู่<br />

พื้นที่ภายในอาคารด้วย<br />

ด้วยความต้องการของสถาปนิกที่จะทำาให้เปลือก<br />

อาคารตอบโจทย์ที่หลากหลายนั้น รูปแบบความ<br />

คิดในการพัฒนาจึงเกิดเป็นลำาดับขึ้นตอน จาก<br />

แนวความคิด สู่การแก้ปัญหา ตั้งแต่จุดเริ่มต้น<br />

ที่ต้องการสร้าง Vertical Garden เพื่อลดทอน<br />

งานระบบที่จะเกิดขึ้น และสร้างมุมมองที่เปิดโล่ง<br />

สำาหรับพื้นที่ภายในอาคาร Façade ถูกแบ่งออก<br />

เป็นส่วนๆ เพื่อสลับการใช้งาน ในส่วนที่เป็นพื้นที่<br />

ใช้สอยผู้ออกแบบเลือกที่จะปิดบังอาคารบางส่วน<br />

ด้วยการใช้กระจก และแผ่น Aluminum ทั้งแบบที่<br />

เป็นแผ่นทึบ และแบบเจาะรู (Perforated) ทำาให้<br />

เกิดมุมมองที่ต่างกันออกไป ส่วนของกระจกให้<br />

ความโปร่ง 100% เพื ่อที ่จะรับแสงธรรมชาติ<br />

และเปิดมุมมองจากภายในสู ่ภายนอก ส่วนแผ่น<br />

Aluminum แบบเจาะรูเป็นการเปิดมุมมองแบบ<br />

50% ที่ช่วยกรองแสงบางส่วน แต่ยังสามารถ<br />

รับความสว่างเข้ามาได้ และแผ่น Aluminum<br />

แบบทึบจะช่วยปิดบังการใช้งานบางส่วน และ<br />

ลดความร้อนที ่จะเข้าสู ่ตัวอาคารโดยตรง<br />

อีกส่วนสำาคัญของการออกแบบ Façade คือการ<br />

เพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นแนวความคิดแต่แรกเริ่ม<br />

จากการใช้งานแบบเต็มพื้นที่ สถาปนิกเลือกที่<br />

จะคว้านพื้นที่บางส่วนของตัวอาคารออก เพื่อให้<br />

เกิดเป็นเส้นของพื้นที่สีเขียวที่ไล่ระดับไปตั้งแต่<br />

ชั้นล่างจนถึงด้านบน ซึ่งออกแบบให้ต้นไม้<br />

ถูกปลูกในกระถาง และ เติบโตลงไปด้านล่าง<br />

เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลรักษา ในลักษณะนี้<br />

นอกจากมุมมองด้านนอกแล้ว ด้านในอาคาร<br />

จะมองเห็นพื้นที่สีเขียวที่แทรกตัวอยู่ในทุกๆ ชั้น<br />

ทำาให้พื้นที่สีเขียวที่ถูกออกแบบนั้นเกิดประโยชน์<br />

อย่างแท้จริง สำาหรับผู้ใช้งาน และบริบทของ<br />

ชุมชน ที่ไม่ใช่เป็นเพียงเปลือกอาคารเพียงอย่าง<br />

เดียว โดยในขั้นตอนการออกแบบนั้น สถาปนิก<br />

ใช้วิธีการออกแบบจากมุมมองของพื้นที่ภายใน<br />

ทีละชั้น เพื่อให้เห็นภาพของสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน<br />

แต่ละพื้นที่ใช้สอยของอาคาร และ ความเชื่อมโยง<br />

ของช่องเปิดต่างๆ ทั้งที่เปิดโล่ง กึ่งโปร่ง และ<br />

ปิดทึบ รวมถึงเอฟเฟคเมื่อต้นไม้เริ่มโตขึ้น หรือ<br />

ห้อยกิ่งก้านลงมา จะมีมุมมองอย่างไร<br />

เมื่อปัญหาโดยรวมจากบริบทต่างๆถูกออกแบบ<br />

และแก้ไขในเบื้องต้นแล้ว อีกหนึ่งหน้าที่สำาคัญ<br />

ของงานสถาปัตยกรรม คือการสร้างเอกลักษณ์<br />

ให้เกิดขึ้น ด้วยความที่เป็นอาคารสำานักงานที่มี<br />

กิจการของตัวเอง สิ่งนี้จึงถูกนำามาประยุกต์<br />

และ พัฒนาต่อให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ที่มีความ<br />

เฉพาะตัว เริ่มต้นจากการที่ Façade ทั้งหมด<br />

ถูกบิดแกน และพับไปมา เพื่อให้เกิดเป็นพื้นผิว<br />

ที่ไม่นิ่งจนเกินไป อีกทั้งยังช่วยให้พื้นผิวต่างๆ<br />

มีมิติที่รับความร้อนแสงแดดได้แตกต่างกัน<br />

เกิดเป็นจังหวะของ Façade โดยรอบ ถึงแม้ว่า<br />

แสงแดดจะส่องลงมากระทบผนังในทิศทาง<br />

เดียวกัน องศาของวัสดุจะช่วยให้เกิดเป็นโทนสี<br />

ที่หลากหลาย ตามแสงและเงา พร้อมกับเพิ่ม<br />

ลูกเล่นเพื่อสร้างความน่าสนใจ ด้วยการทดลอง<br />

เฉือน Façade ออกตามแนวเฉียง ทำาให้ วัสดุ<br />

ของรูปด้านอาคารทั้งหมดเลื่อนและเหลื่อมกัน<br />

จนเกิดเป็นเส้นสายของอาคารที่แสดงออกมา<br />

อย่างชัดเจนในทันทีเมื่อพบเห็น ตามความตั้งใจ<br />

ของเจ้าของโครงการ<br />

IDIN Architects พูดถึงแนวความคิดของการ<br />

ออกแบบงานสถาปัตยกรรมไว้ว่า ในหลายครั้ง<br />

รูปลักษณ์ของอาคารไม่ใช่เรื่องของสไตล์ของ<br />

การออกแบบเพียงอย่างเดียว อย่างอาคารที่เห็น<br />

ว่าเป็นรูปแบบโมเดิร์นนั้น อาจจะมีแนวความคิด<br />

ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง เป็นการนำางานออกแบบมา<br />

ใช้ในการแก้ไขปัญหา ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง Mass<br />

ของอาคาร Façade ที่มองเห็น หรือการวางผัง<br />

ที่แตกต่างออกไป ผสมผสานกับลายเส้นของ<br />

แต่ละคน จนออกมาเป็นอาคารหนึ่งหลัง ซึ่ง<br />

ท้ายที่สุดแล้วการออกแบบอาคารไม่ใช่เพียง<br />

การสร้างภาพลักษณ์ให้สวยงาม หรือน่าสนใจ<br />

เพียงอย่างเดียว แต่หากเรามองถึงที่มาของ<br />

เส้นสาย รูปลักษณ์ วัสดุ และรายละเอียดต่างๆ<br />

อาจจะทำาให้เข้าใจถึงที่มาของแนวความคิด<br />

ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังอาคารที่ถูกออกแบบมาได้


108<br />

theme / review<br />

The design was developed from the perspective of a user, by<br />

visualizing the connection between different openings and<br />

their varying levels of enclosure.<br />

From an architectural standpoint, we often<br />

categorize building types according to their<br />

appearances as well as stylistically defining<br />

structures by periods, popularity and functionalities.<br />

Architecture is also an indication of a particular<br />

tenet that mobilizes and shapes humans’ way<br />

of living at a particular point in time. Nowadays,<br />

architects apply and devise different architectural<br />

concepts and beliefs to help express a work’s<br />

architectural identity. Meanwhile, the diversified<br />

and integrated bodies of knowledge have enabled<br />

design to better satisfy different requirements,<br />

ranging from functionalities, contexts to personal<br />

beliefs and business identities, each contributing to<br />

the varying characteristics of buildings.<br />

Designed by IDIN Architects, Suan Phlu 9 Office<br />

sits as a part of Soi Suan Phlu 9 Community,<br />

a residential area in Bangkok’s city center. A<br />

Chinese shrine is located on the southwest of the<br />

land, which serves as somewhat a semi-public<br />

community space. The nature of the site plays a<br />

significant part in the early development of the<br />

design. The IDIN team intends for the building<br />

to exist as a community backdrop with a vertical<br />

garden bringing green space to the surrounding<br />

area. With such an idea in mind, they started the<br />

design development process with the building’s<br />

façade.<br />

IDIN’s design team was given the brief of designing<br />

an office/residential building for a large family who<br />

notes for all the required functionalities to co-exist<br />

into an eight-story structure. The first floor houses<br />

the reception area and underground parking. The<br />

office space occupies the 2nd-4th floors, while<br />

the remaining upper floors are home to the living<br />

quarter of all the family members. With consultation<br />

from a Feng Chui master, the floor layout locates<br />

rooms according to Feng Chui laws. The design<br />

divides the land into a grid of nine squares, causing<br />

parts of the functional spaces to situate towards<br />

the southwest, the same direction the façade faces.<br />

The layout creates a functional sequence that<br />

differentiates the functionality of each floor. Another<br />

critical requirement is the use of steel to express<br />

and showcase the identity of the owner’s business.<br />

The material reinforces the design concept of the<br />

façade developed from the idea of a curtain wall<br />

before the design team decided on a double-façade<br />

structure as the final solution. The design takes the<br />

glaring effect of glass into serious consideration<br />

since the material’s physical attributes can reflect<br />

sun rays and disturb the surrounding community. In<br />

addition, the southwest-facing façade and its direct<br />

contact with the afternoon sun meant a requirement<br />

for the structure to have additional functionality to<br />

filter excessive sun rays and heat from infiltrating<br />

the interior space.<br />

4<br />

04<br />

ผังพื้นชั้น 5


OF HORSES AND MEN<br />

109<br />

Photo: Wotapas Dusadeewijai<br />

05<br />

วัสดุทั้ง 3 ประเภทที่ช่วย<br />

สร้างความโปร่ง - ทึบ<br />

ให้พื้นที่ภายใน


110<br />

theme / review<br />

The desire for the building envelope to fulfill<br />

all these requirements leads to a methodic<br />

development of ideas, from conceptualization to<br />

solutions. The process begins with the inclusion<br />

of a vertical garden as a part of the facade,<br />

since it can lessen the unnecessary system<br />

work and create a more open perspective for<br />

the interior spaces. The façade is designed for<br />

each part to function alternately. Glass panels<br />

and aluminum sheets (both solid and perforated)<br />

are used to conceal different functional spaces,<br />

creating more diversified perspectives. The<br />

glass openings’ 100% transparency welcomes<br />

natural light and opens the interior space to the<br />

outside view. The perforated aluminum sheets<br />

provide 50% visual access and help filter a<br />

considerable amount of sun rays while still<br />

allowing natural light to be present. The solid<br />

aluminum sheets offer complete density, which<br />

helps conceal certain parts of the interior spaces<br />

while simultaneously reducing external heat from<br />

penetrating into the interiors.<br />

The physical rhythms of the<br />

façade react to natural light<br />

differently, causing the diversified<br />

angles to create various tones<br />

of colors. A diagonal cut of the<br />

façade results in the structure’s<br />

overlapping lines and silhouettes,<br />

creating a gimmick that brings<br />

an eye-catching element to the<br />

building.<br />

6


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

111<br />

06<br />

องศาของการออกแบบ<br />

Facade ทำาให้เกิดแสง<br />

และ เงาที่น่าสนใจ<br />

07<br />

รูปตัดขยายบริเวณขอบ<br />

นอกของอาคาร ส่วนที่<br />

ปลูกต้นไม้<br />

Another essential element of the façade’s<br />

design is the green space, which was part of the<br />

design team’s initial idea. Instead of maximizing<br />

the usability of functional space, the architect<br />

decided to gouge out certain sections of the<br />

building and replace them with vertical green<br />

spaces, which descend from the bottom to the<br />

upper part of the building. The vertical garden<br />

comprises of potted climbing plants placed to<br />

crawl downward for easier maintenance. The<br />

design allows the green space to be visually<br />

accessible from the outside while still being<br />

an integral part of all the floors. As a result,<br />

the vertical garden benefits both the users and<br />

the surrounding community in other aspects<br />

beyond its functional and aesthetic merits as a<br />

building shell. The architect develops the design<br />

from the perspective of a user, by visualizing<br />

the images the vertical garden brings to each<br />

functional space, as well as the connection<br />

between different openings and their varying<br />

levels of enclosure (fully open, semi-open and<br />

fully enclosed). The possible effects and changes<br />

in appearance have also been taken into account<br />

for when the trees and plants are fully grown.<br />

7


112<br />

8


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

113<br />

While the architectural design process helps<br />

reconcile the contextually derived issues, the<br />

architecture itself represents a specific identity.<br />

The character of the owner’s business is applied<br />

and developed to create architecture with its own<br />

identity. The twisting of the façade’s core axis and<br />

the folding of its entire mass renders a dynamic<br />

texture, creating a dimensional surface for varying<br />

levels of sun exposure. The physical rhythms of the<br />

façade react to natural light differently, causing<br />

the diversified angles to create various tones of<br />

colors. A diagonal cut of the façade results in<br />

the structure’s overlapping lines and silhouettes,<br />

creating a gimmick that brings an eye-catching<br />

element to the building, just like the owner intended.<br />

IDIN Architects explains their view on architectural<br />

concepts and how the appearance of architecture<br />

does not always derive entirely from styles. Hidden<br />

behind modern-looking buildings are concepts, and<br />

design is a tool that architects utilize to help deliver<br />

the most fitting solutions. These may come in the<br />

form of the building’s mass, façade or layout. When<br />

combined with each architect’s unique architectural<br />

signature, these design solutions conceive a<br />

building, which holds more meaning than just a<br />

beautiful appearance. By examining the lines, form<br />

and visage, materials, and details, we can perhaps<br />

better understand the origins of concepts from<br />

which designs are materialized.<br />

idin-architects.com<br />

facebook.com/idin.architects<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และทัศน<br />

ศิ ลป์ ทำ างานสร้างสรรค์<br />

อิ สระโดยสนใจการ<br />

ออกแบบที่ผสมผสาน<br />

ระหว่างสถาปั ตยกรรม<br />

ศิ ลปะ และชีวิ ต<br />

Warut Duangkaewkart<br />

is a graduate of architecture<br />

and visual arts.<br />

Currently working<br />

independently with a<br />

focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life.<br />

08<br />

พื้นที่สีเขียวถูกแทรกเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของผิวอาคาร<br />

09<br />

พื้นที่ภายในที่ถูกกรองแสง<br />

และ มุมมองจากภายนอก 9<br />

Project: Suan Phlu 9 Client: Vinsmor Group Location: Soi Suan Phlu9, Bangkok Architect: IDIN Architects Project Team: Jeravej Hongsakul, Eakgaluk<br />

Sirijariyawat, Sakorn Thongdoang, Wichan Kongnok Building Contractor: Sorawee Karnchang, Inblock Group Building Area: 2,290 sq.m. (usable area)<br />

Completion: 2<strong>02</strong>0 Materials / Suppliers: facade - Fameline Group, paint - TOA Paint, aluminium window - Windset Aluminium, steel - Siam Yamato<br />

Steel (SYS)


114<br />

theme / review<br />

Writing<br />

a Modern<br />

History<br />

EKAR Architects has refurbished the 43-year old Pilot pen<br />

headquarters on Silom Road by reflecting the new brand<br />

image through a visually distinctive Façade.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


OF HORSE AND MEN<br />

115<br />

2


116<br />

theme / review<br />

Perforated metal plates, clear glass, and textured<br />

paints are the main materials for the building’s façade.<br />

The design combines transparency and opaqueness<br />

using the qualities of the material in combination.<br />

Photo courtesy of EKAR Architects<br />

1<br />

01<br />

อาคารก่อนการ<br />

ปรับปรุง<br />

<strong>02</strong><br />

อาคารหลังจากการ<br />

รีโนเวท มองจาก<br />

บริเวณหน้าอาคาร<br />

2


WRITING A MODERN HISTORY<br />

117<br />

“เริ่มต้นที่กระเบื้องหลุด”<br />

เอกภาพ ดวงแก้ว Design Director จาก EKAR<br />

Architects เริ่มเล่าถึงที่มาของการเข้ามาปรับปรุง<br />

อาคารสำานักงานใหญ่ของปากกาไพล็อต บนถนน<br />

สีลม จากจุดเริ่มต้นที่เรียบง่าย ที่อาคารเดิมแบบยุค<br />

โมเดิร์น สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2521 ได้ทรุดโทรมลงจน<br />

แผ่นกระเบื้องโมเสค วัสดุที่นิยมกรุภายนอกอาคาร<br />

โมเดิร์นในยุคปลายหรือเลทโมเดิร์น ได้หลุดร่อนลง<br />

เป็นสัญญาณให้ทางเจ้าของอาคารเกิดความคิดจะ<br />

ปรับปรุงอาคารใหม่ให้ตอบรับกับยุคสมัย<br />

ไพล็อตเป็นปากกาคุณภาพดีที่เราคุ้นเคยตั้งแต่<br />

เป็นนักเรียนในรูปแบบด้ามพลาสติก ประวัติของ<br />

ปากกาไพล็อตเริ่มต้นที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น<br />

