ASA CREW VOL.16

ASA Crew VOL. 16 - Animal ว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ของการออกแบบสถาปัตยกรรมและ 'สัตว์' ทั้งในความหมายของการออกแบบเพื่อการใช้สอย และการออกแบบเชิงสัญลักษณ์ที่ใกล้ตัวคุณกว่าที่เคยคิด ASA Crew VOL. 16 - Animal
ว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ของการออกแบบสถาปัตยกรรมและ 'สัตว์' ทั้งในความหมายของการออกแบบเพื่อการใช้สอย และการออกแบบเชิงสัญลักษณ์ที่ใกล้ตัวคุณกว่าที่เคยคิด

10.09.2019 Views

ANIMAL

ANIMAL


CONTENTS<br />

<strong>ASA</strong> MEDIA DIRECTOR’S WORDS<br />

UPDATES<br />

4 Elephant Social Interaction Ground Pawarit Kongthong<br />

10 The National Zoo Pawarit Kongthong<br />

14 <strong>ASA</strong> CAN Talk at Architect’19 Nuttawadee Suttanan<br />

INTERVIEW<br />

20 Boonserm Premthada: Bangkok Project Studio Wasawat Rujirapoom<br />

REVIEW<br />

30 Living Between Scales: Surin Elephant World Winyu Ardrugsa, Ph.D.<br />

40 Baan Cats 2018 Siriporn Dansakun<br />

48 Cat Cafe Home Siriporn Dansakun<br />

ROUNDTABLE TALK<br />

58 Animals and Me <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> Team<br />

FEATURE<br />

64 Animals in Traditional Architecture Assoc. Prof. Chatri Prakitnonthakan, Ph.D<br />

ILLUSTRATION<br />

74 Animals & Architecture Shayangkoon Ketpayak<br />

<strong>ASA</strong> REGIONAL<br />

80 Taksin: Tri-shawa Resort: A Pet-Friendly Hotel Kitti Chaowana<br />

88 Lanna: Cafe + architecture = “Cafitecture” Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

94 Esan: Back Home Pongpon Yuttharat<br />

STUDIO VISIT<br />

100 Tidtang Studio Wasawat Rujirapoom<br />

INTERNATIONAL ARCHITECT<br />

110 “Small Steps Forward”, said Arrhov Frick Nawanwaj Yudhanahas<br />

WHAT ARCHITEC THINK<br />

116 Elephant Tower Revisit Kisnaphol Wattanawanyo<br />

USERS’ OPINION<br />

122 Elephant Tower Pawarit Kongthong<br />

ONE DAY WITH AN ARCHITECT<br />

124 Extraordinary Everyday Pawarit Kongthong<br />

BOOK<br />

130 Engeki Quest: No Name Cats in Thonburi Wichit Horyingsawad<br />

VISUAL ESSAY<br />

132 Dusit Zoo Glass House Pawarit Kongthong<br />

แรงบันดาลใจ​ของสถาปนิก​ศิลปิน​และนักออกแบบ​<br />

บ่อยครั้งที่ได้มาจากสิ่งรอบๆตัว​วารสารอาษาครูเล่มนี้ได้<br />

นําพาท่านผู้อ่านเข้าไปเรียนรู้วิธีคิด​และแรงบันดาลใจ​<br />

การค้นหารูปแบบสถาปัตยกรรม​และศิลปะ​ในอีกแง่มุม<br />

หนึ่ง​ถือเป็นการรวมรวมจัดกลุ่มเนื้อหาของวารสาร<br />

อาษาครู​ที่สะท้อนแนวคิดการออกแบบที่มีความชัดเจน<br />

น่าสนใจ​และมีค่ากับการรวมรวบมากทีเดียวครับ<br />

ผศ.ดร. กมล จิราพงษ์<br />

บรรณาธิการบริหาร<br />

Architects, artists and designers often draw<br />

inspiration from things around them. Bringing<br />

together a number of distinctive and interesting<br />

design concepts, this issue of <strong>ASA</strong> Crew explores<br />

the thought processes and inspiration that have<br />

given rise to many brilliant artistic and architectural<br />

creations.<br />

Asst. Prof. Kamon Jirapong Ph.D.<br />

Managing Editor<br />

Cover Photo: Bangkok Project Studio<br />

1<br />

Animal


EDITOR’S WORDS<br />

วารสารอาษาครู (<strong>ASA</strong> Crew) ฉบับนี้ว่าด้วยเรื่องความ<br />

สัมพันธ์ของการออกแบบสถาปัตยกรรมและ “สัตว์” ทั้ง<br />

ในความหมายของการออกแบบเพื่อการใช้สอยและการ<br />

ออกแบบเชิงสัญลักษณ์ ภายในเล่มมีการเล่าถึงการ<br />

ออกแบบบ้านพักอาศัยที่เจ้าของใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับแมว<br />

อย่างใกล้ชิด การวิเคราะห์พฤติกรรม “ผู้ใช้สอย” จึง<br />

หมายความรวมถึงทั้งคนและสัตว์ รวมถึงโครงการเพื่อการ<br />

เรียนรู้ช้างที่จังหวัดสุรินทร์ สําหรับคอลัมน์ Round Table<br />

เราได้นั่งจับเข่าพูดคุยกับสัตวแพทย์และสถาปนิก ในหัวข้อ<br />

การออกแบบเพื่อการเรียนรู้สัตว์ ส่วนคอลัมน์ Feature<br />

พูดถึงความหมายเชิงสัญลักษณ์ของสัตว์ต่างๆ ที่แทรกตัว<br />

อยู่ในองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมไทยส่วนต่างๆ<br />

ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์<br />

บรรณาธิการ<br />

This issue explores the relationship between<br />

architectural design and “animals”. Different<br />

projects are reviewed in terms of functional and<br />

symbolic design, including a residential space<br />

where humans and their cats live together, and an<br />

elephant learning center in Surin province.<br />

For the Round Table column, we sat down with<br />

a veterinarian and an architect to talk about what<br />

architectural design can teach us about animals.<br />

Finally, the Feature column focuses on the<br />

meaning and symbolism of animals in Thai<br />

architecture.<br />

Asst. Prof. Supitcha Tovivich Ph.D.<br />

Editor-in-Chief<br />

Photo: Bangkok Project Studio<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 2 3 Animal


UPDATE<br />

โครงการออกแบบ<br />

พื ้นที่เลี้ยงช้างแบบเปิด<br />

Elephant Social<br />

Interaction Ground<br />

Text: ปวริศ คงทอง / Pawarit Kongthong<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: Creative Crews<br />

ผู้ออกแบบ: Creative Crews<br />

เจ้าของโครงการ: ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย<br />

ในพระอุปถัมภ์ฯ<br />

ระยะเวลา: 2017-2021<br />

ที่ตั้ง: ลำปาง<br />

สถานะ: อยู่ระหว่างพัฒนาแบบ<br />

พื้นที่โครงการ: 24,000 ตร.ม.<br />

Collaborators: Wor Consultant<br />

Co.,Ltd./ EXM Consultant Co., Ltd.<br />

Architect: Creative Crews<br />

Owner: National Elephant Institute<br />

Construction Period: 2017-2021<br />

Location : Lampang<br />

Status: Design development<br />

Area: 24,000 square meters<br />

Collaborators : Wor Consultant<br />

Co.,Ltd. / EXM Consultant Co., Ltd.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 4 5<br />

Animal


ซ้าย 1:การกั้นส่วนเลี้ยงช้าง<br />

ด้วยรูปร่างธรรมชาติร่วมกับ<br />

การจัดแลนด์สเคปช่วยในการ<br />

สร้างสภาวะที่คล้ายกับที่อยู่<br />

ตามป่าของช้าง<br />

The partitioning of the<br />

elephant ground using<br />

natural forms and<br />

landscaping is an attempt<br />

to recreate the animals’<br />

natural habitat.<br />

ซ้าย 2: การจัดกลุ่มของช้าง<br />

และควาญเพื่อลดปัญหาที่เกิด<br />

จากการเกษียณตัวของควาญช้าง<br />

The grouping together of<br />

elephants and mahouts<br />

aims to minimize the<br />

animals’ stress in the<br />

event that a mahout<br />

retires from the job.<br />

ซ้าย 3: การใช้ระดับของพื้น<br />

ดินแทนรั้วกั้นช่วยสร้างสภาวะ<br />

ที่เป็นธรรมชาติ กั้นส่วนของ<br />

ช้างแต่ละกลุ่มและพื้นที่ส่วน<br />

สังเกตการณ์ของควาญ<br />

The use of different<br />

ground levels instead of<br />

fencing creates a more<br />

natural terrain, enabling<br />

each group of elephants<br />

to be separate while<br />

providing observation<br />

spaces for the mahouts.<br />

บริษัท Creative Crews ร่วมกับศูนย์อนุรักษ์<br />

ช้างไทย ในพระอุปถัมภ์ฯ ได้เสนอแนวคิด<br />

การแก้ปัญหาด้วยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม โดย<br />

เปลี่ยนจากระบบความสัมพันธ์เชิงเดี่ยวที่ใช้<br />

อยู่แต่เดิมเป็นระบบควาญช้าง 3 คนต่อช้าง<br />

5 เชือกแทน ระบบนี้จะช่วยลดความเครียดที่<br />

เกิดกับช้างจากการเปลี่ยนควาญ เนื่องจาก<br />

เมื่อมีควาญคนหนึ่งในกลุ่มออกจากงานก็จะ<br />

ยังมีควาญที่เหลือในกลุ่มคอยช่วยเหลือและ<br />

สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างช้างกับควาญใหม่<br />

อย่างไรก็ดีความสัมพันธ์ระหว่างช้างกับช้างก็<br />

ยังเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง เนื่องจากช้างอาจ<br />

ทําร้ายกันเองจนถึงแก่ชีวิตได้ และในส่วนนี้<br />

เองที่การออกแบบสามารถเข้ามาแก้ปัญหา<br />

และพัฒนาคุณภาพชีวิตของช้างในศูนย์<br />

อนุรักษ์ได้ โดยผังของโครงการนี้จะแบ่งพื้นที่<br />

ปฏิสัมพันธ์ของช้างออกเป็น 4 ส่วนเพื่อช่วย<br />

ในการจัดกลุ่มของช้าง มีพื้นที่ส่วนสังเกตการณ์<br />

ที่ออกแบบมาให้ควาญช้างสามารถสอดส่อง<br />

พฤติกรรมของช้างแต่ละกลุ่มได้ โดยที่ไม่<br />

รบกวนการเข้าสังคมของช้าง นอกจากนี้ยังมี<br />

พื้นที่ส่วนสังเกตการณ์สําหรับบุคคลภายนอก<br />

ที่แยกออกมาอีกระดับหนึ่งด้วย<br />

In collaboration with the National<br />

Elephant Institute, Creative Crews has<br />

proposed a solution that offers a new<br />

type of social interaction. At its core is<br />

the idea that the one mahout, one<br />

elephant relationship be changed to a<br />

new ratio of three mahouts per five<br />

elephants. This new system would help<br />

relieve the elephant’s stress if one of<br />

the carers leaves while the remaining<br />

two carers will be able to facilitate a<br />

relationship between the animals and<br />

the new replacement mahout. Nevertheless,<br />

there is still a major issue<br />

concerning the relationships among the<br />

elephants themselves and the possibility<br />

that the animals can end up hurting<br />

or killing each other when they are kept<br />

in the same confined area. This is<br />

where design is brought in to provide<br />

solutions that help solve these issues<br />

and develop a better quality of life for<br />

the elephants kept in the institution.<br />

The project’s spatial program divides<br />

โครงการพื้นที่เลี้ยงช้างแบบเปิดนี้ เป็นผลงานออกแบบ<br />

จากบริษัท Creative Crews ที่พยายามหาทางจัดการกับ<br />

ระบบของพื้นที่เลี้ยงช้างในปัจจุบัน ซึ่งอาจจะไม่ตอบโจทย์<br />

ด้านความเป็นอยู่ของช้างและควาญช้างที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

จากในอดีต ด้วยบริบทปัจจุบันที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่าง<br />

มากเกี่ยวกับช้างและการเลี้ยงช้าง อย่างเช่นการออก<br />

กฎหมายควบคุมการตัดไม้และความก้าวหน้าของ<br />

นวัตกรรมต่างๆ ได้ทําให้บทบาทด้านการใช้แรงงานของ<br />

ช้างลดความสําคัญลง และทําให้รายได้ของควาญช้างลด<br />

ลงตามไปด้วย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วช้างและควาญช้างนั้นมี<br />

ความสัมพันธ์กันแบบช้างหนึ่งเชือกต่อควาญช้างหนึ่งคน<br />

ตลอดชีวิต ซึ่งความสัมพันธ์เชิงเดี่ยวนี้เองที่เพิ่ม<br />

ความเครียดและความเสี่ยงต่อชีวิตของช้างทุกครั้งที่มีการ<br />

เปลี่ยนควาญอันเนื่องมาจากสภาพของบริบทที่<br />

เปลี่ยนแปลงตามที่กล่าวไว้เบื้องต้น<br />

For this elephant project, architecture firm Creative<br />

Crews attempts to figure out the most efficient way<br />

to manage a space where these majestic animals<br />

can live under the best possible care. Thailand has<br />

seen promising improvements in the well-being and<br />

quality of life of elephants, both as a result of laws<br />

that strictly regulate deforestation and the advent<br />

of modern technology that has reduced the need<br />

for them to perform manual labor.<br />

Normally, an elephant is cared by one mahout<br />

for life. If there’s a change of its keeper such a<br />

relationship can end up having a negative effect<br />

on the animal’s mental state. However, due to the<br />

aforementioned situation, which has had a big<br />

impact on the mahouts’ way of life and income,<br />

such a scenario is becoming harder to avoid.<br />

พื้นที่ส่วนปฏิสัมพันธ์ของช้างแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเพื่อจัดกลุ่มช้าง<br />

Divided into four sections, the space where the elephants<br />

interact automatically separates them into different<br />

groups.<br />

the space where elephants are able to<br />

interact into four different zones, which<br />

are used to categorize the elephant<br />

population. An observation area is<br />

designed for the elephant keepers to<br />

observe the behavior of the animals<br />

under their care without disturbing<br />

their socializing activities. The design<br />

also includes an observation area for<br />

visitors.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 6<br />

7 Animal


แนวคิดหลักในการออกแบบศูนย์เลี้ยงช้างแบบเปิดนี้คือการพัฒนาพื้นที่อยู่อาศัยของช้างให้มี<br />

ความเป็นธรรมชาติเพิ่มขึ้น โดยจําลองรูปแบบโครงข่ายต้นไม้ที่เกิดจากการสานตัวกันของกิ่ง<br />

ก้านและรากของต้นไม้ในเขตป่าทึบ ในส่วนนี้การใช้เสาโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีกระบะ<br />

ต้นไม้อยู่ข้างบนจะถูกนํามาใช้แทนการสร้างโรงช้างหรือศาลาให้ร่มเงาในอดีต โดยมีส่วนที่เป็น<br />

ชายคาโครงเหล็กกล่องต่อเนื่องจากกระบะต้นไม้คอนกรีตเพื่อให้ต้นไม้สามารถเติบโตไปตาม<br />

แกนเหล็กได้ และสานตัวกับต้นไม้จากเสาข้างเคียงจนเป็นเหมือนกับร่มเงาไม้ในป่าธรรมชาติ<br />

ซึ่งร่มเงานี้มีความจําเป็นกับช้างเนื่องจากช้างไม่สามารถทนกับแดดร้อนตลอดทั้งวันได้<br />

พื้นที่เลี้ยงช้างถูกออกแบบให้<br />

ใกล้เคียงที่อยู่ตามธรรมชาติ<br />

มากที่สุดเท่าที่จะทําได้<br />

The elephant ground is<br />

designed to simulate the<br />

animals’ natural habitat as<br />

much as possible.<br />

ต้นไม้เทียมที่ประกอบด้วยเสา<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็ก<br />

กล่อง และไม้เลื้อย ถูกนํามา<br />

ใช้แทนศาลากันแดดหรือโรง<br />

ช้างแบบเดิม<br />

Instead of an ordinary<br />

shed, a canopy of artificial<br />

trees reinforced by<br />

concrete columns, steel<br />

tubes and climbing plants<br />

allows the animals to rest<br />

and shelter from the sun.<br />

The concept of this elephant sanctuary grew out of an intention to create a more<br />

natural living space for the animals. The design simulates a network of trees and<br />

interwoven stems and roots commonly found in the deep rainforest. The reinforced<br />

concrete columns with tree pots at the top create shaded areas where the elephants<br />

can sleep and rest. The eaves are connected to the concrete tree pots, allowing<br />

the trees to grow along the axes of the steel structure, entangle themselves with<br />

the adjacent trees, and create natural masses of interconnected foliage that<br />

provide shade and shelter similar to that found in natural forests. This shade will<br />

be crucial to the elephants’ well-being since they are not able to tolerate heat<br />

from the sun throughout the day.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 8<br />

9 Animal


UPDATE<br />

สวนสัตว์แห่งชาติ<br />

The National Zoo<br />

Text: ปวริศ คงทอง / Pawarit Kongthong<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

เจ้าของโครงการ: องค์การสวนสัตว์ในพระ<br />

บรมราชูปถัมภ์<br />

ที่ตั้ง: คลอง 6 ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี<br />

สถานะ: อยู่ระหว่างการออกแบบโปรแกรม<br />

พื้นที่โครงการ: 300 ไร่<br />

Owner: The Zoological Park Organization<br />

Under The Royal Patronage of H.M. The King<br />

Location: Klong Hok, Thanyaburi,<br />

Pathum Thani Province<br />

Status: Program development<br />

Area: 118.6 acres<br />

เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 พลเอก<br />

ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้นํา<br />

คณะเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพย-<br />

วรางกูร เพื่อรับพระราชทานโฉนดที่ดินใน<br />

พระปรมาภิไธย เพื่อใช้ในกิจการของราชการ<br />

รวมถึงโฉนดที่ดินบริเวณ คลอง 6 ธัญบุรี<br />

จํานวน 300 ไร่ เพื่อที่จะใช้สนองแผนการ<br />

ย้ายสวนสัตว์ดุสิต ด้วยเหตุที่สวนสัตว์ดุสิตมี<br />

พื้นที่คับแคบ ไม่สอดคล้องกับจํานวนสัตว์จัด<br />

แสดง และแออัดจากผู้เข้าชมจํานวนมาก<br />

โดยแนวความคิดของการอออกแบบสวนสัตว์<br />

ในปัจจุบันได้เปลี่ยนจากสถานที่เพื่อการพัก<br />

ผ่อน และเพื่อความสนุกสนาน มาเป็นแหล่ง<br />

ที่ส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้ งานวิจัย และงาน<br />

ด้านอนุรักษ์ ทั้งยังมีการนําเสนอแนวคิดเรื่อง<br />

“ความหลากหลายทางชีวภาพ” ในระบบนิเวศ<br />

ต่าง ๆ นอกจากนี้สวนสัตว์ยังได้เปลี่ยนสภาพ<br />

จาก โรงเก็บสัตว์แปลกๆ ในกรง มาเป็นพื้นที่<br />

เลี้ยงสัตว์ที่มีการจําลองสภาพแวดล้อมที่เหมาะ<br />

สมกับสัตว์แต่ละชนิด โดยให้ความสําคัญกับ<br />

สวัสดิภาพของสัตว์ มีพันธกิจในการเป็นแหล่ง<br />

อนุรักษ์และเป็นสถานที่ศึกษาวิจัยสัตว์<br />

On 30th November 2017, Thailand’s<br />

Prime Minister, General Prayuth<br />

Chan-ocha, led a team of staff to meet<br />

with His Majesty King Maha Vajiralongkorn<br />

Bodindradebayavarangkun to<br />

ceremoniously receive the allotted<br />

118.6 acres of land in Klong Hok of<br />

Pathum Thani’s Thanyaburi district that<br />

has been designated as the site of the<br />

relocated Dusit Zoo. With the comparatively<br />

small old site no longer able to accommodate<br />

the large animal population and<br />

visitors, plans to relocate the zoo were<br />

set in action.<br />

Plans have been developed for the new<br />

zoo to offer recreational and educational<br />

experiences while also promoting<br />

wild-animal related studies, research<br />

and conservation initiatives. The new zoo<br />

also proposes a concept of biodiversity<br />

that encourages different types of<br />

ecosystems. Instead of the old zoo’s<br />

caged spaces the plan is to create a<br />

sanctuary like environment that better<br />

simulates each animal’s natural habitat.<br />

With one of the new zoo’s missions<br />

being to serve as an animal conservation<br />

and research center, emphasis is<br />

also being put on the improvement of<br />

the animals’ well-being.<br />

บน: ส่วนหนึ่งของขั้นตอนการ<br />

คิดโปรแกรมการออกแบบ<br />

Top: The development<br />

process for the new zoo’s<br />

design.<br />

ล่าง: ที่ตั้งของสวนสัตว์แห่งใหม่<br />

Bottom: The location of<br />

the new zoo.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 10<br />

11 Animal


The design of the architecture and<br />

landscape architecture centers upon<br />

the creation of a mixed species<br />

environment that is less controlling and<br />

confining for the animals. The activity<br />

based design will create an ecosystem<br />

of flooded grassland and biological<br />

diversity. Animals will be categorized<br />

according to their natural habitats,<br />

resulting in the division of the master<br />

plan into 11 different zones: Asian<br />

Flooded Grassland, Asian Mixed<br />

Forest-Grassland, Asian Moist Evergreen<br />

Forest and Dry Evergreen Forest,<br />

Asian Mountainous Region, African Rain<br />

Forest, African Flooded Grassland,<br />

African Grassland, Australian Tropical<br />

Forest, South American Rain Forest,<br />

South American Forest-Grassland and<br />

South American Grassland- Hillside.<br />

environmental conservation. The<br />

project is currently in the research and<br />

development stage during which all of<br />

the possibilities will be explored before<br />

the next stage of the design process is<br />

carried out. Ideas for the zoning and<br />

management of the collections of<br />

animals are also being developed.<br />

These will then be used in the design<br />

development process and help influence<br />

the decision about which consultants<br />

and collaborators are the most suitable<br />

for the project.<br />

The project is geared towards five<br />

objectives. The first one is to design<br />

ในการออกแบบอาคารและภูมิทัศน์โดยรอบ<br />

เน้นการออกแบบเพื่อให้สัตว์อยู่ร่วมกัน<br />

(Mixed-species) และการไม่บงการสัตว์ จึง<br />

จะมีการคํานึงถึงกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรม<br />

สัตว์ตามธรรมชาติ (Activity-based design)<br />

แนวคิดหลักคือการนําเสนอภาพจําของระบบ<br />

นิเวศทุ่งน้ํา​และความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

มีการจําแนกชนิดของสัตว์จัดแสดงตามถิ่นที่<br />

อยู่ต่างๆ ออกเป็นจํานวน 11 ส่วนจัดแสดง<br />

ได้แก่ ทุ่งน้ําในเอเชีย ป่าเบญจพรรณต่อทุ่ง<br />

หญ้าในเอเชีย ป่าดิบแล้ง-ป่าดิบชื้นในเอเชีย<br />

โขดหินในเอเชีย ป่าดิบในแอฟริกา ทุ่งน้ําใน<br />

แอฟริกา ทุ่งหญ้าในแอฟริกา ป่าเขตร้อนใน<br />

ออสเตรเลีย ป่าดิบในอเมริกาใต้ ป่าต่อทุ่งใน<br />

อเมริกาใต้ และทุ่ง-เนินเขาในอเมริกาใต้<br />

โครงการนี้มีเป้าหมายหลัก 5 ข้อ อันดับแรก<br />

คือ เป็นการสร้างสวนสัตว์เฉลิมพระเกียรติ<br />

เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชา (เนื่องจาก<br />

ที่ดินที่จะเป็นที่ตั้งโครงการนี้เป็นที่ดิน<br />

พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)<br />

สองเรื่องของความทันสมัยและแทนความ<br />

เป็นไทยเข้าไปในงานออกแบบสวนสัตว์<br />

สามต้องบรรลุพันธกิจขององค์การสวนสัตว์<br />

และเป็นไปตามมาตรฐานสากล สี่วางผัง<br />

ออกแบบเพื่อผู้ใช้ทุกกลุ่ม โดยมี 3 ผู้ใช้งาน<br />

หลัก เจ้าหน้าที่ สัตว์ และผู้เยี่ยมชม<br />

อย่างสุดท้ายคือ เป็นโครงการต้นแบบของ<br />

การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม<br />

ปัจจุบันโครงการสวนสัตว์ใหม่ยังอยู่ในขั้น<br />

ตอนของการศึกษาโปรแกรมเพื่อการออกแบบ<br />

และความเป็นไปได้อยู่ ซึ่งในตอนนี้ได้มี<br />

การกําหนดแนวทางของการจัดโซนและ<br />

คอลเลคชันสัตว์ว่าต้องการให้ส่วนไหนสัตว์<br />

ตัวใดเป็นตัวเด่น ตอนนี้ทางคณะศึกษากําลัง<br />

อยู่ในช่วงของการนําไปสู่การสรุปขั้นแรกเพื่อ<br />

การออกแบบ เพื่อที่จะนําไปจัดหาที่ปรึกษา<br />

และผู้ออกแบบสวนสัตว์ในขั้นตอนต่อไป<br />

ภาพจําลองทัศนียภาพระบบ<br />

นิเวศแบบทุ่งน้ําเพื่อประกอบ<br />

การสร้างโปรแกรมการ<br />

ออกแบบ<br />

A perspective image<br />

simulating the landscape<br />

and ecosystem of flooded<br />

grassland that has been<br />

created as part of the new<br />

zoo’s design development.<br />

and construct a zoo that serves as a<br />

learning center about His Majesty the<br />

King’s philosophy and honors his<br />

contribution (the land where the new<br />

zoo is located was donated by His<br />

Majesty). The second objective involves<br />

the incorporation of modern technology<br />

and integration of Thai identity as a<br />

part of the design of the zoo. The third<br />

objective revolves around the zoo’s<br />

operation, which aims to achieve the<br />

missions set out by the Zoological Park<br />

Organization as well as to meet global<br />

standards. The fourth objective entails<br />

the design of a spatial program that<br />

accommodates three main groups of<br />

users: the staffs, animals and visitors.<br />

Lastly, the new zoo is expected to serve<br />

as a model for natural resource and<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 12<br />

13 Animal


UPDATE<br />

<strong>ASA</strong> CAN Talk at Architect’19:<br />

เมื ่อน้ำาและเมืองคือเรื ่องของเราทุกคน<br />

Water and City: Everybody’s Matter<br />

Text: ณัฐวดี สัตนันท์ / Nuttawadee. Suttanan<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

“กรุงเทพฯ + บ้าน + เมือง + น้ํา​(Bangkok<br />

City + Water)” คือหัวข้อการเสวนาในงาน<br />

สถาปนิก’62 ที่ <strong>ASA</strong> CAN หรือกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกเพื่อสังคมและเมือง (<strong>ASA</strong> Community<br />

Act Network) เป็นผู้จัดขึ้น ด้วยจุดมุ่ง<br />

หมายในการเชิญชวนทุกคนมาร่วมแลก<br />

เปลี่ยน ร่วมผลักดัน ร่วมหาทางร่วมมืออย่าง<br />

เป็นกันเอง ในสถานการณ์เรื่อง “น้ํา” ของ<br />

กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เมืองที่เคยได้ชื่อ<br />

ว่าเป็น “เวนิสตะวันออก” ที่ทุกวันนี้ถูกแทนที่<br />

ด้วยถนนไปทั่วทุกพื้นที่ ร่วมกับวิทยากรหลาก<br />

หลายแขนง ประกอบด้วย 1) ดร.รอยล จิตรดอน<br />

กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิอุทกพัฒน์ ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ 2) อาจารย์สุรจิต ชิรเวทย์<br />

ประชาคมคนรักแม่กลอง กลุ่มประชาคมที่<br />

ดูแลเรื่องการรักษาและการอยู่กับน้ํา​อดีต<br />

สมาชิกวุฒิสภาและอดีตประธานหอการค้า<br />

สมุทรสงคราม 3) คุณลุงชวน ชูจันทร์<br />

ประธานวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร<br />

ตลาดน้ําคลองลัดมะยม 4) คุณยศพล<br />

บุญสม ภูมิสถาปนิกจากบริษัท SHMA และ<br />

กลุ่มเพื่อนแม่น้ํา​5) คุณอาสา ทองมนูชาติ<br />

ตัวแทนจากสํานักการวางผังและพัฒนาเมือง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

บทสนทนาในวงเสวนาเริ่มต้นจากคุณลุงชวน<br />

ชูจันทร์ ตัวแทนจากภาคประชาชนจากฝั่ง<br />

ธนบุรี เล่าเรื่องความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน<br />

ฐานะคนที่อยู่กับน้ํามาตั้งแต่เกิด จากเดิมที่<br />

คนกรุงเทพเคยอยู่กับน้ํา​สายน้ําเป็นเหมือน<br />

ส่วนหนึ่งของชีวิต ปัจจุบันเมื่อเมืองขยายตัว<br />

ไปเรื่อยๆ ชุมชนที่อยู่กับน้ําก็เกิดความ<br />

เปลี่ยนแปลง คนไม่ได้มีการใส่ใจและเข้าใจ<br />

เรื่อง “น้ํา” อย่างแท้จริงและทําให้การใช้ชีวิต<br />

For Architect Expo ’19, <strong>ASA</strong> CAN (<strong>ASA</strong><br />

Community Act Network) held a discussion<br />

titled ‘Bangkok City + Water’ at this year’s<br />

<strong>ASA</strong> CAN Talk platform. Academics were<br />

invited to share their views, address<br />

issues and find mutual solutions to<br />

Bangkok’s current water situation. Once<br />

known as the ‘Venice of the East’, the city<br />

faces a situation whereby its waterways<br />

have been replaced by roads as a result<br />

of poorly planned urban development.<br />

<strong>ASA</strong> CAN Talk welcomed academics from<br />

different fields of study, including Dr.<br />

Royol Jitdon, Committee member and<br />

Secretary of The Water Foundation of<br />

Thailand Under Royal Patronage of H.M.<br />

the King; Surajit Chirawate, a former<br />

member of the senate, former President<br />

of Samutsongkram Chamber of Commerce,<br />

and President of Prachakom<br />

Konlux Maeklong Club, the civil society<br />

group whose operations revolves around<br />

water conservation and promotion of<br />

sustainable coexistence between<br />

humans and water; Chuan Choojan,<br />

President of Agricultural Tourism<br />

Community Enterprise of Klong Lad<br />

Mayom Floating Market; Yossaphol<br />

Boonsom, landscape architect of SHMA<br />

and a representative from Friends of the<br />

River; and <strong>ASA</strong> Thongmanuchart, a<br />

representative from the Department of<br />

City Planning and Urban Development,<br />

Bangkok Metropolitan Administration.<br />

ขวา: อาจารย์สุรจิต ชิรเวทย์<br />

ประชาคมคนรักแม่กลอง เล่า<br />

เรื่องการตั้งถิ่นฐานของ<br />

กรุงเทพเปรียบเทียบกับการ<br />

ตั้งถิ่นของแม่กลอง<br />

Right: Surajit Chirawate,<br />

President of the<br />

Prachakom Konlux<br />

Maeklong Club, discusses<br />

a comparative settlement<br />

pattern between the<br />

people of Bangkok and<br />

Mae Klong.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 14<br />

15 Animal


ซ้าย: อาจารย์สุรจิต ชิรเวทย์<br />

ประชาคมคนรักแม่กลอง<br />

Left: Surajit Chirawate,<br />

President of the<br />

Prachakom Konlux<br />

Maeklong Club.<br />

ขวา: ดร.รอยล จิตรดอนน<br />

กรรมการและเลขาธิการ<br />

มูลนิธิอุทกพัฒน์ ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์<br />

Right: Dr. Royol Jitdon,<br />

Committee member and<br />

Secretary of The Water<br />

Foundation of Thailand<br />

Under Royal Patronage of<br />

H.M. the King.<br />

“กรุงเทพฯ + บ้าน + เมือง +<br />

น้ํา” การเสวนาในงาน<br />

สถาปนิก’62 โดยกรรมธิการ<br />

สถาปนิกเพื่อสังคมและเมือง<br />

(<strong>ASA</strong> Community Act<br />

Network)<br />

“Bangkok City+Water”, one<br />

of the talks held as a part<br />

of Architect’19 by <strong>ASA</strong> CAN<br />

(<strong>ASA</strong> Community Act<br />

Network).<br />

The conversation began with Chuan Choojan, who spoke as a representative of<br />

Thonburi. He shared the changes he has witnessed first-hand as a resident of a<br />

waterfront community and expressed his view that water used to be an integral of<br />

the people of Bangkok’s way of life before urbanization brought drastic changes to<br />

local waterside communities. As they adapt to the new urban fabric and life, people<br />

no longer have knowledge about or awareness of the importance of water. Bangkok’s<br />

waterways have become heavily polluted and its inhabitants afraid of water. For<br />

Choojan, agricultural tourism is a way of promoting his belief in the importance of<br />

water as an integral part of the city and people’s way of life. In his view the country is<br />

reaching a turning point and as long as we put our minds to it, everyone can be a part<br />

of the change. “There are still many good things left to salvage and we can make the<br />

change happen,” he said.<br />

กับน้ําเปลี่ยนแปลงไป กรุงเทพฯกลายเป็น<br />

เมืองที่คนกลัวน้ํา​น้ําที่เคยใสสะอาดก็เต็มไป<br />

ด้วยขยะสารพิษ ในส่วนของคุณลุง คุณลุง<br />

เลือกที่จะทําการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อหวัง<br />

ว่าสักวันน้ําจะกลับมาดี เหมือนในวันเก่า<br />

เพราะ “เราเคยอยู่ร่วมกับน้ําได้เป็นอย่างดี”<br />

ลุงชวนมองว่าในวันนี้ ประเทศเรามาถึงจุด<br />

เปลี่ยนและเราทุกคนมีส่วนที่จะสร้างการ<br />

เปลี่ยนแปลงทั้งนั้น เพียงแค่เราทุกคนช่วยกัน<br />

จริง ๆ “ยังมีอะไรที่ดีอยู่ ที่ยังพอขับเคลื่อนได้”<br />

อาจารย์สุรจิต ชิรเวทย์ เล่าต่อจากลุงชวนใน<br />

เรื่องการตั้งถิ่นฐานของกรุงเทพฯ เปรียบเทียบ<br />

กับการตั้งถิ่นฐานของแม่กลอง ในฐานะคนแม่<br />

กลอง รวมถึงเรื่องการบริหารจัดการน้ําทั้งเรื่อง<br />

การสร้างเขื่อนระบบปิดล้อมคลองในกรุงเทพฯ<br />

การปักเขตลําประโดง และประตูน้ํา​ที่สะท้อน<br />

ภาพการจัดการน้ําในปัจจุบันที่เต็มไปด้วย<br />

ความไม่เข้าใจถึงธรรมชาติของน้ําได้เห็นภาพที่<br />

ชัดเจนขึ้น ดังนั้นสิ่งสําคัญคือเราต้องรู้วิธีการ<br />

จัดการน้ําที่ดี และผังเมืองต้องคํานึงถึงผังน้ํา<br />

เพราะแท้ที่จริงแล้ว เราเป็นชาวน้ํา​เมื่อถึงหน้า<br />

น้ําหลากก็ต้องพร้อมจะให้น้ําผ่านได้ อย่าไป<br />

กั้นสู้น้ํา​เพราะการอยู่ร่วมกับน้ํานั้นเป็นทาง<br />

เลือกที่ดีกว่า<br />

หลังจากนั้น ดร.รอยล จิตรดอน จากมูลนิธิ<br />

อุทกพัฒน์ในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวเสริม<br />

ว่าทุกอย่างเป็นผลมาจากการจัดการผังเมือง<br />

เพราะในอดีตนั้นผังเมืองสุโขทัย และผังเมือง<br />

อยุธยา เป็นผังเมืองแบบตารางสี่เหลี่ยมที่มี<br />

การเชื่อมกับน้ํา​มีคลองระบายน้ําและการขุด<br />

คลอง นั่นคือคนในอดีตมีวิถีชีวิตแบบ “อยู่กับ<br />

น้ํา” ดังเช่นที่ลุงชวนเคยเล่าไปในตอนต้น<br />

การตั้งถิ่นฐานของเราจึงถูกกระจายไปตาม<br />

คลองต่างๆ มีการเชื่อมคลองจากที่ต่างๆ และ<br />

แม้จะมีการตัดถนนเพิ่มมาในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

แต่เราก็ยังมีคลองเชื่อมอยู่ ถึงวันนี้เราล้มเหลว<br />

ทั้งถนนทั้งน้ํา​เราเดินทางวันละ 40 กิโล<br />

หมู่บ้านจํานวน 700 หมู่บ้านตั้งอยู่ที่นนทบุรี<br />

แต่ต้องขับรถไปทํางานย่านสีลม เพราะเราล้ม<br />

เหลวเรื่องผังเมือง และเราไม่ได้โตหรือเรียนรู้<br />

จากประวัติศาสตร์ เราไม่ได้โตจากจุดแข็งของ<br />

เราเลย<br />

ยศพล บุญสม ในฐานะตัวแทนคนที่โตมากับ<br />

เมือง เล่าว่าเหตุการณ์หนึ่งที่ทําให้เขารู้สึกว่า<br />

ความสัมพันธ์เรื่องน้ํากับคนเมืองขาดสะบั้น<br />

คือเมื่อมีโอกาสได้ไปลงพื้นที่ช่วยน้ําท่วมที่<br />

อยุธยา เมื่อตอนน้ําท่วมใหญ่ปี 2554 วิธีคิด<br />

ของคนเมืองคือน้ําท่วมในครั้งนี้คืออุทกภัย<br />

และเราจะไปช่วยเขา แต่เมื่อไปถึงอยุธยา<br />

เขาพบคุณลุงพายเรือแจว ที่ไม่ได้เดือดร้อน<br />

อะไรกับการที่ถนนใช้การไม่ได้ เพราะสําหรับ<br />

เขา น้ําท่วมไม่ใช่ภัยพิบัติ น้ําท่วมก็คือน้ําท่วม<br />

จากเหตุการณ์นั้นทําให้ยศพลได้เรียนรู้ว่า<br />

ทัศนคติเรื่องน้ําของคนเมืองไม่ได้เพียงเปลี่ยน<br />

จากอดีต แต่เป็นการพลิกจากหน้ามือไปหลังมือ<br />

ในปัจจุบัน เราไม่ได้มองว่าน้ําเป็นมิตร แต่<br />

Surajit Chirawate took the stage to talk about settlement patterns in Bangkok<br />

compared to those of Mae Klong. A Mae Klong resident, he explained that the<br />

construction of water barrier systems and water gates, which interrupt the flow of<br />

waterways in Bangkok, including the demarcation of smaller waterways, are<br />

indicative of the current approach to water management and show no true<br />

understanding of the nature of water. What the city needs is a suitable water<br />

management plan while urban planning schemes need to factor in waterways. He<br />

pointed out that Bangkok will always be a city of water and argued that when the<br />

rainy season comes we should let the water pass through instead of blocking it and<br />

trying to fight off its arrival. “Finding a way to coexist is the best alternative,” he said.<br />

