25.09.2020 Views

ASA Journal 05/57

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสารสถาปตยกรรม<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

THE ARCHITECTURAL JOURNAL<br />

OF THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

POST-DISASTER<br />

DESIGN IN<br />

CHIANG RAI<br />

INTERVIEWS WITH <strong>ASA</strong>, EIT, CEAT,<br />

D4D AND <strong>ASA</strong> LANNA I 9 NEW<br />

SCHOOLS DESIGNED BY CHAT<br />

ARCHITECTS, DEPARTMENT OF<br />

ARCHITECTURE, IDIN ARCHI-<br />

TECTS, JUNSEKINO ARCHITECT<br />

AND DESIGN, SITE-SPECIFIC,<br />

SPACETIME ARCHITECTS, SUPER-<br />

MACHINE STUDIO, VIN VARAVARN<br />

ARCHITECTS AND WALLLASIA<br />

2014<br />

<strong>05</strong>


้<br />

THEMES<br />

COVER+TABLE OF CONTENTS<br />

Pirak Anurakyawachon<br />

40 Interviews with <strong>ASA</strong>, EIT, CEAT, D4D<br />

and Asa Lanna<br />

60 9 New Schools Designed by Chat<br />

architects, Department of ARCHI<br />

TECTURE, Idin Architects, JUN<br />

SEKINO Architect and Design,<br />

Site-Specific, Spacetime Architects,<br />

Supermachine Studio, Vin Varavarn<br />

Architects and Walllasia<br />

60<br />

แกไขขอผิดพลาด<br />

ในวารสารอาษา ฉบับ 04 I 2014 กรกฎาคม – สิงหาคม 25<strong>57</strong> หนาปกมีการสะกดคําผิด<br />

ที่ถูกตองคือโครงการ PYNE นอกจากนี้ในหนา 58 รายละเอียดที่ถูกตองของที่ตั้งโครงการ<br />

PYNE คือ ถนนพญาไท เขตราชเทวี กองบรรณาธิการวารสารอาษาขออภัยในความผิดพลาด<br />

ที ่เกิดขึ ้นมา ณ ที ่นี<br />

6 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


SECTIONS<br />

NEWS<br />

16 17 I 80 from Line to Construction<br />

18 Baan Doi Chang Rehabilitation<br />

20 Exploring Bangkok<br />

22 CASE Studio Exhibition<br />

16<br />

WORKS<br />

IN PROGRESS<br />

32 McKean<br />

36 Head Office Building and<br />

Entertainment Building<br />

38 Divergence House<br />

38<br />

<strong>ASA</strong> COMMITEE<br />

88 Post-Earthquake Response and<br />

The Role of Architects<br />

PROFESSIONAL<br />

94 Earthquake in Japan:<br />

What Thailand Can Learn and<br />

How to Stay Prepared<br />

HISTORY<br />

100 Western Influences on Architecture<br />

in Bangkok before 1932<br />

106 REVIEW<br />

110 PRODUCT NEWS<br />

120 <strong>ASA</strong> CARTOON<br />

8 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


FOREWORD<br />

ADVISORS<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SMITH OBAYAWAT<br />

PONGKWAN LASSUS<br />

TONKAO PANIN<br />

ANEK THONGPIYAPOOM<br />

M.L.PIYALADA THAVEEPRUNGSRIPORN<br />

WIRAT PANTAPATKUL<br />

MAADDI THUNGPANICH<br />

MONGKON PONGANUTREE<br />

EDITOR IN CHIEF<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

CONTRIBUTORS<br />

BUNDIT PRADUBSUK<br />

MEK SAYASEVI<br />

THONGCHAI ROACHANAKANAN<br />

SORAVIS NA NAGARA<br />

SUPREEYA WUNGPATCHARAPON<br />

SURAPONG SUKHVIBUL<br />

WARUT DUANGKAE WKART<br />

WORARAT PATUMNAKUL<br />

SPECIAL THANKS TO<br />

ADUL HERANYA<br />

CHAT ARCHITECTS<br />

DEPARTMENT OF ARCHITECTURE<br />

FORUM ARCHITECT<br />

IDIN ARCHITECTS<br />

JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SITE-SPECIFIC<br />

SPACETIME ARCHITECTS<br />

SOOK ARCHITECTS<br />

SOMCHAI SANTINIPANON<br />

SUPERMACHINE STUDIO<br />

SUPOTE LOHWACHARIN<br />

SUTTISAK SORALUMP<br />

THONGCHAI ROACHANAKANAN<br />

VIN VARAVARN ARCHITECTS<br />

VIPAVEE KUNAVICHAYANON<br />

WALLLASIA<br />

ENGLISH TRANSLATOR<br />

TANAKANYA CHANGCHAITUM<br />

GRAPHIC DESIGNERS<br />

WILAPA KASVISET<br />

MANUSSANIT SRIRAJONGDEE<br />

VANICHA SRATHONGOIL<br />

CO-ORDINATOR<br />

WARUT DUANGKAEWKART<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE ORGANIZES<br />

248/1 SOI SOONVIJAI 4 (SOI 17)<br />

RAMA IX RD., BANGKAPI,<br />

HUAYKWANG, BANGKOK 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.co.th<br />

E : office@asa.or.th<br />

PRINT<br />

FOCAL IMAGE<br />

248/1 SOI SANTINARUEMAN RD.<br />

SUKHUMVIT RD. BANGKOK 10230<br />

T : +66 2259 1523<br />

E : <strong>ASA</strong>JOURNAL@GMAIL.COM<br />

ADVERTISING DEPARTMENT<br />

T : +66 2397 <strong>05</strong>82-3<br />

F : +66 2747 6627<br />

SUBSCRIBE TO <strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

T : +66 2319 6555<br />

จำได้ลงๆ ในรยวิชหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดของภัยพิบัติสมัยที่เรียนสข Humanitarian<br />

and Development Practice ที่ประเทศอังกฤษ มีทฤษฎีหนึ่งของกรบรรเทควมเดือดร้อน<br />

จกภัยพิบัติที่กล่วไว้ว่ ‘ภัยพิบัติ’ นั้นเท่กับ ‘ภัยคุกคม’ คูณด้วย ‘ควมเประบง’ ของผู้คน<br />

หมยควมว่ภัยคุกคม ไม่ว่จะเป็นแผ่นดินไหว น้ำท่วมฉับพลัน ไฟไหม้ ไซโคลนหรืออื่นๆ ไม่<br />

จำเป็นเสมอไปที่จะนำไปสู่ภัยพิบัติที่ส่งผลเสียอย่ งสหัสต่อผู้คน หกผู้คนที่ได้รับภัยคุกคมนั้นๆ<br />

มีพละกำลังในกรต่อสู้หรือปรับตัวในสถนกรณ์ภยใต้ภัยคุกคม ดังนั้นแนวคิดด้นกรจัดกร<br />

กับภัยพิบัติอย่งยั่งยืนจึงมุ่งเน้นไปที่กรหนุนเสริมอำนจและกำลังของผู้คนและชุมชนให้มีควม<br />

สมรถในกรปรับตัวและต่อสู้กับภัยคุกคมต่งๆ เพื่อลดหรือบรรเทผลกระทบและควมเสีย<br />

หยต่งๆ ลง แน่นอนว่กรให้ควมช่วยเหลือผ่นกรบริจคสิ่งของต่งๆ สิ่งที่มีควมจำเป็นใน<br />

ระยะฉุกเฉิน หกแต่ในระยะยวแล้วกรส่งเสริมให้ผู้คนและชุมชนพึ่งตนเองได้นั้นคือหัวใจหลัก<br />

อันหนึ่งของกรบรรเทควมเสียหยจกภัยพิบัติที่ดีที่สุด วรสรอษฉบับนี้เป็นกรนำเสนอ<br />

โครงกรปรับปรุงโรงเรียนและวัด หลังเกิดควมเสียหยจกแผ่นดินไหวเมื่อเดือนพฤษภคม<br />

25<strong>57</strong> ที่สมคมสถปนิกสยมฯ ได้ร่วมมือกับหลกภคี ทั้งสมคมวิชชีพอื่นๆ องค์กรภครัฐ<br />

องค์กรเอกชน และสถปนิกผู้มีจิตอสต่งๆ ในกรซ่อมแซม ออกแบบ และปรับปรุงอครที่ได้<br />

รับควมเสียหย นอกเหนือจกกรร่วมมือกันเพื่อออกแบบ ซ่อมแซม และก่อสร้งอครต่งๆ<br />

แล้วนั้น เครือข่ยที่เกิดขึ้นยังมีแผนที่จะสร้งองค์ควมรู้ทั้งในเชิงกรสนับสนุนให้ชุมชนปรับตัว<br />

ได้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงมตรฐนกรก่อสร้งอครที่พร้อมรับแผ่นดินไหว อันเป็นแนวทงกร<br />

รับมือภัยพิบัติที่ยั่งยืนในระยะยว<br />

One thing I remember from the vague memories of my student days enrolled<br />

in a Humanitarian and Development Practice course in Great Britain is a theory<br />

involving disaster relief, which accounts a ‘disaster’ as a ‘threat’ multiplied by the<br />

‘fragility’ of the people. This simply means that a ‘threat,’ be it an earthquake,<br />

flood, fire, cyclone, etc., doesn’t always have to lead to a fatal disaster if the<br />

people have the ability to fight and adjust themselves under such threatening<br />

situations. As a result, the concept of sustainable disaster management tends to<br />

focus on the reinforcement of power and the ability of the people and community<br />

allowing for them to be able to cope with and battle the threat by themselves.<br />

Such an approach aims to relieve the damages and effects caused by a disaster.<br />

Help and support through donations are certainly crucial and useful during<br />

a time of emergency, nevertheless, in the long run, the locals and community’s<br />

self-reliance is one of the key abilities that leads to effective disaster relief. This<br />

issue of <strong>ASA</strong> features the story of the restoration of schools and temples damaged<br />

by the Chiang Rai earthquake in May of 2014. <strong>ASA</strong>, in collaboration with other<br />

professional associations within the network, the governmental and private sector<br />

and architects with voluntary spirits, have partaken in the restoration, design and<br />

reconstruction of buildings affected by the quake. The network of collaboration<br />

also has a plan to create a body of knowledge that will actively encourage the local<br />

community to effectively cope with the new adjustment after the earthquake,<br />

including the provision of information and knowledge concerning construction<br />

standards for earthquake resistant structures, which is a component of a sustainable<br />

disaster relief approach.<br />

10 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


สาส์นจากนายกสมาคม<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ปี 25<strong>57</strong> - 2559<br />

ที่ปรึกษา<br />

ศ.กิตติคุณ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์<br />

นาย สิน พงษ์หาญยุทธ<br />

นาย สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

นาย ประภากร วทานยกุล<br />

นายกสมาคม<br />

นาย พิชัย วงศ์ไวศยวรรณ<br />

อุปนายก<br />

พันตำารวจโท ดร.บัณฑิต ประดับสุข<br />

นาย อนุชา ยูสานนท์<br />

นาย ประดิชญา สิงหราช<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

รศ.ดร. ต้นข้าว ปาณินท์<br />

นาย นิธิศ สถาปิตานนท์<br />

เลขาธิการ<br />

นาย ประกิต พนานุรัตน์<br />

นายทะเบียน<br />

นาวาเอกหญิง อรอุสาห์ เชียงกูล<br />

เหรัญญิก<br />

นาย ครรชิต ปุณยกนก<br />

ปฏิคม<br />

นายปรีชา นวประภากุล<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

นางสาวสุรัสดา นิปริยาย<br />

กรรมการกลาง<br />

นาย ชวลิต ต้ังมิตรเจริญ<br />

นาย สุนันทพัฒน์ เฉลิมพันธ์<br />

นาวาอากาศเอก อดิสร บุญขจาย<br />

นาง วินีตา กัลยาณมิตร<br />

รศ.ดร.ม.ล. ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

ดร.พร วิรุฬห์รักษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

นายอดุลย์ เหรัญญะ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

ผศ. สุรศักดิ์ โล่ห์วนิชชัย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

นายวิวัฒน์ จิตนวล<br />

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่จังหวัดเชียงรายเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ทางสมาคม<br />

ได้ดำาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยร่วมมือกับทีม D4D และสถาปนิก 9 ท่านในการสร้าง<br />

โรงเรียน 9 แห่ง และบ้าน 9 หลัง และกับทีมกรรมาธิการสถาปนิกล้านนาในการซ่อมแซมวัด 2 แห่ง<br />

ตลอดจนการประสานงานกับอีก 3 สมาคมวิชาชีพ ได้แก่ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมป์ สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยในพระบรมราชูปถัมป์และสมาคมวิศวกร<br />

ที่ปรึกษาแห่งประเทศไทยเพื่อการส่งผู้แทนร่วมดำาเนินการตามความสามารถเฉพาะทางดังที่ได้<br />

เสนอข่าวเป็นระยะมาแล้ว<br />

ขณะนี้การดำาเนินการได้เป็นไปถึงขั้นตอนการก่อสร้างแล้ว รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการต่างๆ<br />

จะอยู่ในบทสัมภาษณ์ในวารสารอาษาฉบับนี้ ทั้งนี้เงินทุนที่ได้รับมายังไม่เพียงพอสำาหรับการ<br />

ก่อสร้างอาคารทั้งหมด สมาคมจึงได้พยายามเร่งระดมทุนเพิ่มเติมรวมทั้งมีโครงการจัดกิจกรรม<br />

เพื่อระดมทุนสำาหรับโครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยครั้งนี้เพื่อให้บรรเทาความเดือดร้อนของ<br />

ชาวบ้านได้โดยเร็ว<br />

ข้อสังเกตอันหนึ่งจากการสำารวจพบว่าอาคารส่วนใหญ่ที่เกิดความเสียหายไม่ได้ผ่านกระบวนการ<br />

ออกแบบตามหลักวิชาการโดยสถาปนิกและวิศวกร หรือไม่ได้มีการออกแบบเพื่อการป้องกัน<br />

แผ่นดินไหว ความเสียหายครั้งนี้เป็นบทเรียนที่ช่วยให้ประชาชนรับรู้ถึงบทบาทและความสำาคัญ<br />

ของสถาปนิกและวิศวกรในการสร้างอาคารบ้านเรือน การที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ และสมาคม<br />

วิศวกรรมสถานฯ เข้าไปให้ความช่วยเหลือส่วนที่สำาคัญยิ่งก็คือการให้ความรู้แก่ประชาชนโดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งในเขตที่มีความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ<br />

การช่วยเหลือภาครัฐที่ดูเหมือนจะไม่ทั่วถึงและไม่ตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น จากการลงพื้นที่และ<br />

ประชุมกับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องทำาให้ทราบว่ามีเงินช่วยเหลือเยียวยาจากรัฐไปสู่ผู้ประสบภัย<br />

โดยกำาหนดเป็นเงินหลักหมื่นสำาหรับบ้านและอาคารที่มีความเสียหายซึ่งไม่เพียงพอกับการซ่อมแซม<br />

หรือสร้างใหม่และเมื่อจ่ายไปครบหลังคาเรือนแล้วมีงบเหลือก็ต้องส่งคืนคลังไม่สามารถเอาไปใช้<br />

ช่วยเหลือด้านอื่นๆ ได้ ดูจะเป็นการช่วยเหลือแบบไม่เบ็ดเสร็จซะทีเดียว หากไม่มีผู้มีจิตศรัทธาจาก<br />

ภาคสังคม เอกชน บริษัทห้างร้านต่างๆ เข้าไปให้ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนก็ไม่ทราบได้ว่าชาวบ้าน<br />

จะต้องทนเดือนร้อนต่อไปนานแค่ไหน<br />

ผมขอแสดงความชื่นชมกับผู้มีเมตตาจิตทุกท่านและผู้ที่มีจิตอาสาเสียสละทั้งเวลาและทุนทรัพย์<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่งทีมสถาปนิกและวิศวกรที่ให้ความสำาคัญในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็ม<br />

กำาลังโดยไม่ได้หวังผลตอบแทนใดๆ<br />

หากสมาชิกอยากช่วยเหลือหรือสามารถชักชวนผู้มีจิตศรัทธาช่วยเหลือด้านเงินทุนหรือวัสดุ<br />

เพิ่มเติมกรุณาติดต่อมาที่ผู้ประสานงานสมาคม คุณสราวุฒิ ที่อีเมล์ sarawut.aom@gmail.com<br />

หรือบริจาคผ่านบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนสี่แยกศรีวรา ชื่อบัญชี สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว จ.เชียงราย หมายเลขบัญชี 140-263196-6<br />

นาย พิชัย วงศ์ไวศยวรรณ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ปี 25<strong>57</strong>-2559<br />

12 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


Retractable Pergola System<br />

สามารถตานทานแรงลมตามมาตรฐาน BEAUFORT SCALE สูงสุดถึงไดถึงระดับ 11<br />

info@oceannewline.com<br />

www.oceannewline.com<br />

www.facebook.com/oceannewline<br />

Ocean Newline Co., Ltd.<br />

OFFICE & SHOWROOM<br />

4026 Rama IV Road, Prakanong,<br />

Klong Toey Bangkok 10110 Thailand<br />

Tel : 02 671-6008-9 fax : 02 671-6006-7<br />

SHOWROOM<br />

MBK Floor 5 (5C01-5C02)<br />

Tel & Fax : 02 620-9499<br />

กวา 50 ป ที่เราไดเลือกสรรผลิตภัณฑปองกันแดดและความรอนทั้งภายในและ<br />

ภายนอกอาคาร จนเปนที่ไววางใจจากผูออกแบบ และ เจาของโครงการ<br />

ระบบ Retactable Pergola System หลังคาผาใบเปด-ปดอัตโนมัติ นําเขาจาก<br />

ยุโรป ควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ใชงานงาย เพียงปลายนิ้วสัมผัส เสริมไฟ LED<br />

เพิ่มความสะดวกสบาย ให้คุณสนุกกับชีวิตกลางแจ้งได้ทุกเวลาและสภาพ<br />

อากาศ โครงสรางอลูมิเนียมคุณภาพสูงผานการอบสี powder coating แข็งแรง<br />

ทนทานติดตั ้งภายนอกอาคาร กันไดทั ้งแดด ลม และฝน มีรางระบายนํา้ซอนอยู<br />

ในโครงสรางอยางสวยงามเหมาะกับทุกรูปแบบสถาปตยกรรม รานอาหาร<br />

สระวายนํา้ คอฟฟี ่ช็อป โรงแรม รีสอรท หรือบานพักอาศัย<br />

Alpaca @ Ratchaburi


MESSAGE<br />

FROM<br />

THE PRESIDENT<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

2014—2016<br />

CONSULTANTS<br />

PROFESSOR SURAPON VIRULRAK, PH.D.<br />

SINN PHONGHANYUDH<br />

SATHIRUT TANDANAND<br />

PRABHAKORN VADANYAKUL<br />

PRESIDENT<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

VICE PRESIDENT<br />

POL.LT.COL. BUNDIT PRADUBSUK<br />

ANUCHAR YUSANANDA<br />

PRADITCHYA SINGHARAJ<br />

VASU POSHYANANDA, PH.D.<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

NITIS STHAPITANONDA<br />

SECRETARY GENERAL<br />

PRAKIT PHANANURATANA<br />

HONORARY REGISTRAR<br />

CAPT.ON-USAH CHIENGKUL<br />

HONORARY TREASURER<br />

KARNCHIT PUNYAKANOK<br />

SOCIAL EVENT DIRECTOR<br />

PREECHA NAVAPRAPAKUL<br />

PUBLIC RELATIONS DIRECTOR<br />

SURASSADA NIPARIYAI<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

CHAVALIT TANGMITJAROEN<br />

SUNANTAPAT CHALERMPANTH<br />

GP. CAPT. ADISORN BUNKHACHAI<br />

VINEETA KALYANAMITRA<br />

ASSOC. PROF. M.L.PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

PONN VIRULRAK, PH.D.<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (LANNA)<br />

ADUL HERANYA<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (ESAN)<br />

SUR<strong>ASA</strong>K LOHWANICHAI<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (TAKSIN)<br />

WIWAT JITNUAL<br />

Following the earthquake incident in Chiang Rai in May of 2014, the Association<br />

of Siamese Architects has been collaborating in a disaster relief project together<br />

with D4D and its team of nine architects on the design and construction of nine<br />

schools and nine houses. We also worked with a team from the Association of Siamese<br />

Architects Under Royal Patronage (Lanna) on the restoration of two temples and<br />

participated in the collaborative operation of the Engineering Institute of Thailand<br />

under Royal Patronage, the Consulting Engineers Association of Thailand and the<br />

Thai Contractors Association under Royal Patronage where representatives from<br />

each association were sent in to offer help using their professional areas of knowledge<br />

and expertise.<br />

The project has now progressed to the construction process. Elaborate details<br />

regarding the project are featured in the interview section of this issue of <strong>ASA</strong>;<br />

however, despite the ongoing operation, the financial support is still insufficient<br />

for the restoration and reconstruction of all the damaged buildings. The association<br />

has been raising additional funds through different activities to help the victims of<br />

the disaster as soon as possible.<br />

One noticeable observation I made after having surveyed the affected areas<br />

was in regards to the unstandardized construction of the buildings, which hadn’t<br />

gone through proper architectural design and engineering calculation required for<br />

an earthquake resistant structure. The damage is an important lesson that will<br />

cause the general public to realize the role and importance of architects and engineers<br />

when it comes to the construction of their homes and buildings. The participation<br />

of the four associations in the relief project also allows for the provision of knowledge<br />

for the locals, particularly those who live in high disaster risk areas.<br />

With the support from the government sector still insufficient, ineffective and<br />

incomprehensive (the financial support given to the restoration of each damaged<br />

house and community building is less than one hundred thousand baht, while the<br />

bureaucratic protocol in budget and spending is inflexible and often delays the<br />

process), additional help from the voluntary and private sectors have become a<br />

significant source of contributions. Without them, who knows how long the victims<br />

will have to endure the pain the incident has caused.<br />

I sincerely express my admiration and gratitude towards all the voluntary spirits<br />

for their time and donations, particularly the teams of architects and engineers<br />

who have been dedicating their efforts to helping the victims without expecting<br />

anything in return.<br />

If the fellow members would like to make donations, be it in terms of financial<br />

support or materials, please do not hesitate to contact the association’s project<br />

coordinator, Mr. Sarawut at sarawut.aom@gmail.com. You can also donate your<br />

money through the association’s bank acoount: Siam Commercial Bank, Srivara<br />

Branch, Account name: The Association of Siamese Architects for Chiang Rai<br />

Earthquake Relief project, Account number: 140-263196-6.<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

<strong>ASA</strong> PRESIDENT 2014-2016<br />

14 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


NEWS<br />

17 I 80 FROM<br />

LINE TO<br />

CONSTRUCTION<br />

01<br />

01<br />

ปจจุบันบทบาทและหนาที่ของสถาปนิกในประเทศไทย<br />

ไดรับความสนใจหรือเปนที่รู จักกันมากขึ้นเมื่อเทียบกับ<br />

สมัยกอน แตความเขาใจถึงหนาที่ของสถาปนิกจริงๆ วา<br />

เปนอยางไรนั้น ถือวายังนอยนักถามองในมุมกวาง จากป<br />

พ.ศ. 2476 จนมาถึงปจจุบัน ในวาระครบรอบ 80 ป ของ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดมีการ<br />

จัดนิทรรศการ ‘17|80 จาก | เสน | สู | สราง’ ขึ้นที่<br />

หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่<br />

1-31 สิงหาคม 25<strong>57</strong> เพื่อเชิดชูเกียรติสถาปนิกศิลปน<br />

แหงชาติ 17 ทาน ผู ไดริเริ่ม สงเสริม และพัฒนาวงการ<br />

สถาปตยกรรมใหกาวหนาขึ้นจนถึงทุกวันนี้ และถือเปน<br />

โอกาสดีที่จะเผยแพรผลงาน ปรัชญา แนวความคิด รวม<br />

ไปถึงทัศนคติตางๆ เกี่ยวกับวงการสถาปตยกรรมใน<br />

02<br />

16 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


ประเทศไทยใหคนไดรับรู เพิ่มขึ้นในสังคมวงกวาง นอกจากนี้<br />

ยังเปนประโยชนแกผู เขาชมในแงขอคิด แรงผลักดันและ<br />

แรงบันดาลใจ โดยเฉพาะสถาปนิกและนักออกแบบรุ นใหม<br />

ที่จะไดมีโอกาสทําความรู จักสถาปนิกศิลปนแหงชาติ หรือ<br />

‘บรมครู’ ทางดานการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งสถาปนิก<br />

ศิลปนแหงชาติทั้ง 17 ทาน ประกอบดวย ศ.พล.ร.ต.<br />

สมภพ ภิรมย, ม.ร.ว.มิตรารุณ เกษมศรี, ดร.ประเวศ<br />

ลิมปรังษี, รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี, พลอากาศตรี อาวุธ<br />

เงินชูกลิ่น, รศ.ฤทัย ใจจงรัก, เมธา บุนนาค, ธีรพล นิยม,<br />

ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา, นิธิ สถาปตานนท, จุลทัศน<br />

กิติบุตร, ศ.(กิตติคุณ) ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ ณ อยุธยา,<br />

องอาจ สาตรพันธุ , ประดิษฐ ยุวะพุกกะ, วนิดา พึ่งสุนทร,<br />

ศ.(กิตติคุณ), เดชา บุญคํ้า และ เผา สุวรรณศักดิ์ศรี<br />

นิทรรศการ 17|80 ในครั้งนี้ถูกออกแบบโดย APOS-<br />

TROPHY’S ซึ่งเปนรูปแบบนิทรรศการที่เนนการนําเสนอ<br />

ภาพถายศิลปนแหงชาติ และภาพถายผลงานการออกแบบ<br />

สถาปตยกรรมที่ทรงคุณคาของสถาปนิกแตละทาน ภาพ<br />

ทั้งหมดถูกบันทึกโดยชางภาพสถาปตยกรรมที่นําทีมโดย<br />

ภิรักษ อนุรักษเยาวชน จาก Spaceshift Studio และกลุ ม<br />

ชางภาพอาสาสมัคร 22 คน ซึ่งไดมีพิธีเปดขึ้นในวันเสารที่<br />

2 สิงหาคม 25<strong>57</strong> ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพ-<br />

มหานคร นําโดยนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ คุณพิชัย<br />

วงศไวศยวรรณ กลาวตอนรับโดย คุณสมิตร โอบายะวาทย<br />

อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ป 55-<strong>57</strong> และกลาวเปด<br />

งานโดย พลเรือเอกฐนิธ กิตติอําพน ประธานคณะกรรมการ<br />

จัดกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 8<br />

สิงหาคม เพื่อใหสถาปนิกทั้งรุ นเกาและรุ นใหมไดมาพบปะ<br />

กันดวย<br />

03<br />

04<br />

นิทรรศการแบงออกเปน 3 สวน ซึ่งเปนพื้นที่ทางลาด<br />

และผนังทางโคง ชั้น 5 จนถึงชั้น 3 ของหอศิลปวัฒนธรรม<br />

แหงกรุงเทพมหานคร สวนแรกคือนิทรรศการหลัก รูปแบบ<br />

ของนิทรรศการถูกจัดแสดงขึ้นดวยวัตถุที่มีพื้นผิวโปรงแสง<br />

ลักษณะคลายเสาที่เอนอยู แตละเสาแสดงดวยภาพของ<br />

ศิลปนแตละทาน รวมไปถึงประวัติ ปรัชญาแนวทาง และ<br />

ทัศนคติในการทํางาน สวนที่ 2 ‘สรรพสิ่ง| สรรคสราง’ ซึ่ง<br />

จัดแสดงผลงานภาพวาด ภาพสเก็ตช และสิ่งของที่ศิลปน<br />

แตละทานใชทํางานในชีวิตประจําวัน ซึ่งสิ่งของบางอยาง<br />

หรือหนังสือบางเลมหาชมไดยากในปจจุบันแลว สําหรับ<br />

สวนที่ 3 มีลักษณะเปนอุโมงคภายในประกอบดวยกรอบ<br />

ภาพแบบมัลติมีเดียที่แสดงภาพถายของศิลปนแหงชาติ<br />

และผลงานสถาปตยกรรมของแตละทาน ซึ่งในสวนนี้<br />

เรียกวา ‘กาล l ทัศนะ’ นิทรรศการ ‘17|80 จาก | เสน<br />

| สู | สราง’ ที่จัดขึ้นนั้นนาจะชวยใหสถาปนิก รวมถึง<br />

ประชาชนทั่วไปเขาใจและเห็นคุณคาของการสรางสรรค<br />

ผลงาน องคความรู ทางสถาปตยกรรม เสมือนที่ศิลปน<br />

แหงชาติทั้ง 17 ทาน ไดปฏิบัติตลอดกวา 80 ปที่ผานมา<br />

18 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


<strong>05</strong><br />

Nowadays, people are much more familiar with the<br />

career of an architect than in times previous; however,<br />

the details of the profession’s duties remain fairly unknown.<br />

Originating in 1933, the Association of Siamese Architects<br />

under the Royal Patronage of His Majesty the King (<strong>ASA</strong>)<br />

celebrated its 80 th anniversary this year through the<br />

creation of the ‘17I80’ exhibition held at the BACC (Bangkok<br />

Art and Culture Centre) from August 1 – 31, 2014. The<br />

exhibition offered an opportunity to not only praise the<br />

17 National Artists in Architecture of Thailand who aided<br />

in the development of the Thai architectural society to<br />

become what it is today, but also gave occasion for their<br />

attitudes and philosophies to be acknowledged and<br />

shared with a wider audience, providing the society with<br />

a new perspective on architecture in Thailand and providing<br />

a greater understanding of the field for both fellow<br />

architects and the general public alike. Moreover, people<br />

who visited the exhibition could learn more about these<br />

very diverse and talented National Artists and great<br />

teachers including Rear Admiral Sompop Piromya,<br />

Mittrarun Kasemsi (M.R.) , Dr.Praves Limparangsri, Prof.<br />

Dr. Pinyo Suwankiri, Air Vice Marshal Arvuth Ngoenchuklin,<br />

Prof. Ruthai Chaichongrak, Mathar Bunnag, Teerapon Niyom,<br />

Dr. Sumet Jumsai na Ayudhya, Nithi Sthapitanonda,<br />

Chulathat Kitibutr , Emeritus Professor Kritsada Arunwong<br />

na Ayutthaya, Ongard Satrabhandhu, Pradit Yuuapukka,<br />

Wanida Phungsoonthorn, Emeritus Professor Decha<br />

Boonkham and Pao Suwansaksri.<br />

01-<strong>05</strong> นิทรรศการ ‘17 I 80<br />

จาก | เสน | สู | สราง’ ที่หอศิลป<br />

วัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร<br />

TEXT+ PHOTO<br />

Worarat Patumnakul<br />

The exhibition designed by APOSTROPHY’S emphasized<br />

the works of the 17 National Artists in Architecture<br />

of Thailand through the photography of Spaceshift<br />

Studio and 22 other volunteer photographers. The opening<br />

day ceremony of the exhibition was held on 2 August<br />

2014 at the BACC (Bangkok Art and Culture Centre) and<br />

was presided over by President Pichai Wongwaisayawan<br />

and past president Smith Obayawat. Lastly, the exhibition<br />

was opened by Admiral Thanit Kittiampon<br />

The exhibition was separated into three parts held on<br />

the ramp and along the curved wall spanning between<br />

the 3 rd and 5 th floors of the BACC building. The first and<br />

main part of the exhibition was composed of translucent<br />

objects similar to lean columns. Each column featured<br />

photographic images of the National Artists as well as<br />

their biographies, philosophies and attitudes. The second<br />

section of the exhibition included drawings, sketches and<br />

notes collected on the personal stationaries of the artists,<br />

a personal and one-of-a kind memento we don’t often<br />

get the chance to see in an exhibition. Lastly, the interior<br />

of the exhibition space looked something like a cave<br />

composed of multimedia pictures of the National Artists<br />

and their works. Overall, the ‘17I80’ Exhibition offered<br />

an opportunity for all visitors to gain a better understanding<br />

and appreciation of the wide variety of valuable architecture<br />

projects that these 17 National Artists in Architecture<br />

of Thailand have created and shared.<br />

20 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


BAAN<br />

DOI CHANG<br />

REHABILITATION<br />

02<br />

01<br />

กรรมาธิการสถาปนิกชุมชนฯ ไดสนับสนุนการทํางาน<br />

กลุ มสถาปนิกชุมชนลงพื้นที่โดยมีเปาหมายใหญสําคัญคือ<br />

การฟ นฟูชุมชนบานดอยชางในฐานะตนแบบการจัดการ<br />

สภาพแวดลอมอาคารเพื่อรับมือกับกรณีพิบัติภัยแผนดินไหว<br />

ในเบื้องตน โรงเรียนบานดอยชางถูกเลือกใหเปน 1 ใน 9<br />

ของโครงการโรงเรียนพอดี พอดี โดยกลุ ม D4D และบริษัท<br />

สถาปนิก Site-Specic เปนผู ออกแบบอาคารเรียนใหม<br />

โดยใชโครงสรางเหล็ก ผสานกับไมไผ ซึ่งกําลังอยู ในชวง<br />

เตรียมการกอสราง จึงเปนโอกาสสําคัญที่จะตอยอดโครงการ<br />

และกําหนดพื้นที่โรงเรียนดอยชางใหเปนพื้นที่ยุทธศาสตร<br />

ทีมทํางานกลุ มสถาปนิกชุมชนไดรับความรวมมือจาก<br />

เครือขายการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน จังหวัดเชียงราย<br />

ที่อนุเคราะหความรู การถอดบทเรียนจากกรณีซอมสราง<br />

โดยวิศวกร และประสานเครือขายการทํางานกับชางชุมชน<br />

โดยสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน ซึ ่งมีสถาปนิกชุมชนจาก<br />

สถาบันอาศรมศิลปเปนที่ปรึกษา ทีมทํางานใชเวลาสํารวจ<br />

ความเสียหายที่โรงเรียนบานดอยชางเปนเวลา 1 สัปดาห<br />

โดยมีการจัดกิจกรรมการสํารวจรังวัดพื้นที่อาคารเรียนเพื่อ<br />

ออกแบบพัฒนาผังแมบท ซึ ่งไดรับการสนใจจากเด็กนักเรียน<br />

ชั้น ป. 4 – ม. 3 เปนอยางดี ซึ่งทําใหพบลักษณะความ<br />

เสียหายที่รุนแรง และภาพรวมของปญหาตาง ๆ ในผัง<br />

โรงเรียนเดิมเชน ความไมเปนระเบียบของที่พักครู ระยะ<br />

ทางที่เดินออมไปยังอาคารเรียนอนุบาล ความเปนไปไดใน<br />

การจัดพื้นที่ใชประโยชนใหมของกลุ มอาคารเรียนที่ไมได<br />

รับผลกระทบจากพิบัติภัยแผนดินไหว ลักษณะกิจกรรม<br />

ในพื้นที่โลงสวนกลางของโรงเรียนที่คนในชุมชนเขามารวม<br />

ใชประโยชนความเปนไปไดของเสนทางสัญจรใหมที่เชื่อมตอ<br />

ระหวางชุมชนกับโรงเรียน และความเปนไปไดในการเพิ่ม<br />

พื้นที่ใชสอยสําคัญ เชน หองพยาบาล ศูนยลี้ภัย และ<br />

สวนไผ เปนตน<br />

นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมสอนวิธีวาดผัง และ<br />

สรางหุ นจําลองบานตนเองแบบงายในสเกล 1:100 ในชวง<br />

เวลาเย็นหลังเลิกเรียนของทุกวัน หุ นจําลองทําหนาที่เปน<br />

ตัวแทนผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหววามีมากนอย<br />

เพียงไร และเปนเครื ่องมือในการพัฒนารูปแบบสถาปตย-<br />

กรรมรวมกันตอไป ยิ่งไปกวานั้นการจัดกิจกรรมยังทําให<br />

ไดทราบถึงภูมิปญญาการสรางบานพื้นถิ ่นที่ตางกันระหวาง<br />

ชนเผา เชน บานลีซูจะวางตําแหนงประตูที่กลางบาน มี<br />

ทางเดินตรงกลาง และแยกหองนอนบริเวณซายและขวา<br />

ผังบานสวนมากมีลักษณะที่สมมาตรกัน และวัสดุที่เลือก<br />

ใชเปนไมและไมไผ<br />

สําหรับการลงพื้นที่ครั้งตอไป สถาปนิกจะนําหุ นจําลอง<br />

ผังแมบทโรงเรียนใหมไปขอความคิดเห็นเพื่อปรับแกกับ<br />

คุณครูทุกคนในพื้นที่ รวมถึงบุคลากรในโรงเรียน และ<br />

ผู ปกครองตางๆ ขณะเดียวกันแบบรางศาลากาแฟใหม<br />

แทนที่ศาลาเดิมที่เสียหายจากแผนดินไหว ซึ่งสเก็ตชโดย<br />

สถาปนิกบริษัท Site Specic ไดถูกสงตอใหทีมทํางานใช<br />

เปนโจทยในการสรางสถาปตยกรรมอยางมีสวนรวม โดย<br />

ใชทรัพยากรในทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด และใหโอกาส<br />