ในปีค.ศ. 1918 ยุคไทโช อันเป็นยุคที่ญี่ปุ่นได้<br />

พัฒนาหลังจากปรับตัวรับวัฒนธรรมตะวันตก<br />

เข้ามาเป็นวัฒนธรรมญี ่ปุ ่นสมัยใหม่ตั ้งแต่ยุคเมจิ<br />

บริษัทจำานวนมากในญี่ปุ่นได้เริ่มต้นในช่วงเวลา<br />

นี้เราจึงสามารถพบบริษัทญี่ปุ่นอายุมากกว่าร้อย<br />

ปีขึ้นไปที่เป็นผลพวงจากยุคนั้น จากการผสาน<br />

วัฒนธรรมการเขียนแบบเดิมกับปากกาสมัย<br />

ใหม่ ได้กลายเป็นการพัฒนาปากกาแบบตะวัน<br />

ตกจนมีชื่อเสียงขึ้นมา สามารถกระจายสินค้าไป<br />

ได้หลายมุมโลก รวมถึงการเข้ามาประเทศไทย<br />

ในช่วงหลังสงครามโลกด้วยเช่นกัน แม้ว่าปากกา<br />

ไพล็อตที่คุ้นเคยจะเป็นแบบที่ผลิตซ้ำ าจำานวนมาก<br />

ขายดี เป็นแบบด้ามพลาสติก แต่จุดเริ่มต้นที่เป็น<br />

เอกลักษณ์ของปากกาไพล็อตคือปากกาเกรดดีที่<br />

เป็นหมึกซึมปลายโลหะแหลมเป็นสามเหลี่ยม<br />

ในอดีต อาคารคอนกรีตย่านสีลม ซึ่งเป็นย่าน<br />

ธุรกิจเก่าของกรุงเทพฯ หลังนี้ ยังมีร้านค้าของ<br />

ปากกาไพล็อต จนเป็นที ่นัดพบกันของวัยรุ ่น<br />

นักเรียนในย่านสีลม ให้มาซื้อเครื่องเขียนใต้<br />

สำานักงานปากกาไพล็อตนี้ด้วย จากความคึกคัก<br />

ในอดีตได้กลายมาเป็นความเงียบเหงาในปัจจุบัน<br />

ที่การซื้อเครื่องเขียนในร้านนี้ไม่ได้รับความนิยม<br />

มากเหมือนเดิมอีกต่อไป พร้อมๆ กับความทรุด<br />

โทรมที่กาลเวลากัดกร่อน ผิวกระเบื้องภายนอก<br />

เริ่มหลุดร่อน ทางแบรนด์ไพล็อตจึงได้ตัดสินใจ<br />

เปลี่ยนภาพลักษณ์ของที่ทำาการสาขาใหญ่ประจำา<br />

ประเทศไทยให้ดูทันสมัยขึ้นกว่าเดิมที่เป็นรูป<br />

ลักษณ์แบบโมเดิร์น จากโจทย์ที่ส่งมาถึงสถาปนิก<br />

ด้วยงบที่ไม่มากนัก สถาปนิกจึงเลือกใช้วิธีปรับ<br />

เปลี่ยนแค่ผิวผนังภายนอกเท่าที่งบประมาณจะ<br />

อำานวย และไม่พยายามแตะโครงสร้างเดิมของ<br />

อาคารอายุ 43 ปีนี้<br />

การออกแบบผิวผนังอาคารจึงเป็นส่วนสำาคัญ<br />

ของงานนี้ สถาปนิกได้รับโจทย์ให้ออกแบบ<br />

กระบวนการก่อสร้างโดยไม่ให้รบกวนภายในส่วน<br />

สำานักงานเพื่อให้พนักงานสามารถทำางานได้ตาม<br />

ปรกติ จึงเน้นไปที่ทำาการปรับปรุงแต่เปลือกนอก<br />

เป็นหลัก แนวคิดในการออกแบบ สถาปนิกได้ใช้<br />

วิธีสื่อความหมายที่เห็นได้ชัดเจนสองประเด็น<br />

การสื่อความที่หนึ่ง เรื่องการใช้สอยสถาปนิก<br />

ออกแบบผิวผนังภายนอกโดยใช้วัสดุ 3 ชนิดเป็น<br />

หลัก คือแผ่นเหล็กเจาะรู กระจกใส และสีเทก<br />

เจอร์การออกแบบเปลือกใช้วิธีผสานความโปร่ง<br />

ทึบของวัสดุจากการใช้สอยภายใน พื้นที่ใช้สอย<br />

อาคารเป็นแนวดิ่งในชั้น 1 เป็นพื้นที่โชว์รูม มี<br />

ปฏิสัมพันธ์กับผู้คนในระดับถนน การออกแบบ<br />

จึงใช้กระจกใสบอกถึงกิจกรรมภายในที่เตรียม<br />

ไว้ให้ผสมกันไปทั ้งร้านกาแฟและโชว์รูมปากกา<br />

ในพื้นที่ชั้นที่ 2-3 เป็นส่วนพื้นที่สำ านักงานของ<br />

ผู้บริหารอยู่ในระดับที่สายตาภายในห้องทำ างาน<br />

ปะทะกับรถไฟฟ้าบนถนนสีลมเพื่อป้องกันการ<br />

รบกวนสายตาจากภายนอกจึงเลือกวัสดุแผ่น<br />

เจาะรูวงกลมใหญ่ จากระดับชั้นที่ 4 วัสดุที่กรุ<br />

เป็นวัสดุแผ่นเจาะรูวงกลมเล็กลงเพื่อสร้างความ<br />

เป็นส่วนตัวภายใน แต่ลดความอึดอัดด้วยการ<br />

ใช้แผ่นเจาะที่มีความถี่ ทำ าให้วัสดุมีความเบา ลด<br />

ความหนักแน่น มีความเบลอมากขึ้นวัสดุกรุผิว<br />

ส่วนที่เลยชั้นที่ 4 ไปจนสุดด้านบนเป็นกระจก<br />

ไล่สีจากเข้มไปอ่อนจากล่างขึ้นบน เพื่อให้พื้นที่<br />

ทำางานภายในสามารถเชื่อมโยงกับธรรมชาติ<br />

ภายนอกได้ดี ไม่ถูกรบกวนจากการปะทะของ<br />

แนวรถไฟฟ้า เมื่อมองวิธีการออกแบบด้วยการ<br />

รับรู้ทางสถาปัตยกรรมแล้วนั้น การเลือกใช้ผิว<br />

ผนังที่มีความหนักในส่วนฐานจะให้ความรู้สึกหนัก<br />

แน่น การใช้วัสดุที่ดูเบาขึ้นในส่วนลำ าตัว และการ<br />

ใช้วัสดุที่ดูเบาที่สุดในส่วนบน จะสร้างการรับรู้ว่า<br />

ตัวอาคารไกลขึ้น สูงขึ้นจากระยะจริง สำ าหรับการ<br />

แบ่งแพทเทิร์นของเปลือกอาคารสถาปนิกเลือกใช้<br />

เส้นตั ้งตามขนาดวัสดุทั ้งกระจก แผ่นโลหะเจาะรู<br />

ทำาให้สัดส่วนอาคารดูชะลูดขึ้นอีก ซึ่งสามารถช่วย<br />

เน้นแนวตั้ง ให้ดูสูงขึ้น ตามวิธีการลวงตาจากการ<br />

รับรู้ทางสถาปัตยกรรม<br />

การสื่อความที่สอง คือการสื่อถึงบุคลิกอาคาร<br />

จากแบรนด์ เมื ่อดูจากความโดดเด่นของอาคาร<br />

วัสดุที่เป็นตัวหลักจะให้ความสำ าคัญของโลหะ<br />

กระจกแม้ว่ามีหลายวัสดุที่สถาปนิกเสนอไปแต่ใน<br />

ที่สุดเจ้าของโครงการตกลงเลือกวัสดุให้สะท้อน<br />

ถึงบุคลิกของผู้บริหารยุคใหม่ ที่ดูทันสมัย สง่า<br />

เรียบร้อย การสะท้อนบุคลิกออกมาชวนให้คิดไป<br />

ถึงการอุปมาอุปมัย (Metaphor) ที่พูดถึงสิ่งหนึ่ง<br />

ด้วยการแทนค่าถึงอีกสิ ่งหนึ ่ง วัสดุหนึ ่ง สเปซหนึ ่ง<br />

แบบให้มีการตีความ ไม่จำาเป็นต้องเป็นการแทน<br />

ค่าแบบตรงไปตรงมาแบบ Analogy เมื่อย้อนคิด<br />

ไปถึงปากการุ่นแรกเริ่มที่สร้างชื่อของไพล็อต ซึ่ง<br />

ก็คือปากกาหมึกซึมที่ปลายปากกาเป็นโลหะทรง<br />

สามเหลี่ยมความแวววาวของส่วนปลายปากกา<br />

โดดเด่นจากวัสดุด้ามปากกาที่นิยมสีเข้ม แบบที่<br />

นิยมในยุคนั้น การเลือกใช้แผ่นโลหะมากรุผิวผนัง<br />

อาคารจึงมีนัยยะให้สื่อถึงบุคลิกของปากการุ่น<br />

สะสมของไพล็อต ความแวววาวที่ดูหนัก ถูกขับ<br />

ให้โดดเด่นขึ้นด้วยความเบาของกระจกไล่สีที่มีสี<br />

เข้ม ที่เมื่อวัสดุสองชนิดมาปะทะกันจะดูขัดแย้ง<br />

กัน แต่สัดส่วนและจังหวะ ช่วยทำาให้โลหะมีความ<br />

โดดเด่น<br />

จากการเข้ามารับหน้าที่ให้ปรับปรุงอาคารเก่า<br />

นี้ สถาปนิกได้เห็นถึงความจงใจในส่วนของผนัง<br />

คอนกรีตทาสีเหลืองตรงหัวมุมอาคาร ที่มีลักษณะ<br />

เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวจากส่วนยอดลงมาที่ฐาน<br />

อาคาร จากนั้นจบส่วนปลายด้วยรูปสามเหลี่ยม<br />

ทิ่มลงสู่ประตูทางเข้าหลัก สถาปนิกได้เลือกที่จะ<br />

เก็บส่วนนี้ไว้เช่นเดิม แต่หุ้มส่วนสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

ด้วยกระจก และโลหะ ส่วนปลายสามเหลี่ยมกรุ<br />

ทับด้วยแผ่น<br />

หลังจากสถาปนิกได้ออกแบบเปลือกใหม่ให้กับ<br />

อาคารนี้แล้ว โจทย์ที่ได้รับต่อมาคือการสร้าง<br />

โปรแกรมที่เกิดขึ้นใหม่คือส่วนมิวเซียม เริ่มต้น<br />

จากการที่เจ้าของโครงการให้โจทย์สถาปนิกไปหา<br />

กิจกรรมใหม่ให้กับพื้นที่ว่างส่วนนี้จึงเป็นการผสม<br />

ร้านกาแฟเข้ากับมิวเซียมปากกาไพล็อต ให้ผู้คน<br />

ได้มาทดลองใช้ เป็นการพัฒนาใช้การพับจาก<br />

ระนาบภายนอกอาคารที่พับ 5 ทบ สู่การพับครั้ง<br />

ต่อไป มาสู่พื้นที่ภายในจนเป็นที่มาของผนังคลื่น<br />

ซิกแซ็กในที่สุด<br />

เอกภาพบอกถึงแนวคิดของเขาต่อเรื่องของการ<br />

ออกแบบเปลือกอาคารนี้ว่า “เนื้อหาคือการทำ าสิ่ง<br />

เดิมให้ดีขึ้นตามเหตุและผลของมัน สำ าหรับผม<br />

แล้ว การทำาเปลือกของอาคารคือการออกแบบ<br />

เสื้อผ้าห่อหุ้มตัวเรา และเราแค่แสดงออกถึงหน้าที่<br />

ของเสื ้อผ้าเหล่านั ้น”


118<br />

theme / review<br />

3<br />

“It all started with tiles falling off!”<br />

Ekaphap Duangkaew, the design director of EKAR<br />

Architects said of the reason for renovating the<br />

Pilot pen headquarters building on Silom Road. The<br />

starting point of the renovation project is simple<br />

- this modernist architecture, built in 1978, has<br />

declined to the point that mosaic tiles - a popular<br />

cladding for late modernist architecture in Thailand<br />

some decades ago - started to fall off. It is by this<br />

signal that the owner came up with the thought of<br />

renovation.<br />

2<strong>02</strong>1<br />

RENOVATION<br />

1979<br />

EXISTING BUILDING<br />

Pilot has long been known as a brand of highquality<br />

pens starting in Tokyo in the Japanese<br />

Taisho period in 1918. This period saw significant<br />

development in the country as a result of opening<br />

its doors to the west and adopting Western culture.<br />

This led to the birth of what are now many hundredplus-year-old<br />

Japanese companies. The Pilot<br />

brand made its name from combining traditional<br />

ways of writing utilizing modern pen design and<br />

technology influencing the development of western<br />

style pens we see today. Their fame and recognition<br />

allowed the company to export their products to<br />

many parts of the world including Thailand during<br />

n the post-WWII period. Although mass-produced<br />

plastic pens are often regarded as their best-selling<br />

products, it was the high-end fountain pens with<br />

triangular-shaped metal on their ends that became<br />

the brand’s signature product that they were best<br />

recognized for.<br />

03<br />

รูปตัดขยายบริเวณผิวผนัง<br />

อาคารที่ปรับปรุงใหม่<br />

“For me, designing a<br />

building’s façade is akin<br />

to designing a cloth that<br />

covers our skin, displaying<br />

only the utility of those<br />

clothes.”<br />

The old concrete Pilot building, located in the old<br />

business district of Silom, also held the brand’s<br />

pen shop. It was a popular meeting place for the<br />

youth and students who came to purchase pens<br />

from the shop. That past liveliness though has<br />

become loneliness as its popularity now is not what<br />

it once was. As time passed, the building’s condition<br />

also declined and tiles on the exterior envelope<br />

of the building began to fall off. For this reason,<br />

Pilot decided to revamp its brand image to reflect<br />

more current contemporary building trends, so its<br />

Silom Thailand Headquarters was shifted from a<br />

Modernist building into a more contemporary one.<br />

With a relatively limited budget for the work, the<br />

architect employed for the refurbishment elected to<br />

renovate only the exterior skin and leave the original<br />

structure of this forty-three-year-old building largely<br />

untouched.


4<br />

119<br />

OF HORSES AND MEN 04<br />

ผิวผนังอาคารใหม่ที่เกิด<br />

จากการจัดองค์ประกอบ<br />

ของแผ่นวัสดุต่างๆ


120<br />

theme / review<br />

05<br />

ไดอะแกรมศึกษาการใช้<br />

วัสดุกับผิวผนังอาคารใหม่<br />

Due to the client’s direction that construction<br />

was not to impede or interrupt customers and<br />

employees, the emphasis of the refurbishment<br />

effort was subsequently oriented substantially<br />

toward the 1 redesign of the Façades. The selection<br />

of materials formed the basis and direction for the<br />

design.<br />

The architect’s first design concepts were<br />

based on utility, choosing materials that included<br />

perforated metal plates, clear glass, and textured<br />

paints as the main materials for the building’s<br />

Façade. The design combines transparency and<br />

opaqueness using the qualities of the material in<br />

combination. Interior utility spaces are generally<br />

vertical, the first floor has a showroom and coffee<br />

shop faced in glass shopfront allowing active<br />

interaction between these spaces and the people<br />

that pass by. The second and third floors house<br />

offices for the company executives, views from<br />

these rooms are aligned with the Skytrain<br />

outside. To minimize potential interruptions to the<br />

employees inside, perforated metal screening<br />

was installed. The same material is utilized on<br />

the fourth floor moreover to create more a sense<br />

of privacy. This was achieved by increasing the<br />

number of screening penetrations while reducing<br />

their diameter.<br />

The Façade from the fifth to top floor is applied<br />

with gradient glass whose color gradually tones<br />

down between floors allowing visual connection<br />

of the interior working spaces with the external<br />

environment. The design uses heavier Façade<br />

materials at the lower floors providing a perception<br />

of sturdiness and a sense of permanence while<br />

using lighter-looking materials toward the middle<br />

and top of the building making it look taller than it<br />

really is. The architect cleverly used these façade<br />

materials in a manner that created an illusion of<br />

the building’s perception of strength, transparency,<br />

depth, and height.<br />

5


WRITING A MODERN HISTORY<br />

121<br />

6<br />

06<br />

มุมเงยบริเวณช่องโล่ง<br />

ที่ทางเข้าอาคาร<br />

The second concept applied in the refurbishment<br />

was to highlight the brand’s character through the<br />

visually distinctive Façade. Although the architect<br />

had offered a varied selection of materials to choose<br />

from, the client chose materials that reflected the<br />

character of the new generation of executives<br />

being ‘modern’, ‘elegant’ and ‘sophisticated’. This<br />

reflection is a metaphor, indirectly suggesting and<br />

interpreting some meaning through something else,<br />

like materials and spaces - instead of directly like<br />

an analogy. Also, when one thinks of the product<br />

that propelled Pilot to fame, what comes to mind<br />

is the fountain pen with shaped glistening metal<br />

ends wrapped in distinctive then-popular darkcolored<br />

material. These elements are reflected in<br />

the choice and application of the materials used in<br />

the building façade giving it its distinctive unique<br />

character.<br />

At the very beginning of the design process, the<br />

architect saw that the yellow concrete wall at the<br />

building’s corner was deliberately done. This part<br />

of the wall is rectangular starting from the top of<br />

the building and all the way down to the basement,<br />

with the ending being a triangle pointing down<br />

to the main entrance. The architect elected to<br />

preserve this part, but cover the rectangle part<br />

with glass and metal and clad the triangle part<br />

with a plate.


122<br />

07<br />

ทางเข้าหลักด้านถนนสีลม<br />

เป็นกระจกใสสูงจากพื้น<br />

ถึงฝ้า มองเห็นงานอินทีเรีย<br />

ใหม่ ที่สร้างภาพลักษณ์<br />

ใหม่ให้กับแบรนด์


123<br />

7


124<br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

พื้นที่ปรับปรุงใหม่ที่<br />

โถงชั้นล่างตกแต่งด้วย<br />

ผนังคลื่นซิกแซ็ก<br />

09<br />

มุมมองจากถนน<br />

ซอยด้านข้างอาคาร<br />

Upon completion of the façade, the architect<br />

was asked to add a museum as an addition to the<br />

buildingcreating a new purpose for the space<br />

on the ground floor. The architect subsequently<br />

combined the museum space with the coffee shop<br />

providing customers a location to test their products<br />

within the premises. The design of the space with<br />

continuous folding partitions came from the folds<br />

in the original façade, so the architect continued<br />

that theme internally resulting in the ‘zig-zag’<br />

partitioning.<br />

As to the concept behind the façade design,<br />

Ekaphap explained that “The point is to improve<br />

the original according to its logic. For me, designing<br />

a building’s Façade is akin to designing a cloth that<br />

covers our skin, displaying only the utility of those<br />

clothes. That’s all.”<br />

facebook.com/ekar.architects<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน อาจารย์ประจำา<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปั จจุบันกำาลัง<br />

ศึกษาต่อสาขาสถาปั ตยกรรมที่ Kyoto<br />

Institute of Technology<br />

Xaroj Phrawong<br />

is an architect, writer, and instructor<br />

at the Faculty of Architecture Rajamangala<br />

University of Technology<br />

Thanyaburi. Currently studying<br />

architecture at Kyoto Institute of<br />

Technology.<br />

Project: Pilot Headquarters Client: Pilot Pen Thailand Location: Silom Road, Bangkok Architect: EKAR<br />

Architects Building Contractor: KPY&VFM Building Area: 1,932 sq.m. Renovation area: 406 sq.m.<br />

(Showroom: 175 sq.m., others 231 sq.m.) Completion: 2<strong>02</strong>0 Materials /Suppliers: aluminium composite -<br />

Knauf, Special paint - SKK, Laminates - Greenlam, Tiles - Vecera


WRITING A MODERN HISTORY<br />

125<br />

9


126<br />

theme / review<br />

It’s a<br />

Living<br />

Thing<br />

Having taken inspiration<br />

from the traditional tropical<br />

architecture of the region,<br />

the design of this factory<br />

in Ho Chi Minh City was<br />

developed with a porous<br />

façade devised to act as a<br />

lush green “skin”.<br />

Text: Jaksin Noyraiphoom<br />

Photo courtesy of G8A Architecture &<br />

Urban Planning 1


127<br />

01-<strong>02</strong><br />

มุมมองจากลานโล่ง<br />

กลางอาคาร 2


128<br />

theme / review<br />

เดิมทีอาคารประเภทโรงงานนั้น มักเป็นสิ่ง<br />

ก่อสร้างที่เป็นเสมือนผลผลิตจากระบบ<br />

อุตสาหกรรม ที่มุ่งเน้นประโยชน์ใช้สอย และ<br />

ความคุ้มค่าด้านการลงทุนเป็นหลัก จึงทำาให้<br />

ภาพจำาของโรงงานในความคิดของคนจำานวน<br />

มาก มักเป็นอาคารที่คำานึงถึงมิติทางด้านการ<br />

ใช้งาน และคำานึงถึงมิติด้านอื ่นๆ เช่น ความงาม<br />

น้อยหรือไม่คำานึงถึงเลย ซึ่งนั่นคือภาพจำาของ<br />

โรงงานในอดีต ที่อาจกลายเป็นเพียงสิ่งเก่า<br />

ล้าสมัยในไม่ช้านี้ เนื่องจากที่ผ่านมาได้มีความ<br />

พยายามที่จะสร้างและออกแบบโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ๆ โดยคำานึงถึงมิติ<br />

ทางด้านความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม<br />

เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีโรงงานอุตสาหกรรม<br />

รูปลักษณ์ใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก และ<br />

หนึ่งในผลผลิตจากแนวคิดดังกล่าว คือโรงงาน<br />

Jakob Factory แห่งนี้<br />

อาคาร Jakob Factory เป็นโรงงานของบริษัท<br />

Jakob Rope Systems ผู้ผลิตลวดสลิงสเตนเลส<br />

รายใหญ่จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โรงงาน<br />

แห่งนี้ตั้งอยู่ภายในเขตอุตสาหกรรมทางตอน<br />

เหนือของเมืองโฮจิมินต์ ประเทศเวียดนาม<br />

ด้วยลักษณะเด่นที่ชวนให้ผู้พบเห็นประทับ<br />

ใจตั้งแต่แรกพบ คือกรอบผนังอาคารสีเขียว<br />

ขนาดใหญ่ที่ห่อหุ้มตัวอาคารไว้ ทำาให้อาคาร<br />

แห่งนี้มีความโดดเด่นและแตกต่างจากอาคาร<br />

โดยรอบเป็นอย่างมาก โดยมี G8A Architecture<br />

& Urban Planning และ Rollimarchini<br />

Architekten สองบริษัทจากประเทศสวิตเซอร์-<br />

แลนด์ ทำาหน้าที่ออกแบบโรงงานแห่งนี้<br />

ในกระบวนการออกแบบ ทีมสถาปนิกมอง<br />

ว่าการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมรูปแบบเดิม<br />

นั้น มักมองแค่ผลตอบแทนทางด้านธุรกิจ<br />

เป็นหลัก โดยคำานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น<br />

ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก ดังจะเห็นได้จาก<br />

อาคารโรงงานอุตสาหกรรมในละแวกรอบๆ<br />

ที่สร้างมาก่อนที่เต็มไปด้วยพื้นคอนกรีตแข็ง<br />

กระด้าง ขาดความเป็นธรรมชาติ ทางทีมงาน<br />

ผู้ออกแบบจึงมีความตั้งใจจะทำาในสิ่งที่แตก<br />

ต่างออกไป เริ่มจากการวางผังที่พยายามลด<br />

พื้นที่ดาดแข็งให้เหลือน้อยที่สุด โดยการนำา<br />

พื้นที่โรงงานมาซ้อนชั้นในแนวตั้ง แทนที่จะแผ่<br />

ไปตามแนวราบเหมือนโรงงานปกติทั่วไป การ<br />

ซ้อนชั้นทำาให้เหลือพื้นที่ดินส่วนหนึ่งสำาหรับ<br />

เป็นพื้นที่สีเขียวเพิ่มเข้ามา เมื่อมองจากด้าน<br />

บน ผังโครงการมีสัณฐานเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม<br />

จัตุรัส โดยมีพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่เป็น<br />

คอร์ทยาร์ดอยู่ตรงกลาง และมีพื้นที่โรงงาน<br />

ล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน ทำาให้ทุกพื้นที่ สามารถ<br />

สัมผัสความเป็นธรรมชาติของสวนตรงกลาง<br />

ได้อย่างทั่วถึง<br />

ด้วยความที่โรงงานแห่งนี้เป็นผู้ผลิตลวดสลิง<br />

รายใหญ่ ที่ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มักถูกนำามา<br />

