02.10.2015 Views

คํานํา

Abstract - TGO Conference - องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ...

Abstract - TGO Conference - องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ...

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสท้าทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

<strong>คํานํา</strong><br />

การประชุมวิชาการระดับชาติว่าด้วยเรื ่อง “ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที ่ 1: ความเสี ่ยง และโอกาส<br />

ท้าทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก” ระหว่างวันที ่ 19 - 21 สิงหาคม 2553 ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค เมือง<br />

ทองธานี ปากเกร็ด นนทบุรี เกิดขึ ้นจากความห่วงใยต่อปัญหาภาวะโลกร้อนและการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

ซึ ่งทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบเป็นวงกว้างมากขึ ้น จนกระทั่งกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับภาคีโลก<br />

หน่วยงานในทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่างร่วมกันแก้ไขและชะลอปัญหาดังกล่าว ปัจจัยหนึ ่งที ่จะช่วยให้<br />

การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้นก็คือ การเสริมสร้างพัฒนาและแลกเปลี ่ยนแนวคิด รวมไปถึงนวัตกรรมใหม่ๆ<br />

ในเชิงวิชาการเพื ่อนําองค์ความรู้ที ่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อไป องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก<br />

(องค์การมหาชน) จึงร่วมกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จัดการประชุมนี ้ขึ ้น เพื ่อนําเสนอข้อมูลทาง<br />

วิชาการที ่มีการวิจัยในประเทศไทยเกี ่ยวกับการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกลไกที ่เกี ่ยวข้อง รวมทั้ง<br />

ผลการวิจัยทางวิชาการหลากหลายมิติ ได้แก่ ภูมิอากาศวิทยา (Climate Sciences) การลดการปล่อยก๊าซเรือน<br />

กระจก (Greenhouse Gases Mitigation) ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Impact<br />

& Adaptation) และหัวข้ออื ่นๆ ที ่เกี ่ยวข้อง อาทิเช่น เศรษฐกิจ การค้า และนโยบายระหว่างประเทศด้านการ<br />

เปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ฉลากลดคาร์บอน การประชุมนี ้จึงเป็นเวทีระดับชาติที ่ช่วยพัฒนาเครือข่าย<br />

นักวิชาการ ผู้บริหาร และองค์กรที ่เกี ่ยวข้องกับการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และช่วยเตรียมความพร้อมในการ<br />

รับมือผลกระทบที ่อาจจะเกิดกับประเทศไทยในอนาคต<br />

(นายศิริธัญญ์ ไพโรจน์บริบูรณ์)<br />

ผู้อํานวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก<br />

(นายสวัสดิ์ตันตระรัตน์)<br />

ผู้อํานวยการสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สารบัญ<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

ภูมิอากาศวิทยา (Climate Science)<br />

1 การคํานวณการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ<br />

ของประเทศไทย<br />

Determination of Absorption Solar Radiation by Precipitable Water Vapor<br />

in the Atmosphere<br />

สายันต โพธิ์เกตุ<br />

2 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของฝนชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย<br />

Trends in Thailand Rainfall During Northeast Monsoon<br />

อัศมน ลิ่มสกุล, แสงจันทร ลิ้มจิรกาล, ธชณัฐ ภัทรสถาพรกุล, นิตยา นักระนาด มิลน และ<br />

บุญชอบ สุทธมนัสวงษ<br />

3 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอปริมาณอุตุอุทกวิทยาในประเทศไทย<br />

Impacts of climate change on rainfall and runoff in Thailand<br />

สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ<br />

4 กาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตย: ปจจัยชี้วัดภาวะโลกรอน<br />

ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

Dendrochronology and Sunspot: Cycle: Determining Effects of Global Warming on<br />

Climate Change in Udon Thani Province in Period of 30 Surrounding Years<br />

(A.D.1979-2008)<br />

ตนสกุล ศานติบูรณ<br />

5 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับลักษณะเชิงพื้นที่ตอปรากฎการณ<br />

เกาะความรอนเมืองในเขตเมืองเชียงใหม<br />

Effects of Climate Change and Spatial Characteristics on Urban Heat Island in<br />

Chiang Mai Metropolitan Area, Thailand<br />

มานัส ศรีวณิช<br />

6 การตรวจวัดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมซึ่งเกิดจากกาซมีเธนในการเลี้ยงโค<br />

ดวยจมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

Methane Emission Measurement in Cow Husbandry by Using E-Nose<br />

วรรัตน ปตรประกร รักพงศ สายแกว นิติการ นิ่มสุข และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร<br />

7 การปลดปลอยสารมลพิษและผลตอคุณภาพอากาศ จากการใชกาซธรรมชาติ<br />

ในภาคขนสงของกรุงเทพมหานคร<br />

Air Pollutant Emission and Air Quality due to Implementation of Compressed<br />

Natural Gas in Transport Sector<br />

รัฐพล อนแฉง, ธรรมรัตน ธรรมเดชศักดิ์ และ ประเดิม สุดสงวน<br />

2<br />

10<br />

20<br />

33<br />

44<br />

54<br />

70


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

8 Influential factors and ozone formation potential of volatile organic compounds in<br />

suburban Bangkok, Thailand<br />

J. Suthawaree, Y. Tajima, S. Kato, A. Khunchornyakong, A. Sharp and Y. Kajii<br />

9 อิทธิพลของความเร็วลมในแนวดิ่งตอคาฟลักซของกาซซัลเฟอรไดออกไซดในพื้นที่<br />

ปาเขตรอน<br />

Effect of Vertical Wind to Change Flux of Sulfur Dioxide Over Tropical Forest<br />

ประดิพัทธ ตั้งนรกุล และ พจนีย ขุมมงคล<br />

10 การปลดปลอย Carbonaceous Aerosols จากไฟปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในประเทศ<br />

ไทย<br />

Estimation of Carbonaceous Aerosols Emitted from Dry Dipterocarp Forest and<br />

Mixed Deciduous Forest Fire in Thailand<br />

อุบลวรรณ ไชโย และ สาวิตรี การีเวทย<br />

84<br />

92<br />

100<br />

การลดกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases mitigation)<br />

11 การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนผลิตผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส<br />

Greenhouse Gas Emission from Production of Polyolefins Products<br />

นพวรรณ สุนทรโชติ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

12 การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง<br />

Greenhouse Gas Emission from Construction Process<br />

กมลทิพย อรัญศิริ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

13 การลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดดวยโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย<br />

CO 2 Mitigation by means of Wind Farm Operation along the Coast of Southern<br />

Thailand<br />

จอมภพ แววศักดิ์ และ ชูลีรัตน คงเรือง<br />

14 นวัตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน กําจัดกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )<br />

ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ<br />

Fossil Fuels CO 2 Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) Technological Innovation<br />

กําธร แสงฤทธิ์ และ ชัยทัศน ไพรินทร<br />

15 แหลงของจุลินทรียผลิตกาซไฮโดรเจนในกระบวนการหมักแบบไมใชแสง<br />

Sources of Hydrogen Producing Inoculum in Dark Fermentative Biohydrogen<br />

Production<br />

จิราวรรณ สุรโชติ ธิดารัตน บุญศรี และ ประพัทธ พงษเกียรติกุล<br />

16 การนําลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวมาผลิตเชื้อเพลิงแข็งทดแทนการเผาถาน<br />

Import of Maize Stalk to Produce Solid Fuel Substitute Charcoal Production<br />

วรวุฒิ ถุงทรัพย ณรงคพันธุ ฉุนรัมย และ วัฒนพงษ รักษวิเชียร<br />

111<br />

118<br />

126<br />

138<br />

148<br />

158


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

17 การเก็บกักคารบอนของแปลงปลูกไมโตเร็ว<br />

Carbon Sequestration of Fast Growing Tree<br />

ภูกิจ พันธเกษม ธํารง เปรมปรีดิ์ สงวน ปทมธรรมกุล ณัฐวุฒิ ธานี และ ธิติ วิสารัตน<br />

18 การกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัสบริเวณสวนปามัญจาคีรี จังหวัด<br />

ขอนแกน<br />

Carbon Sequestration in Dry Dipterocarp Forest and Eucalypt Plantation at Mancha<br />

Khiri Plantation, Khon Kaen Province<br />

วสันต จันทรแดง ลดาวัลย พวงจิตร และ สาพิศ ดิลกสัมพันธ<br />

19 การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชตางๆ<br />

Carbon Storage in Biomass of a Mangrove Forest of Different Stand Compositions<br />

สาพิศ ดิลกสัมพันธ ดํารงค ศรีพระราม ลดาวัลย พวงจิตร จงรัก วัชรินทรรัตน สคาร ทีจัน<br />

ทึก ออ พรานไชย ธีระพงษ ชุมแสงศรี และ นิคม แหลมสัก<br />

20 การดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและการตอบสนองทางสรีรวิทยาของไมยืนตนในเมือง<br />

Carbon Dioxide Absorption and Physiological Responses of Urban Trees<br />

ระวี เจียรวิภา มนตรี แกวดวง และ วิทยธวัช กิ้มทอง<br />

21 การยอยสลายเศษซากใบพืชและการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) จากดินปาเต็งรัง<br />

จังหวัดราชบุรี<br />

Leaf Litter Decomposition and CO 2 Emission from Dry Dipterocarp Forest Soil,<br />

Ratchaburi Province<br />

พงษเทพ หาญพัฒนากิจ อํานาจ ชิดไธสง และ มนตรี แสนวังสี<br />

22 ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดในปาเต็งรังภายใตสภาพ<br />

อากาศเย็น-แลง และรอน-ชื้น<br />

Characteristics of CO 2 Exchange During Cool-Dry and Hot-Wet Periods in a Dry<br />

Dipterocarp Forest<br />

มนตรี แสนวังสี พงษเทพ หาญพัฒนากิจ และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

23 การศึกษาศักยภาพการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการฝงกลบแบบกึ่งใช<br />

ออกซิเจน<br />

Study of Greenhouse Gas Reduction Potential from Semi-aerobic Landfill<br />

Komsilp Wangyao, Masato Yamada, Kazuto Endo, Tomonori Ishigaki,<br />

Chart Chiemchaisri, Noppharit Sutthasil and Sirintornthep Towprayoon<br />

24 การฝงกลบมูลฝอยแบบกึ่งใชออกซิเจน เพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากมูลฝอย<br />

Semi-Aerobic Landfill for Reducing Greenhouse Gas Emission from Solid Wastes<br />

นพฤทธิ์ สุทธศิลป ชาติ เจียมไชยศรี วิไล เจียมไชยศรี คมศิลป วังยาว คาซุโตะ เอนโด และ<br />

มาซาโตะ ยามาดะ<br />

172<br />

183<br />

198<br />

215<br />

220<br />

232<br />

248<br />

258


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

25 การปลอยกาซเรือนกระจกตอผลิตภัณฑน้ําตาลและผลของการใชพลังงานจากวัสดุชีวมวล<br />

ตอการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในโรงงานน้ําตาล<br />

Greenhouse Gas Emission Intensity of Sugar and the Contribution of Bioenergy from<br />

Sugarcane Residues<br />

มณฑิรา ยุติธรรม และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

26 การลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยใชใบและยอดออยในการผลิตไฟฟา<br />

GHG Emission Reduction Option from Sugarcane Tops and Leaves Using as Fuel<br />

for Power Generation<br />

สลักใจ เจนจริยโกศล สาวิตรี การีเวทย และ Shabbir H. Geewala<br />

27 การเพิ่มมูลคามูลโคนมดวยการนําไปผลิตเปนกาซชีวภาพ<br />

สําหรับสหกรณโคนมในประเทศไทย<br />

The Value Added of Cow Manure by Biogas Production<br />

for Dairy Cooperative in Thailand<br />

วรรัตน ปตรประกร รักพงศ สายแกว และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร<br />

28 Quantification of Greenhouse Gas Emissions from Primary Rubber Industries in<br />

Thailand<br />

Warit Jawjit, Carolien Kroeze and Suwat Rattanapan<br />

29 ผลกระทบของสิ่งปนเปอนที่มีตอการสังเคราะหน้ํามันเชื้อเพลิงโดยกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ของขยะพลาสติก<br />

The Effect of Contaminats to the Pyrolysis of Plastic Waste<br />

เกื้อกูล การเจน ทิพบุษฎ เอกแสงศรี และ วรรัตน ปตรประกร<br />

30 Thailand’s Low-Carbon Society Vision 2030<br />

Bundit Limmeechokchai and Pornphimol Winyuchakrit<br />

31 พลังงานแสงอาทิตย-ลดวิกฤติโลกรอน<br />

Low Carbon Society from High Solar Energy Usage<br />

ชาตรี ตั้งอมตะกุล และ มะลิ จันทรสุนทร<br />

32 การจัดการพลังงานเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา<br />

Energy Management towards Low-Carbon Societies<br />

ประทีป ชวยเกิด<br />

33 นโยบายการสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกที่สะอาดในการผลิตไฟฟา และลดการปลอย<br />

CO 2 ในประเทศไทย<br />

Policy on Promotion of Alternative Energy Technologies for Clean Power Generation and<br />

CO 2 Mitigation in Thailand<br />

บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย และ อาทิตย พัฒนพงศชัย<br />

34 เทคโนโลยีพลังงานเพื่อโรงพยาบาลสีเขียว<br />

Green Energy for Green Hospital<br />

วิทยา ยงเจริญ และ มะลิ จันทรสุนทร<br />

268<br />

278<br />

289<br />

303<br />

322<br />

336<br />

350<br />

364<br />

376<br />

392


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

35 สังคมเศรษฐกิจพอเพียงกับการลดการปลอยกาซเรือนกระจก: กรณีศึกษาชุมชนบานเปร็ดใน 404<br />

จ.ตราด<br />

Sufficiency Economy and Greenhouse Gas Reduction: Case Study on Baan Pred-<br />

Nai, Trad Province<br />

ศุภิกา วานิชชัง ยุวดี คาดการณไกล บัณฑูร เศรษฐศิโรตม และ สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

36 การวิเคราะหความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด<br />

412<br />

Risk Assessment in the Clean Development Mechanism<br />

บุญรอด เยาวพฤกษ<br />

37 An Analysis of Financial Feasibility and Carbon Market Potential in Sugarcane 424<br />

Industry Under CDM in Thailand<br />

Bundit Limmeechokchai and Prachuab Peerapong<br />

38 ศักยภาพการเก็บกักคารบอนในสวนยางพาราของประเทศไทย<br />

439<br />

Carbon Stocks and Sequestration Potential in Para Rubber Plantation in Thailand<br />

สุภาวรรณ เพ็ชศรี และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

39 ปริมาณคารบอนสะสมในดินและอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซด<br />

448<br />

ของพื้นที่การเกษตรที่ปลอยทิ้งราง<br />

Soil Organic Carbon Stock and Rate of Carbon Dioxide Emission of Abandoned<br />

Agricultural Land<br />

นิตยา ชาอุน กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ และ สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

40 การกักเก็บคารบอนในดินที่ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน 461<br />

จังหวัดนครราชสีมา<br />

Soil Carbon Sequestration in Organic Tapioca at Tambon Maghurmai Amphur<br />

Soongnern Nakornratchasrima Province<br />

เอกอนงค ฟุงลัดดา บัณฑิต อนุรักษ ยุทธชัย อนุรักษติพันธุ ปวีณา พาณิชยพิเชฐ และ<br />

ณัฏฐา หังสพฤกษ<br />

41 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของการเพาะปลูกขาวที่มีการจัดการการเพาะปลูกที่แตกตาง 474<br />

กัน<br />

Estimation of Carbon Footprint of Rice Cultivation with Different Field Management<br />

กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ และ สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

42 อิทธิพลของการจัดการฟางในการปลูกขาวตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน: กรณีศึกษาดิน 482<br />

ชุดกําแพงแสน<br />

Impact of Rice Straw Management on Carbon Sequestration in Rice Soil: The Case<br />

Study of Kampheang Sean Soil Series<br />

ปวีณสุดา รามนัฏ วิไล เสาธงนอย ศุภชัย อําคา และ เครือมาศ สมัครการ<br />

43 อิทธิพลของฟางขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาว:กรณีศึกษาขาวพันธุปทุมธานี 1<br />

Influence of Rice Straw Incorporation on Rice Yield: The Case Study of Pathumthani<br />

1 Rice Variety<br />

วิไล เสาธงนอย ปวีณสุดา รามนัฏ ศุภชัย อําคา และ เครือมาศ สมัครการ<br />

492


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

44 การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุจากการปลูกขาวในที่โลง<br />

Greenhouse Gases Emission from Rice Field Residues Open Burning<br />

เพ็ญวดี ชีวพงศพันธุ และ สาวิตรี การีเวทย<br />

501<br />

45 การปลดปลอยฝุนละอองจากการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลงในพื้นที่นาขาวของประเทศ<br />

ไทย<br />

Emission Factors of Particulate Matter Emission from Rice Field Residues Open<br />