เด็กที่เคยมีประสบการณสรางบานไผดวยตนเอง มารวม<br />

เรียนรู เทคนิคการใชไมไผจากทีมงานผู เชี่ยวชาญ ซึ่งกระบวน<br />

การดังกลาวจะนําไปพัฒนาผังแมบทของโรงเรียนตอไป<br />

22 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


01-04 กิจกรรมสอนวาดผังและ<br />

สรางหุนจําลองบานแบบงายๆ<br />

TEXT+ PHOTO<br />

Mek Sayasevi<br />

04<br />

02<br />

03<br />

<strong>ASA</strong> Community Architect Committee supported<br />

a community architect team to rehabilitate the Baan<br />

Doi Chang community and the Baan Doi Chang School<br />

through the efforts of the Pordee Pordee project by<br />

D4D following the violence of the earthquake that<br />

struck the Chiangrai province last May. The school<br />

renovation was designed by a Site-Specific team with<br />

the support of D4D and included the construction<br />

of a metal structure in combination with bamboo.<br />

Therefore, the community architect team saw that the<br />

situation could be a good opportunity to proceed with<br />

the project as a development zone.<br />

The community architect team, in cooperation<br />

with the disaster administration network of Chiangrai<br />

province, aimed to provide knowledge from engineers<br />

about the repair and construction of houses to the<br />

builders or craftsmen within the community. Moreover,<br />

the team explored the site of Baan Doi Chang School<br />

for the duration of a week and found that there were<br />

a variety of problems in the school site planning. For<br />

example, the disorder of the teacher’s room and the<br />

walking route to the kindergarten building needed to<br />

be addressed. In response, the community architect<br />

team designed and created a new walking route making<br />

it possible to connect the school and the people in<br />

the community together. Furthermore, actions to add<br />

more crucial spaces such as a nursing room, refugee<br />

center and bamboo garden were also taken.<br />

Additionally, activities were held in the evenings<br />

after school where residents were invited to study<br />

the methods of the drawing plan and create a house<br />

model at a scale of 1:100. The majority of the house<br />

models utilized symmetry and explored techniques<br />

using wood and bamboo materials. In the future, the<br />

architects plan to aid students in developing the knowledge<br />

that they have gained through the experience<br />

of making the bamboo house models to continuously<br />

develop the site of the Baan Doi Chang School.<br />

24 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


EXPLORING<br />

BANGKOK<br />

03<br />

ปจจุบันอาคารและตึกตางๆ ในกรุงเทพฯ ถูกเปลี่ยน<br />

ไปตามกาลเวลา มีทั้งสถาปตยกรรมใหมและเกาเกิดขึ้น<br />

มากมาย สะทอนใหเห็นวาสมัยนิยมในยุคตางๆ มีอิทธิพล<br />

ตองานสถาปตยกรรมคอนขางมาก ทางสํานักพิมพลายเสน<br />

จึงนําผลงานเขียนของ โรบิน วอรด นักวิจารณทางดาน<br />

สถาปตยกรรมชาวสกอตแลนดผูมีความสนใจเกี่ยวกับ<br />

ตึกและอาคารของกรุงเทพฯ มาตีพิมพในหนังสือชื่อวา<br />

‘Exploring Bangkok’ ซึ่งจะเห็นไดวาในหนังสือรวบรวม<br />

ขอมูลของตึกตางๆ ที่คนไทยมองขามไปดวยความเคยชิน<br />

ทั้งตึกที่พึ่งเกิดขึ้นใหม ตึกที่กําลังจะถูกทุบทิ้ง และตึกที่<br />

ยังคงอยู ลวนแลวแตเปนสถาปตยกรรมที่ทรงคุณคาทาง<br />

ประวัติศาสตรของกรุงเทพฯ นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 5<br />

สิงหาคม 25<strong>57</strong> ที่ผานมาจึงมีงานเปดตัวหนังสือ ‘Exploring<br />

Bangkok’ ที่หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานครใน<br />

งานมีการแลกเปลี่ยนแนวความคิดและเรื่องราวสั้นๆ ทาง<br />

ประวัติศาสตรของตึกและอาคารตางๆ ในกรุงเทพฯ ที่<br />

ถูกหยิบยกมาจากในหนังสือทั้งหมด 20 แหง ภายใต 4<br />

หัวขอ ไดแก Thainess and Contextual Design, Community<br />

Heritage and Adaptive Reuse, The Public Realm:<br />

Plazas, Sidewalks Green Space, Sustainability และ Mid-<br />

Century Modern: The Need for Heritage Protection<br />

โดยการพูดคุยกันในครั้งนี้มีคุณนิธิ สถาปตานนท เปนพิธีกร<br />

ดําเนินงาน และวิทยากรทั้ง 3 ทาน ที่มารวมแลกเปลี่ยน<br />

ไดแก โรบิน วอรด ลุค ยัง และ ญารินดา บุนนาค<br />

ความนาสนใจในการพูดคุยตลอด 2 ชั่วโมงคือ ตึก<br />

และอาคารในหัวขอตางๆ มีทั้งใหมและเกา เชน ตึกรูป-<br />

ทรงโมเดิรนแบบสุดโตงอยาง เซ็นทรัล เอ็มบาสซี่ หรือ<br />

ตึกที่สรางดวยคอนกรีตมีความละเอียดสวยงามของ รูป-<br />

แบบบน façade อยางธนาคารกรุงไทย สาขาสวนมะลิ<br />

โรงแรมอินทรา รีเจนท ในยุค 70 และตึกแปลกตาบน<br />

ถนนสาทรที่เห็นกันบอยครั้งอยาง ตึกยูโอบี เปนตน<br />

ซึ่งบางแหงสงผลดีตอผู ใชพื้นที่ แตบางแหงก็ไมมีอิทธิพล<br />

ใดๆ ถือเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ทําใหคนไทย<br />

เห็นปญหาและประโยชนของงานสถาปตยกรรมตางๆ ของ<br />

กรุงเทพฯ ในแตละชวงสมัยจนถึงปจจุบันวางานเหลานั้น<br />

เปนประโยชนและมีคุณคาตอการดํารงชีวิตในเมืองหลวง<br />

นี้มากนอยเพียงใด การออกแบบอาคารมีความสัมพันธ<br />

กับพื้นที่ภายนอกหรือไม<br />

01 วิทยากรทั้ง 3 ทาน มารวม<br />

แลกเปลี่ยน ไดแก โรบิน วอรด<br />

ลุค ยัง และ ญารินดา บุนนาค<br />

TEXT+ PHOTO<br />

Worarat Patumnakul<br />

นอกจากนี้ในชวงสุดทายของงานไดเปดโอกาสให<br />

ผู เขารวมฟงไดถาม-ตอบอยางอิสระ นับเปนการแลกเปลี่ยน<br />

มุมมอง ทัศนคติตองานสถาปตยกรรมของกรุงเทพฯ ที่<br />

เขมขน และประกอบไปดวยเนื้อหาที่นาสนใจ<br />

Buildings are constantly changing over time in<br />

Bangkok, a characteristic of the city that has affected<br />

different aspects of its architecture throughout different<br />

eras. Recently, Li-Zenn Publishing Limited brought<br />

the work of Robin Ward, a Scottish-Canadian architecture<br />

critic and writer, to light through the publication of<br />

‘Exploring Bangkok,’ a travel book focusing on the bond<br />

between architecture and history. The book combines<br />

photographs and information about various buildings in<br />

Bangkok, including those that are new to the skyline,<br />

those currently being torn down and existing building<br />

that are memorable and worth a mention.<br />

Last August, the first public appearance of the<br />

new book, ‘Exploring Bangkok’ was made at the BACC<br />

(Bangkok Art and Culture Centre) where small talks<br />

were held to discuss 20 buildings that were chosen<br />

from the book and separated into four topics: Thainess<br />

and Contextual Design, Community Heritage and<br />

Adaptive Reuse, The Public Realm: Plazas, Sidewalks,<br />

Green Space, Sustainability and Mid-Century Modern:<br />

The Need for Heritage Protection with four organizers:<br />

Nitis Sthapitanonda, Robin Ward, Luke Yeung and<br />

Yarinda Bunnag overseeing the discourse. Overall, the<br />

event allowed for dialog to give additional voice to the<br />

pages of the book and an exchange of attitudes to be<br />

explored through the design of different buildings in<br />

Bangkok.<br />

01<br />

26 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


CASE<br />

STUDIO<br />

04 EXHIBITION 01<br />

นิทรรศการ ‘สถาปตยกรรมกับการพัฒนาชุมชน<br />

ยั่งยืน’ (ศิลปะและองคความรู จากกรณีศึกษาสถาปตยฯ<br />

ชุมชนมีนบุรี) เปนการจัดแสดงผลงานการออกแบบ<br />

สถาปตยกรรมที่ออกแบบรวมกับชุมชนของปฐมา หรุน<br />

รักวิทย (ศิลปาธรป 2553) จาก CASE (Community<br />

Architects for Shelter and Environment) และนักศึกษา<br />

ฝกงานจากสถาบันตางๆ จํานวนมากในกวา 10 ปที่ผานมา<br />

นิทรรศการจัดขึ้นที่หอง Exhibition 6 ชั้น 3 หอศิลป<br />

รวมสมัยราชดําเนิน ระหวาง 29 กรกฎาคม-9 สิงหาคม<br />

25<strong>57</strong> สนับสนุนโดยสํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย<br />

ในวันเปดงานนิทรรศการนั้นมีการเสวนาในหัวขอ ‘สถาปตย<br />

กรรมกับการพัฒนาชุมชนยั่งยืน’ โดย ปฐมา หรุ นรักวิทย<br />

สุริยะ อัมพันสิริรัตน (ศิลปาธรป 25<strong>57</strong>) และ รศ.ตนขาว<br />

ปาณินท ดําเนินรายการโดย ถวัลย วงษสวรรค โดยเปน<br />

การแลกเปลี่ยนประสบการณและมุมมองที่มีตองาน<br />

ออกแบบสถาปตยกรรมที่ทําในพื้นที่ชุมชนตางๆ<br />

บทสนทนาสวนหนึ่งของงานเสวนามีการแลกเปลี่ยน<br />

และใหมุมมองกันวา การทํางานกับชุมชนไมควรถูกมอง<br />

วาเปนงานการกุศลหรืองานสังคมสงเคราะห เพราะการ<br />

ทํางานออกแบบรวมกับชุมชนไมใชการเขาไปชวยเหลือใคร<br />

เพราะหากมองงานสถาปตยกรรมที่ทํารวมกับชุมชนเปน<br />

งานสังคมสงเคราะห จะฟงดูคลายวามีนักออกแบบหรือ<br />

สถาปนิกที่คิดวาตนเองอยู เหนือกวาใหความชวยเหลือแก<br />

ผู ที่ดอยกวา วงเสวนามองวาการออกแบบสถาปตยกรรม<br />

กับชุมชนไมใชเรื่องของการทําความดี หากแตเปนความ<br />

สนุกและความทาทายทางการออกแบบที่ตองใชความคิด<br />

สรางสรรค เพราะทายที่สุดแลวมันคือการออกแบบที่ sensitive<br />

มีการคํานึงถึง ‘ผูคน’ นอกจากนี้ ยังคือการใช<br />

กระบวนการออกแบบเปนเครื่องมือหนึ่งใหผู คนรู สึกเปน<br />

เจาของพื้นที่ ซึ่งแทจริงแลวเปนสิ่งที่สถาปนิกทั่วไปควร<br />

ตองทําอยูแลวไมวาจะออกแบบใหกับผูคนหรือลูกคาที่มี<br />

รายไดระดับใด<br />

ผลงานการออกแบบของ CASE และนักศึกษาฝกงาน<br />

ที่ถูกนํามาแสดงนิทรรศการนั้นพิสูจนใหเห็นอยางชัดเจนถึง<br />

แนวคิดขางตน ผลงานตางๆ มีทั้งหองสมุดชุมชน สวน<br />

ชุมชนสํานักงานชุมชน สนามเด็กเลนและสระวายนํ้า<br />

อาคารเก็บของ ครัว ศาลาผู ใหญ พิพิธภัณฑตลาดเกามีนบุรี<br />

และอาคารเสา 12 เสา ซึ่งลวนใหความสําคัญ กับการมี<br />

สวนรวมของผู คนในพื้นที่ นักศึกษาฝกงาน และสถาปนิก<br />

รวมถึงความคิดสรางสรรค ทางการออกแบบภายใตขอ<br />

จํากัด งบประมาณศูนยบาท ที่ยิ่งทําใหผู ออกแบบยิ่งตอง<br />

คิดหาความเปนไปไดทางวัสดุและโครงสรางราคาประหยัด<br />

ตางๆ เพื่อใหไดทางเลือกของการออกแบบที่เปนไปได<br />

และยั่งยืน<br />

28 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


02<br />

03<br />

04<br />

01 นิทรรศการ ‘สถาปตยกรรม<br />

กับการพัฒนาชุมชนยั่งยืน’ ณ<br />

หอศิลปรวมสมัยราชดําเนิน<br />

02 การเสวนาในหัวขอ<br />

‘สถาปตยกรรมกับการพัฒนา<br />

ชุมชนยั่งยืน’ โดย ปฐมา หรุนรัก<br />

วิทย สุริยะ อัมพันสิริรัตน และ<br />

รศ.ตนขาว ปาณินท<br />

03-04 สูจิบัตรและหุนจําลอง<br />

ภายในงาน<br />

TEXT<br />

Supitcha Tovivich<br />

PHOTOS<br />

Sarinya Tonasukumarn<br />

The recent ‘Sustainable Community Development<br />

with Architecture’ Exhibition (Art and Knowledge from<br />

studying Architecture of the Minburi Community)<br />

included the architecture design of Patama Roonrakwit<br />

(Silpathorn Award winner in 2010) from CASE (Community<br />

Architects for Shelter and Environment) and<br />

the works of the internship students from various<br />

universities who carried the project out together. The<br />

exhibition was held on the 3 rd floor of the Ratchadamnoen<br />

Contemporary Art Center - RCAC from 29 July - 9<br />

August 2014. On the opening day, a conversation was<br />

exchanged under the topic: ‘Sustainable Community<br />

Development with Architecture’ by Patama Roonrakwit,<br />

Suriya Umpansiriratana and Tonkao Panin, Ph.D.<br />

organized by Tawan Wongsawan.<br />

Throughout the conversation attitudes were exchanged<br />

in regards to the notion that true architectural<br />

design for communities is not only about doing good<br />

acts or volunteering, but is rather another approach<br />

toward making the residents themselves feel as if they<br />

own the area they live in. The design community also<br />

acknowledged their own responsibility to think about<br />

people in a creative way.<br />

The work of CASE and the internship students<br />

showcased within the exhibition demonstrated the<br />

ideas above through examples such as the community<br />

library, a community garden and playground which<br />

were created for a budget of 0 baht. Projects such as<br />

these encouraged both the architects and students<br />

alike to think wisely about material selection and structure,<br />

allowing for them to create sustainable projects<br />

within a limited budget.<br />

30 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


WORK IN PROGRESS<br />

MCKEAN<br />

SOOK ARCHITECTS<br />

01<br />

โรงพยาบาลแมคเคนเปนโรงพยาบาลเกาแกมีอายุ<br />

106 ป ตั้งอยู ที่จังหวัดเชียงใหม ดวยขนาดพื้นที่ 300 ไร<br />

ที่เต็มไปดวยตนไมจามจุรีขนาดใหญเรียงตัวกันยาวกวา<br />

1.6 กิโลเมตร ริมแมนํ้าปงซึ่งโอบลอมโรงพยาบาลไว และ<br />

ยังคงมีสถาปตยกรรมเกาแกจํานวนมาก เชน โบสถ<br />

โรงพยาบาล บานผูดูแล และอาคารตางๆ นอกจากนั้น<br />

สิ่งที่สําคัญที ่สุดคือการที่ผูคนในพื้นที่ยังมีความเชื่อและ<br />

พยายามรักษารูปแบบอาคารเดิมเอาไว<br />

ในการออกแบบโครงการศูนยผูสูงอายุครบวงจรและ<br />

สวนสาธารณะประวัติศาสตรนี้ กลุมผูออกแบบ ไดแก<br />

บริษัท สถาปนิกสุข จํากัด รวมกับ Spaceshift Studio<br />

และนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตรจากหลาย<br />

สถาบันไดศึกษาจากประวัติศาสตรของโรงพยาบาล<br />

ตั้งแตชวงตนศตวรรษที่ 20 มิชชั่นนารีที่เขามาทํางาน<br />

ในคลินิครักษาโรคที่เชียงใหม ซึ่งเปนชวงเดียวกับการ<br />

ระบาดของโรคเรื้อน ในป ค.ศ. 1907 ซึ่ง ดร.เจมส แมคเคน<br />

ไดใชพื้นที่เกาะกลางในการรักษาโรคเรื้อน โดยเริ่มตน<br />

จากกระทอมไมไผหลังเล็กๆ เทานั้น ซึ่งชื่อเสียงไดแพร<br />

กระจายออกไปอยางรวดเร็ว ในปจจุบันโรงพยาบาล<br />

แมคเคนกําลังจะพัฒนาใหกลายเปนสถานที่สําหรับดูแล<br />

ผูสูงอายุ เนื่องดวยอัตราการเติบโตตามประชากรโลก<br />

และจํานวนผูสูงอายุที่มีจํานวนมากในพื้นที่ทองถิ่น<br />

ผังแมบทถูกอนุรักษจัดการในหลายรูปแบบ จากผัง-<br />

แมบทเดิมที่มีการจัดวางรูปแบบอเมริกาสมัยกอน ที่มี<br />

ความชัดเจน และมีแกนตางๆ สมมาตรกัน ซึ่งยังคงตั้ง<br />

อยูทามกลางการเติบโตของธรรมชาติมาเปนทศวรรษ<br />

01-02 ภาพบรรยากาศภายหลัง<br />

การปรับปรุง<br />

ซึ่งในการอนุรักษงานที่มีความหลากหลายเหลานี้<br />

ผูออกแบบจึงมุงเนนไปยังการอนุรักษอาคารเกาอยาง<br />

เหมาะสมและปรับนํามาใชใหมใหตอบสนองมากขึ้น เชน<br />

กระทอมผู ปวยจะถูกแปลงเปนหองพักสําหรับโรงพยาบาล<br />

สวนอาคารโรงพยาบาลเดิมที่มีหลังคาสูงจะถูกเปลี่ยน<br />

เปนศูนยการเรียนรู และทําเปนหองประชุม หองผู เชี่ยว-<br />

ชาญทางการแพทย หองบําบัดโรค สวนของสถานที่เผาศพ<br />

และสนามถูกสรางใหเปนเสมือนอนุสาวรีย ในขณะที่<br />

อาคารใหมจะใชสําหรับดูแลผู สูงอายุ และสําหรับอยู อาศัย<br />

ซึ่งจะตั้งอยูใจกลางของที่ดินเพื่อรองรับการขยายตัวให<br />

อนาคต ซึ่งผู ออกแบบเชื่อวาสิ่งเหลานี้จะสรางและสงเสริม<br />

พื้นที่เหลานี้ใหเปนสังคมที่ยั่งยืนและนาอยูที่สําคัญอีก<br />

แหงหนึ่ง<br />

02<br />

32 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


03<br />

The 106-year-old McKean Hospital is located in<br />

Chiangrai province on an existing area of 48 hectares<br />

(300 rai) that can be described as nothing short of a<br />

scene of great biodiversity. The giant rain trees running<br />

along the 1.6 kilometers of waterfront on the Ping<br />

River enclose the hospital compound and a number of<br />

historic colonial architectural works such as a sacred<br />

church, administration houses, a living space and the<br />

hospital itself within a natural embrace that is truly remarkable.<br />

However, while the landscape and structures<br />

are undoubtedly memorable, the most important and<br />

impressive thing is actually the people who keep faith in<br />

this spiritual domain.<br />

The McKean hospital was designed by Sook<br />

Architects together with Spaceshift Studio and students<br />

from the Architecture faculties of various universities.<br />

Research shows that, at the beginning of the twentieth<br />

century, missionaries working in a medical clinic in<br />

Chiang Mai were concerned about the plight of leprosy<br />

sufferers. In 1907, Dr. James McKean was granted<br />

the use of Koh Klang to found a leprosy colony that he<br />

began through the construction of simple and small<br />

bamboo cottages. Word spread and needy suffers<br />

found their way to this rapidly growing settlement. Today,<br />

after having gradually succeeded in rehabilitating all<br />

the residents of the former colony back into community<br />

life, McKean Hospital is no longer a leprosy colony but a<br />

place aimed at addressing an issue that is being raised<br />

both both locally and globally of providing adequate<br />

housing for the growing elderly population. Regarding<br />

the design planning, the architect proposed a master<br />

plan for multiple levels of conservation and set the<br />

historic American-style site on a clear and symmetrical<br />

axis that has remained unaltered for over a century,<br />

even amongst the ambiguity of the surrounding natural<br />

growth. The native characteristics of the land additionally<br />

step forth to complete, encourage and support the<br />

sustainable setting and habitat.<br />

03 พัฒนาการของผังโครงการ<br />

ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต<br />

OWNER<br />

McKean Rehabilitation<br />

Center<br />

LOCATION<br />

Amphoe Muang,<br />

Chiang Mai<br />

ARCHITECT<br />

Sook Architects<br />

น 1-0214<br />

34 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


HEAD OFFICE BUILDING<br />

AND ENTERTAINMENT<br />

BUILDING<br />

FORUM ARCHITECT<br />

01<br />

อาคารสํานักงานและสันทนาการ การไฟฟาสวน<br />

ภูมิภาค สํานักงานใหญ เปนโครงการที่ไดรับการคัด-<br />

เลือกจากการประกวดแบบ โดยมีแนวความคิดเพื่อ<br />

เปนอาคารที่สะทอนถึงความทันสมัยและพัฒนาการ<br />

ของการไฟฟาสวนภูมิภาค และเปนแลนดมารคของ<br />

ถนนงามวงศวาน และถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งตัวอาคาร<br />

ออกแบบใหมีเอกลักษณและสะทอนความเปนองคกร<br />

ตนแบบของอาคารที่มีพลวัตดานการเปนผูนําดานการ<br />

ใชพลังงานอยางคุมคา ผานการออกแบบสถาปตยกรรม<br />

แบบยั่งยืนเพื่อนําไปสูการรับใบรับรองอาคารเขียว<br />

ระดับ Platinum<br />

สถาปนิกออกแบบอาคารหลังนี้ใหมีลักษณะที่โดด-<br />

เดน มีรูปลักษณที่มากกวาอาคารวิสาหกิจทั่วไป โดยที่ตั้ง<br />

ของอาคารตั้งอยูตรงจุดที่เปนศูนยกลางของผังบริเวณ<br />

ทั้งหมดของการไฟฟาสวนภูมิภาค และตั้งฉากเปนแกนหลัก<br />

ตรงกับทางเขาใหญของโครงการ และที่สําคัญตัวอาคาร<br />

ทําหนาที่เปนแบคกราวนที่สําคัญที่สุดใหแกพระบรม<br />

อนุสาวรียของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ที่เปน<br />

จุดนําสายตาของทุกคนที่เขาสูโครงการ อีกประเด็นหนึ่ง<br />

ในแงขององคกร กฟภ. สถาปนิกมีแนวคิดที่จะทําให<br />

อาคารหลังนี้เปนตนแบบของการใชพลังงานอยางคุมคา<br />

ที่จะสื่อไปสู ประชาชนสวนใหญ โดยการออกแบบใหอาคาร<br />

หลังนี้ไดรับใบรับรองอาคารเขียว (TREES nc) ระดับ<br />

Platinum ซึ่งตรงกับความตั้งใจของผู บริหารของ กฟภ. ดวย<br />

แนวคิดที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือความสอดคลองกัน<br />

ของทุกอาคารเมื่อตึกหลังใหมสรางเสร็จ มีการเสนอแนะ<br />

ใหเอาอาคารเดิมดานหนาออกทั้งหมดเพื่อสรางพื้นที่สี<br />

เขียวและจุดนําสายตา รวมถึงการลดการใชพาหนะที่ใช<br />

เชื้อเพลิงในโครงการทั้งหมดโดยทดแทนดวย sky walk<br />

ที่ตอถึงกันทุกอาคาร การลดอุณหภูมิภายนอกอาคาร<br />

ดวยสระนํ้าและพื้นที่สีเขียว สวนอาคารสันทนาการก็<br />

ออกแบบใหมีลักษณะทางเดินดานเดียว (single load<br />

corridor) เพื่อสรางการไหลเวียนของอากาศธรรมชาติ<br />

และทําใหพื้นที่หองทํางานไดรับแสงธรรมชาติทั้งสอง<br />

ดาน ทําใหลดการใชพลังงานแสงสวางไดอีกทางหนึ่ง<br />

บนหลังคาของทั้ง 2 อาคารก็มีเสนอแนะใหติดตั้งแผง<br />

ผลิตพลังงานแสงอาทิตย (solar photovoltaic cells)<br />

เพื่อใชผลิตพลังงานทดแทนในบางสวนของอาคารดวย<br />

01 ภาพทัศนียภาพภายนอก<br />

อาคาร<br />

02-03 บรรยากาศโดยรอบ<br />

โครงการ<br />

36 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


The Head Office Building and Entertainment Building<br />

by Forum Architects was selected in the design competition<br />

under the category of unique and innovative buildings.<br />

Furthermore, underlying the concept of the design<br />

is an attempt to uphold energy conservation and create<br />

a building that could serve as a prototype for future<br />

energy-conscious designs, due to elements such as<br />

the solar photovoltaic cells installed to produce energy<br />

for partial consumption within the building. Moreover,<br />

appreciation was given to the specific location of the<br />

project as it is situated at the central and overall grand<br />

axis of the PEA plot. From the main entrance one sees<br />

the statue of King Rama V standing elegantly in the<br />

middle, with the newly designed buildings taking a<br />

supportive and secondary stance in both attraction and<br />

approach on either side.<br />

Initially, the TOR had a primary goal of reaching the<br />

Green Building Design Gold Class status; however, after<br />

many detailed designs of Green Buildings have been<br />

achieved, the team raised the bar and designed the plan<br />

to support a higher Platinum Class ranking.<br />

Besides the goal of creating an energy-saving building<br />

to function as a prototype, the design team also aimed<br />

to create the building in a manner that would allow for it<br />

to function as a landmark and highlight of the area. The<br />

harmony established within the grouping of structures<br />

and the circulation between the various functions of the<br />

buildings has all been carefully considered and properly<br />

managed.<br />

02<br />

LOCATION<br />

Ngamwongwan Road,<br />

Bangkok<br />

DURATION<br />

2013-2014<br />

ARCHITECT<br />

Forum Architects<br />

น 0-0153<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Meinhardt (Thailand)<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

S.N.B.<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Group Three<br />

03<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 37


DIVERGENCE<br />

HOUSE<br />

FOUNDRY OF SPACE<br />

Divergence House ถูกสรางขึ้นบนพื้นที่ใจกลาง<br />

เมืองที่มีตนไมอยูเปนจํานวนมาก ซึ่งเจาของพื้นที่เอง<br />

ตั้งใจที่จะเก็บตนไมเหลานั้นไวใหมากที่สุด โครงการนี้<br />

จึงไมเปนเพียงการสรางบานอยูเพียงลําพังแตเปนการ<br />

วางพื้นที่วางภายในของตัวอาคารใหสอดแทรกเขาไปยัง<br />

สภาพแวดลอมเดิมอยางกลมกลืนและเปนธรรมชาติ<br />

ดังนั้นสถาปนิกจึงแยกโปรแกรมตางๆ ของบานออกจาก<br />

กัน โดยวางตําแหนงพื้นที่ใชสอยใหอยูระหวางตนไม<br />

พอดี และมีทางเดินที่เชื่อมโยงสวนตางๆ เขาดวยกัน<br />

ซึ่งทางเดินไมเพียงจะทําหนาที่เชื่อมโยง แตสรางชองเปด<br />

โลงใหพื้นที่วางมีลักษณะกึ่งภายนอกกึ่งภายในดวยเชนกัน<br />

ในสวนการใชงานของพื้นที่ตางๆ ไดคํานึงถึงความ<br />

เปนสวนตัวและความตอเนื่องของการใชงานเปนหลัก<br />

เชน บริเวณดานหนาเปนโถงทางเขาและหองรับแขก<br />

ในสวนดานหลังที่หลบสายตานั้นเปนหองอาหารและ<br />

สระวายนํ ้า ในขณะที่หองนอนทุกหองตั้งอยูบนชั้นสอง<br />

ของบาน นอกจากนี้บริเวณชานชั้น 2 มีการปลูกหญาขึ้น<br />

รอบๆ ตนไมใหญที่ทะลุผานชองโลงขึ้นไปจากชั้นหนึ่ง<br />

เพื่อใหผูอาศัยยังคงใกลชิดกับธรรมชาติถึงแมจะอยูบน<br />

ชั้น 2 ของบานก็ตาม สําหรับพื้นชั้นลางไดถูกยกตัวขึ้น<br />

ใหใตถุนสูง เนื่องจากพื้นที่ตั้งของบานไมไดมีการถมที่ดิน<br />

จึงมีนํ้าทวมประปรายตามฤดูกาล สถาปนิกจึงออกแบบ<br />

ตัวบานใหเลี่ยงความเสียหายจากนํ้าทวม ซึ่งการยกพื้น<br />

ที่ชั้นลางขึ้นยังสงผลใหเกิดการระบายอากาศถายเทของ<br />

ตัวบานอีกดวย<br />

ในขณะเดียวกันวัสดุที่เลือกใชมุงเนนใหอาคารมี<br />

ความกลมกลืนไปกับธรรมชาติโดยรอบ ไมวาจะเปน<br />

ผนังอาคารที่ทําจากปูนผสมสีเทา หรือกระเบื้องหิน<br />

ภูเขาไฟที่ใชปูในสระวายนํ้า ซึ่งชวยขับใหการสะทอน<br />

แสงของนํ้าดูเสมือนเปนบอนํ้าที่มีอยูตามธรรมชาติ ไม-<br />

เกาที่ถูกรื้อออกมาจากบานหลังเกาในที่ตั้งเดิมไดถูกนํา<br />

มาใชปูเปนพื้นทางเดินภายนอก และดัดแปลงเปนผนัง<br />

ระแนงบริเวณชั้น 1 ซึ่งทั้งหมดนี้เปนพื้นฐานของการ<br />

ออกแบบสถาปตยกรรมยั่งยืน มีความสอดคลองกับ<br />

แนวความคิดหลักของตัวอาคาร นั่นคือ ‘การแยกออก<br />

(Diverge) เพื่อรวมเขาเปนหนึ่งเดียวกับสภาพแวดลอม’<br />

01<br />

38 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


02<br />

Situated inside an existing lush garden in the<br />

middle of one of Bangkok’s expatriate areas, Divergence<br />

House emerges from an intention to preserve as many<br />

existing trees as possible within the site. The design of<br />

the house, however, bears in mind much more than<br />

simply its appearance from the outside through<br />

thoughtful consideration of how to seamlessly converge<br />

the internal spaces with the natural setting in a way<br />

that captivates a sense of a natural and domestic atmosphere.<br />

Thus, all the programs strategically diverge<br />

from one another, and are positioned with careful<br />

intention between the trees. To complete the entire<br />

spatial organization of the house, the system of<br />

meandering circulatory elements is organized in a<br />

manner that links all the main functions of the spatial<br />

programming together.<br />

The location of each element is determined by the<br />

level of privacy and internal connectivity the activities<br />

it will house require. For instance, the foyer and living<br />

space are located at the front of the program while<br />

the dining room and swimming pool with fiber-optic<br />

lighting effects are situated in a more secluded zone<br />

and all bedrooms are reserved for the upper level.<br />

In terms of materiality, the idea of ‘camouflage’<br />

is implemented throughout and applied to all the<br />

surfaces of the house. The exterior wall finish also<br />

falls in line with a similar character through its playful<br />

consideration of the shadows of the trees and<br />

randomly polished dark grey cement finish. In order to<br />

reflect the texture and color of a natural pond typically<br />

found in nature, a specific type of green volcanic stone<br />

that absorbs water and produces vibrant colors was<br />

chosen for the pool surface.<br />

01 บริเวณทางเข้าด้านหน้าของ<br />

Divergence House<br />

02 บริเวณชานชั้น 2<br />

03 ทางเดินชั้นล่างและสระว่ายน้ำา<br />

LOCATION<br />

Sukhumvit 26, Bangkok,<br />

Thailand<br />

DURATION<br />

2014<br />

ARCHITECT<br />

Foundry of Space [FOS]<br />

Company<br />

น 0-7163<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Asian Real Estate<br />

Consultant<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

Asian Real Estate<br />

Consultant<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Foundry of Space [FOS]<br />

03<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 39


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & <strong>ASA</strong><br />

PRESIDENT OF<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS [<strong>ASA</strong>]<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Worarat Patumnakul<br />

พิชัย วงคไวศยวรรณ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

บทบาทของสมาคมสถาปนิกสยามฯ โดยทั่วไป<br />

ในปจจุบันเปนอยางไร ?<br />

พิชัย วงคไวศยวรรณ : โดยหลักแลววัตถุประสงคของ<br />

สมาคมจะเปนเรื่องของการประชาสัมพันธและการพัฒนา<br />

วิชาชีพของสถาปนิกเปนหลัก เปนที่รวมของสถาปนิกที่จะ<br />

มาพบปะแลกเปลี่ยนความรู และประสบการณตางๆ เพื่อให<br />

เกิดความสัมพันธอันดีของเหลาสมาชิกในสมาคม ซึ่งเนื่องใน<br />

โอกาสครบรอบ 80 ปของสมาคมในปนี้ สมาคมมีภารกิจที่<br />

ขยายกวางมากขึ้น อยางเชนการสงเสริมทางดานวิชาชีพ<br />

อยางการมอบรางวัลสถาปนิกดีเดน ที่เราพยายามจะเชิดชู<br />

สถาปนิกที่มีผลงานโดดเดนหลายๆ ดานทั้งทางวิชาชีพ การ<br />

ศึกษา การทําคุณประโยชนตอวิชาชีพและสังคม เปนตน<br />

หรือในเรื่องของการอนุรักษสถาปตยกรรมไทย สมาคม<br />

มองเห็นถึงความสําคัญของสถาปตยกรรมเกาแกและโบราณ-<br />

สถานอันทรงคุณคา จึงมีทีมอนุรักษศิลปสถาปตยกรรมเขามา<br />

ชวยดูแลในเรื่องของการสงเสริมการรักษาและเผยแพร<br />

ความรู เกี่ยวกับงานสถาปตยกรรมที่มีคุณคานี้ อีกเรื่องหนึ่ง<br />

ที่สําคัญคือการทํางานสื่อสารกับสมาคมสถาปนิกตางประเทศ<br />

ไมวาจะเปนในภูมิภาคเอเชียหรือยุโรปหรืออเมริกา เพื่อ<br />

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นความรูรวมกันกับสถาปนิกจาก<br />

นานาชาติ เราเปนสมาชิกกับสมาคมตางๆ อยาง ARCASIA<br />

(Architects Regional Council Asia) ซึ่งในปหนาสมาคมจะ<br />

เปนเจาภาพในการจัด Forum ที่จังหวัดอยุธยาดวย<br />

40 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


ในฐานะของผู ออกแบบ เมื่อเหตุการณแผนดินไหว<br />

ทางสมาคมฯ มีบทบาทอยางไร ?<br />

พิชัย: เรื่องของการชวยเหลือสังคมเปนอีกเรื่องหนึ่งที่<br />

สมาคมฯ ใหความสําคัญ เพราะเราเปนผู เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ<br />

อาคารและสิ่งแวดลอม เพราะฉะนั้นเมื่อเกิดภัยพิบัติเราจะมี<br />

การจัดทีมเขาไปชวยเหลือ ทั้งการเกิดความเสียหายจาก<br />

แผนดินไหวครั้งนี้หรือเหตุการณอุทกภัยในป 2554 ซึ่ง<br />

ตอนนั้นสมาคมมีโครงการบาน พอดี พอดี ที่สรางเร็วและ<br />

ประหยัดเพื่อชวยเหลือผูที่ไดรับความเดือดรอน ซึ่งเราก็ได<br />

นําแนวความคิดนี้มาปรับใชอีกครั้งในเหตุการณแผนดินไหว<br />

ครั้งนี้ดวย<br />

การชวยเหลือของสมาคมฯ ตั้งแตตนที่เหตุการณเกิดขึ้น<br />

สมาคมไดติดตอใหทางกรรมาธิการลานนาเขาไปสํารวจพื้นที่<br />

ซึ่งจากการสํารวจเล็งเห็นวาวัดนั้นมีผู ชวยเหลือนอย จึงมีการ<br />

เสนอเขาไปชวยบูรณะวัดที่เกิดความเสียหาย 2 แหง ซึ่ง<br />

พอดีกับทางทีมของคุณวิภาวี คุณาวิชยานนท Design for<br />

Disasters ไดเขาไปในพื้นที่ทําการสํารวจและไดชักชวน<br />

เพื่อนสถาปนิก 9 ทาน เพื ่อที่จะออกแบบ 9 โรงเรียน และ<br />

เสนอใหชวยสรางบาน 9 หลังโดยนําแบบบานพอดี พอดีที่<br />

ออกแบบโดยคุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน มาปรับใช ทายที่สุด<br />

