24.02.2016 Views

การใช้งานโปรแกรม Turnitin

Turnitin--slide2016

Turnitin--slide2016

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>การใช้งานโปรแกรม</strong> <strong>Turnitin</strong><br />

Medical Library<br />

Faculty of Medicine,<br />

Chiang Mai University<br />

2016


การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Plagiarism)<br />

• การน าผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเองโดยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง<br />

(wrongful appropriation)<br />

• การขโมย (Purloining) และการตีพิมพ์ข้อความของผู้อื่น หรือการแสดง<br />

ความคิด แนวคิด ของผู้อื่นเสมือนว่าเป็นงานของตนเอง<br />

• การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Academic plagiarism) เกิดขึ้นเมื่อผู้เขียน<br />

คัดลอกค าจากต้นฉบับมากกว่า 4 ค าโดยปราศจากการใช้เครื่องหมาย<br />

อัญประกาศ “ .....” ตรงข้อความที่คัดลอก ท าให้เสมือนว่าเป็นผลงาน<br />

ของตนเอง


รูปแบบต่างๆของ Plagiarism<br />

• 1. Copy and Paste Plagiarism (การคัดลอก-วาง) คือ การน าข้อความจาก<br />

ต้นฉบับมาใช้โดยไม่ใส่เครื่องหมายค าพูดและเขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง<br />

• 2. Word Switch Plagiarism (การเปลี่ยนค า) คือ การน าข้อความต้นฉบับมา<br />

เปลี่ยนบางค าโดยไม่ใส่เครื่องหมายค าพูดและเขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง<br />

• 3. Metaphor Plagiarism (การอุปมา) คือ การน าค าอุปมาของต้นฉบับมาใช้<br />

โดยไม่ได้อุปมาเป็นอย่างอื่น โดยไม่มีการอ้างอิง<br />

• 4. Style Plagiarism (ส านวน) น าข้อความต้นฉบับผู้อื่นมาใช้โดยเรียบเรียง<br />

ประโยคใหม่อันแสดงถึงรูปแบบส านวนเดิม<br />

• 5. Idea Plagiarism (ความคิด) คือ การน าทฤษฎีต่างๆ มาวิเคราะห์ วิจารณ์ ถึง<br />

ความรู้ทั่วไป หากมีผู้อื่นวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีนั้นแล้ว จะต้องอ้างอิง หากไม่<br />

อ้างอิงจะเป็น Plagiarism<br />

(บุษบา มาตระกูล, 2551)


วิธีการหลีกเลี่ยงการกระท า Plagiarism<br />

• เมื่อศึกษาค้นคว้างานของผู้อื่นควรอ้างอิง โดยการอ้างค าพูด (การยกค าพูดมา<br />

เหมือนต้นฉบับ) และใส่เครื่องหมายค าพูดก ากับไว้ (Quoting) หรือการถอดความ<br />

ซึ่งเป็นการปรับประโยค แต่ยังคงไว้ซึ่งแนวคิดเดิม (Paraphrasing) หรือการสรุป<br />

ความเฉพาะประเด็นส าคัญ โดยใช้ค าพูดของตนเอง (Summarizing) เป็นต้น<br />

• การแปลผลงานจากภาษาต่างประเทศ ผู้เขียนไม่ควรแปลประโยคต่อประโยค หาก<br />

ไม่ได้ขออนุญาตจากเจ้าของบทความก่อน เพราะมีกฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองผู้เขียน<br />

ดั้งเดิมไว้ ในกรณีที่ต้องการน าความรู้มาใช้ต้องเรียบเรียงองค์ความรู้นั้นใหม่ด้วย<br />

ส านวนของผู้เขียนเอง รวมทั้งอ้างอิงแหล่งที่มาขององค์ความรู้นั้นอย่างชัดเจน<br />

(จิราภา วิทยาภิรักษ์, 2555)


วิธีการหลีกเลี่ยงการกระท า Plagiarism (ต่อ)<br />

• การน ารูปภาพ แผนภูมิ ตาราง สุนทรพจน์ โคลงกลอน หรือส านวนมาใช้ ต้อง<br />

อ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้ง ควรงดเว้นการท าผลงานชื่อเรื่องและเนื้อหาเดียวกัน<br />

แต่เปลี่ยนตัวเลขในกลุ่มตัวอย่าง หรือผลงานเนื้อหาไม่เหมือนกัน แต่รูปภาพ<br />

ตารางเหมือนกัน ซึ่งถือว่าลอกเลียนแบบ ถึงแม้จะมีผลงานของตนเองก็ตาม<br />

• การน างานวิจัยเรื่องเดียวกัน แต่น าไปตีพิมพ์หลายครั้ง หรือเป็นภาษาไทยและ<br />

ภาษาอังกฤษในวารสารต่างกันต้องมีการแจ้งอย่างชัดเจนว่ามีการตีพิมพ์ใน<br />

วารสารอีกฉบับหนึ่ง หากผลงานเคยตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ และต้องการ<br />