Burning in Thailand<br />

ขนิษฐา กนกกาญจนา และ สาวิตรี การีเวทย<br />

512<br />

46 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปาในประเทศไทย โดยใชขอมูลภาพถาย<br />

ดาวเทียม MODIS<br />

Assessment of green house gases from forest fire in Thailand<br />

by using MODIS satellite images<br />

เอกพล จันทรเพ็ญ และ สาวิตรี การีเวทย<br />

47 Extraction of Mangrove Forest Parameters Using Airborn Lidar<br />

Wasinee Cheunban and Kiyoshi Honda<br />

48 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน<br />

ของจังหวัดราชบุรี<br />

GHG Emission Estimation from Land-use Change in Ratchaburi Province<br />

ธนนภัทร บุญมั่น และ สาวิตรี การีเวทย<br />

49 การดักจับคารบอนไดออกไซดดวยระบบ การรวมผลการออกแบบและการปรับคา พีเอช<br />

เพื่อการดูดซับคารบอนไดออกไซดในทอปอนอากาศ<br />

Combined Effect of Design and pH-Shift for CO 2 Absorption in Bubble Columns<br />

ยศสรัล พิเชียรสุนทร และ ประเสริฐ ภวสันต<br />

50 ศักยภาพการกักเก็บคารบอนในไบโอชารจากกระบวนการไพโรไลซิสชีวมวลเหลือทิ้งจาก<br />

ภาคการเกษตรในประเทศไทย<br />

Potential of Carbon Sequestration in Biochar from Pyrolysis of Agriculture Biomass<br />

Residue in Thailand<br />

ณภัทร จักรวัฒนา และ อิทธิฤทธิ์ มูลเมือง<br />

51 การสังเคราะหและปรับปรุงวัสดุนาโน MCM-41 จากแกลบเพื่อดักจับ<br />

กาซคารบอนไดออกไซด<br />

Rice Husk MCM-41 Synthesis and Modifications for Carbon Dioxide Capture<br />

อนุสรณ บุญปก นวดล เหลาศิริพจน สิริลักษณ เจียรากร สิรินทรเทพ เตาประยูร และ<br />

อํานาจ ชิดไธสง<br />

528<br />

538<br />

554<br />

567<br />

573<br />

583


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Impact & Adaptation)<br />

52 ทุนการรับมือตอความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม<br />

Coping Capacity to Climate Variability of Agricultural Community in Chiangmai,<br />

Province<br />

บัญจรัตน โจลานันท และ มณฤดี มวงรุง<br />

53 ผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตอการใชน้ําจากแมน้ําทาจีน ของภาคอุตสาหกรรม ใน<br />

อําเภอสามพรานและอําเภอนครชัยศรี<br />

Effect of Climate Change to the Usage of Water form ThaChin River for the<br />

Industrial Sector in Amphur Sam Pran and Nakorn ChaiSri<br />

ศศิธร พุทธวงษ สรอยดาว วินิจนันทรัตน และ ศิววรรณ พูลพันธุ<br />

54 แนวโนมผลกระทบดานอุทกวิทยาในลุมน้ําคลองใหญ จังหวัดระยอง<br />

Trend of Hydrological Impact on Klongyai Basin, Rayong Province<br />

อรชร กําเนิด ชัยยุทธ ชินณะราศรี สุจริต คูณธนกุลวงศ และ สุรเจตส บุญญาอรุณเนตร<br />

55 การจัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอภายใตการีเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศโลก<br />

Effective Flood Management of Community in Huai Sam Mo Sub-basin under<br />

Climate Change Situation<br />

วิเชียร เกิดสุข และ เฉลิมรัฐ มณีแสง<br />

56 การวางแผนพื้นที่สีเขียวของเมืองเพื่อบรรเทาผลกระทบทางอุทกวิทยา: กรณีศึกษาเทศบาล<br />

เมือง จังหวัดจันทบุรี<br />

Urban Green Space Planning as Mitigation Measure from Hydrological Effect: Case<br />

Study the Municipality of Chanthaburi Province<br />

พิศุทธ วิเชียรฉันท<br />

57 โครงสรางของระบบนิเวศภูมิทัศน และ การบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน กรณีศึกษา<br />

ลําประโดงและรองสวนในโครงขายเสนทางน้ํา คลองออมนนท บางใหญ, นนทบุรี<br />

Landscape Ecological Structure and Ecological Service Case Study:<br />

The Irrigation Ditches and Orchard’s Ditches in a Canal Network,<br />

Omm-Nont Canal, Bang-Yai, Nonthaburi<br />

หญิง ผโลปกรณ<br />

58 การบงชี้และจําแนกลักษณะทางภูมินิเวศและลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ํา<br />

และการปรับตัว กรณีศึกษา แมน้ํานาน อ.เมือง, อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก<br />

และแมน้ําสะแกกรัง อ.เมือง จ.อุทัยธานี<br />

Ecological Landscape Characterization of Human Utilization and Adaption of River<br />

Edges : Case Study of Nan River Amphor Muang, Amphor Prohmpiram Phitsanulok<br />

and Sa Kare Krang River Amphor Muang Uthai Thani<br />

นัฐศิพร แสงเยือน<br />

593<br />

606<br />

618<br />

630<br />

640<br />

651<br />

667


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

59 ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการผลิตพืชไร 683<br />

Impact and Adaptation of Climate Change on Field Crops Production<br />

สมชาย บุญประดับ วินัย ศรวัต สุกิจ รัตนศรีวงษ ปรีชา กาเพ็ชร แคทลิยา เอกอุน วิภา<br />

รัตน ดําริเขมตระกูล อิสระ พุทธสิมมา และ เกริก ปนเหนงเพ็ชร<br />

60 การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนและการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนใน 700<br />

ชุมชนยี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม และชุมชนบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี<br />

Exploitation of Mangrove Resources and Adaptation to Global Climate<br />

Changes of Yeesarn Community People, Songkhram province and Bangtaboon<br />

Community People, Petchaburi Province.<br />

ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล<br />

61 การทํานาชลประทานที่ยั่งยืนภายใตความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 714<br />

Sustainable Cultivation of Irrigated Rice Field under Climate Change Crisis<br />

ทัศนีย เจียรพสุอนันต สิรินทรเทพ เตาประยูร และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

62 การจัดการสภาพแวดลอมโดยใชประโยชนจากพรรณไมเพื่อปรุงแตงสภาพแวดลอม 723<br />

ใหเขาสูสภาวะสบาย<br />

Environmental Management for Micro-climate Modifier to Thermal Comfort by Using<br />

Trees<br />

ธนาวุฒิ ขุนทอง<br />

63 การตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองตอการลดอุณหภูมิผิวพื้น : กรณีศึกษา 733<br />

พื้นที่กรุงเทพมหานคร<br />

Monitoring the Impact of Green Areas in Urban on the Land Surface Temperature<br />

Reduction: A Case Study in Bangkok Metropolitan Area<br />

ปริญญา ฉายะพงษ และ ทรงกต ทศานนท<br />

64 รถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวสําหรับอนาคต ลดโลกรอน<br />

745<br />

Modified Electric Vehicle from used ICE Vehicle to reduce Global Warming<br />

ชาญวิทย อุดมศักดิกุล<br />

65 Practitioners Approach towards Information System of Studying Institute's 755<br />

Environment Issues: a Case Study<br />

สุวัตร ปทมวรคุณ และ สุวรินทร ปทมวรคุณ<br />

66 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลตอพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณปากแมน้ําทาจีน 764<br />

Effect of Sea Water Level Change on the Farmlands in the Thachin Estuaries<br />

สนิท วงษา และ ชัยวัฒน เอกวัฒนพานิชย<br />

เศรษฐศาสตร และ นโยบาย (Economics and Policy)<br />

67 Economic Impact of Climate Change on Growth, Energy Usage and Food Security<br />

Risks: A Case Study of Thailand<br />

TRAN VAN HOA and KITTI LIMSKUL<br />

775


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ หัวขอเรื่อง หนา<br />

68 การวิจัยและพัฒนา : ปจจัยสูความสําเร็จในการดําเนินงานคารบอนฟุตพริ้นท<br />

795<br />

Key Success Factors to Success Carbon Footprint Implementation; Experience of<br />

EU<br />

กุลวรางค สุวรรณศรี ยุวนันท สันติทวีฤกษ และ กฤษดา บํารุงวงศ<br />

69 มาตรการสิ่งแวดลอมใหมที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดของภาคการสงออกไทย<br />

808<br />

Carbon Footprint: An Impending Environmental Measurement for Thai Exporter<br />

ยุวนันท สันติทวีฤกษ กุลวรางค สุวรรณศรี และ กฤษดา บํารุงวงศ<br />

70 ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท คําตอบสุดทายของสินคารักษสิ่งแวดลอม?<br />

821<br />

Carbon Footprint Final Solution for Green Products?<br />

กฤษดา บํารุงวงศ กุลวรางค สุวรรณศรี และ ยุวนันท สันติทวีฤกษ<br />

71 การวิเคราะหความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดของไทย โดย 832<br />

ใชขอมูลระดับจังหวัด<br />

An analysis of Thailand’s Carbon Dioxide Emission Inequality Using Provincial<br />

Information<br />

จิระ บุรีคํา และ ชัยนันท ใจวังเย็น<br />

72 การศึกษาทางเศรษฐมิติของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด การบริโภคพลังงาน<br />

รายได และระดับการเปดทางการคาของประเทศไทย<br />

An Econometric Study of CO 2 Emissions, Energy Consumption, Income<br />

and Trade Openness in Thailand<br />

นิสิต พันธมิตร และ จิระ บุรีคํา<br />

849<br />

ดัชนี 858


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กําหนดการ<br />

ภูมิอากาศวิทยา (Climate Science)<br />

20 สิงหาคม 2553 ภูมิอากาศวิทยาทั่วไป (Basic Climatology) หอง Jupiter 13<br />

ประธาน: ดร.วิเชียร เกิดสุข<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย รศ.ดร. กัณฑรีย บุญประกอบ<br />

9.20 - 9.40 การคํานวณการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ<br />

ของประเทศไทย<br />

Determination of Absorption Solar Radiation by Precipitable Water Vapor<br />

in the Atmosphere<br />

สายันต โพธิ์เกตุ<br />

9.40 - 10.00 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของฝนชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย<br />

Trends in Thailand Rainfall During Northeast Monsoon<br />

อัศมน ลิ่มสกุล, แสงจันทร ลิ้มจิรกาล, ธชณัฐ ภัทรสถาพรกุล, นิตยา นักระนาด มิลน<br />

และ บุญชอบ สุทธมนัสวงษ<br />

10.00 - 10.20 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอปริมาณอุตุอุทกวิทยาในประเทศไทย<br />

Impacts of climate change on rainfall and runoff in Thailand<br />

สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ<br />

10.35 - 10.55 กาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตย: ปจจัยชี้วัดภาวะโลกรอน<br />

ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

Dendrochronology and Sunspot: Cycle: Determining Effects of Global Warming<br />

on Climate Change in Udon Thani Province in Period of 30 Surrounding Years<br />

(A.D.1979-2008)<br />

ตนสกุล ศานติบูรณ<br />

10.55 - 11.15 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับลักษณะเชิงพื้นที่ตอปรากฎการณ<br />

เกาะความรอนเมืองในเขตเมืองเชียงใหม<br />

Effects of Climate Change and Spatial Characteristics on Urban Heat Island in<br />

Chiang Mai Metropolitan Area, Thailand<br />

มานัส ศรีวณิช<br />

11.15 - 11.35 การตรวจวัดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมซึ่งเกิดจากกาซมีเธนในการเลี้ยงโค<br />

ดวยจมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

Methane Emission Measurement in Cow Husbandry by Using E-Nose<br />

วรรัตน ปตรประกร รักพงศ สายแกว นิติการ นิ่มสุข และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร<br />

20 สิงหาคม 2553 คุณภาพอากาศ (Air Quality) หอง Jupiter 14<br />

ประธาน: ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน<br />

13.30 - 13.50 ผูบรรยาย ดร.สราวุธ เทพานนท<br />

13.50 - 14.10 การปลดปลอยสารมลพิษและผลตอคุณภาพอากาศ จากการใชกาซธรรมชาติ<br />

ในภาคขนสงของกรุงเทพมหานคร


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Air Pollutant Emission and Air Quality due to Implementation of Compressed<br />

Natural Gas in Transport Sector<br />

รัฐพล อนแฉง, ธรรมรัตน ธรรมเดชศักดิ์ และ ประเดิม สุดสงวน<br />

14.10 - 14.30 Influential factors and ozone formation potential of volatile organic compounds in<br />

suburban Bangkok, Thailand<br />

J. Suthawaree, Y. Tajima, S. Kato, A. Khunchornyakong, A. Sharp and Y. Kajii<br />

14.30 - 14.50 อิทธิพลของความเร็วลมในแนวดิ่งตอคาฟลักซของกาซซัลเฟอรไดออกไซดในพื้นที่<br />

ปาเขตรอน<br />

Effect of Vertical Wind to Change Flux of Sulfur Dioxide Over Tropical Forest<br />

ประดิพัทธ ตั้งนรกุล และ พจนีย ขุมมงคล<br />

14.50 - 15.10 การปลดปลอย Carbonaceous Aerosols จากไฟปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในประเทศ<br />

ไทย<br />

Estimation of Carbonaceous Aerosols Emitted from Dry Dipterocarp Forest and<br />

Mixed Deciduous Forest Fire in Thailand<br />

อุบลวรรณ ไชโย และ สาวิตรี การีเวทย<br />

การลดกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases mitigation)<br />

20 สิงหาคม 2553 ภาคพลังงาน (Energy Sector) หอง Jupiter 11<br />

ประธาน: ดร. วีรินทร หวังจิรนิรันดร<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย รศ.ดร.ดาวัลย วิวรรธนะเดช<br />

9.20 - 9.40 การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนผลิตผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส<br />

Greenhouse Gas Emission from Production of Polyolefins Products<br />

นพวรรณ สุนทรโชติ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

9.40 - 10.00 การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง<br />

Greenhouse Gas Emission from Construction Process<br />

กมลทิพย อรัญศิริ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

10.00 - 10.20 การลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดดวยโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย<br />

CO 2 Mitigation by means of Wind Farm Operation along the Coast of Southern<br />

Thailand<br />

จอมภพ แววศักดิ์ และ ชูลีรัตน คงเรือง<br />

10.35 - 10.55 นวัตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน กําจัดกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )<br />

ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ<br />

Fossil Fuels CO 2 Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) Technological Innovation<br />

กําธร แสงฤทธิ์ และชัยทัศน ไพรินทร<br />

10.55 - 11.15 แหลงของจุลินทรียผลิตกาซไฮโดรเจนในกระบวนการหมักแบบไมใชแสง<br />

Sources of Hydrogen Producing Inoculum in Dark Fermentative Biohydrogen<br />

Production<br />

จิราวรรณ สุรโชติ ธิดารัตน บุญศรี และ ประพัทธ พงษเกียรติกุล


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

11.15 - 11.35 การนําลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวมาผลิตเชื้อเพลิงแข็งทดแทนการเผาถาน<br />

Import of Maize Stalk to Produce Solid Fuel Substitute Charcoal Production<br />

วรวุฒิ ถุงทรัพย ณรงคพันธุ ฉุนรัมย และ วัฒนพงษ รักษวิเชียร<br />

20 สิงหาคม 2553 ภาคปาไม (Forestry Sector) หอง Jupiter 12<br />

ประธาน: ผศ.ดร. ลดาวัลย พวงจิตร<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย ดร.ดํารงค ศรีพระราม<br />

9.20 - 9.40 การเก็บกักคารบอนของแปลงปลูกไมโตเร็ว<br />

Carbon Sequestration of Fast Growing Tree<br />

ภูกิจ พันธเกษม ธํารง เปรมปรีดิ์ สงวน ปทมธรรมกุล ณัฐวุฒิ ธานี และ ธิติ วิสารัตน<br />

9.40 - 10.00 การกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัสบริเวณสวนปามัญจาคีรี จังหวัด<br />

ขอนแกน<br />

Carbon Sequestration in Dry Dipterocarp Forest and Eucalypt Plantation at<br />

Mancha Khiri Plantation, Khon Kaen Province<br />

วสันต จันทรแดง ลดาวัลย พวงจิตร และ สาพิศ ดิลกสัมพันธ<br />

10.00 - 10.20 การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชตางๆ<br />

Carbon Storage in Biomass of a Mangrove Forest of Different Stand<br />

Compositions<br />

สาพิศ ดิลกสัมพันธ ดํารงค ศรีพระราม ลดาวัลย พวงจิตร จงรัก วัชรินทรรัตน สคาร ที<br />

จันทึก ออ พรานไชย ธีระพงษ ชุมแสงศรี และ นิคม แหลมสัก<br />

10.35 - 10.55 การดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและการตอบสนองทางสรีรวิทยาของไมยืนตนในเมือง<br />