ใช้ในงานสถาปัตยกรรม และหลายผลิตภัณฑ์<br />

มีจุดขายด้านความยั่งยืน เช่น ลวดสำาหรับ<br />

ให้ไม้เลื้อยเกาะ ลวดตาข่ายสำาหรับสร้างเป็น<br />

ผนังต้นไม้ เป็นต้น ทางผู้ออกแบบจึงมีแนวคิด<br />

ที่จะนำาผลิตภัณฑ์ของบริษัทมาใช้เป็นองค์<br />

ประกอบที่สร้างเอกลักษณ์ให้กับอาคาร กลาย<br />

เป็นที่มาของผนังสีเขียวขนาดใหญ่โดยรอบ<br />

โดยผนังนี้จะถูกแบ่งออกเป็นชั้นๆ จำานวนชั้น<br />

มากน้อยตามความสูงของอาคาร แต่ละชั้น<br />

จะมีลักษณะเป็นรางสำาหรับปลูกต้นไม้วางตัว<br />

ตลอดแนวความยาวของอาคาร ภายในรางปู<br />

ด้วยแผ่น Geo-textile สำาหรับปลูกต้นไม้ โดย<br />

ผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่นำามาใช้ประกอบเป็น<br />

ผนังสีเขียวได้แก่ ลวดสลิงที่ขึงไขว้กันตลอด<br />

แนวจากพื้นถึงหลังคา ทำาหน้าที่ยึดรางปลูก<br />

ต้นไม้เข้าไว้ด้วยกัน และลวดตาข่ายที่บุอยู่<br />

ด้านใน ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่<br />

ดีให้กับอาคารแล้ว ผนังสีเขียวนี้ยังทำาหน้าที่<br />

เป็นเสมือนป้ายโฆษณาผลิตภัณฑ์ของบริษัท<br />

ไปด้วยในตัว<br />

เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมเขตร้อนชื้นที่ไม่<br />

ปิดตัวเองจากธรรมชาติ ถูกถ่ายทอดผ่านผนัง<br />

สีเขียวซึ่งมีความโปร่ง สามารถระบายอากาศ<br />

และความชื้นได้ดี แสงธรรมชาติสามารถสาด<br />

ส่องเข้ามาได้ ทำาให้ผู้ที่อยู่ภายในไม่ตัดขาด<br />

ตัวเองจากธรรมชาติ สามารถสัมผัสความเป็น<br />

ธรรมชาติได้ พืชพรรณส่วนใหญ่ที่นำามาปลูก<br />

บนผนังเป็นพืชพื้นเมือง ประเภทไม้พุ่มเมือง<br />

ร้อนขนาดเล็ก ทำาให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศได้<br />

ดี มีความทนทาน และง่ายต่อการดูแลรักษา<br />

มีการเลือกพืชพรรณที่หลากหลายชนิดมา<br />

ปลูกร่วมกัน สะท้อนเอกลักษณ์ของพืชพรรณ<br />

ในแถบนี้ที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทาง<br />

ชีวภาพ เสมือนเป็นการจำาลองระบบนิเวศแบบ<br />

เมืองร้อนขึ้นมาไว้บนตัวอาคาร เกิดผิวเปลือก<br />

อาคารที่มีชีวิตชีวา<br />

ประเด็นด้านความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่ง<br />

ที่สถาปนิกผู้ออกแบบให้ความสำาคัญเป็นอย่าง<br />

มาก และได้ถ่ายทอดลงในงานชิ้นนี้ด้วยการ<br />

ออกแบบโดยเน้นการประหยัดพลังงาน ด้วย<br />

ระบบ Passive คือเน้นการพึ่งพาธรรมชาติ<br />

และใช้เครื่องกลในการปรับอากาศให้น้อยที่สุด<br />

พื้นที่ส่วนใหญ่ภายในโรงงานแห่งนี้จึงเป็น<br />

พื้นที่ที่ไม่ปรับอากาศ แต่ใช้การระบายอากาศ<br />

ด้วยวิธีธรรมชาติ โดย Jakob Factory ถือเป็น<br />

โรงงานแห่งแรกในเวียดนามที่มีพื้นที่ส่วนผลิต<br />

(Manufacturing halls) ที่ไม่ปรับอากาศและ<br />

ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติทั้งหมด ซึ่ง<br />

ผิวเปลือกอาคารที่ล้อมรอบด้วยผนังต้นไม้สี<br />

เขียวนี้มีส่วนช่วยอย่างมาก ทั้งในการกรอง<br />

แดด กันฝน และกรองความร้อนที่จะเข้าสู่ตัว<br />

อาคาร ช่วยลดอุณหภูมิที่จะเข้าสู่อาคารได้ดี<br />

นอกจากนี้ยังช่วยฟอกอากาศ กรองฝุ่น และ<br />

สร้างความร่มรื่นให้กับผู้พบเห็นทั้งจากภายใน<br />

และภายนอกอาคาร ช่วยสร้างบรรยากาศให้<br />

โรงงานแห่งนี้มีความพิเศษและเป็นเอกลักษณ์<br />

ซึ่งหาไม่ได้ง่ายนักในโรงงานทั่วๆ ไป


IT’S A LIVING THING<br />

129<br />

<strong>02</strong><br />

ผิวผนังภายนอกของ<br />

อาคารโรงงานเป็นผนัง<br />

ที่ปลูกต้นไม้หลากหลาย<br />

ชนิดโดยรอบ<br />

03<br />

ประตูทางเข้าหลัก<br />

2<br />

3


4<br />

130


131<br />

04<br />

พืชพรรณหลากหลายชนิดจากพันธุ์ไม้<br />

ท้องถิ่น ถูกเลือกมาใช้ตามความเหมาะสม<br />

กับทิศที่ตั้งของอาคารแต่ละด้าน


5<br />

132<br />

review


IT’S A LIVING THING<br />

133<br />

Varieties of plants grown together reflecting the distinct<br />

natural biodiversity of plants in the region. The green system<br />

also simulates a tropical ecosystem on the buildings<br />

expressing a sense of movement, purpose, and tranquility.<br />

6<br />

05<br />

ส่วนอาคารเตี้ยซึ่งมี<br />

ชายคาลึก ได้แรงบันดาลใจ<br />

มาจากหมู่บ้านพื้นถิ่นของ<br />

เวียดนาม<br />

06<br />

ส่วนอาคารสูงสองถึงสามชั้น<br />

มองจากลานโล่ง ซึ่งจัดเป็น<br />

พื้นที่สีเขียว<br />

Traditionally, factories are a byproduct of the industrial<br />

system, with the main emphasis on utility and<br />

investment value. Most people perceive stereotypical<br />

factory buildings as utilitarian without much consideration<br />

for aesthetics and environmental impact.<br />

This stereotype, seen in older factories however may<br />

soon become obsolete. Recent design practices<br />

place more emphasis on considerations relating to<br />

sustainability, environment, and social impact rather<br />

than just the building use. An example of this current<br />

trend and its application is the recently completed<br />

Jakob Factory Saigon in South Vietnam.<br />

The Jakob Factory Saigon produces specialized<br />

steel wire rope systems for architectural and industrial<br />

purposes. The factory is located in an industrial<br />

zone north of Ho Chi Minh City, Vietnam. The<br />

building itself is clad in a large ‘green’ landscaped<br />

wall frame giving it a distinct character and setting<br />

it apart from the surrounding buildings, impressing<br />

all that use and visit the site. Switzerland’s G8A<br />

Architecture & Urban Planning and rollimarchini<br />

architekten designed the building breaking the<br />

stereotype mold.<br />

The approach that the architects took differs from<br />

that of other factories. They determined that the<br />

traditional process in factory design related only<br />

to its utility and the maximization of profit without<br />

considerations in site context, aesthetics, or environmental<br />

impact, as evidenced by the surrounding<br />

industrial buildings was not an environmentally sustainable<br />

solution. As such, the planning of the Jakob<br />

Factory Saigon actually reduces the floor footprint<br />

by stacking the factory’s space vertically rather than<br />

horizontally, freeing up space at ground level that is<br />

utilizing for other functions including a landscaped<br />

‘green space’. Viewed from the top, the project’s<br />

plan is arranged as a square in profile with a central<br />

large green landscaped courtyard enclosed by the<br />

factory footprint allowing all parts of the complex<br />

simultaneous but differing views into the courtyard.


134<br />

theme / review<br />

07<br />

ขอบรอบนอกอาคาร<br />

ถูกออกแบบให้เป็น<br />

ทางเดิน ซึ่งช่วยเพิ่มส่วน<br />

ชายคาในการกันแดด<br />

กันฝน<br />

7<br />

The large green clad walls of the factory stems<br />

from the designer’s concept of incorporating the<br />

products made by the company in the design to<br />

give it a distinctive image that can be associated<br />

with the building’s function.The Jakob products are<br />

used as geotextile covered racks, used as plant<br />

beds built running along the length of each facade.<br />

These steel wires weave and crisscross from floor<br />

to ceiling holding the planters and steel netting of<br />

the wall systems together. Apart from the aesthetics<br />

and overall building image, these systems<br />

visually advertise the company’s products.<br />

The uniqueness of ‘tropical’ natural architecture is<br />

applied to the factory design by way of the green<br />

walls where their openness and transparency<br />

provide for high levels of natural ventilation and<br />

light connecting the building’s users to the natural<br />

green environment within. Most of the wall plants<br />

are small tropical shrubs of low maintenance that<br />

allows resiliency and adaptability to all weather<br />

conditions. There are multiple varieties of plants<br />

grown together reflecting the distinct natural<br />

biodiversity in the region. The green system also<br />

simulates a tropical ecosystem on the building’s<br />

expressing a sense of movement, purpose and<br />

tranquility. The architects placed great emphasis<br />

on environmental sustainability. This principle is<br />

applied through a passive design system of energy<br />

conservation, which encourages natural ventilation<br />

and light, reduces dependency on mechanical<br />

cooling systems.<br />

The Jakob Factory Saigon is probably one of the<br />

first factory in Vietnam proposing completely<br />

naturally ventilated manufacturing halls due to its<br />

sustainable design. As previously noted, the wall<br />

cladding system plays a large role in this by filtering<br />

sunlight, heat protection and rain filter which in<br />

turn maximizes interior temperature efficiencies. It<br />

also helps purify the air by filtering dust, creating a<br />

lush natural environment and distinct atmosphere<br />

for users and visitors rarely seen in conventional<br />

factories.<br />

g8a-architects.com<br />

rollimarchini.ch


IT’S A LIVING THING<br />

135<br />

The wall cladding system plays a large role in filtering sunlight,<br />

rain and minimizing heat load which in turn maximizes interior<br />

temperature efficiencies. It also helps purify the air by filtering<br />

dust and creates a lush natural environment and distinct<br />

atmosphere for users.<br />

08<br />

ผังบริเวณแสดงให้เห็นถึง<br />

พื้นที่ว่างที่เกิดขึ้นจากการ<br />

ออกแบบโรงงานขึ้นทาง<br />

แนวตั้ง<br />

ผศ.ดร.จักรสิน<br />

น้อยไร่ภูมิ<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปั จจุบั นเป็ นอาจารย์<br />

ประจำาที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์และการ<br />

ออกแบบ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคล<br />

รัตนโกสินทร์ ศาลายา<br />

ควบคู่ไปกับการเป็ น<br />

สถาปนิกและนักเขียน<br />

อิ สระ<br />

8<br />

Asst. Prof. Jaksin<br />

Noyraiphoom<br />

is an architect graduated<br />

from the<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

He is currently<br />

a full-time lecturer<br />

at the Faculty of<br />

Architecture and<br />

Design, Rajamangala<br />

University of Technology<br />

Rattanakosin,<br />

along with being a<br />

freelance architect<br />

and writer.<br />

Project: Jakob Factory Location: Ho Chi Minh City, Vietnam Client: Jakob Saigon Architects: G8A Architecture<br />

& Urban Planning and Rollimarchini Architekten Landscape Contractor: Jimmy Hata Land Area: 30,000 sq.m.<br />

Building Area: 13,000 sq.m. Construction Cost: 8M usd Completion: 2<strong>02</strong>0


136<br />

materials<br />

Functionality,<br />

Sensuality<br />

and<br />

Aesthetics<br />

Some ideas on<br />

recent materials for<br />

architecture and<br />

building skin<br />

Text: Patikorn Na Songkhla


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

137<br />

Humans create spaces to utilize them; they then create walls and<br />

claddings to cover and protect those spaces from harm and undesirable<br />

conditions further creating a sense of privacy. As humans and their<br />

modernistic societies become more complex, so does the evolution<br />

and role of architecture. Thus, the idea of designing walls and cladding<br />

merely to cover ‘spaces’ has seemingly become obsolete as these elements<br />

are increasingly needed to serve more complex uses. Systems such as<br />

these are now also needed to reflect the identity of the particular<br />

architectural spaces they cover, much like cloths that not only cover<br />

the wearer, but reflect their identity beneath.<br />

The context of modern society and ever-evolving technology allows<br />

architects to freely choose materials and develop new techniques and<br />

technologies for these systems that both serve the purposes of a particular<br />

architecture as well as hinting or display its identity, resulting in skins<br />

of modern works that are more dimensionally suggestive and visually<br />

interesting when compared to their older counterparts.<br />

This article will discuss various materials for wall cladding, from older<br />

systems using wood, stone and brick to precast concrete and modern<br />

materials including glass and curtain wall systems which are developed<br />

to serve various needs in terms of sturdiness, durability, safety, and<br />

environmental protection.<br />

มนุษย์สร้างที่ว่างหรือสเปซขึ ้นเพื่อใช้งาน สร้างผนังและผิวผนังเพื่อห่อหุ ้มสเปซ ปกป้ องสเปซนั้นจากดินฟ้ าอากาศและจากสิ่งที่<br />

ไม่พึงปรารถนา และสร้างความเป็ นส่วนตัว เมื่อมนุษย์มีความซับซ้อนขึ ้น สังคมซับซ้อนขึ ้น ความเป็ นอยู่และบทบาทของสถาปั ตย-<br />

กรรมก็ซับซ้อนขึ ้นตามไปด้วย การออกแบบผนังและผิวผนังอาคารเพียงเพื่อห่อหุ ้มที่ว่างกลายเป็ นแนวคิดที่ตกเลือนไปจาก<br />

ยุคสมัย เพราะในสังคมสมัยใหม่ นอกจากผิวผนังอาคารจะต้องตอบสนองการใช้งานที่ซับซ้อนขึ ้นแล้ว มันยังได้มีส่วนทาหน้าที่<br />

แสดงออกหรือสื่ อสารตัวตนของสถาปั ตยกรรม ไม่ต่างจากเครื่องนุ่งห่มที่ครั้งหนึ ่งเป็ นเพียงปั จจัยสาหรับปกคลุมร่างกาย<br />

ได้กลายมาเป็ นสิ่งที่แสดงออกถึงตัวตนของผู้สวมใส่<br />

ในบริบทของสังคมร่วมสมัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาไปไม่หยุดยั้ง ทาให้ผิวผนังอาคารมีมิติต่างๆ มากมายที่น่าสนใจ เมื่อสถาปนิก<br />

สามารถเลือกใช้วัสดุและพัฒนาเทคนิคในการสร้างผิวผนัง ในการตอบสนองการใช้งานและการแสดงออกได้อย่างเสรี แทนที่<br />

ผิวผนังอาคารในมิติเดิมๆ แบบในอดีต<br />

จากผนังไม้สมัยโบราณ ผนังก่ออิฐมาเป็ นผนังคอนกรีตสาเร็จรูป จากผนังฉาบปูนเรียบทาสีมาเป็ นผนังใช้วัสดุห่อหุ ้มสาเร็จรูป<br />

ต่างๆ รวมถึงกระจกและระบบ Curtain Wall ที่มีการพัฒนาให้ตอบสนองประโยชน์ ใช้สอยทั้งในเรื่องความคงทน แข็งแรง<br />

ปลอดภัย การป้ องกันสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง การป้ องกันการรั่วซึมของน ้าและอากาศ ส่วนหนึ ่งของทางเลือกวัสดุผิวผนัง<br />

ภายนอกอาคารจะนามาพูดคุยกันในวันนี้


138<br />

materials<br />

External Cladding<br />

Ludwig Hatschek คิดคนไฟเบอร์ซีเมนต์ในปลายศตวรรษที่ 19 แผนวัสดุ<br />

ประเภทไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดที่ประกอบดวยซีเมนต์ เซลลูโลส และแรที่มา<br />

เติมแตง ไดมีการใชงานอยางแพรหลายในชวงเวลาตอมา ไฟเบอร์ซีเมนต์<br />

บอร์ดเป็นวัสดุอาคารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแสดงเนื้อสัมผัสดิบๆ ดานในที่<br />

เป็นธรรมชาติ ถูกผลิตและนำาเสนอเพื่อใชการใชในรูปแบบตางๆ ผลิตภัณฑ์ที่มี<br />

คุณภาพเหมาะสมเพื่อใชงานเป็นผนังภายนอกอาคารไดถูกพัฒนาขึ้น แผนวัสดุ<br />

สามารถเจาะรูดวย Waterjet หรือเครื่อง CNC สามารถทำาใหเกิดลวดลายนูน<br />

สูงต่ำา ตัดจัดเรียงไดหลายรูปแบบ<br />

การออกแบบรายละเอียดโดยเฉพาะสำาหรับงานผนังภายนอกอาคารเป็นเรื่อง<br />

สำาคัญ การออกแบบรอยตอแผน ระบบการติดตั ้ง โครงรองรับ และผนังดานหลัง<br />

มีผลตอประสิทธิภาพการระบายอากาศ การป้องกันการรั่วซึมของน้ำ า รวมถึง<br />

เรื่องการจัดการดานพลังงาน<br />

วัสดุประเภทแผนอะลูมิเนียมหอหุมอาคาร หรือ Aluminium Cladding ใชงาน<br />

กันแพรหลายในงานสถาปัตยกรรม ดวยความสวยงามทันสมัย น้ำาหนักเบา<br />

มีความยืดหยุนและสะดวกในการติดตั้ง วัสดุเคลือบผิวชวยใหมีความคงทน<br />

อายุการใชงานยาวนาน มีทั้งประเภท Solid และ Composite<br />

1<br />

Aluminium Cladding<br />

แผนอะลูมิเนียมแบบ Solid มีความปลอดภัย ยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม<br />

ผิวสำาเร็จมีใหเลือกทั้งเป็นการเคลือบสีคุณภาพสูงประเภท Fluorocarbon หรือ<br />

ทำาผิว Anodise แผนอะลูมิเนียมแบบ Composite ประกอบดวยแผนอะลูมิเนียม<br />

บางสองแผนประกบไสกลางพลาสติก แผนนอกมีระบบเคลือบสีประเภท Fluorocarbon<br />

ที่มีความคงทนตอสภาวะอากาศ ไสกลาง FR (Fire Resistant)<br />

รวมถึงไสกลางอะลูมิเนียมแบบ Honeycomb ถูกนำามาตอบโจทย์เรื่องความ<br />

ปลอดภัยกรณีเกิดเพลิงไหมและความแข็งแรง<br />

ระบบการติดตั้งแบบ Mechanical ยังเป็นมาตรฐานการติดตั้งที่ใชกัน ขณะที่<br />

การใชเทปหรือกาวคุณภาพสูงไดรับการพัฒนาเป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อใหเป็นอีก<br />

ทางเลือก การออกแบบรอยตอ การเลือกใชวัสดุยาแนวที่เหมาะสม การบำ ารุง<br />

รักษา ซอมแซม ทำาความสะอาดคราบสกปรกที่จะเกิดขึ้น ลวนเป็นสิ่งที่สถาปนิก<br />

ตองพิจารณาใหความสำาคัญ<br />

วัสดุแผนโลหะหอหุมอาคาร หรือ Metal Cladding มีความคงทนแข็งแรง ขณะที่<br />

ใหความยืดหยุน โลหะแตละประเภทมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไป ความสวยงาม<br />

และราคาก็แตกตางกันดวย พื้นผิวอาจมีการทำ าระบบสีเคลือบหรือแสดงออกซึ่ง<br />

ธรรมชาติของวัสดุนั้น โลหะบางประเภทยังมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ<br />

เมื่อเวลาผานไปทำาใหภาพลักษณ์ปรากฏเปลี่ยนไปเสมือนมีชีวิต เป็นหลากหลาย<br />

ทางเลือกวัสดุผนังอาคารใหกับงานสถาปัตยกรรม นอกจากเรื่องความสวยงาม<br />

แลว ปัจจัยหลักในการพิจารณาเลือกใชงาน ไดแก ความตานทานการกัดกรอน<br />

จากสภาวะอากาศ อายุการใชงาน และราคา การออกแบบวัสดุประเภทนี้ตอง<br />

ใหความสำาคัญกับความเป็นระบบ ทั้งระบบการติดตั้ง การป้องกันน้ำ า ความชื ้น<br />

การรั่วซึมของอากาศ<br />

Aluminium Cladding<br />

2<br />

Photo Reference<br />

1. https://www.equitone.com/en-us/ 2-3. ALUCOBOND_Facade_fascination_EN.pdf<br />

4. https://professionals.lysaght.com/ 5. https://www.3m.com/3M/en_US/vhb-tapes-us/applications/construction/<br />

6. https://www.dow.com/documents/en-us/app-tech-guide/62/62-17/62-1706-01-dow-corning-panelfix-system.pdf?iframe=true