ตีพิมพ์เป็นภาษาไทยอีกครั้ง จะต้องขออนุญาตส านักพิมพ์ก่อน พร้อมทั้งระบุ<br />

ให้ชัดเจนว่าได้ตีพิมพ์แล้วในวารสารใด


เทคนิคหลีกเลี่ยงการกระท า Plagiarism<br />

• 1. ค้นคว้าจากหลายๆ แหล่ง โดยอ่านให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และเขียนผลงาน<br />

ด้วยส านวนตัวเอง<br />

• 2. จดบันทึกย่อทุกครั้งที่อ่านข้อมูล และก ากับแหล่งอ้างอิงทุกครั้ง<br />

• 3. เขียนผลงานด้วยภาษาตนเอง ไม่น าค าของผู้อื่นมาใช้ โดยทิ้งเวลาหลังจาก<br />

อ่านข้อมูลต่างๆ สักพักจึงเขียนงานตัวเอง จะช่วยให้ส านวนที่เขียนเป็นภาษา<br />

ของตนเองอย่างแท้จริง<br />

• 4. เขียนโดยใช้วิธีถอดความ หรือ การสรุปสาระส าคัญแทนการคัดลอก และ<br />

เขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง<br />

• 5. หากจ าเป็นต้องน าข้อความนั้นมาอ้างอิง ควรเขียนอ้างอิงให้ชัดเจน และใส่<br />

เครื่องหมายค าพูดตรงข้อความที่คัดลอก<br />

(บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)


เครื่องมือตรวจสอบ Plagiarism<br />

• ปัจจุบันมีเครื่องมือตรวจสอบการลอกเลียนผลงานวิชาการ ซึ่งช่วยให้ตรวจสอบ<br />

ผลงานได้ด้วยตนเอง เครื่องมือนี้เรียกว่า Plagiarism Detection Tools เช่น<br />

<strong>Turnitin</strong> : http://www.turnitin.com/<br />

Article Checker : http://www.articlechecker.com/<br />

Scan My Essay : http://www.scanmyessay.com/<br />

Plagiarism Detect : http://plagiarism-detect.com/<br />

Plagiarism : http://www.plagiarism.org/<br />

Grammarly : http://www.grammarly.com/<br />

Smallseotools : http://smallseotools.com/plagiarism-checker/


เครื่องมือตรวจสอบ Plagiarism (ต่อ)<br />

ส่วนของไทย ได้แก่<br />

• CopyCat http://www.copy-cat.in.th/<br />

(พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ NECTEC)<br />

• อักขราวิสุทธิ์ http://www.akarawisut.com/ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)<br />

• โปรแกรมตรวจสอบการคัดลอกอื่นๆ สามารถตรวจสอบได้จากลิ้งค์ของห้องสมุด<br />

สตางค์ฯ http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/plagiarism.htm


อักขราวิสุทธิ์ http://www.akarawisut.com/<br />

(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)


CopyCat http://www.copy-cat.in.th/<br />

(พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ NECTEC)<br />

รู้จัก CopyCat<br />

• CopyCat (อ่านว่า ก๊อปปี้-แคท) ย่อมาจาก Copyright, Academic Work<br />

and Thesis Checking System เป็นระบบตรวจสอบการคัดลอกและลอก<br />

เลียนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ เช่น วิทยานิพนธ์ ข้อเสนอโครงการ ผลงาน<br />

วิชาการ เว็บเพจ เป็นต้น สามารถตรวจสอบความคล้ายกันของเอกสารทั้งภาษาไทย<br />

และภาษาอังกฤษ สามารถตรวจสอบกับเอกสารที่จัดเก็บไว้ในคลังข้อมูลหรือเอกสาร<br />

ออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต และแสดงผลเป็นค่าเปอร์เซ็นต์ความคล้ายกันของเอกสาร<br />

พร้อมทั้งระบุแหล่งข้อมูลที่พบและท าแถบสีข้อความในส่วนที่คล้ายกัน


<strong>Turnitin</strong> คืออะไร?<br />

• เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการที่เป็นสิ่งพิมพ์<br />

ออนไลน์ โดยการส่งข้อมูลหรือบทความเข้าสู่ระบบ แล้วระบบจะท าการ<br />

เปรียบเทียบ เพื่อตรวจสอบข้อความซ ้ากับแหล่งข้อมูลที่รองรับในระบบ ใช้<br />

หลักการเทียบซ้ าค าต่อค า (Word by word) ซึ่งระบบแสดงผลการตรวจที่ง่ายต่อ<br />

การแปลผลและน าไปใช้งาน เรียกว่า รายงานต้นฉบับ (Originally report)<br />

• พร้อมทั้งชี้แหล่งข้อมูลที่ปรากฏซ้ า และแสดงรายการดังกล่าวเป็นแถบสีและระดับ<br />

