18.04.2016 Views

SCI Annual Report 2015

Annual Report

Annual Report

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บริษัท เอสซีไอ อีเลคตริค จำกัด (มหาชน)<br />

บริษัท เอสซีไอ อีเลคตริค จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย<br />

(เดิมชื่อ “บริษัท เอส.ซี.ไอ.อีเลคตริค แม็นนิวแฟ็คเชอเรอ จากัด”)<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)<br />

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558<br />

เพื่อความสะดวกของผู้ใช้งบการเงินจึงได้มีการแปลงบการเงินเป็นภาษาอังกฤษจากงบการเงินตามกฎหมายที่จัดทำเป็น<br />

ภาษาไทย<br />

งบการเงินรวมของบริษัท ประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท เอสซีไอ อีเลคตริค จำกัด (มหาชน) (“<strong>SCI</strong>”และบริษัทย่อย<br />

(รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”)<br />

รายละเอียดบริษัทย่อยของบริษัทมีดังนี้<br />

ถือหุ้นในอัตราร้อยละ<br />

ประเทศที่จดทะเบียน 2558 2557 ประเภทกิจการ<br />

ถือหุ้นโดย <strong>SCI</strong><br />

บริษัท อาจีกาว่า แอนด์<br />

เอสซีไอเมทัลเทค จำกัด (“<strong>SCI</strong>MT”)<br />

บริษัท เอสซีไอ โฮลดิ้ง จำกัด<br />

(“<strong>SCI</strong>H”) ประเทศไทย<br />

ถือหุ้นโดย <strong>SCI</strong>H<br />

บริษัท ตาดสะเลน พาวเวอร์ จำกัด<br />

(“TSL”) (ในปี 2557 ถือหุ้นโดย <strong>SCI</strong>)<br />

ประเทศไทย 99.99 99.99<br />

ประเทศไทย 99.99 99.99<br />

สาธารณรัฐ<br />

ประชาธิปไตย<br />

ประชาชนลาว<br />

รายการบัญชีที่สำคัญระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยที่รวมในงบการเงินรวมได้หักกลบลบกันแล้ว<br />

ผลิตเสาไฟฟ้าแรงสูง<br />

เสาสื่อสารโทรคมนาคม และ<br />

โครงสร้างเหล็กชุบกัลป์วาไนส์<br />

ลงทุน<br />

100 100 การผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ<br />

3. นโยบายการบัญชี<br />

นโยบายการบัญชีที่สำคัญซึ่งใช้ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้<br />

3.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน<br />

บริษัทได้นำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2557) และฉบับใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ซึ่งมี<br />

ผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการ<br />

เงินดังกล่าว ได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ<br />

โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยคำและคำศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบัติทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน การนำ<br />

มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบัตินี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินของบริษัท อย่างไร<br />

ก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามที่กล่าวข้างต้นบางฉบับมีการเปลี่ยนแปลงหลักการสำคัญซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้<br />

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการนำเสนองบการเงิน<br />

การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญได้แก่การเพิ่มเติมข้อกำหนดให้กิจการจัดกลุ่มรายการที่แสดงอยู่ใน “กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น” โดย<br />

ใช้เกณฑ์ว่ารายการนั้นสามารถจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกำไรหรือขาดทุนในภายหลังได้หรือไม่มาตรฐานที่ปรับปรุง<br />

นี้ไม่ได้ระบุว่ารายการใดจะแสดงอยู่ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น<br />

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน<br />

มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้กำหนดให้กิจการต้องรับรู้รายการกำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย<br />

ทันทีในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในขณะที่มาตรฐานฉบับเดิมอนุญาตให้กิจการเลือกรับรู้รายการดังกล่าวทันทีในกำไรขาดทุน<br />

หรือในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรู้ในกำไรขาดทุนก็ได้<br />

70

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!