เราจึงนําโปรเจ็คตมารวมกันเปนหนึ่งโครงการโดยมี พ.ต.ท.ดร.<br />

บัณฑิต ประดับสุข ซึ่งทานเปนอุปนายกสมาคมฯ ฝายพัฒนา<br />

สังคม มาเปนประธานดูแลโครงการนี้<br />

การทํางานรวมมือกันระหวางสมาคมเปนอยางไร ?<br />

พิชัย: สมาคมสถาปนิกสยามฯ ไดชักชวน สมาคมวิศวกรรม<br />

สถานฯ สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาฯ และสมาคมอุตสาหกรรม<br />

กอสรางไทย รวมใหความชวยเหลือตามความถนัดของ<br />

วิชาชีพ ในครั้งนี้ถือวาเปนอีกครั้งที่ทํางานรวมกันเฉพาะกิจ<br />

โดยแตละฝายสงผู เชี่ยวชาญตางๆ เขามารวมงานกันทํางาน<br />

เพื่อใหชวยเหลือผู ประสบภัยไดอยางรวดเร็วที่สุด เรื่องของ<br />

งบประมาณที่มีคาใชจายจํานวนมาก จึงไดรวมกันนําเสนอ<br />

ผานสื่อตางๆ อยาง Thai PBS และสื่อสิ่งพิมพตางๆ ใน<br />

การขอรับบริจาคจากประชาชนรวมทั้งไดมีการออกหนังสือ<br />

ขอความชวยเหลือถึงสมาชิกสมาคม ซึ่งเราก็ไดรับความ<br />

ชวยเหลือมาอยางตอเนื่อง<br />

อุปสรรคในการทํางานในโครงการนี ้ ?<br />

พิชัย: เรื่องสําคัญคือเรื่องของทุนที่ยังขาดอยูมากทําให<br />

การกอสรางลาชาออกไป ตอนนี้เริ่มกอสรางไดแลว 7<br />

โรงเรียน ยังคงขาดงบประมาณในการดําเนินการอยู ซึ่ง<br />

ทําใหโครงการตอนนี้ลาชาออกไปบางจากที่เคยวางเอาไว<br />

การทํางานและการรวมมือกันระหวางสมาคมตางๆ<br />

ในอนาคต ?<br />

พิชัย: จากเหตุการณนี้สิ่งที่จะตองมีการแลกเปลี่ยนกันคือ<br />

เรื่องขององคความรู เพราะแตละสมาคมแตละวิชาชีพจะ<br />

มีความถนัดแตกตางกันออกไป เพื่อที่จะใหเกิดความเขาใจ<br />

ในการแกปญหาที่เกิดจากภัยพิบัติรูปแบบตางๆ อยางกรณี<br />

ของแผนดินไหวก็มีการบรรยายจากผู เชี่ยวชาญทาง วสท.<br />

(สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ) รวมกับสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ มาบอกเลาใหสมาชิกฟงถึงลักษณะของ<br />

แผนดินไหวเกิดขึ้นไดอยางไร ทั้งในดานภูมิศาสตรจนถึง<br />

วิธีการออกแบบที่จะชวยปองกันหรือลดปญหาที่อาจจะ<br />

เกิดขึ้นได ซึ่งเปนการแลกเปลี่ยนองคความรู รวมกันไดเปน<br />

อยางดี รวมถึงการจัดเวิรกช็อปในพื้นที่เพื่อสรางองคความ<br />

รูใหกับชาวบานดวย สิ่งเหลานี้จะเปนรากฐานที่ดีสําหรับ<br />

อนาคตของการทํางานเพื่อสังคมรวมกัน<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 41


WHAT IS THE CURRENT ROLE OF THE ASSOCIATION<br />

OF SIAMESE ARCHITECTS?<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN : Mainly, the objective<br />

of the association involves the promotion and development<br />

of the architectural profession in Thailand. It is<br />

where architects meet and exchange knowledge and<br />

experiences through professional connections and<br />

friendships amongst the members are encouraged.<br />

The 80 th anniversary marks a notable point in the history<br />

of the association, with the plan to expand our missions<br />

to encompass a wider territory of the architectural<br />

profession such as the <strong>ASA</strong> Architectural Awards that<br />

will be given to distinctive architectural works and<br />

architects. It is our intention to honor architects with<br />

outstanding professional, academic and social contribution.<br />

We will also be placing more interest on Thai<br />

architecture as well as the conservation of ancient<br />

buildings and ancient architectural remains, which is<br />

something we have always acknowledged. We have a<br />

conservation team overseeing not only the restoration<br />

and preservation, but also the propagation of knowledge<br />

of these valuable architectural creations. Another important<br />

issue is our connection with the international<br />

architectural associations in Asia, Europe, as well as<br />

the United States, which will allow us the opportunity<br />

to become a part of the global professional network.<br />

As one of the members of ARCASIA (Architects Regional<br />

Council Asia), <strong>ASA</strong> will be hosting a forum held<br />

in Ayutthaya in the next coming year.<br />

WHAT HAS BEEN THE ROLE OF THE ASSOCIATION IN<br />

THE EARTHQUAKE RELIEF IN CHIANG RAI?<br />

PW: Social contribution has always been one of our<br />

priorities considering our proficiency in building and<br />

support of the environment. We have always taken part<br />

in disaster relief projects, sending in teams of experts<br />

to help whether it’s the earthquake in Chiang Rai or<br />

the big flood in 2011. The Por Dee Por Dee House was<br />

first designed for the flood victims and was recognized<br />

for its easy, fast and economical construction. The concept<br />

for the design was also applied and used for the Chiang<br />

Rai earthquake relief project as well.<br />

After the incident, the association promptly contacted<br />

our Lanna Committee to survey the affected area. They<br />

found out that temples were receiving only limited aid so<br />

we stepped in with an initial plan to help with restoration of<br />

two temples damaged by the quake. The team from Design<br />

for Disasters, led by Vipawee Kunavichayanont, was also<br />

working on their project where nine different teams of<br />

architecture firms volunteered to design and reconstruct<br />

nine school buildings. They proposed the idea for us to<br />

help building nine houses using the design of Por Dee<br />

Por Dee House by Suriya Umpansiriratana. Eventually,<br />

the two projects were merged into one with Lt. Col.<br />

Dr.Bundit Pradabsuk, the Vice President in Social<br />

Development overseeing the operation.<br />

WHAT HAVE THE COLLABORATIONS BETWEEN<br />

DIFFERENT PROFESSIONAL ASSOCIATIONS BEEN<br />

LIKE?<br />

PW: <strong>ASA</strong> invited the Engineering Institute of Thailand,<br />

the Consulting Engineers Association of Thailand and<br />

the Thai Contractors Association to help using their<br />

professional expertise. This is another special collaboration<br />

where the four associations spontaneously sent in representatives<br />

who are experts in different fields to help<br />

the disaster victims as soon as possible. Since the project<br />

comes with great amount of expenditure, we have been<br />

promoting our mission through different media outlets,<br />

such as the Thai PBS channel, and print media, asking<br />

for donations from the public sector, as well as issuing<br />

a letter of request for help from our fellow members.<br />

So far, the support coming in has been continuous.<br />

WHAT HAVE BEEN SOME OF THE OBSTACLES YOU<br />

HAVE COME ACROSS WORKING ON THE PROJECT?<br />

PW: The crucial issue would be funding, which is still<br />

very much insufficient. It consequentially delays the<br />

construction. So far, we have finished building seven<br />

schools but there are still needs for more financial<br />

support. The lack of funding really slows things down<br />

from what we had originally planned.<br />

ANY PLANS FOR FUTURE COLLABORATIONS<br />

BETWEEN THE ASSOCIATIONS?<br />

PW: This incident has made us realize how important<br />

the exchange of body of knowledge really is, because<br />

each of us possesses our own proficiency and expertise,<br />

so it’s crucial for everyone to have mutual understanding<br />

in the problems caused by different forms of disaster.<br />

In the case of earthquake, there was a lecture held earlier<br />

by the Engineering Institute of Thailand together with<br />

the Association of Siamese Architect where experts were<br />

invited to discuss and share their knowledge and experiences<br />

with the members about the causes of earthquakes<br />

and geographical aspects related to design<br />

solutions that can be employed as preventive measures.<br />

We also held workshops with the locals, sharing knowledge<br />

that would be useful for them. I think what we’re<br />

doing is going to become a strong foundation for future<br />

collaborations between the four associations, which is<br />

ultimately something the society can be greatly<br />

benefited from.<br />

42 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


บริษัท อีลิทเดคอร จํากัด<br />

964 หมูที่ 4 ตําบลหัวทะเล อําเภอเมืองนครราชสีมา<br />

จังหวัดนครราชสีมา 30000<br />

T. +66 44327061 / +66 861465089<br />

F. +66 44327239<br />

E. buafoam@gmail.com<br />

www.e-d.co.th / www.buabau.com<br />

ELITE DECOR<br />

บริษัท อีลิทเดคอร จํากัด เปนผูผลิตรายแรกในประเทศไทยบัวตกแตงเปนสถาปตยกรรมภายนอก<br />

จากโฟม EPS โดยเทคโนโลยีใหมลาสุด เราผลิต คิ้วบัว บัวประตูหนาตาง เสาโรมัน แผนผนัง ฯลฯ<br />

สําหรับการติดตั้งภายนอกอาคาร ผลิตภัณฑของเรามีผิวคงทนและมีความยืดหยุนซึ่งปกปองโฟม<br />

EPS จากรังสียูวีและความแตกแยก การใชผลิตภัณฑของเราชวยใหคุณประหยัดเงินดวยการติด<br />

ตั้งงาย ใชทุนนอยในการติดตั้ง และชวยใหดูดี ดูเดน ใหดูเหมือนมีบานราคาแพง สําหรับบานของ<br />

คุณใหสอดคลองกับความฝนของคุณดวยผลิตภัณฑบัวเบา เพิ่ม ควํามโดดเดนของบานและอาคาร<br />

ดวยคิ้วบัวโฟมสําเร็จรูป ชุดเสา แผนประดับนูนต่ํา เพิ่มมิติใหบานสวยยิ่งขึ้น สามารถติดตั้งไดงาย<br />

รวดเร็ว ราคาประหยัด รูปแบบดีไซดที่หลากหลาย ทําใหคุณสามารถตกแตงบานไดตามสไตลที่<br />

ตองการนวัตกรรมสําหรับความสวยงามและทรงคุณคา ใหกับอาคารและสถานที่ เปนบัวที่ผลิตจาก<br />

โฟม EPS และใหความรูสึกเสมือนบัวหินจริง บัวโฟมยังชวยประหยัดพลังงานภายในบานและอาคาร<br />

ที่ใช เพราะเปนฉนวนกันความรอนดวยในตัว ประหยัดทั้งเวลาและคาใชจายในการติดตั้ง<br />

• เปนบัวชนิดเดียวที่เปนฉนวนกันความรอน<br />

• สําหรับใชภายนอก ทนทาน ทนแดด ทนฝน<br />

• ไมกอใหเกิดเชื้อรา<br />

• น้ําหนักเบาที่สุด ชวยลดน้ําหนักโครงสราง<br />

• เบากวาแข็งแรงกวา<br />

• พื้นผิวชิ้นงานเปนสวนผสมของแรธาตุบนฐานอะคลีลิกและสารเคลือบผิว จึงทําใหมีความสวย<br />

งามและความคงทน<br />

• โพลีเมอรที่ใชสําหรับสารเคลือบผิวเดียวกันปดรอยตอ เดียวกันดังนั้นจะไมมีรอยแตก<br />

• ฝาครอบมีความยืดหยุนชวยใหคุณติดตั้งบัวบนพื้นผิวที่นูนได<br />

• รูปทรงที่ถูกตองของผลิตภันฑผลิตดวยเครื่องจักรที่ทันสมัยทําใหไดรูปทรงที่ถูกตองสวยงาม<br />

ติดตั้งงายโดยใชปูนกาว ประหยัดคาใชจายกวา<br />

• ไมเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษยไมไดกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมและชั้นโอโซน<br />

และไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม<br />

• นอกจากนั้นยังมีโฟมแผนชนิดไมลามไฟ<br />

• สามารถสั่งทําลวดลายและขนาดตามความตองการได<br />

• ยาวมาตรฐาน 2,4 เมตร<br />

• การรับประกันเกี่ยวกับผลิตภัณฑ<br />

(พื้นที่โฆษณา)


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & EIT<br />

VICE PRESIDENT OF<br />

THE ENGINEERING INSTITUTE OF<br />

THAILAND [EIT]<br />

SUTTISAK SORALUMP<br />

TEXT+PHOTO<br />

Warut Duangkaewkart<br />

โดยทั่วไปสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ<br />

มีความสําคัญอยางไร ?<br />

สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ : สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศ-<br />

ไทยฯ หรือ วสท. เปนที่รวมของวิศวกรหลากหลายสาขาเพื่อ<br />

มารวมกันพัฒนาวิชาชีพทางวิศวกรรม สาขาที่เกี่ยวของ เชน<br />

วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมโยธา วิศวกรรม-<br />

เคมี เปนตน ซึ่งในแตละสาขาจะมีคณะกรรมการและอนุ-<br />

กรรมการที่จะชวยดูแลเรื่องของวิชาการที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ<br />

ในสาขานั้นๆ เชน การจัดทํามาตรฐานและคู มือปฏิบัติทาง<br />

วิชาชีพหรือ การใหคําแนะนําที่เปนประโยชนแกสังคมใน<br />

ดานงานวิศวกรรมเมื่อเกิดปญหาตางๆ นอกจากนี้ยังดูแล<br />

เรื่องของการอบรม การดูงาน เพื่อใหสมาชิกวิศวกรมีการ<br />

พัฒนาความรูทางวิชาชีพอยางตอเนื่องอีกดวย<br />

วสท. มีบทบาทอยางไรในการชวยเหลือเหตุการณ<br />

แผนดินไหวที่เชียงราย ?<br />

สุทธิศักดิ์ : หลังจากเกิดเหตุแผนดินไหวตอนเย็นวันที่ 5<br />

พฤษภาคม ตอนเชาวันรุ งขึ้นทาง วสท. ก็ไดออกมาใหขอมูล<br />

และขอตระหนักเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาคารและสิ่ง-<br />

ปลูกสราง ตั้งแตอาคารที่พักอาศัยไปจนถึงเขื่อนเก็บนํ้า<br />

จากนั้นจึงไดเริ่มเขาพื้นที่สํารวจความเสียหายในทันที โดย<br />

พบวามีอาคารที่เสียหายจํานวนมาก และประชาชนมีความ<br />

กังวลถึงความปลอดภัยของอาคารวาจะเขาอยู อาศัยไดหรือไม<br />

ดังนั้นทางกรมโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดเชียงรายจึงขอให<br />

เราลงไปชวยเหลือในดานการตรวจสอบความเสียหายของ<br />

บานเรือนและอาคารตางๆ เพื่อประเมินระดับของความเสียหาย<br />

ของอาคาร โดยในชวงแรกเปนการชวยเหลือแบบเรงดวน<br />

โดยเราไดเชิญชวนวิศวกรจิตอาสาลงไปชวยเหลือกวา 500<br />

คน โดยผลัดเปลี่ยนกันเขาไปชวยเหลือในชวง 3 สัปดาหแรก<br />

โดยดําเนินการอยางมีระบบทั้งการเขาไปตามหลักกฎหมายที่<br />

ถูกตอง การกําหนดวิธีการประเมินและอบรมวิศวกรผูเขา<br />

ประเมินใหสามารถประเมินไดเปนมาตรฐานเดียวกัน ทั้งนี้<br />

วสท. ไดรวมทํางานกับกลุ มจิตอาสาอื่นๆ รวมทั้งวิศวกรจาก<br />

กรมโยธาธิการและผังเมือง ทําใหสามารถตรวจสอบบานเรือน<br />

ที่เสียหายกวา 10,000 หลัง ไดเสร็จภายใน 3 อาทิตย ซึ่ง<br />

ถือเปนสถิติที่ดีมากสําหรับประเทศที่ไมคอยไดเจอภัย<br />

แผนดินไหวบอยๆ รูปแบบการตรวจสอบดังกลาวจะไดนําไป<br />

เปนมาตรฐานสําหรับการเขาไปชวยเหลือและตรวจสอบอาคาร<br />

เมื่อเกิดเหตุลักษณะแบบนี้อีกในอนาคต<br />

หลังจากที่ตรวจสอบอาคารแลวก็เขาสูชวงเวลาการ<br />

ซอมแซม เราก็พบปญหาเพิ่มวาชางสวนใหญในพื้นที่ไมมี<br />

ความรู ในการซอมบานในลักษณะที่เสียหายเชนนี้ เราจึงได<br />

จัดการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแกชางและวิศวกร<br />

ในพื้นที่ เพื่อที่จะใหความรู ที่ถูกตองในการซอมแซมอาคารตางๆ<br />

ซึ่งเรื่องนี้ยังคงตองใชเวลาพอสมควรในการพัฒนาภาพรวม<br />

ของชางกอสรางในพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งทาง วสท. เองก็มีแผนที่<br />

จะทําภาระกิจนี้อยางตอเนื่องไปจนถึงขั้นการทําศูนยเรียนรู<br />

ดานการกอสรางอาคารตานแผนดินไหวในพื้นที่ตอไป<br />

นอกจากนี้เนื่องจากอาคารเรียนหลักของโรงเรียนพานพิทยาคม<br />

และโรงเรียนแมลาววิทยาคม ไดเสียหายจนตองกอสรางใหม<br />

ทางสมเด็จพระเทพฯ จึงไดทรงพระกรุณาประทานพระราช-<br />

ทรัพยเพื่อกอสรางอาคารเรียนถาวรขึ้น โดยใหทาง วสท. เปน<br />

ผู ออกแบบอาคารทั้งหมดเพื่อรับแผนดินไหว และอาจจะใช<br />

เปนอาคารเรียนตนแบบของ สพฐ ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดิน-<br />

ไหวตอไป ปจจุบันการออกแบบไดเสร็จสิ้นแลวโดยอาคารที่<br />

กําลังกอสรางเปนอาคารเรียนขนาดใหญ 2-4 ชั้น เปนอาคาร<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก และอาคารเหล็กที่ออกแบบคํานวณตาม<br />

หลักโครงสรางเพื่อรองรับแผนดินไหว และยังมีแผนที่จะใช<br />

เปนศูนยการเรียนรู เพื่อใหชางไดเขามาศึกษาวิธีการกอสราง<br />

ขณะกอสรางจริงอีกดวย<br />

บทบาทที่ไดเขามาชวยในโครงการ ‘ซอมสราง<br />

บาน วัด โรงเรียน ในพื้นที่ประสบภัยแผนดินไหว<br />

จังหวัดเชียงราย’ ?<br />

44 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


สุทธิศักดิ์ : เริ่มตนจากการไดรับการติดตอจาก D4D วามี<br />

แผนในการสรางอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งถาวรและจะขอให<br />

ทาง วสท. ชวย โดยเมื่อสถาปนิกและทีม D4D ไดออกแบบ<br />

รูปรางและการใชสอยของโรงเรียนมาทั้งหมด 9 อาคารแลว<br />

แบบงานโครงสรางก็ไดถูกออกแบบและคํานวณโดยวิศวกร<br />

ของทีมตางๆ ทาง วสท. ไดถูกรองขอใหเขาไปชวยใหความ<br />

คิดเห็นในผลการออกแบบโครงสราง โดยไดใหผู เชี่ยวชาญ<br />

ในงานออกแบบโครงสรางตานแผนดินไหวเขาไปชวยเหลือ<br />

ในการใหขอเสนอแนะที่จําเปน ซึ่งคําแนะนําที่ทาง วสท.<br />

แจงไปวิศวกรของแตละโครงการก็จะนําไปคุยกับสถาปนิก<br />

และทําการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมอีกครั้ง<br />

รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ<br />

อุปนายกสมาคมวิศวกรรมสถาน<br />

แหงประเทศไทย ในพระบรม-<br />

ราชูปถัมภ<br />

ขอเสนอแนะสําหรับการกอสรางอาคารในพื้นที่ที่<br />

เสี่ยงตอแผนดินไหว ?<br />

สุทธิศักดิ์ : ขอที่หนึ่งเมื่อพื้นที่ที่อยู ใกลรอยเลื่อน ตองมี<br />

การคํานวณเปนพิเศษซึ่งจะใชตามมาตรฐานทั่วไปไมได สวนนี้<br />

วิศวกรและนักธรณีวิทยาตองชวยกันดูแล ขอที่สองคือการ<br />

สรางบนพื้นที่ภูเขาหรือไหลเขา ซึ่งจะทําใหเสาแตละตนสูง<br />

ไมเทากันไปโดยปริยายทําใหการรับแรงมีความเสี่ยงมากขึ้น<br />

ไปอีก งายตอการโคนลม รวมถึงมีปญหาเรื่องของดินสไลด<br />

อีกดวย นอกจากนั้นถึงแมวาจะกอสรางโดยใชเสาเทากัน<br />

แตการที่อาคารอยู บนพื้นที่ภูเขา อาจเกิดการขยายความ<br />

รุนแรงแผนดินไหวไดเนื่องจากสภาพความสูงชันของพื้นที่<br />

หรือที่เรียกวา Topographic amplication เรื่องสุดทายเปน<br />

มีความสําคัญมากคือเรื่องของดินทรายเหลว ที่ดินทรายฐาน<br />

รากกลายเปนของไหลเมื่อเกิดแผนดินไหว ซึ่งที่เชียงรายพบ<br />

ปญหานี้จากแผนดินไหวทั้งที่เพิ่งเกิดและในอดีต โดยในพื้นที่<br />

นั้นๆ จะตองไดรับการออกแบบฐานรากเปนพิเศษ ซึ่งเราตอง<br />

แจงใหทั้งวิศวกร สถาปนิก รวมถึงเจาของบานใหเขาใจถึง<br />

เรื่องนี้ดวย<br />

การทํางานรวมกันระหวางสมาคมตางๆ ในอนาคต ?<br />

สุทธิศักดิ์ : โดยปกติเราตางมีหนาที่ที่ตองรับผิดชอบกัน<br />

อยู แลว แตเมื่อใดที่มีเรื่องเฉพาะที่ตองทํางานรวมกันอยาง<br />

โครงการนี้ เราก็จะมาทํางานรวมแกปญหาดวยกัน ซึ่งโครงการ<br />

ในครั้งนี้ชวยใหประชาชนเขาใจบทบาทของแตละสมาคม<br />

ดวยวาทํางานกันอยางไร นอกจากจะชวยสังคมแลวเรายังได<br />

ชวยเหลือวิชาชีพของตัวเอง เปนการพัฒนาองคความรู และ<br />

การทํางานตางๆ ไปดวยกัน<br />

มีประเด็นใดบางที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบ<br />

โครงสรางอาคารเพื่อตานทานแผนดินไหว ?<br />

สุทธิศักดิ์ : สวนแรกที่เราใหความสําคัญเปนพิเศษการ<br />

กําหนดขนาดของแรงกระทําที่เปนไปไดจากแรงแผนดินไหว<br />

ในพื้นที่ ตอไปคือสวนของอาคารที่ตองรับแรงจากแผนดินไหว<br />

มากกวาสวนอื่น เชน ตอมอ หรือเสาสั้นในอาคาร เรื่องที่สาม<br />

จะเปนเรื่องที่เกี่ยวของรูปรางอาคาร ถาเปนรูปทรงที่เรียบงาย<br />

สี่เหลี่ยม หรือรูปทรงที่สมมาตรกันพฤติกรรมการสั่นของ<br />

อาคารและการรับแรงก็จะไมซับซอนและมี member ที่มี<br />

ความเสี่ยงนอยลง หรือโดยรวมคือสามารถรับแรงไดดีขึ้น<br />

รูปทรงที่เปน cantilever รวมไปถึงสวนยื่นตางๆ ไมวาจะเปน<br />

ชายหลังคา ระเบียงหรือชานบานก็มีความเสี่ยงมากเชนกัน<br />

นอกจากนั้นอีกปจจัยที่สําคัญสําหรับอาคารที่จะปลอดภัย<br />

ตอแผนดินไหวนั้นคือนํ้าหนักของตัวอาคารเอง ถานํ้าหนัก<br />

อาคารสวนบนมากแรงกระทําตอเสาหรือตอมอก็จะมากและ<br />

มีความเสี่ยงสูง เรื่องสุดทายคือเรื่องของระยะความยาวของ<br />

คานและความสูงของเสาที่ไมยาวจนเกินไป และควรที่จะมี<br />

ความสูงของเสาเทากันทั้งหมดอาคารเพราะเมื่อความสูงเสา<br />

ไมเทากันจะทําใหการรับแรงที่เสาที่สั้นมากกวาเสาอื่นทําให<br />

เกิดการเสียหายหรือเกิดการวิบัติได<br />

WHAT ARE THE ROLES AND RESPONSIBILITIES OF<br />

THE EIT?<br />

SUTTISAK SORALUMP: The Engineering Institute of<br />

Thailand (EIT) is a professional association of engineers<br />

from different fields such as electrical, mechanical, civil<br />

and chemical. Our aim is to help develop the engineering<br />

profession in Thailand. Each field has a committee and<br />

subcommittee overseeing the academic aspect, which<br />

involves tasks such as the setting of standards and the<br />

creation of a professional practice manual or providing<br />

useful engineering advice and information to the society<br />

whenever needed. We also organize and oversee<br />

seminars, training sessions and so on in an attempt to<br />

develop the professional knowledge of Thai engineers.<br />

COULD YOU TELL US ABOUT THE EIT’S ROLE IN<br />

THE CHIANG RAI EARTHQUAKE RELIEF EFFORTS?<br />

SS: The quake struck on the evening of May 5 th . The next<br />

morning the EIT promptly provided information concerning<br />

the safety of local buildings and structures from<br />

residential units to dams. We then immediately surveyed<br />

the affected areas and found out that the quake had<br />

damaged a numerous amount of buildings and people<br />

were very concerned about whether the buildings were<br />

safe enough for them to live in. The Department of<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 45


Public Works and Town & Country Planning, Chiang Rai<br />

had asked us to help with building inspection and to<br />

evaluate the level of damage. Initially, the help was an<br />

emergency measure and we had over 500 engineers<br />

volunteering throughout the first three weeks. Everything<br />

from the evaluation methods and training of the volunteers<br />

was done systematically and legally in order for<br />

the evaluation to be carried out to a high and unified<br />

standard. The EIT also collaborated with other associations<br />

including the volunteers from the Department of Public<br />

Works and Town & Country Planning, which allowed for<br />

us to finish the inspection of over 10,000 houses within<br />

a period of three weeks. The number is very impressive<br />

considering the fact that we are a country who doesn’t<br />

have much experience in handling earthquake incidents.<br />

The inspection method will now be used as the set<br />

standard of measure in the future.<br />

After the inspection was completed we began the<br />

reconstruction period. We came across several problems<br />

regarding the local construction workers’ lack of proper<br />

construction knowledge, particularly with the structures<br />

that were damaged by the earthquake. The EIT organized<br />

workshops, providing both theoretical knowledge and<br />

hands-on learning opportunities for local construction<br />

workers and engineers regarding the reconstruction of<br />

the damaged buildings. It’s going to take some time for<br />

the development to become tangible in terms of the<br />

bigger picture, but the EIT plans for this mission to be<br />

continual and, ultimately, we want to establish a local<br />

learning center for earthquake resistant building construction,<br />

particularly in high-risk areas.<br />

There is also the case of the main buildings of Phan<br />

Pittayakom School and Mae Lao Witthayakom School,<br />

which were severely damaged by the quake. H.R.H.<br />

Princess Maha Chakri Sirindhorn has personally funded<br />

the construction of permanent school buildings and the<br />

EIT is in charge of the design of the earthquake resistant<br />

buildings that will potentially be used as the model<br />

building for schools in high-risk areas in the future as<br />

well. The design has now been finalized into a 2-4 story<br />

high building with a reinforced concrete structure and<br />

a steel structure building calculated according to earthquake<br />

engineering principles. There is also a plan to use<br />

the building as a learning center where local construction<br />

workers can see and learn from the actual structure.<br />

WHAT WAS THE EIT’S ROLE IN THE RECONSTRUC-<br />

TION OF THE SCHOOLS, HOUSES AND TEMPLES<br />

DAMAGED BY THE CHIANG RAI EARTHQUAKE?<br />

SS: We were first contacted by D4D regarding their plan<br />

to construct semi-permanent school buildings in which<br />

they were hopeful that the EIT could help with the<br />

structure. When the architects and D4D team finalized<br />

the design and functionality of the nine buildings, the<br />

engineers took part in structural engineering and the EIT<br />

was asked to reexamine the structure. We sent our<br />

experts in earthquake resistant structures to provide<br />

necessary advice and the engineers of each project<br />

discussed any adjustments that needed to be made<br />

with the project architects.<br />

WHAT ARE THE ISSUES ONE SHOULD CONSIDER<br />

WHEN IT COMES TO THE DESIGN OF EARTHQUAKE<br />

RESISTANT STRUCTURES?<br />

SS: The first and foremost is the specification of action<br />

force caused by the speculated seismic wave. The next<br />

aspect is the design and calculation of the structural<br />

members, which have the burden of supporting more<br />

weight such as props and short columns. Symmetrical<br />

and simple forms are ideal for vibration resistance<br />

because it helps lessen the complexity of the weight<br />

support structure, as well as the risky members. In<br />

general, everything has to be designed to enhance the<br />

building’s ability to support weight and resist the seismic<br />

force. Forms and components such as the cantilever<br />

and other extensions such as the eaves, terrace or porch<br />

are also considered to be risky members. The weight<br />

of the building is also a significant factor contributing to<br />

the efficiency of an earthquake resistant structure. If<br />

the weight of the upper part of the building is high, the<br />

foundation will be burdened by high action force, a factor<br />

that could consequentially lead to higher risks when it<br />

comes to the building’s stability. The last factor is the<br />

span of the beams and the height of columns. It<br />

shouldn’t be too long or too high. Columns should all<br />

be at the same height to prevent the short columns from<br />

overbearing the weight, a factor that could potentially<br />

result in severe destruction of the structure.<br />

DO YOU HAVE ANY SUGGESTIONS OR ADVICE FOR<br />

THE DESIGN AND CONSTRUCTION OF EARTH-<br />

QUAKE RESISTANT STRUCTURES?<br />

SS: If the building is located in a high-risk area, special<br />

calculations have to be made. You can’t use normal<br />

standards or methods. This is the responsibility of both<br />

engineers and geologists. If the house is located in a<br />

mountain area, it is very likely that the columns will be<br />

of different heights. Such a structure comes at a higher<br />

risk for the building can collapse once hit by the quake,<br />

not to mention the issue concerning landslides. But even<br />

if the columns are all of the same height, topographic<br />

amplification of the land can also become an issue for<br />

it can cause severe damage once the earthquake strikes.<br />

The liquidated sand component of the soil is significantly<br />

problematic as well, particularly in the case of<br />

Chiang Rai, considering the area’s earthquake history.<br />

The foundation of the buildings constructed on such<br />

soil conditions need to be specially calculated while<br />

engineers, architects and building owners must be<br />

notified about the risk.<br />

ANY PLANS FOR FUTURE COLLABORATIONS<br />

BETWEEN ASSOCIATIONS?<br />

SS: Normally, we all have our own responsibilities and<br />

do our own part, but when under special circumstances<br />

such as this project, we can collaborate and help to find<br />

the solutions for problems together. This project will<br />

also help the general public to understand each association<br />

more in terms of our roles and responsibilities<br />

to the society. We’re helping the society and, in the<br />

meantime, it’s a chance for us to collectively develop<br />

our knowledge, experiences, and profession together.<br />

46 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & CEAT<br />

PRESIDENT OF THE CONSULTING<br />

ENGINEERS ASSOCIATION OF<br />

THAILAND [CEAT]<br />

SUPOTE LOHWACHARIN<br />

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทยมีบทบาท<br />

หนาที่อยางไรโดยทั่วไปในแงของวิชาชีพ ?<br />

สุพจน โลหวัชรินทร : สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาฯ มีสมาชิก<br />

มากกวา 90 บริษัท การทํางานใหบริการดานที่ปรึกษา<br />

ประกอบดวย งานศึกษาวางแผนโครงการ ออกแบบราย-<br />

ละเอียด และงานควบคุมและบริหารการกอสรางโครงการ<br />

พัฒนาดานตางๆ ใหกับหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน<br />

ทั้งสวนของงานโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน สะพาน ระบบ<br />

ระบายนํ้าและปองกันนํ้าทวม ฯลฯ และสวนที่เปนการ<br />

ออกแบบงานอาคารที่เราจะทํางานคู กับสถาปนิก หนาที่ของ<br />

วปท. จะแตกตางกับ สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ<br />

(วสท.) ซึ่งดูแลดานวิชาการเปนหลัก ดูแลองคความรูและ<br />

มาตรฐานทางวิศวกรรม สวนของวิศวกรที่ปรึกษาจะเปน<br />

การนําองคความรูดานวิชาชีพวิศวกรรมมาประยุกตใชใน<br />

ทางปฏิบัติ นอกเหนือจากการวางแผนงานทางดานวิศวกรรม<br />

แลวยังวิเคราะหเรื่องเศรษฐศาสตรและการเงินเพื่อดูความ<br />

คุมทุนของโครงการดวย<br />

เขามามีสวนรวมในโครงการนี้ไดอยางไร ?<br />

สุพจน : ทั้ง 4 สมาคมมีความรวมมือกันมานานแลว แต<br />

ครั้งนี้เปนครั้งแรกที่เห็นงานออกมาเปนรูปธรรมและสังคม<br />

มองเห็น ทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ เปนผูออกแบบรูป-<br />

ลักษณของอาคารโดยรวม วสท. ชวยในการออกแบบดาน<br />

โครงสราง วปท. ชวยในการวางแผนการจัดการงานกอสราง<br />

ตั้งแตเริ่มงานจนแลวเสร็จโดยประสานกับผูควบคุมงานที่<br />

อยูในทองถิ่น<br />

รูปแบบของการทํางานในกรณีนี้มีความแตกตาง<br />

จากงานทั่วไปอยางไร ?<br />

สุพจน : การวางแผนของเราเริ่มตนจากการลงไปดูพื้นที่<br />

ทั้งหมดกอน วาจะเขาถึงพื้นที่อยางไร เริ่มดําเนินการอยางไร<br />

หลังจากนั้นจะเหมือนกับการกอสรางทั่วไปที่เริ่มจากการ<br />

วางผังบริเวณกอสรางอาคาร งานฐานราก ไลขึ้นมาจนแลว<br />

เสร็จทั้งอาคาร แตความแตกตางคือเรื่องเวลา เนื่องจาก<br />

เปนโครงการเรงดวนเราจึงมองเรื่องเวลาเปนสําคัญ หาก<br />

ผูรับเหมาพรอม วัสดุพรอม งบประมาณพรอม ทุกอยางก็<br />

สามารถเริ่มตนไดและจะชวยรนระยะเวลาเทาที่จะทําได<br />

วปท. ไดมอบหมายใหอุปนายกดานวิชาการ ซึ่งเปนวิศวกร<br />

โครงสรางลงไปดูแลโรงเรียนทั้ง 9 แหง<br />

แนวโนมการทํางานรวมกันในอนาคตระหวาง<br />

สมาคมตางๆ เปนอยางไร ?<br />

สุพจน : เรารวมทํางานกันมานาน ซึ่งหลังจากนี้หากเกิด<br />

เหตุการณที่ตองเขาไปชวยเหลือ เราจะลงไปในพื้นที่รวมกัน<br />

เพื่อใหมีประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้นไมเกิดการทํางาน<br />