เปอร์เซ็นต์การเทียบซ้ า (Similarity index)


แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบผลงาน<br />

• ข้อมูลมากกว่า 20 หมื่นล้านหน้า ที่เผยแพร่ทั้งปัจจุบันและย้อนหลัง (5 ปี)<br />

บนอินเตอร์เน็ตที่สามารถเข้าถึงได้<br />

• ผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นกลุ่มสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเช่น วารสาร นิตยสารเป็นต้น และฐานข้อมูล<br />

สิ่งพิมพ์ (published works)<br />

- PubMed , GALE OneFile, The COMPLETE EBSCO database , JISC Collections and e-Book<br />

project, McGraw Hill, PubMed Central, Open Archives<br />

- CrossRef - 25+ million journal articles already<br />

ACM, BMJ Publishing Group, Elsevier, IEEE, Nature Publishing Group, Oxford University<br />

Press, Sage, Informa UK (Taylor & Francis), Wiley Blackwell, Springer, Sage, Am. Institute<br />

of Physics,Am. Physical Society, Am. Psychological Society, AAAS<br />

• ผลงานที่ถูกส่งและจัดเก็บในฐานข้อมูลของ <strong>Turnitin</strong> ก่อน (Student papers)


การให้บริการของ <strong>Turnitin</strong><br />

• แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ OriginalityCheck, GradeMark และ PeerMark ดังนี้


Browser ที่รองรับการใช้โปรแกรม <strong>Turnitin</strong><br />

• Firefox v.15++<br />

• Chrome v.23++<br />

• Internet Explorer v.8 or v.9++<br />

• Safari v.5++


การเข้าใช้โปรแกรม <strong>Turnitin</strong><br />

สามารถเข้าใช้ผ่าน Medical Database ในหน้าเว็บไซต์ห้องสมุด<br />

คณะแพทยศาสตร์ ตามลิ้งค์นี้ http://www.med.cmu.ac.th/library/


หรือเข้าใช้งานได้โดยตรงในเว็บไซต์ http://www.turnitin.com/en_us<br />

ส าหรับเลือกภาษา – เลือกเป็น English หรือ English(United States) เท่านั้น


ส าหรับเลือกภาษา – เลือกเป็น English(United States& Canada) เท่านั้น


การเข้าใช้โปรแกรม <strong>Turnitin</strong><br />

สร้างบัญชีผู้ใช้<br />

เข้าสู่ระบบ


หลักการท างานของโปรแกรม <strong>Turnitin</strong><br />

ท าหน้าที่ส่งผลงาน (Submit paper) ซึ่งนักเรียนต้องมี Class ID และ<br />

Class Enrollment Password ที่ได้จากผู้สอน (Instructor)<br />

ท าหน้าที่ 2 ส่วน คือ Adding class, Add Assignment<br />

และจัดการผลงานของผู้เรียนได้<br />

หรือ TA เป็นผู้ช่วยสอนของ Instructor สามารถน ารายชื่อผู้ใช้เข้าไปในระบบ<br />

พร้อมแจ้ง Class ID และ Class Enrollment Password ให้กับผู้เรียน


การใช้งาน <strong>Turnitin</strong><br />

ในสถานะผู้สอน<br />

(Instructor)


หลัก<strong>การใช้งานโปรแกรม</strong> <strong>Turnitin</strong><br />

ส าหรับ Instructor<br />

1. ผู้ใช้บริการสามารถขอรับ Account ID และ Join Password ของสถาบัน ได้ที่ห้องสมุด<br />

คณะแพทยศาสตร์ หรือสถาบันของตน<br />

2. การเข้าใช้โปรแกรม<br />

3. การสร้างบัญชีผู้ใช้ เพื่อลงทะเบียน หรือเข้าสู่ระบบ<br />

4. การสร้างห้องเรียน (Add Class)<br />

5. การสร้างรายวิชาหรือการบ้าน (Add Assignment )<br />

6. การส่งผลงานเข้าสู่ระบบ ( Submit paper)<br />

7. การอ่านผลงานตรวจสอบการคัดลอกผลงาน เรียกว่า รายงานต้นฉบับ (Originally report)<br />

8. การบันทึกผลการตรวจสอบ


สร้างบัญชีผู้ใช้ส าหรับผู้สอน<br />

(Instructor)<br />

- การก าหนดรหัสผ่าน จะต้องก าหนดรหัสผ่าน<br />

โดยมีความยาว 6 – 12 ตัวอักษร จะต้อง<br />

ประกอบด้วยทั้งตัวเลขและตัวอักษร และ<br />

พิมพ์รหัสผ่านซ้ าอีกครั้งเพื่อยืนยัน<br />

- การระบุค าถามและค าตอบเพื่อมาตรการ<br />

ความปลอดภัยซึ่งจะใช้ในกรณีลืมรหัสผ่าน<br />

- จากนั้นยอมรับข้อตกลง และสร้างบัญชีผู้ใช้


ตัวอย่างการกรอกรายละเอียดการลงทะเบียนแบบผู้สอน (Instructor)