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

139<br />

External Cladding<br />

Ludwig Hatschek created fiber cement in the late 19 th century.<br />

Boarding made from this material, which is composed of cement,<br />

cellulose, and various minerals later became widely used. This<br />

material is unique in its rawness. It was produced and introduced<br />

for different uses and is a product whose qualities ensure suitability<br />

in exterior applications. The material can be drilled with waterjet<br />

or CNC machined allowing for different patterns of embossing and<br />

other finishes. Design detailing is very important here particularly<br />

for exterior walling, panel joints, installation systems and supporting<br />

structure all affect efficiencies in relation to insulation, ventilation,<br />

water tightness and energy management.<br />

Aluminium Cladding<br />

3<br />

Aluminium is another modern cladding material used in architectural<br />

work in sheet or panel guise due to its attributes. The material<br />

is generally aesthetically pleasing, lightweight and allows for flexibility<br />

and ease of installation. Both its natural and applied coatings<br />

offer durability and a long-life span with generally minimum maintenance.<br />

This type of material is available in both solid and composite<br />

format.<br />

Solid aluminium sheets and panels are safe and environmentalfriendly.<br />

Two types of ready-made coatings for this type of panel<br />

include high quality fluorocarbon color coating and an anodised<br />

coating. Composite aluminium sandwich panels are composed of<br />

two thin aluminium sheets with an inert fire-resistant core in the<br />

middle. The outer layers are generally coated by weather-resistant<br />

fluorocarbon while the fire resistant / FR core, as well as the<br />

honeycomb aluminium core are used for durability.<br />

Mechanical fixing system is the standard and popular method of<br />

installation even though high-quality adhesives are available and<br />

developed as an alternative. As with any cladding system, particular<br />

care is needed in the design of jointing and sealants as well as<br />

attention to maintenance, reparation and cleaning methods.<br />

Metal Cladding<br />

4<br />

Metal cladding is strong, durable, and flexible, various types of<br />

metal have different attributes, aesthetic appeal and cost. Some of<br />

these receive factory pre-coatings while some do not. Other types<br />

of metal see change in physical attributes over time, giving them<br />

life-like quality and offering alternative applications in architectural<br />

design and use. Other factors for consideration when choosing<br />

which materials to use is its resistance to adverse weather conditions,<br />

durability / longevity, installation methodology and cost.<br />

Cladding materials that fall into this category include coated steel,<br />

coated aluminium, zinc anneal, stainless steel, copper, brass,<br />

titanium, titanium-zinc, and others.<br />

5<br />

6


140<br />

materials<br />

ผลิตภัณฑ์โลหะทางเลือกสำาหรับงาน Metal Cladding เชน เหล็กชุบสังกะสีผสม<br />

อะลูมิเนียม, เหล็กสเตนเลส, ทองแดง, ไททาเนียม, ไททาเนียมสังกะสี เป็นตน<br />

เหล็กสนิม หรือ Weathering Steel หรือ Weathered Steel เป็นโลหะผสมใน<br />

กลุมของเหล็กที่มักใชในการกอสรางกลางแจง ไดรับการออกแบบมาเพื่อลด<br />

ความจำาเป็นในการทาสี โดยหากปลอยทิ้งไวภายนอกสัมผัสกับองค์ประกอบ<br />

ตางๆ ก็จะเกิดสนิมขึ้นภายในเวลาเพียงไมกี่เดือน เหล็กสนิมถูกนำามาใชในงาน<br />

สถาปัตยกรรมดวยความมีลักษณะเฉพาะดานความสวยงามเป็นธรรมชาติ<br />

ในปี ค.ศ. 1930 U.S. Steel ไดออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสรางทางรถไฟ<br />

ใชชื่อวา Corten Steel และ COR-TEN ก็เป็นเครื่องหมายการคาจดทะเบียนใน<br />

เวลาตอมา Weathering Steel มีความตานทานการกัดกรอนและตานทานแรงดึง<br />

องค์ประกอบทางเคมีของเหล็กประเภทนี้ ทำาใหสามารถตานทานการกัดกรอน<br />

ในชั้นบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเหล็กอื่นๆ เนื่องจากเหล็กสรางชั้นป้องกัน<br />

บนพื้นผิวภายใตอิทธิพลของสภาพอากาศ ชั้นปกป้องพื้นผิวจะพัฒนาและงอก<br />

ใหมอยางตอเนื่องเมื่ออยูภายใตอิทธิพลของสภาพอากาศ อาจกลาววาเหล็ก<br />

สามารถเกิดสนิมเพื่อสรางชั้นเคลือบป้องกันซึ่งมีความเสถียรได<br />

การนำาเหล็กสนิมไปใชงานตองพิจารณาในเรื่องเทคนิคการเชื่อมตอวัสดุ วัสดุ<br />

เชื่อมที่ใชตองมีอัตราการกัดกรอนเชนเดียวกับเหล็กสนิม ตองมีการระบาย<br />

ไมใหมีการขังน้ำาเกิดขึ้น การกัดกรอนจากสภาวะอากาศในแตละพื้นที่ก็จะแตก-<br />

ตางกันไป ในพื้นที่ที่มีมลพิษในอากาศสูงจะมีผลตอความเสถียรของชั ้นปกป้อง<br />

อาจทำาใหไมสามารถหยุดยั้งการกัดกรอนได การทำาความสะอาดคราบสนิม<br />

ที่จะไหลออกมายังตองเป็นเรื่องคำานึงถึงดวย<br />

การใชงานผนังโลหะโปรงระบายอากาศในลักษณะ Second Skin ปรากฏใน<br />

งานสถาปัตยกรรมสมัยใหมออกแบบโดยสถาปนิกที่มีชื่อเสียง มีการนำาโลหะ<br />

รูปแบบตางๆ มาประยุกต์ใชงาน ผนังโลหะโปรงในงานผนังภายนอกอาคาร<br />

ชวยใหแสงสวางธรรมชาติและอากาศผาน สรางการเชื่อมโยงดวยมองเห็น<br />

ออกไปสูภายนอก<br />

แผนโลหะเจาะรู (Perforated Metal) นำาเอาแผนโลหะบางตางๆ เชน แผนเหล็ก<br />

กัลวาไนซ์ แผนเหล็กสเตนเลส แผนอะลูมิเนียม เป็นตน มาเจาะรูตามการออก-<br />

แบบ การเจาะรูชวยลดน้ำาหนักของแผนผนังไดในขณะที่ไมไดลดความแข็งแรง<br />

ลงมากนัก สรางความน่าสนใจ สามารถออกแบบลวดลายที่มีความซับซอน<br />

ตางๆ ได<br />

ตะแกรงโลหะฉีก (Expanded Metal) เป็นการนำาแผนโลหะมาทำาการเจาะ<br />

และฉีกใหเป็นชองรูปรางตางๆ โดยมีมุมที่ยังคงยึดติดกันและตอกันอยางเป็น<br />

ระเบียบ เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของโครงสรางโลหะและลดน้ำาหนักของ<br />

แผนโลหะในเวลาเดียวกัน ทำาใหมีความแข็งแรง รับน้ำาหนักบนแผนไดไม<br />

บิดงอหรือเสียรูป น้ำาหนักเบา การใชในงานผนังอาคารลักษณะคลายกันกับ<br />

แผนโลหะเจาะรู<br />

การใชโลหะที่มีลักษณะเป็นเสนมาถักทอใหเกิดเป็นตาขายหรือผืนผาโลหะ<br />

(Metal Fabric) มีลักษณะเฉพาะตัว ใหความสวยงาม ทันสมัย ยืดหยุน เป็น<br />

ตัวป้องกันความรอนและแสงสวางจากดวงอาทิตย์ขณะเดียวกันก็สรางความ<br />

โปรงเบา ปรับสภาพอากาศ สรางพื้นที่วางที่น่าสนใจ โลหะหลักที่นำ ามาใชในงาน<br />

ผนังภายนอกอาคารเป็นเหล็กสเตนเลสคุณภาพสูง แตโลหะอื่นก็สามารถนำ ามา<br />

ใชงานได เชน ทองแดง อะลูมิเนียม เป็นตน<br />

Weathering Steel or Weathered Steel is an alloy of steel often<br />

used in outdoor construction. It is originally designed to reduce the<br />

need for paint. If left outdoor in contact with weather and various<br />

elements, it will rust in just a few months. Weathering steel thus is<br />

widely used in architecture for its natural beauty features.<br />

In 1930, U.S. Steel developed a product for railway construction<br />

under the name of Corten Steel, which later was signed under the<br />

patent name of COR-TEN. It is a weathering steel more resistant to<br />

atmospheric corrosion due to its chemical compounds that creates<br />

a protective surface layer. It is a composite steel alloy developed to<br />

eliminate the need for the application of finishes forming a stable<br />

rust-like appearance showcasing its unique natural beauty after<br />

several months to years of weather exposure. As such, the material<br />

is generally used in outdoor applications.<br />

There are several factors to consider when utilizing this type of<br />

material. The first is welding, as material used in welding needs<br />

to have the same corrosion rate as that of the weathering steel.<br />

Also, corrosion occurs differently in different weather conditions<br />

and high levels of air pollution also impacts on the stability of the<br />

protection layer, which in turn affects its ability to resist corrosion.<br />

Applications require adequate ventilation to prevent water<br />

collecting and any rust run-off needs cleaning.<br />

In the past few decades the use of airy metal walls including<br />

wire mesh and perforated steel sheet in the form of Second Skin<br />

appears in modern architecture designed by renowned architects.<br />

This type of cladding uses thin sheets made from different types<br />

of metal such as aluminium, galvanized and stainless steel. Sheets<br />

can be perforated in a variety of interesting patterns in this type of<br />

application. The holes lead to a reduction in weight while retaining<br />

material strength and integrity. Perforations also allow for natural<br />

light, ventilation and visual connectivity to adjoining environments<br />

as well as provide freedom for architects to design patterns of<br />

various complexity.<br />

Expanded metal involves drilling and expanding metal sheets to<br />

create perforations in different three dimensional shapes which<br />

simultaneously increases the metal structure’s strength and capacity<br />

while reducing. The sheets can carry weight without bending or<br />

deforming. Uses in cladding and walling are quite similar to that<br />

of perforated metals.<br />

Metal fabrics are metals which are woven together into nets or<br />

fabrics. They are unique, beautiful, modern, and flexible. This type<br />

of cladding offers protection against heat gain and sunlight while<br />

providing a feeling of transparency. They also help condition the<br />

air and create interesting spaces. This system generally uses high<br />

quality stainless steel, although other materials such as zinc and<br />

aluminium are available.


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

141<br />

Weathering Steel<br />

7<br />

Perforated Metal<br />

8<br />

Perforated Metal<br />

9<br />

10<br />

Metal Fabric<br />

Metal Fabric<br />

11<br />

Photo Reference<br />

7. https://www.dezeen.com/tag/weathering-steel/ 8. https://www.pinterest.com/SKSteel/<br />

expanded-metal-facadescladding/ 9. https://www.pinterest.com/jjjjjjjjjjkkkkkkkkjjjhhhhh/<br />

perforated-metal-facades/ 10. https://www.archiproducts.com/en/products/facade-cladding/<br />

material_expanded-metal 11-12. https://codinametal.com/<br />

Metal Fabric<br />

12


142<br />

materials<br />

Soft Material<br />

วัสดุผาใบที่พัฒนาคุณภาพเพื่อการใชงานภายนอกอาคาร ทนทานตอสภาวะ<br />

อากาศซึ่งมีความรุนแรง ถูกนำามาใชเป็นผาใบขึงตึงในงานสถาปัตยกรรม<br />

ดวยลักษณะเฉพาะในความที่มีน้ำาหนักเบา สรางรูปทรงอิสระ และมีการสอง<br />

ผานของแสงสวางธรรมชาติ ชวยป้องกันความรอน ควบคุมปริมาณแสงสวาง<br />

และการมองเห็น สามารถทำาการสื่อสารดวยภาพบนพื้นผิว ชวยปรับปรุง<br />

ความน่าสบายทางดาน Acoustic ทั้งภายในและภายนอกอาคาร<br />

นอกจากวัสดุผาใบเสนใยสังเคราะห์ที่มีความบางเบา ยังมีความพยายาม<br />

ใชวัสดุพื้นผิวที่ออนนุมพิเศษ เชน แผนยาง พรมที่ใชในงานสถาปัตยกรรม<br />

เป็นตน มาประยุกต์ใชกับผิวอาคาร Gasser Fassadentechnik แหง St.<br />

Gallen ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นำาเสนอวัสดุดังกลาวเป็นวัสดุสำาหรับอาคาร<br />

ที่ยั่งยืน<br />

ยาง EPDM (Ethylene Propylene Diene Monomer Rubber) เป็นวัสดุ<br />

อเนกประสงค์มีความยืดหยุนสูง ทนทานตอสภาพอากาศ มีความทนทานตอ<br />

รังสี UV และมีความปลอดภัยจากเพลิงไหมในระดับ B1 หลังจากผานขั้นตอน<br />

การใชงานแลวสามารถหั่นเป็นชิ้นเล็กชิ้นนอยเพื่อนำาไปรีไซเคิลตอไปได<br />

Tisca Tiara นำาเสนอผลิตภัณฑ์วัสดุสนามหญาเทียมสำาหรับสนามกีฬากลาง<br />

แจงซึ่งมีความทนทาน เพื่อใชกับผิวแนวตั้งภายนอกอาคาร หญาเทียมความ<br />

หนา 32 มม. ทนทานตอสภาพอากาศ ทนรังสี UV การประยุกต์ใชงานแบบ<br />

ผิดวัตถุประสงค์พบวาสรางความน่าสนใจมากกวาการเป็นพื้นสนามกีฬา<br />

Soft Material<br />

13<br />

Kinetic Façade<br />

การพัฒนาออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของ<br />

วัตถุ แรงและพลังงานที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องตอบสนองตอสิ่งแวดลอม<br />

กับเทคโนโลยีกาวหนาสรางความน่าสนใจในหลายปีที่ผานมา<br />

Al Bahr Towers ของบริษัทสถาปนิก Aedas ในอาบูดาบี ออกแบบใหมีแผง<br />

คลายรมของดานหนาอาคารควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร์เปิดและปิดตอบ<br />

สนองตอการเคลื่อนไหวของดวงอาทิตย์ ปกป้องผูใชอาคารจากความรอน<br />

และแสงสะทอน ลดความจำาเป็นในการใชเครื่องปรับอากาศ และทำาใหอาคาร<br />

มีความยั่งยืนมากขึ้น แผงเหลานี้ยังไดรับแรงบันดาลใจทางศาสนาดวยความ<br />

เคารพในมรดกทางวัฒนธรรมดวย<br />

พื้นผิวอาคารที่เคลื่อนไหวไมหยุดนิ่ง ใชในการจัดการดานแสงสวาง อากาศ<br />

พลังงาน และแมแตการสื่อสารดานขอมูลตางๆ สามารถลดการรับแสง<br />

อาทิตย์ ปลอยใหอากาศบริสุทธิ์ผานเขาปรับสภาพแวดลอมภายในอาคาร<br />

อาจมีการตั้งโปรแกรมใหตอบสนองตอปัจจัยทางดานสภาพแวดลอม เวลา<br />

ระดับ ลักษณะการเขาใชอาคาร และอื่นๆ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผล<br />

Soft Material<br />

14<br />

Soft Material<br />

15


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

143<br />

Kinetic Façade<br />

16<br />

Soft Material<br />

High quality, weather-resistant canvases and like materials are<br />

developed for exterior use and can serve as tension membranes for<br />

architectural applications. Their unique qualities include lightness,<br />

an ability to create free forms and options in light transparency<br />

which can be manipulated to the level of heat, light and visibility<br />

required. Their surface can also double as image projectors in<br />

facilitating communications. The materials can also improve building<br />

acoustic comfort internally and externally. Apart from lightweight<br />

synthetic canvases, there are applications of materials with especially<br />

soft surfaces, such as rubber sheets or carpet for architectural use<br />

in walling. Gasser Fassadentechnik from St. Gallen, Switzerland<br />

offers them as alternatives for sustainable buildings.<br />

Ethylene Propylene Diene Monomer or EPDM membranes is a<br />

multipurpose rubber like material with high flexibility, weather,<br />

UV resistance, B1-level fire safety and recyclable properties.<br />

Tisca Tiara offers products made from similar materials to and<br />

as durable as artificial grass for outdoor stadiums for cladding<br />

applications. UV and weather-resistance of the artificial material<br />

has shown that it can be utilized in many building types other than<br />

sport stadiums.<br />

Kinetic Façades<br />

In recent years, there have been interesting and on-going development<br />

in architecture relating to the movement of objects, forces<br />

and energy which responds to the environment through advancing<br />

technology.<br />

Kinetic Façade<br />

17<br />

Al Bahr Towers in Abu Dhabi, designed by Aedas, incorporates<br />

such technology through computer controlled, umbrella-like panels.<br />

Panels open and close in relation to the suns positioning and<br />

serve to protect the user and building from heat and light reflection<br />

reducing reliance on mechanical air conditioning systems for a<br />

more sustainable building outcome. Panel design is often inspired<br />

by religion, displaying the designer’s reference to cultural heritage.<br />

Moving cladding systems are also used to manage light, ventilation,<br />

energy and even communication. They can mitigate the building’s<br />

exposure to sunlight and let fresh air flow through and condition<br />

the interior environment. Responses to different factors in the<br />

environment, time, levels and manners of use, and others can be<br />

programmed to improve effectiveness and efficiency.<br />

Kinetic Façade<br />

18<br />

Photo Reference<br />

13-14. https://www.architectkidd.com/index.php/2012/01/polymer-building-skins/<br />

15. https://www.detail-online.com/soft-building-skins-rubber-sheeting-and-architectural-carpeting-for-facades-16769/<br />

16-18. https://www.archdaily.com/922930/what-are-kinetic-facades-in-architecture


144<br />

materials<br />

Advanced Building Skin<br />

ความกาวหนาดานเคมีและวัสดุศาสตร์ทำาใหเกิดการพัฒนาตอเนื่อง การ<br />

ประยุกต์ใชเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์กับงานผิวผนังอาคารไดพัฒนาใชงานมา<br />

เป็นเวลานานแลว โลหะที่ปรับเปลี่ยนรูปทรงเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไดมีการ<br />

ศึกษาทดลองเพื ่อมาใชในงานอาคาร ผิวผนังซึ ่งปกปิดดวย Titanium Dioxide<br />

ชวยฟอกอากาศโดยรอบใหบริสุทธิ์ ขจัดมลพิษอยางมีประสิทธิภาพโดยการ<br />

ปลอยอนุมูลอิสระที่ลักษณะเป็นรูพรุน<br />

กระเบื้อง Prosolve370e พัฒนาโดยบริษัทสัญชาติเยอรมันชื่อ Elegant<br />

Embellishments ทำาใหเกิดรูปแบบที่ออกแบบปรับแตงได เพิ่มประสิทธิภาพ<br />

การทำางานโดยการเรงปฏิกิริยาดวยแสง (Photocatalyst) สามารถลางและ<br />

กำาจัดสารพิษที่เป็นอันตรายไดดวยพลังของแสงที่เขามาใกลพื้นผิวเคลือบดวย<br />

สารที่สามารถเรงปฏิกิริยาดวยแสง สิ่งที่สามารถกำาจัดได เชน กลิ่นเหม็นจาก<br />

ของสกปรก แบคทีเรีย เชื้อโรคตางๆ เชื้อรา ไวรัส และสารเคมีที่ทำ าใหมีอาการ<br />

ป่วยได<br />

กลุมนักออกแบบ Splitterwerk Architects และ Arup ไดทำาการทดสอบกับผนัง<br />

อาคารในประเทศเยอรมนีขนาด 200 ตารางเมตร โดยการใชตะไครน้ำาขนาด<br />

เล็กมากมายหลายลานตนใหไดรับสารอาหารและกาซออกซิเจนเพื่อไปกระตุน<br />

การผลิตสารชีวมวล เซลล์เล็กๆ ที่ไดรับแสงอาทิตย์โดยตรงจะเติบโตอยาง<br />

รวดเร็วสงผลใหน้ำามีอุณหภูมิสูงขึ้น ระบบจะกักเก็บความรอนนั้นเพื่อไวใชใน<br />

อาคารตอไป กลายเป็นแหลงพลังงานที่ยั่งยืนเปลี่ยนสภาพแวดลอมในเมืองได<br />

อาคาร Habitat 2<strong>02</strong>0 สรางขึ้นในประเทศจีนเปลี่ยนแปลงการรับรูของเรา<br />