ซํ้าซอน เหมือนตอนชวงเกิดสึนามิที่ตางคนตางลงไปทํางาน<br />

ของตัวเองโดยที่ยังไมไดรวมมือกันเทาที่ควร แตจากนี้ไปเรา<br />

ตกลงกันแลววาจะทํางานรวมกัน โดยหลังจากที่เรามีจุดรวม<br />

เดียวกัน มีเปาหมายเดียวกันแลว สิ่งสําคัญที่ตองทําหลัง<br />

จากนี้คือการติดตามและประเมินผลวาในครั้งแรกที่เรา<br />

ลงไปทําแลว ติดขัดหรือมีปญหาอะไร ครั้งตอไปเราจะได<br />

แกไขใหเขาที่เขาทาง เพื่อในอนาคตหากเกิดเหตุการณที่<br />

ใหญกวานี้เราจะไดทํางานในสวนตางๆ ใหผิดพลาดนอย<br />

ที่สุด นี่คือสิ่งที่ทั้ง 4 สมาคมตองมาประเมินผลรวมกัน<br />

รวมถึงการรวมมือจากภาคประชาชน และหนวยงานที่<br />

เกี่ยวของตางๆ ซึ่งจะชวยใหการทํางานในภาพรวมครั้ง<br />

ตอๆ ไปสมบูรณมากขึ้น<br />

TEXT+PHOTO<br />

Warut Duangkaewkart<br />

48 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


สุพจน โลหวัชรินทร<br />

นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา<br />

แหงประเทศไทย (วปท.)<br />

WHAT ARE THE ROLES OF THE CONSULTING ENGI-<br />

NEERS ASSOCIATION OF THAILAND IN GENERAL ?<br />

SUPOTE LOHWACHARIN : Currently, the Consulting<br />

Engineers Association of Thailand has over 90 companies<br />

as our members. Mainly, our responsibility is to provide<br />

consulting services ranging from project planning and<br />

construction-related design to supervising construction.<br />

We’ve worked with both the governmental and private<br />

sectors in infrastructure construction, such as public<br />

roads and bridges, while there are other projects where<br />

we work collaboratively with architects. Our responsibilities<br />

are different from those of the Engineering Institute<br />

of Thailand, whose job is to oversee the overall academic<br />

aspect of the profession, including engineering standards<br />

and the body of knowledge. Our job involves the practical<br />

use of that knowledge and, in addition to construction<br />

planning, we also conduct economic and break-even<br />

analysis as well.<br />

HOW DID CEAT BECOME INVOLVED IN THE PROJECT ?<br />

SL : The cooperation between the four associations<br />

has always been continual, but this project is the first<br />

tangible collaboration that has been widely recognized<br />

by the general public. <strong>ASA</strong> oversees the design of the<br />

building in general while the Engineering Institute of<br />

Thailand helps with structural design. Our role in the<br />

project involves the planning of the project’s construction<br />

management, from the very beginning to the end.<br />

WHAT ARE THE THINGS THAT DIFFERENTIATE THIS<br />

PROJECT FROM OTHERS ?<br />

SL : The planning begins with surveying, estimating<br />

the level of accessibility and determining how the<br />

operation can proceed in the affected areas. Then<br />

it was pretty much like most construction projects,<br />

which begin from layout and foundation and then lead<br />

to other processes until everything is completed. The<br />

difference would be the issue of time. Since this is<br />

an urgent project, time management is critical. If the<br />

contractor, materials and budget were ready, everything<br />

could begin as planned, and we would be able<br />

to finish the project using the least amount of time<br />

possible. We have already assigned sub-committees<br />

to oversee all the nine schools.<br />

WHAT IS THE TENDENCY FOR FUTURE COLLABO-<br />

RATIONS BETWEEN ASSOCIATIONS ?<br />

SL : We’ve been working together for a long time. I think,<br />

in the future, if there are incidents that require our help<br />

and expertise, we should all get into the field together<br />

in order for the operation to be more efficient and collaborative.<br />

The responsibilities could then be effectively<br />

assigned and executed. The tsunami incident is an<br />

example of dedication without effective collaboration.<br />

The four associations now have a mutual agreement.<br />

We are now sharing the same goal. The important thing<br />

that needs to be done from now on is follow-up and<br />

evaluation, finding out about obstacles and problems<br />

in order to ensure that the process goes smoothly and<br />

create the least amount of mistakes possible. In the<br />

future, if something bigger comes up, we will then be<br />

able to handle it better. These things have to be evaluated<br />

collectively between the four associations. Cooperation<br />

from the public sector and other involved agencies is<br />

also important, as it will make the big picture in terms<br />

of future collaborations more complete.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 49


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & CEAT<br />

COMMITTEE OF<br />

THE THAI CONTRACTORS<br />

ASSOCIATION [TCA]<br />

SOMCHAI SANTINIPANON<br />

สมชัย สันตินิภานนท<br />

กรรมการสมาคมอุตสาหกรรม<br />

กอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Worarat Patumnakul<br />

บทบาทของสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ<br />

โดยทั่วไปเปนอยางไร ?<br />

สมชัย สันตินิภานนท : สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ<br />

เปนสมาคมที่คอยดูแลความเดือดรอนของผูประกอบการ<br />

การกอสรางหรือผูรับเหมา โดยเฉพาะผูรับเหมาที่ทํางาน<br />

ทางภาครัฐ เชน ปญหาเรื่องแรงงานขาดแคลน ปญหา<br />

เรื่องคาแรง ปญหาเรื่องของราคากลางของการกอสราง<br />

เราจะทําเรื่องที่เปนปญหาความเดือดรอนเสนอตอภาครัฐ<br />

เพื่อที่จะใหภาครัฐเขามาชวยเหลือหนวยงานตางๆ ใหเกิด<br />

ความถูกตอง นอกจากนั้นยังเปนผูดูแลในการจัดอบรม<br />

ระหวางผู ประกอบการตางๆ เพื่อเปนการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

ใหมๆ ใหเกิดองคความรู โดยทั่วกัน<br />

การเขามามีสวนรวมในโครงการที่จังหวัดเชียงราย ?<br />

สมชัย : อยางที่ทราบกันดีวาทั้ง 4 สมาคมเองนั้นมีการ<br />

ประชุมรวมกันทุกๆ 2 เดือน เพื่อที่จะพูดคุยเรื่องของวิชาชีพ<br />

อยูแลว ซึ่งพอเหตุการณที่เชียงรายเกิดขึ้นมา ทาง วสท.<br />

(สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ) และ วปท.<br />

(สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทยฯ) ไดลงไปสํารวจ<br />

พื้นที่แลวมีความคิดเห็นวาสมาคมทั้ง 4 นาจะเขามารวมมือกัน<br />

ชวยเหลือในครั้งนี้ดวยหลังจากที่ไดลงไปสํารวจพื้นที่แลว<br />

บทบาทของสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางฯ เปน<br />

อยางไร ?<br />

สมชัย : เราชวยในเรื่องของการประสานงานกับผู รับเหมาที่<br />

จะรับผิดชอบในการกอสรางโรงเรียนแตละแหง อยางเชน<br />

ผูรับเหมารายใหญอยาง ช.การชาง ก็ชวยเหลือในการ<br />

กอสรางอาคารของโรงเรียนบานทาฮอโดยไมมีคาใชจาย<br />

หรืออยางโรงเรียนดอยชางที่พื้นที่ตั้งอยูบนภูเขา ทําให<br />

เราตองใชผูรับเหมารายยอยในพื้นที่ซึ่งก็มีการชวยเหลือ<br />

ซึ่งกันและกัน ในปจจุบันเรามีการดําเนินในการกอสรางแลว<br />

จํานวน 7 โรงเรียน คือ 1. โรงเรียน อบต. เมืองพาน 2.<br />

50 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


โรงเรียนบานทาฮอ 3. โรงเรียนธารทองวิทยา 4. โรงเรียน<br />

บานหนองบัว 5. โรงเรียนโปงแพรวิทยา 6. โรงเรียนบาน<br />

ดอยชาง 7. โรงเรียนบานหวยสานยาว ยังคงเหลืออีก 2<br />

โรงเรียน คือ โรงเรียนบานทุงฟาผา และโรงเรียนชุมชน<br />

บานปากอดํา ซึ่งไดดําเนินการออกแบบแลวเสร็จ และ<br />

คาดวาจะดําเนินการกอสรางภายในสิ้นเดือนตุลาคม 25<strong>57</strong> นี้<br />

ทั้งนี้ในสวนของโรงเรียน 9 โรงเรียน ใชงบประมาณรวม<br />

ประมาณ 30 ลานบาท และไดรับการสนับสนุนโครงการนี้<br />

จาก ว.วชิรเมธี, ไทยพีบีเอส, บมจ. ช.การชาง, บางกอก<br />

แอรเวย, บมจ. บางจากปโตเลียม และผูบริจาคอื่นๆ ผาน<br />

กองทุนสถาปนิกสยาม ตลอดจนผู คาวัสดุตางๆ เปนตน<br />

อีกเรื่องหนึ่งที่ตอนนี ้เราดูแลและกําลังแกปญหาอยูคือ<br />

เรื่องของแรงงาน เพราะการที่เราไปกอสรางในทองถิ่นเรา<br />

พยายามที่จะทํางานกับชางในพื้นที่เพื่อใหเปนการชวยเหลือ<br />

ซึ่งกันและกัน แตเนื่องดวยชวงนี้เปนหนาฝนจะมีชางกอสราง<br />

บางสวนทํานาดวย ทําใหชางในพื้นที่จํานวนไมเพียงพอ<br />

รวมถึงแรงงานตางชาติสวนใหญที่เขามาทํางานจะมีความ<br />

เชี่ยวชาญในการกอสรางนอยทําใหการทํางานลาชาออก<br />

ไปอีก แตหลังจากหมดหนาฝนนาจะดีขึ้น แมวาจะลาชา<br />

ไปบางแตไมถึงกับเสียหายมากมายนัก<br />

การทํางานรวมกันในอนาคตระหวางสมาคมตางๆ ?<br />

สมชัย : จากปกติที่จะมีการประชุมทุกๆ 2 เดือนอยู แลว<br />

ซึ่งหากมีเหตุการณพิเศษทั้ง 4 สมาคมก็จะมารวมมือกัน<br />

เฉพาะกิจอีกครั้ง เพราะในดานวิชาชีพนั้นมีความเกี่ยวของ<br />

กันอยูแลวทั้งผูออกแบบ ผูควบคุมมาตรฐาน ผู ตรวจสอบ<br />

โครงสรางและผู กอสราง แตในปจจุบันปญหาที่เห็นไดชัดเจน<br />

เวลาเกิดเหตุการณขึ้นมาคือบุคลากรเราไมเพียงพอในการ<br />

ที่จะประสานงาน ดําเนินการตางๆ ซึ่งเปนปญหาที่คลายๆ<br />

กันของทุกสมาคม ที่งานมีมากกวาตัวบุคลากรที่จะเขามา<br />

ชวยเหลือ ซึ่งในอนาคตเราจะตองมีการพัฒนาในสวนนี้<br />

มากขึ้นไปอีก เพื่อใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

WHAT DID THE ASSOCIATION’S PARTICIPATION IN<br />

THE CHIANG RAI EARTHQUAKE RELIEF PROJECT<br />

INCLUDE ?<br />

SS : As you might already know, there is a meeting held<br />

every two months and the four associations continually<br />

participate in the discussion of professional issues. When<br />

the earthquake struck in Chiang Rai, the Engineering<br />

Institute of Thailand and the Consulting Engineers Association<br />

immediately surveyed the affected areas and<br />

their opinion was that all four associations should take<br />

part in the relief project.<br />

WHAT ARE THE ROLES OF THE THAI CONTRACTORS<br />

ASSOCIATION IN THE PROJECT ?<br />

SS : We help to coordinate with the contractors who<br />

will be responsible for the construction of the schools.<br />

The big names such as CH. Karnchang also stepped in<br />

and offered to help with the construction of Baan Tha Hor<br />

School free of charge. Doi Chang School, which is located<br />

in the mountain area, required service from local contractors,<br />

so it’s basically an example of everyone helping<br />

each other. We have now finished the construction of<br />

four schools: Baan Thar Hor, Thanthong Wittaya School,<br />

Phan District School, and Toong Fah Pha in Mae Sarouy<br />

District, where the foundation work has already begun.<br />

Other schools are in the final design process and respon<br />

sibilities are being assigned. In general, it’s an ongoing<br />

process.<br />

ANY PLANS FOR FUTURE COLLABORATIONS BETWEEN<br />

ASSOCIATIONS ?<br />

SS : Normally, we meet every two months for a meeting,<br />

but if there were an incident that required our collaboration,<br />

we’re ready to participate. The four associations are closely<br />

involved professionally anyway because we are a group<br />

of designers, standard controllers, structural inspectors<br />

and constructors. One very noticeable dilemma, especially<br />

during a significant incident, is insufficient human<br />

resources. We don’t have enough manpower to handle<br />

the operations and I think every association has the<br />

same problem. Our works have way exceeded the<br />

number of people working for us. Further development<br />

and solutions have to be done to resolve this particular<br />

issue allowing for greater efficiency of our operations<br />

and performances.<br />

WHAT ARE THE ROLES OF THE THAI CONTRACTORS<br />

ASSOCIATION IN GENERAL ?<br />

SOMCHAI SANTINIPANON : The Thai Contractors<br />

Association’s roles and responsibilities involve the super<br />

vision of contactors’ professional issues, especially<br />

contractors who work in the governmental sector. The<br />

problems include insufficiency of labor, standard prices<br />

of construction costs, labor costs, etc. We submit the<br />

problematic issues to the government in order for them<br />

to help these troubled agencies. We also oversee the<br />

organization of training for entrepreneurs in order to<br />

continue the development of new technologies and<br />

create a useful body of knowledge.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 51


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & D4D<br />

VIPAVEE KUNAVICHAYANONT<br />

วิภาวี คุณาวิชยานนท์<br />

ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายความคิด<br />

สร้างสรรค์เพื่อเตรียมพร้อม<br />

รับมือและจัดการกับภัยพิบัติ |<br />

Design for Disasters (D4D)<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

ที่มาของการก่อตั้งองค์กร Design for Disasters<br />

(D4D) ?<br />

วิภาวี คุณาวิชยานนท์ : เริ่มต้นจากความกลัวภัยพิบัติ<br />

ของเราเอง และเริ่มพูดคุยกับคนอื่นในการแลกเปลี่ยน<br />

ความคิดกัน ตั้งแต่เมื่อช่วงต้นปี 2553 จากนั้นจึงได้มี<br />

โอกาสทามาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน D4D เป็นเสมือนเครือข่าย<br />

ความคิดสร้างสรรค์เพื่อที่จะรับมือกับภัยพิบัติโดยร่วมมือ<br />

กับคนจากสาขาอาชีพต่างๆ นักออกแบบ อาจารย์ หรือ<br />

คนอาชีพทั่วๆ ไป เราพยายามที่จะสร้างความตระหนัก<br />

ถึงการรับมือภัยพิบัติต่างๆ ผ่านกระบวนการความคิด<br />

สร้างสรรค์ ซึ่งในช่วงที่ก่อตั้งเริ่มแรกนั้นคนทั่วไปก็ยังไม่ค่อย<br />

เข้าใจว่าสิ่งที่เราทาจะใช้ประโยชน์ได้จริงแค่ไหน เพราะ<br />

ช่วงนั้นเราเหมือนสร้างแนวความคิดเป็นหลัก แต่เมื่อเกิด<br />

น้าท่วมขึ้นเมื่อปี 2554 ประชาชนถึงเริ่มที่จะเข้าใจว่าภัย<br />

พิบัติไม่ใช่เรื่องไกลตัวแล้ว เราจึงได้เริ่มทาสื่อสร้างสรรค์<br />

ขึ้นมา ซึ่งรวมถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม ผลิตภัณฑ์<br />

ออกแบบสิ่งพิมพ์ และภาพยนตร์ สิ่งต่างๆ เหล่านี้เกี่ยวข้อง<br />

และนามาสื่อสารให้ความรู้กับคนทั่วไปได้อย่างดี<br />

หลังจากเกิดเหตุการณ์ที่เชียงราย D4D ได้<br />

เข้าไปช่วยแหลืออย่างไร ?<br />

วิภาวี : หลังจากเกิดแผ่นดินไหวทางทีม D4D ขึ้นไปที่<br />

จังหวัดเชียงรายทันที จากการลงไปสารวจพื้นที่ เริ่มแรก<br />

เราก็เห็นความเสียหายที่กระจายตัวออกไปทั้งบ้าน โรงเรียน<br />

วัด ซึ่งเรื่องของความแข็งแรงของอาคารก็ยังไม่สามารถวัดได้<br />

เพราะอาคารมีรอยแตกจานวนมาก เราจึงเข้าไปดูว่าส่วน<br />

ไหนมีหน่วยงานเข้าไปช่วยเหลือบ้างแล้ว ส่วนไหนยังไม่มี<br />

เราจึงเข้าไปสนับสนุนตรงนั้นเราเลือกที่จะเข้าไปช่วยเหลือ<br />

โรงเรียน เพราะเราเชื่อว่าโรงเรียนเป็นเสมือนจุดศูนย์กลาง<br />

ชุมชนที่สาคัญอีกแห่งหนึ่ง เราช่วยทั้งเด็กนักเรียน อาจารย์<br />

ผู้ปกครอง อีกเหตุผลสาคัญคือเรามองว่าเด็กคืออนาคตที่<br />

สาคัญถ้าเราสร้างให้เขาเห็นถึงความสาคัญตรงนี้เมื่อเขาโต<br />

ขึ้นมาเขาจะมีความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งการคัดเลือกโรงเรียน<br />

เราใช้วิธีปากต่อปากในการสอบถามข้อมูลและความเสียหาย<br />

เราไปที่โรงเรียนแรกแล้วเจอกับผู้อานวยการ จากนั้น<br />

อาจารย์จะสอบถามหรือบอกต่อกันเองว่าที่ไหนเสียหาย<br />

มากน้อยเพียงใด<br />

01<br />

52 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


01 รอยแยกที่เกิดจากแผนดิน-<br />

ไหว ณ โรงเรียนบานทุงฟาผา<br />

อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย<br />

ความคืบหนาและอุปสรรคของโครงการนี้ ?<br />

วิภาวี : ความจริงในการกอสรางเพื่อภัยพิบัติจะตองการ<br />

ความรวดเร็วเปนหลัก แตในกรณีนี้เนื่องดวยที่เปนอาคาร<br />

เพื่อตานทานแผนดินไหวเราจึงตองทําการออกแบบใหดี<br />

เปนพิเศษ เมื่อสถาปนิกออกแบบเสร็จแลวก็สงตอใหสมาคม<br />

วิศวกรรมสถานชวยดูเรื่องโครงสราง และขั้นตอนการ<br />

ประเมินราคาที่ทางสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาเขามาชวยเหลือ<br />

กอนที่จะประสานไปยังผู รับเหมา จึงใชเวลานานพอสมควร<br />

ในการดําเนินการแตละขั้นตอน นอกจากนั้นก็จะเปนเรื่อง<br />

ของเงินทุนที่เราไดรับจากการบริจาคอยางเดียว ทําใหไม<br />

สามารถดําเนินการไดทั้งหมดในทันที ซึ่งเรามองวาเปน<br />

ความทาทายมากกวาปญหา เหมือนกับการทํางานในชวง<br />

แรกๆ ที่สถาปนิกที่เขามาชวยออกแบบทั้งหมดจะอยูที่<br />

กรุงเทพฯ ยังไมไดขึ้นไปดูความเสียหายจริงในสถานที่จริง<br />

เราจะเปนคนประสานนํารายงานความเสียหาย สิ่งที่ทาง<br />

แตละโรงเรียนตองการ ภาพสถานที่ตั้งอาคารตางๆ เพื่อให<br />

สถาปนิกเขาใจและทํางานไดงายที่สุด เพราะในชวงสัปดาห<br />

แรกเราทํางานกันผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งทางสถาปนิกเอง<br />

ก็ตั้งใจชวยเหลือกันเปนอยางดี<br />

อยากใหชวยพูดถึงตัวอยางงานที่มีรายละเอียด<br />

ที่นาสนใจ ?<br />

วิภาวี : อยางโรงเรียนหลังแรกที่เริ่มกอสรางกอนคือโรงเรียน<br />

บานทาฮอ ที่ออกแบบโดยคุณกรรณิการ รัตนปรีดากุล ซึ่ง<br />

ทาง ช.การชาง นั้นเขามาชวยเหลือในดําเนินการกอสราง<br />

ทั้งหมดโดยไมคิดคาใชจาย ซึ่งอาคารเรียน 4 ชั้นเดิมนั้น<br />

ไดรับความเสียหายทั้งหลัง ซึ่งหลังจากผานกระบวนการ<br />

ออกแบบแลวกอนที่จะเริ่มกอสรางก็พบเจอปญหาอีกใน<br />

ขั้นตอนการตรวจสอบดิน เพราะเมื่อทดสอบแลวปรากฏ<br />

วามีนํ้าใตดินทําใหตองมีการคํานวนเพื่อเพิ่มความลึกของ<br />

ฐานรากลงไปอีก คาใชจายก็เพิ่มมากขึ้นไปอีก หรืออยาง<br />

โครงการที่โรงเรียน อบต. พานที่ออกแบบโดย คุณสุริยะ<br />

อัมพันศิริรัตน จะมีความนาสนใจตรงที่แนวความคิดตอ-<br />

ยอดมาจากบานพอดี พอดี ที่จะยึดการใชวัสดุที่กอสราง<br />

งายและเหลือเศษจากการกอสรางนอยที่สุด ซึ่งเปนระบบ<br />

โครงสรางเหล็ก ผนังวีวาบอรด และหลังคาเมทัลชีท ซึ่ง<br />

เปนระบบกอสรางแบบโมดูลารทําใหการกอสรางงายและ<br />

ไว ซึ่งแนวความคิดนี้ก็ถูกนําไปใชกับอีก 8 โรงเรียนดวย<br />

ซึ่งตางถูกนําไปพัฒนาและมีความนาสนใจแตกตางกันออกไป<br />

สิ่งที่ไดรับจากการทําโครงการ ‘ซอมสราง บาน<br />

วัด โรงเรียน ในพื้นที่ประสบภัยแผนดินไหว<br />

จังหวัดเชียงราย’ ?<br />

วิภาวี : หลังจากที่เรียนจบปริญญาโททางดานสถาปตย-<br />

กรรมมา นี่เปนครั้งแรกที่ไดมาลองทําอาคารจริงๆ ซึ่งดีมาก<br />

ที่เราไดเจอกับคนหลายๆ ฝาย ทั้งสถาปนิก ผูอํานวยการ<br />

โรงเรียน อาจารย นักเรียน วิศวกร ผู รับเหมา ชางกอสราง<br />

รวมถึงผูผลิตวัสดุอุปกรณตางๆ ที่เขามาชวยสนับสนุนเรา<br />

ซึ่งการเจอกับคนมากมายก็ทําใหเราไดเรียนรูเพิ่มขึ้นอยาง<br />

โครงการโรงเรียนพอดี พอดี ไมใชวาเราจะไดเพียงอาคาร<br />

เรียนที่สวยงาม 9 หลังเทานั้น แตเรายังมองเห็นถึงจิตอาสา<br />

ของสถาปนิก วิศวกร ผู รับเหมาและอีกหลายๆ ฝายที่เต็มใจ<br />

เขามาชวยเหลือตรงนี้ดวยเหมา รวมถึงผูผลิตวัสดุอุปกรณ<br />

ตางๆ ที่เขามาชวยสนับสนุนเรา ซึ่งการเจอกับคนมากมายก็<br />

ทําใหเราไดเรียนรู เพิ่มขึ้น อยางโครงการโรงเรียนพอดี พอดี<br />

ไมใชวาเราจะไดเพียงอาคารเรียนที่สวยงาม 9 หลังเทานั้น<br />

แตเรายังมองเห็นถึงจิตอาสาของสถาปนิก วิศวกร ผู รับเหมา<br />

และอีกหลายๆ ฝายที่เต็มใจเขามาชวยเหลือตรงนี้ดวย<br />

สิ่งที่ D4D มองสําหรับการเตรียมพรอมการ<br />

รับมือภัยพิบัติในอนาคตเปนอยางไร ?<br />

วิภาวี : ภัยพิบัติมีอยู หลายชนิดแตกตางกันออกไปตามพื้นที่<br />

นํ้าทวม แผนดินไหว ซึ่งก็จะมีแนวโนมที่จะเกิดบอยขึ้น<br />

เราพยายามที่จะชวยใหคนพึ่งพาตนเองไดดวยความคิด<br />

สรางสรรคภายในตัวของเราเอง เพราะเมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้น<br />

จริงๆ ดวยเวลา 1-2 วันก็เกิดความเสียหายมากมายแลว<br />

ถาจะตองรอภาครัฐหรือเอกชนเขาไปชวยเหลือจริงๆ อาจจะ<br />

ไมทัน แตถาเรามีความคิดสรางสรรค ความรูและทักษะ<br />

พื้นฐานในการรักษาชีวิตรอด รวมถึงมีจิตสํานึกเพื่อสวนรวม<br />

เราก็สามารถที่จะชวยเหลือตัวเองและคนรอบขางในเบื้อง-<br />

ตนได สิ่งสําคัญอีกสิ่งหนึ่งคือการเตรียมพรอมและทําความ<br />

เขาใจ เพราะเราไมสามารถรูไดวาจะมีอะไรเกิดขึ้นเมื่อไหร<br />

ซึ่งการเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติไมใชหนาที่ของสถาปนิก<br />

เทานั้น ไมวาใครก็สามารถที่จะใชความคิดสรางสรรคของ<br />

ตนเองมาประยุกตใชในการชวยเหลือเรื่องเหลานี้ได การ<br />

ออกแบบกราฟก การทํางานสื่อความรูตางๆ หรือความคิด<br />

ของคนทั่วไปก็สามารถกลายมาเปนความคิดสรางสรรคใน<br />

การชวยเหลือไดไมวาทางตรงหรือทางออมก็ตาม<br />

สิ่งที่อยากฝากถึงสถาปนิกหรือนักออกแบบ ?<br />

วิภาวี : อยากจะฝากวาวิชาชีพสถาปนิกมีความสําคัญมาก<br />

และเราสามารถชวยอะไรสังคมไดเยอะ อยางโครงการนี้<br />

เราก็อยากใหเปนตัวอยางที่ดีในการชวยเหลือสังคม ซึ่งใน<br />

อนาคตเราก็หวังวาจะมีจิตอาสาเขามาชวยเหลือสังคมมาก<br />

ขึ้นโดยอาจจะไมตองรอใหเกิดภัยพิบัติก็ได<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 53


located. At the first school we met the director and<br />

teachers, who later informed us of the damages and<br />

advised us as to where help was needed.<br />

COULD YOU TALK ABOUT THE BEGINNING OF<br />

DESIGN FOR DISASTERS ?<br />

VIPAVEE KUNAVICHAYANONT : Design for Disasters<br />

first started in 2010 as a result of my fear for disasters<br />

and, as I began to share my ideas with other people,<br />

everything just sort of took off from there. Today, D4D<br />

acts as a creative network for disaster relief with help<br />

and contributions from people of different professions<br />

such as designers, college professors, etc. We’ve tried<br />

to create awareness regarding the importance of preparedness<br />

for disasters through the creative process.<br />

At first, the general public didn’t quite understand what<br />

we were trying to do and how practical it could be,<br />

perhaps because everything was still pretty much an<br />

abstract concept at that time, but the big flood in 2011<br />

made people realize the impact that a disaster can have<br />

on their lives and how it could happen to any one of us.<br />

We’ve come up with different forms of creative media,<br />

which encompass the fields of architecture, product,<br />

graphic design and film. These things are relatable and<br />

can be used to effectively communicate knowledge to<br />

the general public.<br />

WHAT WAS YOUR ROLE AFTER THE EARTHQUAKE<br />

STRUCK IN CHIANG RAI ?<br />

VK : After the earthquake struck, we immediately<br />

organized a team and traveled to Chiang Rai. We surveyed<br />

the area and found that the dispersion of effects of the<br />

quake had damaged a great number of houses, schools<br />

and temples. Buildings’ strengths weren’t measurable<br />

at the time because the cracks were numerous. Our<br />

role was to work in support with other agencies, helping<br />

the areas that hadn’t received help. We took part in<br />

the restoration of schools because we think they are an<br />

important institution within a local community. We’ve<br />

helped the students, teachers and parents as well.<br />

Another major reason is that we want the kids to grow up<br />

having an awareness and knowledge about the matter<br />

because children are the future of the nation and they<br />

are the people who can really make a difference. We<br />

talked with people in the area and obtained information<br />

about where the schools affected by the quake were<br />

02<br />

02 ความเสียหายที่เกิดจาก<br />

แผนดินไหว ณ โรงเรียนบาน<br />

ทุงฟาผาอําเภอแมสรวย จังหวัด<br />

เชียงราย<br />

03 ความเสียหายที ่เกิดจากแผนดิน-<br />

ไหว ณ โรงเรียนโปงแพรวิทยา<br />

อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย<br />

04 วัดและพระพุทธรูปพังเสียหาย<br />

จากแผนดินไหว ณ วัดอุดมวารี<br />

อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย<br />

<strong>05</strong> บานเรือนพังเสียหายจาก<br />

แผนดินไหว ในหมูบานหวยสาน-<br />

ยาว ตําบลดงมะดะ อําเภอแมลาว<br />

จังหวัดเชียงราย<br />

COULD YOU TALK ABOUT THE PROGRESS AND ANY<br />

OBSTACLES ?<br />

VK : Construction taking place during the time of a<br />

disaster has to be quick in terms of process. But, for this<br />

particular case, since it’s the constriction of earthquake<br />

resistant buildings, the design has to be carefully and<br />

specially executed as well. When the architect finalized<br />

the design, we sent it over to the Engineering Institute<br />

of Thailand to oversee the structural model whereas the<br />

Consulting Engineers Association of Thailand stepped in<br />

and helped with the estimation of construction costs<br />

and finding of a suitable contractor. It took a considerable<br />

amount of time for the process to progress. There was<br />

also an issue concerning the budget, which came solely<br />

from donations, so everything couldn’t be done all at<br />

once. But we think of it as a challenge rather than a<br />

problem. It was like in the beginning when most of the<br />

architects working on the project were in Bangkok and<br />

didn’t have a chance to see the real site, so we worked<br />

as a mediator, providing information about the scale and<br />

details of the damages, what each school wanted. We<br />

sent over images of the buildings so that the architects<br />

could get a better picture of what they were working on,<br />

making the work easier for them. During the first week,<br />

the work was all done online but everyone was very<br />

determined to help.<br />

COULD YOU GIVE AN EXAMPLE OF ANY INTERESTING<br />

DETAILS OF THE WORK ?<br />

VK : The first school we worked with was Baan Tha Ho<br />

School, which had Kanika Ratanapridakul working as<br />

the project’s architect and CH. Karnchang helping with<br />

the entire construction. Everything was 100% free of<br />

charge. The original four-story building of the school was<br />

severely damaged so, after the design was finalized and<br />

the construction was about to begin, we came across<br />

another issue following the soil inspection. The results<br />

showed that there was underground water, so we had<br />

to recalculate and increase the depth of the foundation,<br />

which naturally made the construction costs even higher.<br />

There was another project at Phan district, which had<br />

Suriya Umpansiriratana overseeing the design. The interesting<br />

thing about the project was how it is actually the<br />

ramification of Por Dee Por Dee House, which highlights<br />

the use of materials that are easy for construction and<br />

a structure designed to create the least amount of scrap<br />

as possible. With the modular system of the design,<br />

which consists of a steel structure, viva board wall and<br />

a metal sheet roof, the construction was easy and fast.<br />

The idea from the design has been developed and<br />

applied to the other eight schools we worked on as well.<br />

54 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


03<br />

<strong>05</strong><br />

WHAT DID YOU TAKE AWAY FROM THE<br />

EXPERIENCE OF WORKING IN THE DISASTER<br />

AREAS OF CHIANG RAI ?<br />

VK : Since I received my master’s in architecture, this<br />

was the first time I had the opportunity to work hands<br />

on with real buildings. It was a great experience meeting<br />

people from different sectors, both inside and outside<br />

of the industry, ranging from the school’s directors and<br />

teachers, students and engineers to the contractors<br />

including the manufacturers of tools and materials that<br />

we used in the project. All have been such great sources<br />

of support and we learned so many things through meeting<br />

them. Take Por Dee Por Dee School for example,<br />

the results are not only nine beautiful buildings, but also<br />

the chance to witness and be a part of the dedication of<br />

the architects, engineers, contractors and many other<br />

involved parties who voluntarily invested their time and<br />

effort to help with the project.<br />

04<br />

HOW DOES D4D SEE THE FUTURE OF THE COUNTRY’S<br />

DISASTER PREPAREDNESS ?<br />

VK : There are different types of disasters varying in<br />

different areas, be it flood or earthquake, and there’s<br />

the tendency for them to become increasingly more<br />

frequent than ever. Our attempt is to help people learn<br />

to depend on themselves using their own creativity. In<br />

reality, when disaster strikes, the most tremendous<br />

damage will happen over a period of only 1-2 days.<br />

Waiting for help from the governmental or private sector<br />

might take too long and come too late. If people up hold<br />

a good sense of public awareness, and everyone learns<br />

to utilize his or her own creativity in the right way, we can<br />

help ourselves and others, even if it is just something<br />

very fundamental. Another important thing is the preparedness<br />

and understanding, because we can’t really<br />

know for sure what’s going to happen next. Preparing<br />

for a disaster is not the role and responsibility of architects<br />

alone. Anybody can and should do it. We can use<br />

our creativity to help ourselves and others, whether<br />

through graphic design, information graphics or other<br />

media. Creativity can be developed from anybody’s ideas<br />

and it has the ability to help, both directly and indirectly.<br />

ANY WORDS FOR ARCHITECTS AND DESIGNERS<br />

OUT THERE ?<br />

VK : Architecture is a profession with significant potential<br />

and we can do so many things for the society. This<br />

project is a good example of what we are capable of.<br />

We hope to see more architects volunteering in the<br />

future. You don’t have to wait for a disaster to happen<br />

to start doing something.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 55


POST-DISASTER<br />

RESPONSE & <strong>ASA</strong> LANNA<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION<br />

[LANNA], <strong>ASA</strong><br />

ADUL HERANYA<br />

อดุลย เหรัญญะ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกลานนา<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