เมื่อสร้างบัญชีผู้ใช้ส าเร็จจะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ<br />

ผู้ใช้ที่เป็นผู้สอนสามารถมีได้ 2 สถานะ คือ ผู้สอน (Instructor) และ นักศึกษา<br />

(Student) ซึ่งหากต้องการสลับสถานะให้คลิกเลือกได้จากแถบเมนู ดังภาพ<br />

แสดงหรือเปลี่ยนประเภทผู้ใช้


การสร้างห้องเรียน (Add Class)


การสร้างห้องเรียน (Add Class)<br />

1. หลักจากคลิกปุ่ม Add Class เพื่อสร้างห้องเรียนแล้ว จะปรากฏหน้าจอให้กรอกรายละเอียดของ<br />

ห้องเรียน ดังนี้<br />

2. ในช่องของ Class type เลือกประเภทห้องเรียน<br />

- Standard Class ส าหรับห้องเรียนเดียว ไม่มี Section ย่อย<br />

- Master Class ส าหรับสร้าง Section ย่อย และมีผู้ช่วยสอน (TA)<br />

3. จากนั้นกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับห้องเรียนแล้วคลิกปุ่ม Submit<br />

ประเภทห้องเรียน<br />

วันเริ่มต้นห้องเรียน<br />

วันปิดห้องเรียน<br />

ชื่อห้องเรียน<br />

รหัสผ่าน (ก าหนดเอง)<br />

ขอบเขตวิชา<br />

ระดับของผู้สมัคร


ตัวอย่างการสร้างห้องเรียน


จะปรากฏหน้าต่าง pop-up แสดงรายละเอียด Class ID และ Enrollment password<br />

ประจ าห้องเรียน ซึ่งผู้สอนสามารถน าไปแจ้งแก่นักศึกษาเพื่อให้สามารถเข้ามาส่งงานที่<br />

ห้องเรียนนี้ได้ คลิกปุ่ม Continue เพื่อปิดหน้าต่าง pop-up<br />

และจะพบกับห้องเรียนที่ได้สร้างไว้


ประเภทห้องเรียน<br />

รหัส<br />

ห้องเรียน<br />

ชื่อห้องเรียน สถานะห้องเรียน<br />

สถิติผลงานในห้องเรียน<br />

ตั้งค่าห้องเรียน<br />

คัดลอกการสร้างห้องเรียน<br />

รายละเอียดต่างๆของห้องเรียน<br />

ลบห้องเรียน


การสร้างรายวิชา : Assignment<br />

คลิกเข้าไปในห้องเรียนที่สร้าง


การสร้างรายวิชา : Assignment<br />

จะปรากฏหน้าจอใหม่ คลิกที่ Add Assignment


วันประกาศคะแนน


ตัวอย่างการสร้างรายวิชา<br />

คลิกที่ Optional settings เพื่อตั้งค่าเพิ่มเติม


คลิกที่<br />

Optional settings<br />

เพื่อตั้งค่าเพิ่มเติม ดังนี้<br />

** Generate Originality reports for<br />

student submissions?<br />

ก าหนดเงื่อนไขการสร้างรายงาน<br />

(Originality report)<br />

**1. ส่งไฟล์งานได้ครั้งเดียวและสร้าง<br />

รายงานทันที<br />

2. ส่งไฟล์งานได้มากกว่า 1 ครั้งจนกว่า<br />

จะครบวันก าหนดส่ง และรายงานจะ<br />

สร้างหลังจากที่ส่งไฟล์งานครั้งที่ 2 อีก<br />

24 ชม.<br />

3. รายงานจะสร้างในวันครบก าหนดส่ง


Submit paper to:<br />

ก าหนดการตั้งค่าการจัดเก็บไฟล์งานที่ส่งตรวจ<br />

1. จัดเก็บไฟล์ที่ส่งตรวจไว้ในคลังของ <strong>Turnitin</strong><br />

2. ไม่จัดเก็บไฟล์งาน<br />

** เลือก no repository (2)<br />

Search option:<br />

เลือกตรวจเปรียบการคัดลอกไฟล์งานที่ส่งกับแหล่งไหนบ้าง<br />

1. กับ 2. จากคลังข้อมูลของ <strong>Turnitin</strong><br />

3. จากข้อมูลปัจจุบันและย้อนหลังบนอินเตอร์เน็ต (5 ปี)<br />

4. จากสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆของส าพักพิมพ์ เช่น จาก Pubmed,<br />