Carbon Dioxide Absorption and Physiological Responses of Urban Trees<br />

ระวี เจียรวิภา มนตรี แกวดวง และ วิทยธวัช กิ้มทอง<br />

10.55 - 11.15 การยอยสลายเศษซากใบพืชและการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) จากดินปา<br />

เต็งรัง จังหวัดราชบุรี<br />

Leaf Litter Decomposition and CO 2 Emission from Dry Dipterocarp Forest Soil,<br />

Ratchaburi Province<br />

พงษเทพ หาญพัฒนากิจ อํานาจ ชิดไธสง และ มนตรี แสนวังสี<br />

11.15 - 11.35 ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดในปาเต็งรังภายใตสภาพ<br />

อากาศเย็น-แลง และรอน-ชื้น<br />

Characteristics of CO 2 Exchange During Cool-Dry and Hot-Wet Periods in a Dry<br />

Dipterocarp Forest<br />

มนตรี แสนวังสี พงษเทพ หาญพัฒนากิจ และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

20 สิงหาคม 2553 ภาคของเสีย และอุตสาหกรรม (Waste and Industrials sector)<br />

หอง Jupiter 14<br />

ประธาน: ผศ. ดร.สิริลักษณ เจียรากร<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย รศ.ดร. สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

9.20 - 9.40 การศึกษาศักยภาพการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการฝงกลบแบบกึ่งใช<br />

ออกซิเจน


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Study of Greenhouse Gas Reduction Potential from Semi-aerobic Landfill<br />

Komsilp Wangyao, Masato Yamada, Kazuto Endo, Tomonori Ishigaki,<br />

Chart Chiemchaisri, Noppharit Sutthasil and Sirintornthep Towprayoon<br />

9.40 - 10.00 การฝงกลบมูลฝอยแบบกึ่งใชออกซิเจน เพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากมูล<br />

ฝอย<br />

Semi-Aerobic Landfill for Reducing Greenhouse Gas Emission from Solid Wastes<br />

นพฤทธิ์ สุทธศิลป ชาติ เจียมไชยศรี วิไล เจียมไชยศรี คมศิลป วังยาว คาซุโตะ เอนโด<br />

และ มาซาโตะ ยามาดะ<br />

10.00 - 10.20 การปลอยกาซเรือนกระจกตอผลิตภัณฑน้ําตาลและผลของการใชพลังงานจากวัสดุชีว<br />

มวลตอการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในโรงงานน้ําตาล<br />

Greenhouse Gas Emission Intensity of Sugar and the Contribution of Bioenergy<br />

from Sugarcane Residues<br />

มณฑิรา ยุติธรรม และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

10.35 - 10.55 การลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยใชใบและยอดออยในการผลิตไฟฟา<br />

GHG Emission Reduction Option from Sugarcane Tops and Leaves Using as<br />

Fuel for Power Generation<br />

สลักใจ เจนจริยโกศล สาวิตรี การีเวทย และ Shabbir H. Geewala<br />

10.55 - 11.15 การเพิ่มมูลคามูลโคนมดวยการนําไปผลิตเปนกาซชีวภาพ<br />

สําหรับสหกรณโคนมในประเทศไทย<br />

The Value Added of Cow Manure by Biogas Production<br />

for Dairy Cooperative in Thailand<br />

วรรัตน ปตรประกร รักพงศ สายแกว และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร<br />

11.15 - 11.35 Quantification of Greenhouse Gas Emissions from Primary Rubber Industries in<br />

Thailand<br />

Warit Jawjit, Carolien Kroeze and Suwat Rattanapan<br />

11.35 - 11.55 ผลกระทบของสิ่งปนเปอนที่มีตอการสังเคราะหน้ํามันเชื้อเพลิงโดยกระบวนการไพพโรไล<br />

ซิสของขยะพลาสติก<br />

The Effect of Contaminats to the Pyrolysis of Plastic Waste<br />

เกื้อกูล การเจน ทิพบุษฎ เอกแสงศรี และ วรรัตน ปตรประกร<br />

20 สิงหาคม 2553 สังคมคารบอนต่ํา และกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Low Carbon Society & Clean<br />

Development Mechanism) หอง Jupiter 11<br />

ประธาน: ดร.วิชชากร จารุศิริ<br />

13.30 - 13.50 ผูบรรยาย รศ.ดร.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย<br />

13.50 - 14.10 Thailand’s Low-Carbon Society Vision 2030<br />

Bundit Limmeechokchai and Pornphimol Winyuchakrit


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

14.10 - 14.30 พลังงานแสงอาทิตย-ลดวิกฤติโลกรอน<br />

Low Carbon Society from High Solar Energy Usage<br />

ชาตรี ตั้งอมตะกุล และ มะลิ จันทรสุนทร<br />

14.30 - 14.50 การจัดการพลังงานเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา<br />

Energy Management towards Low-Carbon Societies<br />

ประทีป ชวยเกิด<br />

14.50 - 15.10 นโยบายการสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกที่สะอาดในการผลิตไฟฟา และลดการ<br />

ปลอย CO 2 ในประเทศไทย<br />

Policy on Promotion of Alternative Energy Technologies for Clean Power Generation<br />

and CO 2 Mitigation in Thailand<br />

บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย และ อาทิตย พัฒนพงศชัย<br />

15.25 - 15.45 เทคโนโลยีพลังงานเพื่อโรงพยาบาลสีเขียว<br />

Green Energy for Green Hospital<br />

วิทยา ยงเจริญ และ มะลิ จันทรสุนทร<br />

15.45 - 16.05 สังคมเศรษฐกิจพอเพียงกับการลดการปลอยกาซเรือนกระจก: กรณีศึกษาชุมชนบาน<br />

เปร็ดใน จ.ตราด<br />

Sufficiency Economy and Greenhouse Gas Reduction: Case Study on Baan<br />

Pred-Nai, Trad Province<br />

ศุภิกา วานิชชัง ยุวดี คาดการณไกล บัณฑูร เศรษฐศิโรตม และ สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

16.05 - 16.25 การวิเคราะหความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด<br />

Risk Assessment in the Clean Development Mechanism<br />

บุญรอด เยาวพฤกษ<br />

16.25 - 16.45 An Analysis of Financial Feasibility and Carbon Market Potential in Sugarcane<br />

Industry Under CDM in Thailand<br />

Bundit Limmeechokchai and Prachuab Peerapong<br />

20 สิงหาคม 2553 ภาคเกษตร (Agriculture Sector) หอง Jupiter 12<br />

ประธาน: ผศ.ดร.ภัทรา เพงธรรมกีรติ<br />

13.30 - 13.50 ผูบรรยาย ดร.พิทยากร ลิ่มทอง<br />

13.50 - 14.10 ศักยภาพการเก็บกักคารบอนในสวนยางพาราของประเทศไทย<br />

Carbon Stocks and Sequestration Potential in Para Rubber Plantation in Thailand<br />

สุภาวรรณ เพ็ชศรี และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

14.10 - 14.30 ปริมาณคารบอนสะสมในดินและอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซด<br />

ของพื้นที่การเกษตรที่ปลอยทิ้งราง<br />

Soil Organic Carbon Stock and Rate of Carbon Dioxide Emission of Abandoned<br />

Agricultural Land<br />

นิตยา ชาอุน กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ และ สิรินทรเทพ เตาประยูร


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

14.30 - 14.50 การกักเก็บคารบอนในดินที่ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูง<br />

เนิน จังหวัดนครราชสีมา<br />

Soil Carbon Sequestration in Organic Tapioca at Tambon Maghurmai Amphur<br />

Soongnern Nakornratchasrima Province<br />

เอกอนงค ฟุงลัดดา บัณฑิต อนุรักษ ยุทธชัย อนุรักษติพันธุ ปวีณา พาณิชยพิเชฐ และ<br />

ณัฏฐา หังสพฤกษ<br />

14.50 - 15.10 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของการเพาะปลูกขาวที่มีการจัดการการเพาะปลูกที่<br />

แตกตางกัน<br />

Estimation of Carbon Footprint of Rice Cultivation with Different Field<br />

Management<br />

กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ และ สิรินทรเทพ เตาประยูร<br />

15.25 - 15.45 อิทธิพลของการจัดการฟางในการปลูกขาวตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน: กรณีศึกษา<br />

ดินชุดกําแพงแสน<br />

Impact of Rice Straw Management on Carbon Sequestration in Rice Soil: The<br />

Case Study of Kampheang Sean Soil Series<br />

ปวีณสุดา รามนัฏ วิไล เสาธงนอย ศุภชัย อําคา และ เครือมาศ สมัครการ<br />

15.45 - 16.05 อิทธิพลของฟางขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาว: กรณีศึกษาขาวพันธุ<br />

ปทุมธานี 1<br />

Influence of Rice Straw Incorporation on Rice Yield: The Case Study of<br />

Pathumthani 1 Rice Variety<br />

วิไล เสาธงนอย ปวีณสุดา รามนัฏ ศุภชัย อําคา และ เครือมาศ สมัครการ<br />

16.05 - 16.25 การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุจากการปลูกขาวในที่โลง<br />

Greenhouse Gases Emission from Rice Field Residues Open Burning<br />

เพ็ญวดี ชีวพงศพันธุ และ สาวิตรี การีเวทย<br />

16.25 - 16.45 การปลดปลอยฝุนละอองจากการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลงในพื้นที่นาขาวของ<br />

ประเทศไทย<br />

Emission Factors of Particulate Matter Emission from Rice Field Residues Open<br />

Burning in Thailand<br />

ขนิษฐา กนกกาญจนา และ สาวิตรี การีเวทย<br />

21 สิงหาคม 2553 ภาคเกษตรและการสํารวจระยะไกล (Agriculture Sector and Remote Sensing)<br />

หอง Jupiter 12<br />

ประธาน: ดร.พิสุทธิ์ ไพบูลยรัตน<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย ดร.เชาวลิต ศิลปทอง<br />

9.20 - 9.40 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปาในประเทศไทย<br />

โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม MODIS<br />

Assessment of green house gases from forest fire in Thailand<br />

by using MODIS satellite images<br />

เอกพล จันทรเพ็ญ และ สาวิตรี การีเวทย


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

9.40 - 10.00 Extraction of Mangrove Forest Parameters Using Airborn Lidar<br />

Wasinee Cheunban and Kiyoshi Honda<br />

10.00 - 10.20 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน<br />

ของจังหวัดราชบุรี<br />

GHG Emission Estimation from Land-use Change in Ratchaburi Province<br />

ธนนภัทร บุญมั่น และ สาวิตรี การีเวทย<br />

10.35 - 10.55 การดักจับคารบอนไดออกไซดดวยระบบ การรวมผลการออกแบบและการปรับคาพีเอช<br />

เพื่อการดูดซับคารบอนไดออกไซดในทอปอนอากาศ<br />

Combined Effect of Design and pH-Shift for CO 2 Absorption in Bubble Columns<br />

ยศสรัล พิเชียรสุนทร และ ประเสริฐ ภวสันต<br />

10.55 - 11.15 ศักยภาพการกักเก็บคารบอนในไบโอชารจากกระบวนการไพโรไลซิสชีวมวลเหลือทิ้งจาก<br />

ภาคการเกษตรในประเทศไทย<br />

Potential of Carbon Sequestration in Biochar from Pyrolysis of Agriculture<br />

Biomass Residue in Thailand<br />

ณภัทร จักรวัฒนา และ อิทธิฤทธิ์ มูลเมือง<br />

11.15 - 11.35 การสังเคราะหและปรับปรุงวัสดุนาโน MCM-41 จากแกลบเพื่อดักจับ<br />

กาซคารบอนไดออกไซด<br />

Rice Husk MCM-41 Synthesis and Modifications for Carbon Dioxide Capture<br />

อนุสรณ บุญปก นวดล เหลาศิริพจน สิริลักษณ เจียรากร สิรินทรเทพ เตาประยูร และ<br />

อํานาจ ชิดไธสง<br />

ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Impact & Adaptation)<br />

20 สิงหาคม 2553 อุทกวิทยา และการเกษตร (Hydrology and Agriculture)<br />

หอง Jupiter 13<br />

ประธาน: ดร.อัศมน ลิ่มสกุล<br />

13.30 - 13.50 ผูบรรยาย รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ<br />

13.50 - 14.10 ทุนการรับมือตอความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกรจังหวัด<br />

เชียงใหม<br />

Coping Capacity to Climate Variability of Agricultural Community in Chiangmai,<br />

Province<br />

บัญจรัตน โจลานันท และ มณฤดี มวงรุง<br />

14.10 - 14.30 ผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการใชน้ําจากแมน้ําทาจีนของภาคอุตสาหกรรม<br />

ในอําเภอสามพรานและอําเภอนครชัยศรี<br />

Effect of Climate Change to the Usage of Water form ThaChin River for the<br />

Industrial Sector in Amphur Sam Pran and Nakorn ChaiSri<br />

ศศิธร พุทธวงษ สรอยดาว วินิจนันทรัตน ศิววรรณ พูลพันธุ<br />

14.30 - 14.50 แนวโนมผลกระทบดานอุทกวิทยาในลุมน้ําคลองใหญ จังหวัดระยอง<br />

Trend of Hydrological Impact on Klongyai Basin, Rayong Province


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อรชร กําเนิด ชัยยุทธ ชินณะราศรี สุจริต คูณธนกุลวงศ และ สุรเจตส บุญญาอรุณเนตร<br />

14.50 - 15.10 การจัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอภายใตการี<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก<br />

Effective Flood Management of Community in Huai Sam Mo Sub-basin under<br />

Climate Change Situation<br />

วิเชียร เกิดสุข และ เฉลิมรัฐ มณีแสง<br />

15.25 - 15.45 การวางแผนพื้นที่สีเขียวของเมืองเพื่อบรรเทาผลกระทบทางอุทกวิทยา: กรณีศึกษา<br />

เทศบาลเมือง จังหวัดจันทบุรี<br />

Urban Green Space Planning as Mitigation Measure from Hydrological Effect:<br />

Case Study the Municipality of Chanthaburi Province<br />

พิศุทธ วิเชียรฉันท<br />

15.45 - 16.05 โครงสรางของระบบนิเวศภูมิทัศน และ การบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน กรณีศึกษา<br />

ลําประโดงและรองสวนในโครงขายเสนทางน้ํา คลองออมนนท บางใหญ, นนทบุรี<br />

Landscape Ecological Structure and Ecological Service Case Study:<br />

The Irrigation Ditches and Orchard’s Ditches in a Canal Network,<br />

Omm-Nont Canal, Bang-Yai, Nonthaburi<br />

หญิง ผโลปกรณ<br />

16.05 - 16.25 การบงชี้และจําแนกลักษณะทางภูมินิเวศและลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชาย<br />

น้ํา และการปรับตัว กรณีศึกษา แมน้ํานาน อ.เมือง, อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก<br />

และแมน้ําสะแกกรัง อ.เมือง จ.อุทัยธานี<br />

Ecological Landscape Characterization of Human Utilization and Adaption of<br />

River Edges : Case Study of Nan River Amphor Muang, Amphor Prohmpiram<br />

Phitsanulok and Sa Kare Krang River Amphor Muang Uthai Thani<br />

นัฐศิพร แสงเยือน<br />

16.25 - 16.45 ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการผลิตพืชไร<br />

Impact and Adaptation of Climate Change on Field Crops Production<br />

สมชาย บุญประดับ วินัย ศรวัต สุกิจ รัตนศรีวงษ ปรีชา กาเพ็ชร แคทลิยา เอกอุน<br />

วิภารัตน ดําริเขมตระกูล อิสระ พุทธสิมมา และเกริก ปนเหนงเพ็ชร<br />

21 สิงหาคม 2553 การจัดการทรัพยากร และ เทคโนโลยี (Resources Management and<br />

Technology) หอง Jupiter 11<br />

ประธาน: คุณศุภกร ชินวรรโณ<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย ดร.อานนท สนิทวงศ ณ อยุธยา<br />

9.20 - 9.40 การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนและการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนใน<br />

ชุมชนยี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม และชุมชนบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี<br />

Exploitation of Mangrove Resources and Adaptation to Global Climate<br />

Changes of Yeesarn Community People, Songkhram province and<br />

Bangtaboon Community People, Petchaburi Province.<br />

ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

9.40 - 10.00 การทํานาชลประทานที่ยั่งยืนภายใตความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

Sustainable Cultivation of Irrigated Rice Field under Climate Change Crisis<br />

ทัศนีย เจียรพสุอนันต สิรินทรเทพ เตาประยูร และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

10.00 - 10.20 การจัดการสภาพแวดลอมโดยใชประโยชนจากพรรณไมเพื่อปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

ใหเขาสูสภาวะสบาย<br />

Environmental Management for Micro-climate Modifier to Thermal Comfort by<br />

Using Trees<br />

ธนาวุฒิ ขุนทอง<br />

10.35 - 10.55 การตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองตอการลดอุณหภูมิผิวพื้น :<br />

กรณีศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร<br />

Monitoring the Impact of Green Areas in Urban on the Land Surface Temperature<br />