จากเหตุการณที่เกิดขึ้นสมาคมสถาปนิกลานนา<br />

มีบทบาทในการชวยเหลืออยางไรบาง ?<br />

อดุลย เหรัญญะ : จากความเสียหายทั้งหมด สวนที่สมาคม<br />

สถาปนิกฯ เขาไปรับผิดชอบนั้นประกอบดวยโรงเรียน 9 หลัง<br />

บาน 9 หลัง และวัด 2 แหง ในสวนของสมาคมสถาปนิก<br />

ลานนาฯ นั้นไดเขาไปดูแลในสวนของการบูรณะและซอมแซม<br />

วัดที่เสียหายในพื้นที่ โดยจํานวนวัดที่เสียหายทั้งหมดนั้น<br />

มีอยูกวา 60 แหง ซึ่งสมาคมสถาปนิกลานนาฯ เองคงไม<br />

สามารถเขาไปชวยเหลือไดทั้งหมด เราจึงเลือกที่จะทําวัด<br />

ตนแบบ 2 แหง ซึ่งหากสําเร็จนาจะสงผลดีตอวัดอื่นๆ และ<br />

สงผลไปถึงหนวยงานอื่นๆ ที่อาจเห็นคุณคาของวัดที่ยังไม<br />

ไดบูรณะ ทําใหหนวยงานอื่นๆ อยากเขาไปชวยเหลือบาง<br />

ซึ่งหากเราไมเขามารับผิดชอบในสวนนี้หรือไมใชความรู<br />

เชิงชางและเชิงสถาปตยกรรมมาสรางตัวอยางงานการบูรณะ<br />

อาคารที่ดี แลวปลอยใหเกิดการบูรณะแบบลองผิดลองถูก<br />

อาจสงผลใหภาพรวมของวัดตางๆ อีกกวา 50 แหงที่จะ<br />

ถูกบูรณะอยางผิดพลาดไปหมด ซึ่งจะทําใหการสนับสนุน<br />

นอยลงไปดวย<br />

การลงพื้นที่ของสมาคมฯ พบเจอปญหาอะไรบาง ?<br />

อดุลย : หลังจากเกิดเหตุการณแผนดินไหวเราไดลงไป<br />

ดูในพื้นที่ทันที ซึ่งในชวงแรกเปนการไปดูภาพรวมของ<br />

ความเสียหายตางๆ ซึ่งเมื่อมีความชวยเหลือตางๆ มากขึ้น<br />

จึงเห็นวาประเภทอาคารที่มีหนวยงานชวยเหลือมากที่สุดคือ<br />

บานเรือน รองลงมาคือสถานศึกษา กลาวคือความชวยเหลือ<br />

มักมุงเนนไปยังที่อยูอาศัยและการใชงานที่สําคัญกอนโดย<br />

มีหนวยงานทั้งรัฐบาลและเอกชนเขาไปชวยเหลือจํานวนมาก<br />

แลวจึงมาเปนวัด ทางสมาคมสถาปนิกลานนาฯ จึงสนใจที่<br />

จะมาดูแลในสวนของวัดตามความถนัดของเรา<br />

รูปแบบของการทํางานเปนอยางไร ?<br />

อดุลย: เราลงพื้นที่เอง คุยกับเจาอาวาส คุยกับชาวบาน<br />

ในพื้นที่วัดทั้ง 2 แหง คือ วัดดงมะเฟองและวัดแมลาววนาราม<br />

(วัดดอยหมอ) ซึ่งมีความเสียหายที่แตกตางกัน ในกรณีของ<br />

วัดดงมะเฟอง ไดรับความเสียหายแทบจะทั้งหมดของจํานวน<br />

อาคารที่มีอยู ทั้งวิหาร กุฏิ ศาลารายหรือศาลาบาตร รวม<br />

ไปถึงหองนํ้าก็มีความเสียหายแทบทั้งหมด สวนวัดแมลาว-<br />

วนารามเสียหายเฉพาะอาคารหลังใหญ คือหลังคาวิหาร<br />

โถงพังลงมาทั้งหมดเหลือเพียงเสาและสวนที่เปนโครงสราง<br />

รูปแบบของการซอมแซมของวัดดงมะเฟอง ทางสมาคม<br />

สถาปนิกลานนาฯ จึงขอเขาไปสรางเฉพาะกุฏิตนแบบให<br />

กับทางวัด ซึ่งเปนกุฏิเจาอาวาสใชงบประมาณ 650,000<br />

บาท สวนอาคารอื่นๆ นั้นเราสงทีมเขาไปสํารวจออกแบบ<br />

อาคาร และวางมาสเตอรแพลนใหมทั้งหมด เปนโอกาสที่<br />

จะวางตัวอาคารใหถูกตองตามพุทธศาสนาของลานนา ซึ่ง<br />

เมื่อทํากุฏิเสร็จนาจะเปนอานิสงคใหคนมาเห็น รับทราบและ<br />

รวมบริจาค เพื่อที่จะนําเงินไปสรางในสวนอื่นๆ ที่เราออกแบบ<br />

เตรียมไวใหตอไป สวนในการซอมแซมวัดแมลาววนาราม<br />

ทางสมาคมสถาปนิกลานนาฯ ไดเขาไปชวยเหลือในการ<br />

ออกแบบวิหารโดยเฉพาะสวนหลังคา ซึ่งเปนอาคารขนาด<br />

คอนขางใหญใชงบประมาณ 1.5 ลานบาท ซึ่งเราเริ่มได<br />

รับงบประมาณและการสนับสนุนจากรานคาวัสดุเพิ่มขึ้น<br />

เรื่อยๆ ซึ่งเมื่อถึงเกณฑจะเริ่มกอสรางทันที<br />

56 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


01<br />

สิ่งที่ไดรับหรือผลที่คาดหวังจากโครงการนี้ ?<br />

อดุลย: หลักของการทํางานครั้งนี้ของสมาคมสถาปนิก<br />

ลานนาฯ เปนเปาหมายเดียวกับสมาคมสถาปนิกสยามฯ คือ<br />

ตองการที่จะทํางานเพื่อสังคมมากขึ้น ครั้งนี้เปนโอกาสที่ดีที่<br />

เราไดมีโอกาสเขาไปทํา สิ่งที่ไดกลับมานาจะเปนการยอมรับ<br />

และเปนการยกระดับของสถาปนิกภูมิภาคไดเปนอยางดี ซึ่ง<br />

ถาในครั้งนี้เราทําออกมาไดดี ผมมองวาในอนาคตหากชาวบาน<br />

ตองการที่จะสรางบาน หรืออาคารหลังใหมๆ ขึ้นมาสิ่งแรก<br />

ที่เขาตองมองหาคือสถาปนิก ไมใชไปจางชางพื้นถิ่น หรือ<br />

ใครที่ไมมีประสบการณ ซึ่งจากเหตุการณในครั้งนี้ ผมเชื่อ<br />

วาความเสียหายที่เกิดขึ้นกวารอยละ 50 เกิดจากการที่<br />

ออกแบบไมไดมาตรฐาน ซึ่งอาจจะเปนเพราะปจจัยหลายๆ<br />

อยาง ผมมองวาในอนาคตเขาจะเห็นความสําคัญในเรื่อง<br />

เหลานี้ ในมุมของสถาปนิกเองก็เชนกัน ผมมองวาสถาปนิก<br />

เรามีจิตอาสายังไมมากนัก อยากใหงานในครั้งนี้หรือใน<br />

ลักษณะนี้ทําใหสถาปนิกที่เห็นไดตระหนักถึงความสําคัญ<br />

ในเรื่องเหลานี้มากขึ้นดวย<br />

01-02 วัดดงมะเฟอง<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> <strong>57</strong>


03<br />

WHAT ARE THE ROLES AND PARTICIPATION OF <strong>ASA</strong><br />

LANNA IN THE RELIEF PROJECT ?<br />

ADUL HERANYA : The association is responsible for<br />

nine schools, nine houses and two temples. <strong>ASA</strong> Lanna<br />

takes part in the restoration of temples damaged by<br />

the quake. There were over 60 temples affected by the<br />

incident and we won’t be able to have our hands on<br />

every single one of them; therefore, we intend for two<br />

temples to serve as the model projects and hope that<br />

other organizations will acknowledge the importance of<br />

the restoration and offer their help. It’s important for us<br />

to set the right example so that the future reconstruction<br />

can be done properly. Otherwise, the 50 remaining<br />

unrestored temples could be affected by the employment<br />

of wrong methods and approaches of architectural restoration,<br />

consequentially influencing the future support<br />

the temples would receive.<br />

04<br />

WHAT ARE THE OBSTACLES THAT THE ASSOCIATION<br />

HAS COME ACROSS WORKING IN THE FIELD ?<br />

AH : We immediately surveyed the affected areas right<br />

after the earthquake struck. We initially observed the<br />

damage and noticed that most of the support went to<br />

houses and schools, which I think is a matter of managing<br />

the support to be allocated where needed the most<br />

during a time of crisis. In this case, a house is a living<br />

unit while a school is an important institution within a<br />

community. Since there have already been overwhelming<br />

support from both the governmental and private sectors<br />

in the reconstruction of houses and schools, <strong>ASA</strong> Lanna<br />

took on temple restoration as our responsibility using<br />

our professional skills and knowledge.<br />

58 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


WHAT IS THE WORKING PROCESS LIKE ?<br />

AH : We got into the field and talked to the locals from<br />

the communities near Dong Mafueng temple and Mae<br />

Lao Naram (Doi Mor) temple. The damage was different<br />

for each temple. Almost all of the buildings at Dong<br />

Mafueng temple were damaged, the church, monks’<br />

cells, communal pavilions and the entire roof structure of<br />

the cathedral collapsed leaving out only the main column<br />

structure. With the budget that we had (THB 650,000),<br />

<strong>ASA</strong> Lanna constructed a model monk cell. We also sent<br />

in a team of architects to inspect and redesign the buildings<br />

including the temple’s master plan following the<br />

architectural principle of Lanna Buddhism. We intend<br />

for the model monk’s cell to be representative of the<br />

restoration project and hope that when people see what<br />

we’re trying to do, more donations will be made. The<br />

money will be used in the future reconstruction of other<br />

buildings we have designed for the temple as well. As<br />

for Mae Lao Naram (Doi Mor) temple, <strong>ASA</strong> Lanna helped<br />

with the restoration of the roof structure of the cathedral.<br />

Since it’s a large structure, the construction cost is pretty<br />

high at 1.5 million baht. We are now putting together<br />

the budget and support from retailers and suppliers<br />

of construction materials so that once we reach the set<br />

out financial plan, we can begin the construction<br />

immediately.<br />

03-04 วัดแมลาววนาราม<br />

WHAT HAS <strong>ASA</strong> LANNA GAINED OR EXPECTED<br />

FROM THE PROJECT ?<br />

AH : <strong>ASA</strong> Lanna works under the same objective with<br />

the Association of Siamese Architects and that is to be<br />

more engaged in social contribution projects. The earthquake<br />

incident is a chance for us to do just that and our<br />

participation is widely recognized. I consider this as<br />

another development in the role of the regional architects<br />

association. If we do it right this time, in the future, when<br />

people are looking to build a house, what they will be<br />

looking for is an architect instead of hiring local workmen<br />

or some inexperienced contractors. 50% of the damages<br />

from this incident stem from unstandardized construction<br />

and, while it may also be the result of many influencing<br />

factors, I personally believe that people will acknowledge<br />

the importance of the architect in the future. In the<br />

meantime, there is still only a limited number of architects<br />

volunteering in projects like this, so hopefully, this incident<br />

will make the members of the architecture community<br />

realize the importance and capability of our profession<br />

in social contribution projects more.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 59


TAHN THONG<br />

ELEMETARY SCHOOL<br />

PHAN CHIANG RAI<br />

CHAT ARCHITECTS<br />

02<br />

60 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


01<br />

5<br />

1 1<br />

1 1<br />

TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

2<br />

2<br />

4<br />

4<br />

3<br />

3<br />

ARCHITECT<br />

Chatpong<br />

Chuenrudeemol +<br />

CHAT architects<br />

น 1-2717<br />

CONTRACTOR<br />

Somsak Thepabut<br />

ENGINEER<br />

Sarawut Yuanteng<br />

BUDGET<br />

3,000,000 Bahts<br />

2 M<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Kindergarten<br />

2 Class room (Grade 1)<br />

3 Class room (Grade 2)<br />

4 Playground<br />

5 WC<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 61


03<br />

โรงเรียนธารทองวิทยา (ปารวก)<br />

หองเรียนขนาด 6x9 เมตร 4 หอง ถูกแบงออกเปน<br />

อาคารเรียน 2 หลัง ที่ตั้งขนาบตนลําใยที่มีอยู เดิมในพื้นที่<br />

ตนไมทําหนาที่ใหรมเงาแกตัวอาคาร และเชื่อมโยงพื้นที่<br />

ทั้ง 2 อาคารเขาไวดวยกัน เปนเสมือนพื้นที่อเนกประสงค<br />

ใชทํากิจกรรมหรือเปนสถานที่วิ่งเลนของนักเรียน ผนวกกับ<br />

การออกแบบทางเดินใหมีความกวางถึง 2.4 เมตร เพื่อเพิ่ม<br />

ความรูสึกโอบอุมและปลอดภัยจากระดับพื้นอาคารที่ยก<br />

ขึ้นมา 30 เซนติเมตร นอกจากนี้ผนังภายนอกระหวางทั้ง<br />

2 อาคารยังมีการติดตั้งกระดานดําเพื่อที่ครูสามารถใชเปน<br />

พื้นที่สอนนักเรียนนอกหองเรียนได แมวาอาคารถูกแบง<br />

ออกเปน 2 สวน แตบริเวณหนาหองเรียนแตละหองจะมีการ<br />

ติดตั้งบอรดเพื่อใหนักเรียนสามารถมาจัดแสดง แลกเปลี่ยน<br />

ความรูหรือสรางการแขงขันและความกระตือรือรนในการ<br />

แสดงออกมากขึ้น ภายนอกอาคารเลือกใชสีเขียวอมนํ้าเงิน<br />

ที่เปนสีเดียวกันอาคารเดิมในโรงเรียน สวนดานหนาของ<br />

อาคารนั้นมี Learning Wall ที่เปดใหนักเรียนมาเรียนรู<br />

การปลูกไมเลื้อยพันธุตางๆ เชน ตําลึง ฟก แตงกวา ที่<br />

สามารถนํามาประกอบเปนอาหารกลางวันได รวมถึงชวยใน<br />

การกรองฝุ นของลมประจําฤดูที่พัดเขามาในหองเรียนดวย<br />

TANTTIANG WITTAYA SCHOOL, PHAN DISTRICT<br />

The four 6x9 m. classrooms of Tharntang Wittaya<br />

School have been divided into two buildings situated in a<br />

parallel fashion with the existing Longan trees. With such<br />

a spatial orientation, the overshadowing timbers naturally<br />

provide shade for the buildings. The greenery and the<br />

space underneath also physically link the two architectural<br />

masses together while functioning as the school’s activity<br />

grounds at the same time. A 2.4-meter wide walkway<br />

was designed to create a sense of protection and security<br />

from the 30-centimeter height of the elevated floor.<br />

Blackboards are installed directly on the exterior walls of<br />

the two buildings that can therefore be used for outdoor<br />

classrooms, exhibition spaces or other activities. The<br />

blue-green color of the original building was incorporated<br />

in with the new structures, while the Learning Wall at<br />

the front of the school provides a space where students<br />

can learn to grow different species of edible crawling<br />

plants that can later be cooked for lunch. The green wall<br />

also helps to filter the dust from seasonal winds from<br />

entering into the classrooms as well.<br />

01-02 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

ธารทองวิทยา (ปารวก) อําเภอ<br />

พาน จังหวัดเชียงราย<br />

62 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


PONG PHRAE<br />

WITTHAYA SCHOOL<br />

MAE LAO CHIANG RAI<br />

DEPARTMENT OF ARCHITECTURE<br />

TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

ARCHITECT<br />

Department<br />

of ARCHITECTURE<br />

น 1-0220<br />

ENGINEER<br />

Paisan Phontphai<br />

BUDGET<br />

3,639,396 Bahts<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 63


โรงเรียนโปงแพรวิทยา อําเภอแมลาว<br />

สถาปนิกเริ่มตนแนวความคิดแบบพอดีพอดีที่ใช<br />

โครงสรางเหล็กและวัสดุที่กอสรางงาย รวดเร็ว และคุมคา<br />

แตมุงเนนเรื่องของการออกแบบระบบโครงสรางที่สามารถ<br />

รับแรงจากแผนดินไหวไดดี โดยที่มีการ cross braced โครง-<br />

สรางในทั้ง 3 แกนเพื่อใหเปนโครงสราง rigid ทําใหวัสดุ<br />

ประกอบขยับตัวนอยไมแตกเสียหายโดยงายเมื่อแผนดินไหว<br />

จุดที่มีความพิเศษของอาคารนี้คือการออกแบบหลังคาใหเปน<br />

หลังคา 2 ชั้น มีชายคายื่นยาว โดยชั้นหลังคาหลักเปน<br />

metal sheet เพื่อใหทนทานตอพายุลูกเห็บ สวนชั้นบนเปน<br />

โครงเหล็กขึงดวยผืนสแลนอีกชั้น ทําใหหลังคาเมทัลชีท<br />

ไมโดนแสงแดดโดยตรง ซึ่งตัวของหลังคาเมทัลชีท เองก็<br />

ไดยกสวนสันหลังคาขึ้นใหอากาศภายในหองเรียนระบาย<br />

ออกดานบนไดอีกดวย ทําใหอาคารเย็นสบายยิ่งขึ้น ผนัง<br />

รวมทั้งระแนงใชวัสดุเบาประเภทซีเมนตบอรดเพื่อความ<br />

รวดเร็วในการกอสราง และเพื่อความปลอดภัยหากเกิด<br />

แผนดินไหวจะลดอันตรายจากผนังที่อาจจะลมทับผูคน<br />

โครงคราวไมและการ cross braced ของโครงสรางเหล็ก<br />

หันออกดานนอกของอาคาร เผยใหเห็นโครงสราง<br />

02<br />

03<br />

64 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


1<br />

1<br />

2<br />

2<br />

3<br />

3<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Class room 1<br />

2 Class room 2<br />

3 Class room 3<br />

1 M<br />

PONG PHRAE WITTAYA, MAE LAO DISTRICT<br />

The architect began this design under the sufficiency<br />

concept by drawing upon the use of a steel structure<br />

and materials that allow for easy, quick and cost effective<br />

construction. Emphasis was placed on the design of an<br />

earthquake resistant structural system where the three<br />

axes are cross braced to create a rigid structure, preventing<br />

composite materials from being easily damaged by the<br />

seismic impact. The special characteristics of this particular<br />

building are the double-layer roofing and extending<br />

eave. Metal sheet was the material chosen for the main<br />

roof structure due to its durability and ability to withstand<br />

hail. The upper layer is comprised of fabricated steel<br />

covered with another layer of a shading net, preventing<br />

the metal sheets from direct exposure to the sun. The<br />

metal sheet roof is elevated to enhance ventilation,<br />

allowing for a cold breeze to flow directly through the<br />

space of the classrooms. Cement boards were used<br />

within the walls and laths for their weight, convenience<br />

of construction and most importantly, increased safety<br />

in the case of the building being damaged by a future<br />

quake due to the structure’s light mass. The wood structure<br />

and cross-branched details of the steel structure<br />

face towards the front, revealing the building’s authentic<br />

structural compositions.<br />

01-04 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

โปงแพรวิทยา อําเภอแมลาว<br />

04<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 65


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

BAAN TOONG FAH PA<br />

MAE SUAI CHIANG RAI<br />

IDIN ARCHITECTS<br />

02<br />

66 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


โรงเรียนบานทุงฟาผา (ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก<br />

บานหัวริน) อําเภอแมสรวย<br />

โรงเรียนบานทุงฟาผานั้นไดรับความเสียหายทั้งหมด<br />

จึงมีความตองการอาคารทั้งที่เปนอาคารเรียนหลัก และ<br />

โรงอาหาร อาคารถูกออกแบบโดยคํานึงถึงการใชวัสดุกอ-<br />

สรางอยางประหยัด แตเพิ่มแนวความคิดในการออกแบบให<br />

อาคารมีความนาสนใจและเหมาะกับการเรียนรู ของเด็กเล็ก<br />

เริ่มจากบริเวณดานหนาของอาคารเรียน จะมีระแนงวาง<br />

สลับตลอดความยาวของตัวอาคาร หากมองจากภายนอก<br />

ระเบียงจะสามารถชวยกันลมหนาวและฝุ นจากบริเวณสนาม<br />

ฟุตบอลได แตถามองจากภายในบริเวณทางเดินหนาหองเรียน<br />

เด็กเล็กที่มีความสูงและการมองเห็นในระดับตํ่าจะสามารถ<br />

มองเห็นสีสันใตระแนงที่เพิ่มความสดใสและชวยในดานการ<br />

เรียนรู ดานลางจะมีชองสําหรับวางรองเทา และชั้นวางของ<br />

โดยเพิ่มเติมสีสันตามหองเรียนที่แตกตางกันไป ดานบนของ<br />

ชั้นวางของจะใชกระเบื้องลอนใสติดสลับชวยในการลดการ<br />

ปะทะของลมหนาวที ่จะเขามาภายในหองเรียนแตยังสามารถ<br />

มองเห็นทัศนียภาพภายนอกได สวนอาคารโรงอาหารเปน<br />

อาคารเปดโลงทั้งหมดทําใหในบางชวงของสภาพอากาศมีลม<br />

พัดเขามาสรางความหนาวเย็นใหแกพื้นที่ภายในโรงอาหาร<br />

ดังนั้นจึงมีการใชกระเบื้องลอนใสติดกับบริเวณคํ้ายันโดยรอบ<br />

เพื่อชวยลดแรงลมที่อาจจะเขามาภายในตัวอาคารมากจน<br />

เกินไปแตยังคงถายเทอากาศไดดีเชนเดิม<br />

01<br />

1<br />

1<br />

2<br />

3 4<br />

ARCHITECT<br />

Jeravej Hongsakul<br />

น 1-0195<br />

CONTRACTOR<br />

Pakanut<br />

Siriprasopsothron<br />

BUDGET<br />

7,000,000 Bahts<br />

1.5 M<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Class room 1<br />

2 Class room 2<br />

3 Class room 3<br />

4 Teacher’s room<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 67


03<br />

BAAN TOONG FAH PA SCHOOL (BAAN HUARIN<br />

CHILD DEVELOPMENT CENTER),<br />

MAE SUAI DISTRICT<br />

Baan Toong Fah Pa School was severely damaged<br />

by the earthquake and an entirely new school building<br />

and cafeteria needed to be constructed. With great<br />

consideration being given to the efficient use of construction<br />

materials, the architect intends for the design<br />

to interestingly enhance the learning experiences of<br />

small children. A series of laths is situated along one<br />

side of the building, helping to protect the interior space<br />

from dust being blown in from the nearby football field.<br />

Looking out from the hallway, even small children in<br />

the center can see the colors below the laths intentionally<br />

designed to become a part of their learning<br />

experience and environment. The space underneath<br />

the lath is also where shelves for shoes and other<br />

miscellaneous items are located with different color<br />

schemes being designated for different classrooms.<br />

Above the shelves and installed as components of the<br />

lath walls are transparent roofing sheets incorporated<br />

to help block the wind during the winter, while also<br />

maintaining a sense of visual connectivity between<br />

the inside and outside areas. The cafeteria space is<br />

designed to be entirely open, as the transparent roofing<br />

sheets are used once again to protect the area from<br />

full-exposure to cold air during the winter. The sheets are<br />

installed on the supporting elements of the building<br />

helping to maintain sufficient visual flow and ventilation.<br />

01-04 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานทุงฟาผา (ศูนยพัฒนาเด็ก<br />

เล็กบานหัวริน) อําเภอแมสรวย<br />

04<br />

68 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

BAAN NONG-BUA<br />

PHAN CHIANG RAI<br />

JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 69


ROOF<br />

ROOF STRUCTURE<br />

WALL / TRANSLUCENT<br />

COLUMN<br />

FLOOR<br />

MAIN WALL<br />

SKIN STRUCTURE<br />

SKIN<br />

FOOTING<br />

02 03<br />

70 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


่<br />

โรงเรียนบานหนองบัว อําเภอพาน<br />

อาคารเรียนนี้มีขนาด 12x18 เมตร ถูกแบงออกเปน<br />

4 หองเรียน ดวยการออกแบบที่ตองแขงขันกับเวลาและ<br />

งบประมาณที่จํากัด วัสดุที่นํามาใชแบงเปน 3 ประเภท<br />

หลักๆ คือ เหล็ก นํามาใชเปนโครงสรางหลักของอาคาร<br />

ทั้งหมด แผนซีเมนบอรดเสมือนสวนหอหุมอาคารทั้งหมด<br />

โดยทั้ง 2 วัสดุหลักนี้ใชพิกัดวัสดุในการออกแบบและนํามา<br />

ใชงานจริง มีการคํานวณการใชงานและนําเศษที ่เหลือมา<br />

ใชตอใหคุมคา ไมวาจะเปนชั้นวางของ สวนกั้นหอง หรือ<br />

แมแตชั้นวางรองเทาที่ผสมผสานกันทั้งเศษเหล็กและซีเมน<br />

บอรด ผู ออกแบบเนนสถาปตยกรรมที่เรียบงาย ตอบโจทย<br />

การใชงานแบบตรงไปตรงมา อีกทั้งยังอางอิงจากรูปแบบ<br />

อาคารรอบๆ เพื่อความสอดคลองซึ่งกันและกัน และที่<br />

สําคัญที่สุดคือเนนการมีสวนรวมของผู ใชงานจริงในโรงเรียน<br />

เปนหลักตามที่ไดพูดคุยกับผู อํานวยการโรงเรียน จนเกิดเปน<br />

การเวนวางทางสถาปตยกรรม เพื่อรอการตอยอดจากผู<br />

อยูอาศัย เปนที่มาของวัสดุในสวนสุดทาย นั่นคือ วัสดุที<br />

หาไดงายในทองที่ จําพวกเชน เศษไมตางๆ หรือไมไผ<br />

โดยจะปรากฏในสวนของงานตกแตงอาคาร เชน แผงไม<br />

บังตาดานหนา และตัวบังชองลม เปนตน ทั้งนี้ไมไดใช<br />

พิกัดทางวัสดุมาจํากัดการออกแบบใดๆ ในอนาคตอาคาร<br />

สามารถถูกพัฒนาตอ และปรับเปลี่ยนตามเห็นสมควรของ<br />

ผูใชงานเอง<br />

ARCHITECT<br />

Junsekino<br />

Architect and<br />

Design<br />

น 1-0210<br />

ENGINEER<br />

Sukij Janpitak<br />

AREA<br />

216 sq.m.<br />

BUDGET<br />

1,538,346 Bahts<br />

BAAN NONG-BUA, PHAN DISTRICT<br />

This school building is located on a 12X18 meter<br />

space divided to accommodate four classrooms. Since<br />

the design had to be reconciled under a limited time<br />

and budget, the materials used for the construction<br />

were restricted to steel for the structure and cement<br />

boards for the building’s shell. Material coordination<br />

design and construction methods were employed as<br />

the results of careful material and structural calculations.<br />

The approach further maximizes the value of scrap<br />

materials through the use of leftover steel and cement<br />

boards to build shelves, partitions or shoe cabinets.<br />

The architects interpreted the building as a simple<br />

design with a straightforward functionality, while the<br />

physical appearance was reconciled to be in harmony<br />

with the surrounding environment and buildings.<br />

The most important aspect is the users’ participation<br />

derived from the architect’s conversation with the<br />

school’s director. The idea was later materialized into<br />

the absence of some of the elements with an intention<br />

for the actual users to be the ones who fulfilled what<br />

was left missing. Locally available materials, such as<br />

wood scraps and bamboo, were used as the building’s<br />

decorative elements including curtains and windscreens.<br />

The material coordination, however, does not limit future<br />

alterations or adjustments of the design allowing for<br />

future adaptations to made to suit users’ various<br />

demands and continuously increase the functionalities<br />

of the space.<br />

01-03 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานหนองบัว อําเภอพาน<br />

P-1<br />

P-1<br />

1<br />

3<br />

2<br />

2<br />

4<br />

4<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Class room 1<br />

2 Class room 2<br />

3 Class room 3<br />

4 Class room 4<br />

1.5 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 71


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

01<br />

BAAN DOI CHANG<br />

MAE SUAI CHIANG RAI<br />

SITE SPECIFIC<br />

72 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


ARCHITECT<br />

Site Specific<br />

PROFESSION OF BAMBOO<br />

STRUCTURE<br />

Decha Tiengkate<br />

Julladit Sithibuncherd<br />

ENGINEER<br />

Chulert Jitjurjun<br />

BUDGET<br />

6,000,000 Bahts<br />

โรงเรียนบานดอยชาง อําเภอแมสรวย<br />

เนื่องจากโรงเรียนบานดอยชางเปนโรงเรียนที่มีขนาด<br />

ใหญที่สุดในโครงการนี้ ทางโรงเรียนมีความตองการที่จะ<br />

เพิ่มจํานวนหองเรียน 8 หองเรียน นอกจากนั้นโรงเรียน<br />

ยังตั้งอยูบนยอดดอย ซึ่งไมมีพื้นที่ราบสําหรับการกอสราง<br />

ทําใหการออกแบบอาคารเรียน จําเปนจะตองสรางเปนอาคาร<br />

เรียนสองชั้น และเพื่อที่จะควบคุมงบประมาณ ทางทีม<br />

ผูออกแบบจึงมีความคิดที่จะนําโครงสรางไมไผ มาผสมกับ<br />

โครงสรางเหล็ก เนื่องจากไมไผเปนวัสดุที่เติบโตเร็ว และ<br />

ดอยชางเปนพื้นที่ที่มีไมไผคุณภาพดีมากอยู ในพื้นที่ จึงเลือก<br />

ใชไมไผเพื่อชวยลด carbon footprint ของการกอสราง<br />

อาคารนี้ และเพื่อสรางองคความรูใหกับคนในพื้นที่ดวย<br />

หองเรียนถูกจัดวางในรูปแบบของอาคารกลุมรอบลาน<br />

กิจกรรม เพื่อใหลานกิจกรรมนั้นเปนหัวใจของอาคารเรียน<br />

ใหมหลังนี้ ลานกิจกรรมถูกออกแบบใหสามารถใชเปนพื้นที่<br />

เลนกีฬา จัดการแสดง หรือเปนที่รวมชุมนุมของนักเรียน<br />

และครู โครงสรางของโรงเรียนจะประกอบดวยโครงสราง<br />

เหล็กในชั้นที่ 1 และโครงสรางไมไผในชั้นที่ 2 เพื่อให<br />

โครงสรางสามารถขยับตัวตามแรงสั่นสะเทือนไดยามเกิด<br />

แผนดินไหว นอกจากนั้น ไมไผยังเปนฉนวนกันความรอน<br />

และความเย็นที่ดี ชวยใหอาคารเรียนมีอุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

กับการใชงานตลอดทั้งวัน การวางอาคารเนนการวางอาคาร<br />

เพื่อรับลมในหนารอน แตขวางลมในหนาหนาว เพื่อที่จะคง<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมตลอดการเรียนการสอน<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 73


BAAN DOI CHANG SCHOOL, MAE SUAY DISTRICT<br />

Being the biggest of all schools included in the<br />

project wasn’t the only challenge for the team of architects<br />

overseeing this site, as Baan Doi Chang School<br />

also required the construction of eight additional classrooms.<br />

Moreover, the school is located at the top of<br />

a mountain, where there was not a sufficient plain to<br />

accommodate all the school’s buildings. As a result,<br />

the construction of a two-story structure was unavoidable.<br />

To effectively control the construction costs, the<br />

design team came up with an idea to use bamboo in<br />

combination with the steel structure of the buildings.<br />

Being a local tree and material that grows considerably<br />

fast, the use of bamboo consequentially lead to the<br />

reduction of the project’s carbon footprint as well as allowed<br />

for the employment of construction methods<br />

that will eventually become a useful body of knowledge<br />

for the locals. The classrooms are allocated to be in<br />

one cluster with an area in the center being reserved<br />

for a communal activity ground. The ground is designed<br />

to serve multi functionalities ranging from a football field<br />

and performance ground to a summoning point for<br />

students and teachers. The building is constructed with<br />

the steel structure serving as its first layer and the bamboo<br />

structure second, allowing for the building to flexibly<br />

resist the seismic force. Since bamboo is an effective<br />

insulation material as well, it can help to regulate both<br />

heat and cold air, allowing for the building’s suitable<br />

temperature to be naturally maintained throughout<br />

the day. The building orientation of the school also<br />

embraces incoming winds during summer months<br />

and blocks them during winter, keeping the classrooms<br />

comfortable during every season.<br />

01-02 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานดอยชาง อําเภอแมสรวย<br />

1 2<br />

3<br />

1.5 M<br />

3 M<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1 Classroom 1<br />

2 Classroom 2<br />

3 WC<br />

74 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

01<br />

KINDERGARTEN BUILDING<br />

BAAN THA HAW SCHOOL<br />

PHAN CHIANG RAI<br />

SPACETIME ARCHITECTS<br />

03<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 75


โรงเรียนบานทาฮอ อําเภอพาน<br />

อาคารเรียนสําหรับชั้นอนุบาลถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช<br />

งานชั่วคราว Spacetime Architects ไดออกแบบเพื่อมุ งเนน<br />

การสรางบรรยากาศที่อบอุนใหกับอาคารเรียนหลังนี้เพื่อ<br />

ไมใหเปนเพียงพื้นที่ที่ตอบสนองการใชงานเทานั้น แตยัง<br />

แสดงออกถึงความเปนมิตร และสามารถชวยเยียวยาจิตใจ<br />

ใหกับผูประสบภัยไดดวย ตัวอาคารเปนทรงแบบทองถิ่นที่<br />

มีขนาดเล็ก ใชหลังคาทรงสูงเขามาชวยใหภายในหองเรียน<br />

รู สึกโปรงโลงไมอึดอัด และมีผนังรอบดานที่ทําใหอากาศถายเท<br />

ไดดี รวมถึงการวางผังเพื่อใหเกิดชานกลางอาคารสําหรับให<br />

นักเรียนทํากิจกรรมและรองรับการปลูกตนไม สรางความ<br />

รมรื่นและบรรยากาศที่ดีใหพื้นที่ภายใน นอกจากนี้ยังแยก<br />

หองนํ้าออกจากตัวอาคารเพื่อสรางสุขอนามัยที่ดีดวย วัสดุ<br />

ตางๆ ที่เลือกใชในการกอสรางยังคงใชแนวคิดแบบพอดี<br />

พอดี ที่คํานึงถึงการกอสรางโดยวัสดุใหคุมคา และกอสราง<br />

ดวยความรวดเร็ว แตเสริมแนวความคิดเรื่องการสราง<br />

บรรยากาศดวยการปดผิววัสดุเชน ผนังซีเมนตบอรดปดผิว<br />

ดวยกระเบื้องยาง ชานไมเทียม ไปจนถึงหลังคาเมทัลชีทที่<br />

เลือกใชหญาคาในพื้นที่มามุงทับอีกชั้นเพื่อ ชวยลดความรอน<br />

ที่เขาสูตัวอาคาร ลดเสียงฝนหรือลูกเห็บ และชวยทําให<br />

อาคารดูอบอุนเปนมิตรมากขึ้น<br />

ARCHITECT<br />

Spacetime Architect<br />

น 1-0172<br />

ENGINEER<br />

TDA consultants<br />

BUDGET<br />

3,000,000 Bahts<br />

01-06 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานทาฮอ อําเภอพาน<br />

04<br />

<strong>05</strong><br />

76 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


5<br />

4<br />

3<br />

1 2<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Classroom 1<br />

2 Classroom 2<br />

3 Classroom 3<br />

4 Classroom 4<br />

5 WC<br />

2 M<br />

THA HAW SCHOOL, PHAN DISTRICT<br />

This kindergarten building designed for temporary<br />

use by Spacetime emphasizes a warm and friendly atmos<br />

phere while offering not only the required spatial functionalities<br />

but also a restorative space for disaster victims.<br />

The building is rather small in scale, but bears the style<br />

of Northern vernacular architecture where the high roof<br />

element is incorporated to keep the space feeling naturally<br />

ventilated and spacious. The walls were also designed<br />

to enhance airflow while the verdant court at the center<br />

of the building creates an area for student activities to<br />

take place while bringing the succulent atmosphere of<br />

the outdoors into the interior space. The restroom areas<br />

are further separated from the main building allowing for<br />

better hygiene. The overall design and construction follows<br />

the concept of sufficiency or ‘Por Dee Por Dee’ with high<br />

consideration being given to efficient use of materials<br />

and construction methods. Decorative elements are<br />

also employed to bring certain aesthetic values to the<br />

building such as cement boards that were incorporated<br />

into the walls creating a clean and simple look. The wood<br />

composite deck and metal sheet roof covered with locally<br />

available thatch have a double function of helping to<br />

filter heat and noise from rain and hail while also contributing<br />

to the building’s warm and friendly physical<br />

appearance at the same time.<br />

06<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 77


BAAN KORDUM<br />

MAE LAO CHIANG RAI<br />

SUPERMACHINE STUDIO<br />

โรงเรียนชุมชนบานปากอดํา อําเภอแมลาว<br />

อาคารเรียนนี้ไมไดถูกออกแบบโดยคํานึงถึงประโยชน<br />

ใชสอยเพียงอยางเดียวแตเปนการออกแบบเพื่อพิสูจนความคิด<br />

ที่วา ‘ในปจจุบันการศึกษาเกิดขึ้นภายนอกหองเรียนเทาๆ<br />

กับภายในหองเรียน’ ดังนั้นแนวคิดการวางตัวอาคารทิศทาง<br />

ของชองเปด และการเลือกใชวัสดุของโครงการทั้งหมดเพื่อ<br />

การสงเสริมความสัมพันธของกิจกรรมทั้ง 2 ประเภทให<br />

แข็งแรงมากขึ ้น ที่ตั้งของอาคารเรียนใหมตั้งอยูระหวาง<br />

อาคารเรียนเดิมทั้ง 2 หลัง บริเวณสนามหญาที่มีตนไม<br />

ใหญเดิมอยูกระจัดกระจาย ความตั้งใจในการออกแบบคือ<br />

การวางอาคารเรียนแหงใหมในตําแหนงที่ไมตองตัดตนไม<br />

เหลานั้นเพื่อใหอาคารไดรับประโยชนจากรมเงาไมทั้ง<br />

สําหรับเปนทิวทัศนที่ดีและทํากิจกรรมกลางแจง หองเรียน<br />

ทั้ง 5 ออกแบบใหแยกออกเปน 2 กลุม ทํามุมตั้งฉากกัน<br />

ลอมรอบตนไมเกาเอาไว กลุมอาคารทั้ง 2 ถูกขั้นอยูโดย<br />

โถงกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหนักเรียนทํากิจกรรมภายนอก<br />