EBSCOBMJ Publishing Group, Elsevier, IEEE, Oxford University Press, Sage,<br />

Informa UK (Taylor & Francis), Wiley Blackwell, Springer เป็นต้น


ตัวอย่าง ห้องเรียนที่สร้างการบ้านเรียบร้อยแล้ว<br />

ชื่อห้องเรียน<br />

ชื่อห้องวิชาและรายละเอียดต่างๆ


การสร้างการบ้าน : Assignment<br />

ส าหรับการสร้างครั้งที่ 2 คลิกเข้าไปในห้องเรียนที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าจอ<br />

คลิกที่ Add Assignment<br />

เพื่อเริ่มสร้างการบ้าน เลือก Paper Assignment เพื่อสร้างการบ้านชิ้นใหม่


การส่งผลงานเข้าตรวจสอบในระบบ (Submit paper)<br />

คลิกที่ More action แล้วเลือก Submit paper<br />

1. Edit setting - แก้ไขการตั้งค่า<br />

2. Submit – ส่งผลงานเข้าตรวจสอบในระบบ<br />

3. Delete assignment - ลบวิชานี้


ข้อควรระวัง !!!<br />

ไฟล์ที่จะ upload ได้ ต้องขนาดไม่เกิน 20 MB จ านวนค า 20 ค าขึ้นไป จ านวนหน้าไม่เกิน<br />

400 หน้า เป็นไฟล์ Word, Power Point, WordPerfect, PostScript, PDF, HTML, RTF,<br />

Plain text และต้องไม่ติด password หรือเป็น hidden file<br />

- ไฟล์ภาษาไทย ควรบันทึกเป็นนามสกุลไฟล์ RTF ใน Microsoft word หรือบันทึกเป็น<br />

รูปแบบไฟล์ PDF โดยแนะน าให้ใช้โปรแกรมของ Adobe ส าหรับแปลงไฟล์<br />

- งานที่เป็นภาษาอังกฤษ ประโยคต้องมี 3 ค าขึ้นไป ระบบถึงจะตรวจโดยดูจากจุด Full<br />

Stop และต้องมี 20 ค าขึ้นไป<br />

- ไฟล์ PDF ต้องไม่ล็อคเป็นแบบ Read Only<br />

- ไม่ใช่ไฟล์รูปภาพ ไม่ใช้ไฟล์สแกน หากต้องการตรวจ จะต้องใช้โปรแกรม OCR มาท า<br />

การแปลงไฟล์ภาพให้เป็นตัวอักษร<br />

- ระยะเวลาในการประมวลผลขึ้นอยู่กับจ านวนหน้า และรายละเอียดต่างๆ ซึ่งไฟล์<br />

ภาษาไทยอาจใช้ระยะเวลาในการประมวลผลนานกว่าปกติ


จะปรากฏหน้าจอ ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้


ตัวอย่างการส่งงานแบบ Single File Upload


ระบบก าลังประมวลผล


ยืนยันการส่งผลงาน เลือก Confirm


การส่งผลงานส าเร็จแล้ว เลือก Confirm เลือก Go to assignment<br />

inbox เพื่อกลับสู่หน้า assignment


ผล – สามารถตรวจสอบการคัดลอกได้<br />

คลิกที่เปอร์เซ็นต์เพื่อดูผลการตรวจสอบ


สีและเปอร์เซนต์พบข้อความซ ้า<br />

• สีแดง 75 – 100%<br />

• สีส้ม 50 – 74%<br />

• สีเหลือง 25 – 49%<br />

• สีเขียว 1 – 24%<br />

• สีน้ าเงิน ไม่พบข้อความซ้ า


ผลการตรวจสอบ การออกรายงานต้นฉบับ (Originally report)<br />

เปอร์เซ็นต์ของการคัดลอกเนื้อหาของไฟล์ที่ส่งตรวจ<br />

ตัวเลขและค า หรือ<br />

ข้อความที่เน้นเป็นสีต่างๆ<br />

แสดงถึงความเหมือนของ<br />

ข้อความของไฟล์งานกับ<br />

แหล่งข้อมูลนั้น<br />

แสดงรายการ<br />

แหล่งข้อมูลที่<br />

ไฟล์งานมีจ านวน<br />

ค า ประโยค<br />

เนื้อหา ที่ซ้ ากัน<br />

หรือตรงกันเป็น<br />

เปอร์เซ็นต์ในแต่<br />

ละแหล่งข้อมูล


Exclude Source: การกรองผลเทียบซ้ า<br />

• เนื่องจากการตรวจสอบด้วย <strong>Turnitin</strong> เป็นเพียงการตรวจสอบ “ความเหมือน” ของข้อความ<br />

เทียบซ้ าแบบค าต่อค า ท าให้ข้อความบางข้อความ ยกตัวอย่างเช่น ชื่อเฉพาะ ชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อ<br />