Dr. Royol Jitdon from The Water Foundation of Thailand added that everything<br />

has resulted from the city’s problematic urban planning. The Kingdom’s previous<br />

capitals, such as Sukhothai and Ayutthaya ,were built in a gridiron plan with a<br />

network of connected waterways including water distribution canals. People in<br />

the past lived ‘with’ water, with settlements coexisting alongside canal routes<br />

that were all linked together. Even when urban development during the reign of<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 16<br />

17 Animal


วิทยากรหลากหลายแขนงที่มา<br />

ร่วมคุยและแลกเปลี่ยนความรู้<br />

ในสถานการณ์เรื่อง “น้ํา”<br />

ของกรุงเทพมหานครใน<br />

ปัจจุบัน<br />

Speakers from different<br />

professions and<br />

disciplines join the discussion<br />

and exchange their<br />

views and knowledge on<br />

Bangkok’s water<br />

management.<br />

King Rama V began to include road construction,<br />

the city was still largely connected by canals.<br />

However, the city of Bangkok has subsequently<br />

suffered due to its poorly planned and developed<br />

waterway and roadway system. A majority of<br />

people have to commute 40 kilometers a day,<br />

some from their homes in housing estates located<br />

in Nonthaburi or suburbs on the outskirts of<br />

<strong>ASA</strong> Thongmanuchart, a representative from the<br />

Department of City Planning and Urban Development,<br />

Bangkok Metropolitan Administration,<br />

joined the conversation with an interesting<br />

update on how the city’s urban development plan<br />

is now putting more emphasis on the environment,<br />

including the conservation of disaster prevention<br />

areas, water drainage system management, and<br />

Bangkok, to their offices in CBDs such as Silom,<br />

proper maintenance of canals and waterways.<br />

all because urban planning is a complete failure.<br />

“Urban planning is a matter of public interest, and<br />

We did not grow or learn from our history or our<br />

everyone should be involved in the development<br />

strong points.<br />

of the city planning simply because the city<br />

belongs to all of us.”<br />

Bangkok native Yossaphol Boonsom recalled an<br />

incident that made him realize that the relationship<br />

The lesson learnt from this discussion was that<br />

between the city’s inhabitants and water has<br />

human attitudes towards nature affect our way of<br />

become completely disconnected. During the<br />

life and the physicality of the city. One thing we all<br />

floods of 2014 he was volunteering in Ayutthaya.<br />

have to accept is that few people nowadays have a<br />

มองว่าน้ําเป็นภัย เลยต้องป้องกัน ดังนั้นเรา<br />

ไม่ได้เปลี่ยนแค่กายภาพ แต่เราเปลี่ยนวิธีคิด<br />

ต่อน้ํา​​“คนเมืองมองน้ําเป็นกายภาพ ไม่ได้<br />

มองเป็นจิตวิญญาณ ที่จะต้องเข้าใจน้ํา​สิ่งนี้<br />

กําลังเป็นภัยคุกคมของเมือง ซึ่งเกิดจากคน<br />

เมืองที่มองการพัฒนาแม่น้ําอย่างไม่เข้าใจราก”<br />

อาสา ทองมนูชาติ ตัวแทนจากสํานักการวาง<br />

ผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร กล่าว<br />

เสริมจากวิทยากรท่านอื่นๆ ในเรื่องของการ<br />

ปรับปรุงผังเมืองรวมฉบับที่ห้า ที่พยายามให้<br />

ความสําคัญกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ทั้งการ<br />

รักษาพื้นที่ป้องกันภัยพิบัติ รวมทั้งการระบาย<br />

น้ํา​การดูแลรักษาคูคลอง อาสาอธิบายเพิ่มว่า<br />

ผังเมืองเป็นเรื่องของประโยชน์สาธารณะและ<br />

ชวนทุกคนมาร่วมกันให้ความเห็นเรื่องการ<br />

พัฒนาผังเมืองรวม เพราะ “ผังเมืองไม่ใช่ของ<br />

ใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของพวกเราทุกคน”<br />

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวงเสวนาวันนี้ อาจจะกล่าว<br />

ได้ว่าทัศนคติต่อธรรมชาติ ส่งผลต่อวิถีชีวิตที่<br />

เราอยู่ และกายภาพของเมือง สิ่งหนึ่งที่ต้อง<br />

ยอมรับคือเมื่อเทียบกับอดีตความเข้าใจเรื่อง<br />

น้ําของคนส่วนมากนั้น น้อยจนแทบจะเลือน<br />

หายไป และ “น้ํา” ไม่ได้ถูกมองเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของวิถีชีวิตของเราอีกต่อไป ดังนั้นแม้ในวันนี้<br />

เราจะย้อนอดีตไปไม่ได้ แต่ว่าเราทุกคน<br />

สามารถทําวันข้างหน้าไม่ให้เสียหายไปกว่านี้<br />

ได้ ด้วยการช่วยกันหาวิธีประยุกต์วิธีแนวคิด<br />

สมัยใหม่ผสานกับภูมิปัญญาดั้งเดิม โดยเรียน<br />

รู้บทเรียนจากอดีต และสิ่งสําคัญคือเราต้องรู้<br />

วิธีการอยู่ร่วมกับน้ําอย่างหลากหลายมิติ ท้าย<br />

ที่สุดคําพูดปิดท้ายของยศพลอาจจะแทนใจ<br />

หลายๆคน ได้เป็นอย่างดี “เราได้เรียนรู้ว่าคน<br />

ที่รู้ดีที่สุดไม่ใช่นักออกแบบ คนที่รู้จริงที่สุด<br />

ไม่ใช่สถาปนิก คนที่อยู่ในชุมชน ในพื้นที่<br />

ปราชญ์ชาวบ้าน คือคนที่รู้จริงว่าวิถีแต่ละท้อง<br />

ถิ่นคืออะไร และแม้ว่าวันนี้เราจะมีภาระอัน<br />

หนักอึ้ง แต่ถ้าเรามีความหวัง มันก็จะค่อย<br />

เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กละน้อย”<br />

Someone who’s lived in the city all his life, he<br />

considered the floods a natural disaster and<br />

promptly volunteered in the affected areas. But<br />

once he reached Ayutthaya, he came across an<br />

uncle paddling his boat, unperturbed by the fact<br />

the roads were all flooded. “For him, flood wasn’t a<br />

disaster. It was just a flood.” From this encounter<br />

he learnt that the attitude of people towards<br />

water has shifted entirely. Water is seen not as a<br />

friend but a threat, which explains attempts to<br />

protect the city from its so-called invasion. It isn’t<br />

just about how we see water physically, it’s also<br />

the way we think about it. “City people see only<br />

the physicality of it not the spiritual aspect that<br />

needs to be understood at a deeper level. Water is<br />

a threat because city people look at the development<br />

of waterways without any true understanding<br />

of their roots.”<br />

true understanding of the nature of water and its<br />

relationship with the city, and that this is because<br />

water has been excluded from most people’s way<br />

of life. And while we can’t bring back the past,<br />

what we can do is find ways to prevent the<br />

present and the future from being damaged even<br />

further. One of the ways we can do this is by<br />

integrating new approaches and modern<br />

technologies with local wisdom. It’s important<br />

that we learn from past lessons, that we remain<br />

aware and properly educated about the many<br />

ways in which humans can live with water.<br />

Yossaphol’s closing comment resonated with<br />

what many people now feel: “We have come to<br />

learn that the people who know best are neither<br />

designers nor architects but the those who really<br />

live in the communities, the local scholars who<br />

have a deep and comprehensive knowledge and<br />

understanding of the local way of life. We face a<br />

heavy burden and challenging obstacles, but as<br />

long as we keep our hope up the change will<br />

eventually happen.”<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 18<br />

19 Animal


INTERVIEW<br />

Boonserm Premthada:<br />

Bangkok Project Studio<br />

กล่าวได้ว่า ณ เวลานี้ คงไม่มีใครไม่รู้จักชื่อ<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญเสริม เปรมธาดา<br />

และ Bangkok Project Studio ซึ่งไม่ได้เพียง<br />

เป็นที่รู้จักในวงการสถาปัตยกรรมไทยเท่านั้น<br />

หากแต่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก รางวัล Royal<br />

Academy Dorfman Award และรางวัล<br />

ศิลปาธร สาขาสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2562<br />

เป็นรางวัลระดับสากลและระดับประเทศ ที่<br />

อาจารย์เพิ่งได้รับทั้ง 2 รางวัลภายในเดือน<br />

เดียวกันนั้น น่าจะเป็นเครื่องยืนยันได้เป็น<br />

อย่างดี<br />

At this moment in time, Boonserm<br />

Premthada of Bangkok Project Studio<br />

is widely recognized not just within<br />

Thailand’s architecture scene but the<br />

international arena. That he received<br />

both the globally renowned Royal<br />

Academy Doftman Award and Thailand’s<br />

prestigious Silpathorn Award (in the<br />

Architecture category) in the same<br />

month in 2019 is evidence of this.<br />

_จุดเริ่มต้นของความคิดในแบบของอาจารย์<br />

บุญเสริม<br />

ผลงานของอาจารย์บุญเสริมล้วนเริ่ม<br />

จาก ‘จิตวิญญาณในงานสถาปัตยกรรม’<br />

(Spirituality of Architecture) ซึ่งความ<br />

เข้าใจด้าน Spirituality ในโลกนี้มีหลายอย่าง<br />

แต่ในแบบของอาจารย์บุญเสริมจะเป็นเรื่อง<br />

ของ ‘ผัสสะ’ (Sense) ทั้ง 6 ได้แก่ รูป รส<br />

กลิ่น เสียง กาย และจิต ซึ่งเป็นพื้นฐานของ<br />

มนุษย์ที่จะรับรู้สิ่งต่างๆ นํามาใช้เป็นพื้นฐาน<br />

ในการออกแบบ ทําให้นามธรรมเป็นรูปธรรม<br />

หากจะจํากัดความให้แคบลง เนื่องจาก<br />

อาจารย์มีพื้นฐานและความถนัดทางด้านการ<br />

ก่อสร้างมาก่อน จึงเน้นลึกลงไปในเรื่องของ<br />

วัสดุและโครงสร้างที่มีความเป็นเนื้อแท้ ดิบ<br />

หยาบ ไม่สมบูรณ์แบบ ทั้งจากธรรมชาติและ<br />

ที่ถูกทําโดยมือมนุษย์ ทําให้เกิดเป็นสิ่งที่ไม่<br />

คาดคิด สร้างความประหลาดใจแก่ผู้คนได้<br />

เสมอๆ “ผมมักจะเลือกใช้วัสดุท้องถิ่น เช่น<br />

อิฐและไม้ ผสมผสานกับวัสดุทางอุตสาหกรรม<br />

เช่น เหล็ก ที่มีขนาดมาตรฐานตายตัว มี<br />

ความยืดหยุ่นน้อย เมื่อนํามาประกอบกับวัสดุ<br />

ท้องถิ่น ที่มีความยืดหยุ่นมากกว่า ก็จะเกิด<br />

ความสมดุล”<br />

What he refers to as the ‘spirituality<br />

of architecture’ is at the genesis of<br />

Premthada’s ideas. His spiritual<br />

understanding of the world encompasses<br />

the six senses (vision, hearing,<br />

taste, smell, touch and spirit), the<br />

fundamental sensory receptors that<br />

enable human to experience. These<br />

senses have been utilized in the design<br />

of his architecture, which materializes<br />

the abstract into the tangible.<br />

To be more specific about this definition,<br />

Premthada’s background knowledge<br />

and expertise in construction mean<br />

that his designs explore the true<br />

essences of materials and structures;<br />

in his work the raw aesthetics of nature<br />

and handmade creations lead to<br />

unexpected and surprising results. “I’ve<br />

always been drawn to local materials,<br />

such as red bricks and wood, and other<br />

simple construction materials, such as<br />

steel, whose definite standardized<br />

sizes, when combined with the flexibility<br />

Text: วสวัตติ์ รุจิระภูมิ / Wasawat Rujirapoom<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: Bangkok Project Studio<br />

Photo Portrait: Feaw Vintage<br />

of natural materials, create a wellbalanced<br />

outcome,” he explains.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 20<br />

21 Animal


_กระบวนการทางานของความคิด<br />

“ปกติการทํางานที่ดีต้องเริ่มจากโปรแกรมที่ชัดเจนก่อน<br />

ซึ่งความชัดเจนนั้นจะเกิดขึ้นจากการค้นคว้าวิจัย เมื่อ<br />

เข้าใจเป็นอย่างดีแล้ว จึงเข้าสู่การกําหนดโปรแกรมการใช้<br />

งาน ซึ่งไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นอาคารประเภทไหน หากแต่<br />

เป็นการสร้างทางออกให้มีการใช้งานให้มีความหลากหลาย<br />

มากขึ้น” อาจารย์บุญเสริมเล่าถึงกระบวนการทํางานของ<br />

ตนเองอย่างสังเขป และเนื่องจากอาจารย์มีพื้นฐานจาก<br />

การเรียนเรื่อง renovation อาคารมาก่อน โดยส่วนใหญ่<br />

อาคารในอดีตมีการใช้งานที่ชัดเจนและตายตัว เมื่อถึงเวลา<br />

ปัจจุบันที่อยากให้อาคารนั้นยังคงมีชีวิตอยู่ จึงถูกปรับ<br />

เปลี่ยนการใช้งาน และมักจะถูกรื้อย้ายพื้นที่ภายในออกไป<br />

ทั้งหมด แล้วค่อยสร้างขึ้นมาใหม่ เหมือนเป็นการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมซ้อนสถาปัตยกรรม ซึ่งกลายเป็นข้อจํากัด<br />

หนึ่ง จึงเกิดการตั้งคําถามถึงสถาปัตยกรรมกับการใช้งาน<br />

เมื่อมีโอกาสจึงสนใจทดลองสร้างอาคารที่สามารถมีการใช้<br />

งานได้หลายๆแบบ ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของคนที่จะเข้ามา<br />

ใช้งาน หลายคนอาจมองว่าผลงานของอาจารย์ คิดได้<br />

อย่างอิสระ แต่จริงๆแล้ว ทุกงานล้วนมีข้อจํากัดจากทาง<br />

ด้านกฎหมาย งบประมาณ แรงงาน และความสามารถ<br />

ของช่างก่อสร้าง รวมถึงเวลาด้วย แต่ข้อจํากัดเหล่านี้ล้วน<br />

แล้วแต่เป็นโอกาสที่จะพัฒนางานให้ก้าวหน้าขึ้น<br />

“วิธีคิดของผมไม่ได้คิดเป็นเส้นตรงอย่างที่หลายคนมัก<br />

เข้าใจ หากแต่เป็นวิธีคิดแบบเกลียว ที่หมุนวนแล้วค่อยๆ<br />

ดิ่งลึกลงไป เป็นการคิดทบทวนตัวเองเสมอ เวลากลับมาดู<br />

ผลงานที่ผ่านมา งานส่วนไหนที่ยังไม่ลึกพอ ก็จะย้อนกลับ<br />

มาทบทวนอย่างเชื่อมโยงกัน ระหว่างวัสดุ โครงสร้าง<br />

บรรยากาศ และความรู้สึก”<br />

บน: The Wine Ayutthaya<br />

หนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงของ<br />

อ.บุญเสริม<br />

The Wine Ayutthaya, one<br />

of Professor Premthada’s<br />

most renowned works.<br />

ล่าง: โครงการโลกของช้าง<br />

จ.สุรินทร์ ที่ อ.บุญเสริมนํา<br />

เสนอผ่านความสัมพันธ์<br />

ระหว่าง คน ช้างและ<br />

สถาปัตยกรรม<br />

Elephant World, the<br />

project that Professor<br />

Premthada materializes<br />

from the relationship<br />

between humans,<br />

elephants and<br />

architecture.<br />

_The Thought Process<br />

Premthada explains of his process: “Normally,<br />

a good work process begins with a good program.<br />

To have great understanding and clarity in a<br />

program requires a great deal of research and<br />

study. Once everything is understood, then it’s a<br />

matter of developing and determining the functional<br />

program. There isn’t a specific process for a<br />

particular type of building, but it’s more about<br />

creating a solution that offers more diverse<br />

functionalities.”<br />

With a background in building renovation, he is<br />

aware that most buildings in the past were<br />

constructed with definitive functionalities. For<br />

these buildings to continue to exist, these<br />

functionalities have to be adapted and the interior<br />

space stripped down and rebuilt. It’s pretty much<br />

like building a new architectural creation on top of<br />

the existing one, which eventually becomes a form<br />

of limitation.<br />

This situation has led to him raising questions<br />

about architecture and its function. When he is<br />

given the chance, he experiments by designing<br />

buildings whose different functionalities are<br />

varied and determined by the behaviors of users.<br />

While his works are celebrated for their experimental<br />

qualities and creative freedom, they all<br />

come with numerous limitations – be it legal<br />

restrictions, budget, labor, the skills of the<br />

builders, as well as time. However, Premthada<br />

believes these limitations are in fact opportunities.<br />

“My thought process isn’t as linear as many<br />

understand, but more of a spiral. It goes around<br />

and dives down, is constantly revised and recontemplated.<br />

When I look back at the works I<br />

have done, I often think about revisiting the parts<br />

that I think could be deeper, and about contemplating<br />

different connections between materials,<br />

structures, ambience and feelings all over again.”<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 22<br />

23 Animal


_ตัวตนของอาจารย์บุญเสริม<br />

ครูคนแรกของอาจารย์บุญเสริมคือคุณพ่อซึ่ง<br />

เป็นช่างไม้ จึงถูกสอนให้อยู่กับสัดส่วนจริง<br />

1:1 มาตั้งแต่เด็ก ทําให้เปิดความเข้าใจในมิติ<br />

และจินตนาการของสัดส่วนซึ่งมีความแตก<br />

ต่างกัน จากนั้นเข้าสู่กระบวนการเรียนหลัก<br />

การของช่าง ทําความเข้าใจช่างที่จะทํางาน<br />

ด้วย เครื่องมือ รวมถึงวิธีการก่อสร้าง จาก<br />

วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขต<br />

อุเทนถวาย ส่วนการศึกษาระดับปริญญาตรีที่<br />

คณะมัณฑนศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ<br />

ภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร นั้นสอนให้มี<br />

ความละเอียดอ่อน สุนทรียภาพ และเข้าใจ<br />

ความเป็นมนุษย์ ส่วนการศึกษาต่อที่<br />

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย สอนให้รู้จักหลักการ ทฤษฎีใน<br />

ระดับสากล สอนวิธีคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์<br />

ความเป็นเหตุเป็นผล หลังจากได้เรียนรู้ทุก<br />

อย่างหมดแล้ว เมื่อเข้าสู่การทํางานก็เกิดข้อ<br />

สงสัยขึ้นกับตัวเองว่า การสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมน่าจะมีทางอื่น นอกจากหลัก<br />

การและทฤษฎีที่เรียนมา จึงเริ่มหันมาสนใจ<br />

สถาปัตยกรรมที่ถูกสร้างขึ้นจากคนที่ไม่ใช่<br />

สถาปนิก อีกจุดเปลี่ยนสําคัญของชีวิตที่สุด<br />

ของอาจารย์บุญเสริมคือ ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ<br />

ต้มยํากุ้งในปี 2540 ซึ่งก่อนหน้านั้นอาจารย์<br />

บุญเสริมเป็นพนักงานบริษัท ที่เน้นการ<br />

ออกแบบให้สวย ถูกใจคนอื่นเป็นจุดสําคัญ<br />

เมื่อเกิดวิกฤตที่ทําให้ประเทศย่ําแย่มาก ทําให้<br />

เปลี่ยนมุมมอง ย้อนกลับมาดูสิ่งรอบตัวที่มี ที่<br />

สามารถทําเองได้ ด้วยแรงงานและคนของเรา<br />

แต่ยังคงประสานเอาเทคโนโลยีมาช่วยให้<br />

ทํางานได้ง่ายขึ้น ประหยัด และสมดุลกับ<br />

แรงงาน<br />

ซ้าย/ขวาบน: สถาบันกันตนา<br />

หนึ่งในโครงการที่ อ.บุญเสริม<br />

ส่งเข้าประกวด Royal<br />

Academy.<br />

Kantana Institute, one of<br />

the projects Professor<br />

Premthada included as a<br />

part of his presentation to<br />

Royal Academy’s<br />

international jury.<br />

ซ้ายล่าง: The Chapel พาวิล<br />

เลียน ที่เกิดจากการประสาน<br />

กันของ “บล็อกแก้ว” และ<br />

“ไม้ยางนา”<br />

The Chapel, a pavilion<br />

resulting from the<br />

beautifully intertwined<br />

materiality of glass blocks<br />

and yang na wood.<br />

_Who is Boonserm Premthada?<br />

Premthada’s first teacher was his father,<br />

a professional carpenter who taught<br />

him all about scale and proportion. It<br />

was a childhood upbringing that opened<br />

and broadened his understanding of<br />

the many dimensions that go into<br />

building things.<br />

At Rajamangala University of Technology<br />

Tawan-ok (Uthenthawai), he learned<br />

the theoretical aspects of it all, about<br />

how to work with skilled builders, the<br />

tools, the construction methods, etc.<br />

Being a student at the Interior Design<br />

Department of the Faculty of Decorative<br />

Art, Silpakorn University taught him<br />

about the aesthetics and delicateness<br />

of design while also giving him an<br />

understanding of human nature. Later,<br />

the Master of Architecture program at<br />

the Faculty of Architecture, Chulalongkorn<br />

University, offered him a deeper<br />

understanding of theories and principles<br />

at a more universal level. He also<br />

learned to think differently, to analyze,<br />

synthesize and rationalize.<br />

Having learned these important<br />

theoretical lessons, Premthada began<br />

his professional practice and soon<br />

started to question the methods of<br />

architecture. He began looking beyond<br />

what he had learnt at schools and<br />

universities, and his interest gravitated<br />

towards works of architecture created<br />

by people who are not architects. The<br />

1997 Tom Yum Goong economic crisis<br />

that hit Thailand and the construction<br />

industry to the core was a turning point<br />

in his life. Working as an employee in a<br />

private company, the designs he was<br />

producing aimed to create visual<br />

impact to please potential clients. The<br />

financial crisis, however, changed his<br />

perspective. It made him look back to<br />

the things that can be found and made<br />

locally using the skills, resources and<br />

labor of local people. However, he still<br />

believed that technology should be<br />

used to allow work processes to be<br />

carried out more efficiently with<br />

greater cost effectiveness and labor<br />

productivity.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 24<br />

25 Animal


ภาพบรรยากาศการรับรางวัล<br />

Royal Academy Dorfman<br />

Awards ร่วมกับคณะ<br />

กรรมการและผู้เข้าร่วม<br />

ประกวด<br />

Professor Premthada at<br />

the Royal Academy<br />

Dorfman Award with the<br />

jury and other finalists.<br />

บรรยากาศการนําเสนอผลงานรอบสุดท้าย<br />

ค่อนข้างเคร่งเครียด ผู้เข้ารอบสุดท้ายคนอื่นๆ<br />

ได้แก่ Fernanda Canales สถาปนิกชาว<br />

เม็กซิโก Alice Casey และ Cian Deegan<br />

แห่ง TAKA Architects ประเทศไอร์แลนด์<br />

และ Mariam Kamara จาก Atelier Masomi<br />

ประเทศไนเจอร์ ทุกคนล้วนเตรียมตัวกันมา<br />

อย่างดี ผมเองได้เห็นมุมมอง ทัศนคติ และ<br />

เรียนรู้จากคนอื่นๆ ทั้งผู้เข้าแข่งขัน รวมถึง<br />

คนใน Royal Academy of Arts (RA) ด้วย<br />

Premthada recalls the atmosphere at<br />

the final presentation being quite<br />

tense. “Other finalists, from Mexican<br />

architect Fernanda Canales, Alice<br />

Casey and Cian Deegan of Ireland’s<br />

TAKA Architects to Mariam Kamara of<br />

Atelier Masomi from Niger, were very<br />

well prepared. I learned a lot about their<br />

visions and attitudes, and not just of<br />

the contestants but the people at the<br />

_เล่าถึงรางวัลที่เคยได้รับและประสบการณ์ของการ<br />

ประกวด Royal Academy<br />

ปัจจุบันอาจารย์บุญเสริมได้รับรางวัลแล้วกว่า 14 รายการ<br />

ทั้งในประเภทผลงาน และประเภทบุคคล อย่างเช่น<br />

รางวัล Global Award for Sustainable Architecture<br />

2018, Royal Academy Dorfman Award และรางวัล<br />

ศิลปาธร สาขาสถาปัตยกรรม ประจําพ.ศ.2562 โดย<br />

รางวัลศิลปาธร ถือเป็นรางวัลที่ได้รับในประเทศไทยรางวัล<br />

แรก “เป็นรางวัลที่ดีใจมาก”หลายๆ รางวัลที่ได้รับ<br />

เป็นการถูกเสนอชื่อโดยคนอื่น ทราบอีกทีก็เมื่อเข้ารอบ<br />

หรือได้รางวัลแล้ว ยกตัวอย่างเช่นรางวัล Global Award<br />

for Sustainable Architecture 2018 รวมถึงรางวัลศิลปาธร<br />

และ Royal Academy Dorfman Award ก็เช่นกัน ซึ่ง<br />

ถือว่าเป็นเกียรติต่อตัวเอง ต่อวงการสถาปัตยกรรมใน<br />

ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งRoyal Academy<br />

Dorfman Award เป็นรางวัลของThe Royal Academy<br />

of Arts ถือเป็นสถาบันสูงสุดทางด้านศิลปะแห่งประเทศ<br />

อังกฤษที่ก่อตั้งมากว่า 250ปี เป็นรางวัลที่สําคัญรางวัล<br />

หนึ่งในชีวิต<br />

_Awards and credentials<br />

When it comes to awards and credentials,<br />

Premthada has won over 14 awards so far, both for<br />

his projects and as an individual practitioner, from<br />

the Global Award for Sustainable Architecture 2018<br />

to The Royal Academy Doftman Award and Silpathorn<br />

Award in the Architecture category (his<br />

first award from a Thai institute). “I’m very happy<br />

with all the awards I’ve been given,” he says. “Many<br />

of them were nominated by other people and I<br />

didn’t have a clue about it until I was informed that I<br />

had been selected as the finalists or that I had<br />

actually won. It’s the same with the Silpathorn<br />

Award and The Royal Academy Doftman Award.<br />

They are such tremendous honors, both for<br />

Thailand’s architecture community and myself.<br />

They’re some of my greatest achievements.”<br />

ผลงานที่อาจารย์บุญเสริมส่งไปนําเสนอ มี 2<br />

โครงการ คือ สถาบันกันตนา และโครงการ<br />

โลกของช้าง จ.สุรินทร์ และอีกหนึ่งการศึกษา<br />

วิจัย เกี่ยวกับเสียงในสถาปัตยกรรมที่ทําด้วย<br />

อิฐ ซึ่งเกี่ยวข้องกับตัวอาจารย์เองด้วย การนํา<br />

เสนอผลงานเป็นไปตามลําดับชีวิตและผลงาน<br />

ของอาจารย์ เสมือนการก้าวกระโดดที่ต้องย่อ<br />

ตัวก่อนที่จะกระโดด เพื่อให้ไปได้ไกลขึ้น โดย<br />

นําเสนอผลงานชิ้นแรกที่เป็นจุดเริ่มต้น ข้าม<br />

ไปสู่ผลงานล่าสุดที่ทําอยู่ปัจจุบัน และการ<br />

ค้นคว้าวิจัยเพื่อช่วยทบทวน ค้นหาคําตอบ<br />

เพื่อให้เข้าใจในตนเองมากขึ้น นอกจากนี้<br />

เนื่องจากอาจารย์มีปัญหาทางการได้ยิน หูข้าง<br />

ขวาไม่ได้ยินเสียงเลยและข้างซ้ายสามารถ<br />

ได้ยินเพียง 30% เฉพาะเสียงโทนต่ําเท่านั้น<br />

ซึ่งสิ่งที่ดูเหมือนข้อจํากัดนี้กลับกลายไปเป็น<br />

ส่วนหนึ่งในการที่อาจารย์บุญเสริมได้สร้าง<br />

เสียงในงานสถาปัตยกรรม โดยที่ตัวเองก็ไม่<br />

เคยทราบมาก่อน การค้นพบเกิดจากหลังจาก<br />

ที่ Solano Benitez สถาปนิกชาวปารากวัย<br />

เข้ามาเยี่ยมชมสถาบันกันตนา แล้วได้ยิน<br />

เสียงในงานสถาปัตยกรรม ประกอบกับคํา<br />

แนะนําของคุณอั๋น ฉัตรพงษ์ ชื่นฤดีมล แห่ง<br />

CHAT Architects อาจารย์บุญเสริมจึงเริ่ม<br />

ต้นศึกษาวิจัยเรื่องนี้ ในการนําเสนองาน<br />

อาจารย์บุญเสริมได้เริ่มต้นด้วยประโยคเปิด<br />

ขึ้นว่า “This is my story telling what I do<br />

for my beloved country.” โดยไม่ได้นํา<br />

เสนอผลงานสถาปัตยกรรมโดยตรง แต่<br />

เป็นการเล่าถึงการเรียนรู้ความเป็นมนุษย์ผ่าน<br />

สถาบันกันตนา วิถีชีวิตที่เกิดขึ้นในงาน<br />

Royal Academy of Arts as well.”<br />

The two projects Premthada included<br />

in the presentation were Kantana<br />

Institute, Elephant World in Thailand’s<br />

Surin province, and a research project on<br />

noise in architecture. The presentation<br />

was closely tied to Premthada himself<br />

as an architect while the works were<br />

presented in chronological order,<br />

corresponding with his life and<br />

evolving body of work. It showed how<br />

one has to bend the knee in order to<br />

leap higher. The first work he presented<br />

marks the beginning of his ensuing<br />

architectural creations and research,<br />

which are all a part of his attempt<br />

to find answers that allow him to<br />

understand himself more. Premthada<br />

lives with a hearing impairment (he is<br />

completely deaf in his right ear while<br />

his hearing in his left ear is limited to<br />

only 30%, with only tones in a lower<br />

register audible), and this physical<br />

limitation has become a part of his<br />

intuitive attempt to unknowingly create<br />

voices in his architecture. This discovery<br />

took place after Solano Benitez, a<br />

Paraguayan architect who travelled to<br />

Thailand to visit Kantana Institute,<br />

made an observation about the voices<br />

he heard from his architecture.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 26<br />

27 Animal


สถาปัตยกรรม ปรากฎการณ์ ปฏิสัมพันธ์<br />

ของสถาปัตยกรรมใน Scale ของช้างและคน<br />

ก่อนที่จะจบด้วยหน้าสุดท้ายที่ขึ้นประโยคไว้<br />

ว่า “Now,I did my love of Architecture<br />

for my beloved country” เป็นการจบ<br />

การนําเสนอผ่านประโยคที่แสดงความรักที่มี<br />

ต่อสถาปัตยกรรม อาจารย์บุญเสริมกล่าวว่า<br />

“Royal Academy of Arts (RA) ไม่ได้หา<br />

สถาปนิกที่เก่งหรือดีที่สุด หากแต่มองหา<br />

สถาปนิกที่มีตัวตนเป็นแบบอย่าง สามารถส่ง<br />

ผ่านความรู้ได้ และเป็นแรงบันดาลให้แก่<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่ในอนาคต ซึ่งการส่งผ่าน<br />

ความรู้ที่ดีที่สุดในแบบของผมคือการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมจริงให้ผู้คนได้เข้ามาใช้และ<br />

เรียนรู้ผ่านตัวสถาปัตยกรรมเอง”<br />

ผศ.บุญเสริม เปรมธาดา ก่อตั้งบริษัท<br />

Bangkok Project Studio ด้วยความมุ่งมั่น<br />

และความเชื่อที่ว่า ยังมีการทํางาน<br />

สถาปัตยกรรมในแบบอื่นๆอีก และรางวัลที่<br />

อาจารย์ได้รับในระดับสากล สามารถรับรอง<br />

ได้เป็นอย่างดีว่า ผลงานของอาจารย์บุญเสริม<br />

เป็นงานที่แปลกใหม่ ไม่ใช่เพียงในประเทศ<br />

ไทยไม่เคยมี หากแต่ทั่วโลกก็ไม่เคยเห็นมา<br />

ก่อนเช่นกัน<br />

Following the suggestion of Chatphong<br />

Chuenruedeemon of CHAT Architects,<br />

Premthada began researching this<br />

matter.<br />

In his presentation, he started off with<br />

a statement: “This is my story telling<br />

what I do for my lovely country.” Instead<br />

of delivering the presentation of his<br />

works, the Thai architect talked about<br />

the lives conceived as a part of his<br />

architecture, and the interactions<br />

between spaces and users (human and<br />

elephants). He ended the presentation<br />

with a text slide: “Now, I did my love of<br />

Architecture for my beloved country”.<br />

Premthada believes that the Royal<br />

Academy of Arts wasn’t looking for the<br />

most talented architect but “someone<br />

with a substantial character who can be<br />

a role model and relays knowledge and<br />

experience as well as inspires future<br />

generations of architects.” He adds:<br />

“The best possible thing I can do to pass<br />

on my knowledge is to create architecture<br />

that people can use and learn from.”<br />

ภาพบรรยากาศการนําเสนอ<br />

ผลงานของ อ.บุญเสริมในการ<br />

ประกวด Royal Academy<br />

Dorfman Awards<br />

Professor Premthada<br />

gives his presentation for<br />

the Royal Academy<br />

Dorfman Award.<br />

Assistant Professor Boonserm<br />

Premthada founded Bangkok Project<br />

Studio out of determination and a belief<br />

that there are other possibilities for<br />

how architecture can be created. The<br />

international awards he has received<br />

have proven his status as a pioneer.<br />

What he is doing and creating is<br />

unprecedented – something that<br />

neither Thailand nor the world has<br />

ever witnessed.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 28<br />

29 Animal


REVIEW<br />

ในความสัมพันธ์ระหว่างขนาด: โลกของช้าง จ.สุรินทร์<br />

Living Between Scales: Surin Elephant World<br />

Text: อ.ดร. วิญญู อาจรักษา / Winyu Ardrugsa, Ph.D.<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: Bangkok Project Studio<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 30<br />