Reduction: A Case Study in Bangkok Metropolitan Area<br />

ปริญญา ฉายะพงษ และ ทรงกต ทศานนท<br />

10.55 - 11.15 รถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวสําหรับอนาคต ลดโลกรอน<br />

Modified Electric Vehicle from used ICE Vehicle to reduce Global Warming<br />

ชาญวิทย อุดมศักดิกุล<br />

11.15 - 11.35 Practitioners Approach towards Information System of Studying Institute's<br />

Environment Issues: a Case Study<br />

สุวัตร ปทมวรคุณ และ สุวรินทร ปทมวรคุณ<br />

11.35 - 11.55 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลตอพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณปากแมน้ําทา<br />

จีน<br />

Effect of Sea Water Level Change on the Farmlands in the Thachin Estuaries<br />

สนิท วงษา และ ชัยวัฒน เอกวัฒนพานิชย<br />

เศรษฐศาสตร และนโยบาย (Economics and Policy)<br />

21 สิงหาคม 2553 เศรษฐศาสตร และนโยบาย (Economics and Policy) หอง Jupiter 13<br />

ประธาน: คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม<br />

9.00 - 9.20 ผูบรรยาย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ<br />

9.20 - 9.40 Economic Impact of Climate Change on Growth, Energy Usage and Food<br />

Security Risks: A Case Study of Thailand<br />

TRAN VAN HOA and KITTI LIMSKUL<br />

9.40 - 10.00 การวิจัยและพัฒนา : ปจจัยสูความสําเร็จในการดําเนินงานคารบอนฟุตพริ้นท<br />

Key Success Factors to Success Carbon Footprint Implementation; Experience of<br />

EU<br />

กุลวรางค สุวรรณศรี ยุวนันท สันติทวีฤกษ และ กฤษดา บํารุงวงศ<br />

10.00 - 10.20 มาตรการสิ่งแวดลอมใหมที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดของภาคการสงออกไทย<br />

Carbon Footprint: An Impending Environmental Measurement for Thai Exporter<br />

ยุวนันท สันติทวีฤกษ กุลวรางค สุวรรณศรี และ กฤษดา บํารุงวงศ


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

10.35 - 10.55 ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท คําตอบสุดทายของสินคารักษสิ่งแวดลอม?<br />

Carbon Footprint Final Solution for Green Products?<br />

กฤษดา บํารุงวงศ กุลวรางค สุวรรณศรี และ ยุวนันท สันติทวีฤกษ<br />

10.55 - 11.15 การวิเคราะหความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดของไทย<br />

โดยใชขอมูลระดับจังหวัด<br />

An analysis of Thailand’s Carbon Dioxide Emission Inequality Using Provincial<br />

Information<br />

จิระ บุรีคํา และ ชัยนันท ใจวังเย็น<br />

11.15 - 11.35 การศึกษาทางเศรษฐมิติของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด การบริโภค<br />

พลังงาน รายได และระดับการเปดทางการคาของประเทศไทย<br />

An Econometric Study of CO 2 Emissions, Energy Consumption, Income<br />

and Trade Openness in Thailand<br />

นิสิต พันธมิตร และ จิระ บุรีคํา


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 1 ภูมิอากาศวิทยา: ภูมิอากาศวิทยาทั่วไป<br />

(Session I Climate Science: Basic Climatology)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การคํานวณการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ<br />

ของประเทศไทย<br />

Determination of Absorption Solar Radiation by Precipitable Water Vapor<br />

in the Atmosphere<br />

สายันต โพธิ์เกตุ<br />

สาขาวิชาฟสิกสประยุกต คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน<br />

วิทยาเขตขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 E-mail: syphokate@hotmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคํานวณหาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศของประเทศไทยและ<br />

วิเคราะหหาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหหา<br />

ปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศของประเทศไทย จากขอมูลความชื้นสัมพัทธ และอุณหภูมิอากาศที่ไดจากการ<br />

ตรวจอากาศชั้นบนซึ่งมีการตรวจวัดที่สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดเชียงใหม สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดอุบลราชธานี<br />

สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดสงขลา และกรมอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร ซึ่งทําการตรวจวัดตอเนื่องกันในชวงป<br />

พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550 เมื่อนําปริมาณไอน้ําที่ไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนทั้ง 4 สถานีดังกลาว มาหา<br />

ความสัมพันธกับความชื้นสัมพัทธและอุณหภูมิของอากาศซึ่งเปนขอมูลภาคพื้นดินที่สถานีเดียวกันในรูปแบบจําลอง<br />

ทางคณิตศาสตร ผลที่ไดพบวามีความสัมพันธที่เชื่อถือไดคอนขางสูง คาปริมาณไอน้ําที่ไดจากขอมูลการตรวจ<br />

อากาศชั้นบนจะมีคาใกลเคียงกับคาปริมาณไอน้ํา ที่ไดจากแบบจําลองโดยมีความแตกตางในรูปของ Root Mean<br />

Square Error (RMSE) เทากับ 0.354 เซนติเมตร จากนั้นผูวิจัยนําแบบจําลองที่ไดไปคํานวณคาปริมาณไอน้ํากลั่น<br />

ตัวไดที่สถานีอุตุนิยมวิทยา 85 แหงทั่วประเทศ ผลที่ไดพบวาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดมีคานอยในชวงฤดูแลง<br />

(พฤศจิกายน – มีนาคม) และมีคามากในชวงฤดูฝน (เมษายน – ตุลาคม) โดยมีคาเฉลี่ยตอปเทากับ 4.571 ± 0.107<br />

เซนติเมตร เมื่อวิเคราะหหาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศที่ไดจาก<br />

แบบจําลอง ผลที่ไดพบวาการดูดกลืนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณไอน้ําในบรรยากาศซึ่งมีคาเฉลี่ยตอปคิดเปน<br />

รอยละ 15.49<br />

คําสําคัญ : การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตย ปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิ<br />

2


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

This research aims to calculate the amount of precipitable water vapor in the atmosphere of<br />

Thailand and provide an analysis of the solar radiation absorption by water vapor in the atmosphere. The<br />

precipitable water vapor in the atmosphere was calculated, from upper air checking data, relative humidity<br />

and temperature. The data were collected at four meteorological monitoring station, namely Chiang Mai,<br />

Ubon Ratchathani, Bangkok and Songkhla during 1992-2007. The figures for precipitable water vapor<br />

obtained from this investigation were used to formulate a mathematical model relating to the precipitable<br />

water from four stations with surface climatological data, relative humidity and temperature at the same<br />

stations. The result showed that the relationship has a relatively high level of reliability. The precipitable<br />

water vapor obtained from upper air nearly equals the value of the model that is the difference in the Root<br />

Mean Square Error (RMSE) is equal to 0.354 cm. Then, the researcher used a model that calculates the<br />

amount of precipitable water vapor at 85 meteorology stations nationwide. The result showed that the<br />

precipitable water vapor were less in the dry (November to March) and relative high in the rainy season<br />

(April-October). The average per year is 4.571 ± 0.107 cm. When analyzing solar radiation absorption by<br />

precipitable water vapor in the atmosphere from the model, the result showed that absorption is more or<br />

less depending on the precipitable water vapor in the atmosphere, which has an average annual 15.49<br />

percent.<br />

Key words: Absorption Solar Radiation, Precipitable Water Vapor, Relative Humidity, Temperature<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในการศึกษาพลังงานแสงอาทิตยเพื่อใชประโยชนในการวางแผนการใชเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยใน<br />

รูปแบบตางๆ จําเปนตองทราบคาปริมาณรังสีดวงอาทิตยตอหนวยพื้นที่ ณ บริเวณที่ตั้งของระบบพลังงาน<br />

แสงอาทิตยนั้นๆ โดยปกติรังสีดวงอาทิตยที่ผานบรรยากาศเขามายังพื้นโลกจะมีคาลดลงเมื่อเทียบกับรังสีที่อยูนอก<br />

บรรยากาศทั้งนี้เนื่องจากบรรยากาศของโลกมีการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีดวงอาทิตย ไอน้ําเปนตัวแปรหนึ่งที่มี<br />

ความสําคัญตอการลดลงของรังสีดวงอาทิตย (Exell, 1978; Leckner, 1978; Iqbal, 1983; Christian, 1994)<br />

โดยทั่วไปไอน้ําเปนองคประกอบของบรรยากาศที่แสดงใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศ การกอตัวของ<br />

เมฆ และกอใหเกิดฝน หมอก หิมะ ลูกเห็บ ฯ นอกจากนี้ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศมีอิทธิพลที่สําคัญตอการลดลง<br />

ของรังสีดวงอาทิตยที่ผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลก กลาวคือไอน้ําในบรรยากาศจะดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยในชวง<br />

ความยาวคลื่นกวาง (0.25-4.0 μm) ซึ่งการดูดกลืนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (Gautier<br />

et al., 1980; Iqbal, 1983; Nunez, 1993) โดยปกติเราจะแสดงปริมาณไอน้ําในบรรยากาศในรูปของปริมาณไอน้ํา<br />

กลั่นตัวได (Precipitable Water Vapor) ซึ่งจะบอกไดในรูปของความสูงของน้ําในคอลัมนของบรรยากาศ โดย<br />

สมมติวาไอน้ําที่แทรกตัวอยูในคอลัมนของบรรยากาศนั้นกลั่นตัวกลายเปนน้ํา<br />

ปริมาณไอน้ําในอากาศโดยทั่วไปมักหาไดยากและในประเทศไทยยังไมมีการตรวจวัดปริมาณไอน้ําใน<br />

อากาศ จากการศึกษาพบวาปริมาณไอน้ํามีความสัมพันธกับความชื้นสัมพัทธ และอุณหภูมิของอากาศที่ไดจาก<br />

ขอมูลการตรวจอากาศชั้นบน (Upper Air Data) และมีการแปรคาตามละติจูดและฤดูกาล (Exell, 1978; Iqbal,<br />

3


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1983; Christopherson, 1997) สําหรับประเทศไทยมีหนวยงานที่ตรวจอากาศชั้นบนคือกรมอุตุนิยมวิทยาซึ่งทําการ<br />

ตรวจอากาศโดยปลอยบอลลูนตรวจอากาศ (Weather Balloon) ทุกวัน เนื่องจากอุปกรณที่ใชในภารกิจนี้มีราคา<br />

คอนขางแพงในการตรวจวัดแตละครั้งตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมาก ดังนั้นการตรวจอากาศชั้นบนจึงมีการตรวจ<br />

เฉพาะสถานีอุตุนิยมวิทยา เพียง 4 สถานีเทานั้น ไดแก สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดเชียงใหม สถานีอุตุนิยมวิทยา<br />

จังหวัดอุบลราชธานี สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดสงขลา และกรมอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร งานวิจัยนี้ใช<br />

ขอมูลที่มีการตรวจวัดติดตอกันในชวงป พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550 ผลการวิจัยที่ไดจะสามารถลดคาใชจายในการ<br />

หาคาปริมาณไอน้ําสําหรับสถานีที่ไมมีการตรวจอากาศชั้นบน ซึ่งในการศึกษาเกี่ยวกับความเขมรังสีดวงอาทิตยที่<br />

เขามายังพื้นโลกจําเปนตองทราบคาปริมาณไอน้ ํารวมทั้งคุณสมบัติในการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของไอน้ํา(Brine &<br />

Iqbal, 1983; Nunez, 1993) เพื่อใชในการออกแบบเครื่องมือทางดานพลังงานแสงอาทิตย และงานตาง ๆ ที่<br />

เกี่ยวของ เชน การหาการกระจายของความเขมรังสีดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลก (solar radiation mapping) จาก<br />

ภาพถายดาวเทียม งานออกแบบอุปกรณทางดานพลังงานแสงอาทิตย การอนุรักษพลังงานในอาคาร หรือใชใน<br />

งานอุตุนิยมวิทยา เชน การสรางแบบจําลองเพื่อทํานายสภาพภูมิอากาศ เปนตน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับคํานวณปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดใน<br />

บรรยากาศของประเทศไทย และเพื่อหาคาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ผูวิจัยคํานวณปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจากความสัมพันธระหวางความชื้นสัมพัทธ และอุณหภูมิของอากาศที่<br />

ไดจาการตรวจอากาศชั้นบนซึ่งเปนการคํานวณตามทฤษฎี โดยมีการตรวจวัด 4 สถานีไดแก สถานีอุตุนิยมวิทยา<br />

จังหวัดเชียงใหม สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดอุบลราชธานี สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดสงขลา และสถานีอุตุนิยมวิทยา<br />

กรุงเทพมหานคร ซึ่งใชขอมูลที่ทําการวัดติดตอกันในชวงป พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550 โดยใชสมการ (Garrison,<br />

1992)<br />

w<br />

1<br />

g<br />

⎛ M<br />

⎜<br />

⎝ ρ<br />

⎟ ⎞<br />

dp<br />

⎠<br />

0<br />

p<br />

= (1)<br />

∫<br />

p o<br />

เมื่อ w เปนปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได (Precipitable Water Vapor) ในหนวย เซนติเมตร<br />

M p เปน Mixing Ratio ที่ระดับความดัน p ใดๆ<br />

g เปนความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (986.665 cm/s 2 )<br />

p o เปนความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโลก (mber)<br />

ρ เปนความหนาแนนของน้ํา (g/cm 3 )<br />

นําคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได (w) ที่คํานวณไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนมาวิเคราะหหาความสัมพันธ<br />

กับขอมูลอุณหภูมิ (T) และความชื้นสัมพัทธ (rh) ของอากาศซึ่งเปนขอมูลผิวพื้น (surface data) ที่สถานีเดียวกัน<br />

ผลที่ไดนํามาสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับนําไปใชคํานวณปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดตามสถานที่ตางๆ<br />

ผูวิจัยไดทดสอบแบบจําลองโดยใชขอมูลของป พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนขอมูลอิสระไมไดใชในการสรางแบบจําลองเพื่อ<br />

ยืนยันความถูกตองของแบบจําลองที่สรางขึ้น<br />

4


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากนั้นนําแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่ไดไปคํานวณหาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศจากขอมูล<br />

ผิวพื้นที่มีการตรวจวัดตามสถานีอุตุนิยมวิทยา 85 แหงทั่วประเทศ เพื่อวิเคราะหหาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของ<br />

ปริมาณไอน้ําโดยใชสมการ Lacis and Hansen (1974 อางถึงใน Iqbal, 1983)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

โดยที่ U = w×<br />

m<br />

r<br />

2.9×<br />

U<br />

(1+<br />

141.5×<br />

U) + 5.925×<br />

U<br />

α<br />

w<br />

0.638<br />

= (2)<br />

เมื่อ α<br />

w<br />

เปนสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตย<br />

w เปนปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได<br />

m r เปนมวลอากาศมาตรฐาน (Iqbal, 1983)<br />

ผูวิจัยหาความสัมพันธในรูปสมการทางคณิตศาสตรเพื่อคํานวณคาปริมาณไอน้ําของสถานีที่ไมมีขอมูล<br />

ตรวจอากาศชั้นบน โดยการนําคาปริมาณไอน้ํา(w) ที่ไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนมาหาความสัมพันธกับ<br />

อุณหภูมิ (T) และความชื้นสัมพัทธ (RH) ของอากาศที่สถานีเดียวกัน ผลที่ไดแสดงไวดังรูปที่ 1 ซึ่งจากรูปที่ 1 เรา<br />

สามารถสรางสมการเอ็มไพลิคัล (Empirical) แทนความสัมพันธระหวางปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดกับอุณหภูมิและ<br />

ความชื้นสัมพัทธซึ่งเปนขอมูลผิวพื้น ไดดังสมการที่ (3)<br />

⎡ RH×<br />

p<br />

w = 0.90176exp⎢0.1738×<br />

⎣ T<br />

เมื่อ w เปนปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได (cm)<br />

RH เปนความชื้นสัมพัทธของอากาศ (decimal)<br />

T เปนอุณหภูมิของอากาศ (K)<br />

p s เปนความดันไออิ่มตัวของไอน้ําในอากาศ (mbar)<br />

คาความดันไออิ่มตัวของไอน้ําในอากาศ หาไดจากสมการ (Iqbal, 1983)<br />

⎛ 5416 ⎞<br />

= exp⎜<br />

26.23 − ⎟<br />

⎝ T ⎠<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

s<br />

(3)<br />

p s<br />

(4)<br />

รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณไอน้ํา (w) กับอุณหภูมิ (T) ความชื้นสัมพัทธ (RH)<br />

และความดันไอน้ําอิ่มตัว (p s )<br />

5


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในการตรวจสอบความถูกตองของสมการที่ (3) นี้ผูวิจัยไดเปรียบเทียบคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจาก<br />

แบบจําลองสมการที่ (3) และคาที่ไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนสมการที่ (1) โดยใชขอมูลจาก 4 สถานี ดังกลาว<br />