ปริญญา หรืออื่นๆ ที่มีในแหล่งตรวจสอบของระบบก็จะนับเป็นการซ้ า อย่างไรก็ตามสามารถ<br />

เลือกกรองผลค้นให้ยกเว้นคาเหล่านั้นได้ ดังนี้


1. เอาเม้าส์ไปชี้ที่เปอร์เซนต์ Match Overview ที่ต้องการจะกรองออก<br />

จะปรากฏสัญลักษณ์ ให้คลิก


2. หลังจากนั้นระบบจะแสดงข้อความที่ซ้ านั้นเป็นแถบสีพร้อมบอกแหล่งที่มา ให้เลือกที่ค าสั่ง<br />

Exclude Source


3. จะปรากฏ Check box ให้เลือกว่าต้องการกรองเอาแหล่งข้อมูลใดออกบ้าง จากนั้นคลิกค าสั่ง<br />

Exclude


4. จากนั้นจะพบว่า ส่วนที่ซ้ าจะหายไป


สามารถเลือกดูแบบ Text-Only Report ได้โดยคลิกค าสั่งมุมล่างขวา ดังนี้<br />

จะปรากฏหน้าจอแสดงรายงานต้นฉบับ ดังภาพ


มุมมองการดูผลแบบสรุป


การบันทึกรายงานหรือสั่งพิมพ์รายงานต้นฉบับ<br />

หากต้องการบันทึกรายงานในรูปแบบเอกสารที่พร้อมส าหรับการ<br />

สั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ให้คลิกที่ปุ่มสั่งพิมพ์รายงานที่มุมด้านล่างซ้าย<br />

เลือกค าสั่ง Download PDF of current view for printing


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

หน้าปก


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

เนื้อหา


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

สรุปผล


การบันทึกรายงานแบบ<br />

Download PDF of Digital Receipt for printing


ตัวอย่างผล Download PDF of Digital Receipt for printing


Any Questions?


การใช้งาน <strong>Turnitin</strong><br />

ในสถานะนักศึกษา<br />

(Student)


การใช้งานในสถานะนักศึกษา (student)<br />

ขั้นตอนการใช้งาน <strong>Turnitin</strong> (Students)<br />

1. การใช้งานครั้งแรกให้ท าการลงทะเบียนก่อน<br />

ส่วนการใช้งานครั้งต่อไป ใช้ e-mail และ password ที่ก าหนดเมื่อตอน<br />

ลงทะเบียนในการเข้าใช้<br />

2. ส่งผลงาน หรือบทความวิชาการเข้าไปตรวจ (Submit Paper)<br />

3. ดูผลการตรวจและน าผลการตรวจให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณา


การลงทะเบียนใช้งาน ในสถานะนักศึกษา (student)<br />

การลงทะเบียนใช้งาน ในสถานะนักศึกษา คลิกเลือกสถานะผู้ใช้เป็น student


กรอก Class ID/ Enrollment password ที่ต้องการเข้าร่วม<br />

โดยพิมพ์ Class ID ที่ได้รับจากอาจารย์ผู้สอนประจ าวิชา<br />

พิมพ์รหัส Enrollment passwordที่ได้รับ<br />

จากนั้นก็กรอกรายละเอียดต่างๆลงไป


1. กรอก Class ID/ Enrollment password<br />

ที่ต้องการเข้าร่วม Class<br />

2. พิมพ์ชื่อ (first name) และนามสกุล<br />

(last name)<br />

3. พิมพ์ e-mail address<br />

4. ก าหนดรหัสผ่าน (enter your password)<br />

และยืนยัน รหัสผ่าน (confirm password)<br />

- รหัสผ่าน มีจ านวน 6-12 ตัว เป็นตัวเลข<br />

และตัวอักษรผสมกัน<br />

5. เลือกค าถาม(ใช้ในกรณีลืมรหัสผ่าน)<br />

และพิมพ์ตอบของค าถาม<br />

6. คลิก I agree create profile


เมื่อสร้างบัญชีผู้ใช้ส าเร็จ ระบบจะท าการล็อคอินผู้ใช้เข้าสู่ระบบ <strong>Turnitin</strong><br />

โดยอัตโนมัติซึ่งจะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ


การส่งผลงานเข้าตรวจสอบการคัดลอกในระบบ <strong>Turnitin</strong><br />

1. จากหน้า Home ของนักศึกษา คลิกที่ชื่อคลาส (รายวิชา )<br />

ที่ต้องการส่งผลงาน ระบบจะเข้าสู่หน้า Assignment<br />

2. หน้า ให้เลือกกดปุ่ม Submit ตรง Assignment ที่ต้องการส่งผลงาน การส่งงาน<br />

ครั้งแรก คลิกที่ปุ่ม Submit การส่งงานครั้งต่อไป คลิกที่ปุ่ม Resubmit<br />

(เงื่อนไขการส่งงานครั้งต่อไปขึ้นอยู่กับการตั้งค่า Assignment ของผู้สอน)