31 Animal


สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆ ในเมืองมักถูก<br />

กําหนดให้มีขนาดที่สอดคล้องไปกับร่างกายมนุษย์และ<br />

กิจกรรมที่เราคุ้นเคย แต่ในบริบทซึ่งเราดํารงชีวิตอยู่ร่วม<br />

กับสัตว์ การสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมต้องคํานึงถึงสิ่ง<br />

มีชีวิตต่างขนาดกัน ความท้าทายในการออกแบบความ<br />

เชื่อมโยงนี้อาจก่อให้เกิดรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและ<br />

ประสบการณ์ที่ช่วยให้เราตระหนักถึงความสัมพันธ์<br />

ระหว่าง คน สัตว์ และสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป ใน<br />

กรณีของช้างซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่ที่มีความผูกพันกับสังคมไทย<br />

มาอย่างยาวนาน การพัฒนาปรับปรุงศูนย์คชศึกษา หรือ<br />

Elephant Study Center ที่ จ.สุรินทร์ โดยสํานักงาน<br />

Bangkok Project Studio ของ ผศ.บุญเสริม เปรมธาดา<br />

ได้ก่อให้เกิดงานสถาปัตยกรรมที่สะท้อนถึงปรากฏการณ์<br />

ดังกล่าว<br />

ปัจจุบันศูนย์คชศึกษาได้รับการประชาสัมพันธ์ภายใต้ชื่อ<br />

ใหม่ว่า “โลกของช้าง จ.สุรินทร์” หรือ “Surin Elephant<br />

World” ตามแนวคิดขององค์การบริหารส่วนจังหวัด<br />

สุรินทร์ โดยสอดคล้องกับโครงการนําช้างคืนถิ่นของ<br />

รัฐบาลและการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อชุมชนหมู่บ้านช้าง<br />

บ้านตากลางของชาวกูย ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐาน<br />

ในบริเวณนี้มานานหลายร้อยปี ชาวกูยมีความเชี่ยวชาญ<br />

ด้านการคล้อง เลี้ยง และฝึกสอนช้าง รวมถึงมีวิถีชีวิตและ<br />

ประเพณีที่ผูกพันกับช้างตั้งแต่เกิดจนตาย ปัจจุบันมีช้าง<br />

ในชุมชนมากกว่า 200 เชือก โดยในหมู่บ้านยังมีวัด<br />

สุสาน ศาลา และป่าของช้างโดยเฉพาะ ในส่วนของบ้าน<br />

พักอาศัย พื้นที่สําหรับช้างซึ่งอยู่ภายใต้ชายคาสูงโปร่งที่ยื่น<br />

จากตัวเรือนสะท้อนถึงความผูกพันกับช้างดั่งสมาชิกใน<br />

ครอบครัว<br />

การพัฒนาโครงการโลกของช้างเริ่มต้นในพ.ศ. 2558 บน<br />

เนื้อที่ราว 300 ไร่จากพื้นที่กว่า 3,500 ไร่ของหมู่บ้านช้าง<br />

บ้านตากลาง ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสําคัญของ<br />

จ.สุรินทร์ อยู่แล้ว โดยประกอบด้วยอาคารพิพิธภัณฑ์หลัก<br />

พิพิธภัณฑ์โรงช้างสําคัญ พิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตชาวกูย ลาน<br />

การแสดง พื้นที่เลี้ยงช้าง และร้านค้า ในส่วนของสิ่ง<br />

ก่อสร้างใหม่ซึ่งออกแบบโดย Bangkok Project Studio<br />

นั้นประกอบด้วย อาคารลานแสดงช้าง หอชมทิวทัศน์<br />

พิพิธภัณฑ์ และซุ้มกําแพงทางเข้าโครงการ ปัจจุบัน<br />

อาคารทั้งหมดยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง มีเพียงอาคาร<br />

สองหลังแรกเท่านั้นที่ก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ โดยสถาปนิก<br />

อธิบายถึงแนวคิดหลักในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม<br />

Urban environments are typically created so that<br />

they correspond physically with the scale of<br />

human bodies and the activities they engage in.<br />

However, in contexts where human beings and<br />

animals cohabit, architecture must consider their<br />

significantly different physical features. One of the<br />

challenges of designing such an architectural<br />

typology and experience is doing so originally, in a<br />

manner that helps us consider the relationship<br />

between human beings, animals and the environment<br />

from an entirely different aspect. The design of<br />

the Elephant Study Center in Surin province –<br />

a project focused on this majestic animal with a<br />

long and revered role in Thai history, and conceived<br />

by Assistant Professor Boonserm Premthada of<br />

Bangkok Project Studio – is one such attempt.<br />

Titled Surin Elephant World, the project follows<br />

the Surin Provincial Administrative Organization<br />

and government’s bring home the elephant policy,<br />

and also the tourism development scheme for<br />

Baan Ta Klang, an elephant village inhabited by the<br />

Kuy people, an ethnic group that settled in this<br />

region centuries ago. The Kuy possess generations<br />

of wisdom when it comes to capturing, raising and<br />

training elephants, as their entire way of life and<br />

traditions revolve around the wild creatures. With<br />

an elephant population of over 200, their village<br />

houses an elephant temple, an elephant cemetery,<br />

corrals and open woodland. It is common for the<br />

home of a Kuy family to have a high-roofed annex<br />

which serves as a living space for the elephants<br />

and reflects the family-like connection between<br />

them and the animal.<br />

The development of Surin Elephant World project<br />

began in 2015 on 118 acres of land within the vast<br />

1,384 acres of Baan Ta Klang elephant village, one<br />

of the most notable tourist attractions in Surin<br />

province. The center comprises a main museum<br />

building, the Museum of Royal Elephants, Museum<br />

of Kuy Tribe, the Elephant Stadium, a showground<br />

แหล่งการเรียนรู้วิถีชีวิตของ<br />

ชาวกูยและช้าง จ.สุรินทร์ ได้<br />

รับการปรับปรุงใหม่ผ่านงาน<br />

สถาปัตยกรรมหลายชิ้นโดย<br />

Bangkok Project Studio<br />

After the major<br />

refurbishment and<br />

addition of new structures<br />

designed by Bangkok<br />

Project Studio, the<br />

curated content at the<br />

learning centre now<br />

provides visitors with<br />

knowledge and<br />

understanding of the Kuy<br />

people, elephants and<br />

their way of life.<br />

หอชมทิวทัศน์อิฐเป็นภูมิ<br />

สัญลักษณ์ใหม่ของทั้ง<br />

โครงการและชุมชน<br />

The brick Observation<br />

Tower stands tall as the<br />

new landmark of the<br />

project and the local<br />

community.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 32<br />

33 Animal


อาคารลานแสดงช้างซึ่งมีผืน<br />

หลังคาและเนินดินที่นั่งเป็น<br />

องค์ประกอบหลักในการ<br />

กําหนดที่ว่าง<br />

The elephant activity<br />

ground’s key spatial<br />

elements are an expansive<br />

roof structure and sloped<br />

seating program.<br />

Here the configuration of the panels<br />

leaves a series of cavities, making the<br />

roof airy and well ventilated. Additionally,<br />

the architect has added a number of<br />

openings to the roof to allow Yang Na<br />

trees to grow through them and provide<br />

ในโครงการนี้ว่าเป็นเรื่องของ “ขนาด” ซึ่งได้คํานึงถึง<br />

ความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างคนและช้าง โดย<br />

บางส่วนเป็นการใช้พื้นที่แยกกันและบางส่วนก็รวมกัน<br />

ในส่วนของการออกแบบอาคารลานแสดงช้าง หรือ<br />

Elephant Stadium สถาปนิกเปรียบว่าเป็นการสร้าง<br />

สนามเด็กเล่นให้กับช้าง โดยปรับใช้รูปทรงหลังคาจั่วจาก<br />

บ้านของชาวกูยให้ขยายครอบคลุมพื้นที่ขนาด 70x100 ม.<br />

เอาไว้ จากนั้นจึงคว้านหลังคาส่วนที่อยู่เหนือลานการ<br />

แสดงออก และเหลือไว้เฉพาะส่วนหลังคาโดยรอบที่ลอย<br />

อยู่เหนือพื้นที่ของผู้ชมราว 7 ม. ด้วยเป็นฉากหลังให้กับ<br />

การปรากฏตัวของช้างและเป็นองค์ประกอบหลักในการ<br />

กําหนดที่ว่าง สถาปนิกจึงออกแบบให้ผืนหลังคามีมวล<br />

และดูหนัก โดยปูกระเบื้องดินเผาขนาด 16x27 ซม.ด้าน<br />

บนและใช้ไม้เนื้อแข็งกว้าง 4 นิ้ว ตีปิดโครงสร้างหลังคาที่<br />

มีความหนาประมาณ 1.5 ม. เอาไว้ อย่างไรก็ตาม การ<br />

ตีไม้แบบเว้นร่องช่วยให้ผืนหลังคามีความโปร่งพอที่ลมจะ<br />

พัดผ่านเพื่อช่วยในการระบายความร้อนได้ นอกจากนี้<br />

สถาปนิกยังเจาะช่องบนผืนหลังคาตามจุดต่างๆ โดยรอบ<br />

เพื่อให้ต้นยางนาสามารถทะลุช่องเหล่านั้นขึ้นไปให้ร่มเงา<br />

กับอาคารได้ ในด้านโครงสร้าง หลังคาผืนใหญ่นี้มีเสา<br />

หน้าตัดขนาด 30x50 ซม. เรียงอยู่แนวรอบนอกเพียง 2<br />

แนว โดยช่วยรองรับหลังคาซึ่งมีระยะยื่นออกสู่ลานแสดง<br />

ราว 10 ม. สิ่งที่น่าแปลกใจเมื่อแรกเห็นอาคารลานแสดง<br />

ช้างนี้คือลักษณะที่กลมกลืนไปกับอาคารโดยรอบ แต่เมื่อ<br />

เราเข้าสู่ภายในจะพบการแปลงหลังคาจั่วธรรมดาให้เป็น<br />

องค์ประกอบที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง<br />

and shop. Bangkok Project Studio was assigned<br />

to oversee the design of the stadium, observation<br />

tower, museum, shop, box office and main<br />

entrance. All the buildings are currently under<br />

construction with only the first two structures<br />

nearing completion. The architect explains that<br />

scale has been adopted as the core concept of<br />

the architectural design, and that it put great<br />

emphasis on the relationship between human<br />

beings and elephants as well as their different<br />

physical features. Some of the functional<br />

spaces are intended to be shared by the two<br />

species while others are not.<br />

The elephant stadium is referred to as the<br />

elephant playground. Stretching across the 70x100<br />

meter space, this structure takes inspiration from<br />

the gabled roofs of the Kuy’s homes. The roof<br />

structure extends over the outdoor ground, leaving<br />

only the circumference protruding seven meters<br />

above where audiences will sit. So that the roof<br />

serves as a setting for the elephants and the main<br />

feature of the entire space, the architect designed<br />

the structure to appear as a solid heavy mass.<br />

The top of the structure is cladded with 16x27 cm<br />

centimeter ceramic tiles with four-inch wide<br />

timber panels covering the 1.5-meter-thick roof.<br />

shade. Structurally, this massive roof is<br />

supported only by two rows of columns<br />

with each column designed to have<br />

30x50cm section. These columns are<br />

designed to support the weight of the<br />

cantilevered part extending 10 meters<br />

from the roof structure above the<br />

stadium ground.<br />

The first surprise the stadium design<br />

offers is how well it blends physically<br />

with the surroundings. Then, once you<br />

step inside, the transformation from a<br />

normal gable roof to an entirely<br />

different composition becomes very<br />

discernable.<br />

The space for visitors is realized into a<br />

spatial program that integrates the<br />

physical elements of freeform slopes.<br />

One side of this inclined landscape is<br />

open for elephants to enter and exit.<br />

The slopes run up and down in physical<br />

coherence with the circumference of<br />

the roof, defining the perimeter of the<br />

showground. The slopes at the outer<br />

row of columns are designed to posses<br />

a well-calculated steepness, functioning<br />

ขวาบน: โครงสร้างหลังคาถูก<br />

ห่อหุ้มด้วยแผ่นไม้ตีเว้นร่อง<br />

เพื่อสร้างผืนหลังคาที่ดูมีมวล<br />

และน้ําหนัก<br />

Right-Top: Featuring wood<br />

panel cladding and<br />

intentional spaces<br />

between each piece, the<br />

mass and volume of the<br />

roof structures are<br />

created naturally.<br />

ขวาล่าง: ผืนหลังคายื่นและ<br />

เนินดินรูปทรงอิสระปะทะกัน<br />

ในจุดต่างๆ สร้างมุมมองที่<br />

หลากหลาย<br />

Right-Bottom: The<br />

cantilevered roof and<br />

visually clashing slopes<br />

lend diverse and<br />

interesting perspectives<br />

to the space.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 34<br />

35 Animal


โครงสร้างของหอชมทิวทัศน์<br />

อิฐเป็นตัวกําหนดการปิดล้อม<br />

และความโปร่งในระดับต่างๆ<br />

The brick Observation<br />

Tower offers various levels<br />

of enclosure and<br />

openness.<br />

สําหรับพื้นที่ของผู้เข้าชม สถาปนิกออกแบบ<br />

เป็นเนินซึ่งมีรูปทรงอิสระ โดยวางอยู่บนผังที่<br />

เปิดด้านหนึ่งสําหรับการเข้าออกของช้าง<br />

เนินดินนี้วิ่งขึ้นลงล้อไปกับแนวหลังคาและช่วย<br />

โอบล้อมลานการแสดงเอาไว้ โดยในฝั่งซึ่งอยู่<br />

ระหว่างช่วงเสาริมนอก ความสูงชันของตัว<br />

เนินสร้างการเปลี่ยนผ่านจากด้านนอกสู่ด้าน<br />

ใน สําหรับฝั่งซึ่งหันสู่ลานตรงกลางนั้น<br />

สถาปนิกกําหนดความลาดชันไว้ที่ประมาณ<br />

1:2 โดยม้านั่งคอนกรีตถูกวางเรียงต่อกันไป<br />

ฝั่งละ 3 ถึง 6 แถว และมีทางลาดหรือบันได<br />

ต่อกันเป็นทอดๆ นอกจากนี้ยังมีกระถาง<br />

ต้นไม้คอนกรีตแทรกตามจุดต่างๆ ราว 50<br />

กระถางซึ่งช่วยสร้างความแข็งแรงให้กับตัว<br />

เนิน ในขณะที่หินบะซอลต์สีเทาดําทั้งเล็กและ<br />

ใหญ่ช่วยยึดหน้าดินเอาไว้ อาคารหลังนี้มี<br />

ความน่าสนใจในเชิงสุนทรียภาพที่ต่างออกไป<br />

จากทั้งลานแสดงช้างและอาคารสนามกีฬา<br />

ทั่วไป ปริมาตรของที่ว่างโล่งซึ่งเกิดการปะทะ<br />

กันระหว่างผืนหลังคาและตัวเนิน ระหว่าง<br />

กลุ่มต้นไม้และแนวเสา ดูจะทําให้ผู้เข้าชมรับ<br />

รู้ได้ถึงความยิ่งใหญ่ของช้าง สถาปัตยกรรม<br />

และธรรมชาติ<br />

จากอาคารลานแสดงช้าง เราสามารถมองเห็น<br />

หอชมทิวทัศน์อิฐ หรือ Brick Observation<br />

Tower ได้ผ่านช่องโล่งของผืนหลังคา โดย<br />

เป็นสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นที่สุดในโครงการด้วย<br />

ความสูงเกือบ 23 ม. ตัวหอคอยนี้มีผังคล้าย<br />

กับหยดน้ํา​โดยสถาปนิกวางให้ด้านยาวเอียง<br />

รับมุมมองจากทางเข้าหลักของโครงการ ผนัง<br />

ด้านนอกของอาคารมีลักษณะเป็นโครงสร้าง<br />

เสาและคานโปร่ง ซึ่งผิวของโครง สร้างนี้ถูก<br />

หุ้มด้วยอิฐดินเผาขนาด 15x30x5 ซม. โดย<br />

ตามแบบนั้นสถาปนิกกําหนดให้การก่ออิฐทํา<br />

หน้าที่เป็นทั้งแม่แบบและส่วนประสานเข้ากับ<br />

เนื้อคอนกรีต โครงสร้างเสาและคานนี้สานต่อ<br />

กันเป็นลวดลายห่อหุ้มที่ว่างด้านในที่แตกต่าง<br />

กัน 2 รูปแบบ ซึ่งต่อสลับกันเป็นจังหวะขึ้นไป<br />

และค่อยๆ ยื่นหายไปสู่ท้องฟ้าในชั้นบนสุด<br />

ทั้งนี้ แม้ว่าจุดประสงค์เดิมของโครงการจะ<br />

ต้องการเพียงเพื่อสร้างจุดหมายตา แต่<br />

as a transition space between the<br />

inside and outside of the stadium.<br />

The side of the inclined landscape<br />

facing the center of the showground is<br />

designed to have a 1:2 slope gradient<br />

with 3-6 rows of concrete benches<br />

situated on each side. An inclined<br />

walkway and series of steps are<br />

provided to grant access into the<br />

stadium. Scattered sporadically are<br />

over 50 concrete containers, which<br />

help keep the slopes grounded and<br />

solid. Dark gray basalt gravel covers the<br />

surface of the soil to keep the ground<br />

intact and clean. The building is<br />

interesting as it exudes a different type<br />

of aesthetics to an ordinary elephant<br />

showground. This is owing to the sheer<br />

volume of void created by the way the<br />

masses of the roof and slopes come<br />

together, how the trees and columns<br />

align, and how it manages to accentuate<br />

the majestic presence of these great<br />

animals, the architecture and nature<br />

all at once.<br />

From the elephant stadium, one can see<br />

the brick observation tower through the<br />

openings on the roof. With a height of<br />

almost 23 meters, this building is the<br />

project’s most visually distinctive<br />

structure. Designed to have a dropletshaped<br />

floor plan, the tower is<br />

positioned with the longer side angled<br />

to meet visitors entering from the main<br />

entrance. The exterior wall reveals airy<br />

and ventilated structural details such as<br />

interwoven columns and beams cladded<br />

with 15x30x5 cm red bricks, which serve<br />

as both the molding and bonding agent<br />

of the concrete.<br />

The columns and beams are inter-<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 36<br />

37 Animal


laced and created into two different patterns,<br />

The entrance and museum are also parts of the<br />

connected in an interval sequence that gradually<br />

program where the relationship between human<br />

encloses the hollow space inside the tower before<br />

and elephants is reconfigured. The brick walls<br />

they pierce upward as if the top part was disap-<br />

resemble a terraced pyramid with two of the<br />

pearing into the sky. Even though the original<br />

walls serving as the gate – a transition space<br />

objective was for the building to serve as the<br />

from the human scale to elephant scale.<br />

project’s landmark, the architect has added the<br />

Meanwhile, various corners of the museum<br />

functionality of an observation tower. With<br />

building, which is spread across 3.5-acres of<br />

visitors granted access<br />

land, are left open so that elephants can enter<br />

to the upper levels (the tower is intended to be a<br />

and be a part of the exhibition’s program.<br />

shelter in case of emergencies), it will offer not<br />

just a comprehensive view but also a better<br />

With Surin Elephant World, Bangkok Project<br />

understanding of the project and its surrounding<br />

Studio are delivering an exemplary work of<br />

community and context.<br />

architecture that will serve users from very two<br />

different species, each with their own distinct<br />

With this concept, the architect is attempting<br />

body proportions and behaviors. Such a concept<br />

to slow down the visitors’ pace when inside the<br />

has dictated the openness and enclosure of<br />

building. The spatial layout isn’t designed for<br />

space, the expansion and reduction of compositions,<br />

visitors to reach the top within the shortest<br />

the use of industrial and local materials, the<br />

amount of time, but rather to take their time<br />

construction details that are both delicately<br />

สถาปนิกได้เพิ่มการใช้สอยเป็นสถานที่ชมทิวทัศน์ที่เรา<br />

สามารถเดินขึ้นไปด้านบนได้ (รวมถึงเป็นพื้นที่หลบภัยใน<br />

กรณีฉุกเฉิน) ซึ่งจะช่วยให้ผู้เยี่ยมชมมีความเข้าใจใน<br />

โครงการ ชุมชน และบริบทโดยรอบมากขึ้น<br />

ด้วยแนวคิดนี้สถาปนิกจึงพยายามชะลอการเคลื่อนที่ในตัว<br />

อาคาร โดยไม่ได้ออกแบบนําผู้เยี่ยมชมไปยังด้านบนให้เร็ว<br />

ที่สุด แต่สามารถใช้เวลาในการเดินและชมทิวทัศน์ ซึ่งองค์<br />

ประกอบที่ช่วยสร้างประสบการณ์นี้ คือช่องโล่งจํานวนมาก<br />

ในโครงสร้างผนังที่เราเลือกมองออกมายังพื้นที่ด้านนอกได้<br />

นอกจากนี้ความแตกต่างของโครงขนาด 30x50 ซม. และ<br />

50x50 ซม. ก็สร้างบรรยากาศที่แตกต่างกันไปในแต่ละชั้น<br />

โดยเมื่อเดินไปตามแนวผนัง บางชั้นจะมีความโปร่งที่เห็น<br />

ทิวทัศน์ภายนอกได้ ในขณะที่บางชั้นจะมีเพียงแสงที่ลอด<br />

ผ่านเข้ามา องค์ประกอบอีกชิ้นที่มีส่วนสําคัญต่อการรับรู้<br />

คือบันได ซึ่งแต่ละชุดนั้นถูกวางพาดสลับทิศกันไปมาทําให้<br />

การเดินมีมุมมองที่หลากหลายและมีระยะเวลาที่ทอดนาน<br />

ออกไป โดยปกติแล้วอาคารหอสังเกตการณ์มักจะเป็นสิ่ง<br />

ก่อสร้างที่ตั้งอยู่อย่างเป็นอิสระ แต่หอชมทิวทัศน์อิฐนี้กลับ<br />

สร้างการปิดล้อมโดยคํานึงถึงการรับรู้ของคนที่อยู่ภายในที่<br />

อ้างอิงไปยังกลุ่มช้างที่อยู่ภายนอกได้อย่างลึกซึ้ง<br />

นอกจากอาคารลานแสดงช้างและหอชมทิวทัศน์แล้ว ทาง<br />

เข้าโครงการและพิพิธภัณฑ์ก็เป็นอีกส่วนที่ความสัมพันธ์<br />

ระหว่างคนกับช้างถูกจัดวางใหม่ โดยกําแพงอิฐซึ่งมีรูปทรง<br />

สอบขึ้นคล้ายพีระมิดขั้นบันได 2 กําแพงทําหน้าที่เป็นประตู<br />

และจุดเปลี่ยนเชิงขนาดจากคนสู่ช้าง ในขณะที่ตัวพิพิธภัณฑ์<br />

ซึ่งแผ่ออกบนที่ดินกว่า 9 ไร่ได้เปิดแนวกําแพงอิฐตามมุม<br />

ต่างๆ เพื่อให้ช้างเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดแสดง กล่าว<br />

ได้ว่าผลงานทั้งหมดของ Bangkok Project Studio ใน<br />

โครงการโลกของช้าง จ.สุรินทร์ นี้เป็นตัวอย่างของการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมเพื่อรองรับผู้ใช้งานที่มีสายพันธุ์ต่างกันซึ่ง<br />

เกี่ยวข้องทั้งกับการกําหนดที่ว่างแบบโปร่งหรือปิดล้อม การ<br />

ขยายหรือย่อสัดส่วนองค์ประกอบต่างๆ การเลือกใช้วัสดุ<br />

อุตสาหกรรมและท้องถิ่น และการก่อสร้างที่มีทั้งความ<br />

ละเอียดและหยาบ รวมถึงการปล่อยให้ธรรมชาติเข้ามามี<br />

บทบาทในตัวสถาปัตยกรรม ซึ่งสถาปนิกสามารถประมวล<br />

เอาประเด็นเหล่านี้มาสร้างสถานการณ์ที่วางเราไว้ในความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ และสภาพแวดล้อม ที่ทั้งคุ้นเคย<br />

และก็แปลกแยกไปพร้อมๆกัน<br />

walking up and appreciating the view. The copious<br />

cavities on the brick wall will help create such an<br />

experience as they allow visitors to see outside<br />

from various points of the tower. The difference of<br />

size between the structural components (30x50cm<br />

and 50x50cm) creates a different atmosphere on<br />

each of the floors. Walking along the wall of the<br />

ascending tower, one experiences plenty of access<br />

to views outside on some floors while on others<br />

only a limited amount of natural light finds its way<br />

in through the cavities. The stairways play a<br />

significant part in creating the overall experience.<br />

Each stairway is connected to another in a series<br />

of unpredictable directions and configurations,<br />

causing the walk to be extended while granting<br />

diverse perspectives of the space and the view.<br />

While most observation towers tend to be situated<br />

independently, the brick observation tower here<br />

offers a sense of enclosure, and so connects our<br />

human perceptions and experiences of being<br />

inside to that of the elephants, which are now<br />

living in the more open space outside.<br />

executed and idiosyncratically raw, and the<br />

manner in which the work embraces nature as<br />

an integral part of its existence. The architects<br />

appear to have masterfully processed all of these<br />

issues and elements. On completion Surin<br />

Elephant World will offer an experience that<br />

explores the relationship between humans,<br />

animals and the environment, and feels familiar<br />

and disorientating all at the same time.<br />

Project Name: Surin Elephant World<br />

Owner: Surin Provincial Administrative<br />

Organization<br />

Location: Ta Klang Elephant Village, Krapho,<br />

Tha Tum District, Surin<br />

Area: Elephant Stadium 7,000 Square Meters<br />

Brick Observation Tower 350 Square Meters<br />

Year of completion: Under construction<br />

2015 – Present<br />

Architect: Bangkok Project Studio<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 38<br />

39 Animal


REVIEW<br />

Baan Cats 2018<br />

หลากหลายมุมเหม่อกลางอากาศกับ<br />

การกลับมารักกันใหม่ของหมู่แมว<br />

Baan Cats 2018 คือส่วนต่อ<br />

เติมหน้าบ้านเพื่อแก้ปัญหา<br />

การใช้งานให้เจ้าของบ้าน และ<br />

แก้ปัญหาความแออัดของ<br />

ประชากรแมว<br />

Baan Cats 2018 was added<br />

to a private residence to<br />

help resolve the issue of<br />

overpopulation by the<br />

house owners’ pet cats.<br />

Text: สิริพร ด่านสกุล / Siriporn Dansakun<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: ปวริสร์ เสถียรสถิตกุล / Pawarit Sathiansathidkul<br />

การเลี้ยงแมวในบ้านกําลังเป็นที่นิยม เพราะไม่รบกวน<br />

เพื่อนบ้าน ลดการเกิดอุบัติเหตุ และป้องกันการติดโรค<br />

แต่บางครั้งก็ทําให้แมวเครียด วิธีจัดการไม่ให้แมวมีปัญหา<br />

ดังกล่าว แบบที่คุณณัฐวุฒิ มัชฌิมา จาก Mutchima<br />

Studio สร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาคือการสร้างสเปซที่แมว<br />

จะไม่เบื่อนั่นเอง<br />

Baan Cats 2018 คือส่วนต่อเติมหน้าบ้านของครอบครัว<br />

ที่มีพ่อแม่สูงวัยกับลูกสาววัยรุ่น เป็นพื้นที่ 2 ชั้นที่เชื่อมต่อ<br />

ห้องนั่งเล่นที่ชั้น 1 และห้องนอนในชั้น 2 มีการแก้ปัญหา<br />

การใช้งานของเจ้าของบ้านให้สะดวกขึ้น โดยหมาจะใช้<br />

พื้นที่ซ้อนทับกับคนในชั้นหนึ่ง ส่วนแมวจะอยู่ทั้ง 2 ชั้น<br />

สถาปนิกมีความตั้งใจจะออกแบบพื้นที่เรียบง่ายเหมือนอยู่<br />

บ้านต่างจังหวัดอย่างไทยๆ บ้านที่วัยรุ่นก็อยู่สบาย และ<br />

แก้ปัญหาให้กับหมู่แมวที่เริ่มมีประชากรแออัดได้รู้สึก<br />

ปลอดโปร่งขึ้น<br />

เนื่องจากแมวก็เหมือนคน ที่มีลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน<br />

ไป สถาปนิกจึงเริ่มต้นจากการทําความรู้จักประชากรแมว<br />

ในบ้าน โดยการเข้าไปสังเกต และตั้งกล้องวิดิโอไว้<br />

ประมาณ 5 วัน แล้วให้เจ้าของบ้านส่งวิดิโอกลับมา เพื่อ<br />

ศึกษาพฤติกรรมของแมวและลักษณะนิสัยของแมวแต่ละ<br />

ตัว ที่บ้างก็ชอบนอน ชอบคน มีโลกส่วนตัวสูง และบ้างก็<br />

ชอบแกล้งผู้อื่น จนเป็นสีสันของบ้าน ก่อนนําข้อมูลมา<br />

ออกแบบพื้นที่ที่ตอบรับพฤติกรรมเดิมๆ แต่ให้ความรู้สึก<br />

For many cat owners, raising cats indoors is a<br />

growing trend. Nevertheless, while this approach<br />

reduces the risk of their pet disturbing or upsetting<br />

the neighbors, as well as being exposed to<br />

accidents and disease, it can potentially be<br />

stressful. Nuttawoot Mutchima of Mutchima<br />

Studio has come up with a solution to this problem<br />

with Baan Cats 2018 – a space specifically created<br />

so that domesticated felines can stay physically<br />

and mentally healthy.<br />

Baan Cats 2018 is essentially an annex of a home<br />

for a family of four, comprised of a middle-aged<br />

couple and their two teenage daughters. The<br />

two-story structure connects to the living area on<br />

the first floor and the sleeping quarters on the<br />

second floor. The space is designed to provide a<br />

solution and greater convenience for the owners<br />

and their pets. With the dogs sharing the ground<br />

floor space with other members of the family, the<br />

cats’ living area is situated on the second floor of<br />

the new annex. The architect intended to design a<br />

simple living space with a vibe similar to that found<br />

in a rural home, all while still catering to the<br />

preferences and lifestyles of young members of<br />

the family and serving as a space where the<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 40<br />

41 Animal


floor. The architect determined the<br />

coordinates that correspond with the<br />

cats’ routines before designing a series<br />

of elevated walkways for them. Based<br />

on the theory that the further people<br />

have to walk the more stressed they<br />

become, whereas cats relieve stress by<br />

moving around more, the architect<br />

designed a living space that shortens<br />

walking distances for the human<br />

members of the family while extending<br />

them for the felines.<br />

ใหม่แก่แมว<br />

ขั้นตอนการออกแบบเริ่มจากแก้ไขกิจกรรมของคนในส่วน<br />

ซักล้าง ตากผ้า และจอดรถในชั้น 1 ให้ใช้งานง่ายขึ้น และ<br />

สร้างพื้นที่อิสระในชั้น 2 ต่อมาจึงกําหนดพิกัดพฤติกรรม<br />

เดิมของแมว ยกให้สูงขึ้นเป็นทางเดินเหนือศีรษะเพื่อแยก<br />

ทางสัญจรแมวออกจากคน เน้นการลดระยะการเดินของ<br />

คน แต่เพิ่มระยะการเดินของแมว เพราะคนจะเครียดเมื่อ<br />

เดินมากแต่แมวจะเครียดเมื่อเดินน้อย<br />

“เรารักษาพิกัดเดิมที่แมวชอบแล้วยกระดับเป็นทางเดิน<br />

ลอยฟ้าเลียบผนังโปร่งของเหล็กฉีก กําหนดพิกัดความสูง<br />

ให้เห็นวิวให้มากขึ้น แล้วปรับแบบตามข้อจํากัดทาง<br />

โครงสร้าง กฎหมายและสิ่งแวดล้อม” สถาปนิกอธิบาย<br />

การกําหนดความสูงและสัดส่วน “ความห่างของชั้นคือ<br />

ระยะกระโดดและความยาวของชั้นคือระยะทางเดิน ซึ่งมา<br />

จากการสังเกตพฤติกรรม ความกว้างของทางเดินมาจาก<br />

แมวตัวใหญ่ที่สุด เพื่อให้ได้ชั้นที่แคบที่สุดเท่าที่แมวจะยัง<br />

อยู่สบายแต่ไม่ทําให้คนอึดอัด ส่วนเชื่อมชั้นเล่นระดับเพื่อ<br />

ให้รู้สึกเหมือนขึ้นเนิน ส่วนที่แยกจากกันเพื่อให้เขาได้ย่อ<br />

และกระโดดตามนิสัยของเขา”<br />

growing number of cats under their care can live<br />

in a more comfortable, open space.<br />

Cats are like humans in that each of them has<br />

their own characters. Wanting to know more<br />

about them, the architect had a video camera<br />

installed to observe their behaviors over five days.<br />

After receiving the video file, the architect began<br />

studying the characteristics of each cat. He found<br />

that while some cats like to lie around and are<br />

very private, others are very active and playful.<br />

Using this information he designed a living space<br />

which aims to accommodate these behaviors and<br />

routines while offering a sense of discovery for<br />

the cats. The design process began with the<br />

improvement of the service areas (laundry and<br />

parking space on the first floor), by making them<br />

more convenient for the family to use. The open<br />

and more flexible space is located on the second<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 42<br />