เกี่ยวกับพื้นผิวโครงสรางอยางมาก ภายนอกไดรับการออกแบบใหเป็นพื้นผิว<br />

ที่มีชีวิตซึ่งแตกตางจากวัสดุกอสรางที่นิ่งเฉยทั่วไป ผิวหนังลักษณะเยื่อหุม<br />

ทำาหนาที่เป็นตัวเชื่อมระหวางภายนอกและภายในของที่อยูอาศัย ในมุมหนึ่งผิว<br />

หอหุมอาจพิจารณาเป็นผิวใบที่มีปากใบหลายชอง ชองเปิดของเซลล์เกี่ยวของ<br />

กับการแลกเปลี่ยนกาซและการคายน้ำาในพืช<br />

พื้นผิวที่ชวยใหแสงสวาง อากาศ และน้ำาผานเขาไปสูที่พักอาศัย มีการจัดการ<br />

ตัวเองโดยอัตโนมัติตามแสงอาทิตย์ที่สาดสองเขามา จึงไมจำาเป็นตองมีไฟฟ้า<br />

สำาหรับแสงสวางในตอนกลางวัน อากาศและลมจะถูกสงเขาสูอาคารโดยมีการ<br />

กรองเพื่อใหเป็นเครื่องปรับอากาศตามธรรมชาติที่ใหอากาศบริสุทธิ์ พื้นผิวมีการ<br />

ตอบสนองสามารถกักเก็บน้ำาฝน โดยน้ำานั้นจะถูกทำาใหบริสุทธิ์ กรอง น้ำาไปใช<br />

และรีไซเคิล พื้นผิวยังสามารถดูดซับความชื้นจากอากาศ ของเสียที่เกิดขึ้น<br />

จะถูกแปลงเป็นพลังงานกาซชีวภาพซึ่งสามารถนำาไปใชประโยชน์ตางๆ ใน<br />

แหลงที่อยูอาศัยไดดวย<br />

ในวันนี้ยังคงมีวัสดุผิวผนังมากมายให้สถาปนิกได้พิจารณาเลือกใช้ในงาน<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม ตัวอย่างวัสดุหนึ ่งที่มีใช้งานแพร่หลายแต่ยังไม่ได้<br />

กล่าวถึง ได้แก่ กระจก ซึ ่งอาคารสมัยใหม่ออกแบบระบบผนัง Curtain Wall<br />

ใช้กระจกประสิทธิภาพสูง ให้แสงสว่างผ่านเข้าสู่ภายในอาคารในขณะที่ช่วย<br />

ป้ องกันความร้อนที่จะผ่านเข้าสู่ภายในอาคาร ระบบ Curtain Wall มีการ<br />

ออกแบบให้ป้ องกันการรั่วซึมของน ้าและอากาศได้เป็ นอย่างดี<br />

ต้องย ้าว่าการออกแบบรายละเอียดเป็ นเรื่องสาคัญมาก สถาปนิกต้องรู้จัก<br />

ในวัสดุที่นามาใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความยั่งยืน และหลีก<br />

เลี่ยงปั ญหาที่อาจจะตามมาในอนาคต ไม่ต้องไปเป็ นภาระให้กับทางโครงการ<br />

และผู้เข้ามาใช้อาคาร<br />

Advanced Building Skin<br />

Advances in modern chemistry and material science has led to con-<br />

stant and positive progress such as the development and application<br />

of photovoltaics (PV) on wall and roof cladding. There are also on-going<br />

experiments utilizing metals whose shapes shift in relation to the<br />

temperature on buildings and claddings enclosed in titanium dioxide<br />

help clean the surrounding air eliminating toxins effectively by<br />

releasing hole-shaped free radicals.<br />

Prosolve 370e tiles, were developed by the Germany firm, Elegant<br />

Embellishments and can be manipulated into different shapes. Their<br />

surfaces are coated in special chemicals that can magnify the light<br />

by photocatalysis which is a process where light is magnified when<br />

in contact with the chemicals. This process eliminates harmful toxins<br />

and micro-organisms that lead to illnesses as well as the undesirable<br />

odors resulting from those substances and organisms.<br />

Splitterwerk Architects and Arup experimented on a 200 square<br />

meter wall surface in Germany allowing millions of microalgae to<br />

receive nutrients and oxygen to stimulate biomass production. As an<br />

example, small cells receiving sunlight directly grow quickly which<br />

heightens water temperature providing heat which can be stored by<br />

for future use in buildings. This alternate energy system will become a<br />

sustainable source of energy improving the environment in cities.<br />

The Habitat 2<strong>02</strong>0 building in China drastically changes our perception<br />

of surface structures. The materials used in the exterior cladding,<br />

unlike static architecture is designed to be organic. The membrane-like<br />

cladding serves to connect the interior and exterior of the building, the<br />

cladding seen as a ‘leaf’ type surface with multiple stomata or open<br />

cell membranes pertaining to the exchange of gases and transpiration<br />

of water.<br />

The cladding works by itself in contact with sunlight, air and water<br />

flow into the building. This in turn diminishes the reliance on artificial<br />

lighting during the daytime. Pressured air flows into the building<br />

through filters that naturally condition and purify and is stored for<br />

use and recycling. The design allows absorption of moisture in the air<br />

and any resultant waste is converted into biogas energy that serves<br />

different building functions.<br />

These days there are many different cladding materials and<br />

systems that the architect can select for use in their design,<br />

however the most common and widely used material not yet<br />

discussed is glass. Modern architecture uses curtain walling<br />

and high-quality glass that allows light penetration but reflects<br />

thermal heat and UV. These materials and systems are also air<br />

and water penetration resistant designed for efficiency.<br />

Again, proper detail design is of high importance in terms of<br />

overall material and system functionality and efficiency. To<br />

that end, architects need to possess the relevant knowledge and<br />

experience for the design to be effective, efficient, and sustainable<br />

avoiding potential issues that would otherwise consequently<br />

arise.


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

145<br />

Advanced Building Skin<br />

19<br />

Advanced Building Skin<br />

20<br />

Advanced Building Skin<br />

22<br />

Advanced Building Skin<br />

Photo Reference<br />

19. https://www.architectsjournal.co.uk/specification/energy-forum-on-solar-building-skins<br />

20. https://khyatirajani.wordpress.com/2017/05/27/8-smart-building-skins-that-are-revolutionary/<br />

21. https://inhabitat.com/habitat-2<strong>02</strong>0-off-the-grid-future-abode/<br />

22. http://www.prosolve370e.com<br />

21<br />

ปฏิกร ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ ทำ างาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่ งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.


146<br />

Trespa Meteon<br />

Cladding Panels<br />

Meteon เป็นลามิเนตไฮเพรสเชอร์ (HPL)<br />

พื้นผิวพิเศษที่ผลิตโดย Trespa โดยใช้เทคโน-<br />

โลยีเฉพาะของ Trespa ที่เรียกว่า Electron<br />

Beam Curing (EBC) ซึ่งเป็นกระบวนการที่<br />

รวดเร็วและไม่ใช้ความร้อนโดยใช้อิเล็กตรอน<br />

พลังงานสูงในการสร้างพื้นผิวพิเศษ ทำ าให้วัสดุ<br />

นี้มีคุณสมบัติพิเศษ รวมทั้งทนต่อสภาพอากาศ<br />

และมีความเสถียรของสี การผสมผสานระหว่าง<br />

เส้นใยจากธรรมชาติ 70% และเรซิน ผลิตภาย<br />

ใต้แรงกดดันและอุณหภูมิสูงทำาให้ได้แผ่นวัสดุที่<br />

มีความหนาแน่นสูงและมีความเสถียรมาก โดย<br />

มีอัตราส่วนความแข็งแรงต่อน้ำาหนักที่ดี มีสีและ<br />

โทนสีให้เลือกหลากหลาย รวมถึงผิวตกแต่ง<br />

แบบโลหะและไม้ ช่วยให้สถาปนิกสร้างสรรค์<br />

งานได้ไม่จำากัด<br />

โครงการใหม่ที่ทำาให้เห็นถึงศักยภาพของแผ่น<br />

ผิวผนัง Meteon คือ Nemho (Next Material<br />

House) ศูนย์วิจัยและพัฒนาแห่งใหม่ของ Trespa<br />

เองซึ่งออกแบบโดย Broekbakema สำานักงาน<br />

สถาปนิกจากรอตเตอร์ดัม สถาปนิกเริ่มต้นด้วย<br />

materials<br />

ภาพป่าในฟินแลนด์แล้วซูมเข้าไปเพื่อสร้างภาพ<br />

ระยะใกล้ ไปจนถึงโครงสร้างหน่วยเล็กๆ โดย<br />

ปกติแล้ววัสดุผิวผนังของ Trespa มักถูกใช้งาน<br />

ในลักษณะของแผ่นขนาดใหญ่ แต่แนวคิดนี้มี<br />

ความแปลกใหม่ตรงที่ในการออกแบบเลือกใช้<br />

แผ่นขนาดเล็กมาทับซ้อนกันเพื่อสร้างแพทเทิร์น<br />

ที่มีลักษณะเหมือนเกล็ดไม้มุงหลังคา ลักษณะ<br />

ที่ปรากฏจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับระยะห่างที่<br />

มองอาคาร สถาปนิกยังเพิ่มระดับการมองเห็น<br />

อีกสองระดับ ผสมผสานรูปแบบการตกแต่ง<br />

ที่แตกต่างกัน และออกแบบการออกแบบที่เล่น<br />

กับสเกลของ Meteon ในลักษณะเดียวกับพิกเซล<br />

บนหน้าจอคอมพิวเตอร์<br />

โครงการนี้นำาวัสดุนี้มาใช้ในเฉดสีและพื้นผิวที่<br />

หลากหลาย ตั้งแต่แบบมันวาวไปจนถึงแบบ<br />

ซาตินไปจนถึงแบบด้าน ซึ่งทำาให้เกิดการผสม<br />

ผสานพื้นผิวสามแบบ ได้แก่ แบบผิวด้าน แบบ<br />

ผิวมัน และแบบผสม เพื่อสร้างสถาปัตยกรรม<br />

ที่มีชีวิตชีวาท่ามกลางแสงแดด โดยที่พื้นผิว<br />

แต่ละแบบสะท้อนแสงต่างกันในตัวของมันเอง<br />

Meteon is a decorative high-pressure<br />

compact laminate (HPL) with an integral<br />

surface manufactured by Dutch<br />

manufacturer Trespa, using their unique<br />

in-house technology, Electron Beam<br />

Curing (EBC) which is a fast, non-thermal<br />

curing method that utilises high-energy<br />

electrons to cure special surfaces.<br />

This results in a closed smooth surface<br />

which gives the material special properties<br />

including weather resistance and<br />

colour stability. The blend of up to 70%<br />

natural fibers and thermosetting resins,<br />

manufactured under high pressures<br />

and temperatures yields a highly stable,<br />

dense panel with a good strength-toweight<br />

ratio. There are a wide range of<br />

colors and tones available, including<br />

metallics and wood decors, allowing for<br />

architects to create an unlimited array<br />

of artistic designs.<br />

A new project that reveals some of the<br />

potential of Meteon façade panels is<br />

Nemho (Next Material House), Trespa’s<br />

new R&D center designed by the<br />

Rotterdam-based firm Broekbakema.<br />

The architects started with the picture<br />

of a forest in Finland and then zoomed in<br />

to create a close-up – all the way down<br />

to the molecular structure. The idea also<br />

involved unusually small, overlapping<br />

panels to create a shingle-like, distinctively<br />

scaly pattern. Its appearance is<br />

different depending on the distance<br />

between the viewer and the building.<br />

They also superimposed two additional<br />

visual levels, combining different finish<br />

variations as well as devising a design<br />

which uses each Meteon ‘scale’ much<br />

like the way pixels work on a computer<br />

screen.<br />

The panels are used in a variety of<br />

shades and finishes in this project, from<br />

shiny to satin to matte. This allowed<br />

the architects to create a combination<br />

of three finishes – Diffuse, Specular<br />

and Oblique – to create a design that<br />

literally comes to life in the sun, where<br />

each surface reflects the light in its own<br />

distinctive way.<br />

trespa.com


147<br />

ETFE<br />

Plastic<br />

ETFE มาจากชื่อเต็มคือ Ethylene tetrafluoroethylene<br />

นับเป็นหนึ่งในโพลิเมอร์พลาสติกที่<br />

ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในอุตสาหกรรม<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง<br />

ในช่วงเวลาที่ผ่านมา จริงๆ แล้ว พลาสติกที่<br />

ใช้ฟลูออรีนเป็นองค์ประกอบหลักนี้ได้รับการ<br />

พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1970 โดย DuPont ให้เป็น<br />

ฟิล์มน้ำาหนักเบา ทนความร้อน สำาหรับใช้เป็น<br />

สารเคลือบในอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ<br />

ในปี 2001 ETFE ได้ถูกนำาไปใช้งานขนาดใหญ่<br />

เป็นครั้งแรกในฐานะเมมเบรนห่อหุ้มผิวของ<br />

โครงการอีเดนในคอร์นวอลล์ สหราชอาณาจักร<br />

เนื่องจากความสามารถในการควบคุมสภาพ-<br />

แวดล้อมภายในอาคารได้อย่างดีโดยอาศัยความ<br />

โปร่งใสของรังสียูวี ฟิล์มสามารถพิมพ์ด้วย<br />

รูปแบบเฉพาะและจัดเป็นชั้นเพื่อควบคุมแสง<br />

อาทิตย์ ซึ่งจำาเป็นสำาหรับอาคารที่มีหน้าที่ในการ<br />

ดูแลรักษาพืชพันธุ์ตามสภาพอากาศ นอกจากนี้<br />

ยังมีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานต่ำ าที่ช่วยป้องกัน<br />

ไม่ให้ฝุ่นหรือสิ่งสกปรกเกาะติดกับพื้นผิว ซึ่ง<br />

ช่วยลดปัญหาในการบำารุงรักษา<br />

ETFE comes from its full name Ethylene<br />

tetrafluoroethylene. It is perhaps one of<br />

the most widely-used plastic polymers<br />

in the architectural design and building<br />

industry today. This fluorine-based<br />

plastic was originally developed in the<br />

1970s by DuPont as a lightweight, heat<br />

resistant film to serve as a coating for the<br />

aerospace industry. In 2001, the material<br />

saw its first large-scale application as<br />

the encapsulating membrane for the<br />

Eden Project in Cornwall, UK. This is<br />

because of its ability to reliably regulate<br />

environmental conditions within the<br />

building through UV transparency. The<br />

film can be printed with specific patterns<br />

and layered to control solar conditions -<br />

which was essential to a structure whose<br />

function is to house climate-specific<br />

flora. It also has a low friction coefficient<br />

that prevents dust or dirt from sticking<br />

to its surface, reducing maintenance<br />

problems and requirements.


่<br />

148<br />

materials<br />

ในช่วงปี 2005 Arup ได้เสนอ ETFE สำาหรับ<br />

ใช้ในโครงการ Allianz Arena ซึ ่งออกแบบโดย<br />

Herzog & de Meuron และโครงการ Watercube<br />

National Swimming Center ในกรุงปักกิ่ง<br />

ออกแบบโดย PTW Architects ในการใช้งาน<br />

ของสองโปรเจ็คต์นี้ ชั้นของ ETFE จะถูกเติม<br />

อากาศจากระบบนิวแมติกเพื่อสร้างเป็นชิ้น<br />

วัสดุในลักษณะคล้ายเบาะ ซึ่งมีคุณลักษณะ<br />

เป็นฉนวนกันความร้อนและมีความเสถียรทาง<br />

โครงสร้างต่อแรงลมหรือหิมะ ในสนามกีฬา<br />

ทั้งสองแห่ง วัสดุแต่ละชิ้นยังสามารถให้แสงโดย<br />

การติดตั้งไฟ LED ที่เปลี่ยนสีได้ เพื่อสร้างลวด-<br />

ลายที่ไม่เหมือนใคร ทำาให้ด้านหน้าอาคารสะท้อน<br />

กิจกรรมและบรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในได้<br />

ETFE เป็นวัสดุที่รีไซเคิลได้ง่ายและมีอายุการใช้<br />

งานยาวนาน รองรับสภาพอากาศที ่รุนแรงได้<br />

ประหยัดต้นทุนในการผลิต และมีกระบวนการ<br />

ผลิตและการขนส่งที่ใช้พลังงานต่ำา เนื่องจาก<br />

ส่วนใหญ่มีน้ำาหนักเบา นอกจากนี้ยังเป็นวัสดุ<br />

ที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถรองรับน้ำ าหนักได้<br />

ประมาณ 400 เท่าของน้ำาหนักตัวมันเอง ในขณะ<br />

ที่มีน้ำาหนักเพียง 1% ของน้ำาหนักกระจก ETFE<br />

มีคุณสมบัติโครงสร้างที่หลากหลายทั้งแบบ<br />

ชั้นเดียว สองชั้น 3 ชั้น หรือ 4 ชั้น โครงสร้าง<br />

ที ่นิยมใช้กันมากที ่สุดคือโครงสร้างแบบแผ่นคู<br />

โดยที่ปั๊มลมใส่อากาศเข้าไประหว่างแผ่น ทำ าให้<br />

ผิวผนังที่ทำาจาก ETFE สามารถควบคุมอุณหภูมิ<br />

ภายใน ช่วยลดการใช้พลังงานสำาหรับเครื่อง-<br />

ปรับอากาศของอาคารได้<br />

In 2005 Arup subsequently proposed<br />

ETFE for the Allianz Arena designed<br />

by Herzog & de Meuron and the Watercube<br />

National Swimming Center in<br />

Beijing designed by PTW Architects.<br />

In these applications, layers of ETFE<br />

were filled with air from a pneumatic<br />

system to create pillow-like cushions<br />

that provide thermal insulation and<br />

structural stability against wind or snow<br />

loads. In both arenas, individual cushions<br />

can also be lit with color-changing LEDs<br />

to create unique patterns, allowing the<br />

building’s facade to reflect any event<br />

or activities taking place inside.<br />

ETFE is both easily recyclable and longlasting,<br />

holding up well to extreme climatic<br />

conditions. It is cost-effective to<br />

produce, and has a low-energy manu-<br />

facturing and transportation process,<br />

thanks in large part to its light weight.<br />

It is also a highly flexible material.<br />

It can support the weight of approximately<br />

400 times its own weight while<br />

its weight is only 1% of that of glass.<br />

In terms of application, ETFE offers a<br />

range of structural features for either<br />

a single layer, double layers, 3 layers<br />

or 4 layers. The most commonly used<br />

structure is the double sheet structure,<br />

where air is inserted by an air pump<br />

between the sheets. This allows the<br />

wall surface made of ETFE to control<br />

the internal temperature which then<br />

in turn allows the building to reduce<br />

energy consumption for air conditioning.<br />

vector-foiltec.com


Kriskadecor<br />

Aluminium Chains<br />

149<br />

โซ่อลูมิเนียมเป็นวัสดุอีกชนิดหนึ ่งที ่น่าสนใจ<br />

ไม่เพียงแต่สามารถใช้เป็นผนังหรือม่านสำ าหรับ<br />

กั้นแบ่งสเปซภายใน เป็นองค์ประกอบของฝ้า<br />

เพดาน หรือใช้เป็นพื้นหลังภายในงานอินทีเรีย<br />

แล้ว ทุกวันนี้สถาปนิกหลายคนได้นำ ามาใช้เป็น<br />

ผิวผนังภายนอกของอาคารอีกด้วย Kriskadecor<br />

ผู้ผลิตโซ่อลูมิเนียมรายใหญ่ของสเปนเป็นหนึ่งใน<br />

แบรนด์ผู้นำาของตลาดที่ทำางานร่วมกับสถาปนิก<br />

มากหน้าหลายตา มีงานแบบคิดนอกกรอบ<br />

และไอเดียที่น่าสนใจ<br />

โซ่โลหะเป็นวัสดุที่มีจุดเด่นที่ผิวสัมผัส ใช้งานได้<br />

หลากหลาย มีน้ำาหนักเบา สามารถผสมผสาน<br />

และประยุกต์ใช้ด้วยสีสัน รูปทรง และสร้างมิติ<br />

ในงานด้วยความพริ้งและการเคลื่อนไหว<br />

Kriskadecor สามารถพิมพ์ลวดลายกราฟิก<br />

ต่างๆ ลงบนโซ่ได้ ซึ่งเหมาะกับดีไซน์ของงาน<br />

พวก branding ต่างๆ หรือใช้สร้างเอฟเฟคต์<br />

ทางสายตาในพื้นที่ที่ต้องการ<br />

สำาหรับวัสดุที่ใช้ซึ่งก็คืออลูมิเนียม สามารถนำ าไป<br />

รีไซเคิลใช้ใหม่ได้ เช่นเดียวกับองค์ประกอบ<br />

ที่เป็นโครงสร้างซึ่งทำาจากพลาสติกพิเศษ ก็<br />

สามารถนำาไปรีไซเคิลได้เช่นกัน โปรดักส์<br />

รุ่นใหม่ของแบรนด์นี้เป็นรุ่นที่ถูกทำ าขึ้นสำาหรับ<br />

ใช้งานภายนอกอาคารโดยเฉพาะ ซึ ่งในหลายๆ<br />

โครงการ นอกเหนือจากความสวยงามแล้วยัง<br />

ถูกนำาไปใช้เป็นผิวผนังภายนอกสำาหรับกันแดด<br />

และเป็นผนังระบายอากาศอีกด้วย<br />

Not only can aluminium chains be used<br />

as dividers, ceilings, wall coverings, but<br />

they can also be an interesting option<br />

for architects and designers to use<br />

as cladding. Kriskadecor is a a major<br />

Spanish manufacturer of anodized aluminium<br />

chains and is one of the leading<br />

brands in the world market. They have<br />

worked with owners, architects and<br />

designers to provide flexibility and<br />

freedom to create artistic building skin<br />

specifically for individual projects.<br />

The chains are an unconventional<br />

surfacing and cladding material which<br />

can lend uniqueness and provide a<br />

distinct texture to spatial designs.<br />

Both versatile and light, the composite<br />

structures can be adapted in colour,<br />

shapes and dimensions that can bring<br />

joy and more movement. Kriskadecor’s<br />

in-house technology also makes<br />

it possible to replicate any image or<br />

pattern in brilliant and satin finishes<br />

on them, a feature especially useful for<br />

brand environments. In addition, chain<br />

cascades can be constructed as one<br />

single piece, an ideal solution for areas<br />

that have exposed ducts or technical<br />

registers.<br />

Great looks aside, Kriskadecor installations<br />

are also notable for their sustainability:<br />

they’re made from 99 per<br />

cent aluminium, thus they are 100 per<br />

cent recyclable. The company’s new<br />

exterior cladding system highlights the<br />

added benefits of the products: the<br />

links provide protection from sunlight,<br />

and they open areas of ventilation for<br />

the building. Furthermore, the highstrength<br />

technical plastic used for the<br />

tension system is recyclable as well.<br />

Archiproducts Milano by TRULY DESIGN Studio.<br />

Photo: Marcela Grassi<br />

kriskadecor.com


150<br />

SCG D’COR<br />

Modeena Series<br />

Facade Panels<br />

materials<br />

SCG D’COR is a brand that produces<br />

fiber cement-based building materials,<br />

consisting of Portland cement, silica<br />

and cellulose fibers. Manufactured<br />

through X-TRUSTION which is under<br />

SCG’ s own copyright, the panel can<br />

be formed as desired by using molds<br />

specifically designed by professional<br />

engineers. As a result, it makes the<br />

material homogeneous throughout<br />

the sheet, and provides higher density<br />

compared to general fiber cement. It is<br />

strong, durable and able to support a<br />

variety of applications for various types<br />

of works.<br />

SCG D’COR เป็นแบรนด์ผลิตไลน์วัสดุก่อสร้าง<br />

และตกแต่งอาคารจากไฟเบอร์ซีเมนต์ ซึ่ง<br />

ประกอบด้วยซีเมนต์ ซิลิกา และเส้นใยเซลลูโลส<br />

ผ่านการผลิตด้วยเทคโนโลยี X-Trusion ที่<br />

สามารถผลิตชิ้นงานได้ตามรูปแบบที่ต้องการ<br />

ด้วยวิธีการขึ้นรูปแผ่นวัสดุ ผ่านแม่พิมพ์ที่ถูก<br />

ออกแบบโดยวิศวกรเฉพาะทางของ SCG ทำาให้<br />

วัสดุมีเนื้อเดียวกันตลอดทั้งแผ่น และให้ความ<br />

หนาแน่นสูงกว่าไฟเบอร์ซีเมนต์ทั่วไป จึงมีความ<br />

แข็งแรง ทนทาน สามารถรองรับการใช้งานได้<br />

หลากหลายรูปแบบ<br />

สำาหรับผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่อย่างโมดิน่า เป็นวัสดุ<br />

