Better Health 27

The magazine for patients and friends of Bumrungrad International Hospital, Thailand. The magazine for patients and friends of Bumrungrad International Hospital, Thailand.

23.11.2015 Views

W e l c o m e<br />

ก<br />

ลับมาพบกันอีกครั้งนะครับ สำหรับ<br />

นิตยสารสำหรับคุณผูมีอุปการคุณของเรา โรงพยาบาล<br />

บำรุงราษฎร อินเตอรเนชั่นแนล<br />

ตองยอมรับวาอาการปวดขอเปนอีกหนึ่งปญหาของสุขภาพที่พบ<br />

ไดบอย ทั้งยังเปนอุปสรรคสำคัญตอการดำเนินชีวิตไมวาจะอยูใน<br />

วัยใด บทความของเราในหนา 4 กลาวถึงภาวะปวดขออันมีสาเหตุ<br />

สำคัญมาจากการอักเสบเนื่องดวยปจจัยหลายประการ ซึ่งการรักษา<br />

อาการปวดขอใหไดผลดีก็จำเปนที่จะตองรักษากันที่ตนตอที่กอ<br />

ใหเกิดการอักเสบ<br />

หลายครั้งที่ผูปวยมองวาอาการปวดขอเปนเรื่องเล็ก ประวิงเวลา<br />

ใหเนิ่นชาออกไปจนขอกระดูกเสื่อมสภาพลง สรางความทรมานให<br />

ผูปวยเปนอันมากจนหลายคนเลือกที่จะอยูนิ่ง ๆ งดกิจกรรมตาง ๆ<br />

ที่เคยทำ บทความของเราในหนา 9 วาดวยการผาตัดเปลี่ยนขอเทียม<br />

อาจเปนทางเลือกหนึ่งที่ชวยใหคุณกลับมาใชชีวิตในแบบที่ตองการ<br />

ไดอีกครั้ง<br />

น้ำหนักตัวที่มากเกินกวาปกติ สรางภาระอันใหญหลวงใหกับขอ<br />

โดยเฉพาะขอเขาและขอสะโพกและเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหเกิด<br />

ภาวะขอเสื่อมกอนวัยอันควร การลดน้ำหนักใหอยูในระดับที่เหมาะสม<br />

จึงเปนอีกหนทางหนึ่งในการยืดอายุการใชงานของกระดูกขอ พลิกไป<br />

หนา 16 ดูวาการลดน้ำหนักอยางไดผลนั้นตองอาศัยอะไรบาง<br />

และเชนเคย หากคุณมีความเห็น ขอเสนอแนะ หรือคำติชม<br />

กรุณาสงเขามาที่ betterhealth@bumrungrad.com เรายินดี<br />

นอมรับดวยความขอบคุณ สุดทายนี้ขอใหทุกทานมีสุขภาพดีโดย<br />

ทั่วกันครับ<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

นพ. นำ ตันธุวนิตย<br />

ผูอำนวยการดานการแพทย<br />

<br />

<br />

นิตยสาร เปนนิตยสารรายสามเดือนของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เพื่อแจกจายเปนการ<br />

ภายใน จัดทำและจัดพิมพโดย บริษัท โอกินส แอนด สโตน จำกัด เลขที่ 16 อโศกคอรท หอง 2A ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก)<br />

แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ โทร. 0 2261 1211 www.oakinsandstone.com<br />

2013 ขอเขียนและรูปภาพทุกชิ้นในนิตยสารนี้เปนลิขสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) หามพิมพซ้ำ<br />

หรือกระทำการใด ๆ ที่เปนการละเมิดลิขสิทธิ์เวนแตจะไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจาก บริษัท โรงพยาบาล<br />

บำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) โทร: 0 2667 1000<br />

ขอความในเนื้อที่โฆษณาของนิตยสารฉบับนี้ที่มิไดเปนของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) ถือเปนความเห็นสวนตัว<br />

ของเจาของผลิตภัณฑและบริการ โรงพยาบาลบำรุงราษฎรฯ ไมมีเจตนาใหการรับรองคุณภาพสินคา บริการ หรือขอความ<br />