การออกแบบเน้นให้คนเดิน<br />

ระยะสั้นลง แต่ให้แมวเดินได้<br />

ระยะมากขึ้น<br />

The design shortens the<br />

human inhabitants’<br />

walkways while extending<br />

the cats’ routes.<br />

“We elevated the area where the cats<br />

like to hang out to create an elevated<br />

walkway that runs along the airy<br />

expanded metal wall whose height has<br />

been raised to offer a better view,”<br />

explains the architect. “A few other<br />

adjustments were also made to comply<br />

with structural limitations, building<br />

laws and the house’s surrounding<br />

environment.” The space between<br />

shelves is within cat jumping range<br />

whereas the length is the cats’ walking<br />

distance. The width of the walkway was<br />

calculated based on the size of the<br />

family’s largest cat so that it is physically<br />

comfortable for all of them. “The<br />

varying levels of the shelves are<br />

designed to create a slope-like route<br />

while the unconnected walkway is<br />

designed to encourage the cats to<br />

jump, bend their legs and lower their<br />

bodies, which are their instinctive<br />

natural movements.”<br />

สถาปนิกแกะรอยพิกัดเดิมที่<br />

แมวชอบทํา​มายกระดับขึ้น<br />

เป็นทางเดินลอยฟ้าเลียบผนัง<br />

สูงหกเมตร<br />

The architect retraced the<br />

cats’ routes and favorite<br />

corners when designing<br />

the walkway, which is<br />

elevated six meters above<br />

ground and flows along the<br />

house’s walls.<br />

43 Animal


“แมวเป็นสัตว์แนวดิ่ง”สถาปนิกพูดถึงเหล่า<br />

แมวในบ้าน “เแมวแต่ละตัวชอบความสูงต่าง<br />

กัน ทั้งเพื่ออยู่ นอน และพิกัดเหม่อมอง”<br />

โลกสามมิติที่ลอยกลางอากาศนี้ซ้อนทับอยู่ใน<br />

มวลอากาศของคน เป็นโลกที่แมวจะปฎิสัมพันธ์<br />

กันเอง นั่งเคียงกัน เดินไปเรื่อยๆ เล่นด้วยกัน<br />

เหม่อมอง และนอนอืด ทางเดินล้อมรอบบ้าน<br />

ทําให้แมวสามารถย้ายทิศที่อยู่ได้อิสระ เลือก<br />

เหม่อในพิกัดไหนก็ได้ การไม่เชื่อมต่อของทาง<br />

เดินทําให้เลือกทางขึ้นตรงไหนก็ได้ เปลี่ยน<br />

เส้นทางเดินได้ทุกวัน และผนังที่ล้อมไปด้วย<br />

เหล็กฉีกก็สร้างตําแหน่งชมวิวอิสระให้เลือกวิว<br />

เปลี่ยนวิวได้เรื่อยๆ สถาปนิกจงใจสร้างพื้นที่<br />

เรียบง่ายที่สุดที่สร้างพิกัดหลากหลายให้แมว<br />

ได้เลือกตลอดเวลาเพราะเป็นบ้านที่หมู่แมว<br />

อาศัยอยู่ทุกวัน<br />

ทางเดินลอยฟ้ารูปตัวยูเปิด<br />

โอกาสให้แมวทํากิจกรรมร่วม<br />

กัน เมื่ออยากส่วนตัวก็แยกไป<br />

เลือกมุมเหม่อและนอนอืดได้<br />

หลายพิกัด<br />

The U-shaped elevated<br />

walkway enables the cats<br />

to interact while<br />

connecting to more<br />

secluded corners where<br />

they can relax and lounge<br />

around.<br />

“นิสัยเบื้องต้นที่แมวมีคือ การยืนเฉยๆ แล้ว<br />

มองวิวภายนอก ชอบความเป็นส่วนตัว ชอบ<br />

นอนเล่นในที่ต่างๆ การซุกคือการเล่น แต่การ<br />

นอนคือสิ่งที่แมวชอบทํา” สถาปนิกสรุปผล<br />

การทดลองของเขา การเหม่อมองวิวเป็น<br />

กุญแจสําคัญที่สถาปนิกค้นพบ และดูเหมือน<br />

หลักการนี้จะตรงกับหลักจิตวิทยาแมวบ้านทั่ว<br />

โลก แมวบ้านที่ไม่ได้ออกนอกบ้านจะชอบ<br />

มองวิว เขาอยากมีมุมส่วนตัวที่สามารถหยุด<br />

พักและเหม่อมองนานเท่าไหร่ก็ได้ ตะแกรง<br />

เหล็กในบ้านหลังนี้เปิดมุมมอง กรองแดด<br />

และลมอ่อนๆให้เข้ามาสัมผัสแมว เกิดเป็น<br />

พื้นที่ชมวิวในอุดมคติ สําหรับแมว สัตว์ที่ชอบ<br />

กลิ่นของลมในแต่ละวัน<br />

Cats are vertical creatures believes the<br />

architect. “Each cat has its own<br />

preferred height when it comes to<br />

The walkway around the house allows<br />

the cats to roam freely. They can sit<br />

absent-mindedly wherever they wish.<br />

ตะแกรงเหล็กเปิดมุมมองที่<br />

กว้าง กรองแดด และลม<br />

อ่อนๆให้เข้ามาสัมผัสแมว<br />

เกิดเป็นพื้นที่ชมวิวในอุดมคติ<br />

The steel mesh sheets<br />

creates an ideal<br />

observation space for the<br />

cats by opening the space<br />

up to give a wider<br />

perspective, filtering<br />

sunlight and allowing cool<br />

breezes to flow through.<br />

where they like to chill, sleep and look<br />

The disconnected points in the walkway<br />

at the view.” This three-dimensional<br />

allows the animals to hop on and hop<br />

elevated world coexists alongside the<br />

off it whenever they want, offering<br />

humans’ own living space. It’s a world<br />

greater variations to their daily walking<br />

where cats can interact, sit together,<br />

routes. The expanded steel wall gives<br />

walk side-by-side, look or lie around.<br />

them different vantage points to enjoy<br />

views of the outside. It was the architect’s<br />

intention to create the simplest<br />

space whilst maximizing flexibility for<br />

the animals when it comes to their daily<br />

living space.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 44<br />

45 Animal


“เมื่อต่อเติมเสร็จ พื้นที่ของแมวเพิ่มขึ้น แมวก็<br />

จะก้าวร้าวน้อยลง ไม่แสดงอาการเจ้าถิ่นใส่<br />

กัน แล้วก็พากันออกมานอน และเจ้าของบ้าน<br />

ก็เริ่มเก็บแมวมาเลี้ยงเพิ่มขึ้น (ยิ้ม)”<br />

สถาปนิกกล่าวถึงผลการออกแบบของเขา<br />

แมวมีกฎของเขาเอง การอยู่ร่วมกันของแมว<br />

จะมีการกําหนดพฤติกรรม และสถานที่ ตาม<br />

ช่วงจังหวะเวลาของวัน หากประชากรหนา<br />

แน่น เขาจะข่วนพื้นที่เพื่อเป็นสัญญะสร้าง<br />

อํานาจ Baan Cats 2018 จึงเป็นเหมือน<br />

การเพิ่มพื้นผิวทางการใช้งานเพื่อลดความ<br />

หนาแน่นประชากรแมว ใช้มุมมองและพื้นที่<br />

เหม่อลอยในการกํากับพิกัด เพิ่มตัวเลือกใน<br />

การใช้พื้นที่อย่างอิสระ สร้างสีสันให้กับทุกวัน<br />

เพื่อลดความเครียดและสร้างความสุขให้<br />

ประชากรแมว และทุกชีวิตที่อยู่ร่วมกัน<br />

his design. “They’ve become less<br />

possessive of their territory. They all<br />

spend time lying around next to each<br />

other and the owners have adopted<br />

more cats as a result.”<br />

Cats have their own rules. There are<br />

patterns of behaviors that dictate how<br />

they live together and the spaces they<br />

use at different times of day. If the<br />

population in a certain area gets too<br />

crowded, cats tend to scratch the<br />

surface of the space they live in to<br />

assert their power. By increasing<br />

functional surfaces and distributing the<br />

cat population by providing greater<br />

access to the outside environment,<br />

Baan Cats 2018 has solved this problem<br />

and allowed for a more flexible and<br />

dynamic use of the living space.<br />

Ultimately, it has helped relieve stress<br />

for every family member, humans and<br />

felines alike.<br />

อ้างอิง: “แนวคิดบ้านสัดว์เลี้ยง” www.nakaura-kenchiku.jp<br />

จากพื้นที่เดิมบนพื้นระนาบ สู่<br />

พื้นที่ทางเดินลอยฟ้าและมุม<br />

เหม่อกลางอากาศที่หลาก<br />

หลาย ทําให้หมู่แมวผ่อนคลาย<br />

และกลับมารักกันมากขึ้น<br />

From the horizontal plane<br />

of the floor to the elevated<br />

walkway with various<br />

spaces and corners<br />

designed to accommodate<br />

their daily routines and<br />

behaviors, the new<br />

addition makes the cats<br />

feel more at ease among<br />

each other.<br />

ขั้นที่ไม่ต่อเนื่องกันทําให้แมว<br />

แต่ละตัวเลือกทางขึ้นลงเองได้<br />

อิสระ และมีพฤติกรรมที่ไม่ซ้ํา<br />

กันในแต่ละวัน<br />

The disconnected shelves<br />

diversifies the spatial<br />

program and interactions,<br />

and permits the cats to<br />

choose their own routes.<br />

“One of the fundamental characteristics<br />

of cats is to stand still and just sort of<br />

stare out at the view. They love to lie<br />

around at their favorite spots. Hiding is<br />

like playing to them, but sleeping is what<br />

they love to do most.” The key finding<br />

from the architect’s behavioral research<br />

was that cats like to observe. Domestic<br />

cats all around the world, especially<br />

those raised indoors, love to have their<br />

own private spot where they can spend<br />

as much time as they want staring<br />

outside. The expanded steel wall in this<br />

project does not only offer better<br />

access to the view but also filters the<br />

sunlight and allows soft breezes to flow<br />

through, creating an ideal observation<br />

point for those cats that enjoy the feel<br />

of the air wafting around them.<br />

“Once the addition was done there was a<br />

bigger space for the cats and they<br />

naturally became less aggressive,” said<br />

the smiling architect of the outcome of<br />

Project Name: Baan cats 2018<br />

Owner: Khun Ple<br />

Location: Bangkok Thailand<br />

Area: 95 sq.m<br />

Year of completion: 2018<br />

Architect: mutchimastudio<br />

Interior: mutchimastudio<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 46<br />

47 Animal


REVIEW<br />

Cat Cafe Home<br />

รีฟอร์มวิถีชีวิตด้วยสัดส่วนของเพื ่อน<br />

ร่วมชีวิตและจังหวะในการเข้าหากัน<br />

“ในโลกปั จจุบันสัตว์เลี้ยงอยู่ในที่ร่มมากขึ ้น มีการ<br />

แบ่งปั นพื ้นที่กับผู้เลี้ยง มีวิถีชีวิตสอดคล้องกับ<br />

มนุษย์ในชายคาเดียวกัน แต่สัตว์เลี้ยงหลายตัวต้อง<br />

อยู่ในสถาปั ตยกรรมที่มนุษย์เลือกเพื ่อมนุษย์ “<br />

Text: สิริพร ด่านสกุล / Siriporn Dansakun<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: พร เลาหสุขเกษม / Ponn Laohasukkasem (Ponna Studio)<br />

MVRDV เคยกล่าวว่า “ในโลกปัจจุบันสัตว์<br />

เลี้ยงอยู่ในที่ร่มมากขึ้น มีการแบ่งปันพื้นที่กับ<br />

ผู้เลี้ยง มีวิถีชีวิตสอดคล้องกับมนุษย์ในชายคา<br />

เดียวกัน แต่สัตว์เลี้ยงหลายตัวต้องอยู่ใน<br />

สถาปัตยกรรมที่มนุษย์เลือกเพื่อมนุษย์” หาก<br />

การรีฟอร์มบ้านคือการรีฟอร์มวิถีชีวิต บ้าน<br />

Cat Cafe Home โดยคุณพร เลาหสุขเกษม<br />

ก็เป็นการรีฟอร์มที่เปลี่ยนวิถีชีวิตที่เคยปรับ<br />

ตามสถาปัตยกรรม...สู่วิถีชีวิตที่ปรับตาม<br />

แนวคิดของการอยู่ร่วมกันของคนและแมว<br />

Cat Cafe Home เป็นบ้านของคุณหมอสามี<br />

ภรรยาและแมว 3 ตัว เจ้าของบ้านได้ไป<br />

สัมผัสคาเฟ่แมวแล้วใฝ่ฝันอยากได้บ้านแบบ<br />

นั้น การรีฟอร์มจึงเกิดขึ้นในส่วนห้องทาน<br />

อาหาร ห้องนั่งเล่น และพื้นที่หลังบ้าน โดยมี<br />

พื้นที่ของคนและแมวสอดคล้องกันไปแบบมี<br />

สัดส่วนเฉพาะแบบ<br />

Architecture and design firm MVRDV<br />

once said: “A large proportion of dogs<br />

live indoors, their lives interwoven with<br />

their family’s lifestyles. We humans live<br />

harmoniously together with our dogs<br />

under one roof. There is no such a thing<br />

as architecture for dogs; dogs live in<br />

people’s architecture, and according to<br />

the owners’ choices.” If restructuring a<br />

house is the same as restructuring a<br />

life, Cat Café Home, a project by Ponn<br />

Laohasukkasem, reflects the transformation<br />

of architecture so it corresponds<br />

better with two lives: humans and their<br />

cats.<br />

หมู่แมวกับพื้นที่ในบ้าน ที่มี<br />

สัดส่วนเหมาะสมกับพวกเขา<br />

โดยเฉพาะ<br />

The cats at home in a<br />

living space specifically<br />

designed for their physical<br />

proportions and behaviors.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 48<br />

49 Animal


“วิธีคิดเริ่มจาก พฤติกรรมของคนและแมวที่<br />

ซ้อนทับกันเป็นสองเลเยอร์” สถาปนิกกล่าว<br />

เนื่องจากแมวเองก็มีงานประจําวันของเขา<br />

หนึ่งในนั้นคือการเดินสํารวจอาณาบริเวณ<br />

(territory) หากอาณาจักรของเขามีสิ่ง<br />

กีดขวาง แมวจะเกิดความเครียด การ<br />

ออกแบบทางเดินเป็นอาณาจักรแมวที่<br />

เคลื่อนไหวได้สามมิติ ในพิกัดและวัสดุที่ลด<br />

อุบัติเหตุ จึงเป็นการบรรเทาความเครียดให้<br />

แมวไปโดยปริยาย<br />

Cat Café Home is a residence owned by a<br />

doctor couple and their three cats. The<br />

owners always dreamed of having a<br />

house with a space and ambience<br />

similar to that found in the cat cafés they<br />

visited. With this desire driving the brief,<br />

the architect came up with a design that<br />

transforms the dining room, living room<br />

and area at the back of the house into<br />

spaces where specific scales and ratios<br />

are used to determine how humans and<br />

cats interact.<br />

ซ้าย: สเปซตามสัดส่วนของ<br />

แมวที่แทรกซึมในสเปซที่อยู่<br />

อาศัยของคน<br />

Left: The space was<br />

designed so that the cats’<br />

scale is an integrated part<br />

of the humans’ living area.<br />

ขวา: วงจรทางเดินของแมวที่<br />

กําหนดความสูงและพิกัดตาม<br />

จังหวะการเข้าหาคนที่เหมาะสม<br />

Right: The height and<br />

dimensions of the cat’s<br />

main walking route is<br />

designed to enable<br />

physical contact and<br />

interaction with their<br />

human owners.<br />

“It starts with the idea of two superimposed<br />

layers of behavior, one belonging<br />

to the humans and the other to the cats,”<br />

said the architect. With the cats having<br />

their own routine, and one in particular<br />

being quite territorial if something or<br />

someone gets in the way on inside their<br />

space, they are prone to stress. Designing<br />

a walkway that serves as a three-dimensional<br />

sanctuary that the cats can move around<br />

freely in, but within designated coordinates<br />

and on materials that are less likely to<br />

cause accidents, would help a great deal<br />

in relieving that stress.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 50<br />

51 Animal


“It starts with the living room. I divided<br />

the spaces into those that are shared<br />

and those that are used separately by<br />

determining the coordinates and<br />

developing a layout that accommodates<br />

the activities of both the humans and<br />

the cats. The cats’ route is then created<br />

in a cycle. But with the kitchen area<br />

being restricted, that cycle isn’t always<br />

completed.” From the dining space of<br />

the owners and the cats to the walkways,<br />

each space has been designed so<br />

that the activities of the humans and<br />

the felines can take place alongside<br />

each other. This approach to the spatial<br />

design resulted in a series of functional<br />

spaces. While certain areas are<br />

separated, there are also common<br />

areas where activities take place more<br />

freely.<br />

”เราเริ่มจากห้องนั่งเล่น แบ่งพื้นที่ส่วนที่ใช้<br />

ร่วมกันกับส่วนที่แยกกันใช้ วางพิกัดกิจกรรม<br />

ของคนและแมว แล้วสร้างเส้นทางของแมว<br />

เป็นวงจร แต่วงจรในครัวควรถูกกํากับ วงจร<br />

ของแมวจึงไม่สมบูรณ์ตลอดเวลา” สถาปนิก<br />

กําหนดกิจกรรมคนและแมวให้สอดคล้องกัน<br />

ไป ที่ทานอาหารของคนก็จะมีที่ทานอาหาร<br />

ของแมว ทางเดินของคนวางคู่ทางเดินของ<br />

แมว กิจกรรมจะอยู่คู่กันไปในโซนเดียวกัน มี<br />

การแยกพื้นที่ตามสัดส่วน และส่วนที่ไม่แยก<br />

แม้ไม่ทํากิจกรรมพร้อมกัน แต่ความหมาย<br />

ของพื้นที่สําหรับทุกฝ่ายจะเป็นไปในแนวทาง<br />

เดียวกัน<br />

ซ้าย: สถาปนิกกําหนดพิกัด<br />

กิจกรรมของคนและแมวให้<br />

สอดคล้องกัน ทําให้ความ<br />

หมายของพื้นที่ต่อคนและแมว<br />

เป็นเรื่องราวเดียวกัน<br />

Left: The architect<br />

ensured that the cats’ and<br />

owners’ activities can<br />

coincide, facilitated the<br />

coexistence of two types<br />

of living spaces.<br />

ขวา: มีการแยกเป็นพื้นที่ใช้<br />

งานที่ซ้อนทับกัน และพื้นที่ใช้<br />

งานที่แยกสัดส่วนเฉพาะ เพื่อ<br />

คนและเพื่อแมว<br />

Right: The spatial program<br />

is divided betwen spaces<br />

where cats’ and humans’<br />

living activities overlap<br />

and more private corners<br />

for both the animal and<br />

human dwellers.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 52<br />

53 Animal


The height of the cats’ walkway was<br />

determined by studying the way cats<br />

tend to approach humans. “This space<br />

is about cohabitation. Everyone should<br />

feel relaxed. Being unknowingly<br />

approached or jumped at from behind<br />

or from the above, even by their own<br />

cats, can make the owners feel quite<br />

startled and feel a bit too cautious and<br />

stressful. So how both the humans and<br />

the animals approach each other is<br />

site, the cats were allowed to walk<br />

around and interact with the space and<br />

the designed scales. We observed to<br />

see whether they were satisfied with<br />

the plan. If there were certain tunnels<br />

they wouldn’t want to walk through, the<br />

design team would adjust the scale to<br />

best accommodate their preferences<br />

and behaviors.”<br />

The cat walks and cat steps create a<br />

ซ้าย 1: พิกัดของแมวคํานึงถึง<br />

จังหวะการเข้าหาคนเป็นหลัก<br />

สถาปนิกกําหนดเส้นทางแมว<br />

ให้ต่ํากว่าศีรษะคนในทุก<br />

ท่วงท่าในจุดพักผ่อน และยก<br />

ทางเดินแมวให้สูงในบริเวณ<br />

ทางสัญจรของคน<br />

Left 1: Much thought was<br />

given to the way cats<br />

approach their owners. In<br />

the living area the height<br />

of the cats’ walkway is<br />

designed to be lower than<br />

the human inhabitants’<br />

head level. When the<br />

walkway passes beyond<br />

where humans are it is<br />

elevated higher.<br />

something I put a lot of thought into.”<br />

The architect designed the cats’ route<br />

to be lower than the owners’ head level.<br />

Be the owners are sitting in the dining<br />

area, relaxing in the living area or<br />

walking up and down the stairs, the<br />

cats’ walkways are elevated to be<br />

series of walkways with different<br />

variations. Their scale was calculated<br />

based on the cats’ body size, allowing<br />

them to stand and stretch vertically and<br />

horizontally from their heads to the tip<br />

of their tails. The controlled height<br />

naturally allows for visual interactions,<br />

and with the cats and humans able to<br />

ซ้าย 2: บ้านหลังนี้ คํานวน<br />

แคทวอล์ค แคททรู และ<br />

แคทสเต็ป จากสัดส่วนของ<br />

แมว ทําให้แมวยืนแล้วยืดหาง<br />

จนสุดได้<br />

Left 2: The design of the<br />

catwalks and cat steps<br />

takes into account the<br />

cats’ body proportions,<br />

allowing them to fully<br />

stretch their bodies and<br />

tails.<br />

higher than head level tends to be in<br />

approach each other in a gentle<br />

that area. This approach delivers a<br />

manner, the animals now feel more<br />

layout that separates the living spaces<br />

comfortable entering the owners’ living<br />

between the humans and animals while<br />

space during their everyday activities.<br />

providing flexible enough access for<br />

everyone to share the common areas.<br />

It also allows all the humans and cats to<br />

feel comfortable and safe whenever<br />

สําหรับการกําหนดความสูงของเส้นทางแมว สถาปนิก<br />

อ้างอิงจากจังหวะที่แมวเข้าหาคนเป็นหลัก “พื้นที่นี้<br />

เป็นการอยู่ร่วมกัน ทุกฝ่ายควรได้ผ่อนคลาย การเข้าถึง<br />

คนแบบกระโจนจากข้างหลังหรือข้างบนจะทําให้คนตกใจ<br />

หรือต้องคอยระวัง ซึ่งมันเครียด เราจึงคํานึงการเข้าถึงกัน<br />

และกันเป็นอย่างมาก” สถาปนิกกําหนดเส้นทางของแมว<br />

ให้ต่ํากว่าศีรษะคนในแต่ละท่วงท่า ในที่ทานอาหาร ที่นั่ง<br />

เล่น และจังหวะลงบันได และยกทางเดินแมวให้สูงกว่า<br />

ศีรษะคนบริเวณทางสัญจรของคน หลักการนี้เป็นการ<br />

ออกแบบพื้นที่แยกกันอยู่ ที่เปิดโอกาสให้ย้ายตําแหน่งมา<br />

อยู่รวมกันได้ตลอดเวลาด้วยการเข้าถึงกันที่อีกฝ่ายก็อุ่นใจ<br />

อีกสิ่งที่สถาปนิกให้ความสําคัญ คือ สัดส่วนของพื้นที่แมว<br />

ทั้งจังหวะกระโดดของบันได ความกว้างที่อยู่สบาย ขนาด<br />

ของช่องที่อยากซุก ขนาดของรูที่อยากลอด แน่นอนว่าการ<br />

คํานวนสัดส่วนนั้นเป็นหลักการของมนุษย์ แต่สถาปนิกก็<br />

หาวิธีทดสอบสมมติฐานด้วยการ...ให้แมวเป็นผู้ตรวจงาน<br />

“เราให้แมวมาตรวจงานระหว่างก่อสร้างหลายครั้ง เรา<br />

ออกแบบโดยคํานวณจากขนาดแมวไว้แล้ว ระหว่างตรวจ<br />

งาน แมวก็ขึ้นไปเล่นให้เราดู ผลคือ สัดส่วนเป็นที่พอใจ<br />

ของแมว แต่ยังมีบางรูที่แมวไม่ลอด ทีมออกแบบจึงปรับ<br />

สัดส่วน ให้พอดีตามการมาตรวจงานของแมว”<br />

บ้านหลังนี้ ประยุกต์ แคทวอล์ค แคททรู และ แคทสเต็ป<br />

ให้เป็นทางเดินแมวที่หลากหลาย โดยคํานวนสัดส่วนจาก<br />

ขนาดของแมวจนทําให้แมวสามารถยืนแล้วยืดหางจนสุดได้<br />

การกํากับความสูงทําให้เกิดปฎิสัมพันธ์ทางตาโดยปริยาย<br />

และเมื่อจังหวะในการเข้าถึงกันถูกออกแบบอย่างอ่อนโยน<br />

แมวก็จะลงมาทํากิจกรรมร่วมกับคนอย่างธรรมชาติ<br />

they come into contact.<br />

Another priority was the cats’ living<br />

area, which encompasses factors such<br />

as its size, the jumping range between<br />

steps, and the size of tunnels the cats<br />

feel most comfortable using. Scale was<br />

calculated primarily by using the human<br />

body’s proportions and preferences.<br />

The architect, however, tested the<br />

layout by giving the cats the role of<br />

inspectors. “We let the cats visit the<br />

site a number of times. We design by<br />

doing the calculation based on the cats’<br />

body proportions. When we were at the<br />

ทดสอบสมมติฐานด้วยการให้<br />

แมวเป็นผู้ตรวจงาน<br />

Testing the hypothesis as<br />

cats inspect the site.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 54<br />

55 Animal


ซ้าย: ห้องหลังบ้านเป็นพื้นที่<br />

อาบแดดอ่อนๆของแมว<br />

เอื้อให้แสงและบรรยากาศ<br />

ภายนอกเข้ามาปรับสมดุลทาง<br />

ธรรมชาติของแมว<br />

Left: The room offers a<br />

good sunbathing space for<br />

the cats. The ample<br />

presence of natural light<br />

and outside surroundings<br />

helps keep the<br />

domesticated cats’ natural<br />

behaviors in balance.<br />

ขวา: แมวไทยจะมีสีขนแบบ<br />

หนึ่งในอุณภูมิร้อน และ<br />

เปลี่ยนเป็นอีกสีหนึ่งใน<br />

อุณหภูมิเย็น<br />

Right: Thai cats’ hair is<br />

one color in high<br />

temperatures and<br />

changes in cooler<br />

temperatures.<br />

In addition to a design that puts great<br />

thought into how functional spaces are<br />

accessed, the room at the back of the<br />

house now also allows the cats to bask<br />

in warm sunlight. “Cats never have<br />

problem with indoor air, but natural<br />

light and outside surrounding do have<br />

an effect on the animals’ instinctive<br />

natures. The three cats are Thai cats so<br />

they need to be exposed to both high<br />

and low temperatures because their<br />

hair color will be of a certain color<br />

during low temperatures and another<br />

color when the temperature is higher,”<br />

explained the architect.<br />

Japanese designer Kenya Hara once<br />

said: “People build the environment<br />

based on human proportion, from<br />

chairs, tables, doors, steps…to homes<br />

and cities. Animals have to adjust to the<br />

built environment, which is based<br />

almost entirely from the human scale.”<br />

With Cat Café Home, however, the<br />

architect has adjusted the dimension of<br />

functional spaces and, in doing so,<br />

brought the twin worlds of humans and<br />

cats together in the most gentle and<br />

thoughtful manner.<br />

นอกจากการออกแบบที่คํานึงถึงสัดส่วนและ<br />

การเข้าถึงกันและกันแล้วนั้น ห้องหลังบ้าน<br />

ยังเป็นพื้นที่อาบแดดอ่อนๆของแมวอีกด้วย<br />

”แมวไม่เคยมีปัญหาเรื่องอากาศในบ้าน แต่<br />

แสงและบรรยากาศของภายนอกจะมีผลต่อ<br />

ธรรมชาติแมว แมวบ้านนี้เป็นแมวไทยจึง<br />

จําเป็นต้องสัมผัสกับความร้อนและความเย็น<br />

เพราะสีขนจะเป็นสีหนึ่งในอุณหภูมิที่เย็น แล้ว<br />

จะเปลี่ยนเป็นอีกสีหนึ่งเมื่ออุณหภูมิร้อน”<br />

สถาปนิกเล่าถึงห้องอาบแดดแมว<br />

Kenya Hara กล่าวไว้ว่า “คนสร้างสิ่ง<br />

แวดล้อมขึ้นโดยอ้างอิงจากสัดส่วนมนุษย์<br />

ตั้งแต่เก้าอี้ โต๊ะ ประตู บันได …บ้าน ต่อ<br />

เนื่องไปจนถึงเมือง และสัตว์เลี้ยงก็ต้องปรับ<br />

ตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่สร้างไว้ตามพื้น<br />

ฐานของสัดส่วนมนุษย์” แต่ใน Cat Café<br />

Home หลังนี้ สถาปนิกพยายามที่จะปรับมิติ<br />

ของสเปสขึ้นใหม่ เพื่อผสานโลกของมนุษย์<br />

กับโลกของแมว ให้อยู่ร่วมกันอย่างอ่อนโยน<br />

Project Name: Cat Cafe Home<br />

Owner: Mallika Techolarn<br />

Location: Bangkok Thailand<br />

Area: 75 spare metre<br />

Year of completion: 2016<br />

Architect: Ponna Studio<br />

Interior: Ponna Studio :Ponn Laohasukkasem,<br />

Pimrada Nochid, Charwanchon<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 56<br />

57 Animal


ROUNDTABLE TALK<br />

Animals and Me<br />

การออกแบบสภาพแวดล้อม<br />

เพื ่อการเรียนรู้สัตว์<br />

ผู้ใช้ในมุมมองของคนทั่วไปหรือเจ้าของ<br />

โครงการ บางทีจะเน้นทางด้านผู้ชมค่อน<br />

ข้างเยอะ แต่ในฐานะคนที่ทำสวนสัตว์กัน<br />

จริงๆ จะเข้าใจว่าน้าหนักที่ต้องเท่าๆกัน<br />

เลย หรืออาจจะเยอะกว่าด้วยซ้า ก็คือผู้ใช้<br />

ที่เป็นสัตว์ เพราะเค้าเป็นผู้ใช้สอยที่อยู่<br />

ตลอด 24 ชั่วโมง<br />

Text: <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> Team<br />

Photo: ชนิภา เต็มพร้อม / Chanipa Temprom<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 58<br />

ซ้าย: คุณยงชัย อุตระ<br />

กลาง: ดร.ฉมาวงศ์ สุริยจันทร์<br />

ขวา: ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์<br />

การออกแบบสวนสัตว์ที่มีผู้ใช้สอยอาคารเป็นทั้งมนุษย์<br />

และสัตว์นั้นเป็นเรื่องที่น่าสนุกที่เราอาจจะไม่ค่อยได้พูด<br />

ถึงกันสักเท่าไร <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> มีโอกาสได้นั่งพูดคุยกับผู้<br />

เชี่ยวชาญสองท่าน ได้แก่ คุณยงชัย อุตระ สัตวแพทย์<br />

และผู้ช่วยผู้อํานวยการ สํานักอนุรักษ์และวิจัย องค์การ<br />

สวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และอาจารย์ ดร.ฉมาวงศ์<br />

สุริยจันทร์ อาจารย์ประจําภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ<br />

อนุกรรมการด้านวิชาการและกายภาพองค์การสวนสัตว์<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์เกี่ยวกับแนวโน้มการออกแบบ<br />

สภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้สัตว์<br />

_ตอนนี้รูปแบบของโครงการสวนสัตว์ต่างๆ ที่มีใน<br />

ประเทศไทยมีลักษณะใดบ้างคะ<br />

คุณยงชัย: ในประเทศไทยถ้าเฉพาะขององค์การสวนสัตว์<br />

มี 7 แห่ง และของเอกชนที่มีขนาดใหญ่ มีประมาณ<br />

2 แห่ง อย่างของซาฟารีเวิลด์นี่จุดดึงดูดลูกค้าคือโชว์<br />

ส่วนขององค์การสวนสัตว์จะเน้นส่วนแสดง นอกจาก<br />

นี้ก็มีสวนนก ที่มีขนาดใหญ่หน่อยก็จะมีที่จังหวัดชัยนาท<br />

ตอนนี้เทรนด์การทํากรงนกใหญ่ขนาด 3-5 ไร่ นี้ค่อยๆ<br />

น้อยลง เพราะจัดคอลเลคชันนกที่จะปล่อยยากมาก<br />

อย่างแรกคือคนต้องเห็นนกได้ชัด อย่างที่สองคือสีต้อง<br />

สวยแล้วโดยส่วนใหญ่นกบ้านเราจะสีเขียวๆเทาๆ ไม่ค่อย<br />

มีสีสดสะดุดตา อย่างที่สามคือนกต้องไม่ทะเลาะกัน<br />

ครับ เพราะว่านกบางพวกมันเป็นนกกินเนื้อ หรือนกบาง<br />

พวกพอมันจับคู่ผสมพันธุ์ปุ๊บ มันจะมีเขตของมัน ถ้าใคร<br />

ไปยุ่งกับเมียมัน มันตีตายเลย ส่วนอควาเรียมจะมีจํานวน<br />

เยอะกว่า เพราะรายได้ดีครับมีทั้งแบบน้ำจืดและน้ำเค็ม<br />

59 Animal


_ฟังคุณหมอแล้วรู้สึกว่ามีรายละเอียดที่ต้องคำนึงถึง<br />

ตอนออกแบบเยอะเหมือนกันสถาปนิกและภูมิสถาปนิก<br />

จะต้องมีความรู้พื้นฐานอะไรบ้างคะ<br />

คุณยงชัย: ขั้นแรกเจ้าของโครงการต้องกําหนด requirement<br />

ให้สถาปนิกก่อน แต่ทีนี้ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นคือ<br />