หองเรียนใหมากขึ้น ในเวลาเดียวกันโถงกิจกรรมนี้ยังเปน<br />

จุดที่ใชเชื่อมตอบริเวณหนาหองเรียนไปสูสนามหญาดาน<br />

หลังโรงเรียนดวย โครงสรางหลักของสวนหองเรียนเปน<br />

โครงสรางเหล็กบนฐานรากคอนกรีตจากเหตุผลเรื่องความ<br />

แข็งแรง โครงสรางหลังคาที่คลุมหองเรียนและสวนโถง<br />

กิจกรรมตอเนื่องกันเปนหลังคาเดียวนั้นเปนโครงสราง<br />

ไมไผทั้งหมดเพื่อใหเปนระบบโครงสรางที่ยืดหยุ นแตแข็งแรง<br />

วัสดุมุงหลังคาเปนหญาแฝกที่หาไดไมยากในทองถิ่นเพื่อ<br />

ตองการใหอาคารเรียนดูเปนมิตรมากขึ้น<br />

TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

ARCHITECT<br />

Supermachine<br />

น 0-6017<br />

LANDSCAPE<br />

Trop<br />

ENGINEER<br />

Sakkarn Sirisrisak<br />

BUDGET<br />

3,800,000 Million Bahts<br />

78 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


1 1 1<br />

2 2<br />

1<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Classroom<br />

2 Multi-purpose area<br />

1<br />

1<br />

01<br />

3 M FLOOR PLAN<br />

1 CLASSROOM<br />

2 MULTI PURPOSE AREA<br />

1.5 M<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 79


PAGKORDUM COMMUNITY SCHOOL,<br />

MAE LAO DISTRICT<br />

03<br />

01-04 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

ชุมชนบานปากอดํา อําเภอ<br />

แมลาว<br />

This school building is not only designed to serve<br />

functional demands, but was also conceived to prove<br />

the idea that ‘education can take place outside of the<br />

classroom as well as inside.’ As a result, the concept<br />

behind the building orientation, direction of openings,<br />

and the use of materials of the project were made to<br />

encourage and strengthen a connection between the<br />

two learning experiences. The new school building is<br />

located between the two existing ones and large trees<br />

that have stood in the area for as long as one can remember<br />

remain scattered around the football field. The<br />

intention of the design team was to construct the new<br />

school building in a position where no trees would have<br />

to be cut down. The design makes for the best use of<br />

the green space while providing ample shade within<br />

the area and creating an ideal outdoor classroom surrounded<br />

by a naturally beautiful landscape. The five classrooms<br />

were divided into two clusters situated at right<br />

angles and embracing the existing trees. To enhance<br />

the ‘learning outside of the classroom experience,’ an<br />

activity ground was placed between the two clusters,<br />

leading the front of the classrooms to the field at the<br />

back of the school. The main structure of each building<br />

is comprised of a steel structure on a concrete foundation<br />

allowing for greater structural security. The connected<br />

roof was designed to cover the five classrooms and the<br />

activity ground and is made entirely of bamboo, offering<br />

a flexible yet solid structure. The thatch used for roofing<br />

can not only be found locally, but also brings a friendly<br />

vibe to the entire structure.<br />

04<br />

80 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


BAAN HUAYSANYAO<br />

MAE LAO CHIANG RAI<br />

VIN VARAVARN ARCHITECTS<br />

01<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 81


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

ARCHITECT<br />

Vin Varavarn Architects<br />

น 1-0-221<br />

CONTRACTOR<br />

Local contractor<br />

ENGINEER<br />

Next Innovation<br />

Engineering<br />

BUDGET<br />

2,000,000 Bahts<br />

โรงเรียนบานหวยสานยาว อําเภอแมลาว<br />

จากความตองการของทางโรงเรียน ตองการหองเรียน<br />

จํานวน 3 หอง โดยใหมีรูปแบบกลมกลืนกับสภาพแวดลอม<br />

และธรรมชาติ นอกจากนั้นยังตองการใหออกแบบที่ให<br />

ความสําคัญกับตนไม และใหมีดอกไมพืชพรรณสําหรับ<br />

นักเรียน จํานวนหองเรียน 3 หอง โดยแตละหองจะมีชาน<br />

บันไดหนาหองเรียนเปนพื้นที่แบง มีบันไดทางขึ้น-ลงทั้ง 2<br />

ฝงของอาคาร ชวยใหการเขา-ออกไมติดขัด ชานบันไดนี้<br />

ยังทําหนาที่เปน transition space และชวยลดเสียงรบกวน<br />

และแรงสั่นสะเทือนของกิจกรรมระหวางหองเรียน รูปแบบ<br />

พื้นฐานของอาคารนั้นมีการดัดแปลงมาจากหลักการออกแบบ<br />

บานพอดี-พอดี ซึ่งเปนการออกแบบใหสิ้นเปลืองวัสดุทั้งใน<br />

สวนงานโครงสรางและงานสถาปตยใหนอยที่สุด โดยเลือก<br />

ใชโครงสรางเหล็กและผนัง Viva board นอกเหนือจากนี้<br />

ผู ออกแบบไดพยายามที่จะสอดแทรกรายละเอียดเล็กๆ นอยๆ<br />

เพื่อลดความแข็งกระดางของอาคารที่มีรูปแบบสมัยใหม คือ<br />

การออกแบบชั้นไมไผเพื่อวางกระถางตนไมพลาสติก โดย<br />

จะวางใตชายคาตลอดแนวอาคาร กระถางพลาสติกสีตางๆ<br />

นอกจากจะชวยสรางสีสันสดใสใหอาคารแลวสีสันของ<br />

ดอกไมและตนไมก็จะชวยสรางบรรยากาศที่ผอนคลายให<br />

เด็กๆ ที่ประสบปญหาใหเกิดความรูสึกที่ดีขึ้นได และจะได<br />

เรียนรูชวยกันดูแลตนไมไปดวย ชั้นไมไผนี้นอกจากจะใช<br />

วางกระถางแลวอาจใชสําหรับวางของตางๆ และชวยทํา<br />

หนาที่เปนราวกันตกไปในตัวดวย<br />

03<br />

04<br />

82 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


1<br />

1<br />

2<br />

2<br />

3<br />

3<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Class room 1<br />

2 Class room 2<br />

3 Class room 3<br />

1.5 M<br />

HUAYSANYAO, MAE LAO DISTRICT<br />

In addition to the requirements from the school to<br />

construct three classrooms in harmony with the surrounding<br />

environment, the design team was also asked<br />

to incorporate natural elements such as trees and<br />

flowers into the architecture allowing for nature to<br />

become a prominent element of the students’ learning<br />

experiences. Each of the three classrooms has its own<br />

terraced stairs at the front and, for greater circulation,<br />

the school buildings can be accessed via the stairs at<br />

the back as well. These particular terraced stairs also<br />

function as a transition space and help with obstructing<br />

disturbances from noises and activities between<br />

classrooms. The style and foundation of the building<br />

are adapted from the design of ‘Por dee por dee’<br />

House, which takes on a zero waste approach where<br />

01 แบบ isometric ของโรงเรียน<br />

บานหวยสานยาว อําเภอแมลาว<br />

02-<strong>05</strong> ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานหวยสานยาว อําเภอแมลาว<br />

the use of construction materials is minimized to be<br />

the least possible. A steel structure and Viva boards<br />

are used as the main materials while the design team<br />

also incorporated miscellaneous details to lessen the<br />

stiffness of the building and overly modern look. Bamboo<br />

racks were installed around the building and topped with<br />

colorful flowerpots filled with various types of plants<br />

and flowers. The pleasant and lovely atmosphere of the<br />

school was created in response to the design conscious<br />

attempt to lift kids’ spirits following the devastating<br />

incident as well as provide them with an opportunity<br />

to learn how to take care of flowers and trees. Besides<br />

the flowerpots,other miscellaneous things can be placed<br />

on the bamboo racks as well while, last but not least, they<br />

further function as safety rails at the same time.<br />

<strong>05</strong><br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 83


TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architect<br />

ARCHITECT<br />

Suriya Umpansiriratana<br />

น 1-1835<br />

ENGINEER<br />

The Engineering Institute<br />

of Thailand Under H.M<br />

The King’s Patronage<br />

BUDGET<br />

2,349,060 Baht<br />

BAAN DON TON<br />

PHAN CHIANG RAI<br />

WALLLASIA<br />

84 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


บานดอนตัน<br />

หลังจากเกิดเหตุแผนดินไหวที่จังหวัดเชียงรายอาคาร<br />

เรียนหลักของโรงเรียนองคการบริหารสวนตําบลเมืองพาน<br />

ไดรับความเสียหาย ซึ่งตองรอการซอมแซม จึงใชอาคารอื่นๆ<br />

เปนหองเรียนชั่วคราวแตยังไมเพียงพอ ทําใหนักเรียนบาง<br />

ระดับชั้นไมมีหองเรียน ทางโรงเรียนจึงตองการอาคารเรียน<br />

เรงดวนจํานวน 3 หองเรียน โดยทาง Walllasia ไดออกแบบ<br />

อาคารเรียนชั่วคราว หองเรียนแตละหองมีขนาด 6 x 9 เมตร<br />

ซึ่งไดออกแบบดวยแนวความคิดพอดี พอดี ที่เนนเรื่องของ<br />

การใชพิกัดวัสดุ การรู ขนาดวัสดุ เพื่อออกแบบใหวัสดุเหลือ<br />

01 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

องคการบริหารสวนตําบลเมือง<br />

พาน อําเภอพาน<br />

02 ภาพสเก็ตชรูปดานของ<br />

โรงเรียนองคการบริหารสวน<br />

ตําบลเมืองพาน<br />

เศษนอยที่สุด ประหยัด และคํานึงถึงความรวดเร็วในการ<br />

กอสราง โครงสรางผนังมีความเบาและโปรง และสามารถ<br />

รื้อถอนไดโดยงายในภายหลัง เพื่อปรับเปลี่ยนเปนโรงอาหาร<br />

หลังจากที่อาคารเรียนหลักไดซอมแซมเรียบรอยแลว นอก-<br />

จากนี้ผนังของหองเรียนยังออกแบบใหชั้นวางหนังสือเปน<br />

สวนหนึ่งของผนัง เพื่อใหเกิดการใชงานอยางคุ มคาในขนาด<br />

พื้นที่ที่จํากัด ควบคูไปกับผนังสวนที่เหลือที่เปนไมระแนง<br />

เพื่อใหเกิดการถายเทของอากาศที่ดี รวมถึงชวยในเรื่องของ<br />

มุมมองที่เชื่อมโยงสูพื้นที่ภายนอกที่เปนสนามฟุตบอลดวย<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 85


BAAN DON TON<br />

After the earthquake struck in Chiang Rai, the main<br />

school building of Phan Subdistrict Administrative Organization<br />

School was damaged and in need of restoration.<br />

Other buildings were used as temporary classrooms but<br />

the space was still insufficient to accommodate students<br />

from every level. The school was in urgent need of a<br />

functional school building with three classrooms. Wallliasia<br />

took on the responsibility of the design of a 6x9 m.<br />

temporary classroom, following the ‘Por Dee Por Dee’<br />

(sufficiency) concept emphasizing efficient use of materials<br />

in order to reduce as much construction waste as possible.<br />

The building was designed to be both cost-effective as<br />

well as fast and easy to construct. The light and airy wall<br />

structure can easily be dismantled and adjusted into the<br />

school’s cafeteria after the construction of the main<br />

building is completed. Furthermore, a section of the wall<br />

of each classroom is designed to function as a built-in<br />

bookshelf, optimizing spatial functionality even within<br />

limited space. The wooden laths used with the rest of<br />

the wall help to enhance ventilation and provide a sense<br />

of visual connectivity with the outside environment.<br />

02<br />

1 2 3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

FLOOR PLAN<br />

1 Class room 1<br />

2 Class room 2<br />

3 Class room 3<br />

FLOOR PLAN<br />

1 CLASSROOM 1<br />

1.5 M<br />

86 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

POST-EARTHQUAKE<br />

RESPONSE<br />

THE ROLE<br />

01<br />

OF<br />

สถาปนิกกับการออกแบบ<br />

เพื่อรองรับเหตุแผนดินไหว / ธรณีพิบัติ<br />

TEXT+PHOTOS<br />

Bundit Pradubsuk<br />

01 ภาพแสดงองคประกอบของ<br />

อาคารที่ไมใชโครงสรางหลัก<br />

(NONSTRUCTURAL COM-<br />

PONENTS)<br />

AND<br />

ARCHITECTS<br />

ความเปนมา<br />

เหตุการณธรณีพิบัติหรือแผนดินไหว เปนภัยธรรม-<br />

ชาติที่เกิดขึ้นทั้งโลกและยากที่จะคาดการณลวงหนาได<br />

และในศตวรรษที่ 21 นี้ มีแนวโนมรุนแรงมากขึ้นเชนที่<br />

ประเทศชิลี มีขนาดรุนแรงระดับ 8.8 ริกเตอร ที่ความ<br />

ลึก 36 กิโลเมตร ที่ญี่ปุนซึ่งมาพรอมคลื่นยักษสึนามิ<br />

อินเดียและในประเทศไทยครั้งลาสุดที่จังหวัดเชียงรายที่<br />

มีความรุนแรงขนาด 6.3 ริกเตอร ไดกอใหเกิดการเสีย<br />

ชีวิต บาดเจ็บ และสรางความเสียหายตออาคารบานเรือน<br />

อยางมากในพื้นที่อําเภอพานและอําเภอใกลเคียง เมื่อเกิด<br />

แผนดินไหว คนสวนมากมักคิดถึงความเสียหายของ<br />

อาคารหรือสิ่งกอสรางตางๆ ในเชิงวิศวกรรมโครงสราง<br />

การพังทลายของอาคาร และความเสียหายที่เกิดขึ้น แต<br />

สําหรับอีกดานหนึ่งของอาคารที่ไดกลาวมาทั้งหมดนี้<br />

แคสั่นคลอนตามพลังมหาศาลนี้มิไดพังถลมตกลงมา<br />

แตยังคงเกิดความเสียหายแกองคประกอบของอาคาร<br />

ที่ไมใชโครงสรางหลัก (NONSTRUCTURAL COMPO-<br />

NENTS) ซึ่งสวนใหญเปนงานทางสถาปตยกรรม เชน<br />

แผนกระเบื้องหลังคา PARAPET ฝาเพดาน ผนังภายใน<br />

กระจก และงานระบบ เชน ทอ DUCT เครื่องปรับอากาศ<br />

ทั้งนี้ยังรวมถึงเฟอรนิเจอร เชน ตู ลอยขนาดใหญ อุปกรณ<br />

ตางๆ เชน ตูเย็น เปนตน สิ่งเหลานี้เมื่อเกิดแผนดินไหว<br />

พลังงานที่มากระทําตออาคาร สงผลใหเกิดการสั่นสะเทือน<br />

ทําใหองคประกอบที่ไมใชโครงสรางหลักหรืองานสถาปตย-<br />

กรรมเหลานี้เสียหายพังทลายตกลงมาหรือลมลง ทําให<br />

เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตได ซึ่งจากรายงานของ<br />

FEDERAL EMERGENCY MANAGEMENT AGENCY<br />

(FEMA) พบวาคนสวนใหญที่อยูในอาคารจะไดรับบาด-<br />

เจ็บและเสียชีวิตจากงานทางสถาปตยกรรมเหลานี้<br />

02<br />

องคประกอบของอาคารที่ไมใชโครงสรางหลัก<br />

[NONSTRUCTERAL COMPONENTS]<br />

องคประกอบของอาคารที่ไมใชโครงสรางหลัก<br />

(NONSTRUCTURAL COMPONENTS) สวนใหญเปน<br />

งานทางสถาปตยกรรม ตกแตงภายใน และงานระบบ<br />

ตางๆ เชน ฝาเพดาน ผนังภายในอาคาร เปลือกอาคาร<br />

PARAPET เฟอรนิเจอร กระเบื้องหลังคาและงานระบบ<br />

ตางๆ ตามภาพที่ 1<br />

03<br />

ความเสียหายของ NONSTRUCTURAL<br />

COMPONENTS จากเหตุแผนดินไหว<br />

พลังงานมหาศาลที่เกิดขึ้นเนื่องจากเหตุแผนดินไหว<br />

ทําใหเกิดการสั่นสะเทือนตออาคารและสรางความเสีย-<br />

หายไดตอทั้งระบบโครงสรางหลักและองคประกอบที่<br />

ไมใชโครงสรางหลัก(NONSTRUCTURAL COMPO-<br />

NENTS) ซึ่งอาคารสวนใหญแมจะไดถูกออกแบบมาให<br />

ทนตอพลังงานอันมหาศาลเหลานี้ได อาจเสียหายเล็ก<br />

นอยในดานโครงสรางหลัก แตจะเกิดความเสียหาย<br />

อยางมากตอองคประกอบที่ไมใชโครงสรางหลัก ซึ่งจะมี<br />

ผลกระทบตอชีวิตและการบาดเจ็บของบุคคลที่อาศัยอยู<br />

ขางในหรือรอบๆ อาคารนั้น สําหรับกรณีแผนดินไหวที่<br />

จังหวัดเชียงรายก็เกิดปราฏการณความเสียหายเหลานี้<br />

ขึ้นตามตารางที่ 1<br />

88 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


ตารางที่ 1 แสดงความเสียหายของ NONSTRUCTURAL COMPONENTS<br />

จากเหตุแผนดินไหว จังหวัดเชียงราย 5 พ.ค. 25<strong>57</strong><br />

ประเภทอาคาร องคประกอบของอาคารดานสถาปตยกรรม ภาพความเสียหาย<br />

บานพักอาศัย<br />

ผนังภายนอกและภายในอาคารพังถลมลงมา<br />

บานพักอาศัย ผนังภายนอกอาคารและกระเบื้องหลังคาผนังพังถลมลงมา<br />

โรงเรียน ฝาเพดาน T-BAR เสียหายตกลงมาเบื้องลาง<br />

โรงเรียน ฝาเพดานยิปซั่มบอรดและดวงโคม เสียหายตกลงมาเบื้องลาง<br />

โรงเรียน<br />

ผนังภายนอกอาคารพังถลมลงมา<br />

โรงเรียน ฝาเพดานยิปซั่มบอรดและเฟอรนิเจอร เสียหายตกลงมาเบื้องลาง<br />

โรงเรียน<br />

ผนังภายในอาคารพังถลมลงมา<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE <strong>ASA</strong> 89


PAHO/ WHO<br />

04<br />

หนาที่ความรับผิดชอบของสถาปนิกในการ<br />

ออกแบบเพื่อรองรับแผนดินไหว<br />

FEDERAL EMERGENCY MANAGEMENT<br />

AGENCY (FEMA) ไดกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบ<br />

ของสถาปนิกในงานที่เกี่ยวของกับงานทางดาน (NON-<br />

STRUCTURAL COMPONENTS) และงานระบบไวตาม<br />

ตารางที่ 2 ดังนี้<br />

ตารางที่ 2 ตารางแสดงความรับผิดชอบในการออกแบบองคประกอบที่ไมใชโครงสรางหลัก [NONSTRUCTURAL COM-<br />

PONENTS] ของสถาปนิกและวิศวกรงานระบบ<br />

THE FOLLOWING LIST CAN BE REVIEWD AND MODIFIED BY ARCHITECTS FOR THEIR SPECIFIC PROJECT. THE TABLE IS NOT INTENDED TO APPLY<br />

TO EVERY PROJECT, BUT RATHER TO ACT AS A CHECK LIST AND A GUIDE.<br />

01<br />

NONSTRUCTUAL<br />

SYSTEM OR<br />

COMPONENT<br />

ARCHITECT<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

ELECTRICAL ENGINEER<br />

MECHANICAL ENGINEER<br />

OTHER DESIGN<br />

PROFESSIONALS<br />

REMARKS<br />

curtain wall 1 2 Consider a specialy consultant Small glazing panes perform better in earthquakes.<br />

Avoid window film unless properly<br />

applied<br />

doors/ windows 1 Consider how doors will avoid racking in<br />

nonstructural walls.<br />

access floors 1 Consider a specialy consultant Consider in-the-floor ducts rather than raised<br />

floors where practical<br />

HVAC systems 2 1 Systems that require vibration isolation also<br />

require snubbing.<br />

chimneys 1 2<br />

signs 1 2<br />

billboards 2 1 2 2<br />

consider a specialty consultant<br />

storage racka 1 2<br />

consider a specialty consultant<br />

Proprietary manufactured racks may or may<br />

not include seismic design considerations.<br />

cabinets and book stacks 1 2 Architect needs to provide proper wall backing<br />

wall hung cabinets 1 1 Architect needs to provide proper wall backing<br />

tanks and vessels 2 2<br />

eletrical equipment 2 2 1<br />

plumbing equipment 2 2 1<br />

NOTE:<br />

1=PRIMARY RESPONSIBILITY 2=SUPPORT RESPONSIBILITY<br />

90 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


<strong>05</strong><br />

ขอพิจารณาในการออกแบบทางสถาปตยกรรม<br />

พื้นที่ทําการกอสราง (SITE) ตองพิจารณาพื้นที่<br />

กอสรางที่อยู ในพื้นที่ ที่มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดแผนดินไหว<br />

หรือไมโดนพิจารณาจาก<br />

1 พื้นที่ทําการกอสราง (SITE) ตองพิจารณาพื้นที่<br />

กอสรางที่อยูในพื้นที่ที่มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดแผน-<br />

ดินไหวหรือไมโดนพิจารณาจาก<br />

1.1 แผนที่กรมทรัพยากรธรณี ตามภาพที่ 2<br />

1.2 กฎกระทรวง การรับนํ้าหนัก ความตานทาน<br />

ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับ<br />

อาคารในการตานทานแรงสั่นสะเทือนของ<br />

แผนดินไหว พ.ศ. 2550<br />

2 รูปแบบของแปลนอาคาร (PLAN) รูปแบบแปลน<br />

ของอาคารรับแรงแผนดินไหวควรเปนรูปแบบที่มี<br />

ความสมํ่าเสมอ (REGULARITIES) เชน เปนรูป<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา วงกลม ควรหลีก-<br />

เลี่ยงรูปแบบแปลนที่ไมมีความสมํ่าเสมอ (IRREGU-<br />

LARITIES)ตามภาพที่ 3 เมื่อตองรับแรงจากแผน-<br />

ดินไหวอาจเกิดปรากฏการณของความเสียหายใน<br />

รูปแบบตางๆ เชน การแตกหักเขาขางใน การพัง-<br />

ทลายเฉพาะสวนยอยของรูปแบบแปลน<br />

3 รูปทรงของอาคาร (FORM) รูปทรงอาคารมีสวน<br />

สําคัญมากๆ ในการรับแรงแผนดินไหว ซึ่งรูปทรง<br />

ที่เหมาะสมคววรเปนรูปทรงที่สมมาตร (SYMETRY)<br />

เพราะจะเกิดความมั่นคง (STABLE) ควรหลีกเลี่ยง<br />

รูปทรงที่ไมสมํ่าเสมอตามภาพที่ 3 รูปทรงที่ชั้นลาง<br />

เปนเสาโลง เพราะจะเกิดเปน SOFT STOREY<br />

หรือมีบางชั้นที่สูงแตกตางจากชั้นอื่น หรือการ<br />

ออกแบบรูปดานอาคารที่ทําใหเกิดเสาสั้น (SHORT<br />

COLUMNS) ตามภาพที่ 4 เพราะการออกแบบ<br />

เหลานี้จะทําใหเกิดความเสียหายตออาคารไดงายใน<br />

ขณะเกิดแผนดินไหว<br />

(ก)<br />

(ข) (ค)<br />

02<br />

03<br />

04<br />

<strong>05</strong><br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE <strong>ASA</strong> 91


4 เปลือกอาคารและชองเปดของอาคาร (ENVELOPE)<br />

เปลือกอาคารเปน NON STRUCTURAL COMPO-<br />

NENTS ที่สามารถลวงหลนลงมาจากการรับแรงของ<br />

แผนดินไหว ทําใหเกิดการเสียชีวิตและบาดเจ็บได<br />

ดังนั้นในการพิจารณาออกแบบเปลือกอาคารควร<br />

พิจารณาตั้งแตเปลือกอาคารที่หนัก เชน การใช<br />

PRECAST CONCRETE ตองมีการออกแบบและ<br />

ติดตั้งที่คํานึงถึงแรงจากแผนดินไหว สําหรับการใช<br />

ผนังกระจก CURTAIN WALL ซึ่งมีคุณสมบัติที่เบา<br />

โครงมีความยืดหยุน จะรับแรงแผนดินไหวไดดีแต<br />

จะเหมาะสมมากถามีการแบงเปนสวนเล็กๆ เทาที่<br />

ทําได<br />

5 วัสดุ (MATERIALS) การพิจารณาวัสดุที่ใชในการ<br />

กอสรางอาคารเพื่อรองรับแผนดินไหว อาจพิจารณา<br />

ในสวนของวัสดุที่ใชเปนโครงสรางและวัสดุที่ใชใน<br />

ทางสถาปตยกรรม โดยวัสดุที่ใชสําหรับโครงสราง<br />

อาจพิจารณาในดานความเหนียว (DUCTIVE)<br />

และความยืดหยุนซึ่งมันสามารถทนแรงกดดันโดย<br />

ไมแตก หรือใชวัสดุที่แตกได (BRITTLE) ซึ่งจะเกิด<br />

รอยราว (CRACK) ไดงาย วัสดุที่แตกได เชน อิฐ<br />

ไมคอยดีนักในการรับแรงจากเหตุแผนดินไหว<br />

(SEISMIC) สําหรับวัสดุที่มีความยืดหยุนได เชน<br />

ไม (WOOD) หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก (REIN-<br />

FORCED CONCRETE) จะเหมาะสําหรับการกอ-<br />

สรางในพื้นที่ที่ตองรับแรงแผนดินไหว สวนวัสดุ<br />

ในงานสถาปตยกรรม เชน ผนังของอาคาร ถาเปน<br />

กออิฐควรมีการเสริมความแข็งแรงดวยเหล็กเสนกับ<br />

โครงสรางหลักหรือยึดกับใตทองคาน และควรมีเสา<br />

เอ็นตามมาตรฐาน ฝาเพดานควรมีการยึดโครงสราง<br />

ของฝากับโครงสรางหลักหรือสายสลิงทําการยึด-<br />

เหนี่ยวไว ทั้งนี้ใหพิจารณาถึงดวงโคม และ HVAC<br />

ดวย สําหรับกระจกควรเปนกระจกนิรภัย<br />

6 เฟอรนิเจอรและอุปกรณตางๆ เฟอรนิเจอรและ<br />

อุปกรณเครื่องใชตางๆ ภายในอาคารเปนสาเหตุ<br />

ของการเสียชีวิตและบาดเจ็บจากการที่เฟอรนิเจอร<br />

หรืออุปกรณตางๆ นั้นลมหรือหลนลงมา ดังนั้นใน<br />

การออกแบบควรพิจารณาถึงการยึดติดเฟอรนิเจอร<br />

กับอุปกรณตางๆ เขากับผนังหรือโครงสรางหลัก<br />

เพื่อปองกันไมใหลมหรือหลนลงมา ลิ้นชักควรล็อค<br />

ตูเก็บของควรมีบานประตูปดได การยึดอุปกรณ<br />

ตางๆ เชน คอมพิวเตอร เครื่องดับเพลิง ถังแกส<br />

ตางๆ ใหแนนหนาไมลมลงหรือหลนลงมา<br />

02 (ก) แสดงรอยเลื่อนที่มีพลัง<br />

ในประเทศไทย (ข) ภัยพิบัติ<br />

แผนดินไหวในประเทศไทย (ค)<br />

บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของ<br />

ประเทศไทย<br />

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี<br />

25<strong>57</strong><br />

03 รูปแบบแปลนที่มีความไม<br />

สม่ําเสอ (IRREGULARITIES)<br />

ที่มา : NEW ZEALAND SO-<br />

CIETY FOR EARTHQUAKE<br />

ENGINEERING<br />

04 รูปทรงที่มีความไมสม่ําเสอ<br />

(IRREGULARITIES)<br />

ที่มา : NEW ZEALAND SO-<br />

CIETY FOR EARTHQUAKE<br />

ENGINEERING<br />

<strong>05</strong> รูปทรงที่กอใหเกิด<br />

ปรากฏการณเสาสั้น (SHORT<br />

COLUMNS)<br />

ที่มา : NEW ZEALAND SO-<br />

CIETY FOR EARTHQUAKE<br />

ENGINEERING<br />

06<br />

สรุป<br />

สถาปนิกเปนผูที่มีความสําคัญในการออกแบบ<br />

เพื่อรองรับเหตุแผนดินไหว ในสวนที่เกี่ยวของกับองค-<br />

ประกอบที่ไมใชโครงสรางหลัก (NONSTRUCTURAL<br />

COMPONENTS) เนื่องจากเมื่อเกิดแผนดินไหวและ<br />

อาคารไดรับแรงสั่นสะเทือนก็จะเกิดอาการสั่นตาม<br />

ขนาดของแรงที่กระทําตออาคารนั้น ซึ่งอาคารที่ถูก<br />

ออกแบบดานโครงสรางมาใหทนตอแรงของแผนดินไหว<br />

ก็จะสามารถคงตัวอยูได หรือเสียหายเล็กนอย แตสิ่งที่<br />

ไดรับผลกระทบจากแรงแผนดินไหวเหลานี้ และเกิด<br />

ความเสียหายก็คือ องคประกอบที่ไมใชโครงสรางหลัก<br />

และงานระบบตางๆ สิ่งเหลานี้เมื่อเสียหายหรือพังลงมา<br />

ก็จะทําใหเกิดการเสียชีวิต หรือบาดเจ็บตอผูที่อาศัยอยู<br />

ในอาคารหรือผูที่อยูรอบๆ อาคาร ซึ่งสถาปนิกควรจะ<br />

ตระหนักถึงภัยและความเสียหายที่ทเกิดจากงานทาง<br />

ดานสถาปตยกรรมที่ตัวเองรับผิดชอบอยู ดังนั้นขอ-<br />

พิจารณาที่จะใชในการออกแบบทางสถาปตยกรรมเพื่อ<br />

รองรับภัยแผนดินไหว ควรคํานึงถึงพื้นที่กอสราง (SITE)<br />

รูปแบบแปลนอาคาร (PLAN) รูปทรงอาคาร (FORM)<br />

เปลือกอาคาร (ENVELOPE) วัสดุที่ใชในการกอสราง<br />

อาคารและตกแตง (MATERIALS) การติดตั้งเฟอรนิเจอร<br />

และอุปกรณตางๆ เสนทางอพยพ และงานระบบที่<br />

เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความปลอดภัยเมื่อตองเผชิญ<br />

กับเหตุแผนดินไหว<br />

พ.ต.ท.ดร.บัณฑิต ประดับสุข<br />

กรรมการบริหารสมาคม<br />

สถาปนิกสยามในพระบรม-<br />

ราชูปถัมภ พ.ศ. 2555-25<strong>57</strong><br />

92 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


PROFESSIONAL<br />

TEXT<br />

Thongchai Roachanakanan<br />

ดร.ธงชัย โรจนกนันท<br />

EARTH-<br />

QUAKE<br />

IN JAPAN<br />

WHAT THAILAND<br />

CAN LEARN AND HOW TO<br />

STAY PREPARED<br />

แผนดินไหว<br />

ในญี่ปุน<br />

เรียนรูเพื่อ<br />

เตรียมพรอม<br />

สําหรับ<br />

ประเทศไทย 1<br />

ศูนยศึกษาและติดตาม<br />

ภัยแผนดินไหว 2<br />

ภัยพิบัติแผนดินไหวครั้งใหญในประเทศญี่ปุนเมื่อ<br />

วันที่ 11 มีนาคม 2554 สรางความเสียหายทั้งชีวิตและ<br />

ทรัพยสินอยางมหาศาล และเปนขาวสําคัญไปทั่วโลกนั้น<br />

หากยอนกลับไป 2 วัน วันที่ 9 มีนาคม 2554 ศูนย<br />

ศึกษาและติดตามภัยแผนดินไหวไดพบความผิดปกติ<br />

ของการสั่นสะเทือนเปนแผนดินไหวขนาดกลาง M6.0-<br />

7.0 ติดตอกันกวา 10 ครั้ง ในระยะเวลาไมกี่ชั่วโมง บน<br />

พื้นที่เดียวกัน นอกชายฝงดานตะวันออกของเกาะฮอนชู<br />

หางประมาณ 100-150 กิโลเมตร ลักษณะการกระจุก<br />

ตัวของเหตุแผนดินไหวเชนนี้ ไมเคยตรวจพบมากอน<br />

แมเปรียบเทียบกับกรณีแผนดินไหวกอนนี้ในนิวซีแลนด<br />

แตไมมีรายงานหรือขอคิดเห็นจากนักวิชาการถึงเหตุดังกลาว<br />

กระทั่งเกิดแผนดินไหวครั้งใหญขนาด M9.0 ในวันที่<br />

11 มีนาคม หางจากฝ ง 130 กิโลเมตร โดยตลอดทั้งวันนั้น<br />

การใหขาวสวนใหญกลาวถึงการซอนทับของเปลือกโลก<br />

รอยเลื่อนตามแนววงแหวนอัคนี หรือวงแหวนแหงไฟ<br />

(Ring of Fire) และขอคิดเห็นตางๆ จากนักวิชาการที่<br />

เกี่ยวของ ตามดวยผลกระทบตอโรงไฟฟานิวเคลียร และ<br />

การแพรกระจายของสารไอโอดีนและซีเซียม ปนเปอน<br />

ในอาหารและนํ้า<br />

มีเพียงนักวิชาการไมกี่คนที่กลาวถึงความผิดปกติ<br />

ของเหตุแผนดินไหวครั้งนี้ นอกจากการสั่นสะเทือน<br />

หลายครั้งติดตอกันในบริเวณเดียวกัน ทั้งกอนและหลัง<br />

เกิดแผนดินไหว ตามดวยรูปแบบของการเกิดแผนดิน<br />

ไหวขนาดกลางและขนาดเล็ก อีกกวาพันครั้งโดยรอบ<br />

แผนเปลือกโลกที่เรียกวา Pacic Plate ที่ตอกับแผน<br />

เปลือกโลกขางเคียง ตามแนวขอบมหาสมุทรแปซิฟค<br />

หรือวงแหวนแหงไฟนั่นเอง<br />

ขณะเดียวกัน ภูเขาไฟบางลูกตามแนววงแหวนแหง<br />

ไฟเกิดปะทุตามมา โดยมีนัยยะสําคัญที่นาติดตาม หลัง<br />

จากเกิดแผนไหวเพียงไมกี่ชั่วโมง และภูเขาไฟบางลูก<br />

เงียบสงบมานานกวา 60 ป ปรากฏการณเหลานี้อาจ<br />

เปนสัญญาณบอกเหตุถึงบางสิ่งบางอยางที่จะเกิดขึ้นใน<br />

อนาคต<br />

94 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


หนังสือพิมพ Straits Times ของสิงคโปร ลงวันที่<br />

24 มีนาคม 2554 ศาสตราจารย Chang Ai-Lien ได<br />

เขียนบทความเรื่อง Time to rethink quake forecasts?<br />

โดยกลาวนําถึงเหตุแผนดินไหวในญี่ปุนวา นักวิชาการ<br />

จํานวนไมนอยที่มีความเห็นวา “ไมนาเกิดแผนดินไหว<br />

ขนาดใหญขึ้นได้” นั่นกลายเปนประเด็นคําถามถึง<br />

ความแมนยําในการคาดการณหรือพยากรณถึงการเกิด<br />

แผนดินไหวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต แมนักวิชาการใน<br />