ที่ปรากฏแตอยางใด<br />

ติดตอโรงพยาบาลบำรุงราษฎร อินเตอรเนชั่นแนล<br />

โทรศัพท: 0 2667 1000<br />

โทรสาร: 0 2667 2525<br />

นัดแพทย: 0 2667 1555<br />

เว็บไซต: www.bumrungrad.com


ปวดขอ<br />

อยารอนาน<br />

<br />

<br />

<br />

เ<br />

ชาวันนี้ อาจมีใครหลายคนที่ตื่นขึ้นมาพรอมกับความรูสึกสดชื่น<br />

จากการไดพักผอน จนกระทั่งนาทีที่จะลุกจากเตียงนั่นเอง ความรูสึก<br />

ปวดบริเวณขอ โดยเฉพาะขอเขาและขอสะโพกก็แลนเขามา<br />

แบบเฉียบพลัน<br />

เมื่อรูสึกปวดขอ คนสวนใหญมักบรรเทาความกังวลใจดวยการให<br />

เหตุผลกับตัวเองวา “สงสัยเพราะเราอายุมากขึ้น เรื่องปวดขอก็นาจะเกิดขึ้น<br />

บางเปนธรรมดา” จนเวลาผานไป<br />

เปนป ๆ อาการปวดขอกลายเปน<br />

สวนหนึ่งของชีวิต เมื่อมีอาการก็<br />

รับประทานยาบรรเทา กิจกรรม<br />

อะไรที่ทำแลวปวดจนทนไมไหว<br />

ก็งดไปและเรียนรูที่จะปรับตัว<br />

อยูกับมัน หากเรื่องทำนองนี้<br />

ฟงดูคุน ๆ ฉบับ<br />

เรื่องขอ มีคำตอบจาก นพ. วศิน<br />

กุลสมบูรณ แพทยเวชศาสตร<br />

ฟนฟู มาฝากคุณ<br />

“<br />

ผิวกระดูกออนถูกทำลาย<br />

ภาวะขอเสื่อมเกิดขึ้นเมื่อ<br />

โดยอาจมีการลอกหลุด ลุด<br />

หรือบางลงจนขอไมอาจ อาจ<br />

เคลื่อนไหวไดอยาง<br />

คลองแคลว และเต็ม<br />

องศาการเคลื่อนไหว ”<br />

<br />

เมื่อมีอาการปวดบวมบริเวณขอ นพ. วศิน กุลสมบูรณ<br />

การสรุปเอาเองวามีสาเหตุมาจาก<br />

วัย หรือ “สงสัยวาขอจะเสื่อม”<br />

อาจไมถูกตองนัก เพราะในความเปนจริง อาการปวดขออันเนื่องมาจาก<br />

ขอเสื่อมนั้นเปนเพียงหนึ่งในหลาย ๆ สาเหตุของอาการปวดขอเทานั้น<br />

ที่สำคัญสาเหตุสวนมากไมเกี่ยวของกับวัยหรืออายุเลย<br />

“อาการปวดขอโดยมากเปนผลมาจากภาวะการอักเสบของขอ”<br />

นพ. วศินอธิบาย “คำวาขออักเสบเปนคำที่คอนขางกวาง และเมื่อเรากลาว<br />

ถึงขอ เราไมไดหมายถึงเฉพาะกระดูกสองหรือสามชิ้น แตหมายความถึง<br />

4<br />

สวนประกอบของขอทั้งหมด ไมวาจะเปนผิวขอซึ่งเปนกระดูกออน<br />

หมอนรองขอ หรือเสนเอ็นบริเวณขอ การจะวินิจฉัยหาสาเหตุที่ทำให<br />

ขออักเสบจึงไมงายนัก ประกอบกับสาเหตุของขออักเสบที่เปนไปไดนั้น<br />

มีอยูมากกวารอยชนิด”<br />

ในบรรดาสาเหตุของขออักเสบนับรอยนั้น สาเหตุที่เราคุนเคยกันมาก<br />

ที่สุด เห็นจะเปนขออักเสบเนื่องจากอุบัติเหตุ ขออักเสบจากภาวะขอเสื่อม<br />

ขออักเสบรูมาตอยด และขอ<br />

อักเสบจากโรคเกาต สวนสาเหตุ<br />

อื่น ๆ ไดแก การติดเชื้อ โรค<br />

ภูมิแพบางชนิด โรคผิวหนังและ<br />

โรคอื่น ๆ ซึ่งหากไมไดรับการ<br />

ดูแลอยางเหมาะสม มีการอักเสบ<br />

บวม ปวดเรื้อรังเปนเวลานาน<br />

ก็จะกลายเปนสาเหตุของภาวะ<br />

ขอเสื่อมซึ่งเปนภาวะที่บั่นทอน<br />

ประสิทธิภาพการใชงานของขอ<br />

ลงอยางนาเสียดาย<br />

<br />

“การใสใจดูแลขอเมื่อเกิด<br />

ความผิดปกติขึ้นมาเปนเรื่อง<br />

สำคัญมากตอสุขภาวะของขอ<br />

ในระยะยาว” นพ. วศินกลาว “เมื่อมีการอักเสบของขอและมีอาการปวด<br />

สิ่งที่หลายคนมักทำก็คือรอดูอาการหรือรอใหหายไปเอง บางราย<br />