ขางตน ของป พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนขอมูลอิสระและไมไดใชในการสรางแบบจําลองมาทดสอบ ดังรูปที่ 2<br />

จากรูปที่ 2 พบวาคาปริมาณไอน้ําที่ไดจากขอมูลการตรวจอากาศชั้นบนสวนใหญมีคาใกลเคียงกับคา<br />

ปริมาณไอน้ํา ที่ไดจากแบบจําลองโดยมีความแตกตางในรูปของ Root Mean Square Error (RMSE) เทากับ 0.354<br />

cm และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (R 2 ) มีคาสูงกวา 0.90 ซึ่งถือไดวาเปนความสัมพันธที่คอนขางสูงผลการ<br />

คํานวณดังกลาวมีความละเอียดถูกตองในเกณฑที่ยอมรับได เมื่อนําสมการที่ (3) คํานวณคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัว<br />

ไดจากขอมูลเฉลี่ยในชวงป พ.ศ.2535-พ.ศ.2550 ของ 85 สถานีทั่วประเทศ จะไดวาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบปโดยจะมีคามากในชวงฤดูฝน(เมษายน-ตุลาคม) และจะมีคาลดลงในชวงฤดูแลง<br />

(พฤศจิกายน-มีนาคม) โดยมีคาเฉลี่ยตอปเทากับ 4.599 ± 0.107 เซนติเมตร มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ<br />

คาเฉลี่ย(Standard Error of the Mean) เทากับ 0.0547 เมื่อเปรียบเทียบงานวิจัยนี้กับงานวิจัยของ Leckner<br />

(1978) โดยใชขอมูลในชวงเวลาและสถานีเดียวกัน ผลที่ไดจากงานวิจัยมีรูปแบบการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบป<br />

สอดคลองกัน ดังรูปที่ 3<br />

รูปที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบคาปริมาณไอน้ําที่คํานวณไดจากแบบจําลองตามสมการที่ (3) ซึ่งใชขอมูลผิว<br />

พื้นกับปริมาณไอน้ําซึ่งไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนตามสมการที่ (1) จากขอมูลป พ.ศ. 2551<br />

รูปที่ 3 แสดงคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได คํานวณจากงานวิจัยเปรียบเทียบกับสมการของ Leckner จาก<br />

ขอมูลผิวพื้นเฉลี่ยรายเดือนในชวงป พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550 ของ 85 สถานี ทั่วประเทศ<br />

6


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อนําแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่ไดสมการที่ (3) ไปคํานวณหาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ<br />

จากขอมูลผิวพื้นที่มีการตรวจวัดตามสถานีอุตุนิยมวิทยา 85 แหงทั่วประเทศ เพื่อวิเคราะหหาการดูดกลืนรังสีดวง<br />

อาทิตยของปริมาณไอน้ําโดยใชสมการ Lacis and Hansen (1974 อางถึงใน Iqbal, 1983) ผลการวิเคราะหการ<br />

ดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดในบรรยากาศ โดยใชคาเฉลี่ยรายเดือนในรอบ 15 ป ในชวงป<br />

พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550 ไดผลดังรูปที่ 4<br />

จากการวิเคราะหหาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยโดยใชคาปริมาณไอน้ําเฉลี่ยตอเดือนในรอบ 20 ป พบวา<br />

การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณไอน้ําในบรรยากาศโดยมีคา<br />

การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยเฉลี่ยเทากับ 0.1549 ± 0.00207 และมีความสัมพันธกับปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดดังสมการ<br />

ที่ (6) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (R 2 ) เทากับ 0.92<br />

α<br />

w<br />

= 0.0048(w) + 0.1332 (6)<br />

เมื่อ α<br />

w<br />

เปนสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตย<br />

w เปนปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได<br />

รูปที่ 4 การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ 85 สถานีทั่วประเทศซึ่งเปนคาเฉลี่ยราย<br />

เดือนในชวงป พ.ศ. 2535 -2550<br />

รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยกับปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดโดยใช<br />

ขอมูลเฉลี่ยรายเดือนในชวงป พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2550<br />

7


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากความสําคัญของปริมาณไอน้ําในอากาศที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศและมีอิทธิพลตอ<br />

ความเขมรังสีดวงอาทิตย ในงานวิจัยนี้จึงไดคํานวณคํานวณคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวได จากขอมูลความชื้นสัมพัทธ<br />

และอุณหภูมิจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนที่มีการตรวจวัด 4 สถานีดังกลาว จากนั้นนําคาที่ไดไปวิเคราะหหา<br />

ความสัมพันธกับขอมูลอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธจากการตรวจวัดภาคพื้นดินซึ่งวัดไดที่สถานีเดียวกัน ผลการ<br />

วิเคราะหปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดมีความสัมพันธอยางเปนระบบกับขอมูลภาคพื้นดินดังกลาวซึ่งสามารถเขียนไดใน<br />

รูปแบบจําลองทางคณิตศาสตร ดังสมการที่ (3) ผูวิจัยไดนําแบบจําลองดังกลาวไปใชคํานวณคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัว<br />

ไดของสถานีวัดอื่น ๆ อีก 85 สถานีทั่วประเทศ ซึ่งมีขอมูลอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธจากการตรวจวัด<br />

ภาคพื้นดิน จากผลการคํานวณพบวาคาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบป ซึ่งจะมีคาสูง<br />

ในชวงเดือนเมษายน ถึง ตุลาคม ซึ่งเปนฤดูฝนและจะมีคานอยในชวงชวงเดือนพฤศจิกายน ถึง มีนาคมซึ่งเปนฤดู<br />

แลง โดยมีคาเฉลี่ยสูงสุด 5.329 เซนติเมตร ในเดือนพฤษภาคม และเฉลี่ยต่ําสุดเทากับ 3.435 เซนติเมตรในเดือน<br />

ธันวาคม คาเฉลี่ยตลอดทั้งปอยูในชวง 4.571 ± 0.107 เซนติเมตร<br />

เมื่อคํานวณปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจากแบบจําลองทางคณิตศาสตรโดยใชขอมูลผิวพื้นของ 85 สถานี<br />

นํามาวิเคราะหการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดพบวา มีความสัมพันธดังสมการที่ (6) จาก<br />

การวิจัยนี้พบวาการดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยของปริมาณไอน้ําโดยเฉลี่ยตลอดทั้งปมีคา รอยละ 15.49 ซึ่งสอดคลอง<br />

กับงานวิจัยของ Nunez (1993) ที่พบวา ไอน้ําในบรรยากาศจะดูดกลืนรังสีดวงอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง<br />

(0.25-4.0 μm) ไดถึง 15 % และการดูดกลืนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ<br />

เนื่องจากการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนซึ่งมีอยูจํากัดและจากการ<br />

คํานวณทางทฤษฎีซึ่งเปนวิธีการศึกษาทางออม ดังนั้นการศึกษาปริมาณไอน้ํากลั่นตัวไดอนาคตควรที่จะ<br />

ทําการศึกษาโดยการใชเครื่องมือวัดที่ทันสมัยและมีกระจายตามสถานีอุตุนิยมทั่วประเทศเพื่อนําขอมูลมาศึกษาการ<br />

เปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศตลอดจนอิทธิพลของปริมาณไอน้ําที่มีตอการลดลงของความเขมรังสีดวงอาทิตย ซึ่ง<br />

จะทําใหผลที่ไดมีความละเอียดถูกตองยิ่งขึ้น อันจะเปนประโยชนตองานดานการทํานายสภาพอากาศและการศึกษา<br />

ขอมูลระยะไกลโดยใชดาวเทียมและงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของตอไป<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Brine, D.T. and Iqbal, M. (1983), Diffuse and Global solar spectral irradiance under<br />

cloudless skies. Solar Energy, 30, pp. 447-456.<br />

- Christian, G. (1994), Analysis of Monthly Average Atmospheric Precipitable Water and<br />

Turbidity in Canada and Northem United States. Solar Energy, 53, pp. 50-71.<br />

- Christopherson, R. W. (1997), Geosystem: An Introduction to Physical Geography. 3 rd<br />

edition. Prentice Hall Inc.<br />

- Exell, R. H. B. (1978), The water content and turbidity of the atmosphere in Thailand.<br />

Solar Energy, 20, pp. 429-430.<br />

- Garrison, J.D. (1992), Estimation of atmospheric precipitable water over Australia for<br />

application to the division of solar radiation into its direct and diffuse components. Solar<br />

energy, 48, pp. 89-96.<br />

8


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Gautier, C.; Diak, G.; and Masse, S. (1980), A simple physical model to estimate incident<br />

solar radiation at the surface from GOES satellite data. Journal Applied Meteorology, 36,<br />

pp. 1005-1012.<br />

- Iqbal, M. (1983), An Introduction to Solar Radiation. New York: Academic Press.<br />

- Lacis, A.A. and Hansen, J.E. (1974), Parameterization: for the absorption of solar<br />

radiation in the Earth’s Atmosphere. Journal Atmospheric Science, 19, pp. 118-132.<br />

- Leckner, B. (1978), The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface<br />

elements of a model. Solar Energy, 20, pp. 143-150.<br />

- Nunez, M. (1993), The development of a satellite-based insulation model for the Tropical<br />

Pacific Ocean. Journal of Climatology, 13, pp. 607-627.<br />

9


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของฝนชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย<br />

Trends in Thailand Rainfall During Northeast Monsoon<br />

อัศมน ลิ่มสกุล 1 , แสงจันทร ลิ้มจิรกาล 2 , ธชณัฐ ภัทรสถาพรกุล 3 , นิตยา นักระนาด มิลน1 1<br />

และ บุญชอบ สุทธมนัสวงษ<br />

1 ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม เทคโนธานี ต. คลองหา อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120<br />

2 สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

3 คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบรูพา วิทยาเขตจันทบุรี ต. โขมง อ. ทาใหม จ. จันทบุรี 22170<br />

บทคัดยอ<br />

ระบบลมมรสุมซึ่งเกิดจากความแปรปรวนตามฤดูกาลของความรอน ความชื้นและโมเมนตัมระหวางพื้น<br />

ทวีปมหาสมุทรและชั้นบรรยากาศ เปนปจจัยที่สําคัญตอการดํารงชีวิตของประชาชนและการพัฒนาเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศไทย โดยคลื่นมวลอากาศเย็นชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดพาจากไซบีเรียซึ่งมีแนวโนมความรุนแรง<br />

และความถี่การเกิดเพิ่มขึ้นในชวงทศวรรษที่ผานมา ไมเพียงสงผลใหเกิดสภาวะความรุนแรงของลมฟาอากาศ<br />

เทานั้น แตกอใหเกิดเหตุการณฝนตกในหลายพื้นที่ ดังนั้น ความรูความเขาใจถึงความแปรปรวนของฝนชวงมรสุม<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีความจําเปนตอการกําหนดแนวทางตั้งรับและปรับตัวตอภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการ<br />

บริหารจัดการทรัพยากรน้ําและเกษตรกรรมของประเทศ การศึกษานี้ ไดทําการวิเคราะหขอมูลฝนรายวันคุณภาพสูง<br />

ของกรมอุตุนิยมวิทยา จํานวน 70 สถานีที่กระจายตัวทั่วทุกภาคของประเทศไทย เพื่ออธิบายแนวโนมการ<br />

เปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ระหวางป ค.ศ. 1975-2009<br />

ผลการศึกษา พบวา ประมาณ 68% ของสถานีทั้งหมดซึ่งตั้งอยูในภาคใต ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโนมการเพิ่มขึ้นของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-<br />

กุมภาพันธ ในอัตราเฉลี่ย 15% และ 9.8% ตอทศวรรษ (เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในชวง 1975-2009) ตามลําดับ<br />

เปนที่นาสังเกตวา ปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในภาคใตทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามัน รวมทั้งภาค<br />

ตะวันออก มีการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% นอกจากนี้ สัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน<br />

(Coefficient of Variation; CV) ซึ่งคํานวณจากขอมูลฝนรายวันในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ยังแสดงใหเห็นถึง<br />

ลักษณะฝนในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย มีความแปรปรวนเพิ่มขึ้น อยางไรก็<br />

ตาม ผลการวิเคราะหนี้ จําเปนตองมีการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียด เพื่อสามารถอธิบายกลไกความเชื่อมโยงกับ<br />

การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศในระดับภูมิภาคที่เกิดจากทั้งความแปรปรวนตามธรรมชาติ ของความกดอากาศสูง<br />

จากประเทศจีน และ/หรือการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย<br />

คําสําคัญ : แนวโนมการเปลี่ยนแปลง ฝน มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย<br />

Abstract<br />

Monsoon as part of a seasonally reversing wind system associated with large-scale changes in<br />

atmospheric circulation forced primarily by the land-sea thermal contrast and annual cycle of solar<br />

10


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

radiation is a crucial factor for Thailand’s socio-economic development and local communities. In<br />

particular, cold surge from Siberia and China during north-east monsoon, which has undergone the<br />

increased frequency and severity in the recent decades, brings not only hazardous weather to Southeast<br />

Asia but also anomalous rainfall to many parts of Thailand. Hence, better understanding of rainfall<br />

variability during north-east monsoon is of particular importance for effectively tackling climate-driven<br />

disasters and managing water resources and agriculture. In this study, high-quality homogenized daily<br />

rainfall data for the period 1975-2009 from 70 stations distributed across Thailand were examined to<br />

illustrate trends in rainfall amounts and rainy days during cold season (December-February). Results<br />

showed widespread significant trends in Dec.-Feb. rainfall amounts and rainy days. 68% of total stations<br />

which are mostly located in the South, Central, East and Northeast exhibited overall increases by 15%<br />

and 9.8% per decade (relative to 1975-2009 means), respectively. Another noteworthy feature is that<br />

Dec.-Feb. rainfall amounts and rainy days along both coastal sides of southern Thailand and the East<br />

significantly increased at the 95% confidence level. In addition, coefficient of variation (CV) derived from<br />

daily rainfall records during Dec.-Feb. indicated increased variance of rainfall during north-east monsoon in<br />

many stations. To shed more light on the plausible linking mechanisms between regional climate modes<br />

particularly Siberia High variability and human-induced climate change and their consequences, however,<br />

additional analyzes are needed for future work.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ภูมิอากาศในประเทศไทย อยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมฤดูรอน (ตะวันตกเฉียงใต) และฤดูหนาว<br />

(ตะวันออกเฉียงเหนือ) ซึ่งเปนความแปรปรวนตามฤดูกาลที่ระบบลมพัดเปลี่ยนทิศทาง อันเนื่องมาจากความ<br />

แตกตางเชิงพลศาสตรของฟลักซความชื้น ความรอนและโมเมนตัมระหวางพื้นทวีป พื้นมหาสมุทรและชั้น<br />

บรรยากาศ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของรังสีดวงอาทิตย (Trenberth et al., 2000; Singhratina et al.,<br />

2005; Wang et al., 2005) ในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ตั้งแตประมาณกลางเดือนตุลาคมไปจนถึง<br />

กลางเดือนกุมภาพันธ ประเทศไทย ถูกปกคลุมดวยลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและคลื่นมวลอากาศเย็น (Cold<br />

surge) จากไซบีเรียและประเทศจีน ซึ่งสภาพอากาศมีลักษณะหนาวเย็นและคอนขางแหง เมื่อพัดพาเขาสูประเทศ<br />

ไทย ทําใหสภาพอากาศในระยะนี้ หนาวเย็นเกือบทั่วไป ยกเวนทางฝงตะวันออกของภาคใตที่ทองฟามีเมฆมาก<br />

เนื่องจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผานนานน้ําในอาวไทยและพัดพาเอาไอน้ํา ทําใหอากาศมีความชุมชื้นสูง<br />

และกอใหเกิดฝนตกชุก มรสุมฤดูหนาว มีกลไกเกิดจากระบบการไหลเวียนของมวลอากาศในซีกโลกเหนือบริเวณกึ่ง<br />

เขตรอน มีลักษณะ baroclinic westerly wave เนื่องจากพื้นทวีปเย็นตัวลงและความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศ<br />

เย็นที่ไซบีเรียมีกําลังแรงขึ้น (House et al., 1981; Ryoo et al., 2005) โดยลมในระดับใกลพื้นดิน พัดจากไซบีเรีย<br />

ผานประเทศจีน เขาสูชายฝงของประเทศเกาหลีใตและประเทศญี่ปุน และเปลี่ยนทิศลงทางตะวันตกเฉียงใต บริเวณ<br />

ที่เสนรุงที่ 23 องศาเหนือ ใกลกับ Tropic of Cancer (House et al., 1981) พัดผานทะเลจีนใตเขาสูแหลมอินโดจีน<br />

แหลมมาลายูและหมูเกาะในประเทศอินโดนีเซีย<br />

มรสุมฤดูหนาว นับเปนองคประกอบที่สําคัญของภูมิอากาศโลก ซึ่งเชื่อมโยงและปฏิสัมพันธอยางใกลชิด<br />

