25.09.2020 Views

ASA Journal 05/57

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

POST-DISASTER<br />

RESPONSE & EIT<br />

VICE PRESIDENT OF<br />

THE ENGINEERING INSTITUTE OF<br />

THAILAND [EIT]<br />

SUTTISAK SORALUMP<br />

TEXT+PHOTO<br />

Warut Duangkaewkart<br />

โดยทั่วไปสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ<br />

มีความสําคัญอยางไร ?<br />

สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ : สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศ-<br />

ไทยฯ หรือ วสท. เปนที่รวมของวิศวกรหลากหลายสาขาเพื่อ<br />

มารวมกันพัฒนาวิชาชีพทางวิศวกรรม สาขาที่เกี่ยวของ เชน<br />

วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมโยธา วิศวกรรม-<br />

เคมี เปนตน ซึ่งในแตละสาขาจะมีคณะกรรมการและอนุ-<br />

กรรมการที่จะชวยดูแลเรื่องของวิชาการที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ<br />

ในสาขานั้นๆ เชน การจัดทํามาตรฐานและคู มือปฏิบัติทาง<br />

วิชาชีพหรือ การใหคําแนะนําที่เปนประโยชนแกสังคมใน<br />

ดานงานวิศวกรรมเมื่อเกิดปญหาตางๆ นอกจากนี้ยังดูแล<br />

เรื่องของการอบรม การดูงาน เพื่อใหสมาชิกวิศวกรมีการ<br />

พัฒนาความรูทางวิชาชีพอยางตอเนื่องอีกดวย<br />

วสท. มีบทบาทอยางไรในการชวยเหลือเหตุการณ<br />

แผนดินไหวที่เชียงราย ?<br />

สุทธิศักดิ์ : หลังจากเกิดเหตุแผนดินไหวตอนเย็นวันที่ 5<br />

พฤษภาคม ตอนเชาวันรุ งขึ้นทาง วสท. ก็ไดออกมาใหขอมูล<br />

และขอตระหนักเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาคารและสิ่ง-<br />

ปลูกสราง ตั้งแตอาคารที่พักอาศัยไปจนถึงเขื่อนเก็บนํ้า<br />

จากนั้นจึงไดเริ่มเขาพื้นที่สํารวจความเสียหายในทันที โดย<br />

พบวามีอาคารที่เสียหายจํานวนมาก และประชาชนมีความ<br />

กังวลถึงความปลอดภัยของอาคารวาจะเขาอยู อาศัยไดหรือไม<br />

ดังนั้นทางกรมโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดเชียงรายจึงขอให<br />

เราลงไปชวยเหลือในดานการตรวจสอบความเสียหายของ<br />

บานเรือนและอาคารตางๆ เพื่อประเมินระดับของความเสียหาย<br />

ของอาคาร โดยในชวงแรกเปนการชวยเหลือแบบเรงดวน<br />

โดยเราไดเชิญชวนวิศวกรจิตอาสาลงไปชวยเหลือกวา 500<br />

คน โดยผลัดเปลี่ยนกันเขาไปชวยเหลือในชวง 3 สัปดาหแรก<br />

โดยดําเนินการอยางมีระบบทั้งการเขาไปตามหลักกฎหมายที่<br />

ถูกตอง การกําหนดวิธีการประเมินและอบรมวิศวกรผูเขา<br />

ประเมินใหสามารถประเมินไดเปนมาตรฐานเดียวกัน ทั้งนี้<br />

วสท. ไดรวมทํางานกับกลุ มจิตอาสาอื่นๆ รวมทั้งวิศวกรจาก<br />

กรมโยธาธิการและผังเมือง ทําใหสามารถตรวจสอบบานเรือน<br />

ที่เสียหายกวา 10,000 หลัง ไดเสร็จภายใน 3 อาทิตย ซึ่ง<br />

ถือเปนสถิติที่ดีมากสําหรับประเทศที่ไมคอยไดเจอภัย<br />

แผนดินไหวบอยๆ รูปแบบการตรวจสอบดังกลาวจะไดนําไป<br />

เปนมาตรฐานสําหรับการเขาไปชวยเหลือและตรวจสอบอาคาร<br />

เมื่อเกิดเหตุลักษณะแบบนี้อีกในอนาคต<br />

หลังจากที่ตรวจสอบอาคารแลวก็เขาสูชวงเวลาการ<br />

ซอมแซม เราก็พบปญหาเพิ่มวาชางสวนใหญในพื้นที่ไมมี<br />

ความรู ในการซอมบานในลักษณะที่เสียหายเชนนี้ เราจึงได<br />

จัดการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแกชางและวิศวกร<br />

ในพื้นที่ เพื่อที่จะใหความรู ที่ถูกตองในการซอมแซมอาคารตางๆ<br />

ซึ่งเรื่องนี้ยังคงตองใชเวลาพอสมควรในการพัฒนาภาพรวม<br />

ของชางกอสรางในพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งทาง วสท. เองก็มีแผนที่<br />

จะทําภาระกิจนี้อยางตอเนื่องไปจนถึงขั้นการทําศูนยเรียนรู<br />

ดานการกอสรางอาคารตานแผนดินไหวในพื้นที่ตอไป<br />

นอกจากนี้เนื่องจากอาคารเรียนหลักของโรงเรียนพานพิทยาคม<br />

และโรงเรียนแมลาววิทยาคม ไดเสียหายจนตองกอสรางใหม<br />

ทางสมเด็จพระเทพฯ จึงไดทรงพระกรุณาประทานพระราช-<br />

ทรัพยเพื่อกอสรางอาคารเรียนถาวรขึ้น โดยใหทาง วสท. เปน<br />

ผู ออกแบบอาคารทั้งหมดเพื่อรับแผนดินไหว และอาจจะใช<br />

เปนอาคารเรียนตนแบบของ สพฐ ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดิน-<br />

ไหวตอไป ปจจุบันการออกแบบไดเสร็จสิ้นแลวโดยอาคารที่<br />

กําลังกอสรางเปนอาคารเรียนขนาดใหญ 2-4 ชั้น เปนอาคาร<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก และอาคารเหล็กที่ออกแบบคํานวณตาม<br />

หลักโครงสรางเพื่อรองรับแผนดินไหว และยังมีแผนที่จะใช<br />

เปนศูนยการเรียนรู เพื่อใหชางไดเขามาศึกษาวิธีการกอสราง<br />

ขณะกอสรางจริงอีกดวย<br />

บทบาทที่ไดเขามาชวยในโครงการ ‘ซอมสราง<br />

บาน วัด โรงเรียน ในพื้นที่ประสบภัยแผนดินไหว<br />

จังหวัดเชียงราย’ ?<br />

44 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!