รับประทานยาบรรเทาปวดซึ่งชวยใหทุเลาลงไดจึงเลื่อนการพบแพทย<br />

ออกไป ตรงนี้สำคัญเพราะเทากับวาตนตอของปญหาไมเคยไดรับ<br />

การแกไขเลย”<br />

นพ. วศินยกตัวอยางเรื่องขอเสื่อมซึ่งเปนภาวะที่พบไดบอยทั้งใน


5


ที่วาใช อาจไมแน<br />

แกไขความเขาใจผิด<br />

โดย นพ. สิริพงศ รัตนไชย<br />

<br />

<br />

ก<br />

ารดูแลสุขภาพรางกายอยางถูกตอง สม่ำเสมอเปนปจจัยสำคัญ<br />

ประการหนึ่งของการมีสุขภาพดี แตการจะดูแลสุขภาพอยาง<br />

เหมาะสมนั้นจำเปนตองอาศัยความรูความเขาใจที่ถูกตอง<br />

ในยุคที่ทุกคนสามารถสงผานขอมูลระหวางกันไดอยางอิสระเชนทุกวันนี้<br />

ยังมีขอมูลอีกจำนวนมากที่ไมไดรับการกลั่นกรอง ลองมาดูกันวาเรื่องราว<br />

ของกระดูกและขอที่หลายคนมักเขาใจผิดนั้นมีอะไรบาง<br />

<br />

ไมวาจะเปนกระดูกราวหรือกระดูกหักก็เปนเรื่องเดียวกัน<br />

ทั้งสิ้น เพราะเปนภาวะที่สงผลใหผิวกระดูกที่เคยราบเรียบเกิด<br />

การแตกราวขึ้น กรณีที่ไมรุนแรง ความเสียหายอาจไมลึกถึงขั้น<br />

ทำใหกระดูกหักแยกออกจากกัน สวนกรณีรายแรงก็อาจทำใหกระดูก<br />

แยกออกจากกันไปเลย แตไมวาจะกระดูกหักหรือราวขอเท็จจริงคือ<br />

ความเสียหายเกิดขึ้นแลวและตองมีการรักษาฟนฟูใหกระดูกกลับมาใชงาน<br />

ไดตามปกติหรือใกลเคียงปกติมากที่สุด การรักษาอยางเหมาะสมภายใต<br />

การดูแลของผูเชี่ยวชาญจึงเปนกระบวนการสำคัญที่ไมอาจละเลยได<br />

<br />

<br />

กระดูกของผูใหญที่พัฒนาเต็มที่แลว ไมไดมีลักษณะ<br />

ตายตัวดังเชนที่เห็นในแผนภาพทางการศึกษาที่เราดูกันใน<br />

ชั่วโมงวิทยาศาสตร แตกลับมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เซลลออสติ<br />

โอบลาสตหรือเซลลสรางเนื้อกระดูก จะตอบสนองตอแรงเครียด (Stress)<br />

และสรางกระดูกเพิ่มใหแข็งแรงกวาเดิมโดยเฉพาะบริเวณขอตอที่รับน้ำหนัก<br />

การออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก (Weight-bearing exercise) อยางเชน<br />

การเดินหรือวิ่งเหยาะ ๆ จึงเปนการกระตุนการสรางกระดูกใหมและเปน<br />

เรื่องที่แพทยแนะนำเพื่อปองกันและรักษาโรคกระดูกพรุน<br />

6<br />

<br />

<br />

เรื่องนี้มีการเขาใจผิดกันมาก ถาไมมีการแตกหักเกิดขึ้น<br />

ละก็ โรคกระดูกพรุนไมไดกอใหเกิดความเจ็บปวดแต<br />

ประการใด โรคกระดูกพรุนเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหกระดูกออนแอลง<br />

เนื่องจากมีการสูญเสียมวลกระดูกไปอยางตอเนื่อง จัดเปนภาวะซอนเรน<br />

คอยเปนคอยไป อีกทั้งยังไมแสดงอาการผิดปกติใด ๆ ใหทราบได วิธีการ<br />

เดียวที่จะทราบได คือการตรวจความหนาแนนของมวลกระดูก โดยเริ่ม<br />

ตั้งแตวัย 40 ปขึ้นไป ซึ่งเปนการปองกันโรคกระดูกพรุนที่ไดผลดี<br />

ประการหนึ่ง<br />

<br />

<br />

ขออักเสบไมใชโรคของคนสูงวัยเสมอไป ทั้งเด็ก วัยรุน<br />

ผูใหญตอนตน ผูใหญและวัยกลางคนลวนแลวแตมีโอกาส<br />

ปวดขอ และขออักเสบไดเชนเดียวกัน จริงอยูที่วาขออักเสบจากภาวะ<br />

ขอเสื่อมเนื่องจากใชงานมานานอาจเปนสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให<br />