กับความแปรปรวนของความกดอากาศสูงไซบีเรีย (Siberian high) และความผันแปรของลิ่มกดอากาศสูงและกระแส<br />

ลมที่พัดวนรอบขั้วโลกเหนือ (Arctic Oscillation; AO) และปรากฏการณเอนโซ (El Niño-Southern Oscillation,<br />

ENSO) (Gong et al., 2001; Wu, 2002; Chen et al., 2004; D’Arrigo et al., 2005) โดยคลื่นมวลอากาศเย็น เปน<br />

11


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลักษณะที่โดดเดนของมรสุมฤดูหนาว ซึ่งความถี่และความรุนแรงของคลื่นมวลอากาศเย็นในแตละป ขึ้นอยูกับ<br />

พฤติกรรมของความกดอากาศสูงไซบีเรีย ความแรงของมรสุมฤดูหนาวและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นมวลอากาศ<br />

เย็น (Chen et al., 2004; D’Arrigo et al., 2005) คลื่นมวลอากาศเย็น จัดเปนสภาวะความรุนแรงของลมฟาอากาศ<br />

(Extreme weather) ในชวงมรสุมฤดูหนาว ที่ไมเพียงกอใหเกิดภัยพิบัติทางภูมิอากาศแตสงผลตอความแปรปรวน<br />

ของฝนในชวงฤดูหนาวในบริเวณเอเซียตะวันออกเฉียงใตอีกดวย (Chen et al., 2004; Ting et al., 2009) ดังนั้น<br />

การเปลี่ยนแปลงของคลื่นมวลอากาศเย็นและความผันแปรของมรสุมฤดูหนาว นับเปนประเด็นที่สําคัญและมีนัยทั้ง<br />

ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับประเทศไทย ซึ่งไดรับอิทธิพลโดยตรงจากความแปรปรวนและ<br />

สภาวะความรุนแรงของปรากฏการณดังกลาว<br />

2. วัตถุประสงค<br />

การศึกษานี้ ไดทําการวิเคราะหขอมูลฝนรายวันในระหวางป ค.ศ. 1975-2009 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

อธิบายแนวโนมและรูปแบบการเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตก ในชวงฤดูมรสุมตะวันตก<br />

เฉียงเหนือในประเทศไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

วิธีการศึกษา ประกอบดวย การรวบรวมและคัดเลือกขอมูลฝนรายวันระหวางป ค.ศ. 1975-2009 จํานวน<br />

70 สถานี จากกรมอุตุนิยมวิทยา โดยสถานีขอมูลฝนที่ถูกรวบรวมครั้งนี้ มีการกระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทย<br />

(รูปที่ 1) ขอมูลฝนรายวันแตละสถานี ถูกตรวจวัดและบันทึกอยางตอเนื่อง ซึ่งขอมูลมีความสมบรูณ 98% และมี<br />

ขอมูลขาดหายโดยเฉลี่ยเพียง 2% ขอมูลฝนรายวันทุกสถานี ถูกตรวจสอบคุณภาพดวยเทคนิคทางสถิติที่เปนวิธี<br />

มาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ซึ่งประกอบดวย การตรวจสอบคาผิดปกติทั้งเชิงพื้นที่และเวลา (Temporal และ<br />

Spatial outlier) และการประมาณคาที่ขาดหายไป (Missing value interpolation) (Feng and Qian, 2004; Auger<br />

et al., 2005) ความเปนเนื้อเดียวกันของขอมูล (Homogenization check) ถูกตรวจสอบดวยโปรแกรม RHtest ซึ่ง<br />

เปน โมเดลเชิงถดถอยสองชั้น ที่สามารถระบุการเปลี่ยนแปลงแบบกาวกระโดดในอนุกรมขอมูล (Wang et al.,<br />

2007)<br />

ปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในชวง 3 เดือน (เดือนธันวาคม (ปที่หนึ่ง) และ เดือนมกราคม-<br />

กุมภาพันธ (ปที่สอง)) ถูกคํานวณในแตละสถานี โดยจํานวนวันฝนตก หมายถึง วันที่มีปริมาณฝนอยางนอย 1<br />

มิลลิเมตร ทั้งนี้ แนวโนมการเปลี ่ยนแปลงเชิงเสนตรงของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในชวงเดือน<br />

ธันวาคม-กุมภาพันธ ถูกประเมินดวย Kendall’s tau based slope estimator ซึ่งเปนสถิติแบบ non-parametric ที่มี<br />

คุณสมบัติสามารถจัดการกับ autocorrelation และคาผิดปกติในอนุกรมขอมูลไดดี (Zhang et al., 2005) แนวโนม<br />

การเปลี่ยนแปลงเชิงเสนตรงที่คํานวณในแตละสถานี ถูกรายงานในรูปของเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในระยะยาว (1975-2009) ตอทศวรรษ (% per decade) นอกจากนี้ สัมประสิทธิ์ของความ<br />

แปรปรวน (CV) ซึ่งคํานวณจากคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลฝนรายวันในชวงเดือนธันวาคม-<br />

กุมภาพันธ ถูกนําประยุกตใชอธิบายความแปรปรวนของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกเพิ่มเติมในแตละ<br />

สถานีและภาพรวมของประเทศไทย<br />

12


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

รูปที่ 2 และ 3 แสดงคาเฉลี่ยในระยะยาว (ป ค.ศ. 1975 -2009) ของปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตก<br />

ในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธของแตละสถานี ผลการวิเคราะหจากขอมูลในรูปที่ 2 และ 3 พบวา ปริมาณฝน<br />

สะสมและจํานวนวันฝนตกในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย มีคาสูงในบริเวณภาคตะวันออกและ<br />

ภาคใตตอนลาง โดยเฉพาะอยางยิ่งฝงตะวันตกของอาวไทย ซึ่งคาเฉลี่ยในระยะยาวอยูในชวง 60-681 มิลลิเมตร<br />

และ 8-34 วัน ตามลําดับ ทั้งนี้เนื่องจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผานนานน้ําในอาวไทยและพัดพาเอาไอน้ํา<br />

ทําใหอากาศมีความชุมชื้นสูงและสงผลใหฝนตกชุกในบริเวณดังกลาว สวนปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตก<br />

ในชวงเดียวกันในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย มีลักษณะที่คลายคลึงกัน กลาวคือ มีฝนตกนอย ซึ่งไดรับอิทธิพล<br />

จากมวลอากาศเย็นและแหงที่เคลื่อนตัวปกคลุมประเทศไทยในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ โดยคาเฉลี่ยในระยะ<br />

ยาวของปริมาณฝนสะสม นอยกวา 50 มิลลิเมตร<br />

ผลการวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนสะสมในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ระหวางป<br />

ค.ศ. 1975-2009 พบวา สถานีสวนใหญ (68% ของสถานีทั้งหมด) ซึ่งตั้งอยูในภาคใต ภาคกลาง ภาคตะวันออกและ<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้น อยูในชวงกวาง คือ 0.5% - 61% ตอทศวรรษ<br />

(รูปที่ 4) หากพิจารณาในภาพรวมแลว ปริมาณฝนสะสมในประเทศไทยในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ มีอัตรา<br />

เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 15% ตอทศวรรษ โดยปริมาณฝนสะสม เพิ่มขึ้นสูงสุดที่สถานีตั้งอยูในภาคเหนือตอนลาง (รูปที่ 4) เปน<br />

ที่นาสังเกตวา ปริมาณฝนสะสมในภาคใตทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามัน รวมทั้งภาคตะวันออก มีการเพิ่มขึ้นอยางมี<br />

นัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% การเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญของปริมาณฝนสะสม ยังสามารถพบในบางสถานีใน<br />

พื้นที่ภาคเหนือตอนลาง ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาครั้งนี้ ไมพบการลดลง<br />

อยางมีนัยสําคัญของปริมาณฝนสะสมในประเทศไทยในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในรอบ 34 ปที่ผานมา<br />

(รูปที่ 4)<br />

จํานวนวันฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ระหวางป ค.ศ. 1975-2009 มีแนวโนมการเปลี่ยนแปลง<br />

ที่สอดคลองกับปริมาณฝนสะสม ดังปรากฏจากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของ<br />

จํานวนฝนตกและปริมาณฝนสะสม ซึ่งมีคา r =0.59, p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ของคลื่นมวลอากาศเย็นที่เปนเหตุการณเกิดขึ้นในระยะสั้น โดยมีความแปรปรวนสูงในแงของความถี่ ความรุนแรง<br />

และทิศทาง (Chen et al., 2004)<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ผลการวิเคราะหขอมูลฝนรายวันคุณภาพสูงของกรมอุตุนิยมวิทยา จํานวน 70 สถานีที่กระจายตัวทั่วทุก<br />

ภาคของประเทศไทย ในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ระหวางป ค.ศ. 1975-2009 พบวา ปริมาณฝนสะสมและ<br />

จํานวนวันฝนตก มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคใต ซึ่งเปนฤดูฝนที่ไดรับ<br />

อิทธิพลจากลมมรสุมฤดูหนาวที่มีตนกําเนิดจากไซบีเรีย โดยปริมาณฝนสะสมและจํานวนวันฝนตกในประเทศไทย<br />

ในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีรูปแบบการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ ที่ไมเกิดขึ้นเปนบริเวณกวางแตจํากัดอยู<br />

เฉพาะที่เทานั้น ซึ่งมีลักษณะที่คลายคลึงกับการเกิดคลื่นมวลอากาศเย็น ซึ่งเปนเหตุการณสภาวะความรุนแรงของ<br />

ลมฟาอากาศที่เกี่ยวของกับลมมรสุมฤดูหนาว ที่เกิดขึ้นเปนระยะ ๆ มีชวงเวลาประมาณ 3-4 วัน โดยมีความ<br />

แปรปรวนสูงในแงของความรุนแรงและทิศทางการเคลื่อนที่จากไซบีเรีย อาจเปนไปไดวา ในชวงไมกี่ทศวรรษที่ผาน<br />

มา ทิศทางของคลื่นมวลอากาศเย็น มีการเปลี่ยนทิศลงสูทะเลจีนใตมากขึ้น กอนที่จะพัดเขาสูประเทศไทยซึ่งนํา<br />

ความชุมชื้นและกอใหเกิดฝนตกเพิ่มขึ้น อยางไรตาม ผลการวิเคราะหนี้ จําเปนตองมีการศึกษาเพิ่มเติมใน<br />

รายละเอียด เพื่อสามารถอธิบายกลไกความเชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ในระดับภูมิภาคที่เกิดจาก<br />

ทั้งความแปรปรวนตามธรรมชาติของความกดอากาศสูงจากประเทศจีน และ/หรือการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกที่เกิด<br />

จากกิจกรรมของมนุษย<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Auger, I. et al. (2005), A new instrumental precipitation dataset for the Greater Alpine<br />

Region for the period 1800-2002. International Journal of Climatology, 25, pp. 139-166.<br />

- Chen, T.-C., Huang, W.-R. and Yoon, J.-H. (2004), Interannual variation of the East<br />

Asian Cold Surge Activity. Journal of Climate, 17, pp. 401-413.<br />

- D’Arrigo, R., Wilson, R., Panagiotopoulos, F. and Fu, B. (2005), On the long-term<br />

interannual variability of the east Asian winter monsoon. Geophysical Research Letters,<br />

32, L21706, doi:10.1029/2005GL023235.<br />

- Ding, T., Qian, W.-H. and Yan, Z.-W. (2009), Characteristics and changes of cold surge<br />

events over China during 1960-2007. Atmospheric and Oceanic Science Letters, 2, pp.<br />

339-344.<br />

- Feng, S., Hu, Q., and Qian, W. (2004), Quality control of daily metrological data in<br />

China, 1951-2000: A new dataset. International Journal of Climatology, 24, pp. 853-870.<br />

- Gong, D.-Y., Wang, S.-W. and Zhu, J-H. (2001), East Asian winter monsoon and Arctic<br />

Oscillation. Geophysical Research Letters, 28, pp. 2073-2076.<br />

- House, R.A., Geotis, S.G. Jr., Marks, F.D. Jr. and West, A.K. (1981), Winter monsoon<br />

convection in the vicinity of North Borneo. Part I : Structure and time variability of the<br />

clouds and precipitation. Monthly Weather Review, 109, pp. 1595-1614.<br />

14


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Limsakul, A., Lmjirakan, S. and Sriburi, T. 2009, Assessment of extreme weather events<br />

along coastal areas of Thailand. Paper for oral presentation in American Meteorological<br />

Society 89 th Annual Meeting, Arizona, USA, Jan. 2009.<br />

- Ryoo, S.B., Kwon, W.T. and Jhun, J.G. (2005), Surface and upper-level features<br />

associated with wintertime cold surge outbreaks in South Korea. Advance Atmospheric<br />

Science, 22, pp. 509-524.<br />

- Singhratina, N., Rajagopalan, B., Kumar, K.K. and Clark, M. (2005), Interannual and<br />

interdecadal variability of Thailand summer monsoon season. Journal of Climate, 18,<br />

pp.1697-1708.<br />

- Trenberth, K. E., Stepaniak, D. P. and Caron, J. M. (2000), The global monsoon as seen<br />

through the atmospheric divergent circulation. Journal of Climate, 13, pp. 3969-3993.<br />

- Wang, B., Li, T., Ding, Y., Zhang, R. and Wang, H. (2005), East Asian –Western North<br />

Pacific Monsoon : A distinctive components of the Asian-Australia Monsoon System. In<br />

Chang, C.-P., Wang, B. and Lau, N.-C. G (Eds.), The Global monsoon system : Research<br />

and forecast. WMO/TD No. 266, World Meteorological Organization, Switzerland, pp. 72-<br />

94.<br />

- Wang, X.L., Wen, Q.H. and Wu, Y. (2007), Penalized maximal t test for detecting<br />

undocumented mean change in climate data series. Journal of Applied Meteorological<br />

Climatology, 46, pp. 916-931.<br />

- Wu, B (2002), Winter Arctic Oscillation, Siberian High and East Asian Winter.<br />

Geophysical Research Letters, 29, 1897, doi:10.1029/2002GL015373.<br />

- Zhang, X. et al. (2005), Trends in Middle East climate extreme indices from 1950 to<br />

2003. Journal of Geophysical Research, 110, D22104, doi: 10.1029/2005JD006181.<br />

- นพพล อรุณรัตน และคนอื่น ๆ. การกัดเซาะชายฝงที่มีความสัมพันธกับปจจัยทางดานอุทก-<br />

อุตุนิยมวิทยา บริเวณอาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช, เอกสารการประชุมวิชาการเรื่อง<br />

บรูณาการความรูสูงานวิจัยมุงแกไขวิกฤตสิ่งแวดลอม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, 30-31 ตุลาคม 2551.<br />

15


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 สถานีขอมูลฝนรายวันในระหวางป ค.ศ. 1975-2009 จากกรมอุตุนิยมวิทยา ที่ใชในการศึกษานี้<br />

รูปที่ 2 คาเฉลี่ยในระยะยาว (1975-2009) ของปริมาณฝนสะสมในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ<br />

16


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 คาเฉลี่ยในระยะยาว (1975-2009) ของจํานวนวันฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ<br />

รูปที่ 4 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนสะสมในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ<br />

ระหวางป ค.ศ. 1975-2009<br />

17


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 5 สหสัมพันธระหวางแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันฝนตกและปริมาณฝนสะสม<br />

ในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย<br />

รูปที่ 6 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันฝนตกในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ<br />

ระหวางป ค.ศ. 1975-2009<br />

18


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 7 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของ CV ของปริมาณฝนสะสมในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ<br />

ระหวางป ค.ศ. 1975-2009<br />

19


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอปริมาณอุตุอุทกวิทยาในประเทศไทย<br />

Impacts of Climate Change on Rainfall and Runoff in Thailand<br />

สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ<br />

สาขาวิชาวิศวกรรมแหลงน้ํา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร<br />

140 ถนนเชื่อมสัมพันธ แขวงลําปลาทิว เขตหนองจอก กรุงเทพ 10530<br />

บทคัดยอ<br />

ปญหาภัยแลง และอุทกภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยทุกวันนี้ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งความถี่ของการ<br />

เกิด ขอบเขตพื้นที่ประสพภัย และชวงระยะเวลาของเหตุการณ ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากปริมาณน้ําฝน และน้ําทาผิวดินมี<br />

ความผันแปรสูง จนกอใหเกิดความวิตกกังวลวา ภัยพิบัติจากธรรมชาติเหลานี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่เปนกลไกสําคัญใหอุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน หรือปริมาณน้ําทาเปลี่ยนแปลงไปจากคาเฉลี่ยปกติหรือไม<br />

จากการศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาดวยวิธี Mann – Kendall Method และวิธี Linear<br />

Regression – based Method พบวาแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุด และปริมาณน้ําฝนแบบเฉพาะจุด<br />

ในชวงระยะเวลามากกวา 50 ปยอนหลังในประเทศไทย มีความแตกตางกันในแตละภูมิภาคของประเทศ จํานวน<br />

วันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดในแตละป มีแนวโนมลดลงเล็กนอยจนไมมีนัยสําคัญ คาความตางจากคาเฉลี่ย<br />

ปกติของปริมาณน้ําฝนรายป และอุณหภูมิเฉลี่ยเปนรายภูมิภาคพบความแตกตางในทางกลับกัน คือในชวงเวลาที่<br />

อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยจะมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติรายป<br />

ในขณะที่เมื่ออุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยจะมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ย<br />

ปกติรายป และในการศึกษาปจจัยการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมที่อาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝน<br />

โดยเลือกพื้นที ่ศึกษาลุมน้ําวังทองซึ่งเปนลําน้ําสาขาที่สําคัญของแมน้ํานาน มีพื้นที่รับน้ําฝนประมาณ 2,000 ตร.กม.<br />

เปนกรณีศึกษา พบวาการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝน ไมไดมีสาเหตุมาจากการลดลงของพื้นที่ปาไม<br />

คําสําคัญ : ภัยแลงและอุทกภัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ climate change การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและ<br />

ปริมาณน้ําฝน<br />

Abstract<br />

In recent years, the occurrence of water shortage and water excess in Thailand has been on the<br />

rise countrywide. It becomes natural disaster which is the major concern of various human sectors. To<br />

promote better understanding, the regional hydro-meteorological trend of change based synoptic stations<br />

spatially distributed in the whole kingdom of Thailand was tracked by using nonparametric, Mann-Kendall<br />

test and Linear Regression - based methods. It is found that the variation tendency of more than 50 year<br />

over land maximum near-surface air temperature and rainfall amount in Thailand is noticed throughout the<br />

whole country. The maximum number of consecutive no rain day in a year exhibited the slight decrease<br />

20


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

tendency throughout the country. The annual rainfall and over land near – surface temperature anomalies<br />

so far show some opposition. When the over land near-surface air temperature is above the long term<br />

average, significantly below average rainfall is obvious and vice versa. To distinguish human-induced<br />

effect on the rainfall variation, effect of land cover change is evaluated. Wang Thong basin, one of the<br />

major tributaries of Nan River is selected as case study. Then it is found that forest cover doesn’t play any<br />

role in rainfall trend of change.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพอุตุอุทกวิทยาที่ผันแปรไปตามวงรอบป หรือตามฤดูกาลในประเทศไทย เปนสิ่งที่เรา<br />

คุนเคย คาดการณไดลวงหนาในระดับที่ใกลเคียงกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นจริง เชน ฤดูฝนจะอยูในชวงเวลาระหวางเดือน<br />

พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม จะมีฝนตกประมาณ 80 – 90% ของปริมาณน้ําฝนตลอดทั้งป ระดับน้ํา และปริมาณ<br />

น้ําทาไหลหลาก ก็จะแปรผันสอดคลองกับปริมาณน้ําฝน ในขณะที่ฤดูรอนมักจะมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน<br />

โดยมีอุณหภูมิสูงกวา 35 o C เปนตน ความคุนเคยกับสภาพเชนนี้ ทําใหสามารถปรับตัวใหอยูไดในทามกลางความ<br />

เปลี่ยนแปลง แตการเปลี่ยนแปลงที่สูงหรือต่ํากวาเฉลี่ยมากๆ จนสงผลกระทบตอความเปนอยูอยางรุนแรง เชนการ<br />

เกิดพายุจรบอยครั้ง และรุนแรง ทําใหเกิดอุทกภัยครั้งใหญ หรือเกิดความแหงแลงยาวนาน และบอยครั้งกวา<br />

เหตุการณปกติ ลวนเปนสิ่งที่นักวิทยาศาสตรใหความสนใจ ประเด็นสําคัญที่สรางความวิตกกังวลคือภัยพิบัติจาก<br />

ธรรมชาติที่เกิดบอยครั้งขึ้น รุนแรงขึ้น อันจะสงผลกระทบอยางกวางขวางตอมนุษย พืช และสัตว ทําใหหลายคน<br />

วิตกกังวลวาความแปรปรวนของฤดูกาล และภัยพิบัติจากธรรมชาติเหลานี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

(climate change) ที่เปนกลไกสําคัญใหอุณหภูมิสูงขึ้น ปริมาณน้ําฝน หรือระดับน้ําทะเลเปลี่ยนแปลงไปจากคาเฉลี่ย<br />

ปกติจริงหรือไม<br />

เนื่องจากน้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอชีวิตมนุษย แตในชวงระยะเวลาไมกี่ปมานี้ โลกตอง<br />

เผชิญกับภัยพิบัติอันเกี่ยวเนื่องมาจากน้ํา ไดแกภัยแลง และอุทกภัย ภัยพิบัตินี้มีแนวโนมทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น<br />

กวาแตกอน ตัวอยางใกลตัวที่เห็นไดอยางชัดเจนคือปรากฏการณเอลนิโญที่มีอิทธิพลตอประเทศไทยตั้งแตกลางป<br />

คศ. 2009 ตอเนื่องยาวนานมาจนถึงเดือนพฤษภาคม 2010 สงผลใหมีอุณหภูมิสูงกวาปกติในฤดูรอนที่ผานมา โดย<br />

ระหวางเดือนมกราคม – เมษายน 2010 ประเทศไทยมีอากาศรอนอบอาวที่สุดในรอบทศวรรษ (ระหวาง คศ. 1990 -<br />

2010) คือมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยสูงกวาคาปกติประมาณ 1.2 องศาเซลเซียส แตเมื่อพิจารณาตั้งแตมีการบันทึกขอมูล<br />

อุณหภูมิทั่วประเทศมาตั้งแต คศ. 1951 พบวามีอุณหภูมิสูงเปนอันดับสองรองจากป คศ. 1998 ซึ่งเปนปที่เกิด<br />

ปรากฏการณเอลนีโญระดับรุนแรงที่สงผลกระทบตอสภาพอากาศทั่วโลก ทําใหป 1998 เปนปที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ย<br />

ของโลกสูงสุดในรอบ 100 ป นับเปนปที่รอนที่สุดในศตวรรษที่ 20 โดยป 1998 อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในประเทศไทย<br />

สูงกวาคาเฉลี่ยประมาณ 1.8 องศาเซลเซียส สําหรับปนี้ อิทธิพลของปรากฏการณเอลนีโญสงผลใหฤดูฝนปนี้เริ ่มมี<br />

ฝนตกในชวงตนฤดูลาชากวาปปกติ และปริมาณน้ําฝนโดยรวมจะมีคานอยกวาคาเฉลี่ยปกติ สําหรับประเทศไทย ป<br />

นี้นับวาโชครายกวาปกติ เนื่องจากอิทธิพลของปรากฏการณเอลนิโญที่เริ่มตั้งเคามาตั้งแตเดือนมิถุนายน 2009 ทํา<br />

ใหในฤดูฝนปที ่แลวมีพายุจร ที่เรียกวาพายุหมุนเขตรอน ที่จะใหน้ําอยางเปนน้ําเปนเนื้อยิ่งกวาฝนจากอิทธิพลของ<br />

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่ตกในฤดูมาเติมลงในอางเก็บน้ําขนาดใหญในภาคเหนือ และภาคอีสานตอนบนมีปริมาณ<br />

นอยกวาเกณฑปกติ ปจจุบัน สถานการณน้ําในอางเก็บน้ําขนาดใหญในพื้นที่ภาคเหนือ จึงกําลังประสพภาวะวิกฤต<br />

อยางรุนแรง (สายสุนีย, 2553)<br />

ดวยเหตุนี้ การประเมินสถานการณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และปริมาณอุตุอุทกวิทยา เชน<br />

ปริมาณน้ําฝน ตลอดจนปจจัยตางๆที่อาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา จึงเปนประโยชนใน<br />

21


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การศึกษาดานสิ่งแวดลอมเพื่อการเตรียมพรอมรับมือสําหรับการวางแผนพัฒนาแหลงน้ํา และบริหารจัดการน้ําในลุม<br />

น้ําอยางไดผลดียิ่งขึ้น<br />

2. วัตถุประสงค<br />

การศึกษานี้ จะทําการวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา ไดแกอุณหภูมิสูงสุด และ<br />

ปริมาณน้ําฝนแบบเฉพาะจุดทั่วทั้งประเทศดวยวิธี Mann – Kendall Method (Mann, 1945 และ Kendall, 1975)<br />

และวิธี Linear Regression – based Method โดยปจจัยที่พิจารณาเปนดัชนีชี้วัด ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด<br />

ปริมาณน้ําฝนรายป จํานวนวันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดในแตละป คาความตางจากคาเฉลี่ยปกติ<br />

(anomalies) ของปริมาณน้ําฝนและอุณหภูมิเฉลี่ยเปนรายภูมิภาคของประเทศ นอกจากนี้ จะทําการศึกษาปจจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมที่อาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝน โดยเลือกพื้นที่ศึกษาลุมน้ําวังทอง ซึ่ง<br />

เปนลําน้ําสาขาที่สําคัญของแมน้ํานาน มีพื้นที่รับน้ําฝนประมาณ 2,000 ตร.กม. เปนพื้นที่กรณีศึกษา<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 การวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา<br />

การวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาแบบเฉพาะจุดดวยวิธี Mann – Kendall<br />

Method และวิธี Linear Regression – based Method มีหลัก และวิธีการดังนี้<br />

การวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาดวยวิธี Mann – Kendall Method :<br />

ทําไดโดยกําหนดใหปริมาณอุตุอุทกวิทยาในชวงเวลาใดๆ มีคาเทากับ x i และ x j โดยที่ i = 1, 2, …, n-1 และ j = i+1,<br />

i+2, …, n เปรียบเทียบคา x i กับ x j จะไดเครื่องหมาย (sgn) ตามหลักเกณฑดังนี้<br />

sgn(x i – x j ) = 1 ถา x i > x j (1)<br />

= 0 ถา x i = x j<br />

= -1 ถา x i < x j<br />

คาสถิติของ Kendall (S) สามารถคํานวณไดดังนี้<br />

n<br />

= − 1 n<br />

i= 1 j=<br />

i+<br />

1<br />

S ∑ ∑ sgn(x − x<br />

(2)<br />

i j )<br />

คาความแปรปรวนของคาสถิติของ Kendall, var(S) สามารถคํานวณไดดังนี้<br />

var(S) =<br />

18<br />

1 [n(n-1)(2n+5)- Σt(t-1)(2t+5)] (3)<br />

โดยที่ n คือความยาวของชวงขอมูลทั้งหมด<br />

t คือความยาวของชวงขอมูลในกลุมที่พิจารณา<br />

22


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Z =<br />

คาการทดสอบของ Kendall (Z) สามารถคํานวณไดดังนี้<br />

S − 1<br />

var(S)<br />

= 0 , S = 0<br />

=<br />

S + 1<br />

, S < 0<br />

var(S)<br />

, S > 0 (4)<br />

การเปลี่ยนแปลงของปริมาณใดๆ จะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเมื่อ Z มีคาเปนบวก และมีแนวโนมลดลงเมื่อ Z มี<br />

คาเปนลบ โดยที่คาสถิติของ Z มีการกระจายตัวแบบปกติ (normal distribution) และในการทดสอบผลการวิเคราะห<br />

แนวโนมที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงที่ระดับนัยสําคัญ (significant level), α คา Null Hypothesis, H 0 จะถูกปฏิเสธ (Reject)<br />

ก็ตอเมื่อ |Z| > Z 1- α/2<br />

การวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาดวยวิธี Linear Regression – based<br />

Method : เปนการประเมินจากกราฟการกระจายตัวของปริมาณขอมูลในอดีตที่แปรผันไปตามเวลา โดยพิจารณา<br />

ลักษณะความลาดชันของกราฟซึ่งฟตเปนเสนตรง และตั้งสมมติฐานวาคาตัวแปรที่พิจารณามีการกระจายตัวแบบ<br />

ปกติ มี Null Hypothesis, H 0 วาความลาดชันของกราฟเสนตรงที่ไมมีความโนมเอียงจะมีคาเปนศูนย ดังนั้น วิธีนี้จึง<br />

เปนเพียงการสังเกตสภาพแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาอยางงายในเบื้องตน<br />

ในการศึกษานี้ ไดทําการรวบรวมขอมูลอุณหภูมิจากกรมอุตุนิยมวิทยา และขอมูลปริมาณน้ําฝนจากกรม<br />

อุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา และกรมปาไม โดยคัดเลือกสถานีวัดอุณหภูมิและปริมาณน้ําฝนที่<br />

กระจายตัวอยูทั่วประเทศจํานวนรวมทั้งสิ้น 29 สถานี มีชวงเวลาของการบันทึกขอมูลมากกวา 50 ปยอนหลังมาทํา<br />

การตรวจสอบความเชื่อถือไดของขอมูลปริมาณน้ําฝนดวยวิธีโคงปริมาณน้ําฝนสะสม (Double Mass Curve<br />

Method) ขอมูลปริมาณน้ ําฝนจากสถานีที่มีความเชื่อถือได และมีชวงระยะเวลาเก็บบันทึกขอมูลยาวนาน จะถูกเลือก<br />

มาใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวิเคราะหแนวโนมของการเปลี่ยนแปลง<br />

3.2 การศึกษาปจจัยที่สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา<br />

ในการศึกษานี้ เลือกการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมมาทําการศึกษาวาเปนปจจัยที่จะสงผลกระทบตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนไดหรือไม โดยเลือกพื้นที่กรณีศึกษาลุมน้ําวังทอง ซึ่งเปนลําน้ําสาขาของแมน้ํานาน<br />

ครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด คือจังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเพชรบูรณ มีพื้นที่รับน้ําฝนประมาณ 2,000 ตร.กม. ดัง<br />

แสดงในรูปที่ 1<br />

ในการศึกษานี้ ไดทําการรวบรวมขอมูลพื้นที ่ปาไมของจังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเพชรบูรณ จากกรมปา<br />

ไม และขอมูลปริมาณน้ําฝนจากกรมอุตุนิยมวิทยา และกรมชลประทาน รวมทั้งสิ้น 18 สถานี โดยเลือกขอมูลปริมาณ<br />

น้ําฝนที่ผานการตรวจสอบความเชื่อถือไดดวยวิธีโคงปริมาณน้ําฝนสะสมไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวิเคราะห<br />

ตอไป ตําแหนงที่ตั ้งของสถานีวัดปริมาณน้ําฝน และปริมาณน้ําทาในพื้นที่ลุมน้ําวังทองแสดงในรูปที่ 2<br />

23


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Nan river basin<br />

รูปที่ 1 พื้นที่ศึกษาลุมน้ําวังทอง (ลําน้ําสาขาของแมน้ํานาน)<br />

24


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

รูปที่ 2 ตําแหนงที่ตั้งสถานีวัดน้ําฝนและน้ําทาภายในลุมน้ําวังทองและบริเวณใกลเคียง<br />

4.1 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยาในประเทศไทย<br />

รูปที่ 3 แสดงผลการประเมินแนวโนมการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุด และปริมาณน้ําฝนรายปแบบเฉพาะ<br />

จุดของประเทศไทยในชวงระยะเวลามากกวา 50 ปยอนหลัง จะเห็นไดวาอุณหภูมิสูงสุดในพื้นที่สวนใหญของ<br />

ประเทศมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่จะมีคาอุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น ยกเวนในพื้นที่ตอนบนของประเทศที่พบวา<br />

อุณหภูมิสูงสุดมีแนวโนมลดลงเล็กนอย สวนแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนรายป มีความแตกตาง<br />

หลากหลายในแตละภูมิภาคของประเทศเชนเดียวกับผลการศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนของโลกที่<br />

ยังมีความแตกตางหลากหลายกันในแตละสวนของโลก<br />

25


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ก) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุดรายป ข) การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนรายป<br />

รูปที่ 3 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุด และปริมาณน้ําฝนรายปแบบเฉพาะจุดในประเทศไทย<br />

จํานวนวันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดในแตละป มีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง ดังแสดงในรูป<br />

ที่ 4 แตจากการพิจารณาผลการประเมินแนวโนมการเปลี่ยนแปลงนี้ดวยวิธี Linear Regression – based Method<br />

รวมดวย พบวาการเปลี่ยนแปลงจํานวนวันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดในแตละปมีแนวโนมลดลงอยางไมมี<br />

นัยสําคัญ คือมีแนวโนมลดลงเพียงเล็กนอย<br />

ในการพิจารณาคาความตางจากคาเฉลี่ยปกติ (anomalies) ของปริมาณน้ําฝนรายป และอุณหภูมิเฉลี่ยเปน<br />

รายภูมิภาค ก็จะพบความแตกตางในทางกลับกัน คือในชวงเวลาที่อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดิน (near-surface air<br />

temperature) มีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยจะมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติรายป และในขณะที่เมื่อ<br />

อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยจะมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติรายป ดัง<br />