ในซีรีส์นี้ที่กำ าลังได้รับความนิยม เพราะสามารถ<br />

ใช้ทดแทนไม้ได้เป็นอย่างดี สามารถใช้ได้ทั้ง<br />

ภายนอกและภายในอาคาร มีคุณสมบัติเรื่อง<br />

ความทนทาน ทนแดด ทนฝน และไม่มีปัญหา<br />

เรื่องปลวก นอกจากความสวยงามที่ไม่ต่าง<br />

จากไม้ธรรมชาติแล้ว จุดเด่นของรุ่นโมดิน่าคือ<br />

ลูกเล่นของเส้นสายและการสร้างพื้นผิว และมิติ<br />

จากการเล่นระดับสูงต่ำา มีความตื้นความลึกของ<br />

แผ่น ทำาให้สามารถนำามาใช้งานให้งานออกแบบ<br />

น่าสนใจมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็น<br />

ผิวผนังภายนอกของอาคาร สามารถทำาให้ผิว-<br />

ผนังภายนอกของอาคารมีมิติที่แปลกตา และ<br />

เพิ่มทางเลือกในการออกแบบที่หลากหลายตาม<br />

ความคิดสร้างสรรค์ของสถาปนิกด้วย โมดิน่ามี<br />

แพทเทิร์นและขนาดให้เลือกหลายแบบ ใช้ระบบ<br />

การติดตั้งแบบบังใบและคลิปล็อค ช่วยปิด<br />

หัวน็อตสกรูของการติดตั้ง ได้ทั้งแนวตั้งและ<br />

แนวนอน นอกจากนี้ยังมีรุ่น โมดิน่า ไลท์ รุ่น<br />

พิเศษที่มีน้ำาหนักเบาสำาหรับติดตั้งบนฝ้าได้<br />

Modeena is a new series in this line<br />

which is now gaining more popularity.<br />

Not only can it be used as a good substitute<br />

for wood as well as for both for<br />

exterior and interior use, but it also<br />

durable, sun and rain resistant, and has<br />

no termite problems. In addition to its<br />

aesthetic features that is no different<br />

from natural wood, the hallmark of the<br />

Modeena series are the fine lines and<br />

textures. The extra dimensions from<br />

the high and low relief of the panel can<br />

also be used to create more attractive<br />

and striking designs especially for the<br />

building’s facade, adding a variety of<br />

design options to match to the architect’s<br />

endless creativity. Modeena has<br />

a wide range of patterns and sizes<br />

available and can be simply installed<br />

with clip lock mounting system which<br />

helps conceal the screw. The panels<br />

can be applied both vertically and<br />

horizontally. Additionally, Modeena<br />

Light is a special light-weight version<br />

which can be installed on the ceiling<br />

as an add-on element.<br />

scgbuildingmaterials.com


152<br />

professional / studio<br />

Dhamarchitects<br />

แนะนำตัวเองคร่ำวๆ เป็ นใครกันบ้ำง จบกำร<br />

ศึ กษำที่ไหน และเริ่มเปิ ดออฟฟิ ศอย่ำงไร<br />

ธัมอาร์คิเทคส์ ก่อตั้งโดยคุณธรัช ศิวภักดิ์วัจนเลิศ<br />

ในปี 2013 โดยหลังจากจบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

ได้สั่งสมประสบการณ์การทางานในแวดวงการ<br />

ออกแบบ สถาปัตยกรรม มากกว่า 13 ปี โดยเฉพาะ<br />

โรงแรมรีสอร์ทจากบริษัทสถาปนิกชั้นนาของ<br />

เมืองไทย หนึ่งในนั้นคือบริษัทบุนนาคอาร์คิเท็คส<br />

ของคุณเล็ก เมธา บุนนาค ศิลปินแห่งชาติ และ<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบโรงแรม นอกจากนี้<br />

ยังมีผู้ร่วมก่อตั้ง คือ คุณวทัญญู มูลทองสุข จาก<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

ซึ่งคุณวทัญญูเป็นผู ้สนับสนุนให้เกิด VERNADOC<br />

Phuket โดยความร่วมมือกับ ผศ.ดร.สุดจิต<br />

เศวตจินดา (สนั ่นไหว) ผู้ก่อตั้ง VERNADOC<br />

Thailand และทางธัมอาร์คิเทคส์ก็ได้จัดค่าย<br />

VERNADOC Phuket มาแล้ว 3 ครั้งในปี 2017,<br />

2019 และ 2<strong>02</strong>0 โดยอาคารที่ทาการรังวัดคือ<br />

บ้านหลวงอานาจนรารักษ์ โรงตีเหล็กไต่สุ่นอั้น<br />

และ ไชน่าอินน์ ตามลาดับ<br />

ปรัชญำ ควำมสนใจและแนวคิดกำรทำงำน<br />

ของออฟฟิ ศ<br />

แนวคิดการทางานของธัมอาร์คิเทคส์ คือ ธรรมชาติ<br />

สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน<br />

คือสิ่งปลูกสร้างที่ยืนอยู่ตรงกลางอย่างอ่อนน้อม<br />

ระหว่างธรรมชาติและวัฒนธรรม เรามองว่าสิ่ง<br />

ปลูกสร้าง คือรูปธรรมที่หยัดยืนอยู่ได้ด้วยฐาน<br />

และรากที่มักจะเกี่ยวพันกาเนิดมาจากสองสิ่ง นั่น<br />

คือธรรมชาติ และวัฒนธรรม ในฐานะสถาปนิกเรา<br />

เข้าใจว่าเราไม่ใช่นักโบราณคดี จึงได้เพิ่มเติมมิติ<br />

เวลาเข้ามาในงานออกแบบด้วย เพื่อมอบความ<br />

เป็นเอกลักษณ์ทางเวลาให้กับงานนั้นๆ ให้ผู้ใช้ได้<br />

รับรู้ถึงรากเหง้าของสถานที่ แต่ในขณะเดียวกัน<br />

ก็แยกแยะได้ว่าอาคารหลังนั้นถูกสร้างขึ้นในยุค<br />

สมัยไหน<br />

ตัวอย่ำงผลงำนแนะนำออฟฟิ ศ คำอธิบำยสั้นๆ<br />

และภำพ<br />

1 Little Nyonya Hotel<br />

ได้รับรางรางวัลสถาปัตยกรรมสมควรเผยแพร่ ใน<br />

งาน South Up หยับหรอย สถาปนิกทักษิณ ’59<br />

ทันทีในปีที่การก่อสร้างแล้วเสร็จ<br />

littlenyonyahotel.com<br />

2 Xinlor House<br />

แนวคิด “ถนน-รถ-การเดินทาง” มาเป็นแนวคิด<br />

หลัก โดยใช้รูปแบบที่ขอเรียกเอาเองว่า Sinoindustrial<br />

มาเป็นสื่อในการสร้างแนวคิดนาม-<br />

ธรรมอันนี้ให้กลายเป็นรูปธรรม<br />

facebook.com/XinlorHouse<br />

3 Sound Gallery House<br />

เป็นของตระกูลหลิม ซึ่งในภาษาจีน หลิมแปลว่า<br />

ป่าไม้ และตระกูลหลิมยังเป็นเจ้าของโรงเรียน<br />

ดนตรียามาฮ่าภูเก็ตอีกด้วย ดั “ต้นไม้ กับ ดนตรี”<br />

จึงกลายมาเป็นแรงบันดาลใจหลักในการสร้าง<br />

เอกลักษณ์ที่เฉพาะเจาะจง<br />

soundgalleryhouse.com<br />

4 Swensen’s Kad Nan<br />

ความเป็นไปได้ใน “การเกื้อหนุนกัน” ของ<br />

กิจกรรมใหม่ กับที่ว่างจากวัฒนธรรมเก่า<br />

แม้ว่าจะเป็นในเชิงพาณิชย์เข้มข้นก็ตาม<br />

facebook.com/SwensenKadNan<br />

5 CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China Inn,<br />

Drawn by Watanyoo Moolthongsuk<br />

facebook.com/vernadocphuket<br />

อยำกเห็นวงกำรวิชำชีพสถำปนิกไทยเป็ นอย่ำงไร<br />

เราอยากเห็นวงการสถาปนิกไทยได้รับความเข้าใจ<br />

ที่ถูกต้องจากคนทั่วๆ ไปเสียทีว่าเป็น “วิชาชีพ” คือ<br />

เป็นอาชีพที่ต้องมีความรู ้เฉพาะและนาสหวิชา<br />

มาใช้ในการทางาน สถาปนิก เป็นอีกหนึ่งอาชีพ<br />

ไม่ใช่การรับจ้างหรือรับทาของ คุณค่าและเกียรติ<br />

ของอาชีพสถาปนิกจึงจะค่อยๆ ได้รับความเข้าใจ<br />

และอาชีพสถาปนิกจึงจะถูกนามาใช้ประโยชน์<br />

มากขึ้นในการพัฒนาประเทศต่อไป


DHAMARCHITECTS<br />

Xinlor House<br />

CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China Inn<br />

Little Nyonya Hotel


154<br />

professional / studio<br />

We see the building<br />

as an entity with<br />

foundations and<br />

roots that are always<br />

intertwined with and<br />

has originated from<br />

two things - nature<br />

and culture.<br />

Swensen’s Kad Nan<br />

Sound Gallery House


DHAMARCHITECTS<br />

155<br />

Briefly introduce yourself - Who are<br />

you, where did you graduate from<br />

and how did you start running your<br />

office?<br />

Dhamarchitects was founded in 2013 by<br />

Dharaj Shivapakwajjanalert, an architecture<br />

graduate from the Faculty of Architecture,<br />

Khon Kaen University. Dharaj has accumulated<br />

experiences for more than 13 years<br />

working in the field of design and architecture,<br />

especially for hotels and resorts. He<br />

has worked in leading architecture firms<br />

including Bunnag Architects - the famous<br />

architecture firm founded by Lek Metha<br />

Bunnag, a national artist and a renowned<br />

hotel design expert. Our office was also<br />

co-founded by Watanyoo Moolthongsuk,<br />

a graduate of the Faculty of Architecture,<br />

Rangsit University. Watunyoo is also a<br />

supporter and promoter of VERNADOC<br />

Phuket in collaboration with Asst. Prof. Dr.<br />

Sudjit Sawetchinda (Sananwai), the founder<br />

of VERNADOC Thailand. Until now we have<br />

organized 3 VERNADOC Phuket Camps in<br />

2017, 2019 and 2<strong>02</strong>0. The buildings which<br />

were surveyed are Luang Amnachnararaksha<br />

Mansion, Tai Zun Aun Blacksmith Shop,<br />

and the China Inn respectively.<br />

What are the philosophies, interests<br />

and concepts behind your work?<br />

Our working concept is Nature, Architecture<br />

and Culture. Sustainable architecture<br />

is a building that stands humbly between<br />

nature and culture. We see the building as<br />

an entity with foundations and roots that are<br />

always intertwined with and has originated<br />

from two things - nature and culture. As<br />

architects, we understand that we are not<br />

archaeologists so we always add the dimen-<br />

sion of time to our designs, to provide a<br />

timely identity to our work. This is so users<br />

may recognise the root of the place and yet<br />

are able to distinguish the period when the<br />

building was built.<br />

Could you share some of your works<br />

with short descriptions and photos<br />

with us?<br />

1 Little Nyonya Hotel<br />

The project received a citation award at the<br />

South Up Architect event in 2016.<br />

littlenyonyahotel.com<br />

2 Xinlor House<br />

The concept of “Road-Car-Travel” came<br />

to be the main idea, using a form of Sino-<br />

industrial as a medium to create an<br />

abstract concept into a real project.<br />

facebook.com/XinlorHouse<br />

3 Sound Gallery House<br />

The project belongs to the Lim family, and<br />

Lim in Chinese is translated as forest. The<br />

Lim family also owns the Yamaha Phuket<br />

School of Music, “Trees and Music” then<br />

became the main inspiration for creating<br />

a specific identity.<br />

soundgalleryhouse.com<br />

4 Swensen’s Kad Nan<br />

Kad Nan and the possibilities of “supporting<br />

each other” in new activities along with the<br />

space from older culture, even though it is a<br />

very commercial project.<br />

5 CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China<br />

Inn, Drawn by Watanyoo Moolthongsuk<br />

https://web.facebook.com/vernadocphuket<br />

How would you like the Thai<br />

architect profession to be seen?<br />

We would like to see the Thai architecture<br />

industry gain an accurate understanding<br />

from the public as a “profession” - a practice<br />

that requires specific and interdisciplinary<br />

knowledge to work. Working as an<br />

architect is a professional practice. It is not<br />

a simply hired or an unskilled labor job. The<br />

value and honor of an architectural practice<br />

will then gradually gain more value. Only<br />

then will our profession be considered useful<br />

and will be used to further benefit the<br />

development our country in the future.<br />

fb.com/dhamarchitects


156<br />

revisit<br />

MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor - Looking back<br />

at the Modern Architecture<br />

design heritage in Khon<br />

Kaen University<br />

Modern Architecture has<br />

been a subject of interest in<br />

Thailand for more than 70<br />

years. The modern way of<br />

life, advances in technology,<br />

society, and growing<br />

economy have influenced<br />

the architectural movement<br />

seeing a shift in architectural<br />

practices inspired largely<br />

by foreign architects as<br />

well as a divergence in the<br />

use of natural materials in<br />

construction to reinforced<br />

concrete. Due to these factors,<br />

the role of architectural<br />

design during this period is a<br />

symbol of these advances.<br />

1<br />

Text: Nopadon Thungsakul<br />

2


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

157<br />

4<br />

3<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่หรือสถาปัตยกรรมโมเดิร์น อยู่ใน<br />

ความสนใจในประเทศไทยมานานกว่า 70 ปี นอกจากปัจจัย<br />

ด้านเศรษฐกิจ วิถีชีวิตสังคมสมัยใหม่แล้ว เทคโนโลยีการ<br />

ก่อสร้างที่เปลี่ยนจากการใช้วัสดุธรรมชาติมาเป็นคอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก รวมถึงการปฏิบัติวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมที่<br />

บางส่วนได้รับอิทธิพลจากการศึกษาสถาปัตยกรรมจาก<br />

ต่างประเทศ ก็ถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่มีส่วนสำาคัญที่ทำาให้รูป-<br />

แบบสถาปัตยกรรมโมเดิร์นได้รับความสนใจในประเทศไทย<br />

อย่างกว้างขวาง อาคารในยุคนี้จึงมีคุณค่าในฐานะที่เป็น<br />

ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับความก้าวหน้า<br />

ของแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ปัจจุบันได้มีการดำาเนินการรวบรวมข้อมูลอาคารเหล่านี้เพื่อ<br />

ให้เกิดการอนุรักษ์และเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม<br />

โมเดิร์นนานาชาติ (DOCOMOMO International) ภายใต้<br />

ชื่อ DOCOMOMO Thailand มีการจัดทำาฐานข้อมูลอาคาร<br />

ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์หลากหลายประเภท และหนึ่งใน<br />

ประเภทอาคารที่ถือได้ว่าเป็นก้าวกระโดดที่สะท้อนถึงความ<br />

เปลี่ยนแปลงด้านสังคม-วัฒนธรรมในช่วงนั้น ได้แก่ อาคาร<br />

สถาบันการศึกษา ดังที่ปรากฎว่ามีอาคารยุคโมเดิร์นที่<br />

ยังคงเหลืออยู่ในหลายสถาบัน อาทิ มหาวิทยาลัยเกษตร-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย<br />

สงขลานครินทร์ เป็นต้น<br />

The International Working Party for Modern Movement<br />

(DOCOMOMO International) Thailand has<br />

been compiling ongoing data of the local changes<br />

in architecture during this period for preservation<br />

and conservation purposes including the conservation<br />

of relevant buildings, sites, and neighborhoods.<br />

This ongoing project has compiled a database of<br />

different types of buildings worthy of preservation<br />

established during the period as well as defining<br />

architectural movements that reflected the sociocultural<br />

changes for historical, educational, and<br />

reference purposes. As such, there are Modernist<br />

buildings in Thailand that still stand in many regional<br />

Universities, such as Kasetsart, Thammasat,<br />

Chiang Mai, Khon Kean, Mahidol, and Prince of<br />

Songkla.<br />

As the physical condition of modernist architectural<br />

buildings starts to deteriorate so does the<br />

potential for and the threat of demolition, Khon<br />

Kaen University in Isaan is one such example. For<br />

this reason, the University’s alumni who have used<br />

these buildings for educational purposes realize<br />

their historical and educational significance using<br />

social media to spread this message and organize<br />

an exhibition in the hope of making others aware<br />

01-<strong>02</strong><br />

อาคารหอพักนักศึกษา 2<br />

ออกแบบห้องพักยื่น<br />

2 เมตร กันแดดฝน<br />

เครดิตภาพ:<br />

สุทธิกานต์ ปัตตาลาโพธิ์<br />

03<br />

อาคารหอพัก 2<br />

เครดิตภาพ:<br />

วทัญญู แก้ววังชัย<br />

04<br />

อาคารหอพัก 3<br />

ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

สมคิด เพ็ญภาคกุล<br />

และเฉลิมชัย ห่อนาค<br />

เครดิตภาพ:<br />

นพดล ตั้งสกุล


158<br />

revisit<br />

4<br />

5<br />

04-06<br />

อาคารภาควิชาวิศว-<br />

กรรมโยธา โดย<br />

คุณอมร ศรีวงศ์ ร่วมกับ<br />

ศ.ดร.รชฎ กาญจนวนิชย์<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล (05)<br />

วทัญญู แก้ววังชัย (06)<br />

07<br />

อาคารภาควิชาวิศวกรรม<br />

สิ่งแวดล้อม EN06 โดย<br />

รศ.สถาพร เกตกินทะ<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล<br />

7<br />

6


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

159<br />

สำาหรับมหาวิทยาลัยในภาคอีสานอย่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

เมื่ออาคารในยุคโมเดิร์นเริ่มเสื่อมสภาพลง เกิดภาวะคุกคาม<br />

ที่เสี่ยงต่อการจะถูกรื้อถอน รวมทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ได้มี<br />

การนำาเสนออาคารเหล่านี้อย่างกว้างขวาง กลุ่มศิษย์เก่าของ<br />

มหาวิทยาลัยซึ่งเคยมีโอกาสเป็นผู้ใช้งานเล็งเห็นว่าอาคาร<br />

เหล่านี้มีความสำาคัญในเชิงประวัติศาสตร์ที่เป็นพื้นที่หลอม<br />

รวมความทรงจำา จึงริเริ่มการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำ าเสนอ<br />

เผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยนำาเสนอผ่านนิทรรศการ “โมเดิร์น<br />

ในมอ แรกสมัยใหม่ในที่ราบสูง: MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor” จัดที่ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ<br />