เจ้าของโครงการเองก็ไม่มีความรู้ แล้วพอสถาปนิกก็ไม่รู้<br />

ด้วย มันก็เลยได้แค่สวนสวยๆ ออกมามองจากคน<br />

ภายนอกก็คือจัดสวนสวยจังเลย แล้วก็มีตัวอะไรไม่รู้วิ่งไป<br />

วิ่งมาคือมีแค่สวนและสัตว์จริงๆ (ยิ้ม) ซึ่งเวลาให้อาหาร<br />

เราต้องโยนเข้าไปข้างหน้า แต่เวลาที่สัตว์มันป่วย ที่เรา<br />

ต้องชั่งน้ำหนักหรือฉีดยาสัตว์ เราจะไม่สามารถทําได้<br />

อ.ฉมาวงศ์: ผมก็มองเห็นปัญหาเดียวกันครับ เพราะผม<br />

มองว่าสัตว์แต่ละชนิด มันก็เหมือนกับผู้ใช้โครงการ ซึ่ง<br />

เวลาเราทําการออกแบบก็ต้องศึกษาให้ลึกซึ้งถ้าเราไม่<br />

เข้าใจความต้องการของสัตว์ ไม่เข้าใจพฤติกรรม เราจะ<br />

ไม่สามารถออกแบบได้ตอบสนองความต้องการของ<br />

เค้า อย่างที่คุณหมอพูดเรื่องปัญหาที่จะเกิดขึ้น จาก<br />

ประสบการณ์มีนิสิตทําวิทยานิพนธ์ บางคนจะจับเฉพาะ<br />

ทางไปเลย เช่นบางคนดูเรื่องนกกระเรียน บางคนดูเรื่อง<br />

วัวแดง ล่าสุดที่ผมเป็นที่ปรึกษาดูแค่เรื่องลิงอย่างเดียว<br />

พบว่าสังคมของลิงมันก็ซับซ้อนมาก นี่คือแค่ลิงชนิดเดียว<br />

นะครับ แล้วคือสวนสัตว์มันรวมตั้งไม่รู้กี่ชนิด ประเด็น<br />

หลักคือเราต้องเข้าใจผู้ใช้ เพราะว่าผู้ใช้ในมุมมองของคน<br />

ทั่วไปหรือเจ้าของโครงการ บางทีจะเน้นทางด้านผู้ชมค่อน<br />

ข้างเยอะ แต่ในฐานะคนที่ทําสวนสัตว์กันจริงๆ จะเข้าใจ<br />

ว่าน้ำหนักที่ต้องเท่าๆกันเลย หรืออาจจะเยอะกว่าด้วยซ้ำ<br />

ก็คือผู้ใช้ที่เป็นสัตว์ เพราะเค้าเป็นผู้ใช้สอยที่อยู่ตลอด<br />

24 ชั่วโมง แล้วเค้าคือต้นทางของการที่โครงการจะออก<br />

มาดีหรือไม่ดี เพราะฉะนั้นเรื่องพฤติกรรมของสัตว์ต่างๆ<br />

ถือว่าเป็นอันดับแรกที่ต้องเข้าใจที่สุด<br />

E<br />

D<br />

E<br />

E<br />

E<br />

R<br />

D<br />

Y<br />

D<br />

D = Den<br />

คอกกักสัตว์<br />

E = Exhibition<br />

ส่วนแสดง<br />

Y = Exercise Yard<br />

พื้นที่ออกกําลัง<br />

R = Rest Way<br />

เส้นทางบริการเพื่อ<br />

ชั่งนํ้ำหนักหรือฉีดยา<br />

Y<br />

D<br />

_องค์ประกอบของการออกแบบส่วนแสดง<br />

สัตว์ที่ดีควรประกอบด้วยอะไรบ้างคะ<br />

คุณยงชัย: อยากให้ดูภาพประกอบ ส่วน E<br />

ในภาพนี้คือ Exhibition หรือส่วนแสดง แรก<br />

เริ่มเลยเราจัดให้สัตว์อยู่ในคอกกัก (D=Den)<br />

สี่เหลี่ยม ปล่อยมันวิ่งไปวิ่งมาอยู่ในนั้น เวลา<br />

ให้อาหารก็โยนให้มันกิน อย่างที่กล่าวไปคือ<br />

ลักษณะนี้สัตว์อาจจะไม่ได้พักผ่อนเลย และ<br />

เข้าไปดูแลรักษาสัตว์ได้ยาก รูปแบบต่อมามี<br />

การพัฒนาเพิ่มรายละเอียด เช่น แยกส่วน<br />

คอกกักออกจากส่วนแสดง เพื่อให้สัตว์มีที่พัก<br />

เมื่อเวลาที่สัตว์มีลูกแล้วอาจเริ่มทะเลาะกับพ่อ<br />

กับแม่ ก็ต้องทําคอกเพิ่มขึ้น หรือบางทีเวลา<br />

ที่สัตว์ป่วย ซึ่งสวนสัตว์จะมีกฎว่าสัตว์ที่ไม่<br />

สมบูรณ์ ป่วย หรือชรา ห้ามแสดงให้คนดู<br />

เราก็ต้องมี exercise yard เพิ่มไว้ข้างหลัง<br />

ด้วย เอาไว้ในกรณีที่มันป่วย หรือมันแก่ หลัง<br />

จากนั้นเรามีปัญหาว่าเมื่อต้องรักษาพยาบาล<br />

สัตว์ หรืออยากชั่งน้ำหนัก แล้วต้องวางยา<br />

สลบทุกครั้ง การออกแบบต่อมาจึงเพิ่มส่วนที่<br />

เรียกว่า rest way เข้าไป ซึ่งเป็นคล้ายๆ ทาง<br />

เดินที่เชื่อมต่อระหว่างคอกกักกับส่วนแสดง<br />

ซึ่งจะมีระบบเป็น platform ชั่งน้ำหนัก ทําให้<br />

สะดวกมากขึ้น<br />

อ.ฉมาวงศ์: ส่วนแสดงนี่ ผมว่าเป็นอะไรที่<br />

ค่อนข้างจะซับซ้อน เวลาจะออกแบบจริงๆ ก็<br />

ต้องได้ข้อมูลจากคุณหมอหรือผู้เชี่ยวชาญบอก<br />

คือเราทํางานร่วมกันนะครับ คือเมื่อเราได้<br />

รับ space requirement มาจากทางสวนสัตว์<br />

ผู้ออกแบบ ก็นํามาจัดให้มันถูกที่ถูกทาง ให้<br />

สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม อย่างทางด้าน<br />

ภูมิสถาปัตยกรรมเราจะช่วยดูทิศทาง แดด<br />

ลม พืชพรรณ วัสดุ shape รวมถึง form<br />

และการออกแบบต่างๆ ให้มันสวยงาม<br />

สําหรับคนดูและไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 60<br />

61 Animal


_แล้วถ้าองค์ประกอบของสวนสัตว์ทั้งหมด<br />

เลย มันมีอะไรที่สำคัญๆบ้างคะ ปัจจุบันผู้<br />

ชมจะต้องการอะไรบ้างจากการชมสวนสัตว์<br />

อ.ฉมาวงศ์: ย้อนอดีตสักนิดหนึ่งแล้วกันนะ<br />

ครับ ตอนแรกจะเน้นการจับสัตว์เข้ามาอยู่ใน<br />

กรง แล้วก็เอาคนมาดูเพื่อให้หวนระลึกถึง<br />

ธรรมชาติมันเริ่มมาจากตั้งแต่ในวังของ<br />

กษัตริย์ แล้วพัฒนาการมันก็ดีขึ้นมาเรื่อยๆ<br />

มีการจัดพื้นที่ให้ใหญ่ขึ้น ถัดมาเมื่อพื้นที่ใหญ่<br />

ขึ้นแล้วก็ค่อยๆ มีการออกแบบปรับแต่งสภาพ<br />

แวดล้อมให้เหมือนกับถิ่นที่สัตว์เคยอยู่ มีการ<br />

เพิ่มต้นไม้และบ่อน้ำ เพื่อให้สัตว์ได้แสดง<br />

พฤติกรรมทางธรรมชาติออกมา นักออกแบบ<br />

ต้องคิดว่าสัตว์บางชนิดใช้เวลา 70-80% ใน<br />

การหาอาหาร ถ้าเราไปโยนให้มันก็จะไม่ได้<br />

ออกกําลังกาย ก็ต้องออกแบบให้เอาอาหาร<br />

ไปซ่อนบนพุ่มไม้ หรือใต้หญ้าแห้งให้มันใช้<br />

ชีวิตคล้ายกับอยู่ในธรรมชาติ จนมาถึงแนว<br />

โน้มล่าสุดจะใช้คําว่า landscape immersion<br />

คือ พยาม blend ทั้งเรื่องของการใช้<br />

ชีวิตของสัตว์และการชมของผู้คนให้มันเป็น<br />

ธรรมชาติมากที่สุด ให้มันเหมือนกับสภาพ<br />

แวดล้อมจริงมากที่สุด ถ้าจะพูดในภาพใหญ่<br />

สวนสัตว์สมัยก่อนเรามองว่ามันเป็นแค่<br />

ประเภทหนึ่งของ theme park มี พัฒนาการ<br />

จากที่เคยให้ความสําคัญไปที่คนดูเป็นหลัก ก็<br />

มาเพิ่มน้ำหนักให้ทางสัตว์ ล่าสุดที่ผมทํางาน<br />

ร่วมกับคุณหมอและคณะทํางานขององค์การ<br />

สวนสัตว์ ได้พยายามเอานโยบายขององค์<br />

การฯ เข้ามาซึ่งมันสอดคล้องกับสากลนะ<br />

ครับ ว่าสวนสัตว์ต้องเป็นทั้งแหล่งเรียนรู้<br />

ที่พักผ่อนหย่อนใจ และที่อนุรักษ์และวิจัย<br />

คุณยงชัย: เพิ่มเติมในส่วนของคนดูแลสัตว์<br />

นะครับ ในสวนสัตว์ขนาดใหญ่จะทํา​service<br />

way ไว้เป็น วงแหวนรอบๆ เพื่อให้เข้าถึงได้<br />

จากทางด้านหลังโดยที่ไม่รบกวนผู้ชมด้าน<br />

หน้า นอกจากนี้ต้องการคลังอาหาร(commissary)<br />

เมื่ออาหารแห้งและอาหารสดเข้ามาจะ<br />

ตรวจนับ วัดชั่ง เก็บ และจ่ายออกจากตรง<br />

นั้น แล้วก็มีโรงพยาบาลสัตว์<br />

อ.ฉมาวงศ์: ในส่วนที่จะเป็นจุดพักจุดหมายตา<br />

ที่จอดรถ ที่ขายตั๋ว อันนั้นคือตามมาตรฐานของ<br />

การออกแบบสวนสาธารณะหรือ theme park<br />

ทั่วไปว่ามันต้องมีในทุกระยะเท่าไรซึ่งทางคุณ<br />

หมอเองก็มีการเก็บข้อมูลที่น่าสนใจเช่นบางที<br />

ตามมาตรฐานจะบอกว่าคนอาจจะเดินได้<br />

300 เมตร ถึงจะต้องมีจุดพัก แต่คุณหมอบอก<br />

ว่าถ้าที่เขาดินต้องใช้ระยะ200 เมตร เพราะ<br />

เด็กเป็น user หลัก ทางองค์การสวนสัตว์มี<br />

ข้อมูลต่างๆ แล้วเอามาแชร์กัน คุณหมอเคยเล่า<br />

ว่าส่วนจัดแสดงหนึ่ง บางคนใช้เวลาแค่ 22<br />

วินาที เท่านั้นเอง ซึ่งก็จะเป็นข้อมูลที่น่าสนใจว่า<br />

นักออกแบบต้องทํายังไงให้เค้าอยู่ชมได้นาน<br />

มากกว่านั้น<br />

_คิดว่าความยากของการออกแบบสวนสัตว์<br />

คืออะไรคะ ทั้งในส่วนของนักออกแบบและ<br />

สำหรับสัตวแพทย์<br />

คุณยงชัย: งบประมาณไม่เคยพอ สวนสัตว์ที่<br />

ประเทศโปแลนด์แค่อาคารสําหรับสัตว์จาก<br />

ทวีป Africa อาคารเดียวก็ 3,000 ล้านแล้ว<br />

ของเราส่วนแสดงได้งบประมาณแค่ 10 ล้าน<br />

ถ้าเทียบกับต่างประเทศเป็นได้แค่ค่าแบบของ<br />

เรารวมค่าออกแบบและค่าก่อสร้างด้วย คุณว่า<br />

อันไหนมันจะดีกว่ากันอย่างที่บอกว่ามันก็จะมี<br />

แต่หน้าบ้านสวยๆไง ไม่มีหลังบ้าน<br />

อ.ฉมาวงศ์: : ผมว่าความยากคือเป้าหมายหนึ่ง<br />

ที่อยากให้คนเปลี่ยนพฤติกรรม คือให้คนเข้ามา<br />

“อิน” กับสัตว์ อยากเป็นส่วนร่วมของการช่วย<br />

เหลือไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง สวนสัตว์ควรจะมี<br />

ความยืดหยุ่นหรือว่าเปิดโอกาสให้ประชาชน<br />

ทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมเยอะๆ ทํายังไงให้ดึงการมี<br />

ส่วนร่วมเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ รวมถึง<br />

การออกแบบ เพราะว่าหลายๆที่แม้แต่องค์การ<br />

สวนสัตว์ เป้าหมายหลักคือให้ประชาชนมีจิต<br />

สํานึกที่ดี แต่บางทีมาครั้งเดียวมันก็อาจจะไม่ได้<br />

เกิดขึ้น มันเป็นทั้งการดีไซน์กายภาพ และดีไซน์<br />

กระบวนการ ผมว่าถ้าทําตรงนั้นให้มันเกิดขึ้น<br />

ได้ ก็จะ win-win ทั้งสองฝ่าย ประชาชนได้เกิด<br />

ความเข้าใจที่ดี กลับมาเยี่ยมชมบ่อยๆ หลายที่<br />

คือคนส่วนใหญ่จะไปแค่ช่วงเป็นเด็ก<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 62<br />

63 Animal


FEATURE<br />

สิงสาราสัตว์ในสถาปัตยกรรมไทย<br />

Animals in Traditional<br />

Thai Architecture<br />

Text: รศ.ดร. ชาตรี ประกิตนนทการ / Assoc. Prof. Chatri Prakitnonthakan, Ph.D.<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

If one looks closely at the details of traditional Thai architecture, a link between architectural elements<br />

and the physical features and symbolic meaning of certain animals is clearly apparent. Such references<br />

can be found in everything from decorative details to the concepts that dictate architectural styles and<br />

forms. Thai artisans and builders have created a wealth of terminology related to physical features or<br />

characteristics of animals. It isn’t overstatement to say that animals, both real and mythical, have been a<br />

significant source of inspiration in traditional Thai architecture.<br />

The use of animals in Thai architecture can be roughly divided into two categories. The first is terminology<br />

in which certain architectural and structural compositions are named or inspired by animals; the second<br />

is the direct use of animals as an integral part of the creation of architectural forms and styles.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 64<br />

ค้างคาวในเรือนไทยประเพณี<br />

อ้างอิง: หนังสือสรรพสัตว์ใน<br />

งานสถาปัตยกรรมไทย<br />

A piece of wood connecting<br />

the rafters and a projecting<br />

wooden peg, the kang kao<br />

is an important structural<br />

element of traditional Thai<br />

houses.<br />

สถาปัตยกรรมไทยประเพณีหากเรามองดูในรายละเอียดอย่างจริงจังจะพบว่ามีเป็นจํานวนมากที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นโดย<br />

อาศัยแหล่งอ้างอิงทางความคิดที่เกี่ยวข้องกับสรรพสัตว์นานาชนิด เริ่มตั้งแต่องค์ประกอบตกแต่งอาคารไปจนถึงระดับที่<br />

ให้แนวคิดต่อการกําหนดรูปทางสถาปัตยกรรม แม้กระทั่งการเรียกชื่อโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของช่างไทยในอดีต<br />

ที่หากไล่เรียงดูก็จะเห็นเช่นกันว่ามีไม่น้อยที่ถูกนิยามขึ้นโดยอ้างอิงกับรูปร่างหรือลักษณะเฉพาะของสัตว์ ซึ่งคงจะไม่เกิน<br />

เลยไปนักหากจะกล่าวว่า สถาปัตยกรรมไทยในด้านหนึ่งถูกออกแบบขึ้นจากแรงบันดาลใจที่มาจากสิงสาราสัตว์ต่างๆ ทั้ง<br />

ที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติและในจินตนาการ เราสามารถแบ่งสิงสาราสัตว์ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมไทยได้<br />

กว้างๆ เป็น 2 ประเภท คือ ความเกี่ยวข้องในฐานะที่ถูกใช้เป็นชื่อเรียกองค์ประกอบและโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม<br />

ไทย กับความเกี่ยวข้องโดยตรงที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสรรค์รูปแบบทางสถาปัตยกรรม<br />

ชื่อโครงสร้างและองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมจากสิงสาราสัตว์<br />

1<br />

กระบวนการก่อสร้างของช่างไทยในอดีตไม่ว่า<br />

จะเป็น “งานช่างชาวบ้าน” หรือ “งานช่าง<br />

หลวง” ชื่อเรียกอาคาร โครงสร้าง และองค์<br />

ประกอบต่างๆ มักถูกกําหนดขึ้นโดยอิงกับสิ่ง<br />

แวดล้อมรอบๆ ตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก<br />

สรรพสัตว์ต่างๆ หากช่างพิจารณาเห็นว่าองค์<br />

ประกอบหรือโครงสร้างใดมีลักษณะคล้ายหรือ<br />

เหมือนกับสัตว์ประเภทใดก็มักจะตั้งชื่อองค์<br />

ประกอบหรือโครงสร้างนั้นด้วยชื่อของสัตว์<br />

ประเภทนั้นๆ ในแง่หนึ่งนับว่าเป็นความชาญ<br />

ฉลาดของช่าง เพราะการตั้งชื่อโดยอิงกับสัตว์<br />

เหล่านี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในหมู่<br />

ช่างได้ง่ายขึ้นและสะดวกต่อการสื่อสารต่อ<br />

ผู้คนในวงกว้าง ตัวอย่างที่คุ้นเคยกันดีแม้<br />

กระทั่งในกลุ่มช่างทั่วไปในปัจจุบันก็เช่น<br />

อกไก่, สันตะเข้, กระเบื้องหน้าวัว, หลังคา<br />

ปีกนก และ เดือยหางเหยี่ยว เป็นต้น ส่วนที่<br />

เป็นศัพท์ช่างเฉพาะทางสถาปัตยกรรมไทย<br />

ประเพณีก็พบชื่อเรียกเกี่ยวกับสัตว์เป็นจํานวน<br />

มาก เช่น หางหงส์, ช่อฟ้าปากนก, ช่อฟ้า<br />

ปากปลา, ซุ้มรังไก่, ไม้ข้างควาย, กบทู, บัว<br />

ปากปลิง, ค้างคาว, ผีเสื้อ และช่องกบ เป็นต้น<br />

Local builders or royal artisans have<br />

often given buildings, structures and<br />

architectural elements names that<br />

were closely associated with the<br />

surrounding environment, particularly<br />

animals. The physical resemblances<br />

between certain parts or structural<br />

typologies of buildings and animals or<br />

their body parts led local builders and<br />

artisans to come up with this terminology.<br />

The emergence of these terms reflects<br />

a certain artisanal brilliance because<br />

their creation has helped foster mutual<br />

understanding and communication<br />

between professionals as well as the<br />

general public.<br />

Some of the well-known terms include<br />

‘ok kai’ (chicken breast roof ridge); ‘san<br />

ta-kae’ (crocodile ridge hip rafter), ‘kra<br />

bueng na wua’ (cow face tiles); ‘lang ka<br />

peek nok’ (bird wing roof); and ‘doei hang<br />

yeu’ (falcon tail dowel). More specific<br />

vocabulary used exclusively in traditional<br />

Thai architecture and associated with<br />

1 เนื้อหาในหัวข้อนี้เป็นการสรุปความจาก สมใจ นิ่มเล็ก, สรรพสัตว์ในงานสถาปัตยกรรมไทย (กรุงเทพฯ: มติชน, 2557).<br />

65 Animal


การตั้งชื่อเหล่านี้มิได้เกิดขึ้นอย่างไม่มีหลักเกณฑ์ แต่ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อที่ต้องสัมพันธ์กับสัตว์ประเภทนั้นๆ อย่างชัดเจน<br />

เช่น “ช่อฟ้าปากนก” ที่มีรูปทรงเหมือนปากของนก หรือ “ค้างคาว” ในเรือนไทยที่เป็นไม้ยึด “จันทันระเบียง” เข้ากับ<br />

“เต้า” ซึ่งเมื่อยึดเข้าด้วยกันแล้ว ไม้ยึดตัวนี้จะมองดูคล้ายกับค้างคาวที่กําลังห้อยหัวเวลานอน เป็นต้น<br />

บางครั้งชื่อเรียกก็เกิดขึ้นจากการเทียบเคียงตําแหน่งขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมกับธรรมชาติของสัตว์นั้นๆ<br />

ตัวอย่างเช่น “ลายผีเสื้อ” กับ “ลายค้างคาว” ซึ่งลวดลายทั้งสองชนิดนี้มีรูปทรงที่คล้ายกันแต่ตั้งอยู่คนละตําแหน่งกันและ<br />

เป็นสาเหตุที่ทําให้ชื่อเรียกแตกต่างกัน โดยลายผีเสื้อจะเป็นลายปูนปั้นส่วนที่อยู่ใต้หลบสันหลังคาซึ่งใช้ตกแต่งภายนอก<br />

อาคาร ส่วนลายค้างคาวจะทําประดับลายฝ้าเพดานภายในอาคาร ดังนั้นการเรียกชื่อลวดลายทั้งสองจึงยึดตามธรรมชาติ<br />

ของสัตว์ทั้งสองชนิด คือ ค้างคาวเป็นสัตว์อาศัยในที่มืดจึงถูกนําไปเรียกลวดลายที่ประดับบนฝ้าภายในอาคารซึ่งจะอยู่ใน<br />

ตําแหน่งที่มืดคล้ายกัน ส่วนผีเสื้อเป็นแมลงและอาศัยอยู่ในที่แจ้งจึงถูกนําไปเรียกลวดลายที่ประดับกลางแจ้ง<br />

ภาพเปรียบเทียบลายค้างคาว (ซ้าย) กับลายผีเสื้อ (ขวา)<br />

Comparative section drawings of the kang kao and<br />

phisuer patterns.<br />

อ้างอิง: หนังสือสรรพสัตว์ในงานสถาปัตยกรรมไทย<br />

animal body parts includes ‘hang hong’ (a type of<br />

a protruding wooden peg to secure the structure<br />

swan tail-like roof ornamentation); ‘chor fah pak<br />

of a traditional Thai house. This particular piece<br />

nok’ and ‘chor fah pak pla’ (bird’s beak gable apex<br />

resembles a bat when sleeping upside down.<br />

and fish mouth gable apex, respectively); ‘soom<br />

rang kai’ (chicken nest arch); and ‘mai kang kwai’<br />

Some of the names originated because of a<br />

(directly translates to ‘wood by the buffalo’; a piece<br />

similarity between the position in which a certain<br />

of wood used to secure materials to the roof).<br />

architectural composition is constructed and the<br />

natural habitat of the animal this particular part is<br />

Others include ‘kob tu’ (frog roof ridge for a ruean<br />

named after. For example, the butterfly and bat<br />

khruang phuk, a traditional Thai house built out of<br />

simple, lightweight materials using tying techniques);<br />

‘bua pak pling’ (literal translation: ‘leech mouth<br />

ornamental moulding’); ‘kang kao’ (a piece<br />

of wood connecting the rafters and a projecting<br />

wooden peg named after the Thai for bat); ‘phi<br />

suer’ (butterfly dowels); and ‘chong kob’ (frog<br />

cavity, a term used to refer to the void of a cased<br />

opening).<br />

These names didn’t appear out of nowhere, but<br />

originated from tangible connections between the<br />

architectural elements and the animals they were<br />

named after. For example, the ‘chor fah pak nok’ or<br />

bird’s beak gable apex refers to the resemblance<br />

pattern contain similar details but are located at<br />

different parts of the structure. Hence the<br />

different names. While butterfly refers to the<br />

exterior concrete ornament positioned underneath<br />

the ridge of a roof, the bat pattern is used as a<br />

decorative element on the interior ceiling. The<br />

names of the two patterns refer to the different<br />

natures and living environment of the two animals.<br />

Since bats are nocturnal creatures, the animal is<br />

used to name the ornamental detail of the interior<br />

decoration element situated in a darker part of the<br />

building. Butterflies, on the other hand, are<br />

insects whose natural habitat is open, outdoor<br />

spaces, which explains why it is used to name the<br />

decorative pattern of an outdoor architectural<br />

สิงสาราสัตว์กับการสร้างความหมายเชิงสัญลักษณ์ใน<br />

งานสถาปัตยกรรมไทย<br />

เป็นที่รับรู้ทั่วไปว่า สถาปัตยกรรมมิใช่สิ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อ<br />

มุ่งหวังประโยชน์ใช้สอยทางกายภาพเพียงอย่างเดียว แต่<br />

ประโยชน์ใช้สอยในแง่ของการทําหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ใน<br />

เชิงอุดมคติบางอย่างนั้นคือเป้าหมายที่สําคัญมากประการ<br />

หนึ่งของการสร้างงานสถาปัตยกรรม และแน่นอนงาน<br />

สถาปัตยกรรมไทยประเพณีก็หลีกไม่พ้นธรรมชาติข้อนี้<br />

เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาปัตยกรรมทางศาสนาที่<br />

อาจกล่าวได้ว่าล้วนแล้วแต่ถูกออกแบบขึ้นเพื่อเป้าหมายใน<br />

การจําลองพื้นที่ในอุดมคติอย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ ไม่ว่าจะ<br />

เป็น เขาพระสุเมรุ, สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือ ชมพูทวีป ซึ่ง<br />

การจําลองพื้นที่ดังกล่าวจะไม่มีทางสมบูรณ์ได้เลยหากขาด<br />

ซึ่งองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิงสาราสัตว์<br />

Animals and Symbolic Meanings in<br />

Thai Architecture<br />

Architecture does not only serve functional<br />

purposes it can also be used to symbolically<br />

represent a particular ideology. The latter is one of<br />

the most important reasons behind the conception<br />

of certain types of architecture. Thai traditional<br />

Thai architecture is no different. Notably, religious<br />

architecture is designed and constructed to<br />

simulate an ideal place; Mount Meru, for example,<br />

the highest level of heaven, or the terrestrial world<br />

of Jambudvīpa. The simulation of these mythical<br />

places would not be complete without animal-inspired<br />

architectural elements.<br />

between the apex’s shape and the beak of a bird.<br />

element.<br />

‘Kang kao’ is a wooden piece that joins the rafter to<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 66<br />

67 Animal


พื้นที่พุทธาวาสของวัดไทยในอดีตคือพื้นที่ที่<br />

มักถูกสร้างขึ้นโดยมุ่งหวังที่จะให้มีสถานะเป็น<br />

สัญลักษณ์ของ “เขาพระสุเมรุ” ตามคติพุทธ<br />

ศาสนาให้ปรากฏเป็นรูปธรรม รูปแบบทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสื่อความหมาย<br />

นี้คือการสร้าง “พระปรางค์” ที่เป็นสัญลักษณ์<br />

ของภูเขาขึ้นเป็นหลักประธานของวัดโดยล้อม<br />

รอบด้วยพระปรางค์ทิศและพระระเบียงที่สื่อ<br />

ความหมายถึง “เขาสัตตบริภัณฑ์” ที่โอบล้อม<br />

เขาพระสุเมรุ และสิ่งสําคัญที่มักจะขาดไม่ได้<br />

เลยคือการสร้างสัญลักษณ์ของป่าหิมพานต์ที่<br />

อยู่ใต้ฐานเขาพระสุเมรุ ซึ่งสัญลักษณ์ในส่วนนี้<br />

จะถูกสร้างขึ้นผ่านองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับสัตว์หิมพานต์<br />

ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการทํา​“ชั้นฐานสิงห์”,<br />

“ชั้นฐานครุฑแบก”, ชั้นฐานยักษ์แบก” หรือ<br />

การสร้างศิลปกรรมรูปสัตว์หิมพานต์ขึ้นมาตั้ง<br />

เรียงรายอยู่ด้วยรอบฐานพระปรางค์ประธาน<br />

เป็นต้น และเพื่อความสมบูรณ์ทางความ<br />

หมาย วัดบางแห่ง (เช่น วัดอรุณราชวราราม)<br />

จึงได้ออกแบบประติมากรรมที่ตั้งอยู่ในชั้น<br />

เรือนธาตุของพระปรางค์ให้เป็นรูปพระอินทร์<br />

ทรงช้างเอราวัณ เพื่อสื่อสารโดยตรงถึงสวรรค์<br />

ชั้นดาวดึงส์บนยอดเขาพระสุเมรุ<br />

พระเมรุมาศ เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็น<br />

ชัดเจนถึงความสําคัญของสิงสาราสัตว์ที่เข้ามา<br />

เติมเต็มความหมายอันสมบูรณ์ให้แก่งาน<br />

สถาปัตยกรรม พระเมรุมาศคือสถาปัตยกรรม<br />

ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการถวายพระเพลิง<br />

พระบรมศพพระมหากษัตริย์ ซึ่งในอีกความ<br />

หมายหนึ่งก็คือการทําหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ใน<br />

การส่งเสด็จพระมหากษัตริย์ในฐานะสมมติ-<br />

เทพ (พระอินทร์) กลับเขาพระสุเมรุ ด้วย<br />

เหตุนี้พระเมรุมาศจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง<br />

ถูกออกแบบให้สื่อความหมายของการเป็นเขา<br />

พระสุเมรุให้ชัดเจนที่สุด ซึ่งในส่วนนี้ไม่มีองค์<br />

ประกอบใดที่จะทําหน้าที่ดีที่สุดมากไปกว่ารูป<br />

ประดับจําลองสัตว์ในป่าหิมพานต์ที่จะถูกสร้าง<br />

ขึ้นมากมายและนํามาตั้งโดยรอบพระเมรุมาศ<br />

ไม่ว่าจะเป็น ช้าง, สิงห์, หงส์, กินรี, ราชสีห์<br />

In the past, the built structures inside<br />

the perimeter of Thai temples were<br />

primarily constructed to serve as a<br />

tangible representation of Mount Meru,<br />

the most sacred place in Buddhist<br />

cosmology. The architectural elements<br />

popularly used to symbolize this<br />

mythical mountain range from prang,<br />

a chedi-like structure, to the cloister<br />

(a roofed passage extending from the<br />

ordination hall) constructed around the<br />

principle Buddha statue situated at the<br />

center of a temple, representing the<br />

seven seas and seven mountain walls<br />

(Sattaboriphan Mountains) surrounding<br />

Mount Meru.<br />

One of the most important and wellknown<br />

places in Buddhist cosmology is<br />

the imaginary woodland situated at the<br />

foot of Mount Meru. The symbolic<br />

representation of the forest is created<br />

through different architectural elements<br />

inspired by the mythical creatures<br />

living in the legendary sanctuary.<br />

For example, the lion-shaped pedestal,<br />

the garuda pedestal, the giant pedestal.<br />

Himavanta creatures are also<br />

turned into sculptures, which are<br />

placed around the pedestal on which<br />

the principle Buddha statue is situated.<br />

When they want the symbolism to be<br />

even more complete and elaborate,<br />

some temples (Wat Arun Ratchawararam<br />

for example) construct sculptures<br />

of Indra god riding the Erawan elephant<br />

and mount them to the pedestal of the<br />

principle Buddha sculpture to represent<br />

Tavatimsa Heaven at the top of<br />

Mount Meru.<br />

บน: พระอินทร์ทรงช้าง<br />

เอราวัณในเรือนธาตุพระ<br />

ปรางค์วัดอรุณฯ<br />

Top: One of four sculptures<br />

of the god Indra riding the<br />

elephant Erawan, located<br />

on the second terrace of<br />

Wat Arun Ratchawararam’s<br />

central prang.<br />

ล่าง: ฐานลิงแบกและกินรี<br />

พระปรางค์วัดอรุณฯ<br />

Bottom: Sculptures of<br />

mythological monkeys and<br />

kinnaree creatures occupy<br />

the base of Wat Arun<br />

Ratchawararam’s central<br />

prang.<br />

อ้างอิง: หนังสือคติสัญลักษณ์<br />

และการออกแบบวัดอรุณ<br />

ราชวราราม<br />

หรือคชสีห์ เป็นต้น ในภาพวาดบันทึกเหตุการณ์พระราช<br />

พิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเพทราชาในสมัยอยุธยา<br />

แสดงให้เห็นริ้วกระบวนอัญเชิญพระบรมศพที่นําขบวนด้วย<br />

หุ่นรูปสัตว์หิมพานต์ขนาดใหญ่มากถึง 18 ตัว สิ่งนี้เป็นอีก<br />

หนึ่งตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการทํางานร่วมกันระหว่าง<br />

งานสถาปัตยกรรมกับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่<br />

เกี่ยวข้องกับสัตว์ในการสร้างความหมายของเขาพระสุเมรุ<br />

ให้เกิดขึ้น หากขาดซึ่งรูปสัญลักษณ์ของสัตว์หิมพานต์เหล่า<br />

นี้ เขาพระสุเมรุย่อมไม่อาจสมบูรณ์ได้<br />

Constructed for the cremation ceremony of a king,<br />

the Royal Crematorium perfectly illustrates the<br />

significance of animal representations in traditional<br />

Thai architecture. It symbolizes the ceremonious<br />

departure of the king as the god-like entity (Indra)<br />

who returns to the heavenly realm of Mount Meru.<br />

With this being the case, the Royal Crematorium is<br />

designed to best represent the sacred Mount Meru.<br />

The creatures of Himavanta Forest are a crucial<br />

component of this architecture that purports to be<br />

an ideal representation of this mythical place.<br />

A great number of sculptures of elephants, lions,<br />

swans, kinnaree (a half-bird half-woman creature),<br />

kochasee (a hybrid creature with the body of a lion<br />

and the head of an elephant), etc., are all present. In<br />

the drawings created to document the cremation<br />

ceremony of King Phetracha during the Ayutthaya<br />

period were details of the funeral march led by 18<br />

massive sculptures from Himavanta Forest. This<br />

evidence exemplifies the long history of integrating<br />

animal-inspired architectural features in order to<br />

help bring the Mount Meru cosmology into reality.<br />

Without the presence of these creatures, the ideal<br />

Mount Meru could never be completed.<br />

2 ดูรายละเอียดเพิ่มใน Barend J. Terwiel, “Two Scrolls Depicting Phra<br />

Phetracha’s Funeral Procession in 1704 and the Riddle of their Creation,”<br />

The Journal of Siam Society. Vol 104 (2016): 79-94.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 68<br />

69 Animal


ตําราภาพสัตว์หิมพานต์<br />

สําหรับผูกหุ่นแห่พระบรมศพ<br />

ครั้งรัชกาลที่ 3<br />

A handbook depicting the<br />

creatures of the Himavanta<br />

Forest, created for the<br />

funeral procession of King<br />

Rama 3.<br />

อ้างอิง: หนังสือจิตรกรรมภาพ<br />

สัตว์หิมพานต์ พระวิหารหลวง<br />

วัดสุทัศน์เทพวราราม<br />

นอกจากการใช้รูปสัตว์เข้ามาในงาน<br />

สถาปัตยกรรมเพื่อสร้างพื้นที่ในอุดมคติตามที่<br />

กล่าวไป รูปสัตว์หิมพานต์ยังถูกใช้ในบริบท<br />

อื่นๆ อีกหลายอย่าง เช่น การใช้รูปทรง<br />

พญานาคออกแบบขึ้นเป็น “สะพานนาค” ใน<br />

ปราสาทหินของวัฒนธรรมเขมรที่มีเป้าหมาย<br />

เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการเปลี่ยนผ่านจากโลก<br />

มนุษย์เข้าสู่พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า, การ<br />

ใช้ตัว “มอม” ในวัฒนธรรมภาคเหนือ หรือ<br />

“มกร” ในวัฒนธรมอีสาน มาออกแบบเป็น<br />

ราวบันไดก่อนเข้าโบสถ์ในฐานะสัตว์ศักดิ์สิทธิ์<br />

ที่คอยป้องกันรักษาสิ่งชั่วร้ายไม่ให้ย่างกราย<br />

เข้าไปในโบสถ์ หรือแม้กระทั่งการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมขึ้นเป็นรูปสัตว์ทั้งตัวอาคารก็<br />

เป็นสิ่งที่พบเห็นได้เช่นกันในหลายพื้นที่ เช่น<br />

กรณีการสร้างเมรุรูป “นกหัสดีลิงค์” (นกที่มี<br />

รูปร่างเหมือนช้าง) ตามธรรมเนียมเจ้าเมือง<br />

ในภาคอีสานที่เมื่อถึงแก่กรรมแล้วมักจัดงาน<br />

ศพเป็นการใหญ่โตมโหฬารและทําเมรุเป็นรูป<br />

นกหัสดีลิงค์3<br />

As well as its important role in architectural<br />

representations of Mount Meru<br />

and other mythical places, animal<br />

imagery also appears in other contexts.<br />

For example, the shape of the mythical<br />

‘naga’ dragon is incorporated in the<br />

design of the ‘Naga Bridge’ of Khmer<br />

stone castles to symbolize the transition<br />

from earthly world to spiritual realm,<br />

while the use of a creature called ‘mom’<br />

or ‘makorn’ in the design of stairway<br />

balusters leading up to ordination halls<br />

in North and Northeastern Thailand<br />

follows the belief that such creatures<br />

possess the power to repel evil forces<br />

from entering sacred grounds.<br />

3 ประทับใจ สิกขา, นกหัสดีลิงค์ (อุบลราชธานี: โรงพิมพ์<br />

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2556).<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 70<br />

71 Animal


สิ่งที่อธิบายมาโดยสังเขปทั้งหมดข้างต้นเป็น<br />

เพียงตัวอย่างบางส่วนที่สะท้อนให้เห็นถึง<br />

บทบาทหน้าที่ของสรรพสัตว์ต่างๆ (ทั้งที่มีอยู่<br />

จริงและในจินตนาการ) ที่มีต่อการสร้างสรรค์<br />

งานสถาปัตยกรรมไทยทั้งในมิติเชิงช่างและ<br />

มิติทางสัญลักษณ์ การทํางานร่วมกันดังกล่าว<br />

ได้เข้าช่วยก่อรูปสิ่งที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม<br />

ไทยประเพณีให้เกิดขึ้น และหลายส่วนก็ยัง<br />

สืบทอดต่อเนื่องมาจนถึงงานสถาปัตยกรรมใน<br />

สังคมไทยปัจจุบัน<br />

Animal-inspired architecture can be<br />

seen across the country, such as in the<br />

cremation hall built in the shape of a<br />

‘hassadeeling’ bird (a bird with the body<br />

of an elephant), which is one of the<br />

ancient traditions carried out as a part<br />

of the elaborate funeral of kings in the<br />

Isaan region. The aforementioned<br />

examples represent only a fraction of<br />

how animals (both real and mythical)<br />

have influenced traditional Thai<br />

architecture either in the form of<br />

ornamental details or through symbolic<br />

meaning. Such influence has contributed<br />

to many of the conventions of traditional<br />

Thai architecture that have come into<br />

being and been inherited by different<br />

periods and generations, and it is still<br />

discernible in much architecture<br />

designed and constructed today.<br />

ปราสาทนกหัสดีลิงค์สําหรับพระเถระชั้นผู้ใหญ่ของล้านนา<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 72<br />

A cremation hall in the shape of Hassadeeling (a bird with<br />

the body of an elephant), built for the funeral of a Phra<br />

Tera (a revered, senior Buddhist monk who attains ten or<br />

more years in the monkhood) in the Lanna region.<br />

อ้างอิง: หนังสือ สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ<br />

ตัวมอม วัดบุปผาราม เชียงใหม่<br />

A statue of a mythical creature known as a mom on a<br />

stairway at Bupharam temple in Chiang Mai, Thailand.<br />

อ้างอิง: พระมหาจิรศักดิ์ เวปไซด์วัดบุปผาราม<br />

73 Animal


ILLUSTRATION<br />

สัตว์และสถาปัตยกรรม<br />

Animals & Architecture<br />

Illustrator: ชยางกูร เกตุพยัคฆ์ / Shayangkoon Ketpayak<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 74<br />

พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ<br />

พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ เป็นประติมากรรมลอยตัวรูปช้างสามเศียร<br />

ที่เกิดจากความต้องการที่จะรักษาของโบราณที่คุณเล็ก วิริยะพันธุ์<br />

ได้สะสมไว้ รวมไปถึงรูปเคารพศักดิ ์สิทธิ์ เพื่อให้เป็นมรดกของไทย<br />

โดยเก็บรักษาไว้ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ซึ่งออกแบบ โดย<br />

คุณเล็ก วิริยะพันธุ์เอง สร้างขึ้นเมื่อวันที่13 กรกฎาคม พ.ศ. 2537<br />

อ้างอิง: https://e23ozk.wordpress.com/2011/12/14/ประวัติ<br />

ความเป็นมา-พิพิธ/<br />

75 Animal


<strong>ASA</strong>Crew 16 76<br />

มังกร วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) อ.สามพราน จ.นครปฐม<br />

มังกรพันหลัก อาคารสูง 16 ชั้นนี้คือตึก 108 เกจิอาจารย์ การ<br />

ใช้สอยคือกุฏิที่พักของพระสงฆ์ โดดเด่นด้วยมังกรสีเขียวพันรอบตัว<br />

อาคารตั้งแต่ฐานไปจนกระทั่งยอดตึก ความพิเศษยิ่งกว่านั้นคือเรา<br />

สามารถเดินภายในลําตัวของมังกรนี้ไปจนถึงดาดฟ้าได้อีกด้วย โดย<br />

วัดแห่งนี้สร้างขึ้นจากแนวคิดของนางสาวสุดาภรณ์ ชุ ้นสามพราน<br />

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2526 และแต่งตั้งขึ้นเป็นวัดสามพรานเมื่อวันที่ 16<br />

กันยายน พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา<br />

อ้างอิง: https://www.talontiew.com/wat-sampran-dragon-temple/<br />

https://thailandhere.blogspot.com/2015/07/wat-sampran-dragon-temple-in-nakorn.html<br />

อุทยานมังกรสวรรค์ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี<br />

อุทยานมังกรสวรรค์ ตั้งอยู่ภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมือง<br />

สุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ทางการฑูต<br />

ไทย-จีน ครบรอบ 20 ปี นําเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีน<br />

ในประเทศไทย รวมไปถึงประวัติศาสตร์ และอารยธรรมจีนอีกด้วย<br />

สร้างขึ้นจากแนวคิดของนายบรรหาร ศิลปอาชา ในปีพ.ศ. 2539<br />

อ้างอิง: http://www.suphan.biz/dragonmuseum.htm<br />

77 Animal


พิพิธภัณฑ์พญาคันคาก อ.เมือง จ.ยโสธร<br />

พิพิธภัณฑ์พญาคันคาก พิพิธภัณฑ์รูปคางคกยักษ์สูงกว่า 19 เมตร<br />

สูงเทียบเท่าตึก 5 ชั้น ตั้งตระหง่านอยู่ริมแม่น้ําโขง ภายในจัด<br />

แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับคางคกมากกว่า 500 สายพันธุ์ ตํานานบุญ<br />

บั้งไฟ แลนด์มาร์คแห่งใหม่ของจังหวัดยโสธร<br />

อ้างอิง: http://travel.trueid.net/detail/Yb4qd0o4ODG<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 78<br />

79 Animal


<strong>ASA</strong> REGIONAL: TAKSIN<br />

ตรีชวารีสอร์ท: ที่พักรักสัตว์เลี้ยง<br />

Tri-shawa Resort:<br />

A Pet-Friendly Hotel<br />

Text: กิตติ เชาวนะ / Kitti Chaowana<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

Photo: ทรงพันธุ์ จันทร์ทอง / Songpan Janthong<br />

ชุมชนคลองวาฬ อําเภอเมือง จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ อาจดูไม่คุ้นชินกับคนทั่วไป<br />

มากนัก แต่สําหรับกลุ่มคนรักสัตว์เลี้ยง<br />

ชุมชนคลองวาฬ เป็นหนึ่งในสถานที่สําคัญที่<br />

เป็นหมุดหมายสําหรับการเดินทางเพื่อพัก<br />

ผ่อนร่วมกับเพื่อนซี้สี่ขา ไม่ว่าจะเป็นน้องหมา<br />

น้องแมว หรือสมาชิกในครอบครัวสายพันธุ์<br />

อื่นๆ และหนึ่งในเป้าหมายที่พร้อมรองรับ<br />

ครอบครัวคนรักสัตว์เลี้ยงอันดับต้นๆ ของ<br />

เมืองไทยก็อยู่ที่นี่เช่นกัน “ได้เวลาพาลูกรัก<br />

ออกจากห้องสี่เหลี่ยม แล้วไปเดินเล่นริมทะเล<br />

สร้างความทรงจําดีๆ ร่วมกันแล้วล่ะ”<br />

คําเชื้อเชิญในเวปไซต์ของรีสอร์ทซึ่งมีที่มาของ<br />

ชื่อมาจากพันธุ์ไม้พุ่มเตี้ย “ตรีชวา (Justicia<br />

betonica L.)” ดอกเป็นช่อขาวสวย รออวด<br />

โฉมต้อนรับตั้งแต่ทางเข้ารีสอร์ท ที่มีการ<br />

วางตัวอาคารโดยเว้นที่ว่างส่วนกลางเพื่อเป็น<br />

ทางเดินหลัก สนามหญ้า และจัดสวนตลอด<br />

แนวอาคารไปจนถึงร้านอาหาร สระว่ายนํ้ำ<br />

และพื้นที่พักผ่อนริมทะเล ด้วยขนาดที่พัก<br />

จํานวน 33 ยูนิต ที่ดูอบอุ่น เป็นกันเอง<br />

สําหรับการพักผ่อนของครอบครัว คู่รัก และ<br />

กลุ่มคนรักสัตว์ ซึ่งถือว่าน้องๆ “สัตว์เลี้ยงเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของครอบครัว”<br />

When it comes to tourist attractions,<br />

the Klong Wan community in Prachuab<br />

Khiri Khan’s Amphoe Mueng District<br />

may be less famous than other parts of<br />

the coastal province. Yet the community<br />

is home to a hotel that has grown to<br />

become one of the best loved destinations<br />

for families wanting to spend their<br />

holiday with their non-human family<br />

members be they dogs, cats or animals<br />

of other species.<br />

This renowned pet-friendly hotel<br />

operates its business with great joy and<br />

passion. “It’s about time to take your<br />

pets out of a square room. Let’s run<br />

along the beach and make some good<br />

memories together,” declares the<br />

resort’s website.<br />

พื้นที่สําหรับครอบครัวและ<br />

สมาชิกตัวน้อย<br />

Humans and their pets are<br />

welcome at the resort.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 80<br />

81 Animal


การออกแบบเพื ่อทุกคน (Universal Design) ในอีกมิติ ยิ่งเมื ่อได้ฟัง<br />

เสียงน้องหมา น้องแมว และเพื ่อนซี้สี่ขา ซึ ่งเป็นสมาชิกที่สำคัญของ<br />

แต่ละครอบครัว แต่กลับมีข้อจำกัดในการเดินทาง ท่องเที่ยว พักผ่อน<br />

ในที่ต่างๆ ค่อนข้างมาก การเปิดพื ้นที่เพื ่อรองรับสมาชิกตัวน้อย ตอบ<br />

รับกับความหลากหลายทุกคนร่วมกัน (Inclusive Design) จึงเป็น<br />

แนวทางหนึ ่งในการสร้าง “สมดุล” ที่ดีในสังคม<br />

สนามหญ้าเพื่อใช้เวลาร่วมกัน<br />

Guests spend time<br />

together on the lawn.<br />

ห้องพักบรรยากาศอบอุ่น<br />

วางตัวขนานไปกับสวนกลาง<br />

โครงการ<br />

Each room has a warm<br />

atmosphere and sits<br />

parallel to the central<br />

garden.<br />

สิ่งที่ได้เห็น รับรู้และรู้สึกได้อย่างชัดเจนคือ<br />

รีสอร์ทแห่งนี้มีการออกแบบที่เคารพธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดล้อมมาก มีการจัดวางอาคารโดย<br />

เว้นที่ว่างไว้เพื่อให้ต้นไม้เดิมอยู่ร่วมกับสิ่ง<br />

แวดล้อมใหม่ที่ออกแบบอย่างเรียบง่าย อีกทั้ง<br />

มีการออกแบบภูมิทัศน์และจัดสวนที่ลงตัวใน<br />

ทุกรายละเอียด ทั้งความหลากหลายของพืช<br />

พรรณระดับต่างๆ ที่ถูกจัดวางได้อย่างลงตัว<br />

มีการแสดงรายละเอียดชื่อวิทยาศาสตร์ของ<br />

พืชพันธุ์ให้ศึกษาได้เลยทีเดียว ทราบมาว่าเป้า<br />

หมายแรกของรีสอร์ทคือต้องการออกแบบ<br />

พื้นที่พักผ่อนที่ดีเพื่อครอบครัวที่อบอุ่น ซึ่ง<br />

ถือว่าเป็นการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal<br />

Design) ในอีกมิติ ยิ่งเมื่อได้ฟังเสียงน้องหมา<br />

น้องแมว และเพื่อนซี้สี่ขา ซึ่งเป็นสมาชิกที่<br />

สําคัญของแต่ละครอบครัว แต่กลับมีข้อจํากัด<br />

ในการเดินทาง ท่องเที่ยว พักผ่อน ในที่ต่างๆ<br />

ค่อนข้างมาก การเปิดพื้นที่เพื่อรองรับสมาชิก<br />

ตัวน้อย ตอบรับกับความหลากหลายทุกคน<br />

ร่วมกัน (Inclusive Design) จึงเป็นแนวทาง<br />

หนึ่งในการสร้าง “สมดุล” ที่ดีในสังคม ใน<br />

รีสอร์ทนี้เราจึงเห็นกิจกรรมที่หลากหลายทั้ง<br />

ภาพการพักผ่อนของครอบครัว การพาน้อง<br />

หมาวิ่งเล่นชายหาด มีมื้ออาหารบาร์บีคิว<br />

สําหรับน้องหมา มีกิจกรรมเรียนรู้การทํา<br />

ไอศครีม แพนเค้ก ป๊อปคอนสําหรับเด็กๆ<br />

หรือการฉายหนังริมหาดที่ดูโรแมนติกสําหรับ<br />

Tri-Shawa takes its name from the<br />

Justicia betonica L. plant, which is<br />

known for its distinctive and beautiful<br />

white foliage. The luscious plant<br />

welcomes visitors at the entrance of<br />

the resort. The resort’s masterplan is<br />

designed to offer a space in the middle<br />

that functions as the common area and<br />

main walkway. The green grass of the<br />

yard as well as the garden have paths<br />

that lead to the restaurant, pool and<br />

beachfront area. Housing 33 units, the<br />

resort is private and friendly with a<br />

lovely warm atmosphere that makes it<br />

an ideal spot for families, couples and<br />

animal lovers who consider their pets<br />

a part of the family.<br />

The resort is designed with incredible<br />

respect for nature and the environment.<br />

The buildings were arranged so as not<br />

to disturb existing trees on the property.<br />

The structures are simple in form while<br />

the landscape architecture is designed<br />

to offer a diverse array of plants. Their<br />

scientific and common names are even<br />

provided for those curious to know<br />

more.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 82<br />

83 Animal


Tri-Shawa is the first pet-friendly hotel<br />

in Klong Wan and all of Thailand. It can<br />

be credited with having set in motion<br />

changes in society both at the local and<br />

national level. Its presence has inspired<br />

several other hotel properties to adjust<br />

their services to cater to pet lovers and<br />

their animal companions. As a result,<br />

the industry is witnessing the growth of<br />

another promising group of customers<br />

and gradually acknowledging the<br />

changing status of animals in modern<br />

families how they have become<br />

important members of the family who<br />

also require love and attention.<br />

Nonetheless, it is never easy to create<br />

สวนส่วนกลางของโครงการทอดตัวยาวจากล็อปบี้ถึงชายหาด<br />

The central garden flows from the lobby to the beach.<br />

ที่นี่ถือว่าเป็นที่พักที่แรกของคลองวาฬและแห่งแรกๆ<br />

ของเมืองไทยที่เริ่มรับรองครอบครัวกลุ่มคนรักสัตว์<br />

(Pet-Friendly Hotel) ที่สามารถสร้างการขับเคลื่อน<br />

สร้างความเปลี่ยนในสังคมทั้งในระดับพื้นที่และภาพรวม<br />

ทําให้ที่พักอีกหลายๆ แห่งเริ่มปรับตัวรองรับครอบครัว<br />

เพื่อนซี้สี่ขามากขึ้นอย่างก้าวกระโดด เราได้เห็นการ<br />

เติบโตของกลุ่มลูกค้าสําคัญอีกกลุ่ม เริ่มเห็นมุมมองความ<br />

คิดเรื่องการเลี้ยงสัตว์ที่เปลี่ยนจากการเป็นเพื่อนเล่น หรือ<br />

งานอดิเรกในบ้าน เป็นสมาชิกที่สําคัญในครอบครัว ที่เรา<br />

ให้ความรักและการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด<br />

แต่อย่างไรก็ดี ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่จะสร้างสภาพแวดล้อม<br />

และการบริการที่สามารถรองรับลูกค้าทุกกลุ่ม เพราะ<br />

ความต้องการที่หลากหลาย รวมถึงลูกค้าส่วนหนึ่งอาจยัง<br />

ไม่รู้สึกปลอดภัยมากนักเมื่อต้องอยู่ร่วมกับเพื่อนสี่ขา ทาง<br />

รีสอร์ทจึงแบ่งโซนพื้นที่ห้องพักที่รองรับน้องๆ ไว้ ซึ่งใน<br />

ห้องกลุ่มนี้จะมีที่นอนน้องหมา น้องแมว เครื่องฟอก<br />

อากาศ และการดูแลความสะอาดเป็นพิเศษ รวมทั้งมี<br />

การเตรียมความพร้อม สิ่งอํานวยความสะดวกส่วนอื่นๆ<br />

เช่น พื้นที่อาบนํ้ำ ในขณะที่ต้องมีการจํากัดพื้นที่บางส่วน<br />

เพื่อลดการรบกวนกับลูกค้ากลุ่มอื่น เช่น ร้านอาหารหลัก<br />

และโซนสระว่ายนํ้ำ เป็นต้น<br />

The owners say the initial intention was for the<br />

resort to offer family-friendly accommodation,<br />

which allowed the concept of Universal Design to<br />

be adopted as an integral part of it. Being able to<br />

hear the sounds of the resort’s guest pets and see<br />

them being treated as an actual member of a<br />

family, in contrast to most hotels in Thailand,<br />

which still prohibit animals from their premises,<br />

leaves one hopeful about the future of establishments<br />

such as Tri Shawa. Opening its space up to little<br />

creatures and embracing the notion of inclusive<br />

design is an admirable mindset that will ultimately<br />

bring greater balance to society. At the resort, all<br />

kinds of family activities take place. People enjoy<br />

walking on the beach with their dogs, while the<br />

hotel offers barbecue dinners for the four-legged<br />

creatures. Children also have fun learning how to<br />

make ice-cream and popcorn. At night, an outdoor<br />

cinema on the beach is set up for everyone,<br />

attracting especially couples.<br />

the kind of environment and service<br />

that can accommodate all types of<br />

guests due to their incredible diversity<br />

of demands, not to mention the fact<br />

that there are still people who feel<br />

unsafe around animals. The resort<br />

solves the latter issue by providing an<br />

animal-friendly zone in each unit that<br />

includes a bed for the animal and an air<br />

purifier. These units are given extra<br />

maintenance and cleaning. Other<br />

facilities are also provided for the<br />

animals, such as shower areas.<br />

Meanwhile, some common areas, such<br />

as the main restaurants and swimming<br />

pool, are still restricted to stop pets<br />

disturbing other guests.<br />

พื้นที่เอื้อต่อการดูแลเอาใจใส่<br />

เพื่อนซี้สี่ขา<br />

A cat enjoys a stroll with<br />

its owner.<br />

พื้นที่เอื้อต่อการดูแลเอาใจใส่<br />

เพื่อนซี้สี่ขา<br />

A dog and owner enjoy the<br />

outdoor living area.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 84<br />

85 Animal


ห้องพักแสนสบายสําหรับ<br />

สมาชิกตัวน้อย<br />

Rooms are dog-friendly as<br />

well as comfortable.<br />

พนักงานที่นี่ค่อยๆ เรียนรู้ และเข้าใจลูกค้า<br />

กลุ่มสัตว์เลี้ยงมากขึ้นเรื่อยๆ มีเรื่องเล่าความ<br />

ประทับใจของโรงแรมมากมาย โดยเฉพาะ<br />

เรื่องความน่ารักของลูกค้ากลุ่มใหม่นี้ “เคยมี<br />

เคส น้องแมว น้องหมา น้องกระต่าย กับนก<br />

แก้วมาคอร์ มาพร้อมๆ กัน...สนุกสนานมาก<br />

ต้องดูแลกันใกล้ชิดมากทีเดียว”<br />

แม้ในเมืองไทยยังไม่มีมาตรฐาน Pet-Friendly<br />

Hotel ที่ชัดเจน แต่การเติบโตที่เห็นได้ชัดของ<br />

ลูกค้ากลุ่มนี้ซึ่งอาจเกิดจากรูปแบบและ<br />

โครงสร้างสังคมและครอบครัวที่เปลี่ยนแปลง<br />

ไปในปัจจุบัน หรือเหตุผลอื่นๆ สามารถสร้าง<br />

ความเปลี่ยนแปลงที่โดดเด่น ชัดเจน ในคลอง<br />

วาฬได้ แต่หากจะทําให้เห็นภาพความ<br />

เปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์มากขึ้นยังจําเป็นต้อง<br />

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งในระดับ<br />

ประเทศและท้องถิ่นเพื่อช่วยเปิด “พื้นที่<br />

สาธารณะสําหรับทุกคน” ใหม่นี้ สร้างเป็น<br />

Pet-Friendly Community สนับสนุนด้านการ<br />

ท่องเที่ยวอีกกลุ่มที่สามารถช่วยเศรษฐกิจ<br />

ชุมชนได้แน่นอน<br />

As the staff here learn to understand<br />

more about their new clientele, the<br />

number of memorable stories grow as<br />

the hotel welcomes more non-human<br />

yet incredibly lovely visitors. “We have<br />

had cats, dogs, a rabbit and a macaw all<br />

under one roof at the same time. It took<br />

a lot of effort to take care of everyone,<br />

but it was a lot of fun.”<br />

While Thailand still lacks official<br />

standards for the operation of<br />

pet-friendly hotels, the growth of this<br />

particular group of clients (the result<br />

of changing social and family structures,<br />

and, for that matter, several other<br />

factors) can bring a significant change<br />

to the Klong Wan community. And for<br />

the change to be more sustainable,<br />

support on both a local and national<br />

scale are very much needed for the<br />

development of ‘public space for all’.<br />

Pet-friendly communities have the<br />

potential to open new doors and to<br />

create new possibilities for tourism<br />

that can only end up helping local<br />

economies in the long run.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 86<br />

87 Animal


<strong>ASA</strong> REGIONAL: LANNA<br />

สถาปัตยกรรมร้านกาแฟ<br />

Cafe + Architecture =<br />

“Cafitecture”<br />

Text & Photo: ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ / Asst.Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

นักเรียนสถาปัตย์ที่เกิดมาในช่วงของ Generation<br />

X (เกิดระหว่างปี 1960-1980) และ<br />

เติบโตมาในช่วงรอยต่อของยุค analog กับยุค<br />

digital ดั่งเช่นผู้เขียนส่วนใหญ่มักจะคุ้นเคย<br />

กับการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมในพื้น<br />

ฐานที่ว่า สถาปัตยกรรมถูกออกแบบมาเพื่อ<br />

ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้หลักโดยตรง<br />

มีโปรแกรมการใช้งานที่แน่นอน ไม่ซับซ้อน<br />

อาทิเช่น เป็นสถาปัตยกรรมเพื่อพักอาศัย<br />

(residential) หรือเป็นสถาปัตยกรรมเพื่อการ<br />

พาณิชย์ (commercial) หรือเป็น<br />

สถาปัตยกรรมเพื่อการทํางาน (office)<br />

เป็นต้น เพื่อให้งานออกแบบต้องสามารถตอบ<br />

สนองต่อความต้องการใหม่ๆ ของผู้ใช้ที่มาก<br />

ขึ้น ตามกระแสของโลกที่เปลี่ยนไปพร้อมกับ<br />

สภาพสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยีในยุค<br />

ปลายของ Generation Y (เกิดระหว่างปี<br />

1980-1990) จนไปถึงรุ่นของ Generation M<br />

(เกิดระหว่างปี 1981-1996) ก่อให้เกิดกลุ่มผู้<br />

ใช้งานกลุ่มใหม่ที่มีแนวคิดต่างไปจากคนรุ่น<br />

Generation X หรือแม้กระทั่งคนรุ่น Baby<br />

Booomer (เกิดระหว่างปี 1940-1960) ส่ง<br />

ผลทําให้ขอบเขตการใช้งานเดิมๆของ<br />

สถาปัตยกรรมเปลี่ยนไปจากการใช้งานที่<br />

ตายตัว เกิดสถาปัตยกรรมและพื้นที่ชนิดใหม่<br />

เช่น maker space, fabrication lab,<br />

co-working space, co-sharing office,<br />

co-creative space เป็นต้น<br />

THE BARISTRO AT PING RIVER<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 88<br />

89 Animal


Born between 1960 and 1980, the<br />

‘Generation X’ architecture students<br />

grew up in the transition period<br />

between analog and digital, and, like<br />

myself, are familiar with the architecture<br />

school of thought that aims primarily to<br />

fulfill users’ functional demands. We<br />

were taught that architecture, be it<br />

residential, commercial or office, has a<br />

functional program that is definite and<br />

uncomplicated. Such an approach<br />

allows design to fully respond to users’<br />

diverse range of demands.<br />

However, due to changing trends<br />

dictated by social, economic and<br />

technological progress, new groups of<br />

consumers have emerged, including<br />

Millennials, or Generation Y. They<br />

possess different mindsets from<br />

Generation X and Baby Boomers (the<br />

post-war generation born between 1940<br />

and 1960), causing perceptions of<br />

architecture to shift. What was once<br />

definite has become fluid as new types<br />

of architecture and space are conceived<br />

in the form of maker space, fabrication<br />

lab, co-working space, co-sharing<br />

office, co-creative space, and so on.<br />

ซ้ายล่าง: Ristr8to Lab<br />

ขวาบน: Little Shelter<br />

ในอดีตร้านกาแฟอาจอยู่ในรูปแบบรถเข็นที่มีเก้าอี้และโต๊ะ<br />

พับ 2-3 ตัว หรือไม่มีเก้าอี้และโต๊ะเลย ส่วนใหญ่มักจะตั้ง<br />

อยู่ในชุมชนหรือบริเวณที่มีคนพลุกพล่าน ส่วนใหญ่เรามัก<br />

จะสั่งกาแฟพร้อมกับอาหารเช้าเช่นขนมปังปิ้ง หรือไข่ลวก<br />

เพื่อรับประทานพร้อมกาแฟก่อนไปทํางานเสมอ หรือมี<br />

พื้นที่ขนาดใหญ่ขึ้น เป็นร้านห้องแถวไม้หรือปูนอยู่ในตลาด<br />

พื้นที่ของร้านกาแฟมักทําหน้าที่เป็นแหล่งพบปะสังสรรค์<br />

ของคนในท้องถิ่นเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารทั้งด้านเศรฐกิจ<br />

สังคม และเรื่องสัพเพเหระต่างๆ เสมือนเป็นศาลา<br />

ประชาคมประจําหมู่บ้าน จนต่อมาเมื่อความนิยมในการ<br />

ดื่มกาแฟเพิ่มขึ้น การดื่มกาแฟชนิดพิเศษ (specialty<br />

coffee) ที่คั่วบด จากเมล็ดพันธุ์ที่ดี ผ่านการเลือกสรร<br />

ผ่านการชงของผู้ชง (Barista) ที่เข้าใจในเมล็ดพันธุ์และ<br />

แหล่งที่มา และส่วนสําคัญอีกประเด็นคือการต้องการพื้นที่<br />

ส่วนตัว ที่จะหลีกหนีออกจากพื้นที่เดิมๆเริ่มมีมากขึ้นใน<br />

สังคมเมือง ร้านกาแฟจึงถูกออกแบบพื้นที่ใหม่และวาง<br />

ตําแหน่งในตลาดผู้บริโภคให้เป็นเหมือนสถานที่ระหว่าง<br />

บ้านและสถานที่ทํางานหรือโรงเรียน ที่เรียกว่าสถานที่<br />

In the past, a coffee shop in Thailand was simply a<br />

food cart with a couple of folding chairs so that<br />

customers could sit down while enjoying a quick<br />

cup of coffee. Some were stand-alone kiosks with<br />

no seating whatsoever. These establishments can<br />

be found in local communities or bustling locations<br />

with a large number of passersby. Most of the<br />

time, people would order a cup of coffee with<br />

toast and a poached egg as a fast breakfast before<br />

setting off to work. The bigger establishments<br />

operated in wooden or concrete shophouses<br />

found in local community markets. These places<br />

functioned as unofficial community centers where<br />

locals could meet and discuss their views on<br />

current events, from the economy to social events<br />

and news, including miscellaneous banter and<br />

casual conversations about their everyday lives.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 90<br />

91 Animal


However, as coffee drinking has<br />

Chiang Mai, particularly popular<br />

become a lifestyle and cafés become a<br />

commercial districts attracting both<br />

culture, we have witnessed a growing<br />

tourists and locals, is an interesting<br />

interest in gourmet coffee roasted and<br />

case study for how café space has<br />

ground from meticulously selected<br />

evolved. Only 1.3 kilometers long,<br />

beans by experts, or baristas, whose<br />

famous Nimmanhaemin Road houses<br />

extensive understanding and knowledge<br />

over 50 cafés. The lifecycle of this<br />

extend to the origins and species as<br />

area’s establishments has become<br />

well as the art of making coffee. In the<br />

incredibly dynamic, with new ones<br />

meantime, particularly in urban society,<br />

emerging and some of the old ones<br />

consumers’ demand for private space<br />

dying almost on a monthly basis. The<br />

and a more personalized experience<br />

spatial layout of most of them is similar<br />

has grown. Coffee shops have been<br />

to that mentioned earlier vis a vis mixed<br />

redesigned and repositioned to serve<br />

function spaces.<br />

as something that in between home,<br />

workplace or even school so called<br />

These cafés also serve as backdrops for<br />

third places.<br />

social media enthusiasts who enjoy<br />

snapping photos and sharing them<br />

These spaces have become a destination<br />

among friends and followers. The<br />

for those who wish to take a break from<br />

development of café culture will no doubt<br />

work, while away their lunch break or<br />

continue and it is always fun to observe<br />

don’t feel like going home just yet. They<br />

in which direction the globalized world<br />

แห่งที่ 3 (the third place) นั่นเอง พื้นที่<br />

แห่งนี้จึงกลายเป็นจุดหมายของคนที่อยากจะ<br />

พักผ่อนจากที่ทํางาน ระหว่างพักเที่ยงหรือ<br />

หลังเลิกงาน แต่ยังไม่อยากกลับบ้าน หรือ<br />

อยากทํางานในวันหยุดที่ไม่ต้องไปที่สํานักงาน<br />

สภาวะที่เกิดขึ้นในพื้นที่แห่งนี้มีความน่าสนใจ<br />

คือดูผ่อนคลายแต่มีความกระตือรือร้น ใน<br />

ปัจจุบันนอกจากร้านกาแฟจะมีการขายกาแฟ<br />

เป็นเครื่องดื่มหลักแล้ว ยังเพิ่มการใช้งานให้มี<br />

ความหลากหลายมากขึ้น ประกอบด้วยพื้นที่<br />

นั่งทํางาน ห้องประชุม ห้องสมุด พื้นที่<br />

สํานักงานให้เช่า พื้นที่แสดงงานศิลปะ ร้าน<br />

ขายของเก่า สตูดิโอถ่ายภาพ ร้านขายของมือ<br />

สอง ตลอดจนถึง ร้านรับจ้างตัดเลเซอร์<br />

จังหวัดเชียงใหม่ เป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ<br />

เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบพื้นที่ของร้านกาแฟ<br />

โดยเฉพาะย่านการค้าพาณิชกรรมยอดนิยม<br />

สําหรับนักท่องเที่ยวและคนเชียงใหม่ คือย่าน<br />

ถนนนิมมานเหมินทร์ ซึ่งมีความยาวเพียง 1.3<br />

กิโลเมตร หากแต่มีร้านกาแฟมากกว่า 50 ร้าน<br />

วงจรชีวิตของร้านกาแฟของย่านนิมมานฯ มี<br />

ความน่าสนใจคือ มีร้านกาแฟเปิดใหม่และปิด<br />

ตัวลงอยู่ตลอดเวลาแทบจะทุกเดือน นอกจาก<br />

นี้ยังมีลักษณะของการใช้งานครบทุกรูปแบบที่<br />

ได้กล่าวถึงข้างต้น และพบว่าร้านกาแฟ มีการ<br />

ใช้งานใหม่คือเป็นฉากหลังให้กับการถ่ายภาพ<br />

ได้รับอิทธิพลจากสื่อสังคม (social media)<br />

ต่างๆ ผู้เขียนเชื่อว่าร้านกาแฟคงมีการ<br />

พัฒนาการต่อไป เป็นเรื่องน่าสนุกที่จะเฝ้า<br />

สังเกตและจับตามองต่อไปว่า กระแสโลกาภิ<br />

วัตน์และพฤติกรรมผู้บริโภคจะนําพาการ<br />

ออกแบบร้านกาแฟไปสู่จุดไหนหรือ ควร<br />

จะเป็นหน้าที่สถาปนิกนักออกแบบเอง<br />

ที่จะชี้นําสังคม เสนอรูปแบบการใช้พื้นที่ใน<br />

ลักษณะใหม่ขึ้น ที่สามารถรองรับกลุ่มผู้ใช้<br />

ใหม่และกลุ่มผู้ใช้เดิมได้เช่นกัน<br />

TASTE ATELIER Weave<br />

Artisan Society<br />

are also weekend workspaces for those<br />

who don’t want to spend their days off<br />

at the office but need to get some work<br />

done. These spaces are interesting by<br />

virtue of the sense of encouragement<br />

and relaxation they bring to patrons.<br />

The role of a coffee shop or a cafe has<br />

diversified now they are not only places<br />

that sell certain type of beverages. A<br />

number of cafés even offer additional<br />

functional spaces such as conference<br />

rooms and libraries. Some have office<br />

space for rent while others function<br />

also as art spaces or photography<br />

studios. Some are second-hand or<br />

antique shops or provide niche services<br />

such as laser-cutting.<br />

and changing consumer behaviors are<br />

leading the design and layouts of these<br />

establishments. Looking forward, it will<br />

be interesting to see whether architects<br />

and designers will be able to introduce<br />

new ways for these spaces to be used<br />

whilst accommodating their old and<br />

new groups of users.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 92<br />

93 Animal


<strong>ASA</strong> REGIONAL: ESAN<br />

เข้าบ้าน<br />

Back Home<br />

Text: ปองพล ยุทธรัตน์ / Pongpon Yuttharat<br />

Photo: กลุ่มนักออกแบบอุดร (UDMVD)<br />

Translation: ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม / Tanakanya Changchaitum<br />

การตัดสินประกวดแบบกุฎิ<br />

ของกลุ่ม UDMVD<br />

The judging process<br />

for UDMVD’s monk living<br />

quarters design<br />

competition.<br />

โดยที่ไม่ต้องรอประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา<br />

ก็พอจะคาดการณ์ได้ว่าช่วงนี้เข้าสู่ฤดูฝนอย่าง<br />

เป็นทางการ ฟ้าครึ้ม กระแสลมกรรโชกแรง<br />

กว่าปกติ ส่งสัญญาณว่าอีกไม่ช้า สายฝนคง<br />

กระหนํ่ำลงมาแน่ๆ “..เข้าบ้านๆ...” เสียงผู้<br />

หญิงดังอยู่ไม่ไกล ให้เดาจากสถานการณ์ก็<br />

คงจะพอคาดได้ว่า แม่เรียกลูกให้กลับเข้าไป<br />

ในบ้าน ก่อนที่ฝนจะตก ก่อนที่จะเปียก หรือ<br />

อาจจะเกิดอันตรายจากภัยธรรมชาติที่ไม่อาจ<br />

คาดการณ์ได้ล่วงหน้า ซึ่งบางครั้งก็ทําให้เด็กๆ<br />

ที่กําลังเตรียมเล่นกับฝน ผิดหวังไปตามๆ กัน<br />

ภายในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา เป็นที่น่าสังเกตว่า<br />

จังหวัดเล็กๆ ในภาคอีสานอย่างอุดรธานี เริ่ม<br />

มีธุรกิจ หรือกิจการเกิดใหม่ขึ้นมากมาย โดย<br />

เป็นธุรกิจที่เกิดจากผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่<br />