ขออักเสบและเจ็บปวด แตตองไมลืมวาขออักเสบยังเกิดไดจากสาเหตุ<br />

อื่น ๆ อีกมากมาย เชน ขออักเสบ รูมาตอยด ขออักเสบจากโรคเกาต<br />

ขออักเสบจากโรคสะเก็ดเงิน รวมทั้งอุบัติเหตุและการติดเชื้อ ฯลฯ<br />

ซึ่งสาเหตุของขออักเสบเหลานี้เกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศทุกวัย<br />

<br />

แมภาวะขออักเสบอาจทำใหผูปวยทำกิจกรรมตาง ๆ<br />

ไดไมคลองตัวเหมือนเคย แตไมใชวาผูปวยจะทำอะไร<br />

ไมไดเลย ดวยขอจำกัดทางรางกาย ผูดูแลอาจมีแนวโนม<br />

ที่จะปฏิบัติตอผูปวยเสมือนหนึ่งเปนผูพิการ หรือไมสามารถชวยเหลือ<br />

ตัวเองได การใหการดูแลอยางดีเปนเรื่อง<br />

สำคัญ แตอยา “ปกปองจนเกิน<br />

กวาเหตุ” จนทำใหผูปวยตอง<br />

อยูในภาวะพึ่งพิงผูอื่น<br />

ตลอดเวลา ซึ่งไมเปน<br />

ผลดีตอสุขภาวะทาง<br />

รางกายและจิตใจ<br />

ของทั้งผูปวยและ<br />

ผูดูแล


ไ เต็มศักยภาพ ม่ว่าใครก็อยากเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างอิสระและ<br />

ฉบับนี้จึงได้ขอความ<br />

อนุเคราะห์จาก นพ. สิริพงศ์ รัตนไชย สําหรับคําตอบเกี ่ยวกับ<br />

ปัญหาสุขภาพกระดูกและข้อที่หลายท่านถามกันเข้ามา<br />

8


9


10


12


14


15


อวน...อันตราย<br />

<br />

<br />

จ<br />

ากผลการสำรวจของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขในปที่<br />

ผานมาพบวาคนไทยมีปญหาภาวะโภชนาการลนเกิน และเปน<br />

โรคอวนเพิ่มสูงมากที่สุดในรอบ 10 ป และมีจำนวนคนไทยอายุ<br />

15 ปขึ้นไปเปนโรคอวนมากเปนอันดับ 5 ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก อีกทั้ง<br />

ยังมีแนวโนมเปนโรคอวนเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4 ลานคนตอป เมื่อกลาวถึง<br />

การลดน้ำหนัก หลายคนมักนึกถึงการทำอะไรก็ไดที่จะชวยใหตัวเลขบน<br />

ตราชั่งลดลงจนถึงระดับที่ตนพอใจ ลงทายหลายคนก็ตกอยูในวังวนของ<br />

การลดน้ำหนักโดยที่ไมเคยลดไดจริง ๆ สักที จึงชวนคุณ<br />

มาไขขอของใจกับแพทยผูเชี่ยวชาญดานสุขภาพและการลดน้ำหนักจาก<br />

ศูนยรักษาโรคอวน โรงพยาบาลบำรุงราษฎรเพื่อคนหาวิธีการลดน้ำหนัก<br />

อยางไดผลและเปนคุณกับสุขภาพในระยะยาว<br />

<br />

พญ. นพวรรณ กิติวัฒน อายุรแพทยผูเชี่ยวชาญดานตอมไรทอ<br />

กลาววา เรื่องความอวนและน้ำหนักตัวจัดไดวาเปนโรคเรื้อรังประเภทหนึ่ง<br />

ที่ตองอาศัยการดูแลอยางรอบดาน “สำหรับผูที่มีแรงจูงใจและมีความ<br />

ตั้งใจจริงก็ลดไดดวยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมซึ่งไดผลดีในระยะยาว”<br />