ขอนแก่น (TCDC Khon Kaen) เมื่อช่วงระหว่างวันที่ 4<br />

พฤษภาคม- 4 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา เพื่อชวนให้เกิด<br />

การมองย้อนกลับไปดูแนวคิดด้านการออกแบบและการ<br />

ก่อสร้าง และการตระหนักถึงคุณค่าในการรักษามรดกทาง<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ไว้<br />

เมืองขอนแก่นนั ้นถูกวางให้เป็นเมืองศูนย์กลางของภาคอีสาน<br />

และมีจุดมุ่งหมายหลักในการพัฒนาการศึกษาเป็นส่วนสำ าคัญ<br />

ในการพัฒนาภูมิภาค ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2509) โดยมีการสถาปนา<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่นขึ ้น เมื ่อวันที ่ 25 มกราคม พ.ศ. 2509<br />

ในช่วงก่อตั้งมีการเปิดการเรียนการสอน 3 คณะวิชาคือ คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์<br />

– อักษรศาสตร์ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาแรกๆ ที่มีความสำ าคัญ<br />

ในการพัฒนาภูมิภาคสู่สังคมสมัยใหม่และเทคโนโลยีที่<br />

ก้าวหน้าในขณะนั้น การออกแบบและก่อสร้างอาคารเพื่อใช้<br />

ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยจึงถือได้ว่าเป็นการ<br />

สร้างภาพตัวแทนของ “การพัฒนา” ที่ทันสมัยในภูมิภาค<br />

และก้าวหน้าทัดเทียมกับสังคมในระดับสากล<br />

อาคารคณะวิชาที่เกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า<br />

ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเรียนการสอน อย่าง<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ สถาปนิกได้<br />

ออกแบบให้สถาปัตยกรรมเป็นภาพสะท้อนของสังคมในช่วง<br />

นั้น สถาปัตยกรรมจึงมีบทบาทในฐานะที่เป็น “แบบเรียน<br />

ทางวิศวกรรม” และ “สถาปัตยกรรมแห่งวิทยาศาสตร์”<br />

(พินัย สิริเกียรติกุล, 2563) เนื่องจากการออกแบบที่<br />

สอดคล้องกับพฤติกรรมของโครงสร้างและวิธีการก่อสร้าง<br />

ได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างเช่น อาคารภาควิชาวิศวกรรมโยธา<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ คุณอมร ศรีวงศ์ ทำางานร่วมกับ<br />

ศ.ดร.รชฎ กาญจนวนิชย์ ออกแบบให้เป็นอาคารช่วงกว้าง<br />

โครงสร้างหลังคาเป็นโครงถักสามมิติ (3-Dimensional<br />

truss) วางพาดตลอดแนวของความกว้างช่วงเสาอาคารระยะ<br />

9 เมตร ปลายสุดของโครงหลังคาใช้โครงสร้างแขวน (Suspension<br />

structure) หิ้วพื้นส่วนที่ยื่นออกมาเป็นระยะห่างข้าง<br />

ละ 3 เมตร จากแนวเสาตลอดแนวด้านยาวอาคารทั ้งสองข้าง<br />

of the importance of saving this part of history. The<br />

exhibition was named “MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor” and was held at TCDC Khon Kaen<br />

from May 4 to July 4. It allowed us to look back<br />

at the Modernist ideas of architectural design<br />

and construction emphasizing the importance<br />

of preserving the cultural heritage related to this<br />

movement.<br />

Khon Kaen had been planned to be the most<br />

important province in the northeast of Thailand.<br />

Following the first National Economic and Social<br />

Development Plan (1961-1966), the province’s foremost<br />

objective was the development of education,<br />

as this was a vital aspect of regional development.<br />

Reinforcing this objective, Khon Kaen University<br />

was opened on January 25, 1966. The University<br />

had three original faculties: Engineering; Agriculture;<br />

Science and Liberal Arts. All these technologies<br />

were important for progressive regional development<br />

and transition into a modern society. The<br />

design and construction of the University buildings<br />

is therefore a symbol of the region’s development<br />

into a modern period showcasing the advancement<br />

of Thai society on par with those of the world.<br />

The Engineering and Science faculty buildings were<br />

designed to reflect the society of that period. Their<br />

architecture, whose designs were aligned with<br />

both the behavior of the structure and construction<br />

methodology is, therefore studies in engineering<br />

and the science of architecture. An example of<br />

such architecture is the Civil Engineering Department<br />

(Faculty of Engineering)’s building. Designed<br />

by Amorn Sriwong in collaboration with Prof. Dr.<br />

Rachot Kanjanavanit, the building incorporates<br />

a wide span with a three-dimensional trussed roof<br />

structure spanning its nine-meter width. At the ends<br />

of the roof, cantilevered suspension structures are<br />

used to carry the parts extending 3 meters beyond<br />

the building pillars on either side. The interior is<br />

connected by a corridor 12 meters wide whose<br />

weight is carried by steel beams incorporating<br />

an open free-flowing stairway in the middle of<br />

the lobby.


160<br />

revisit<br />

โถงเชื่อมอาคารกว้าง 12 เมตร ภายในเชื่อมด้วยทางเดินที่<br />

หิ้วโครงสร้างพื้นด้วยเส้นเหล็กตันและบันไดที่วางแบบอิสระ<br />

ลอยตัวในที่ว่างกลางโถง<br />

ในขณะที่กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์ ที่ก่อสร้างเสร็จเมื่อ<br />

ปี พ.ศ. 2509 เป็นกลุ่มอาคารที่เกิดจากการจัดตั้ง คณะ<br />

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็น<br />

ไปตามแผนพัฒนาภาค ปี พ.ศ. 2505-2509 กลุ่มอาคาร<br />

ประกอบด้วย อาคารเรียนและสำานักงานอธิการบดี ความสูง<br />

สองชั้น ความยาว 120 เมตร มีทางเดินเชื่อมต่อกับ อาคาร<br />

ปาฐกถา (ตึกกลม) ความจุ 500 ที ่นั ่ง และอาคารปฏิบัติการ<br />

(ปัจจุบันคือ อาคาร SC01) ความสูง 4 ชั ้น ขนาดกว้าง 10<br />

เมตร และยาว 60 เมตร รวมทั้งอาคารห้องปฏิบัติการทาง<br />

เคมี เป็นอาคารชั้นเดียวที่หลังคาเป็นคอนกรีตโค้งพารา-<br />

โบลิค วางตัวต่อเนื่องกัน 5 โค้ง ปัจจุบันส่วนอาคารเรียน<br />

และสำานักงานอธิการบดีได้ถูกรื้อถอนและแทนที่ด้วยอาคาร<br />

สูง 6 ชั้น เนื่องจากการความต้องการในการใช้งานอาคาร<br />

กลุ่มนี้เน้นการบรรยายและการทำางานในห้องปฏิบัติการ ทีม<br />

ผู้ออกแบบได้เลือกระบบโครงสร้างช่วงกว้าง วางตำ าแหน่ง<br />

เสาไว้แนวริมอาคารทั้งหมด วางระบบคานเป็นคานหลักและ<br />

คานรอง เกิดระบบการจัดวางโครงสร้างที่น่าสนใจพร้อม<br />

กับระนาบความลึกของฝ้าเพดาน มีการออกแบบแผงคอ<br />

นกรีตเป็นครีบกันแดดยาวตลอดแนวอาคาร รวมทั้งใช้<br />

ในการรับแสงธรรมชาติทางอ้อมสะท้อนองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมสู่ภายในพื้นที่ห้องปฏิบัติการ<br />

นอกจากนี้ ยังมีอาคารในยุคแรกตั้งมหาวิทยาลัยอย่าง<br />

อาคารเรียนและปฏิบัติการ คณะเกษตรศาสตร์ (AG01-<strong>02</strong>)<br />

ออกแบบโดยคุณอมร ศรีวงศ์ เช่นเดียวกัน มีรายละเอียดทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่น่าสนใจจากการใช้แผ่นคอนกรีตสำาเร็จรูป<br />

ที่ทำาหน้าที่เป็นแนวระเบียงกันตกและกันสาดของอาคาร<br />

เกิดเป็นจังหวะที ่ปรากฏในรูปด้านนอกอาคารที ่เรียบและง่าย<br />

รวมไปถึงกลุ่มอาคารสนับสนุนการเรียนการสอน อย่างหอพัก<br />

นักศึกษา เช่น หอพักที่ 1 และ 2 ที่ออกแบบให้ส่วนห้องพัก<br />

ยื่น 2 เมตร ภายนอกเน้นเป็นแนวกรอบผนังหน้าต่างโดยมี<br />

การร่นระยะกลับเข้ามาด้านใน เพื ่อกันแดดกันฝนให้ช่องเปิด<br />

และหอพักที่ 3 และ 4 ออกแบบโดยสถาปนิก สมคิด เพ็ญ<br />

ภาคกุล และเฉลิมชัย ห่อนาค ซึ่งมีลักษณะของการใช้ชิ้นส่วน<br />

ผนังหล่อสำาเร็จรูปเป็นแผงคอนกรีตที่เป็นเสมือนบานเกล็ด<br />

ขนาดใหญ่ สลับกับรูปทรงระเบียงสี่เหลี่ยมที่ยื่นออกจาก<br />

อาคาร<br />

ภาพรวมของอาคารสถาบันการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น มีลักษณะด้านรูปแบบร่วมกับสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่หลายพื้นที่ในประเทศไทย อาคารหลายหลังเป็นผลสืบ<br />

เนื่องจากการออกแบบโดยสถาปนิกคนสำาคัญอย่าง คุณอมร<br />

The Faculty of Science completed in 1966 was a<br />

result of the requirement to establish such facilities<br />

in northeastern universities under the 1961-1966<br />

Regional Development Plan. The complex consists<br />

of a two-story, one hundred- and twenty-meterlong<br />

lecture hall and rector’s office connecting to<br />

a five hundred seat auditorium. Additionally, the<br />

laboratory building, or SC01 as it is known today<br />

is a four-story, ten-meter wide, sixty-meter-long<br />

structure linked to the chemical laboratory building<br />

by walkways.<br />

The chemical lab is a single-story, with five continuous<br />

arched parabolic concrete roofs. Here, the<br />

lecture facilities and rector’s office building have<br />

already been demolished and replaced by a new<br />

six-story building. As the emphasis in the use<br />

of these buildings is lab work and lectures, the<br />

design team utilized a wide-span structure, with<br />

supporting pillars placed at the building rims. The<br />

beam system is composed of a main beam and<br />

sub-beam, which create depth for the ceiling<br />

providing a more visually interesting structure.<br />

There are also concrete panels that run along the<br />

building’s length, shielding the building’s internals<br />

from direct sunlight while also indirectly allowing<br />

natural light to shine through, providing projected<br />

glimpses of the architectural elements into the<br />

laboratory.<br />

Apart from these, other buildings that were originally<br />

constructed at the university include the Faculty<br />

of Agriculture’s lecture and laboratory buildings<br />

(AG01-<strong>02</strong>). Also designed by Amorn Sriwong, these<br />

buildings have interesting architectural details with<br />

precast concrete panels used as roof guardrails<br />

and canopies offering a simplistic feature for the<br />

building’s exterior. For auxiliary buildings such as<br />

the first and second dorms, rooms are extended<br />

with a large number of windowpanes on the exterior<br />

which retract internally for protection against<br />

inclement weather and sunlight. The third and<br />

fourth dorms designed by architects Somkid<br />

Penpakkhul and Chalermchai Hornark utilize precast<br />

concrete wall panels acting as large window<br />

shutters, along with square-shaped balconies<br />

extending from the structure.


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

161<br />

08-09<br />

อาคารปฏิบัติการ SC01<br />

ในกลุ่มอาคารคณะ<br />

วิทยาศาสตร์ สร้างเสร็จ<br />

ปี พ.ศ. 2509<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั ้งสกุล<br />

8<br />

10<br />

9 11<br />

09-10<br />

อาคารปฏิบัติการ SC01<br />

ในกลุ่มอาคารคณะวิทยา-<br />

ศาสตร์ มีการออกแบบ<br />

แผ่นกรีตเป็นครีบกันแดด<br />

ยาวตลอดแนวอาคาร<br />

เครดิตภาพ:<br />

นพดล ตั้งสกุล


162<br />

revisit<br />

12<br />

11-12<br />

อาคารเรียนและปฏิบัติ<br />

การ คณะเกษตรศาสตร์<br />

(AG01) ออกแบบ<br />

โดย คุณอมร ศรีวงศ์<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

163<br />

Not only are these buildings physical evidence of<br />

changes in society, culture, and politics of this<br />

period but also their value and significance as a<br />

blueprint for study in construction technologies<br />

and methodology.<br />

ศรีวงศ์ ที่ได้ฝากผลงานไว้จำานวนมากในมหาวิทยาลัยส่วน<br />

ภูมิภาคของประเทศ จึงอาจมีความคล้ายคลึงของรายละเอียด<br />

ทางสถาปัตยกรรมกับอาคารในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และ<br />

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถือได้ว่าเป็นพัฒนาการทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สำาคัญอีกกลุ่มในประเทศไทยที่น่าสนใจ<br />

เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการแสดงออกทางสถาปัตยกรรมที่<br />

สะท้อนถึงแนวความคิดในการให้ความสำาคัญกับประโยชน์<br />

ใช้สอย การคำานึงถึงสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย<br />

ไปพร้อมกับสุนทรียภาพอันเกิดขึ้นจากการที่องค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมที่เป็นเปลือกนอกของอาคาร อาทิ รูป-<br />

แบบของวัสดุและพื้นผิวผนังที่เกิดจากการตอบสนองความ<br />

ต้องการในการระบายอากาศ จังหวะเส้นสายของระเบียง<br />

แผงกันแดดและราวกันตก ความซ้ำาของเส้นสายในรูปด้าน<br />

จากรูปแบบของโครงสร้าง เป็นต้น<br />

หากจะมองในประเด็นเกี่ยวกับคุณค่าสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ในกลุ่มนี้ที่ชัดเจนคือ ด้านประวัติศาสตร์ จากการเป็น<br />

หลักฐานที่บ่งบอกการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม-วัฒนธรรม<br />

และการเมืองแล้ว ในด้านการเป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ด้าน<br />

เทคโนโลยีและวิธีการในการก่อสร้างผ่านงานสถาปัตยกรรม<br />

ในยุคนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งที่สำ าคัญไม่แพ้กัน จึงถือได้ว่ามีความ<br />

จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเก็บรักษาอาคารเหล่านี้เพื่อให้เป็น<br />

มรดกทางสถาปัตยกรรมของประเทศ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่<br />

ท้าทายสำาหรับสถานการณ์ปัจจุบัน คือการปรับการใช้งานให้<br />

สอดคล้องกับกิจกรรมร่วมสมัย ตามเงื่อนไขในการใช้พื้นที่<br />

เพื่อรองรับการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปจากเดิม นอกจากนี้<br />

ยังมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้คุณค่าในสุนทรียภาพที่แตก<br />

ต่างจากแบบประเพณีเดิมและแบบร่วมสมัย ซึ่งรูปแบบและ<br />

รายละเอียดของการใช้วัสดุและวิธีการก่อสร้างของอาคารใน<br />

กลุ่มนี้ยังต้องการการชี้ให้เห็นความสำ าคัญและตระหนักถึง<br />

คุณค่า เพื่อที่จะรักษาสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในสถาบันการ<br />

ศึกษาเหล่านี้ให้คงอยู่ต่อไป<br />

In general, many of Khon Kaen University & apos;s<br />

buildings share appearances with other Modern<br />

Architecture in other parts of Thailand such as<br />

those in Chiang Mai and Prince of Songkla Universities<br />

as many of these pieces were designed<br />

by Amorn Sriwong, a prominent architect who<br />

designed many other buildings for other regional<br />

universities. These works are interesting so far as<br />

they showcase a major advancement in architecture<br />

in this country, particularly in terms of the<br />

emphasis on the utility of spaces, design consideration<br />

for Thailand’s geography and weather,<br />

and aesthetic detailing in the architectural elements<br />

for the exteriors. Those elements include<br />

cladding materials that serve to ventilate buildings,<br />

the shapes and forms of balconies, facades, and<br />

guardrails, and the repetition of lines and shapes<br />

of the structure.<br />

It is acknowledged that there are challenges in<br />

not only preservation resourcing and application<br />

but with being able to adapt the building spaces<br />

for contemporary use following changes in education<br />

methods. However, the value of these<br />

Modern Architecture buildings lies in their historical<br />

importance. Not only are these buildings<br />

physical evidence of changes in society, culture,<br />

and politics of this period but also their value and<br />

significance as a blueprint for study in construction<br />

technologies and methodology. For these<br />

reasons alone, it is of utmost importance to preserve<br />

these buildings as part of the invaluable<br />

architectural heritage of Modern Architecture<br />

in Thailand.<br />

รองศาสตราจารย์<br />

ดร.นพดล ตั้งสกุล<br />

จบการศึกษาจาก<br />

University of Florida<br />

ปั จจุบั นเป็ นอาจารย์ ประจ า<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

มีความสนใจด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมพื้นถิ่นที่อยู่อาศัย<br />

ในลุ่มน ้าโขง และแนวคิดใน<br />

การออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัยที่มีกลิ่นอายทาง<br />

วัฒนธรรมผสมผสาน<br />

Assoc.Prof. Dr.<br />

Nopadon Thungsakul<br />

graduated from the<br />

University of Florida.<br />

He is currently an<br />

associate professor<br />

at the Faculty of<br />

Architecture, Khon<br />

Kaen University. His<br />

areas of interest are<br />

vernacular dwellings<br />

in the Mekong River<br />

Basin and the idea of<br />

transforming cultural<br />

aspects in contemporary<br />

architecture.<br />

ขอบคุณข้อมูลจาก 1.คณะวิจัยคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ดาเนินโครงการศึกษารวบรวมฐานข้อมูลอาคารสมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น จากการ<br />

สนับสนุนของฝ่ ายโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งแวดล้อม และข้อมูลประวัติอาคารจาก หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2.คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.<br />

(2563). โครงการศึกษารวบรวมฐานข้อมูลอาคารสมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3.พินัย สิริเกียรติกุล. (2563).<br />

เปิ ดคลังเอกสาร อมร ศรีวงศ์. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. 4.ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. (2563). หลักคิดด้านคุณค่าของการอนุรักษ์สถาปั ตยกรรมใน<br />

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์


164<br />

chat<br />

Photo courtesy of the architect


NIVES VASEENON<br />

165<br />

โรงเรียนสถาปั ตย์สอนให้เราคิด เราเรียนออกแบบมาเราไม่เคยจนมุม<br />

ไม่เคยที่จะออกแบบไม่ได้ เราไม่ต้องออกแบบสถาปั ตยกรรมก็ได้<br />

เราออกแบบโลก ออกแบบบ้าน ออกแบบงานอื่นๆ ได้หมด เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องออกแบบ mindset ของเราใหม่ ต้องคิดว่าโควิดอาจจะไม่หาย<br />

ไปจากโลก แล้วเราต้องทำางานอย่างไรให้อยู่กับมันได้ ผมว่าสเกลของ<br />

ออฟฟิ ศสถาปนิกก็อาจจะปรับเปลี่ยนด้วย เพราะอย่างนี้ ผมมองว่าการ<br />

ทำางานวิชาชีพในแง่ของการออกแบบหรือวิชาชีพสถาปนิกนี้ ไม่มีทางตัน<br />

นิเวศน์ วะสีนนท์<br />

อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

อาษา : อยากให้ท่านอุปนายกช่วยพู ดถึง<br />

นโยบายและวิสัยทัศน์ของฝ่ ายวิชาชีพ ของ<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมชุดนี้<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ข้อแรกเลย : คณะกรรมการชุดนี้เข้า<br />

มาพร้อมกับวิกฤตในทุกๆ เรื่อง ในเรื่องของเงินสะสมก็<br />

ไม่มี เพราะติดการจัดงานไม่ได้ สอง พอเราเริ่มเป็นคณะ<br />

กรรมการขึ้นมาก็มีโควิดพอดี เพราะฉะนั้นเราก็ได้คุยกัน<br />

ในคณะกรรมการและในฐานะที่ผม ได้รับมอบหมายให้<br />

ดูแลเรื่องวิชาชีพ เราก็เน้นไปในทิศทางที่ว่าเราพยายาม<br />

ช่วยเหลือสมาชิกก่อน จะทำาอย่างไรให้สมาชิกมีรายได้<br />

มีปัจจัยที่จะรอดให้ได้ก่อน แล้วค่อยไปว่ากันในเรื่องของ<br />

การพัฒนาวิชาชีพ เราเลยเน้นไปที่ว่าทำาอย่างไรสมาชิกจึง<br />

จะมีหนทางในการทำางานเพิ่มขึ้นนอกจากออกแบบอย่าง<br />

เดียว แล้วก็พยายามแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่มันเกิด<br />

ขึ้นในสิ่งที่มันเป็นมานานแล้ว หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากช่วง<br />

โควิด ก็มีแนวทางที่เป็นไปได้สูงที่จะช่วยสมาชิกได้พอ<br />

สมควร ซึ่งแน่นอนว่าช่วงนี้ทำางานลำาบากมาก เผลอๆ ไป<br />

ก็จะครบวาระแล้ว เราเลยคุยกับคณะกรรมการว่าเรื่อง<br />

สำาคัญ คือเราต้องวางรากฐานให้คณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมชุดต่อไปที่จะเข้ามา ส่วนตอนนี้ก็คิดเรื่องที่จะ<br />