เดินทาง ‘กลับบ้าน’ เพื่อสร้างแนวทางของ<br />

ตนเองหรือต่อยอดกิจการจากคนรุ่นก่อนหน้า<br />

หลังจากที่ไปพบเจอกับประสบการณ์ ‘นอก<br />

บ้าน’ และเลือกที่จะกลับมาพัฒนา ‘บ้าน<br />

นอก’ ของตัวเอง ทั้งนี้สถาปนิกคงจะเข้าใจคํา<br />

ว่า “บ้าน” ในความหมายของอาคารหรือ<br />

สถาปัตยกรรมได้ดีอยู่แล้ว แต่ในบริบทของ<br />

การกลับบ้าน หรือโดนเรียกเข้าบ้าน มิติของ<br />

“บ้าน” อาจจะไม่ใช่แค่ตัวอาคารที่จับต้องได้<br />

เท่านั้น แต่มันคือความรู้สึก คือความ<br />

ปลอดภัย คือประสบการณ์ที่คุ้นเคยในอดีต<br />

ประกอบกับการทํางานในยุคปัจจุบันสามารถ<br />

ใช้เทคโนโลยีที่ทํางานตรงมุมไหนของโลกก็ได้<br />

จึงไม่น่าแปลกใจนักที่การกลับบ้านจะเป็นทาง<br />

เลือกอันดับต้นๆ ของนักธุรกิจรุ่นใหม่ในยุค<br />

ปัจจุบัน<br />

We don’t need to wait for an announcement<br />

from the Meteorological<br />

Department to know that Thailand has<br />

definitely entered the rainy season. The<br />

cloudier skies and stronger than usual<br />

winds both signal the arrival of heavy<br />

rain. “Come inside!” a woman cries from<br />

a distance. Presumably a mother is<br />

calling to her child to get inside the<br />

house before the rain starts to fall, to<br />

stop the little one from getting wet or<br />

harmed by unpredictable nature. It’s a<br />

killjoy in a way, especially if you’re a kid<br />

and anticipating a little fun in the rain.<br />

Over the past couple of years, provinces<br />

in Thailand’s northeastern Esan region,<br />

such as Udon Thani, are thriving when<br />

it comes to new, locally-operated<br />

establishments. The owners of these<br />

businesses are often young entrepreneurs<br />

who decided to return home.<br />

Some are exploring their own paths<br />

while others return to take care of the<br />

family business. After experiencing<br />

what things are like outside of their<br />

homes, these people choose to come<br />

back and develop their hometown –<br />

rural areas often stereotyped as<br />

unsophisticated.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 94<br />

95 Animal


While architects have a good understanding<br />

of the definition of a home,<br />

particularly as a built structure or a<br />

work of architecture, the dimensions of<br />

home in the context of ‘coming home’<br />

extend far beyond tangible structures<br />

to intangibles such as security, safety<br />

and emotional connections to nostalgic<br />

experiences. And with modern technology<br />

now finally allowing people to work<br />

from pretty much anywhere in the<br />

world, it isn’t really surprising that going<br />

back home is one of the options young<br />

business operators choose when it comes<br />

to their career path or choice of living.<br />

แบบที่ชนะเลิศงานประกวด<br />

แบบกุฎิโดยกลุ่ม UDMVD<br />

The winning design.<br />

ในสายงานออกแบบสถาปัตยกรรมในอีสานเอง ก็เกิด<br />

ปรากฏการณ์นี้คล้ายๆ กับธุรกิจอื่นๆ การกลับบ้านของ<br />

นักออกแบบรุ่นใหม่เริ่มเห็นได้ชัดในช่วง 1-2 ปีนี้ และที่น่า<br />

สนใจคือ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นเป็นต้นทุน<br />

ซึ่งทําให้เกิดความหลากหลายของงานออกแบบในปัจจุบัน<br />

และที่น่าสนใจมากๆ อีกอย่างคือ ในอีสานไม่ค่อยมีการ<br />

เปิดสํานักงานออกแบบกันจริงจังมากนัก (อาจจะเป็น<br />

เพราะรูปแบบของธุรกิจในปัจจุบันที่ต้องการการปรับ<br />

ตัวอย่างรวดเร็ว การทํางานแบบ freelance จึงน่าจะตอบ<br />

โจทย์มากกว่า) นักออกแบบในอีสานจึงมีการรวมตัวกัน<br />

จับเป็นกลุ่มก้อนในแต่ละจังหวัดเพื่อพัฒนาวิชาชีพและองค์<br />

ความรู้ร่วมกัน อย่างในอุดรธานีมีกลุ่ม UDMVD (อยู่ดีไม่<br />

ว่าดี) ที่รวมตัวกันเรื่องธุรกิจออกแบบ ในขณะเดียวกันก็<br />

ทํางานช่วยสังคมไปด้วย เช่น การจัดประกวดแบบกุฏิ<br />

หรือการรวมตัวกันเพื่อแสดงวิสัยทัศน์ในการออกแบบ<br />

พื้นที่สาธารณะของอุดรธานีในอีก 10 ปีข้างหน้าในเวที<br />

Within Esan’s architectural community, a similar<br />

phenomenon has been happening. Young designers<br />

and architects returning home has been a palpable<br />

trend in the past couple of years. What’s interesting<br />

about this development is how these young<br />

practitioners use locally available materials as an<br />

integral part of their creative resources and<br />

capitals, creating interesting works in a diversity of<br />

styles and typologies. Equally intriguing is the fact<br />

that, while Esan has only a few fully functioning<br />

design studios (a result, perhaps, of the current<br />

business model, whereby everything and everyone<br />

is expected to be agile and mobile, and hiring<br />

freelancers is often the preferred option),<br />

designers in the region have come together to<br />

form a provincial and regional network that is<br />

attempting to help bring new developments and<br />

prospects to the profession.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 96<br />

97 Animal


สาธารณะ UDON2029 และปีนี้กลุ่ม UDMVD ร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดงาน<br />

พัฒนาวิชาชีพทั้งหมด 4 ครั้งในอุดรธานี โดย 2 ครั้งแรกเป็นการอบรวมการใช้โปรแกรม<br />

3 มิติในการออกแบบ และครั้งที่สองเป็นเวิร์กช็อปชื่อ ‘ไผเฮ็ดไผ่’ โดยได้ตั๊บ ธ.ไก่ชน และโอ๊ต<br />

บราวน์ไบค์ สองสถาปนิกงานไม้ไผ่มาเป็นวิทยากร และจะมีอีก 2 ครั้งในช่วงปลายปีนี้<br />

นอกจากนี้ในจังหวัดอุบลราชธานีและมุกดาหารเริ่มมีการรวมกลุ่มนักออกแบบ ในชื่อ ’ตะเข็บ<br />

โขง’ ซึ่งใช้โมเดลคล้ายๆ กันคือนอกจากจะรวมตัวเพื่อธุรกิจออกแบบแล้ว ยังจัดกิจกรรมเพื่อให้<br />

ความรู้กับสมาชิกผ่านการปั่นจักรยานชมสถาปัตยกรรมเก่าแก่ริมแม่นํ้ำโขงเมื่อปลายปีที่ผ่านมา<br />

ท้ายที่สุด ความหมายของการ ‘กลับบ้าน’ ในช่วงหลังจึงเป็นความตั้งใจของคนรุ่นใหม่ที่จะมา<br />

พัฒนาบ้านเกิดจริงๆ และถึงแม้จะเป็นการกลับบ้านเพราะแม่เรียกให้เข้าบ้าน ก็เป็นการกลับ<br />

บ้านที่ยังสนุก เพราะในบ้านหลังใหญ่นี้ มีเพื่อนบ้านเพียบเลย<br />

ซ้าย: การตัดสินประกวดแบบ<br />

กุฏิของกลุ่ม UDMVD<br />

Left: Inside the judging<br />

room for the competition.<br />

ขวา: ภาพบรรยากาศงาน<br />

“ไผเฮ็ดไผ่” เวิร์คช็อบพัฒนา<br />

วิชาชีพโดยกลุ่ม UDMVD<br />

ร่วมกับกรรมธิการสถาปนิก<br />

สยามฯ<br />

Right: A Pai Hed Pai<br />

professional development<br />

workshop co-organized<br />

by UDMVD and the<br />

commission of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects.<br />

In Udon Thani, UDMVD is a design<br />

collective that brings together<br />

designers and design studios for both<br />

business and social purposes. Their<br />

activities range from a competition for<br />

the design of monk cells to organizing a<br />

symposium, UDON2029, where visions<br />

are presented and thoughts about the<br />

direction of public spaces in Udon<br />

Thani over the next decade discussed.<br />

In Ubon Ratchathani and Mukdahan<br />

provinces, meanwhile, a design<br />

collective, Ta Keb Khong, has adopted a<br />

similar model to UDMVD. It aims to not<br />

only broaden opportunities for the<br />

group’s design businesses, but also to<br />

initiate and promote architectural<br />

knowledge through activities, such as<br />

a bike tour to architectural sites along<br />

the Mae Khong River.<br />

This year, UDMVD together with the<br />

Association of Siamese Architects are<br />

set to co-host four different activities.<br />

The first one features a 3D design<br />

training program while the second will<br />

take the form of a workshop titled ‘Pai<br />

Hed Pai’. This will be led by Dau Tub and<br />

T. Kaichon of Oak Brown Bike, two<br />

architects with expertise in bamboo<br />

architecture. The other two activities<br />

will be held at the end of the year.<br />

It seems that ‘coming home’ for the<br />

younger generation is all about bringing<br />

new developments to the places where<br />

they were born. While their return may<br />

partially be an answer to their mother’s<br />

call, these young creative practitioners<br />

are arriving back home with good<br />

intentions, anticipation and excitement.<br />

Waiting for them is a whole group of<br />

people who share a similar spirit and<br />

aspirations.<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 98<br />

99 Animal


STUDIO VISIT<br />

ทิศทางสตูดิโอ<br />

Tidtang Studio<br />

Text: วสวัตติ์ รุจิระภูมิ / Wasawat Rujirapoom<br />

Photo: อนันตา ฐิตานัตต์ / Ananta Thitanat<br />

ปีที่ก่อตั้ง: พ.ศ. 2555<br />

จำนวนพนักงาน: 20 คน<br />

www.tidtangstudio.com<br />

เป็นสตูดิโอสถาปนิกชื ่อไทยๆ ที่เน้นความเป็น<br />

ไทยเข้าไปอยู่ในทุกงานที่ทำ โครงการ Busaba<br />

Ayutthaya Hostel ถือเป็นผลงานที่อธิบาย<br />

ทิศทางของงานสถาปัตยกรรมในแบบของทิศทาง<br />

สตูดิโอได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นโครงการที่ถือ<br />

เป็นจุดเปลี่ยนที่สร้างชื ่อเสียงให้กับทางสตูดิโอได้<br />

เติบโตอย่างรวดเร็ว<br />

_จุดเริ่มต้นของทิศทางสตูดิโอ<br />

ทิศทางสตูดิโอ เริ่มมาจากกลุ่มเพื่อน 4 คน<br />

ที่มีทิศทางความคิดเดียวกัน ที่อยากสร้างห้อง<br />

ทดลองของการออกแบบสถาปัตยกรรมใหม่ๆ<br />

ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.<br />

2555 จนกระทั่งเวลาที่เปลี่ยนผ่านไปร่วม<br />

7 ปี กลุ่มผู้ก่อตั้งบางคนได้แยกย้ายกันไปทํา<br />

ตามความฝันในสายอาชีพอื่นๆ ปัจจุบัน<br />

นอกจากคุณมิก-ภัททกร ธนสารอักษร<br />

ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง ก็มีคุณก้อง-สุพพัต<br />

พรพัฒน์กุล และ คุณพลอย-กานต์รวี<br />

คารวะวุฒิกุล ได้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนในภาย<br />

หลัง ด้วยแนวความคิดเริ่มต้นที่ไม่อยากให้ผล<br />

งานของบริษัทมีรูปแบบเป็นลายเซ็น ติดเป็น<br />

ภาพลักษณ์เฉพาะ แต่ต้องการให้แต่ละงานมี<br />

ที่มาและเรื่องราวเป็นเอกลักษณ์ของงานนั้นๆ<br />

จึงเป็นที่มาของชื่อ ทิศทางสตูดิโอ<br />

_ทิศทางของความคิด<br />

ทิศทางสตูดิโอ พยายามใช้สิ่งของธรรมดา<br />

รอบตัวๆ มาสร้างวิธีการและรูปแบบใหม่ๆ ให้<br />

น่าสนใจยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสอดแทรกความ<br />

เป็นไทยเข้าไปอยู่ในทุกๆ ผลงานที่ทํา​ซึ่งไม่<br />

จําเป็นต้องเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยดั้งเดิม<br />

เท่านั้น แต่สามารถออกแบบให้เป็น<br />

สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ ที่ประยุกต์จาก<br />

การตีความใหม่บนพื้นฐานของความเป็นไทย<br />

เพื่อให้เกิดทางเลือกและการเติบโตของ<br />

สถาปัตยกรรมไทยในอนาคต<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 100<br />

101 Animal


_รูปแบบการทำงาน<br />

ทิศทาง สตูดิโอ เปรียบเสมือนสนามเด็กเล่น<br />

ของความคิดสร้างสรรค์ ห้องทดลองทางงาน<br />

สถาปัตยกรรม ทุกคนในสตูดิโอสามารถ<br />

เสนอแนวความคิดในการออกแบบได้ร่วมกัน<br />

ระดมความคิดและตกผลึกด้วยกัน จุดเริ่มต้น<br />

ของไอเดียไม่จําเป็นต้องมาจากเพียงคุณมิก<br />

คุณก้อง หรือคุณพลอยเท่านั้น ทําให้ทุกคน<br />

รู้สึกว่าเป็นส่วนร่วมและเป็นหนึ่งในทีมที่<br />

ออกแบบในทุกงานของทิศทาง สตูดิโอ อีกจุด<br />

หนึ่งที่ทิศทาง สตูดิโอให้ความสําคัญ คือ ขั้น<br />

ตอนการออกแบบขั้นแรกที่จะส่งให้ลูกค้า จะ<br />

เป็นแบบค่อนข้างสมบูรณ์แล้ว มีตั้งแต่แบบ<br />

แปลนไปจนถึงภาพทัศนียภาพ เพราะ<br />

กระบวนการคิดแบบ 2 และ 3 มิติ ไป<br />

พร้อมๆกัน ทําให้ใช้เป็นกระบวนการที่ใช้<br />

เวลานานกว่าปกติ ไม่ใช่เพียงส่งรูปอ้างอิง<br />

แบบร่างหรือแค่แบบแปลน เพื่อให้ลูกค้าได้<br />

เข้าใจและเห็นภาพตรงกันตั้งแต่แรก<br />

_เครื่องมือ<br />

สตูดิโอเพียงแต่จัดสรรพื้นที่สนามเด็กเล่นที่<br />

พนักงานสามารถมาทําอะไรก็ได้ พร้อมด้วย<br />

เครื่องมือพื้นฐานสําหรับการทํางาน ไม่มีข้อ<br />

จํากัดในการคิดสร้างสรรค์ผลงาน ขึ้นอยู่กับ<br />

ความถนัดของแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็น สเกตช์<br />

มือ การตัดโมเดล คอลลาจรูป เป็นต้น<br />

ทําให้ทุกคนสามารถใส่ความเป็นตัวเองเข้าไป<br />

ได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ทิศทาง สตูดิโอยัง<br />

ให้ความสําคัญกับพื้นที่จัดเก็บตัวอย่างวัสดุ<br />

เพื่อให้พนักงานได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้วัสดุ<br />

ใหม่ๆ สัมผัสวัสดุในสัดส่วนจริง เพื่อให้<br />

เข้าใจและเห็นภาพในการทํางาน<br />

สถาปัตยกรรมมากขึ้น<br />

ภัททกร ธนสารอักษร<br />

Co-founder & CEO<br />

สุพพัต พรพัฒน์กุล<br />

Partner & CDO<br />

สมัยเรียนรู้สึกว่างานสถาปัตยกรรม<br />

ที่ทําให้เราตื่นตาตื่นใจ เป็นงานที่<br />

เราเข้าถึงได้ยาก เช่น โรงแรม<br />

หรือสถานที่ที่ต้องเสียเงินเข้าไป<br />

แพงๆ แต่งานที่ผู้คนพบเจอทั่วไป<br />

หรืออาคารสาธารณะ ยังไม่มี<br />

ที่ไหนเลยที่ผู้คนทั่วไปจับต้อง<br />

สถาปัตยกรรมที่มีความคิดที่น่า<br />

สนใจได้ เลยอยากจะลองทําอะไร<br />

บางอย่างที่ทําให้ทิศทางของงาน<br />

แต่ละชิ้นมีจุดโดดเด่น มีเอกลักษณ์<br />

และคนทั่วไปจับต้องได้ง่าย<br />

แนวทางการทํางานของออฟฟิศ<br />

คือสามารถดึงอะไรก็ได้ ที่อยู่รอบๆ<br />

ตัวเรา ของที่ง่ายๆ มา redesign<br />

ใหม่ และเราให้ความสําคัญกับการ<br />

ส่งแบบครั้งแรกของเรา ที่จะค่อน<br />

ข้างสมบูรณ์แล้ว เพื่อให้ลูกค้าเห็น<br />

ภาพตรงกันตั้งแต่ต้นจนจบเลย ซึ่ง<br />

อาจจะไม่ละเอียดถึงขั้น detail แต่<br />

ทุกอย่างต้องถูกคิดไว้หมดแล้ว<br />

กานต์รวี คารวะวุฒิกุล<br />

Visualizer<br />

จุดเริ่มต้นของโปรเจกต์ในแต่ละ<br />

ครั้ง เป็นการประชุมร่วมกันของ<br />

คนที่อยู่ในทีมว่า ใครมีความคิด<br />

อย่างไร เพื่อที่จะเข้าใจและ<br />

ตกผลึกร่วมกัน บางทีการตีความ<br />

อาจจะต้องใช้เวลาศึกษาและ<br />

วิเคราะห์ให้รอบด้านมากขึ้น เพื่อ<br />

พยายามที่จะมองในมุมอื่นที่แตก<br />

ต่างจากเดิมสู่การสร้างเอกลักษณ์<br />

นภัสสร สุดาทิศ<br />

Senior Interior Designer<br />

เคยได้ออกไปทํางานอิสระอยู่ช่วง<br />

หนึ่ง ได้ทํางานร่วมกับหลายๆ<br />

บริษัท แล้วรู้สึกไม่ใช่ จึงกลับมา<br />

ทํางานที่นี่ เพราะชอบรูปแบบการ<br />

ทํางานขององค์กร ที่รู้สึกว่าเข้ากับ<br />

ตัวเรา อยู่ด้วยกันแบบเข้าใจ และ<br />

ให้เกียรตินักออกแบบทุกคน ไม่ว่า<br />

จะเป็น senior หรือ junior<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 102<br />

103 Animal


ทํางานที่นี่มา 5 ปีแล้ว ปัจจุบัน<br />

หน้าที่หลักคือ รับข้อมูลของงาน<br />

คุยกับทีม และดูแลจัดการส่วนที่<br />

ตกหล่น รวมถึงดูแลน้องๆในทีมอีก<br />

4 คนด้วย<br />

จิรภัทร ฉิมเล็ก<br />

Senior Interior Designer<br />

จุดเด่นของที่นี่คือวิธีการแบ่งงาน<br />

ที่ไม่เหมือนที่อื่นที่ให้ทําเฉพาะด้าน<br />

ที่ถนัดของแต่ละคน แต่ให้เรา<br />

สามารถดูแลโครงการหนึ่งไปเลย<br />

ตั้งแต่ต้นจนจบ<br />

ธัช สงวนไทย<br />

Junior Architect<br />

ก่อนหน้านี้ได้ไปลองทํางานในสาย<br />

อื่นมาก่อน แล้วถึงกลับมาทํางาน<br />

เป็นสถาปนิกที่นี่ ชอบที่ได้แสดง<br />

ความคิดเห็นกันเรื่องการออกแบบ<br />

กับพี่และเพื่อนๆ หลายๆ คนที่นี่<br />

เพียรพร จารุภากร<br />

Junior Architect<br />

_การออกแบบพื้นที่<br />

พื้นที่สตูดิโอที่เห็นอยู่ปัจจุบันนี้ ทิศทาง สตูดิโอเพิ่งย้ายมา<br />

ได้เพียง 1 ปี เนื่องจากงานที่เข้ามาเพิ่มขึ้นอย่างไม่ทัน<br />

ตั้งตัว ตั้งแต่ผู้คนได้เห็นโครงการ Busaba Ayutthaya<br />

Hostel ทําให้ออฟฟิศเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว จากที่เดิม<br />

รองรับพนักงานได้เพียง 12 ที่นั่ง และคาดหวังว่าจะใช้<br />

พื้นที่เดิมไปอีก 3-5 ปี ทําให้ต้องขยับขยาย หาออฟฟิศที่<br />

มีพื้นที่กว้างขึ้น เพราะปัจจุบันมีพนักงานรวมทั้งหมดถึง<br />

20 คน จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ทิศทาง สตูดิโอ สร้างพื้นที่<br />

co-working space ชื่อ ‘subtitle’ เปรียบเทียบกับการดู<br />

ภาพยนตร์ ที่จะมีคําบรรยายที่ช่วยขยายความเพื่อให้เข้าใจ<br />

รายละเอียดได้มากขึ้น โดยจะมีพื้นที่ส่วนกลางสําหรับนั่ง<br />

เล่น ต้อนรับลูกค้า ทํากิจกรรมรวมกันหรือฉายภาพยนต์<br />

ก็ได้ ชุดโซฟาสามารถจับรวมหรือแยกชิ้นส่วนเพื่อสามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของการใช้งานได้ รวมถึงมี<br />

ห้องรับประทานอาหาร ที่มีนํ้ำและขนมให้บริการตนเองได้<br />

ตลอด ถือเป็น 30% ของพื้นที่ออฟฟิศทั้งหมด แสดงให้<br />

เห็นว่าสตูดิโอให้ความสําคัญกับเรื่องอื่นพอๆ กับการ<br />

ทํางาน อีก 50% เป็นส่วนสํานักงาน ที่ปัจจุบันให้ออฟฟิศ<br />

อื่น เช่าแบ่งปันใช้พื้นที่ได้ รวมถึงสามารถใช้พื้นที่ส่วน<br />

กลางได้ด้วยเช่นกัน อีกทั้งยังมีกิจกรรมประจําเดือน เช่น<br />

ทานอาหารกลางวันร่วมกัน ทําให้เกิดสังคมที่กว้างขึ้น<br />

เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดของคนนอกวงการ มีชีวิตชีวา<br />

มากกว่าการอยู่เพียงออฟฟิศเดียว นอกจากนี้ทิศทาง<br />

สตูดิโอยังมองว่าห้องประชุมมีความสําคัญกับการทํางาน<br />

ในยุคปัจจุบันมาก เพราะเป็นที่แบ่งปันความคิดของแต่ละ<br />

คน รวมถึงเชิญลูกค้าเข้ามาประชุมและแสดงให้เห็นถึง<br />

ความใส่ใจในการทํางานด้วย หรือหากต้องการความเป็น<br />

ส่วนตัวก็สามารถเข้ามาใช้งานได้ เป็นอีก 10% ของพื้นที่<br />

ที่มีห้องประชุมขนาดเล็กและใหญ่ รวมกันถึง 5 ห้อง<br />

พื้นที่ 10% สุดท้ายเป็นห้องเก็บวัสดุ พื้นที่ประมาณ 40<br />

ตารางเมตร ซึ่งถือว่ามีขนาดค่อนข้างใหญ่ เพื่อให้พนักงาน<br />

ได้เข้าไปศึกษา และทําความเข้าใจกับวัสดุจริง ก่อนนํามา<br />

ใช้ในงานออกแบบ<br />

_การออกแบบระยะเวลาในการทำงาน<br />

ตั้งเวลาการเข้างาน ตั้งแต่ 10.00-19.00 น.<br />

เป็นพื้นฐาน แต่ทุกคนสามารถจัดสรรเวลาตัว<br />

เองได้อย่างอิสระ ตามความเหมาะของงาน<br />

แต่ละโครงการและของแต่ละบุคคล ส่วน<br />

ระยะเวลาการทํางานแต่ละโครงการ ทิศทาง<br />

สตูดิโอให้ความสําคัญกับการออกแบบขั้นแรก<br />

เป็นอย่างมากตามที่ได้กล่าวไปแล้วในข้างต้น<br />

ซึ่งบางโครงการอาจใช้เวลาในการออกแบบขั้น<br />

แรกถึง 2 เดือนเลยทีเดียว โดยไม่ใช่ดูเพียง<br />

ความสวยงาม แต่ยังคํานึงถึงความเป็นไปได้<br />

ในการก่อสร้าง และงบประมาณอีกด้วย<br />

ด้วยการคิดอย่างละเอียดนี้จะช่วยประหยัด<br />

เวลา เกิดความผิดพลาดน้อยลง และผลงาน<br />

ที่สร้างจริง จะใกล้เคียงกับภาพ 3 มิติที่นํา<br />

เสนอลูกค้าไปในตอนแรกมาก<br />

ทิชากร ดาวเรือง<br />

Junior Architect<br />

ปรัชญา วงโยโพ<br />

Junior Architect<br />

เพิ่งเข้ามาทํางานที่นี่ 2 อาทิตย์<br />

สนใจรูปแบบการทํางานของที่นี่<br />

มีแนวความคิดที่เรียบง่าย ตรงไป<br />

ตรงมา จึงอยากเข้ามาศึกษา<br />

พัฒนาตนเอง<br />

อยูท่ี่นี่มาไมนานครับ แตตราบใดที่<br />

ยังไดทําในสิ่งท่ี่ตัวเองรัก ตัวผมก็<br />

ยังคงมีความสุข<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 104<br />

105 Animal


ธนวรรณ สุจิตรัตนันท์<br />

Interior Designer<br />

พรรณธร กิติประเสริฐ<br />

Interior Designer<br />

บุตรม พัดชู<br />

Interior Designer<br />

เพราะเราต้องใช้เวลาเกือบ 80<br />

เปอร์เซ็นในที่ทํางาน บรรยากาศใน<br />

ที่ทํางานจึงสําคัญมากๆ ที่นี่ค่อน<br />

ข้างอยู่กันแบบสบายๆ มี่พื้นที่กิน<br />

ข้าว มีพื้นที่นั่งเล่น สําหรับนอนพัก<br />

ช่วงกลางวัน เวลาการทํางานที่ให้<br />

อิสระในแต่ละวัน ทําให้ไม่รู้สึก<br />

กดดันในการทํางาน สามารถเสนอ<br />

ความคิดเห็นในทุกโปรเจกต์ ทําให้<br />

ทุกโปรเจกต์ที่ออกไปเป็นโปรเจกต์<br />

ของทีมจริงๆ<br />

ที่นี่ทําเองทุกอย่าง ทั้งออกแบบ<br />

เขียนแบบ ดูวัสดุตั้งแต่ต้นจนจบ<br />

ได้เรียนรู้ทุกกระบวนการ แม้จะ<br />

เพิ่งเรียนจบ ตอนแรกก็กังวล แต่ก็<br />

ได้พี่ๆ คอยช่วย ได้อิสระในการ<br />

ออกแบบ รู้สึกสนุกกับการทํางาน<br />

ทํางานที่นี่มา 2 ปี ตั้งแต่เรียนจบ<br />

เลย ได้ทําทุกอย่างตั้งแต่กระบวน<br />

การออกแบบ ดูวัสดุ คุยกับตัวแทน<br />

วัสดุ รวมถึงคุยกับลูกค้า แตกต่าง<br />

จากบริษัทใหญ่ๆ ที่จะได้ทําหน้าที่<br />

เฉพาะของตัวเอง ถือเป็นการเริ่ม<br />

ต้นทํางานที่ดีที่ได้เรียนรู้ทุกอย่าง<br />

_ทิศทางต่อไปของทิศทาง สตูดิโอ<br />

อยากให้ชื่อของทิศทาง สตูดิโอ ไปอยู่ในเวที<br />

โลก ทําให้ผู้คนสนใจสถาปัตยกรรมใน<br />

ประเทศไทยมากขึ้น ทิศทาง สตูดิโอพยายาม<br />

สอดแทรกความเป็นไทยรูปแบบใหม่ลงไปใน<br />

ทุกๆ ผลงาน อย่างงาน Busaba Ayutthaya<br />

Hostel ที่เคยเป็นบ้านทรงไทย ซึ่งปัจจุบัน<br />

ไม่มีการสร้างใหม่ และผู้คนในยุคปัจจุบันก็ไม่<br />

ได้เข้าไปใช้ชีวิตอยู่ในเรือนไทยแล้ว นํามา<br />

สร้างทิศทางของไทยสมัยใหม่ที่ยังคงความ<br />

เป็นไทย อย่างเช่นการใช้งานแบบเดิมที่เป็น<br />

หนึ่งเรือนหนึ่งการใช้งาน ที่ยังคงแยกเป็น<br />

เรือนนอน เพื่อให้คนไทยปัจจุบันได้เข้าไป<br />

สัมผัสการใช้ชีวิตในบ้านไทยเดิม ซึ่งได้ผล<br />

ตอบรับดีมาก จากลูกค้าที่ส่วนใหญ่เป็นคน<br />

ไทย ทิศทาง สตูดิโอ ยังคงทดลองและค้นหา<br />

ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ของสถาปัตยกรรมไทย<br />

ต่อไป ด้วยความคาดหวังว่าวงการ<br />

สถาปัตยกรรมไทยจะกลายเป็นที่รู้จักทั่วโลก<br />

จิดาภา รอดสาตร์<br />

Interior Designer<br />

เพชรรัตน์ ละม้าย<br />

Interior Designer<br />

เพิ่งเรียนจบและเข้ามาทํางานที่นี่ได้<br />

4 เดือน เป็น 4 เดือนที่ได้อะไร<br />

เยอะมาก ต่างจากตอนเรียนมาก<br />

ได้พัฒนาตัวเองขึ้นเรื่อยๆทุกวัน ให้<br />

อิสระ สามารถบริหารเวลาเองให้<br />

เข้ากับแต่ละคน<br />

เข้ามาถึงก็มีโอกาสได้โครงการ<br />

ออกแบบตกแต่งภายในโรงแรมเลย<br />

ตอนแรกก็กังวล แต่พี่ๆ คอยมา<br />

ช่วยดูแล<br />

_อยากฝากอะไรให้สถาปนิกที่สนใจจะเปิดสตูดิโอบ้าง<br />

รูปแบบการทํางานของเราเป็นเพียงทางเลือกหนึ่งเท่านั้น<br />

ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะทดลอง แต่อยากให้ทดลองด้วยจิต<br />

วิญญาณของการเป็นนักออกแบบจริงๆ เราเชื่อว่า คุณค่า<br />

ของงานออกแบบหรือศิลปะ มันประเมินค่าเป็นเงินไม่ได้<br />

ร่วมกันสร้างงานสถาปัตยกรรมที่ข้ามกาลเวลาได้ ไม่ได้<br />

เป็นไปเพียงตามยุคสมัย สามารถอยู่คู่ไปกับพื้นที่ตรงนั้น<br />

ได้ไปอีกหลักร้อยปีและสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนที่มา<br />

พบเจอ เหมือนที่เราได้แรงบันดาลใจจากการไปเยี่ยมชม<br />

งานของสถาปนิกระดับโลกหลายๆท่าน งานที่ดีจริงๆ วัน<br />

หนึ่งจะมีคุณค่าขึ้นมากเอง แล้วชื่อเสียง เงินทองจะตามมา<br />

เอง และถ้าเป็นไปได้ อยากให้สถาปนิกไทยทํางานช่วยกัน<br />

รักษาความเป็นไทย วัฒนธรรมหลายๆ อย่างกําลังถูก<br />

ทําลายทิ้ง รากเหง้าของพวกเรากําลังหายไป เพราะทุกวัน<br />

นี้ประเทศไทยได้รับอิทธิพลมาจากโลกภายนอกเยอะมาก<br />

นั่นเป็นเหตุผลที่ทําไมเราถึงพยายามทํางานที่สอดแทรก<br />

ความเป็นไทย ภายใต้ออฟฟิศชื่อ ทิศทาง สตูดิโอ<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 106<br />

107 Animal


Tidtang Studio Organization Diagram<br />

CEO &<br />

Co-Founder<br />

Chief Design<br />

Officer<br />

The Boss<br />

ภัททกร ธนสารอักษร สุพพัต พรพัฒน์กุล Blu<br />

Senior Interior Designer<br />

Visualizer<br />

Administrator<br />

เเพรพลอย หรณพ<br />

Interior Designer<br />

วิชญา อินทมุนี<br />

Interior Designer<br />

กานตอง วิสุทธิแพทย<br />

Interior Designer<br />

สนใจในงานของบริษัทที่มีความ<br />

หลากหลาย สนุกกับการทํางาน<br />

เวลาคิดงานไม่ออกก็จะมีพี่คอย<br />

ช่วย ให้คําปรึกษา และระดม<br />

ความคิด<br />

ตอนนี้ได้ดูแลโครงการออกแบบ<br />

ตกแต่งภายในคอนโด ที่ออก-<br />

แบบตั้งแต่ส่วนกลางจนถึงห้อง<br />

พัก บรรยากาศการทํางานเป็น<br />

กันเอง อยู่แบบรุ่นพี่ รุ่นน้อง<br />

ในตอนแรกสนใจงานของท่ีนี่<br />

กอน แลวพอไดเขามาเริ่มทํา<br />

งานที่นี่ก็ใหความรูสึกของการ<br />

ทํางานเปนทีม ที่ทุกคนคอย<br />

ชวยเหลือกัน สามารถแสดง<br />

ความเห็นได และพี่ๆพรอมรับ<br />

ฟงความเห็นของเด็กจบใหม<br />

แบบเรา ทําใหเกิดการแลก<br />

เปลี่ยนความคิดกัน และ<br />

บรรยากาศ การทํางานก็สนุกดี<br />

กานต์ธิดา เทศซ้อน<br />

Interior Designer<br />

อลงกรณ จันทรประจักร์<br />

Interior Designer<br />

อัจฉรา รัตอาภา<br />

Administrator<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 108<br />

พี่ๆ จากทิศทาง สตูดิโอ เคยไป<br />

บรรยายที่มหาวิทยาลัยที่เรียน<br />

จึงสนใจมาทํางานที่นี่ และชอบ<br />

รูปแบบงานของที่นี่ด้วย<br />

เคยเปนเด็กฝกงานมากอนแลว<br />

จึงไดเขามาเริ่มทํางานเมื่อ<br />

ไมนานมานี้ สิ่งที่ทําใหอยาก<br />

กลับมาทําคือบรรยากาศการทํา<br />

งานที่อบอุน สนุกสนาน และที่<br />

นี่ใหความรูสึกเปนกันเอง<br />

สามารถแสดงออกทางความคิด<br />

ตางๆไดและคอยชวยเหลือกัน<br />

พี่ๆคอยใหความรูใหมๆสอน<br />

งานตางๆดีมาก<br />

หน้าที่หลักคือ ดูแลทุกอย่างของ<br />

ออฟฟิศ ทั้งอุปกรณ์ รวมถึง<br />

บุคคลากรด้วย รวมถึงคอยจัดสรร<br />

เวลานัดพบของตัวแทนวัสดุกับ<br />

น้องๆด้วย<br />

นภัสสร สุดาทิศ จิรภัทร ฉิมเล็ก<br />

กานต์รวี คารวะวุฒิกุล อัจฉรา รัตอาภา<br />

Junior Architect<br />

Junior Interior Designer<br />

ธัช สงวนไทย บุตรม พัดชู เพชรรัตน์ ละม้าย<br />

เพียรพร จารุภากร ธนวรรณ สุจิตรัตนันท์ วิชญา อินทมุนี<br />

ทิชากร ดาวเรือง<br />

พรรณธร กิติประเสริฐ เเพรพลอย หรณพ<br />

ปรัชญา วงโยโพ<br />

จิดาภา รอดสาตร์ กานต์ธิดา เทศซ้อน<br />

109<br />

กานตอง วิสุทธิแพทย อลงกรณ จันทรประจักร์<br />

Animal


INTERNATIONAL ARCHITECT<br />

“Small Steps Forward,”<br />

said Arrhov Frick<br />

Text: นวันวัจน์ ยุธานหัส / Nawanwaj Yudhanahas<br />

Photo: Arrhov Frick<br />

ซ้าย: Project Hammarby<br />

Gård<br />

ขวา: ภาพ Portrait ของ<br />

Arrhov Frick<br />

Arrhov Frick ก่อตั้งโดย Johan Arrhov<br />

และ Henrik Frick ในปี 2010 ที่เมือง<br />

สตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ปัจจุบันมีสมาชิก<br />

ประมาณ 10 คน บริษัทปฏิเสธงานออกแบบ<br />

หลายชิ้นที่เข้ามาช่วงเศรษฐกิจขยายตัว<br />

เพราะตั้งใจจะรักษาจํานวนสมาชิกไว้เพียงเท่า<br />

นี้ เลือกรับงานที่ใหญ่กว่าตัว เพื่อเป็นโอกาส<br />

พัฒนาตนเอง และไม่ต้องการสร้างอาคารที่<br />

คนมากมายรู้จัก ขอแค่การทํางานชิ้นนั้น<br />

จะทําให้ได้เรียนรู้เพิ่มเติม<br />

สิ่งที่ Arrhov Frick นําเสนอในการบรรยาย<br />

ครั้งนี้ ไม่ใช่การนําเสนอผลงานจากชิ้นที่ 1<br />

ไปชิ้นที่ 2, 3, 4 แต่เป็นการเล่าถึงแนวทาง<br />

ของบริษัท ผ่านกลุ่มคําโปรยบนพื้นหลังสีขาว<br />

ว่างเปล่า ที่ฉายขึ้นจอสลับกับภาพสเก็ตช์และ<br />

ภาพถ่ายอาคาร ผลงานไม่ปรากฏตามลําดับ<br />

จากเก่าไปใหม่ และบางชิ้นก็ปรากฏซํ้ำอีกครั้ง<br />

ในมุมที่ต่างไป ตามแต่ว่าตอบเรื่องที่กําลังพูด<br />

ถึงอย่างไร<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 110<br />

111 Animal


ซ้าย/ขวา: Project Lilla Rågholmen<br />

พวกเขาพูดถึงการ ‘ถอย’ ออกมามองภาพที่กว้างขึ้นเพื่อวิเคราะห์ถึงลักษณะกายภาพ สภาพ<br />

สังคม เศรษฐกิจ เพื่อที่จะออกแบบโปรแกรม มุมมอง ไปจนถึงวัสดุ และกระบวนการก่อสร้าง<br />

ศูนย์วัฒนธรรมของเมืองเล็ก จึงไม่ควรถูกออกแบบเพื่อรับกิจกรรมยิ่งใหญ่เลียนแบบเมืองหลวง<br />