พญ. นพวรรณกลาว “แตบางคนก็<br />

เลือกที่จะลดน้ำหนักแบบผิด ๆ อยาง<br />

การอดอาหาร วิธีนี้น้ำหนักลดลงจริง<br />

เพราะมีการสูญเสียไขมันและน้ำรวม<br />

กับกลามเนื้อ เมื่อกลับมารับประทาน<br />

ตามปกติน้ำหนักก็ขึ้นมาเหมือนเดิม<br />

หรือมากกวาเดิม คราวนี้การลดน้ำหนัก<br />

อีกครั้งก็ยิ่งยากขึ้นหากไมทำใหถูกตอง<br />

เนื่องจากกลามเนื้อซึ่งเปนตัวชวย<br />

เผาผลาญพลังงานมีมวลนอยลง”<br />

คำจำกัดความของคำวา ‘อวน’ ก็คือ<br />

พญ. นพวรรณ กิติวัฒน<br />

การที่มีไขมันสะสมอยูในรางกายใน<br />

ปริมาณมากกวาปกติและกอปญหา<br />

สุขภาพ ภัยที่เกิดขึ้นกับสุขภาพจึงอยูที่ปริมาณไขมันที่สะสมในรางกาย<br />

นั่นเอง โดยทั่วไปมาตรฐานที่ใชวัดวาใครเปนโรคอวน ไดแก ดัชนี<br />

16<br />

มวลกาย หรือ BMI (Body Mass Index) ที่หลายคนคุนเคยกันเปนอยางดี<br />

และการวัดรอบพุงตามเกณฑมาตรฐาน<br />

พญ. นพวรรณผูซึ่งใหการดูแลผูปวยเรื้อรังที่มีปญหาเรื่องเมตาโบลิก<br />

ซินโดรม อาทิ โรคอวน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ มายาวนาน<br />

กลาววา “ผูที่มีน้ำหนักมากและมีภาวะแทรกซอนทางสุขภาพ แพทยจะให<br />

ยาเพื่อชวยใหลดน้ำหนักไดเร็วที่สุด โดยตองอยูบนพื้นฐานของความ<br />

ปลอดภัยและสุขภาพที่แข็งแรง เพราะผูปวยกลุมนี้ การปรับพฤติกรรมอาจ<br />

ตองใชระยะเวลาอยูบางเนื่องจากมีน้ำหนักมากและมีปญหาเรื่องขอ<br />

การออกกำลังกายควบคูไปกับการใชยาก็ตองทำอยางระมัดระวังภายใต<br />

คำแนะนำที่ถูกตองเพื่อจะไดไมเปนการซ้ำเติมใหขอแยลงอีก จึงจำเปนที่<br />

จะตองอยูภายใตการดูแลของแพทยอยางใกลชิดซึ่งจะชวยใหสามารถ<br />

ประเมินไดวาโรคแทรกซอนที่ผูปวยเปนอยูนั้นดีขึ้นหรือไม โดยสวนมาก<br />

แลวเมื่อผูปวยลดน้ำหนักได และอาการปวยตาง ๆ อาทิ ความดัน<br />

เบาหวาน โรคขอ โรคไต ก็ดีขึ้นในทันที ที่สำคัญ ผูปวยจะไดเรียนรูดวยวา<br />

การเลือกรับประทานอาหารใหเหมาะสมนั้น มีรายละเอียดอยางไร ความรู<br />

ตรงนี้จะชวยใหสามารถรักษาน้ำหนักตัวไดยางเหมาะสมไดตอไปในอนาคต”<br />

<br />

พญ. จุฬาภรณ รุงพิสุทธิพงษ อายุรแพทยผูเชี่ยวชาญดานโภชนาการ<br />

วุฒิบัตรเฉพาะทางจากสหรัฐอเมริกา<br />

ใหความเห็นวาการลดน้ำหนักอยาง<br />

ไดผลนั้น ตองรูจักเลือกรับประทาน<br />

อาหาร กลาวคือ รูจักเลือกชนิดของ<br />

อาหาร และกำหนดปริมาณในการ<br />

รับประทาน ตรงนี้เรียกไดวาเปนหนึ่ง<br />

ในปจจัยสำคัญที่จะชี้วัดความสำเร็จ<br />

ของการลดน้ำหนักเลยทีเดียว<br />

จริงอยูที่มาตรฐานที่ยอมรับกัน<br />

วาใครเปนโรคอวน คือการวัดจาก<br />

ตัวเลขดัชนีมวลกาย แตเมื่อพิจารณา<br />

ในรายละเอียด การตัดสินกันดวยคา<br />

ดัชนีมวลกายยังคอนขางมีขอจำกัดอยู พญ. จุฬาภรณ รุงพิสุทธิพงษ


18


20


22

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!