1. เลือกวิธีการส่งงาน<br />

ขั้นตอนการ Submit paper<br />

- single file upload ส่งงานครั้งละหนึ่งไฟล์<br />

- cut & paste upload ส่งงานโดยคัดลอกและวาง<br />

เลือกแบบ single file upload ใส่หัวข้อของงาน แล้วคลิก Choose from<br />

this computer เพื่อค้นหาไฟล์จากเครื่องคอมพิวเตอร์<br />

เลือกแบบ cut & paste upload ใส่หัวข้อของงาน Copy ส่วนที่ต้องการ<br />

ตรวจมา Paste ในช่องนั้น<br />

2. คลิก upload


รูปแบบการ Submit paper


ข้อควรระวัง !!!<br />

ไฟล์ที่จะ upload ได้ ต้องขนาดไม่เกิน 20 MB จ านวนค า 20 ค าขึ้นไป จ านวนหน้าไม่เกิน<br />

400 หน้า เป็นไฟล์ Word, Power Point, WordPerfect, PostScript, PDF, HTML, RTF,<br />

Plain text และต้องไม่ติด password หรือเป็น hidden file<br />

- ไฟล์ภาษาไทย ควรบันทึกเป็นนามสกุลไฟล์ RTF ใน Microsoft word หรือบันทึกเป็น<br />

รูปแบบไฟล์ PDF โดยแนะน าให้ใช้โปรแกรมของ Adobe ส าหรับแปลงไฟล์<br />

- งานที่เป็นภาษาอังกฤษ ประโยคต้องมี 3 ค าขึ้นไป ระบบถึงจะตรวจโดยดูจากจุด Full<br />

Stop และต้องมี 20 ค าขึ้นไป<br />

- ไฟล์ PDF ต้องไม่ล็อคเป็นแบบ Read Only<br />

- ไม่ใช่ไฟล์รูปภาพ ไม่ใช้ไฟล์สแกน หากต้องการตรวจ จะต้องใช้โปรแกรม OCR มาท า<br />

การแปลงไฟล์ภาพให้เป็นตัวอักษร<br />

- ระยะเวลาในการประมวลผลขึ้นอยู่กับจ านวนหน้า และรายละเอียดต่างๆ ซึ่งไฟล์<br />

ภาษาไทยอาจใช้ระยะเวลาในการประมวลผลนานกว่าปกติ


ตัวอย่างการ Submit paper แบบ Single file upload<br />

คลิกปุ่ม “Choose from this computer” ในกรณีต้องการอัพโหลดไฟล์จากเครื่อง<br />

คอมพิวเตอร์ พิมพ์ชื่อผลงานในช่อง “Submission title” แล้วคลิกปุ่ม Upload


• หลังจากคลิกปุ่ม Upload ไฟล์เข้าไปในระบบแล้ว จะปรากฏหน้าจอแสดง<br />

รายละเอียดคร่าวๆ ของไฟล์ ให้คลิกปุ่ม Confirm เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป ซึ่ง<br />

ในขั้นตอนนี้อาจต้องรอประมวลผลข้อมูลสักระยะหนึ่ง


ขั้นตอนต่อไปเป็นการ Preview Paper คลิก Return to assignment list


การส่งงานแบบ cut & paste<br />

1. เลือกการส่งงานแบบ cut & paste upload<br />

2. ใส่หัวข้อของงาน<br />

3. Copy ส่วนที่ต้องการตรวจมา Paste<br />

4. คลิก upload


ตัวอย่างการส่งงานแบบ cut & paste<br />

ระบบจะแสดงข้อความว่า submit<br />

เรียบร้อยแล้ว จากนั้น คลิก Go to<br />

portfolio


ผลการตรวจสอบรายงานต้นฉบับ<br />

เมื่อกลับมาที่หน้า Assignment ระดับจะแสดงระดับเปอร์เซ็นต์การคัดลอกผลงานใน<br />

Assignmentที่ผู้ใช้อัพโหลดผลงานเรียบร้อยแล้ว<br />

- หากต้องการดูรายงานต้นฉบับให้คลิกที่แถบแสดงระดับเปอร์เซ็นต์การคัดลอกผลงาน<br />

- ถ้าใต้ค าว่า Similarity แสดงค าว่า Processing แสดงว่ายังประมวลผลการตรวจยังไม่<br />