มันจึงไม่ได้มีเพียงพื้นที่แสดงดนตรีอย่างที่ลูกค้าริเริ่ม แต่เพิ่มโรงเรียนสอนดนตรี ร้านอาหาร<br />

ห้องสมุด เพื่อที่แต่ละส่วนจะรองรับและส่งเสริมกันเองให้อาคารมีชีวิตอยู่อย่างยั่งยืน<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 112<br />

ภาพอาคารอยู่อาศัยที่มีชั้นหนึ่งปิดทึบปรากฏขึ้น มันดูมั่นคง เป็นระเบียบ แต่ Johan Arrhov<br />

มีความเห็นว่านี่ไม่ใช่ตัวอย่างที่ดี ตรงกันข้ามกับภาพถัดมา ที่เพียงบางส่วนของอาคารชั้นหนึ่ง<br />

ปิดทึบ ที่เหลือเป็นร้านกาแฟ ด้านหนึ่งของร้านคือชั้นแสดงเบเกอรี่ อีกด้านคือโต๊ะ เก้าอี้ที่หยิบ<br />

ยืมพื้นที่ของทางเท้าที่กว้างขวาง<br />

113 Animal


ซ้าย/ขวา: Project Viggsö<br />

การสังเกตในสิ่งที่อาจจะเห็นชินตา เกิดเป็น<br />

การปรับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมเพียง<br />

เล็กน้อยแต่ชาญฉลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตขนาด<br />

ใหญ่ที่ชั้นล่างของโครงการ ICA ถูกล้อมรอบ<br />

ด้านด้วยพื้นที่แบ่งขายสําหรับร้านค้าขนาด<br />

เล็กที่จะปรับเปลี่ยนหน้าตาของห้องขายตาม<br />

ต้องการ ทําให้อาคารมีความสัมพันธ์กับถนน<br />

รอบตัวอย่างมีชีวิตชีวา การแบ่งช่องหน้าต่าง<br />

ของห้องพักใน Hammarby Gård ในด้านที่<br />

หันเข้าหาถนน และหันเข้าหาสวน ต่างกัน<br />

เพียงการแบ่งตามแนวตั้ง หรือแนวนอน แต่<br />

ทําให้ผู้อยู่อาศัยในห้องเล็กได้บรรยากาศที่ไม่<br />

จําเจ ได้ปรับเปลี่ยนใช้งานระเบียงในทุกฤดู<br />

และขอบของพื้นบ้าน Lilla Rågholmen ก็ถูก<br />

ยกขึ้นโดยรอบเพียงเล็กน้อย เพียงพอที่จะใช้<br />

เป็นที่นั่งชมธรรมชาติภายนอก<br />

‘เล็ก’ อาจจะเป็นคําหนึ่งที่สรุปความเป็น<br />

Arrhov Frick ‘เล็ก’ ในที่นี้ไม่ใช่ขนาดของงาน<br />

ที่ออกแบบ แต่ ‘เล็ก’ เพื่อจะไม่มองข้ามสิ่ง<br />

ใกล้ตัว สร้างการปรับเปลี่ยนที่ ‘เล็ก’ แต่<br />

แยบยลและส่งความหมายที่ใหญ่กว่า ‘เล็ก’<br />

พอที่จะเหลือช่องว่างให้ผู้ใช้งานปรับเอง และ<br />

ก้าวไปข้างหน้า ด้วยก้าวที่ ‘เล็ก’ แต่ไตร่ตรอง<br />

หรืออย่างที่พวกเขาเรียกว่า ‘Small steps<br />

forward’<br />

งานเสวนาทางสถาปัตยกรรม “สถาปัตยปาฐะ”<br />

2562 | Arrhov Frick - A Lecture โดย<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร วันที่ 27 เมษายน 2562<br />

ณ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 114<br />

115 Animal


WHAT’S ARCHITECT THINK<br />

Elephant Tower Revisit<br />

Text: กฤษณะพล วัฒนวันยู / Kisnaphol Wattanawanyo<br />

Photo: Shutterstock<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 116<br />

117 Animal


เป็นเรื่องธรรมดาที่เมื่อสถาปนิกแต่ละคนได้<br />

หวนกลับไปย้อนมองดูผลงานของตนที่เคย<br />

ออกแบบไว้เมื่อหลายสิบปีก่อน ก็อาจจะมี<br />

ความรู้สึกที่ผสมผสานปนเปกันไป สถาปนิก<br />

บางคนอาจจะยังคงรู้สึกดีและชื่นชอบกับผล<br />

งานของตนอยู่ แต่ก็มีบางคนที่อาจจะรู้สึกไม่<br />

พอใจและมีมุมมองต่อผลงานชิ้นนั้นๆ ที่<br />

เปลี่ยนไป คุณองอาจ สาตรพันธุ์ - ศิลปิน<br />

แห่งชาติ ปี พ.ศ. 2552 สาขาทัศนศิลป์ ใน<br />

สาขาย่อย ศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบร่วม<br />

สมัย) ก็เป็นสถาปนิกอีกคนหนึ่งที่กล้าพูดและ<br />

ยอมรับออกมาตรงๆ กับเราเมื่อได้สอบถาม<br />

พูดคุยถึงแนวคิดและที่มาของการออกแบบ<br />

ตึกช้าง ซึ่งท่านก็ได้ตอบมาว่า “เห็นว่าตึกช้าง<br />

เมื่อสร้างขึ้นมาแล้วได้ทําลายเนื้อเมือง (หรือ<br />

fabric) ของกรุงเทพฯ อย่างสิ้นเชิง” นี่คือคํา<br />

ตอบที่สะท้อนความคิดเห็น ความรู้สึกของคุณ<br />

องอาจต่ออาคารหลังนี้อย่างตรงไปตรงมา<br />

และเมื่อช่วงต้นปีนี้เอง คุณองอาจก็ได้ให้ความ<br />

เห็นในทํานองเดียวกันเมื่อถูกถามถึงผลงานใน<br />

ยุคก่อนๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุคที่ยังไม่ได้<br />

ย้ายขึ้นไปอยู่ที่เชียงใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะไม่<br />

ชอบและไม่เคยถูกใจผลงานที่คุณองอาจ<br />

ออกแบบเอง<br />

_แนวคิดหลัก<br />

ตึกช้าง สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2540 เป็นการร่วม<br />

ออกแบบกับ ศาตราจารย์กิตติคุณ อรุณ ชัยเสรี (เป็นทั้ง<br />

วิศวกรและเจ้าของโครงการ) ตึกช้างนี้เป็นอาคารประเภท<br />

อาคารสํานักงานและพักอาศัยรวม เป็นอาคารขนาดใหญ่<br />

พิเศษ รูปทรงของอาคารถูกบังคับตามพื้นที่ดินที่มีลักษณะ<br />

ยาวเป็นเส้นก๋วยเตี๋ยว ด้วยกฎหมายและความต้องการ<br />

ของเจ้าของโครงการ ทําให้ในช่วงเริ่มแรกของการ<br />

ออกแบบ อาคารถูกแบ่งออกเป็น 3 ทาวเวอร์ และ<br />

เนื่องจากความต้องการให้มีพื้นที่ขายมากขึ้น คุณองอาจจึง<br />

เชื่อม 3 ทาวเวอร์เข้าด้วยกัน แต่ด้วยข้อกําหนดเรื่องพื้นที่<br />

เปิดโล่ง จึงทําให้เชื่อมอาคารได้เพียงส่วนบนและเกิดช่อง<br />

ขนาดใหญ่ 2 ช่องในตัวอาคาร ต่อมา อาจารย์อรุณ เห็น<br />

ว่าอาคารมีลักษณะคล้ายช้างและส่วนตัวท่านชื่นชอบช้าง<br />

อยู่แล้ว คุณองอาจจึงออกแบบตกแต่งส่วนของอาคารเพิ่ม<br />

เพื่อให้เหมือนช้างจริงๆ<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 118<br />

119 Animal


“การถกเถียงเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าทำเพื ่อเป็นการโฆษณาส่งเสริมความคิด<br />

ซึ ่งไม่แน่ว่าอยู่ในพื ้นฐานที่มั่นคงก็ไม่เป็นสิ่งดี เพราะจะไปเพิ่มความ<br />

สับสนให้กับวงการสถาปัตยกรรมขึ ้น บางทีเราควรที่จะหยุดพูดและ<br />

กลับไปสงบใจทำงานโดยไม่คิดแต่เพียงว่าจะต้องสร้างงานที่แปลกใหม่<br />

ไม่เหมือนใคร ดีเด่นที่สุด เพราะอย่างที่ได้พูดมาแล้วว่าประวัติศาสตร์มี<br />

มานานแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมีคนทำมาแล้วทั้งนั้น”<br />

_การรับรู้และการได้รับความสนใจโดยสื่อ<br />

และสังคมทั่วไป<br />

ในปี พ.ศ. 2556 ตึกช้าง ถูกจัดอันดับโดย<br />

เว็บไซต์ CNN ให้เป็น landmark ที่น่าจดจํา<br />

ของกรุงเทพฯ และเป็น 1 ใน 25 อาคารสูง<br />

จากทั่วโลกที่มีรูปร่างสะดุดตา แต่ในอีกมุม<br />

มองที่ตรงกันข้ามนั้น ตึกช้างเองก็ติดโผ 31<br />

ตึกน่าเกลียดที่สุดในโลก ซึ่งจัดโดยเว็บไซต์<br />

ของ Architectural Digest เมื่อปีที่แล้ว ซึ่ง<br />

แน่นอนว่า ทั้งสื่อและผู้คนโดยทั่วไป ก็มีมุม<br />

มองที่ทั้งชื่นชอบและไม่ชื่นชอบต่ออาคารหลัง<br />

นี้ได้ และอันที่จริงแล้ว ก็รวมไปถึงทุกๆ<br />

อาคาร ซึ่งผู้คนในสังคมก็ล้วนมีการรับรู้ มี<br />

ความคิดเห็นที่แตกต่างกันได้ แต่คุณองอาจ<br />

กลับไม่มีความเห็นต่อประเด็นดังกล่าว และ<br />

ยังมองว่า มันไม่ได้มีคุณค่าอะไรมากนัก<br />

“เพราะไม่ได้ทําให้เมืองน่าอยู่ การที่เมืองจะ<br />

น่าอยู่ จะต้องมีตึกที่สร้างบรรยากาศและ<br />

เอกลักษณ์ของพื้นที่ โดยมีสัดส่วนที่สัมพันธ์<br />

กับมนุษย์และมีพื้นที่สาธารณะที่น่าใช้สอย”<br />

อย่างไรก็ตาม หากมองย้อนกลับไปยังช่วง<br />

เวลาก่อนการสร้างตึกช้างนี้ ในช่วงปี พ.ศ.<br />

2535 คุณองอาจเคยให้ความคิดเห็นและ<br />

ข้อคิดที่น่าคิดตาม ไว้ว่า<br />

“การถกเถียงเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าทําเพื่อเป็นการ<br />

โฆษณาส่งเสริมความคิดซึ่งไม่แน่ว่าอยู่ในพื้น<br />

ฐานที่มั่นคงก็ไม่เป็นสิ่งดี เพราะจะไปเพิ่ม<br />

ความสับสนให้กับวงการสถาปัตยกรรมขึ้น<br />

บางทีเราควรที่จะหยุดพูดและกลับไปสงบใจ<br />

ทํางานโดยไม่คิดแต่เพียงว่าจะต้องสร้างงานที่<br />

แปลกใหม่ไม่เหมือนใคร ดีเด่นที่สุด เพราะ<br />

อย่างที่ได้พูดมาแล้วว่าประวัติศาสตร์มีมานาน<br />

แล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมีคนทํามาแล้วทั้งนั้น”<br />

ในแวดวงสถาปนิกและสื่อนั้น มักเป็นที่รับรู้<br />

กันดีว่า ผลงานการออกแบบยุคหลังๆ ของ<br />

คุณองอาจ หลังจากที่ได้ย้ายไปปักหลักปัก<br />

ฐานที่เชียงใหม่ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2542 นั้น<br />

เริ่มมีความแตกต่างและเปลี่ยนแปลงไปจาก<br />

การออกแบบยุคก่อนหน้านี้อย่างเห็นได้ชัด<br />

ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า งานออกแบบของคุณองอาจ<br />

ในยุคหลังๆ นี้ มีความสงบขึ้น ให้ความสําคัญ<br />

ต่อบริบท สถานที่และให้ความสนใจในเรื่อง<br />

ของสถาปัตยกรรมในท้องถิ่นมากขึ้น หรือ<br />

ตึกช้าง หลังนี้ อาจเป็นจุดเปลี่ยนสําคัญอัน<br />

หนึ่งที่ส่งผลต่อวิธีคิดและการทํางานของคุณ<br />

องอาจ ก็เป็นได้ และไม่ว่าผู้คนจะมีความรู้สึก<br />

หรือความคิดเห็นอย่างไรต่อตึกช้าง แต่มันก็<br />

เป็นอาคารแห่งหนึ่งที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<br />

สร้างภาพจําของอาคารสูงในกรุงเทพฯ ที่<br />

ชัดเจนหลังหนึ่ง อย่างปฏิเสธไม่ได้<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 120<br />

121 Animal


USERS’ OPINION<br />

ตึกช้าง<br />

Elephant Tower<br />

Text: ปวริศ คงทอง / Pawarit Kongthong<br />

Photo: Shutterstock<br />

“พี่เลือกที่จะแต่งงานที่นี่เพราะใน<br />

เวลานั้นมันเดินทางสะดวก<br />

ตำแหน่งที่ตั้งก็อยู่ในจุดที่พอดี<br />

ไม่กลางเมืองจนเกินไป หรือไม่อยู่<br />

นอกเมืองจนเดินทางลำบาก<br />

นอกจากนี้ที่จอดรถก็สะดวก มี<br />

เพียงพอต่อจำนวนแขก ที่ชอบ<br />

มากที่สุดของตึกช้างคือพอ<br />

บอกแขกว่าแต่งงานที่ตึกช้างจะ<br />

ไม่มีใครมาถามซ้าเลยว่าตึกไหน<br />

เพราะทุกคนรู้หมดว่าอันไหนคือ<br />

ตึกช้าง หรือพอมาใกล้ก็คือรู้เลย<br />

ว่าต้องไปไหน ไม่มีการสับสนว่าที่<br />

ไหนคือที่จัดงาน ไม่มีใครโทรมา<br />

ถามทางเลย”<br />

“จริงๆ ชอบตรงที่มันเด่นมาก<br />

เวลาจะนัดเจอใครหรือว่าจะถาม<br />

ตำแหน่งว่าอยู่ไหนคือถ้าตอบว่า<br />

ตึกช้างก็จะอ๋อเลย แต่ที่จะติดอยู่<br />

หน่อยๆ ก็คือเวลาเดินข้างในตึก<br />

เราจะหลงอยู่บ่อยๆ เพราะมันมี<br />

ตั้ง 3 ตึกในตึกเดียว”<br />

จิรวรรณ ชมนก<br />

นักศึกษา/ธุรกิจส่วนตัว<br />

“ข้อดีที่ชัดๆ เลยนะก็คือมันเด่น<br />

มาก เป็นเอกลักษณ์ ลูกค้าชอบ<br />

เพราะมันจำง่าย แต่ข้อที่ลูกค้าติง<br />

กันก็คือลูกค้ามักจะงงว่าไหนหน้า<br />

ไหนหลัง ตึกไหนเป็นตึกไหน”<br />

กรรณิการ์ เพ็ญศรี<br />

เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดเลี้ยง<br />

“เคยเข้าไปใช้ห้องประชุมจัดเลี้ยง<br />

ที่ตึกช้างนะคะ ตอนจะไปที่ตึกช้าง<br />

เนี่ย หาง่ายมาก ไม่มีหลงทางเลย<br />

แต่จากที่จอดรถเข้าไปในตึกปุ๊บ<br />

คือหลงทางอยู่พักนึง เพราะ<br />

อาคารมันแยกเป็นสามส่วน แต่<br />

เราเดินงงๆ อยู่ไม่รู้ว่าห้องประชุม<br />

ไปทางไหน”<br />

วรมน พงศ์สถิตสุนทร<br />

เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์<br />

ศิริพร เบญจพงศ์<br />

ข้าราชการ<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 122<br />

123 Animal


ONE DAY WITH AN ARCHITECT<br />

Extraordinary<br />

Everyday<br />

”จากหนึ ่งวันนั้นๆที่มีความคิดสะสมกันมาเป็ นปี ๆ ทาให้เราได้มีหนึ ่งวัน<br />

ที่เราเริ่มต้นทดลองทาอะไรบางอย่างเพื<br />

่อที่จะพิสูจน์ว่าโมเดลนี้มันจะส่ง<br />

ผลต่อเมือง ชุมชน และย่านอย่างไรได้บ้าง”<br />

Text : ปวริศ คงทอง / Pawarit Kongthong<br />

Photo : Cloud Floor<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 124<br />

125 Animal


จากความคิดที่ต้องการจะพัฒนาเมืองกลั่นกรองเป็นพิพิธภัณฑ์ที่แสดงความธรรมดาอย่างไม่ธรรมดา <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> ได้<br />

รับเกียรติให้สัมภาษณ์ชีวิตในหนึ่งวันของคุณนัฐพงษ์ พัฒนโกศัยหรือคุณฟิวส์ สถาปนิกและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท Cloud<br />

Floor Co., Ltd. ที่จะเล่าให้เราฟังถึงที่มาที่ไปของโครงการที่น่าสนใจอย่างพิพิธภัณฑ์ The Shophouse 1527 ซึ่งเกิด<br />

จากการตกตะกอนความคิดในแต่ละวันของเขา และด้วยความร่วมมือกับ Intregrated Field (IF)<br />

_วันที่ไม่ได้ทางานออฟฟิศจะทาอะไร<br />

ในหนึ่งวันที่ไม่ใช่วันทํางานสิ่งที่ผมคิดตลอด<br />

คือการพัฒนาเมืองและพื้นที่สาธารณะ เรา<br />

พยายามจะคิดว่าสิ่งที่เราเห็น ยังมีอะไรที่เรา<br />

พอจะช่วยพัฒนาเมืองได้บ้างในฐานะนัก<br />

ออกแบบ นี่คือสิ่งที่ผมคิดเสมอไม่ว่าจะหนึ่ง<br />

วันหรือทุกๆวัน คือเราไม่มีบทบาทที่จะ<br />

เปลี่ยนแปลงเมืองในลักษณะผู้ออกกฎหมาย<br />

หรือสามารถที่จะบังคับออกคําสั่งได้ มันเลย<br />

กลายเป็นคําถามว่ามีอะไรที่เราสามารถ<br />

ทําได้บ้าง<br />

_อะไรคือจุดเริ่มต้นของโปรเจค the<br />

shophouse 1527<br />

ก่อนหน้านี้ผมได้ไปเกาะนาโอชิม่าที่ประเทศ<br />

ญี่ปุ่น ซึ่งเขาจะมีงานศิลปะจัดแสดงตามจุด<br />

ต่างๆ ในเกาะ แล้วผมก็มีโอกาสได้ไปเช่า<br />

ตึกแถวตึกหนึ่งที่สามย่านพอดี เลยมาคิดว่า<br />

ในเมืองของเรามันสามารถจะถูกพัฒนา และ<br />

สร้างคุณค่าให้กับพื้นที่โดยรอบได้ด้วยงาน<br />

ศิลปะ ผมคิดว่าถ้าเรามีพื้นที่ที่หนึ่ง การทํา<br />

ธุรกิจร้านกาแฟ โรงแรม ร้านอาหาร อาจ<br />

ไม่ใช่คําตอบที่จะพัฒนาเมืองอย่างที่ตั้งใจไว้<br />

ผมคิดไปถึงว่าถ้าเราสร้างโปรแกรมใหม่ให้กับ<br />

ตึกแถวนั้น ให้มันมี impact มีส่วนร่วมกับ<br />

พื้นที่โดยรอบ เช่นการเล่าเรื่องราวผ่านศิลปะ<br />

ที่มีบริบทของพื้นที่นั้นเป็น content มันน่าจะ<br />

ทําให้ย่านนั้นมีคุณค่ามากขึ้น มันเลยเป็นจุด<br />

เริ่มต้น เป็นที่มาที่ไปของ the shophouse<br />

1527 ว่ามันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 126<br />

127 Animal


RAMA IV<br />

CHULALONGKORN<br />

UNIVERSITY<br />

SAMYAN<br />

MITRTOWN<br />

CHAMCHURI<br />

SQUARE<br />

THE SHOPHOUSE 1527<br />

_จัดแสดงอะไร<br />

เนื้อหาที่จะจัดแสดงมันจะเป็นเรื่องที่เราไป<br />

ศึกษาพื้นที่โดยรอบว่าวิถีชีวิต อาชีพ หรือ<br />

กายภาพของเมืองและสิ่งแวดล้อมบริเวณนั้น<br />

มันมีความพิเศษอย่างไร สิ่งที่เราจะเล่าคือ<br />

ชีวิตทั่วไปซึ่งเรามองในมุมที่ต่างออกไป แล้ว<br />

สุดท้ายเรื่องราวทั้งหมดก็จะกลายเป็น<br />

นิทรรศการที่หมุนเวียนในระยะเวลา 2 ปี<br />

ก่อนที่ตึกแถวนี้จะถูกทุบเป็นพื้นที่พาณิชย<br />

กรรม สุดท้ายจะทําเป็นหนังสือเล่มหนึ่งเพื่อ<br />

แสดงให้เห็นว่าในพื้นที่นี้มีคุณค่า มีชีวิต มี<br />

การอยู่อาศัยแบบไหน เพื่อเป็นข้อมูลให้นัก<br />

ลงทุน นักออกแบบ หรือคนทั่วไปได้เห็น<br />

กายภาพและวิถีชีวิตของย่านนี้<br />

RAMA I<br />

_ความธรรมดาที่ไม่ธรรมดา<br />

Object ที่เราเลือกมองเป็นสิ่งที่คนต้องเจอ<br />

เป็นปรกติ แต่สิ่งที่เราแสดงคือความธรรมดา<br />

ที่ต่างกันในแต่ละเมือง กรุงเทพก็แบบหนึ่ง<br />

จีน ญี่ปุ่น ยุโรป มันอาจจะเป็นอีกแบบหนึ่ง<br />

มันเป็นการศึกษาชีวิตของคนที่อยู่ในเมืองที่<br />

ต่างวัฒนธรรม ภูมิอากาศ และโครงสร้างทาง<br />

สังคมกัน การศึกษานี้จะทําให้เราเข้าใจถึงวิถี<br />

ชีวิต ความต้องการ และค่านิยม ผมมองว่า<br />

มันจะทําให้เราอ่านเมืองออกและสามารถที่จะ<br />

มีเครื่องมือในการพัฒนาเมืองอย่างเข้าใจ<br />

ทั้งหมดมันเป็นเรื่องที่ผมคิดตลอดไม่ว่าจะ<br />

หนึ่งวันหรือกี่วัน มันไม่มีหนึ่งวันที่พิเศษกว่านี้<br />

แล้วจากหนึ่งวันนั้นๆที่มีความคิดสะสมกันมา<br />

เป็นปีๆ ทําให้เราได้มีหนึ่งวันที่เราเริ่มต้น<br />

ทดลองทําอะไรบางอย่างเพื่อที่จะพิสูจน์ว่า<br />

โมเดลนี้มันจะส่งผลต่อเมือง ชุมชน และย่าน<br />

อย่างไรบ้าง<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 128<br />

129 Animal


BOOK<br />

Engeki Quest: แมวธนฯ ผู้ไร้นาม<br />

(No Name Cats in Thonburi)<br />

Text & Photo: วิชิต หอยิ่งสวัสดิ์ / Wichit Horyingsawad<br />

เขียน: จิคาระ ฟูจิวาระ, มิโนริ สุมิโยชิยามะ<br />

และฮารุกะ ชินจิ<br />

ภาษา: ไทย/ อังกฤษ/ ญี่ปุ่น<br />

จัดพิมพ์โดย: ประยูรเพื่อศิลปะ<br />

สนับสนุนโดย: The Saison Foundation<br />

และกองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย ส ำนักงาน<br />

ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย<br />

ทุกวันนี้หลายคนคงเคยชินกับการท่องเที่ยวไป<br />

ยังที่ต่างๆ ด้วยการใช้ google map เป็น<br />

เครื่องนําทาง แต่หนังสือเล่มนี้ ‘Engeki<br />

Quest: แมวธนฯ ผู้ไร้นาม’ จะทําให้คุณได้<br />

สัมผัสรสชาติของการเดินทางท่องเที่ยวที่<br />

แตกต่างออกไปด้วยส่วนผสมของความเป็น<br />

วรรณกรรม เกม และคู่มือสําหรับการเดิน<br />

ทางท่องเที่ยว โดยให้เราในฐานะผู้เล่นเป็น<br />

แมว (ผู้ไร้นาม) ที่กําลังเดินเล่นอยู่ในชุมชน<br />

ในแถวพื้นที่ย่านฝั่งธนบุรี โดยมีเงื่อนไขที่<br />

สําคัญว่าให้ไปคนเดียว ทักทายแมวทุกตัวที่<br />

เจอในระหว่างเดินทางด้วยการร้อง “เมี้ยว~”<br />

และเมื่อพระอาทิตย์ตกดินแล้วอย่าลืมตั้งชื่อ<br />

ให้ตัวเอง<br />

จะเป็นอย่างไรถ้าเราเดินเข้าไปในที่ต่างๆ ผ่านการแนะนํา<br />

โดยปราศจากชื่อถนนและตรอกซอกซอยต่างๆ ในการ<br />

อ้างอิงแบบที่เราคุ้นชินกัน แต่เป็นการเดินทางผ่านเรื่องราว<br />

และองค์ประกอบต่างๆ ของชุมชนผ่านสิ่งละอันพันละน้อย<br />

ที่อยู่รายรอบด้วยรสชาติเรื่องเล่าแบบงานวรรณกรรม “ข้าง<br />

ในระฆัง อยู่ในนี้สักระยะหนึ่งสิ ตรงนี้รู้สึกเหมือนอยู่ในห้วง<br />

จักรวาลเลยเนอะ ตอนนี้เธออยู่ที่ไหน เธอมาจากที่ไหน นี่<br />

อาจจะเป็นข้างในท้องแม่ของเธอ เธอออกมาจากที่นั่นเมื่อ<br />

ไหร่นะ เธอมีความทรงจําอยู่มั้ย โอเค เราจะหยุดพูดละ<br />

สัมผัสความรู้สึกของห้วงอากาศไปนะ และรับรู้ถึงสาย<br />

สัมพันธ์ระหว่างเธอกับโลกนี้เถอะ” นอกจากนั้นหนังสือยัง<br />

พาเราเข้าไปทําความรู้จักกับความทรงจําร่วมผ่านภาพถ่าย<br />

ของผู้คนที่อยู่ในชุมชน “ตรงนี้เป็นโกดังขนาดใหญ่ ดูที่<br />

กําแพงโกดังดีๆ สิ เธออาจจะเห็นภาพถ่ายของผู้หญิงคน<br />

หนึ่ง เธอเป็นใครกันนะ เราได้ยินข่าวลือมาว่าเจ้าของโกดัง<br />

เจอรูปนี้ที่นี่ แต่ไม่มีใครรู้ว่าเธอคือใคร บางทีเธออาจจะไม่ได้<br />

เป็นคนที่มีชื่อเสียงอะไร อาจเป็นแค่คนธรรมดาที่อาศัย<br />

อยู่ฝั่งธนฯ แต่ว่าเมื่อไหร่ล่ะ แล้วเธอยังมีชีวิตอยู่มั้ย เธอ<br />

มีทายาทหรือเปล่า ...อืมม ลึกลับจริงจัง เมี้ยว~” หรือ<br />

บางครั้งก็พาเราไปที่สถานที่ที่มีบรรยากาศแปลกตาน่า<br />

สนใจที่เราไม่เคยรู้จักมาก่อน “โกดังหลายหลังและกลิ่น<br />

หอมๆ ที่จริงสถานที่นี้เป็นโลเกชั่นถ่ายหนังเจมส์ บอนด์<br />

เรื่อง Tomorrow Never Dies ถ้าเธอได้ดูเรื่องนี้เธอจะ<br />

เห็นฉากแอคชั่นสุดๆ แต่อันที่จริงแล้วที่นี่เงียบสงบมาก<br />

อย่างที่เธอเห็นตอนนี้แหละ”<br />

นอกจากเรื่องเล่าและความสนุกสนานที่ได้รับจากการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวเข้าไปในชุมชนแล้ว ทีมงานผู้จัดทํา<br />

หนังสือเล่มนี้ยังได้เตือนเราเอาไว้ว่าคุณอาจจะหลงทางใน<br />

ระหว่างการเล่นได้แต่นั่นก็ไม่ได้แปลกอะไรเพราะมันเป็น<br />

ประสบการณ์ที่เจ๋งมากสําหรับการผจญภัยและขอให้เรา<br />

“สนุกกับการหลงเถอะ!” เมี้ยว~<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 130<br />

131 Animal


VISUAL ESSAY<br />

อาคารเรือนกระจก<br />

สวนสัตว์ดุสิต<br />

Text: ปวริศ คงทอง / Pawarit Kongthong<br />

Photo: <strong>ASA</strong><br />

ที่ตั้งโครงการ: สวนสัตว์ดุสิต ถนนพระราม 5,<br />

เขตดุสิต, กรุงเทพมหานคร<br />

ผู้ออกแบบ: มหาเสวกตรี พระยาบริหารราชมานพ<br />

เจ้าของโครงการ: องค์การสวนสัตว์ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปีที่ก่อสร้าง: รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ<br />

ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7<br />

ปีที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

ดีเด่น: พ.ศ.2545<br />

อาคารเรือนกระจกสวนสัตว์ดุสิต ก่อสร้างเมื่อ<br />

ครั้งที่มีการปรับปรุงสวนสัตว์ดุสิต โดย<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้<br />

มหาเสวกตรี พระยาบริหารราชมานพเป็นผู้<br />

อํานวยการสร้าง เพื่อเป็นเรือนรับรองเจ้านาย<br />

ระดับสูง ต่อมาถูกใช้เป็นอาคารสํานักงานของ<br />

ผู้อํานวยการสวนสัตว์ดุสิต และที่ทําการ<br />

สโมสรผู้รักสวนสัตว์แห่งประเทศไทยตาม<br />

ลําดับ ได้รับพระราชทานเกียรติบัตรรางวัล<br />

อนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นประจําปี<br />

พ.ศ. 2545 จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า<br />

กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม<br />

ราชกุมารี<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 132<br />

133 Animal


<strong>ASA</strong>Crew 16 134<br />

135 Animal


CONTRIBUTORS<br />

บรรณาธิการบริหาร<br />

Managing Editor<br />

ผศ. ดร.กมล จิราพงษ์<br />

Asst. Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

บรรณาธิการ<br />

Editor<br />

ผศ. ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์<br />

Asst. Prof.Supitcha Tovivich, Ph.D.<br />

บรรณาธิการด้านเนื้อหาสถาปัตยกรรม<br />

Architectural Feature Editor<br />

กฤษณะพล วัฒนวันยู<br />

Kisnaphol Wattanawanyoo<br />

บรรณาธิการภาษาอังกฤษ<br />

English Editors<br />

Max Crosbie-Jones<br />

Art Director<br />

วิชิต หอยิ่งสวัสดิ์<br />

Wichit Horyingsawad<br />

Graphic Designer<br />

กฤติกา ประสิทธิ์ศิริวงศ์<br />

Grittiga Prasitsiriwongse<br />

กองบรรณาธิการ<br />

Editorial Staff<br />

ปวริศ คงทอง<br />

Pawarit Kongthong<br />

ประสานงานกองบรรณาธิการ/<br />

พิสูจน์อักษร<br />

Editorial Coordinator/Proofreader<br />

ประทุมทิพย์ แสงจันทร์<br />

Prathumthip Saengchan<br />

นักแปล<br />

Translator<br />

ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

นักเขียนรับเชิญ<br />

Contributors<br />

กิตติ เชาวนะ<br />

Kitti Chaowana<br />

ชยางกูร เกตุพยัคฆ์<br />

Shayangkoon Ketpayak<br />

รศ. ดร. ชาตรี ประกิตนนทการ<br />

Assoc. Chatri Prakitnonthakan, Ph.D.<br />

ณัฐวดี สัตนันท์<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

นวันวัจน์ ยุธานหัส<br />

Nawanwaj Yudhanahas<br />

ปองพล ยุทธรัตน์<br />

Pongpon Yuttharat<br />

ผศ. ดร. รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์<br />

Asst.Prof.Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

วสวัตติ์ รุจิระภูมิ<br />

Wasawat Rujirapoom<br />

อ.ดร. วิญญู อาจรักษา<br />

Winyu Ardrugsa, Ph.D.<br />

สิริพร ด่านสกุล<br />

Siriporn Dansakun<br />

Digital Media Team<br />

SATARANA<br />

หัวหน้าฝ่ายสื่อดิจิทัล<br />

Digital Media Director<br />

สุวิชา พิทักษ์กาญจนกุล<br />

Suwicha Pitakkanchanakul<br />

ประสานงาน<br />

Coordinator<br />

เตชิต จิโรภาสโกศล<br />

Techit Jiropaskosol<br />

การตลาด<br />

Marketing<br />

พิมพ์วิมล วงศ์สมุทร<br />

Pimwimol Wongsamut<br />

พิมพ์โดย<br />

Printed by<br />

เค.ซี.เพรส<br />

K.C.PRESS<br />

รายนาม คณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจําปี 2561-2563<br />

<strong>ASA</strong> Executive Committee<br />

2018-2020<br />

นายกสมาคม<br />

President<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

Ajaphol Dusitnanond<br />

อุปนายก<br />

Vice President<br />

นายเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล<br />

Metee Rasameevijitpisal<br />

อุปนายก<br />

Vice President<br />

ผศ. ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์<br />

Asst.Prof.Thana Chirapiwat, Ph.D.<br />

อุปนายก<br />

Vice President<br />

ดร. วสุ โปษยะนันท์<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

อุปนายก<br />

Vice President<br />

ดร.พินัย สิริเกียรติกุล<br />

Pinai Sirikiatikul, Ph.D.<br />

อุปนายก<br />

Vice President<br />

นายทรงพจน์ สายสืบ<br />

Songpot Saiseub<br />

เลขาธิการ<br />

Secretary General<br />

นายปรีชา นวประภากุล<br />

Preecha Navaprapakul<br />

นายทะเบียน<br />

Honorary Registrar<br />

พ.ต.อ.สักรินทร์ เขียวเซ็น<br />

Pol.Col.Sakarin Khiewsen<br />

เหรัญญิก<br />

Honorary Treasurer<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ<br />

Pirawadee Chooprawat<br />

ปฏิคม<br />

Social Event Director<br />

นายสมชาย เปรมประภาพงษ์<br />

Somchai Premprapapong<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

Public Relations Director<br />

ผศ. ดร.กมล จิราพงษ์<br />

Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

กรรมการกลาง<br />

Executive Committee<br />

นายเทียนทอง กีระนันทน์<br />

Thienthong Kiranandana<br />

กรรมการกลาง<br />

Executive Committee<br />

ดร.รัฐพงศ์ อังกสิทธิ์<br />

Rattapong Angkasith, Ph.D.<br />

กรรมการกลาง<br />

Executive Committee<br />

นายชายแดน เสถียร<br />

Chaidan Satian<br />

กรรมการกลาง<br />

Executive Committee<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

Rungroth Aumkaew<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

Chairman of Northern Region (Lanna)<br />

นายอิศรา อารีรอบ<br />

Issara Areerob<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

Chairman of Northeastern Region (Esan)<br />

นายธนาคม วิมลวัตรเวที<br />

Tanakom Wimolvatvetee<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

Chairman of Southern Region (Taksin)<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร<br />

Nipon Hatsadeevijit<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

248/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนพระรามที่ 9 แขวงบางกะปิ<br />

เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310<br />

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4, Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok, 10310 Thailand<br />

Tel: 0-2319-6555 Fax: 0-2319-6555 press 120 or 0-2319-6419<br />

www.asa.or.th / Facebook : asacrew / Email: asacrewmag@gmail.com<br />

<strong>ASA</strong>Crew 16 136<br />

137 Animal


www.asacrew.asa.or.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!