ญี่ปุนเองไดมีการวิเคราะหความเปนไปไดของการเกิด<br />

แผนดินไหวในบริเวณนั้นมากอนหลายป แตไมสามารถ<br />

ระบุรายละเอียดความรุนแรง วันเวลา และสถานที่ได<br />

โดยเอกสารบางสวนไดถูกตีพิมพเรื่องนี้มาตั้งแตป 1997<br />

ทําใหเปนประเด็นโตเถียงในกลุมผูบริหารที่ไมสามารถ<br />

ดําเนินการใดๆ เพื่อรับเหตุไดทันทวงที<br />

japantimes.co.jp<br />

01<br />

01 การเกิดแผนดินไหวใน<br />

ประเทศญี่ปุนและพื้นที่ใกลเคียง<br />

หลังวันที่ 11 มีนาคม 2554<br />

ที่มาขอมูล www.usga.org<br />

The historic earthquake that hit Japan on March 11, 2011 has tremendously<br />

devastated the lives and properties of the nation and its<br />

people. As the incident made global headlines, the M9.0 seismic disaster<br />

that took place 130 kilometers away from Japan’s northeastern shoreline<br />

was mostly highlighted for the Ring of Fire where rigid plates in the<br />

Earth’s crust collided along the rim of the Pacific Ocean. Opinions came<br />

pouring out from experts and academics regarding the nuclear plant<br />

crisis and the detection of iodine and cesium contamination in food<br />

and water. Only a few academics raised issues concerning the significant<br />

abnormality of the massive scale of the quake in addition to the pre and<br />

aftershocks as well as the over 1,000 small and medium quakes succeeding<br />

the ‘311’ in the areas around the Pacific Plate that are joined with the<br />

Ring of Fire. In the meantime, some of the volcanoes situated along the<br />

Ring of Fire erupted for only a few hours after the quake. Further observation<br />

of the incident is also significant; especially when considering<br />

the fact that some of these volcanoes hadn’t erupted in over 60 years.<br />

Perhaps these incidents are significations of something that could<br />

happen in the future.<br />

In the 24 March 2011 issue of The Strait Times, a Singaporean news<br />

paper, Professor Chang Ai-Lien wrote an article, ‘Time to rethink quake<br />

forecast?’ citing how a good number of academics have expressed their<br />

opinions about the Japanese earthquake and how an earthquake of this<br />

scale should never have happened. This later raised questions concerning<br />

the precision of future quake forecasts. The Japanese academics have<br />

been analyzing the possibility of earthquakes in that particular area for<br />

years prior to the incident but were unable to predict the detail and scale<br />

of the destruction; including the time and place it would take place.<br />

Some of the documents about the matter were published back in 1997<br />

and consequentially become a debatable issue among the executive<br />

officers for their inability to handle the incident simultaneously and<br />

effectively.<br />

1 เอกสารประกอบการบรรยาย<br />

‘การพัฒนาเมืองในทศวรรษหนา<br />

กรณีเมืองในเขตภัยพิบัติ’<br />

23 พฤษภาคม-7 มิถุนายน 2554<br />

ที่จังหวัดขอนแกน พระนคร-<br />

ศรีอยุธยา สุราษฏรธานี และ<br />

เชียงใหม<br />

2 กระทรวงมหาดไทยมีคําสั่งที่<br />

31/2551 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ<br />

2551 จัดตั ้งศูนยศึกษาและติดตาม<br />

ภัยแผนดินไหว มีสํานักงานตั ้งอยู<br />

ที่กรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

ถนนพระราม 9 เพื่อทําหนาที่<br />

ศึกษา วิเคราะห และติดตามเหตุ<br />

แผนดินไหวที่มีผลกระทบตอ<br />

ประเทศไทย และกําหนดแนวทาง<br />

มาตรการฉุกเฉินในสวนที ่เกี ่ยวของ<br />

เพื่อรองรับเหตุตางๆ ที่เกิดขึ้น<br />

จากแผนดินไหว รวมถึงประสาน<br />

ความรวมมือและแลกเปลี ่ยนขอมูล<br />

ขาวสารกับหนวยงานตางๆ ทั้ง<br />

ภายในและระหวางกระทรวง<br />

02-2018199<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 95


Professor Paul Tapponnier, an expert from Nanyang University said<br />

that if the earthquake documentation and information could be traced<br />

back to thousands of years earlier, not just hundreds, humans might be<br />

able to succeed effective earthquake forecasting, especially in regards<br />

to the historic earthquake that struck on 11 March 2011 with its M9.0<br />

magnitude, making it one of the top five largest earthquakes that have<br />

been recorded by modern-day instruments. One cruel fact is Japan<br />

wasn’t prepared to handle a quake of that scale in that particular area.<br />

Most Japanese geologists were focused primarily on the southern area,<br />

as records have shown great frequency of quakes in the past and, as<br />

a result, speculation for the possibility of earthquakes has been more<br />

focused on the area. This consequentially caused them to overlook<br />

the northern part of the islands and Sendai. For some academics, this<br />

incident is a failure in the analysis and an example of forecasting that<br />

needs to be reexamined.<br />

Japan is situated along the Pacific Ocean’s Ring of Fire, an area<br />

where nine out of 10 earthquakes on the Pacific Plate have already<br />

occurred. It is speculated that the crash of the plates (in the same<br />

way that the earthquake struck in the Andaman sea several years<br />

ago) happened near the coast of North America 1,700 years ago and<br />

caused a massive tsunami to hit the coast of Canada and move all the<br />

way down to California. Some groups of academics reinvestigated<br />

the incident and attempted to explain the cause of this earthquake.<br />

Some compared it to liquid with accumulating heat that is waiting to<br />

explode along the rim of the plate. Caution must be taken to look for<br />

the most dangerous spots where the next explosions will occur, locations<br />

that could be the quietest areas with no previous traces or signs<br />

of earthquakes at all.<br />

The most highly-speculated area for the next big quake to occur<br />

is the plate located approximately 1,000 kilometers from the south of<br />

Japan and along the 1,800 kilometers of the coast of the Java Island<br />

of Indonesia. Serious and comprehensive data collection and analysis<br />

has to be done despite the fact that precise indications about where<br />

and when the next quake will occur have not been achieved. What needs<br />

to be prepared are effective evacuation plans as well as the relocation of<br />

important buildings such as schools, housing for senior citizens, hospitals,<br />

and communities away from the high-risk areas. Professor Paul Tapponnier<br />

emphasizes the importance of these missions as something that will<br />

help save the coastal towns and cities in Asia from massive destruction<br />

caused by heavy storms and tsunamis. This principle has been developed<br />

into policies, which have been implemented in many Asian countries.<br />

Not long after the article was published, Thailand expressed serious<br />

interest and concerns over the issue of earthquakes.<br />

ศาสตราจารย Paul Tapponnier ผูเชี่ยวชาญจาก<br />

มหาวิทยาลัย Nanyang กลาววา ถาหากมีขอมูลการ<br />

เกิดแผนดินไหวยอนอดีตไปไดหลายพันป ไมใชหลาย<br />

รอยป มนุษยอาจสามารถลวงรูการเกิดแผนดินไหวได<br />

ดังกรณีเหตุแผนดินไหววันที่ 11 มีนาคม ขนาดความ<br />

รุนแรง M9.0 ซึ่งจัดเปนความรุนแรงมากที่สุด 1 ใน 5<br />

ครั้งที่เคยถูกบันทึกไวดวยเครื่องมือในยุคปจจุบัน<br />

ความจริงที่ปรากฏชัดคือ ญี่ปุนไมไดเตรียมตัวรับ<br />

เหตุแผนดินไหวรุนแรงขนาดนั้น และตรงบริเวณนั้น<br />

ประการสําคัญนักธรณีวิทยาญี่ปุนใหความสําคัญและ<br />

เนนพื้นที่บริเวณบริเวณอื่น นั่นคือภาคใต ตามขอมูล<br />

ที่เคยมีและบันทึกความถี่ไวที่คาดวามีความเปนไปได<br />

มากวาจะเกิดแผนดินไหว ทําใหมองขามพื้นที่บริเวณ<br />

ทางเหนือของเกาะแถบเมืองเซนได สําหรับนักวิชาการ<br />

บางกลุมมองวาเหตุครั้งนี้เปนความผิดพลาดในการ<br />

วิเคราะหและพยากรณที่ควรทบทวน<br />

ประเทศญี่ปุนตั้งอยูบนรอยเลื่อนตามแนววงแหวน<br />

อัคนี หรือวงแหวนแหงไฟ (Ring of Fire) ที่เหตุแผน-<br />

ดินไหว 9 ใน 10 ครั้ง บน Pacic Plate เกิดขึ้นใน<br />

บริเวณนี้ และทุกครั้งที่แผนเปลือกโลกเกิดการชนหรือ<br />

กระแทกเขาหากัน ซึ่งเปนลักษณะเดียวกันกับแผนดิน<br />

ไหวที่เกิดในทะเลอันดามันเมื่อหลายปกอน ซึ่งคาดวา<br />

เคยเกิดเชนเดียวกันบนชายฝงทะเลของอเมริกาเหนือ<br />

ในราวป 1700 ทําใหเกิดคลื่น Tsunami ขนาดใหญ พัด<br />

เขาชายฝงของแคนาดาถึงแคลิฟอรเนีย นักวิชาการบาง<br />

กลุมตางทบทวนเรื่องราวที่เกิดขึ้น และพยายามอธิบาย<br />

ถึงสาเหตุของแผนดินไหวครั้งนี้ บางคนกลาวเปรียบ<br />

เหมือนของเหลวที่ถูกความรอนสะสมมากขึ้น และรอวัน<br />

ปะทุตามแนวของเปลือกโลก โดยมองหาจุดที่อันตราย<br />

มากที่สุดที่จะระเบิดครั้งตอไป อาจเปนบริเวณที่เงียบ<br />

สงบและไมปรากฏรองรอยการเกิดแผนดินไหวเลยก็<br />

เปนได<br />

บริเวณที่นาจับตามองมากที่สุดซึ่งคาดวาจะเกิด<br />

แผนดินไหวครั้งใหญคราวตอไป คือแนวแผนเปลือกโลก<br />

ดานใตตอจากประเทศญี่ปุน ระยะ 1,000 กิโลเมตร<br />

และแนวตลอดแนวของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย<br />

ถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ความยาว 1,800<br />

กิโลเมตร ซึ่งจําเปนตองศึกษาจัดเก็บขอมูลและวิเคราะห<br />

อยางจริงจัง โดยไมมีใครสามารถบงบอกไดวาแผนดินไหว<br />

ครั้งตอไปจะเกิดที่ไหนและเมื่อไร สิ ่งที่ควรเรงดําเนินการ<br />

ไดแก การจัดทําแผนอพยพ การยายอาคารสําคัญอยาง<br />

โรงเรียน บานพักคนชรา และโรงพยาบาล ออกจากพื้นที่<br />

เสี่ยงภัย ตลอดจนการปรับแกผังเมืองใหมีประชากร<br />

อาศัยนอยที่สุดในบริเวณเสี่ยงภัย ศาสตราจารย Paul<br />

Tapponnier กลาวทิ้งทายวา ภาระเหลานี้จักชวยให<br />

เมืองตางๆ ตามชายฝงทะเลในเอเชียปลอดภัยมากขึ้น<br />

จากพายุและคลื่น Tsunami ขนาดใหญ ซึ่งหลักการนี้<br />

รัฐบาลหลายประเทศกําลังพิจารณาดําเนินการในขณะนี้<br />

และหลังบทความนี้ตีพิมพไดเพียงไมนาน สังคมไทยได<br />

ใหความสนใจเรื่องแผนดินไหวอยางจริงจัง<br />

96 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


ความหวาดกลัวเรื่องแผนดินไหวแผถึงประเทศไทย<br />

เมื่อเกิดแผนดินไหวในพมาคืนวันที่ 24 มีนาคม 2554<br />

วัดแรงสั่นสะเทือนได M6.8 สามารถรูสึกไดถึงกรุงเทพ-<br />

มหานคร เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสินในหลาย<br />

เมืองในพมาใกลชายแดนประเทศไทย ขอสังเกตที่นาสนใจ<br />

ไดแก การเกิดแผนดินไหวขนาดเล็ก (Aftershock) ตาม<br />

มาหลายครั้งในบริเวณเดียวกัน รูปแบบการเกิดแผนดินไหว<br />

คลายกับที่เกิดในญี่ปุ น ขณะเดียวกัน เกิดอากาศแปรปรวน<br />

ครั้งใหญในประเทศไทย อุณหภูมิลดตํ่าลงในภาคตะวัน-<br />

ออกเฉียงเหนือและภาคกลาง สวนภาคใตประสบภัยนํ้า-<br />

ทวมหนักหลายจังหวัด ซึ่งไมเคยปรากฏมากอนในอดีตวา<br />

มีนํ้าทวมชวงปลายเดือนมีนาคม<br />

ภัยธรรมชาติเหลานี้กลายเปนประเด็นคําถาม<br />

มากมาย นับตั้งแตเหตุแผนดินไหวเกี่ยวของกับสภาพ<br />

ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงหรือไม ภาวะนํ้าทวมที่ผิดปกติ<br />

ตามดวยดินถลมเกี่ยวของกับการสูญเสียพื้นที่ปาตนนํ้า<br />

ในภาคใตและแทนที่ดวยตนยางพาราและสวนปาลม<br />

ตลอดจนคําถามถึงการพัฒนาที่ขาดผังเมืองที่ดี จากเวที<br />

วิชาการสูสังคมไทยที่ขาดความรูและความเขาใจเรื่อง<br />

ราวเหลานี้ นับเปนภาระและหนาที่ของหลายหนวยงาน<br />

ที่ยังไมปรากฏแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทามกลางขอเสนอ<br />

และการดําเนินงานมีลักษณะเปนการแกปญหาเฉพาะหนา<br />

ไมยั่งยืนและขาดเอกภาพ<br />

The fear was finally ignited in Thailand when the M6.8 quake hit Burma<br />

on the night of 24 March 2011. With the seismic wave that could be felt<br />

even in Bangkok, the quake brought damage to the lives and properties<br />

of the people in the towns along the Thai-Burmese border. An interesting<br />

observation was that the several aftershocks occurring afterwards were<br />

of a similar pattern to what happened in Japan. In that very same year,<br />

Thailand faced drastic climate irregularity with temperatures significantly<br />

dropping in the Northeast and Central region, while the southern provinces<br />

suffered from severe flooding. Thailand had never seen decreases in temperature<br />

and flooding such as this in late March previously.<br />

These natural disasters have raised several issues and questions regarding<br />

the changing climatic conditions following the quake and whether or<br />

not these incidents are relatable. While the flooding and landslides in the<br />

southern region are the results of deforestation where agricultural areas<br />

invasively replace forests, the proper development of urban planning is<br />

also being questioned in the academic arena and by the public sector as<br />

well, as most of the population remains uninformed and lacks sufficient<br />

knowledge and understanding of these pertinent issues. Several agencies<br />

are obligated to this burden and responsibility, but no substantial policies<br />

or actions have been implemented, only unsustainable and disharmonious<br />

proposals and solutions.<br />

Thai society is beginning to raise questions concerning reliable earthquake<br />

forecasting measures that could lead to potential damage prevention.<br />

In the meantime, academics such as Alan Boyle reported how the Japanese<br />

Government has spent over one billion American dollars over the past decades<br />

on the creation of an emergency earthquake warning network initially comprised<br />

of over 1000 stations operating a nationwide GIS system that has<br />

been continually expanding and is comprised of 3,800 stations today. This<br />

number excludes the country’s decades of investment in human resources<br />

to create experts in the field of study. The system was functioning perfectly<br />

on the day of the ‘311’ incident with an alert consisting of a message window<br />

that flashed on nationally broadcasted television channels only 10 seconds<br />

after the earthquake was detected. It warned people to turn off the gas,<br />

while the trains and operating mechanics were stopped on time. On one<br />

level, the preparation measure was already effective; nevertheless, the<br />

311 quake has ignited a demand for the warning system to operate 30<br />

seconds instead of 15 seconds before the disaster strikes.<br />

Japan’s warning system has been recognized as a model system by<br />

countries around the world. The warning system along the west coast of<br />

the United States has been developed to handle future massive earthquakes<br />

and tsunamis, which are expected to be unavoidable. The system should<br />

be able to provide an early warning at least 15 minutes prior to disaster<br />

strikes and 40 minutes prior for metropolitan areas where effective evacuation<br />

plans are mandatory and academics all agree that the preparation<br />

for disaster is now an ‘essential matter.’ In the meantime, the ongoing discussions<br />

amongst academics revolve around the ability to forecast the<br />

next big earthquakes with the most precise and reliable indications of<br />

time and place. This is an incredible burden and challenge for every earthquake<br />

academic out there.<br />

คําถามหลักที่สําคัญจากสังคมไทย ไดแก การแจง<br />

เตือนภัยแผนดินไหวลวงหนา ที่คาดหวังวาจะชวยชีวิต<br />

มนุษยไดมากที่สุด นักวิชาการอยาง Alan Boyle กลาววา<br />

รัฐบาลญี่ปุ นไดใชงบประมาณมากกวา 1,000 ลานเหรียญ<br />

สหรัฐ หรือกวา 30,000 ลานบาท ตอเนื่องนับทศวรรษ<br />

รัฐบาลสรางเครือขายเตือนภัยแผนดินไหว พรอมดวย<br />

สถานีที่เปนฐาน GIS มากกวา 1000 แหง ทั่วประเทศ<br />

และไดขยายเปนมากกวา 3,800 แหงในปจจุบัน ทั้งนี้<br />

ไมรวมการลงทุนดานบุคลากรระดับผูเชี่ยวชาญมานาน<br />

นับ 10 ปเพื่อทํางานดานนี้ และระบบนี้ทํางานไดดีเมื่อ<br />

คราวเกิดเหตุวันที่ 11 มีนาคม ระบบเตือนภัยเชื่อมโยง<br />

กับสถานีโทรทัศนหลังตรวจพบ ภายใน 10 วินาที ทําให<br />

ประชาชนชาวญี่ปุนในมหานครไดเห็นการถายทอดจาก<br />

โทรทัศนทันที แสดงการทํางานของระบบเตือนภัยแผน-<br />

ดินไหว ทําใหมีเวลาปดแกส หยุดขบวนรถไฟความเร็วสูง<br />

หยุดเครื่องจักรกลที ่กําลังทํางาน และเตรียมตัวดานตางๆ<br />

ไดในระดับหนึ่ง แตเหตุแผนดินไหวคราวนี้ ทําใหเกิด<br />

กระแสผลักดันใหระบบเตือนภัยทํางานลวงหนาใหได<br />

มากกวา 15 และควรเปน 30 วินาทีกอนเกิดเหตุ<br />

japantimes.co.jp<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 97


ระบบเตือนภัยของประเทศญี่ปุนนี้ไดรับการยอมรับ<br />

และนําเสนอเปนตนแบบสําหรับหลายประเทศในเวลา<br />

ตอมา โดยเริ่มพัฒนาระบบเตือนภัยตลอดแนวชายฝง<br />

ทะเลดานตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ที่คาดวาไมอาจ<br />

หนีพนเหตุแผนดินไหวครั้งใหญในอนาคต และผลจาก<br />

การเกิดคลื่น Tsunami ขนาดใหญ ซึ่งควรมีระยะเตือน<br />

ภัยลวงหนาไมนอยกวา 15 นาที และ 40 นาทีสําหรับ<br />

มหานครขนาดใหญ ที่ตองมีแผนการอพยพรองรับอยางดี<br />

และนักวิชาการทั้งหลายกลาวตรงกันวา “เปนสิ่งที่ตอง<br />

ทําไดแลว”<br />

ขณะเดียวกัน ขอถกเถียงในกลุมนักวิชาการที่ยัง<br />

ดําเนินตอไป ไดแก ความสามารถของมนุษยในการคาด<br />

พยากรณเหตุแผนดินไหวใหญครั้งตอไป ทั้งชวงเวลาและ<br />

ภูมิภาคที่อาจเกิดเหตุไดอยางนาเชื่อถือมากที่สุด ทิ้งเปน<br />

เรื่องทาทายแกนักวิชาการใหทํางานหนักตอไป หลังเกิด<br />

เหตุแผนดินไหวในประเทศญี่ปุน นักวิชาการคนหนึ่งได<br />

ตอบขอซักถามดานนี้ที่เกี่ยวของกับประเทศไทยแก<br />

ประธานคณะกรรมาธิการวุฒิสภา และไดเสนอแนะ<br />

มาตรการเตรียมความพรอมเพื่อรับเหตุแผนดินไหว<br />

ซึ่งคาดวามีความเปนไปไดที่อาจเกิดแผนดินไหวขนาด<br />

กลางในประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวัน-<br />

ตกตอเนื่องกับกรุงเทพมหานคร และภาคใต เริ่มจาก<br />

การสํารวจและปรับปรุงฐานขอมูลรอยเลื่อนในประเทศ<br />

ไทยทั้งหมดใหทันสมัย และตองปรับปรุงฐานขอมูลที่<br />

พรอมใชงาน รอยเลื่อนตางๆ ควรปรากฏในแผนที่<br />

ในขณะที่ ดร.ทรงวุฒิ ไกรภัสสรพงษ อดีตกรรมการ<br />

ผังเมืองเสนอใหแสดงรอยเลื่อนในผังเมืองรวมทั้งหมด<br />

แมการปรับปรุงฐานขอมูลรอยเลื่อนตองใชระยะ<br />

เวลาและงบประมาณสูง แตเปนความจําเปนอยางยิ่ง<br />

เพราะขอมูลที่ทันสมัยและนาเชื่อถือจักถูกนํามาวิเคราะห<br />

ความเสี่ยงภัย กําหนดดัชนีความเสี่ยงภัย (Risk Index)<br />

ในระดับตางๆ สําหรับกําหนดนโยบายการพัฒนาเมือง<br />

การกําหนดสัดสวนความหนาแนนประชากรตามลําดับ<br />

ความเสี่ยงภัย กําหนดพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม และ<br />

การพัฒนาอื่นๆ เพื่อลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น<br />

มาตรการสําคัญทางกฎหมายที่นิยมใชแพรหลายใน<br />

ประเทศตางๆ ไดแก การบังคับใหผู อยู อาศัยในพื้นที่เสี่ยง<br />

ภัยตองทําประกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งครอบคลุม<br />

ทั้งนํ้าทวม ดินถลมและแผนดินไหว โดยเบี้ยประกันจัก<br />

แตกตางกันตามบริเวณที่มีคาดัชนีเสี่ยงภัย ที่ปรากฏใน<br />

แผนที่เสี่ยงภัย (Risk Map) จัดทําโดยหนวยงานของรัฐ<br />

ซึ่งเคยนําเสนอใหกรมโยธาธิการและผังเมืองเปนผูจัดทํา<br />

เปนแผนที่เสี่ยงภัยในมาตราสวน 1:4000 สามารถ<br />

ประกอบการวางผังในระดับเมืองได<br />

นักวิชาการยังเสนอแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อรับภัย-<br />

ธรรมชาติ โดยเสนอแนะใหสงสถาปนิก วิศวกร และ<br />

นักผังเมือง ศึกษาหลักสูตรการวางแผนและบริหาร<br />

จัดการภัยพิบัติเมือง (Urban Disaster Planning and<br />

Manage-ment) ซึ่งเปนหลักสูตรปริญญาโทและเอกใน<br />

ตางประเทศ เพื่อเตรียมทรัพยากรบุคคลอยางเพียงพอ<br />

รองรับภัยพิบัติตางๆ ที่จักเพิ่มขึ้นและบอยครั้งขึ้นใน<br />

อนาคต<br />

After the devastating earthquake in Japan, an academic answered<br />

questions about the incident and the possible effects it could<br />

have on Thailand during a meeting with the President of the Senate<br />

Committee as well as proposed preparation measures that could be<br />

used to handle the disaster.<br />

With speculations for medium sized earthquakes to strike in the<br />

northern and western regions of Thailand having a potential impact on<br />

Bangkok and the south, surveys and database improvement have been<br />

made to update the conditions of plates affecting Thailand. The information<br />

is made traceable and retrievable as the most up-to-date locations<br />

of the plates are made visible on the map. Dr. Songwut Kraipassornphong,<br />

the former member of the urban planning committee has proposed<br />

for all the plates to be featured in the country’s entire city plan.<br />

Although database improvement requires a considerable amount<br />

of time and budget, it is extremely necessary. This is because updated<br />

and reliable information will be used in risk analysis and specifications<br />

of risk index, which are essential for the making of urban development<br />

policies, while population distribution can be done according to the<br />

degree of risk, including indications of industrial development areas<br />

and other developments, all to reduce the amount of loss and damage<br />

caused by future disasters.<br />

Legal measures widely used in many countries include an obligation<br />

for those who live in the high-risk areas to have natural disaster insurance,<br />

which covers damage from floods, landslides and earthquakes. The<br />

insurance premium will vary in different areas indicated by the risk index<br />

shown on the risk map created by a governmental agency. The Department<br />

of Public Works and Town & Country Planning is the proposed<br />

agency to take on the responsibility of the creation of a 1:4000 risk map<br />

that can be integrated as a part of the urban planning on a citywide scale.<br />

Academics also propose a human resource development plan for<br />

natural disaster preparations where architects, engineers and urban<br />

planners are offered scholarships to pursue higher degrees in education<br />

in the fields of Urban Disaster Planning and Management. Sufficiency<br />

and quality of human resources will result in the effectiveness of disaster<br />

prevention and relief.<br />

98 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


japantimes.co.jp<br />

ในขณะที่แผนดินไหวในประเทศญี่ปุนยังคงเกิดขึ้น<br />

อยางตอเนื่อง และอีกหลายบริเวณตามแนวแผนเปลือก<br />

โลกแปซิฟค นักวิชาการยังถกเถียงตอไปถึงความเปน<br />

ไปไดของการเกิดแผนดินไหวครั้งตอไป นักวิชาการใน<br />

ประเทศไทยกลุมหนึ่งเชื่อวาคาบการเกิดแผนไหวซํ้าใน<br />

ประเทศไทยประมาณ 550-700 ป จึงไมตองวิตกกังวล<br />

มากนัก แตนักวิชาการอีกกลุมหนึ่งปฏิเสธแนวความคิด<br />

คาบการเกิดซํ้า โดยอาศัยขอมูลทางสถิติและขุดเจาะทาง<br />

ธรณีวิทยาเพื่อคนหาอายุของการเกิดแผนดินไหวในอดีต<br />

โดยกลาวถึงสภาพแวดลอมในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป<br />

จากอดีตเมื่อหลายพันปกอน โดยเฉพาะสมดุลตางๆ<br />

ของโลกเปลี่ยนแปลงไปอยางสิ้นเชิง และอาจเปนไปได<br />

วาแผนดินไหวอาจเกิดเมื่อไรก็ได แตไมใชอีกหลายรอย<br />

ปขางหนา<br />

แมยังไมมีขอสรุปจากเหลานักวิชาการ สังคมไทย<br />

ไมควรประมาท และควรเตรียมความพรอมรับเหตุใดๆ<br />

ที่อาจเกิดขึ้นโดยไมคาดคิด ผูบริหารบางกลุมกลาววา<br />

ประเทศไทยไมสามารถพัฒนาตนเองเพื่อรับภัยพิบัติได<br />

อยางมีประสิทธิภาพอยางประเทศญี่ปุน อยางไรก็ตาม<br />

ภายใตสถานการณที่ผันผวนในปจจุบัน สังคมไทยควร<br />

ดําเนินการอะไรบางอยางลวงหนาเพื่อลดความเสี่ยงและ<br />

ลดความสูญเสีย หลุดพนจากวิถีเดิมที่คอยปญหาใหเกิด<br />

ขึ้นกอนแลวคอยหาทางแกไข กลายเปนภาพที่เคยชิน<br />

และสะทอนความจริงของประเทศไทยนั่นเอง<br />

เอกสารอางอิง<br />

Chang Ai-Lien; Time to rethink quake forecasts?,<br />

The Straits Times, 23 March 2011, Singapore<br />

While earthquakes continue to hit Japan and many other areas<br />

along the Pacific Plate, academics continue to discuss the possibility<br />

of the next seismic disaster. A group of Thai academics believes that<br />

the return period for earthquakes in Thailand is every 550-700 years,<br />

so the matter should not be overly concerned. Nevertheless, another<br />

group of academics rejects the concept of a return period. By basing<br />

the study on statistic information and geological excavation, the history<br />

of earthquakes can be drawn from the comparison of an area’s tectonic<br />

condition in the present time and the geographical history dating back<br />

to several thousands years ago. With the balance of the world’s<br />

environment entirely changing, the chance for an earthquake to strike<br />

again could be a lot sooner than the next hundred years.<br />

Although there hasn’t been any legitimate conclusion from the<br />

academic community, Thailand should always be prepared to handle<br />

any unpredicted incident that could happen. No matter how the decision<br />

making folks still question Thailand’s ability to develop its disaster management<br />

to be as efficient as Japan, under the irregularity of the current<br />

environmental situation, it is extremely necessary for the nation to<br />

come up with preparation and preventive measures to reduce future<br />

risk and loss. With all the lessons of the past, we should now learn to<br />

escape from the post-trauma solutions we have become familiar with.<br />

Don’t wait around for bad things to happen before we start doing<br />

something. Don’t let that familiarity become something we succumb to<br />

nor allow it to reflect the tragic reality of our own country.<br />

1 Lecture handouts, “Urban development of the next<br />

decade: cities in the areas with a high risk for natural<br />

disasters”. The lecture was held from 23 May to 7 June<br />

2011 at Khon Kean, Ayutthaya, Suratthani and Chiang Mai.<br />

2. The Ministry of Interior issued the 31/ 2551 order on<br />

1 February 2008 to establish the Center of Earthquake<br />

Disaster Watch and Studies of Thailand with an office<br />

at the Department of<br />

Public Works and Town & Country Planning. The role of<br />

the center is to study, analyze and follow earthquakes<br />

and the potential effect they could have on Thailand,<br />

including issuing emergency measures in response<br />

to earthquake-related incidents and coordinating collaborations<br />

and the exchange of information with other<br />

agencies within the ministry and between ministries.<br />

02-2018199<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 99


HISTORY<br />

WESTERN INFLUENCES<br />

ON ARCHITECTURE<br />

IN BANGKOK BEFORE 1932<br />

สถาปตยกรรมในกรุงเทพมหานครที่รับอิทธิพลตะวันตก<br />

กอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

100 <strong>ASA</strong> HISTORY วารสารอาษา


TEXT AND PHOTOS<br />

Surapong Sukhvibul<br />

พระที่นั่งอนันตสมาคม<br />

สยามไดติดตอกับชาวยุโรปมาตั้งแตสมัยอยุธยา<br />

โดยไดรับอิทธิพลในดานตางๆ ของชาติตะวันตกผาน<br />

การคาขาย การเผยแพรศาสนา และการทูต แตก็ได<br />

เวนชวงไปรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา หลักฐานทาง<br />

สถาปตยกรรมที่หลงเหลือมาจากสมัยอยุธยาที่สามารถ<br />

ระบุถึงอิทธิพลสถาปตยกรรมตะวันตกในสยามมีนอย<br />

นัก จนลวงเลยมาถึงยุคกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร<br />

ที่สยามไดกลับมาติดตอกับชาติตะวันตกอีกครั้ง แลวก็<br />

ไดรับเอาอิทธิพลศิลปะสถาปตยกรรมมาดวยเชนกัน<br />

ซึ่งมีความชัดเจนมากขึ้นตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกลาเจาอยู หัว ที่มีการสราง “รูปแบบสถาปตย-<br />

กรรมตะวันตกตามจินตนาการเพื่อฝนของชางไทยและ<br />

ชางจีน” 1 แตก็มีการสงขุนนางไปดูงานการกอสรางหรือ<br />

ศึกษาสภาพบานเมืองแบบตะวันตก 2 ผานสถาปตยกรรม<br />

ในดินแดนอาณานิคมของตะวันตก อาทิ เกาะปนัง เมือง-<br />

สิงคโปร พมา อินเดีย โดยมีขอสังเกตไดวา สถาปตย-<br />

กรรมที่สรางตามแบบตะวันตกในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น<br />

เปนการพยายามเลียนแบบ โดยไมมีรูปแบบที่ถูกตอง<br />

เนื่องจากไมไดใชชางออกแบบ (หรือสถาปนิก) ที่มี<br />

ความรูจริงในสถาปตยกรรมตะวันตก<br />

พระอภิเนาวนิเวศนเปนหมู พระมณเฑียรซึ่งโปรดเกลา<br />

ใหสรางขึ้นในพระบรมมหาราชวัง แลวเสร็จในป พ.ศ.<br />

2402 3 รัชกาลที่ 4 ทรงตั้งพระทัยวาจะใหมี “แบบอยาง<br />

ที่ละมายคลายกับราชนิเวศนซึ่งมีในมหานครขางโยรปย-<br />

ปถพี” 4 แตเปนที่นาเสียดายวา หมูอาคารนี้ถูกรื้อถอน<br />

ออกไป เพื่อปลูกสรางอื่นๆ แลว นอกจากนั้นยังมีสถาปตย-<br />

กรรมพระราชวังอีกหลายหลังที่สรางขึ้นตามอยางตะวันตก<br />

อาทิ พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ ในพระราชวังบวรสถาน<br />

ซึ่ง “ทําตามแบบเรือนฝรั่ง...” 5 ปจจุบันอยูในพื้นที่พิพิธ-<br />

ภัณฑสถานแหงชาติพระนคร อุดมพร ธีรวิริยกุล เสนอ<br />

อิทธิพลในสิ่งแวดลอมสถาปตยกรรมของสยาม โดยเฉพาะ<br />

กรุงเทพฯ นั้น “การปรับเปลี่ยนนั้นเกิดขึ้นอยางคอยเปน<br />

คอยไปนับตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา-<br />

เจาอยูหัว... กรุงเทพฯ ภายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ-<br />

พระจอมเกลาเจาอยู หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-<br />

เจาอยูหัวไดรับรูปแบบ 'ความทันสมัยแบบอาณานิคม'<br />

อยางเมืองสิงคโปรและปตตาเวียมาเปนตนแบบสําหรับ<br />

กรุงเทพฯ... ยกตัวอยางเชน การสรางถนนและหองแถว<br />

และโครงสรางพื้นฐานสมัยใหม ซึ่งลวนแตไดรับอิทธิพล<br />

มาจากสิงคโปรและปตตาเวีย” 6 พระบาทสมเด็จพระ-<br />

จุลจอมเกลาเจาอยูเสด็จประพาสดินแดนอาณานิคมของ<br />

ตะวันตกในชวงตนรัชกาลหลายครั้ง ทั้งสิงคโปร พมา<br />

อินเดีย และชวา มีหลักฐานทั้งพระราชหัตถเลขาบันทึก<br />

ตางๆ และขาวในหนังสือพิมพตางประเทศ รวมถึงเอกสาร<br />

ราชการทั้งของสยามและของตางประเทศที่ระบุสถานที่<br />

และอาคารตางๆ ที่พระองคเสด็จทอดพระเนตร เพื่อ<br />

พิจารณานํามาสรางในสยาม เชน หอคองคอเดีย (หรือ<br />

ศาลาสหทัยสมาคมในปจจุบัน) ในเขตพระบรมหาราชวัง<br />

ที่ใชเปนสโมสรทหารมหาดเล็ก ซึ่งสรางแลวเสร็จในป<br />

พ.ศ. 2417 ตามแบบสถาปตยกรรมตะวันตกก็ไดรับ<br />

พระราชทานนามตาม คลับคองคอเดีย* ที่เปนสโมสร<br />

ทหารในเมืองปตตาเวีย 7<br />

1 พีรศรี โพวาทอง, ชางฝรั่ง<br />

ในกรุงสยาม : ตนแผนดิน<br />

พระพุทธเจาหลวง (กรุงเทพ :<br />

2548), หนา 5.<br />

2 เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร,<br />

อลังการสถาปตย ๒๐๐ ป ก่ํา<br />

ฟาเฟอนหาว (2548), หนา 72.<br />

3 หมอมราชวงศแนงนอย<br />

ศักดิ์ศรี, พระอภิเนาวนิเวศน,<br />

หนา 95.<br />

4 ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 25<br />

อางใน แนงนอย ศักดิ ์ศรี, หมอม-<br />

ราชวงศ. หนา 63. โยรปยปถพี<br />

หมายถึง แผนดินยุโรป<br />

5 สาสนสมเด็จ เลมที่ 26 หนา<br />

151 นริศรานุวัตติวงศ, สมเด็จ-<br />

เจาฟากรมพระยา และ สมเด็จ-<br />

กรมพระยาดํารงราชานุภาพ.<br />

กรุงเทพฯ : คุรุสภา 25<strong>05</strong><br />

6 Udomporn Teeraviriyakul.<br />

Bangkok Modern<br />

: The Transformation Of<br />

Bangkok With Singapore<br />

And Batavia As Models<br />

(1861-1897).<br />

* ในจดหมายเหตุเสด็จประพาศ<br />

เกาะชวา ในรัชกาลที่ 5 ทั้ง 3<br />

คราว เรียกวา หอกอนกอเดีย<br />

และเรียกชื่อเมืองวา เบตาเวีย<br />

7 กรมศิลปากร. สมเด็จพระ<br />

ปยมหาราช พระผูพระราชทาน<br />

กําเนิดพิพิธภัณฑสถานเพื่อ<br />

ประชา. หนา 32.<br />

วารสารอาษา<br />

HISTORY <strong>ASA</strong> 101


วังสราญรมย<br />

พระบรมมหาราชวังซึ่งเปนศูนยกลางของพระราช-<br />

อํานาจและระบบการปกครองในสมัยนั้น ก็มีสถาปตย-<br />

กรรมปลูกสรางขึ้นใหมตามแบบตะวันตกอยู หลายอาคาร<br />

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทเดิมนั้นไดออกแบบใหมีลักษณะ<br />

ตามอยางสถาปตยกรรมตะวันตก ผังซึ่งแสดงใหเห็น<br />

พื้นที่ที่จะรองรับการใชสอยแตกตางจากผังแบบสถาปตย-<br />

กรรมในพระบรมมหาราชวังแตเดิม แมวาจะไดเปลี่ยน<br />

ยอดหลังคาโดมที่ออกแบบไวโดยสถาปนิกจอหน คลูนิซ<br />

(John Clunis) ชาวอังกฤษ แลวสรางเปนหลังคายอด<br />

ปราสาทแบบไทยแทน แตนอกจากนั้นก็มีความเปน<br />

สถาปตยกรรมตะวันตกเกือบทุกประการ รูปแบบ<br />

ภายนอกและการตกแตงประดับประดาภายนอกก็มี<br />

ลักษณะสอดคลองกับรูปแบบสถาปตยกรรม นอกจากนั้น<br />

ในพระบรมมหาราชวังก็ยังมีพระที่นั่งภานุมาทจํารูญ ซึ่ง<br />

โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นเพื่อเปนที่ประทับของสมเด็จ-<br />

พระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎ-<br />

ราชกุมาร (ตอมาไดเปลี่ยนนามพระที่นั่งเปนพระที่นั่ง<br />

บรมพิมานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-<br />

เจาอยู หัว) 8 ก็เปนแบบสถาปตยกรรมตะวันตก พระตําหนัก<br />

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวร พระพันวัสสา<br />

อัยยิกาเจา กับ พระตําหนักสมเด็จพระนางเจาสุขุมาล<br />

มารศรี พระอัครราชเทวี ในเขตพระราชฐานชั้นใน ก็<br />

สรางตามแบบสถาปตยกรรมตะวันตก<br />

นอกเหนือจากสถาปตยกรรมภายในพระบรมมหา-<br />

ราชวังแลว ก็มีสถาปตยกรรมประเภทวังจํานวนมากของ<br />

พระเจาอยูหัวและเชื้อพระวงศระดับตางๆ ที่สรางโดย<br />

สถาปนิกหรือชางชาวตะวันตก หรือสรางตามรูปแบบ<br />

8 ประกาศเปลี่ยนนามพระที่นั่ง<br />

ราชกิจจานุเบกษา เลม 41 หนา<br />

51 วันที่ 27 กรกฎาคม 2467<br />

9 http://www.asa.<br />

or.th/?q=node/101020 พิมพ<br />

ไทย ฉบับวันที่ 15 ธันวาคม<br />

พ.ศ. 2552 เปดบานหลังคาแดง<br />

ที่พึ่งสําหรับผูปวยทางจิต<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ<br />

10 อางใน ชาตรี ประกิตนนทการ.<br />

จากสยามเกา สู ไทยใหม : ความ<br />

หมายทางสังคมและการเมืองใน<br />

งานสถาปตยกรรม พ.ศ. 2394 -<br />

2500. (2549) หนา 153.<br />

สถาปตยกรรมตะวันตก เชน หมูอาคารพระราชวังดุสิต<br />

อาทิ พระที่นั่งพิมานเมฆ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่ง<br />

อนันตสมาคม นอกจากนั้นยังมีวังสระปทุม วังมะลิวัลย<br />

(ปจจุบันเปนที่ทําการสํานักงานองคการอาหารและเกษตร<br />

แหงสหประชาชาติ) วังพระเจานองยาเธอเจาฟาจิตรเจริญ<br />

(วังตะวันตกในวังทาพระ เปนสวนหนึ่งของมหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร) ตําหนักปารุสกและตําหนักจิตลดาในวังปารุสกวัน<br />

สวนสถาปตยกรรมประเภทอื่นที่รองรับการใชงาน<br />

สาธารณะก็มีจํานวนมากที่สรางโดยสถาปนิกหรือชาง<br />

ชาวตะวันตก หรือสรางตามรูปแบบสถาปตยกรรม<br />

ตะวันตก เชน โรงทหารหนา (อาคารกระทรวงกลาโหม<br />

ปจจุบัน) ศุลกสถาน (สถานีดับเพลิงบางรักในปจจุบัน)<br />

ตึกเสาวภาคกับตึกวิคตอเรียในโรงศิริราชพยาบาล คุก<br />

มหันตโทษ (พิพิธภัณฑราชทัณฑในปจจุบัน) โรงเรียน<br />

ทหารสราญรมย (อาคารกรมแผนที่ทหารในปจจุบัน)<br />

ตึกกระทรวงนครบาล (ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนกระทรวง<br />

มหาดไทย) โรงกษาปณสิทธิการ (ปจจุบันเปนพิพิธภัณฑ<br />

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กอสรางขึ้นอีกแหงเพื่อใหมี<br />

ขนาดใหญขึ้น อยูบริเวณคลองคูเมืองเดิม ปจจุบันเปน<br />

หอศิลปเจาฟา) โรงเรียนสุนันทาลัย<br />

ขุนนางชั้นสูงหลายทานไดรับพระราชทานบาน ซึ่ง<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจางชางหรือ<br />

สถาปนิกฝรั่งใหสรางขึ้น อาทิ บานของเจาพระยายมราช<br />

(ปน) ขณะเดียวกันขุนนางหลายทานที่มีทรัพยสินก็จาง<br />

ฝรั่งออกแบบสรางบานเองตามอยางตะวันตก อาทิ<br />

เจาพระยาสุรวงศไวยวัฒน (วร) จางนายเกรซี่สรางบาน<br />

อยูฝงธนบุรี (ปจจุบันคือพิพิธภัณฑโรงพยาบาลสมเด็จ-<br />

เจาพระยา) 9 นอกจากนั้นยังมีคานิยมตามฝรั่งในการสราง<br />

อาคารแบบอื่นๆ อีก อาทิ ตระกูลบุนนาคไดสรางอาคาร<br />

รูปแบบสถาปตยกรรมโกธิคเรียกวา พรรณนาคาร เพื่อ<br />

เปนที่ระลึกถึงทานผูหญิงพรรณ ภริยาสมเด็จเจาพระยา<br />

มหาศรีสุริยวงศ (ชวง) ในวัดประยุรวงศาวาส<br />

หลังรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ยาวนานและมีการเปลี่ยน-<br />

แปลงอยางมากในสังคมสยาม พระราชโอรส คือ พระบาท-<br />

สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู หัว ซึ่งครองราชยตอมานั้น<br />

ทรงศึกษาในประเทศอังกฤษเปนเวลาหลายป พระราชนิยม<br />

ในสถาปตยกรรมแบบตะวันตกนั้นคอนขางชัดเจนมาก<br />

สถาปตยกรรมพระราชวังตางๆ เกือบทั้งหมดในรัชสมัย<br />

เปนแบบตะวันตก อาทิ พระราชวังพญาไท สวนพระญาติ-<br />

วงศเชื้อพระวงศจํานวนมากก็ไดใชสถาปนิกฝรั่งออกแบบ<br />

วังหรือตําหนัก อาทิ ตําหนักสมเด็จฯ ในวังบางขุนพรหม<br />

วังวรดิศ วังวิทยุ นอกจากนั้นบานของขุนนางชั้นสูงหลาย<br />

ทานที่ไดรับพระราชทานซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-<br />

เจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหชางหรือสถาปนิกฝรั่งสราง<br />

ขึ้น อาทิ บานเจาพระยารามราฆพ หรือ บานนรสิงห<br />

(ปจจุบันคือ ตึกไทยคู ฟา ในทําเนียบรัฐบาล) บานพระยา<br />

อนิรุทเทวา (ปจจุบันคือ บานพิษณุโลก) บานมนังคศิลา<br />

ตึกกรมศิลปากร ตึกกระทรวงพาณิชย (มิวเซียมสยาม)<br />

หลายอาคารในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ<br />

102 <strong>ASA</strong> HISTORY วารสารอาษา


ตอมาเมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา-<br />

เจาอยูหัว ความนิยมในสถาปตยกรรมตะวันตกก็เปลี่ยน<br />

ไปตามยุคสมัยดวยเชนกัน การเขามาของรูปแบบสถาปตย-<br />

กรรมโมเดิรนก็เห็นไดในยุคสมัยนี้ อาจารยนารถ โพธิ-<br />

ประสาท ไดเขียนไวใน ‘ความหมายของสถาปตยกรรม’<br />

วา “...ตึกสมัยใหมในยุโรป...เปนตึกรูปชนิดเปนเสนตรง<br />

ไปตรงมา...การกอสรางที่ทําขึ้นใหมตองใหถูกที่สุด โดย<br />

ใชของเบาราคาถูกมีความทนทานดี...ของนี้ถูกยอมมี<br />

ลวดลายอะไรไมไดมาก ผลลัพธก็คือเสนตรงไปตรงมา<br />

อยางสุขศาลาบางรัก...” 10 (ถูกรื้อถอนไปแลว เคยอยูใน<br />

พื้นที่ที่เปนโรงพยาบาลเลิดสินในปจจุบัน) ตัวอยางอื่น<br />

เชน โรงพิมพวัดสังเวช ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนเปนโรงเรียน<br />

ชางพิมพแหงแรกของสยาม สรางในป พ.ศ. 2468 ก็<br />

ถูกออกแบบสรางขึ้นในรูปแบบสถาปตยกรรมโมเดิรน<br />

โรงละครเฉลิมกรุง จึงนาเชื่อวา ยังมีอาคารสาธารณะ<br />

อื่นๆ อีกที่สรางขึ้นกอนหนาการเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

พ.ศ. 2474 ในเวลาไลเลี่ยกัน นอกจากนั้นยังมีอาคาร<br />

ประเภทบานพักอาศัยทั้งระดับเจานายและขุนนาง รวมถึง<br />

คหบดีทั้งหลาย ยังคงเหลือใหเปนหลักฐานถึงปจจุบัน<br />

อยูบาง แตก็จะคอยๆ หายไปกับการเวลาหากไมมีการ<br />

ใสใจอนุรักษบํารุงรักษา<br />

The West influenced architecture in Bangkok before<br />

the Siamese Revolution of 1932, as Siam had been in<br />

contact with the West since the Ayutthaya era and Western<br />

influence could already be discerned. Trade, religious<br />

propagation, and diplomacy became avenues for architectural<br />

influence to be dispersed with a temporary<br />

absence being seen during the reign of King Phetracha.<br />

However, only a few traces of Ayutthaya architecture<br />

influenced by the West have survived through time and<br />

it was not until the Thonburi and Rattanakosin eras, when<br />

Siam revived its contact with the West and consequentially<br />

embraced its artistic and architectural leverages, that<br />

architectures began to flourish during the reign of King<br />

Rama IV through the construction of ‘Western architecture<br />

from the imagination of Thai and Chinese artisans.’ Noblemen<br />

were sent off to study Western construction techniques<br />

and cities in Western colonies such as Penang,<br />

Singapore, Burma, India, etc. However, it is obvious<br />

and noticeable that the architecture constructed during<br />

theRama IV period was an attempt to imitate without<br />

following proper architectural principles and construction<br />

methods. These architectural replicas were not the<br />

works of artisans (or architects) with a true knowledge<br />

of Western architecture.<br />

Pra Apinaoniwate was one of Phra Maha Montien<br />

Buildings King Rama IV constructed in the Grand Palace.<br />

The construction was completed in 1859 with an intention<br />

for the building to have a “similar style to the palaces in<br />

European cities.” Unfortunately, the complex of buildings<br />

was later dismantled and replaced by other architectural<br />

constructions. There are several other royal places whose<br />

designs and construction follow a Western architectural<br />

style as well, such as the Issares Rajanusorn Mansion,<br />

a two-story Western building in the Front Palace (the<br />

National Museum), in which the architecture is documented<br />

for its attempt to ‘imitate Westerners’ houses.’<br />

Udomporn Teeraviriyakul proposed a notion concerning<br />

the influences circulating Siam’s architectural environment<br />

(particularly those in Bangkok) at the time and how<br />

‘the transformation and adjustment were rather gradual<br />

from the reign of King Rama IV onwards…Bangkok during<br />

the reign of King Rama IV and King Rama 5 was highly<br />

influenced by ‘colonial modernity’ with cities such as<br />

Singapore and Pattawia serving as the models.” King<br />

Rama V visited the Western colonies of Singapore,<br />

Burma, India and Java several times in the early days of<br />

his reign and his travels were chronicled in his own<br />

handwritten journals, newspapers and official letters<br />

issued by Siam and foreign countries documenting places<br />

and buildings that the King had visited with the intention<br />

of constructing similar works of architecture in Siam. Sala<br />

Saha Thai Samakhom, or the Concordia Pavilion inside<br />

the Grand Palace, was one of these examples. With the<br />

construction being completed in 1874, the building was<br />

used as the Royal Guard Club while the name Concordia<br />

came from the Concordia Club, which was one of the<br />

soldiers clubs in Pattawia.<br />

วังสราญรมย<br />

วารสารอาษา<br />

HISTORY <strong>ASA</strong> 103


ภายในพระอุโบสถวัด<br />

ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม<br />

THE WEST INFLUENCED ARCHITECTURE<br />

IN BANGKOK BEFORE THE SIAMESE<br />

REVOLUTION OF 1932, AS SIAM HAD BEEN<br />

IN CONTACT WITH THE WEST SINCE THE<br />

AYUTTHAYA ERA AND WESTERN INFLUENCE<br />

COULD ALREADY BE DISCERNED.<br />

With the Grand Palace serving as the center of<br />

power and governance at the time hosting several Western<br />

styled architectural creations, the Chakri Maha Prasat<br />

Throne Hall exemplifies the Western architectural influence<br />

with its floor plan that is quite different from those of other<br />

buildings in the Grand Place. Even after replacing the<br />

domed roof originally designed by the British architect<br />

John Clunis with a Thai styled roof, several other elements<br />

of Western architecture can still be found. The<br />

exterior of the building as well as the ornamentation<br />

was constructed to be in accordance with Western<br />

architectural styles. Another architecture of a similar style<br />

also situated inside the Grand Palace is that of Panumas<br />

Jamroon Mansion (the building was later given<br />

a new name of Borom Phiman Mansion when King Mongkut,<br />

Rama IV, came to the throne) as well as buildings in<br />

the inner court of the Grand Palace such as<br />

the mansions of Her Majesty Queen Sri Savarindira, the<br />

Queen Grandmother of Thailand and Her Majesty<br />

Queen Sukumalmarsri, Royal Consort of His Majesty<br />

King Chulalongkorn.<br />

In addition to the architectural creations situated as<br />

a part of the complex inside the Grand Palace, there were<br />

countless examples of palaces for the Kings and members<br />

of the royal family designed by Western artisans or architects<br />

located at other locations around Bangkok as well<br />

that were constructed with a Western architecture model.<br />

Some examples would be the complex of buildings at<br />

Dusit Palace such as Vimanmek Mansion, Amphorn<br />

Satharn Villa, Ananda Samakhom Throne Hall, or Srapathum<br />

Palace and Maliwan Palace (currently being used<br />

as the office of Food and Agriculture Organization of<br />

the United Nations), Prince Narisara Nuvadtivongs’ palace<br />

(the west building inside Thapra Palace, a campus of<br />

Silpakorn University), Parusk Mansion and Chitralada<br />

Villa situated inside Parusakawan Palace.<br />

There were also a great number of public buildings<br />

constructed by Western architects or artisans with a<br />

Western architectural style such as the Front Military Hall<br />

(the current Ministry of Defense’s building), Suloksathan<br />

(currently Bangrak Fire Station), Saowaphak and Victoria<br />

building in Siriraj Hospital, Mahanthot Prison (currently<br />

the Corrections Museum), Saranrom Military School<br />

(currently the Royal Thai Survey Department’s office<br />

building), Sitthikarn Royal Mint (the building that later<br />

became Wat Phra Keo Museum before the refurbishment<br />

and extension was done to expand the space of the<br />

building that now currently houses the National Gallery<br />

Bangkok) and Sununthalai School.<br />

Houses awarded by King Rama 5 to the noblemen<br />

were also designed by foreign architects such as the<br />

Chao Phya Yommaraj’s residence (Pun Sukhum) where<br />

Chao Phya Suriyawongwaiyawat (Worn) hired a Western<br />

architect named Gracey to design and construct his<br />

house in the Thonburi district (currently Somdejchaopraya<br />

Hospital Museum). The Western tradition was eagerly<br />

adopted by Thai noble families such as the Bunnags, who<br />

built Phannakarn, a Gothic-styled concrete crematorium<br />

in the memory of Thanphuying Phan, the wife of<br />

Somdetch Chao Phraya Borom Maha Suriyawongse<br />

(Chuang Bunnag) in Wat Prayurawongsawat Temple.<br />

104 <strong>ASA</strong> HISTORY วารสารอาษา


สุรพงศ สุขวิบูลย<br />

นักวิชาการดานวัฒนธรรม<br />

tecture as Professor Nart Pohprasart wrote “…modern<br />

buildings in Europe are composed of straight lines…<br />

the construction cost has to be the cheapest using the<br />

lightest and most durable materials possible…cheap<br />

materials are usually plain and simple looking with no<br />

ornamentation, so the result is architecture with straightforward<br />

lines and forms such as the Sukasala Bangrak<br />

Pavilion…” (the pavilion was situated in Lerdsin Hospital<br />

but has already been demolished). Other examples are<br />

such as Wat Sangwet Temple Publishing House, which<br />

was later turned into Siam’s first Printmaking School (constructed<br />

in 2468), that was also a design of Modern Architecture,<br />

as well as the Chalermkrung Theatre. There were<br />

several other buildings constructed before the Siamese<br />

Revolution in 1932 ranging from the residences of noblemen<br />

to those of wealthy merchants. While some of these<br />

historical architectural traces remain visible today, the<br />

chance for them to gradually disappear through the on<br />

going course of time is very likely unless serious conservation<br />

measures are implemented.<br />

Following the long reign of King Rama V, Siam had<br />

gone through tremendous changes. The Heir Apparent,<br />

who later became King Mongkut, Rama IV, was educated<br />

in Great Britain for several years, resulting in his preference<br />

for Western architecture and consequentially<br />

the flourishing of Western-styled buildings in Siam under<br />

his rule such as Phayathai Palace. Many other residences<br />

of the members of the royal family were also designed<br />

by foreign architects (mansions and villas in Bangkhunprom<br />

Palace, Woradit Palace, Witthayu Palace, and several<br />

other residential buildings awarded to noblemen such as<br />

Praya Ramrakhop Residence, Norasingha Residence<br />

(currently Thai Khu Fah Building in the Government House),<br />

Anirutdheva Residence (currently Pitsanulok Residence),<br />

Manangkasila Residence, the Fine Art Department’s<br />

office building, the former Ministry of Commerce’s<br />

building (currently Museum Siam) and a number of<br />

buildings in Chulalongkorn Hospital.<br />

During the reign of King Rama 7, the popularity of<br />

Western architecture gradually shifted to Modern Archi-<br />

ตําหนักสมเด็จในวังบางขุน-<br />

พรหม<br />

วารสารอาษา<br />

HISTORY <strong>ASA</strong> 1<strong>05</strong>


่<br />

REVIEW<br />

ARCHITECTURE.<br />

POSSIBLE HERE?<br />

“HOME-FOR-ALL”<br />

TOYO ITO, KUMIKO<br />

INUI, SOU FUJIMOTO,<br />

AKIHISE HIRATE, NAOYA<br />

HATAKEYAMA<br />

ภายหลังจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิครั ้งใหญ<br />

ในญี ่ปุ นเมื ่อป 2011 นั ้น Toyo Ito กับกลุ มสถาปนิกญี ่ปุ น<br />

อีกสามคนอยาง Kumiko Inui, Sou Fujimoto, Akihise<br />

Hirate และชางภาพสถาปตยกรรม Naoya Hatakeyama<br />

รวมกับหนวยงานทองถิ่นและผูประสบภัยในพื้นที่แถบ<br />

Rikuzentakata รวมกันสรางสรรคผลงาน ‘Home for All’<br />

ขึ้นจากความหวังที่ยังหลงเหลืออยูของผูคนในพื้นที่ ซึ่ง<br />

สะทอนความหมายของสถาปตยกรรม บทบาทของสถาปนิก<br />

และความเปนไปไดของสถาปตยกรรมในอนาคตของพื ้นที<br />

ชวงฟ นฟูภายหลังจากภัยพิบัติทางธรรมชาติไวอยางนาสนใจ<br />

TITLE<br />

Architecture. Possible<br />

here? “Home-for-All”<br />

WRITER<br />

Toyo Ito, Kumiko Inui, Sou<br />

Fujimoto, Akihise Hirate,<br />

Naoya Hatakeyama<br />

PAGE<br />

185 pp.<br />

LANGUAGES<br />

Japanese - English<br />

ISBN<br />

978-4-88706-331-0<br />

01 สภาพพื้นที่ Takatacho,<br />

Rikuzentakata ถายไวเมื่อ<br />

2 พฤษภาคม 2011 ภายหลัง<br />

เหตุการณภัยพิบัติประมาณ<br />

2 เดือน<br />

01<br />

106 <strong>ASA</strong> REVIEW วารสารอาษา


จากผลงานที่ไดรับรางวัล Gold Lion และประสบ<br />

ความสําเร็จอยางสูงจาก The Venice Biennale 2012<br />

ที่ Toyo Ito เองรับหนาที่สถาปนิกหลักผูจัดแสดงงาน<br />

นิทรรศการของประเทศญี่ปุนในครั้งนั้น มาสูหนังสือ<br />

ในชื่อเดียวกันกับนิทรรศการ Architecture. Possible<br />

here? ความหนากวา 185 หนาเลมนี้ บอกเลาเรื่องราว<br />

เชิงลึกของ ‘Home-for-All’ ในฐานะสถาปตยกรรมเล็กๆ<br />

แตเปนผลลัพธจากคําถามที ่ทาทายทั ้งความหมายบทบาท<br />

และอนาคตของศาสตรทางสถาปตยกรรม ตลอดจน<br />

วิชาชีพของสถาปนิก ผานมุมมองกระบวนการทํางาน<br />

และประสบการณการทํางานรวมกันอยางใกลชิดของ<br />

ทุกฝาย เมื่อครั้งเดินทางไปยังพื้นที่ Rikuzentakata นั้น<br />

ทีมสถาปนิกตางพบวาแมทุกอยางจะสูญสลายไปแต<br />

ความสัมพันธของผูคนนั้นยังคงอยูแตเปราะบางมาก<br />

เมื่อตางถูกแยกยายกันไป พวกเขาไดชวยกันคิดวาจะ<br />

ทําอะไรไดบางในการฟนฟูเยียวยา และจินตนาการวา<br />

สถาปตยกรรมในอนาคตของพื้นที่แถบนั้นนาจะเปน<br />

อยางไรไดบาง เดิมทีสถาปนิกคิดเพียงการออกแบบและ<br />

สรางบานพักชั่วคราวใหกับครอบครัวผูประสบภัยกวา<br />

30 ครัวเรือนใหมเพราะบานพักที่จัดไวใหนั้นคอนขาง<br />

แออัด ขนาดไมเหมาะสม แตกลับเปน Mikiko Sugawara<br />

หนึ่งในผูประสบภัยเองที่เสนอวาสิ่งที่ควรจะมีคือบาน<br />

สวนกลางใหสําหรับทุกๆ คนไดพบปะพูดคุยกันมากกวา<br />

โดยในขณะนั้นพวกเขาอาศัยเพิงพักชั่วคราวเปนสถานที่<br />

รวมตัวพบปะกันอยู แลว จึงนํามาสู การออกแบบและกอสราง<br />

‘Home for All’ รวมกัน โดย Mikiko และคนในพื้นที่เอง<br />

เปนคนเสนอที ่ตั ้งใหมของบานสวนกลางนั ้นใหทีมสถาปนิก<br />

อีกดวย เรื ่องราวของ ‘Home for All’ ใน Rikuzentakata<br />

ตอกย้ ําถึงการทํางานของสถาปนิกในฐานะคนกลางผู สาน<br />

ตอความตองการของผู คนมากกวาการแสดงความตองการ<br />

ของสถาปนิกเองเพียงอยางเดียว และเปนความพยายาม<br />

กาวขามความเปนปจเจกของทั้งสถาปนิกและผู คนไปสู<br />

การเริ ่มตนสิ ่งใหมๆ รวมกันอีกครั ้งของทั้งสถาปตยกรรม<br />

และสังคมภายหลังประสบภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมถึง<br />

การคอยๆ สรางความสัมพันธและความไววางใจระหวาง<br />

สถาปนิกกับผูใชอาคารผานกระบวนการทํางานรวมกัน<br />

ดร.สุปรียา หวังพัชรพล<br />

อาจารยประจําคณะสถาปตย-<br />

กรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร มีความสนใจใน<br />

ความเชื่อมโยงของงานออกแบบ<br />

สถาปตยกรรมในมิติทางกายภาพ<br />

กับมิติทางสังคม เศรษฐกิจ และ<br />

การเมือง ตลอดจนบทบาทของ<br />

สถาปนิกและการออกแบบทาง<br />

สถาปตยกรรมเพื่อการเปลี่ยน-<br />

แปลงและการเคลื่อนไหวทาง<br />

สังคมที ่เนนกระบวนการออกแบบ<br />

โดยการมีสวนรวมในการตัดสินใจ<br />

จากผูใชสอยเปนสําคัญ<br />

การถายทอดเรื่องราวเนื้อหาของบานเล็กๆ หนึ่งหลัง<br />

สําหรับทุกคน ในทุกๆ กระบวนการสรรคสราง รวมถึง<br />

เมื่อครั้งนําไปจัดแสดงใน Venice Biennale ตลอดจน<br />

ภาพวาด ภาพถาย การเขียนแบบ และบทพูดคุยกันของ<br />

ทีมสถาปนิกในฉบับสองภาษา อังกฤษ-ญี ่ปุ น เลมนี ้อาจจะ<br />

เหมาะกับผูอานที่ไมวาจะอยากเปนสถาปนิกหรือไมใช<br />

สถาปนิกไดคอยๆ ทําความเขาใจวา สถาปตยกรรมนั ้น<br />

กําเนิดขึ ้นเมื ่อความสัมพันธทางสังคมของผู คนเริ ่มตน<br />

บานและเครือขายทางสังคมนั้นจําเปนกับชีวิตของผูคน<br />

โดยเฉพาะมิติทางดานจิตใจเสมอ หรือในขณะเดียวกัน<br />

นั้น เรื่องราวของ ‘Home for All’ อาจจะเหมาะสําหรับ<br />

สถาปนิกที่กําลังเริ่มๆ ถามตัวเอง(ใหม)อีกครั้งวา “เรา<br />

จะเปนสถาปนิกไปเพื่ออะไร” ก็เปนได<br />

02<br />

02 การจัดทําหุ นจําลองมาตราสวน<br />

1:10 เพื่อศึกษารายละเอียดของ<br />

การออกแบบ และภาพลายเสน<br />

ภายในอาคารสื่อถึงแนวคิดใน<br />

การออกแบบที่เอื้อใหบานหลังนี้<br />

รองรับคนทุกเพศทุกวัยสามารถ<br />

มาทํากิจกรรมตางๆ ที ่ตองการได<br />

03 บรรยากาศการจัดแสดง<br />

นิทรรศการ ‘Architecture.<br />

Possible here?’ ภายใน Japan<br />

Pavilion สวนหนึ่งของงาน<br />

Venice Biennale ป 2012<br />

03<br />

108 <strong>ASA</strong> REVIEW วารสารอาษา


PRODUCT<br />

NEWS<br />

01<br />

10 September Co., Ltd.<br />

T : +662 517 <strong>05</strong>07-9<br />

F : +662 517 1868<br />

W : pyramidautodoor.com<br />

MOTORIZED<br />

CLOTHES PACK<br />

02<br />

MOTORIZED<br />

CLOTHES RACK<br />

นวัตกรรมใหมสําหรับการตากผาในอาคารที่มีความทันสมัย<br />

เปนระเบียบ ติดตั้งงายไดทั้งภายในและนอกอาคาร ชวยลด<br />

ปญหาเรื่องพื้นที่ใชสอยของระเบียง สามารถปรับระดับขึ้น–ลง<br />

เพื่องายตอการตากผาและจัดเก็บ สามารถปลอยลงได 1-1.5<br />

เมตร แลวแตขนาดความสูงของระเบียงที่ติดตั้ง ควบคุมการ<br />

ทํางานดวยดวยสวิทซหรือรีโมทคอนโทรล ทํางานดวยมอเตอร<br />

ไฟฟาแรงบิดสูง เพื่อใหสามารถรับนํ้าหนักไดถึง 20 กิโลกรัม<br />

พรอมไฟสองสวางเพื่อใหแสงและความรอน อันทําใหผาแหง<br />

ไดเร็วยิ่งขึ้น<br />

The Thai Olympic Fibre-<br />

Cement Co., Ltd.<br />

T : +662 289 9888<br />

F : +662 291 4135<br />

W : www.SHERAsolution.com<br />

RIKO<br />

ดวยฟงกชั่นพิเศษของผามาน Dim-out ในคอลเล็คชั่น<br />

Riko ที่สามารถกันแสงแดดไดมากถึง 95% ชวยลด<br />

ภาระการทํางานของเครื่องปรับอากาศ และประหยัดคา<br />

ไฟไดยิ่งขึ้น ดวยเนื้อผาเรียบหรูพิมพลายใบไมสีเขียว<br />

ออนและสีฟาคราม ชวยสรางบรรยากาศใหสดชื่น เบา<br />

สบาย คลายรอน<br />

Vc Fabric Co., Ltd.<br />

T : +662 769 6000<br />

F : +662 319 9323<br />

W : vc-fabric.com<br />

PRO<br />

ผลิตภัณฑไมเชิงชาย เฌอรา รุนโปร ออกแบบเพื่อให<br />

เหมาะสมกับการใชงานและสรางสรรคกับหลังคาบาน<br />

ไดทุกรูปแบบ ใหความสําคัญในเรื่องของความสะดวก<br />

ในการติดตั้ง รวดเร็ว ไมยุงยาก ประหยัดงบประมาณ<br />

และเวลาในการติดตั้ง มีคุณสมบัติของไฟเบอรซีเมนต<br />

ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีนํ้าหนักเบา ไมบิดงอ ทน<br />

ปลวก ทนไฟ แข็งแรงและทนทานตอสภาพแวดลอม<br />

คงทนตลอดอายุการใชงาน มีจําหนายที่รานคาวัสดุ<br />

ชั้นนําทั่วประเทศ<br />

03<br />

110 <strong>ASA</strong> PRODUCT NEWS วารสารอาษา


BIM<br />

เริ่มตนเรียนรู BIM กับเราศูนยอบรมซอฟตแวรที่ไดรับการแตงตั้งอยางเปนทางการจาก Autodesk<br />

สอนโดยผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณในการใชงานมากวา 10 ป และผานการทดสอบจาก<br />

Autodesk Certified Professional<br />

VR Digital Co., Ltd.<br />

154 Soi Suksan, Surawong Rd. Bangkok 1<strong>05</strong>00 www.vr-3d.com<br />

VR Digital Training Center<br />

ศูนยอบรมที่ไดรับการแตงตั้งอยางเปนทางการจาก Autodesk<br />

ทําการเรียนการสอนทางดาน AEC (Architecture, Engineering & Construction)<br />

และ M&E (Media and Entertainment) อยางเปนทางการในประเทศไทย<br />

VRD51 Autodesk Revit Structure 19-21 Nov 2014<br />

VRD52 Revit Architecture 2014 Certification Professional 3 Dec 2014<br />

VRD53 Autodesk Revit Architecture 22-24 Dec 2014<br />

*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ VR Digital Training Center*<br />

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่<br />

คุณปยะนารถ ดวงจันทร<br />

โทร.02-267-6388-9<br />

Email. Piyanart@vr-3d.com


MEMBERSHIP<br />

หนังสือและเอกสาร<br />

• วารสารอาษา วารสารวิชาการดานสถาปตยกรรม<br />

ราย 2 เดือน<br />

• จดหมายเหตุ หนังสือขาวในแวดวงดานสถาปตยกรรม<br />

และเพื่อการประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ของสมาคมฯ<br />

ราย 1 เดือน<br />

• หองสมุด สําหรับบริการเพื่อสมาชิกไดเขาใชศึกษา<br />

ขอมูล คนควา ทางดานวิชาการ (ณ ศูนย<br />

ประชาสัมพันธ asa center สยามดิสคัพเวอรรี่ ชั้น 5)<br />

• หนังสือตางๆ สมาชิกสามารถสั่งซื้อหนังสือ เอกสาร<br />

และคู มือตางๆ ทั้งทางดานวิชาการและที่เปนประโยชน<br />

ทางดานการปฏิบัติวิชาชีพที่สมาคมฯ ไดจัดทําขึ้นใน<br />

ราคาพิเศษ เฉพาะสมาชิก เชน กฎหมายอาคาร ฯลฯ<br />

WEBSITE<br />

• asa web สมาชิกสามารถเขาถึงขาวสารขอมูลออนไลน<br />

ไดที่ www.asa.or.th<br />

• asa webboard ชุมชนออนไลน สําหรับการแลกเปลี่ยน<br />

ขอมูลของสมาชิก<br />

กิจกรรมดานตางๆ<br />

• สถาปตยสัญจร การจัดทัศนนักศึกษาทางดานสถาปตย-<br />

กรรมทั้งในและตางประเทศ ปละประมาณ 2 ครั้ง<br />

• กิจกรรมดานวิชาการและวิชาชีพ การจัดอบรม<br />

โครงการสุดสัปดาหวิชาการ การจัดสัมมนาดาน<br />

วิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการ<br />

ประกอบวิชาชีพปละประมาณ 10 ครั้ง<br />

• กิจกรรมดานสันทนาการเพื่อความสนุกสนานสามัคคี<br />

ของสมาชิกสมาคมฯ เชน asa cup (การแขงขัน<br />

ฟุตบอลสนามเล็กขางละ 8 คน), golf asa,<br />

badmintion asa, asa night ฯลฯ<br />

• กิจกรรมอื่นๆ ขึ้นอยูกับการจัดขึ้นมาเปนครั้งๆ ไป<br />

เชน การรวมประกวดแบบตางๆ ที่สมาคมฯจัดขึ้น<br />

หรือรับรอง สนับสนุน การรวมสงประกวดงาน<br />

สถาปตยกรรมดีเดนงานอนุรักษดีเดน บางกิจกรรม<br />

นั้นจัดเฉพาะสมาชิกเทานั้นและทุกกิจกรรมจะคิด<br />

ราคาสมาชิกพิเศษกวาบุคคลทั่วไป<br />

งานสถาปนิก<br />

• asa club สามารถเขาใชพื้นที่ asa club เพื่อการ<br />

พักผอน พบปะสังสรรค นั่งเลนในบริเวณงาน<br />

• asa shop จําหนายหนังสือทางดานสถาปตกรรม<br />

ตางๆ และของที่ระลึกที่ทางสมาคมฯผลิตขึ้นโดย<br />

จําหนาย ในราคาพิเศษสําหรับสมาชิกฯ<br />

หมายเหตุ รายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงไดตาม<br />

ความเหมาะสมขึ้นอยูกับคณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมในแตละสมัย<br />

ประเภทของสมาชิกและคาสมัคร (รวม vat 7%)<br />

สมัครสมาชิกประเภทบุคคล คาลงทะเบียน 100 บาท<br />

ภาคี-คาบํารุงรายป ปละ 400 บาท รวม 535 บาท<br />

สามัญ-คาบํารุงราย 5 ป ครั้งละ 1,800 บาท<br />

รวม 2,033 บาท<br />

สมทบ [บุคคลทั่วไป]-คาบํารุงรายป ปละ 900 บาท<br />

รวม 1,070 บาท<br />

สมทบ [นักศึกษา]-คาบํารุงรายป ปละ 200 บาท<br />

รวม 321 บาท<br />

สมัครสมาชิกประเภทสํานักงานนิติบุคคล<br />

คาลงทะเบียน 500 บาท<br />

คาบํารุงราย 2 ปครั้งละ 8,000 บาท รวม 8,500 บาท<br />

สนใจรายละเอียด ขอแตกตางของแตละประเภทสมาชิก<br />

และวิธีการสมัคร ติดตอที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

คุณนพมาส สมใจเพ็ง โทร 02 3196555 ตอ 109<br />

E-mail : memberasa@gmail.com<br />

ใบสมัครสมาชิก วารสารอาษา<br />

ขาพเจา :<br />

(ถายเอกสารได)<br />

ที่อยู (สําหรับการจัดสงหนังสือ) :<br />

โทรศัพท : โทรสาร : e-mail :<br />

ตองการสมัครเปนสมาชิก ‘วารสารอาษา’ อัตราตอไปนี้<br />

บุคคลทั่วไป สมาชิกรายครึ่งป (3 เลม) 225 บาท สมาชิกรายป (6 เลม) 500 บาท<br />

นิสิตนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร สมาชิกรายครึ่งป (3 เลม) 225 บาท สมาชิกรายป (6 เลม) 440 บาท<br />

รวมคาสงทางไปรษณียแลว (เฉพาะภายในประเทศ)<br />

ลงชื่อ : วันที่ :<br />

การชําระเงิน เงินสด ชําระเงินที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ โอนเงิน เขาในนาม สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ที่อยู (สําหรับใบเสร็จรับเงิน) ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนพระราม 9<br />

บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 713-2-02232-6<br />

กรณีการโอนเงิน<br />

- กรุณาสงโทรสารใบสมัครและหลักฐานการชําระเงิน และจดหมายรับรองสถานภาพ กรณีเปนนิสิต-นักศึกษา ลงนามโดยอาจารยหัวหนาภาควิชาฯ ที่ฝายการเงิน<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ โทรสาร 02-3196419 พรอมโทรศัพทยืนยันการสงเอกสารที่โทรศัพท 0-2319-6555 กด 109<br />

- สมาคมฯ จะจัดสงใบเสร็จใหทางไปรษณีย<br />

หมายเหตุ สามารถซื้อหนังสือวารสารอาษาไดที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ ราคาเลมละ 90 บาท


2 nd edition<br />

out now


CARTOON<br />

SRV<br />

120 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> CARTOON วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!