ทำาให้สมาชิก มีรายได้เพียงพอไปก่อน เรามีสมาชิก 2-3<br />

หมื่นคน ทำางานจริงไม่ถึง 20% ตรงนี้เราก็ต้องพยายาม<br />

หาทางออกกันอีกครั้งว่าจะช่วยกันอย่างไร<br />

อาษา : จากจุดประสงค์ที่ต้องการเข้ามาช่วย<br />

เหลือสมาชิกในช่วงวิกฤต ทางคณะกรรมการ<br />

ได้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับส่วนนี้อย่างไรบ้าง<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ จากประสบการณ์ที่ผ่านมา :<br />

ผมมองว่า<br />

ถ้าทุกคนทำางานออกแบบกันอย่างเดียวกว่า 2-3 หมื่นคน<br />

ก็อาจไปไม่รอด เราเลยพยายามหาช่องทางให้สถาปนิก<br />

สามารถไปทำางานข้างเคียงอย่างอื่นได้ด้วย เช่น เป็น<br />

ผู้เชี่ยวชาญ เป็นที่ปรึกษาต่างๆ ซึ่งจะทำาให้วิชาชีพเรา<br />

มีหนทางในการประกอบการวิชาชีพได้มากขึ้น นอกเหนือ<br />

จากงานออกแบบ โครงการพัฒนาวิชาชีพฯ จึงเป็นโครงการ<br />

ที่เราพยายามนำาเสนอ เพื่อให้สถาปนิกสามารถเข้าไป<br />

ทำางานในส่วนที่ต้องการหรือทำางานเป็นที่ปรึกษาได้ ซึ่ง<br />

ในปัจจุบันและอนาคตจะมีงานประเภทนี้มากขึ้นเรื่อยๆ<br />

แต่ปัจจุบันสถาปนิกเรายังไม่ค่อยมีโอกาสได้พัฒนาใน<br />

ส่วนนี้ เราจึงอยู่ในกระบวนการพัฒนาเป็นหลักสูตรขึ้นมา<br />

เพื่อให้น้องๆ สถาปนิกรุ่นใหม่เข้าร่วมอบรมหรือมาเรียนรู้<br />

เพื่อไปเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยมีอยู่ 6-7 ประเภท ได้แก่<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านอสังหาริมทรัพย์ ด้านความปลอดภัย<br />

อาคาร ด้าน BIM ด้านนวัตกรรม ด้าน Universal ด้านเสียง<br />

และด้านแสง/แดด/ลม เป็นต้น ถ้ามีผู้เข้าร่วมโครงการ<br />

ประเภทละ 100 คน ก็จะเกิดการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้าน<br />

ต่างๆ กว่า 700 คน ขึ้นมา<br />

ตอนนี้กำาลังวางหลักการและจัดหาบุคลากรที่จะมาสอน<br />

หรืออบรมอยู่ ซึ่งส่วนนี้คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน<br />

สิงหาคม 2564 นี้ รวมถึงกระบวนการด้านการรับรอง<br />

ในฐานะที่เราจะเข้ามารับบทบาทเป็นผู้เชี่ยวชาญแต่ละ<br />

ด้านก็จำาเป็นจะต้องได้การรองรับด้วยกระบวนการทาง<br />

ข้าราชการ เพื่อให้มีสถานะเป็นผู้เชี่ยวชาญและสามารถ<br />

ปฏิบัติงานได้จริง เพราะในปัจจุบันก็ยังมีข้อกฎหมาย<br />

บางข้อที่ตีความแล้วทำาให้การทำางานบางประเภทของ<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่นั้นไม่สามารถกระทำาได้ ซึ่งจะเป็นข้อ<br />

จำากัดในสายวิชาชีพและอาจทำาให้ไม่สอดคล้องไปตาม<br />

หลักสูตรที่วางไว้ ตรงนี้เราก็ต้องค่อยๆ ปรับและประสาน<br />

งานไปตามลำาดับ ซึ่งจะพยายามทำาให้สำาเร็จภายในปีนี้


166<br />

chat<br />

อาษา : จากสถานการณ์ โควิด-19 ที่เกิดขึ ้น ในแง่ของ<br />

การประกอบวิชาชีพ ในฐานะอุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ได้มี<br />

การรับฟั งหรือมีความเป็ นห่วงต่อสถาปนิกที่กำาลังรับมือ<br />

กับสถานการณ์ครั้งนี้อย่างไรบ้าง รวมไปถึงสถาปนิก<br />

จบใหม่ด้วย<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ โรงเรียนสถาปัตย์สอนให้เราคิด :<br />

เราเรียนออกแบบ<br />

มาเราไม่เคยจนมุมนะ ไม่เคยที่จะออกแบบไม่ได้ เราไม่ต้องออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมก็ได้ เราออกแบบโลก ออกแบบบ้าน ออกแบบงานอื่นๆ<br />

ได้หมด เพราะฉะนั้น เราต้องออกแบบ mindset ของเราใหม่ ต้องคิด<br />

ว่าโควิดอาจจะไม่หายไปจากโลก แล้วเราต้องทำางานอย่างไรให้อยู่กับ<br />

มันได้ แม้แต่ออฟฟิศในเมืองไทยก็ work from home กัน ผมว่าสเกล<br />

ของออฟฟิศสถาปนิกก็อาจจะปรับเปลี่ยนด้วย เพราะอย่างนี้ ผมมอง<br />

ว่าการทำางานวิชาชีพในแง่ของการออกแบบหรือวิชาชีพสถาปนิกนี้<br />

ไม่มีทางตัน เพียงแต่ตลาดของการออกแบบอาจจะเปลี่ยนไปจากเดิม<br />

ปัจจุบันบางออฟฟิศงานล้น บางออฟฟิศก็รับคนเพิ่ม ซึ่งสวนทากับโลก<br />

ที่เป็นอยู่ เพราะยังไงมนุษย์ก็ต้องกินต้องอยู่ และทุกๆ กระบวนการ<br />

ต้องการสถาปนิกที่จะเข้ามาทำางาน ทุกโครงการต้องการสมองของ<br />

พวกเรา ปัจจุบันงานรีโนเวท งานปรับปรุงอาคารก็เริ่มมีเข้ามาเรื่อยๆ<br />

นี่อาจจะเป็นตลาดใหม่ของสถาปนิก พวกเราต้องสู้ ถึงแม้ช่วงนี้จะ<br />

ทำางานยากมากขึ้น<br />

อาษา : ในมุมของผู้ที่เคยผ่านวิกฤตต้มยำากุ้งปี 2540<br />

มาก่อน คิดว่าหลักการเอาตัวรอดในวิชาชีพครั้งนั้น<br />

สามารถนำามาปรับใช้กับวิกฤตโรคระบาดครั้งนี ้ ได้บ้างไหม<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ช่วงปี : 2540 นั้นต้องมองว่ามันเกิดปัญหาที่<br />

ประเทศของเรา แต่โควิดนี้เกิดทั้งโลก เพราะฉะนั้น สมัยปี 2540 เรา<br />

ยังมีลูกค้าที่มีเงินเข้ามาซื้อ ซึ่งสมัยก่อนเป็นตลาดของอสังหาริมทรัพย์<br />

ขนาดใหญ่ เป็นตลาดของคนต่างประเทศที่ยังมีความต้องการอยู่ แต่<br />

แน่นอนว่าเมื่อตลาดขนาดเล็ก ของก็น้อยลง กับปัจจุบันนี้คือต่างจาก<br />

ครั้งที่แล้วนะ เพราะตอนนี้ตลาดใหญ่ไม่มี แต่ตลาดเล็กยังมี ซึ่งโควิดก็<br />

ดีอย่างนะ เพราะทำาให้ทุกคน set zero เท่ากัน ทุกคนใช้เงินน้อยลง พอ<br />

work from home เราก็มีเงินเหลือมากขึ้น บัตรก็รูดน้อยลง คนก็จะมี<br />

เงินมากพอที่จะปรับเปลี่ยนปรับปรุง ในฐานะที่เป็นสถาปนิก ผมคิดว่า<br />

สถานการณ์ที่เป็นอยู่นี้ก็อาจเป็นข้อดีของสถาปนิกทุกรุ่นเลย ไม่มีใคร<br />

ได้เปรียบซึ่งกันและกันเลย ประสบการณ์ก็ไม่ใช่เรื่องสำาคัญเพียงอย่าง<br />

เดียว เช่น ปัจจุบันมีตลาดต้นไม้ ใครจะไปคิดว่าบางต้นจะราคาสูงเป็น<br />

แสน มีใครลองคิดไหมว่าถ้าลองเอามาขายในตึกใหญ่ๆ เปิดเป็นตลาด<br />

ลอยฟ้าอะไรแบบนั้น ผมมองว่าดูเท่มาก เพราะฉะนั้น โควิดทำาให้เกิด<br />

โอกาสที่เท่าเทียมกัน ถ้าเราไม่ได้ไปวิตกจริตกับเรื่องอื่นๆ วิกฤต<br />

2540 ตอนนั้นออฟฟิศยังน้อย แต่ระยะไม่ยาว ขณะที่โควิดนี่อาจจะอีก<br />

ยาวมาก แต่ตลาดมีหลากหลายมากกว่า<br />

อาษา : ทิศทางการประกอบวิชาชีพสถาปนิกและวงการ<br />

สถาปั ตยกรรมไทยในอนาคตอันใกล้นี้จะเป็ นอย่างไร<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ลองดูงานโอลิมปิกที่ญี่ปุ่น :<br />

ผมว่านั่นคือการตอบ<br />

โจทย์งานออกแบบช่วงโควิด ญี่ปุ่นก็คือญี่ป่น เพราะเขาคิดดีเทลกัน<br />

แทบทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นวัสดุและการใช้ความร่วมมือของทุกคนใน<br />

ชาติ เราจะเห็นว่ามันไม่ได้มี super structure คือไม่ต้องใช้เทคโนโลยี<br />

ขนาดใหญ่ เพราะมนุษย์จริงๆ แล้วควรร่วมมือกัน ซึ่งนี่แหละจะเป็น<br />

ทิศทางของโลกในอนาคต แต่เราจะมาร่วมมือกันยังไงให้เข้ากับยุคสมัย<br />

ของ new normal ตรงนี้แหละที่เราต้องมาคิดกันต่อ ว่ารูปแบบของงาน<br />

สถาปัตยกรรมในอนาคตควรจะเป็นยังไง ใช้ความสามารถของแต่ละ<br />

สาขาอย่างไร การดีไซน์ควรเป็นยังไง อนาคตอาจมีการใช้เทคโนโลยี<br />

มากๆ สั่งวัสดุจากเมืองนอกก็อาจจะมาไม่ได้ เราควรใช้ต้นทุนที่เรามี<br />

ถ้าใครทำาได้ผมว่าเก่ง เหมือนญี่ปุ่น ผมว่าเก่ง<br />

อาษา : จากประเด็นเกี่ยวกับการขอใบรับรองอนุญาต<br />

วิชาชีพกับระเบียบใหม่ของทางสภาฯ สมาคมได้ข้องเกี่ยว<br />

อย่างไร และมีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ สมาคมเราตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นที่พึ่งของสถาปนิกแต่<br />

:<br />

ไม่ได้มีกฎหมายรองรับ เราไม่สามารถไปกำาหนดตัวบทกฎหมายได้<br />

เพราะคนกำาหนดจะเป็นสภาฯ แต่ในฐานะของสมาคม เราเห็นว่าปัจจุบัน<br />

ก็มีกฎบางข้อที่เราไม่ค่อยเห็นด้วย ซึ่งทางเราก็ทำาการฟ้องศาลปกครอง<br />

ไปแล้ว สำาหรับกฎหมายข้อที่ไม่เป็นธรรม เราฟ้องศาลปกครองและศาล<br />

รับฟ้องแล้ว ตอนนี้ศาลกำาลังพิจารณา ฉะนั้นกระบวนการที่จะเก็บเงิน<br />

ก็ต้องการให้งดหรือหยุดไว้ก่อน ตอนนี้ทางเรากำาลังประสานงานกับทาง<br />

สภาสถาปนิกฯ ทางสภาวิศวกร และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อให้มีน้ำาหนักในการนำาไปพูดคุยกับทาง<br />

มหาดไทย ซึ่งเป็นต้นเรื่อง เพราะกฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมายที่<br />

กระทรวงมหาดไทยออกมา ทั้งของสถาปนิกและวิศวกรพร้อมๆ กัน<br />

จึงทำาให้มีผลกระทบต่อเรา ตอนนี้สภาฯ จึงขอประวิงเวลากันไปก่อน<br />

อาจจะใช้เวลาสัก 1-2 ปี ที่ก็ยังอยู่ในกระบวนการชั้นศาลอยู่ เราพยายาม<br />

ช่วยอยู ่<br />

อาษา : ในส่วนของวิชาชีพ สิ ่งที่คณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมชุดนี้ ได้วางไว้ มี โครงการอะไรบ้างที่ได้ทำาไปแล้ว<br />

และกำาลังจะทำาในอนาคต<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ :เรื่องที่เรากำาลังทำากันอยู่ในปัจจุบันก็คือการลดค่า<br />

ใช้จ่ายสมาชิก เราจะไม่เก็บค่าสมาชิกในช่วงนี้ หรือการต่อใบอนุญาต<br />

ก็อาจจะไม่เก็บเงิน เพื่อที่สมาชิกจะไม่ต้องเสียเงิน รวมถึงพยายาม<br />

จะตั้งกลุ่มทำางานขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องโควิด เช่น เรากำาลังจะ<br />

รวบรวมสมาชิกและหาสถานที่ฉีดวัคซีน ซึ่งเป็นโควตาของทางสมาคม<br />

และตั้งคณะกรรมการเข้ามาช่วยเรื่องของสมาชิกที่ประสบปัญหาจาก<br />

โควิด หรือเรื่องโรงพยาบาลสนาม ที่เราอยากเข้าไปช่วย ซึ่งเรากำาลัง<br />

จัดทำากันอยู่ในปัจจุบัน สามารถเข้าไปดูในเว็บไซต์และเพจของทาง<br />

สมาคมฯ เพิ่มเติมได้ จะมีรายละเอียดประกอบครบถ้วน ในส่วนของ<br />

โครงการจัดทำา TOR โครงการนี้ได้ทำามาตั้งแต่คณะกรรมการชุดที่แล้ว<br />

ทางชุดเราเข้ามาประสานงานต่อให้สำาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตอนนี้<br />

สมาคมฯ ได้มอบหมายให้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปากร จัดทำา<br />

เป็นต้นแบบของโครงการนี้โดยพยายามทำาให้สถาปนิกทุกระดับมี<br />

โอกาสทำางานประกวดแบบต่างๆ ของทางราชการ และได้ประสานกับ<br />

ทางกรมบัญชีกลางเพื่อให้เอาไปปฏิบัติใช้งานจริงได้ด้วย ทั้งหมดนี้<br />

จะเสร็จเรียบร้อยภายในไตรมาส 3 ของปีนี้ ถ้าเรียบร้อยแล้วจะมีการ<br />

ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทุกคนได้รับทราบอีกครั้ง แต่อย่างที่บอกว่า<br />

คณะกรรมการชุดผมก็กำาลังจะหมดวาระแล้ว เราคงทำาได้แค่ระดับหนึ่ง


NIVES VASEENON<br />

167<br />

สมาคมเราตั้งขึ ้นมาเพื่อเป็ นที่พึ ่งของสถาปนิกแต่ไม่ได้มีกฎหมายรองรับ เราไม่<br />

สามารถไปกำาหนดตัวบทกฎหมายได้ แต่ในฐานะของสมาคม เราเห็นว่าปั จจุบัน<br />

ก็มีกฎบางข้อที่เราไม่ค่อยเห็นด้วย ซึ ่งทางเราก็ทำาการฟ้ องศาลปกครองไปแล้ว<br />

สำาหรับกฎหมายข้อที่ไม่เป็ นธรรม เราฟ้ องศาลปกครองและศาลรับฟ้ องแล้ว<br />

ตอนนี้ศาลกำาลังพิจารณา<br />

อาษา : ช่วยทิ ้งท้ายถึงผู้ที่กำาลังอยู่บนเส้นทาง<br />

วิชาชีพสถาปนิกสั กนิ ดได้ ไหม<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ผมมองอย่างนี้นะ :<br />

ไม่ว่าโลกของเราจะ<br />

มีโควิดหรือมีอะไรก็ตาม ผมอยากให้เรายึดมั่นอุดมการณ์<br />

ในวันที่เรากำาลังจะเข้ามหาวิทยาลัย ตอนคุณเรียนมัธยม<br />

คุณอยากเข้าเรียนสถาปัตย์เพราะอะไร ลองเอาตัวนั้น<br />

เป็นที่ตั้ง ถึงแม้เราเรียนไปอุดมการณ์จะลดลงก็ตาม<br />

(หัวเราะ) แต่ถ้าเรายึดมั่นในอุดมการณ์ว่าอยากจะเป็น<br />

สถาปนิก ผมว่าตรงนี้จะช่วยเป็นน้ำาเลี้ยงจิตใจและทำาให้<br />

เราสู้ต่อไปได้ เราจะบอกว่าโอเค ในช่วงชีวิตตรงนี้เป็นสิ่ง<br />

ที่บั่นทอนชีวิต หมดโอกาสในการทำางานอะไรก็ตาม ผม<br />

ว่าต้องคิดใหม่ เราลองมองว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายชีวิต จะมี<br />

สักกี่ครั้งที่โรคระบาดทั่วโลก ถ้าเราปรับตัวได้ สู้ได้ เราก็<br />

ทำางานได้ ต่อให้มีอะไรอื่นต่อจากนี้ผมว่าเราก็จะผ่านไป<br />

ได้ทุกอย่าง<br />

อยากให้นึกถึงตอนที่เราอยากจะเข้ามาทำางานนี้และเอา<br />

สิ่งนั้นมาหล่อเลี้ยงจิตใจเราให้ได้ ผมทำางานตรงนี้มา 40 ปี<br />

ผ่านหลายสถานการณ์ ผมว่าเราก็อยู่ได้ถ้าเราไม่ท้อกับ<br />

มันไปเสียก่อน อยากฝากสถาปนิกทุกท่าน รวมทั้งน้องๆ<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่ว่าไม่ว่าโลกจะเป็นยังไง ปัจจัยสี่ของ<br />

มนุษย์ ก็ยังคงอยู่เหมือนเดิม วิชาชีพสถาปนิกสามารถ<br />

เข้ามา support ได้ 3-4 ปัจจัยเลยนะ ฉะนั้น อาชีพนี้มัน<br />

จำาเป็นแน่นอน ช่องทางเหล่านี้ทำาให้วิชาชีพนี้เป็นวิชาชีพที่<br />

น่าภาคภูมิใจ และเมื่อเราทำาแล้วเสร็จ ผลงานของเราก็จะ<br />

อยู่ไปอีกหลายสิบปี ผมว่าความภูมิใจมันอยู่ตรงนั้นนะ<br />

ถ้าเรามองแบบนี้ อาจช่วยให้เราอยู่ได้ และอยู่รอดไปได้<br />

ฝากแค่ว่าอย่าท้อ เพราะยังไงอาชีพสถาปนิกก็ยังอยู่คู่กับ<br />

โลกของเรา


168<br />

the last page<br />

Photo: Kukkong Thirathomrongkiat<br />

เรามักพยายามออกแบบ ‘ผิว’ เพื่อให้คนภายนอกเห็น และผิวจะ<br />

ห่อหุ้มสิ่งที่ไม่อาจเห็นอยู่ภายใน แต่บางครั้งผิวก็เป็นส่วนหนึ่งใน<br />

การสร้าง หรือสะท้อนสิ่งที่ซ่อนอยู่ภายในนั้นอย่างปฏิเสธไม่ได้…<br />

กึกก้อง ธิรธรรมรงค์เกียรติ ์<br />

จบการศึกษาจากคณสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 ปั จจุบัน<br />

เป็ นสถาปนิกและช่างภาพในกรุงเทพฯ และเป็ น<br />

บรรณาธิการผู้ก่อตั้งแม็กกาซีนชื่อ Window<br />

Kukkong Thirathomrongkiat<br />

graduated from the Faculty of Achitecture,<br />

Chulalongkorn University in 2008.<br />

He is currently an Architect and Photographer<br />

based in Bangkok and is the<br />

founding editor of Window magazine.<br />

ยิ่ง ‘ผิว’ นั้นดึงดูดหรือน่าสนใจเท่าไร ผมก็มักตั้งคำาถามต่อสิ่งที่<br />

อยู่ข้างในนั้น ทั้งที่เห็นด้วยตา หรือสัมผัสได้ด้วยความรู้สึก<br />

We always try to design ‘skin’ for people to see from the<br />

outside, and that skin envelops the unseen within. But<br />

sometimes, undeniably, the skin is in itself a part of the<br />

building or reflects what is hidden within it...<br />

The more attractive or interesting the ‘skin’ is, the more<br />

I am curious about what lies inside, either can it be seen<br />

by the eyes or be sensed by the feeling.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!