เสร็จ


สีและเปอร์เซนต์พบข้อความซ ้า<br />

• สีแดง 75 – 100%<br />

• สีส้ม 50 – 74%<br />

• สีเหลือง 25 – 49%<br />

• สีเขียว 1 – 24%<br />

• สีน้ าเงิน ไม่พบข้อความซ้ า


ผลการตรวจสอบ การออกรายงานต้นฉบับ (Originally report)<br />

เปอร์เซ็นต์ของการคัดลอกเนื้อหาของไฟล์ที่ส่งตรวจ<br />

ตัวเลขและค า หรือ<br />

ข้อความที่เน้นเป็นสีต่างๆ<br />

แสดงถึงความเหมือนของ<br />

ข้อความของไฟล์งานกับ<br />

แหล่งข้อมูลนั้น<br />

แสดงรายการ<br />

แหล่งข้อมูลที่<br />

ไฟล์งานมีจ านวน<br />

ค า ประโยค<br />

เนื้อหา ที่ซ้ ากัน<br />

หรือตรงกันเป็น<br />

เปอร์เซ็นต์ในแต่<br />

ละแหล่งข้อมูล


สามารถเลือกดูแบบ Text-Only Report ได้โดยคลิกค าสั่งมุมล่างขวา ดังนี้<br />

จะปรากฏหน้าจอแสดงรายงานต้นฉบับ ดังภาพ


มุมมองการดูผลแบบสรุป


ตัวอย่างผลการ Exclude


มุมมองการดูผลการตรวจสอบ


การบันทึกรายงานหรือสั่งพิมพ์รายงานต้นฉบับ<br />

หากต้องการบันทึกรายงานในรูปแบบเอกสารที่พร้อมส าหรับการ<br />

สั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ให้คลิกที่ปุ่มสั่งพิมพ์รายงานที่มุมด้านล่างซ้าย<br />

เลือกค าสั่ง Download PDF of current view for printing


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

หน้าปก


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

เนื้อหา


ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ<br />

สรุปผล


การบันทึกรายงานแบบ<br />

Download PDF of Digital Receipt for printing


ตัวอย่างผล Download PDF of Digital Receipt for printing


การบันทึกรายงานแบบ Submitted File


ตัวอย่างการบันทึกไฟล์แบบ Submitted File<br />

-- ไฟล์งานต้นฉบับก่อนการตรวจสอบ


Any Questions?


References<br />

จิราภา วิทยาภิรักษ. (2555). การลอกเลียนงานวิชาการและวรรณกรรมโดยมิชอบ (Plagiarism). ค้นเมื่อ 12<br />

มีนาคม 2558, จาก http://www.inded.kmitl.ac.th/journal/images/stories/year11_3/vol11_03_a4.pdf<br />

บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2555). สิ่งพิมพ์ วิทยานิพนธ ์การคัดลอกผลงานวิจัย “ประเด็นส าคัญ<br />

ที่ควรรู้”. ค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2558, จาก http://www.grad.chula.ac.th/ download/files/Plagiarism.pdf<br />

บุษบา มาตระกูล. (2551). Plagariasm โจรกรรมทางวรรณกรรม . ค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2558, จาก<br />

http://sci.bsru.ac.th/e-magazine/8-2 /chapter-2.pdf<br />

รักชนก ข าประถม และสุรศักดิ์ บุตรศรี. (2557). สาธิตการใช้โปรแกรม <strong>Turnitin</strong> ส าหรับนักศึกษาของ<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล. ค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2557, จาก www.li.mahidol.ac.th/form/turnitin-student.pdf<br />

รักเผ่า เทพปัน. (2557). คู่มือการใช้งาน <strong>Turnitin</strong> (ส าหรับนักศึกษา). ค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2557, จาก<br />

http://www.mfu.ac.th/center/lib/download/e-resource/PDF/<strong>Turnitin</strong>-Manual%20for%20student.pdf


References<br />

สุนันทา วงศ์ชาลี. (2553). <strong>Turnitin</strong>: เครื่องมือตรวจสอบการคัดลอกผลงาน(Plagiarism). ค้นเมื่อ 21 มิถุนายน<br />

2557, จาก www.car.chula.ac.th/culib/v26y2553/no2/ar02v26n2.pdf<br />

ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2555). คู่มือการใช้งาน <strong>Turnitin</strong> ในการตรวจสอบ<br />

ชิ้นงานแบบออนไลน์. ค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2557, จาก<br />

http://kmcorner.lib.cmu.ac.th/kmgroup/neardr/neadr55/<strong>Turnitin</strong>-Handbook.pdf<br />

ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข. (2556). บรรณารกษั ์ชวนรู้ : ข้อควรระวังกับการคดลอกผลงานทางวิชาการ (๑).<br />

ค้นเมื่อ ค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2558, จาก http://stanglibrary.wordpress.com/2013/08/23/ 3677/<br />

ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข. (2557). Plagiarism : โจรกรรมทางวรรณกรรม / การขโมยคัดลอกผลงานของผู้อื่น.<br />

ค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2558, จาก http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/plagiarism.htm


Thank for Presentation<br />

Medical Library<br />

Faculty of Medicine,<br />

Chiang Mai University<br />

2016

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!