แสดงในรูปที่ 5 ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจน ไดแกในภาคตะวันออกของประเทศซึ่งอยูใกลอาวไทย พบวาในชวงระหวาง<br />

กลางทศวรรษ 1950 ถึงกลางทศวรรษ 1960 ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติรายปอยูประมาณ<br />

500 มิลลิเมตร แตอุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินในชวงเวลาเดียวกัน มีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติอยู 0.5 – 1.5 o C<br />

แนวโนมปริมาณน้ําฝนที่ลดนอยลงในชวงทศวรรษ 1980 สงผลใหปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติ<br />

รายป ในขณะที่อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินในชวงเวลาเดียวกัน มีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติอยู 0.25 – 1.5 o C<br />

(Budhakooncharoen, 2008)<br />

4.2 ผลการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา<br />

การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรทําใหเกิดการบุกรุกพื้นที่ปาเพื่อทําการเกษตรและที่อยูอาศัยเพิ่มมากขึ้น<br />

สงผลใหพื้นที่ปาไมลดลงอยางตอเนื่องในทั่วทุกภูมิภาค ในการประเมินผลของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนพบวาจังหวัดพิษณุโลกมีพื้นที่ปาไมลดลงมาโดยตลอดดังแสดงในรูปที่ 6 โดยพื้นที่ปาไม<br />

ลดลงจาก 5,914 ตร.กม. ในปคศ. 1961 เหลือเพียง 2,390 ตร.กม. ในปคศ. 1997 หรือลดลงจากเดิมประมาณ 60%<br />

26


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ระหวางป คศ. 1998 – 2000 มีพื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้นเล็กนอยอันเปนผลมาจากมาตรการของรัฐ และการสงเสริมการ<br />

ปลูกปาโดยความรวมมือกับภาคเอกชน หลังจากนั้นขนาดพื้นที่ปาไมคอนขางคงที่<br />

เมื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนรายปจากสถานีตรวจวัดที่กระจายตัวอยูในพื้นที่ลุมน้ํา<br />

วังทองที่เลือกใชเปนสถานีหลักในการศึกษา จํานวน 3 สถานี ไดแกที่สถานีวัดน้ําฝนที่ อ.เมือง จ.พิษณุโลก (รหัส<br />

สถานี 39013) สถานี อ.วังทอง จ.พิษณุโลก (รหัสสถานี 39032) และสถานีบานวังนกแอน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก<br />

(รหัสสถานี 39101) พบวาเสนแนวโนมปริมาณน้ําฝนรายปจากสถานีตรวจวัดทั้งสามแทบจะไมมีการเปลี่ยนแปลงดัง<br />

แสดงใน รูปที่ 7 ทั้งที่ในชวงเวลาดังกลาว พื้นที่ปาไมมีการเปลี่ยนแปลงแบบลดลงมาโดยตลอด แสดงใหเห็นไดวา<br />

พื้นที่ปาไมที่เปลี่ยนแปลงไป ไมมีผลทําใหปริมาณน้ําฝนเปลี่ยนแปลง (Budhakooncharoen, 2006)<br />

รูปที่ 4 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงจํานวนวันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดแบบเฉพาะจุด<br />

27


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

East<br />

Rainfall anomaly<br />

1000<br />

500<br />

0<br />

-500<br />

-1000<br />

-1500<br />

1950<br />

1960 1970 1980 1990 2000<br />

Rainfall anomaly, mm<br />

Near-surface temperature anomaly, celcius<br />

2.0<br />

1.5<br />

1.0<br />

0.5<br />

0.0<br />

-0.5<br />

-1.0<br />

-1.5<br />

-2.0<br />

-2.5<br />

Tempera ture anomaly<br />

North<br />

Rainfall anomaly<br />

400<br />

200<br />

0<br />

-200<br />

-400<br />

1950 1960 1970 1980 1990 2000<br />

2<br />

1<br />

1<br />

0<br />

-1<br />

-1<br />

-2<br />

Rainfall anomaly, mm<br />

Near-surface temperature anomaly, Celcius<br />

Temperature anomaly<br />

Rainfall anomaly<br />

400<br />

200<br />

0<br />

-200<br />

-400<br />

Northeastern<br />

1950 1960 1970 1980 1990 2000<br />

1.0<br />

Temperature anomaly<br />

0.5<br />

0.0<br />

-0.5<br />

-1.0<br />

Rainfall anomaly, mm<br />

Near-surface temperature anomaly, celcius<br />

รูปที่ 5 ความตางจากคาเฉลี่ยปกติของปริมาณน้ําฝนรายป และอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทย<br />

28


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Central<br />

Rainfall anomaly<br />

400<br />

200<br />

0<br />

-200<br />

-400<br />

1950 1960 1970 1980 1990 2000<br />

Temperature anomaly<br />

1.5<br />

1.0<br />

0.5<br />

0.0<br />

-0.5<br />

-1.0<br />

-1.5<br />

Rainfall anomaly, mm<br />

Near-surface temperature anomaly, celcius<br />

South<br />

Rainfall anomaly<br />

1000<br />

500<br />

0<br />

-500<br />

-1000<br />

1950 1960 1970 1980 1990 2000<br />

Temperature anomaly<br />

1.5<br />

1.0<br />

0.5<br />

0.0<br />

-0.5<br />

-1.0<br />

Rainfall anomaly, mm<br />

Near-surface temperature anomaly, celcius<br />

รูปที่ 5 ความตางจากคาเฉลี่ยปกติของปริมาณน้ําฝนรายป และอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทย (ตอ)<br />

รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมในจังหวัดพิษณุโลก<br />

29


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) สถานีวัดน้ําฝน อ.เมือง จ.พิษณุโลก รหัสสถานี 39013<br />

(ข) สถานี อ.วังทอง จ.พิษณุโลก รหัสสถานี 39032<br />

(ค) สถานีบานวังนกแอน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก รหัสสถานี 39101<br />

รูปที่ 7 ความผันแปรของปริมาณน้ําฝนรายปของสถานีวัดน้ําฝนในพื้นที่ลุมน้ําวังทอง<br />

30


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพอุตุอุทกวิทยาที่ผันแปรสูงหรือต่ํากวาเฉลี่ยมากๆ จะสงผลกระทบตอความเปนอยู<br />

และสภาพแวดลอมทั้งของมนุษย สัตว และพืชพรรณไมอยางรุนแรง เชนปญหาภัยแลง และอุทกภัยที่ทวีความ<br />

รุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งความถี่ของการเกิด ขอบเขตพื้นที่ประสพภัย และชวงระยะเวลาของเหตุการณ ดังนั้น การ<br />

ประเมินสถานการณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และปริมาณอุตุอุทกวิทยา เชนปริมาณน้ําฝน ตลอดจนปจจัย<br />

ตางๆที่อาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา จึงเปนประโยชนในการศึกษาดานสิ่งแวดลอมเพื่อ<br />

การเตรียมการรับมือในการวางแผนพัฒนาแหลงน้ํา และบริหารจัดการน้ําในลุมน้ําอยางไดผลดียิ่งขึ้น<br />

จากการศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุตุอุทกวิทยา พบวาแนวโนมของการเปลี่ยนแปลง<br />

อุณหภูมิสูงสุด และปริมาณน้ําฝนแบบเฉพาะจุดในชวงระยะเวลามากกวา 50 ปยอนหลังในประเทศไทย มีความ<br />

แตกตางกันในแตละภูมิภาคของประเทศ โดยพื้นที ่สวนใหญของประเทศมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่จะมีคา<br />

อุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น ยกเวนในพื้นที่ตอนบนของประเทศที่พบวาอุณหภูมิสูงสุดมีแนวโนมลดลงเล็กนอย สวน<br />

แนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนรายป มีความแตกตางหลากหลายในแตละภูมิภาคของประเทศเชนเดียวกับ<br />

ผลการศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนของโลกที่ยังมีความแตกตางหลากหลายกันในแตละสวนของ<br />

โลก จํานวนวันที่ไมมีฝนตกติดตอกันยาวนานที่สุดในแตละป มีแนวโนมลดลงเพียงเล็กนอยอยางไมมีนัยสําคัญ คา<br />

ความตางจากคาเฉลี่ยปกติของปริมาณน้ําฝนรายป และอุณหภูมิเฉลี่ยเปนรายภูมิภาคพบความแตกตางในทาง<br />

กลับกัน คือในชวงเวลาที่อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ยจะมีคาสูง<br />

กวาคาเฉลี่ยปกติรายป ในขณะที่เมื่ออุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยปกติ ปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ย<br />

จะมีคาต่ํากวาคาเฉลี่ยปกติรายป<br />

ในการศึกษาปจจัยการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมที่อาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนโดย<br />

เลือกพื้นที่ศึกษาลุมน้ําวังทองซึ่งเปนลําน้ําสาขาที่สําคัญของแมน้ํานาน มีพื้นที่รับน้ําฝนประมาณ 2,000 ตร.กม. เปน<br />

กรณีศึกษา พบวาพื้นที่ปาไมในบริเวณพื้นที่ศึกษามีแนวโนมลดลงในระหวางปคศ. 1961 - 1997 โดยลดลงประมาณ<br />

60% หลังจากนั้นขนาดพื้นที่ปาไมในพื้นที่ศึกษาเพิ่มขึ้นเล็กนอยในจนคอนขางคงที่หลังปคศ. 2000 อันเปนผลมา<br />

จากมาตรการของรัฐ และการสงเสริมการปลูกปาโดยความรวมมือกับภาคเอกชน เมื่อพิจารณาแนวโนมการ<br />

เปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนรายปจากสถานีตรวจวัดที่กระจายตัวอยูในพื้นที่ลุมน้ําวังทอง พบวาแทบจะไมมีการ<br />

เปลี่ยนแปลง ทั้งที่ในชวงเวลาดังกลาว พื้นที่ปาไมมีแนวโนมลดลงมาโดยตลอด แสดงใหเห็นไดวาการเปลี่ยนแปลง<br />

ปริมาณน้ําฝน ไมไดมีสาเหตุมาจากการลดลงของพื้นที่ปาไม<br />

อยางไรก็ตาม การศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และปริมาณน้ําฝนนี้ ใชขอมูลที่มีการตรวจวัด<br />

ยอนหลังไปเพียงประมาณ 50 ป ซึ่งอาจสั้นเกินกวาที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงวามีลักษณะเปนวงรอบยอนกลับ<br />

(periodic trend of change) หรือไม การจะทําเชนนั้นได จําเปนตองมีขอมูลปริมาณอุตุอุทกวิทยาที่ตอเนื่องยาวนาน<br />

กวานี้ ซึ่งอาจทําไดโดยการพยายามแปลจากหลักฐานในอดีต เชนวงปของตนไม เศษซากพืชพรรณไม หรือลักษณะ<br />

ชั้นดินเปนตน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Budhakooncharoen, S. (2006), “Tracking Trend of Long-term Hydro-meteorological<br />

Change in the Monsoon Asia”, Paper presented in the 3 nd APHW Conference on Wise<br />

Water Resources Management towards Sustainable Growth and Poverty Reduction,<br />

organized by National Research Council of Thailand (NRCT), The Asia Pacific<br />

31


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Association of Hydrology and Water Resources (APHW) and The Association of<br />

Researchers (AR) at The Grand Hotel, Bangkok, Thailand, 16 – 18 October, 2006<br />

- Budhakooncharoen,S. (2008), “Past Hydro-meteorological Variations: Experimental Case<br />

in Thailand”, Paper presented and published in the Proceedings of the 5th AOGS<br />

Meeting, organized by Asia Oceania Geosciences Society (AOGS), Busan, Korea, 16 –<br />

20 June, 2008<br />

- Budhakooncharoen, S. (2008), “Relation, response and change of near-surface air<br />

temperature and rainfall in Thailand”, Paper presented and published in the Proceedings<br />

of the 11th International Conference on Urban Drainage, Edinburgh International<br />

Conference Centre, Edinburgh, Scotland, 31 August - 5 September 2008<br />

- Kendall, M.G. (1975), Rank correlation methods, Charles Griffin, London. 202 p.<br />

- Mann, H.B. (1945), Nonparametric test against trend, Econometrica 13, 245-259.<br />

- สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ. “วิกฤตน้ําหนาฝน ผลจากเอลนิโญ” บทความลงในหนังสือพิมพไทยรัฐ<br />

ฉบับวันจันทรที่ 14 มิถุนายน 2553 คอลัมนสกูปพิเศษ หนา 5 และไทยรัฐออนไลน ประจําวัน<br />

จันทรที่ 14 มิถุนายน 2553 (http://www.thairath.co.th/column/sport/sportscoop/89215)<br />

32


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตย: ปจจัยชี้วัดภาวะโลกรอน<br />

ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

Dendrochronology and Sunspot: Cycle: Determining Effects of Global Warming on<br />

Climate Change in Udon Thani Province in Period of 30<br />

Surrounding Years (A.D.1979-2008)<br />

ตนสกุล ศานติบูรณ<br />

ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี<br />

64 ถนนทหาร อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทร. 08 6636 8528<br />

E-mail: toansakul35@yahoo.com.au<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการใชเทคนิควิธีของกาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตยตอการชี้วัด<br />

ปรากฏการณภาวะโลกรอน โดยศึกษาจํานวนและขนาดของวงปของตนไมตัวอยาง จํานวน 16 ชนิด 60 ตน จาก<br />

ทองนา เนินราบและริมแหลงน้ําทั่วทั้ง 20 อําเภอของจังหวัดอุดรธานี มีอายุเฉลี่ย 44 ป และศึกษาลักษณะ<br />

ภูมิอากาศ ไดแก อุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน และความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยที่มีการเปลี่ยนแปลงในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-<br />

2551) ผลการศึกษาพบวา ลักษณะของภูมิอากาศทั้งอุณหภูมิ ประมาณน้ําฝน และความชื้นสัมพัทธมีชวงเวลาของ<br />

การเปลี่ยนแปลงเปนชวงๆ ละประมาณ 10-12 ป สําหรับปที่มีคาระดับอุณหภูมิเฉลี่ยสูง จํานวนปริมาณฝนนอยและ<br />

อากาศจะแหง ซึ่งมีความสัมพันธกับจํานวนและขนาดของเสนวงปตนไมที่มีเสนเล็กสีเขมเชื่อมติดตอกันกับเสนสี<br />

ออนและมีขนาดใหญจํานวน 10-12 เสน และมีความสัมพันธกับวัฏจักรการกําเนิดจุดดําบนดวงอาทิตยของคาบเวลา<br />

11 ป ปรากฏการณนี้อุบัติขึ้นครั้งลาสุดในป พ.ศ. 2522, 2533, และ 2543 การวิเคราะหคาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด<br />

รายวันในระหวางป พ.ศ. 2522-2532, 2533-2543 และป พ.ศ. 2544 - 2551 พบวามีคาเปน 40.3 °C, 41.1 °C และ<br />

41.8 °C อัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 0.8 °C (1.98%) และ 0.7 °C (1.70%) ตามลําดับ หรือเพิ่มขึ้น 1.5 °C<br />

(3.72%) ภายใน 30 ปที่ผานมา ภาวการณเปลี่ยนแปลงเชนนี้เปนปจจัยชี้วัดการเกิดปรากฏการณภาวะโลกรอนใน<br />

จังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษาสรุปไดวา วัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตยในอดีตซึ่งเมื่อเกิดจุดดําขึ้นจะเกิด<br />

สนามแมเหล็กกําลังเขมขนและพายุสุริยะที่มีกําลังมหาศาลที่สาดโยนอนุภาคกําลังสูงออกนอกดวงอาทิตยเปนวงจร<br />

ทุกๆ 11 ป มีอิทธิพลตอลมฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปแลวถูกบันทึกดวยกาลานุกรมตนไมตอการเปลี่ยนแปลงนั้น<br />

จึงมีความสําคัญตอการพยากรณการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในอดีตเปนลูทางใหสามารถพยากรณ<br />

เหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสําหรับโลกอนาคตได ภัยธรรมชาติ เชน ภัยแลงและอุทกภัยที่รุนแรงอาจจะวิบัติ<br />

เกิดขึ้นในป พ.ศ. 2553-2554 หรือ 2559-2560 ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ : กาลานุกรมตนไม จุดดําบนดวงอาทิตย ภาวะโลกรอน<br />

33


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

The practical applications of the study of tree rings are numerous; Dendrochronology is the<br />

techniques can be applied to associations. Sunspot cycle is temporary phenomena on the surface of the<br />

Sun that appear visibly as dark spots compared to surrounding regions. Investigating Dendrochronology<br />

Technique and Sunspot Cycle to analyze of sample size of the 60 tree rings and 44 average years from<br />

20 districts at rice fields, limb of water basins, and down hills thought out of Udon Thani province. To<br />

determine of Global Warming on Climate Change in Udon Thani province in period of 30 Surrounding<br />

Years (A.D.1979-2008). Associations between climate changes, mean dry temperature, monthly rainfall,<br />

and mean relative humidity are also differences in period of 10 -12 years cycle that it’s related of the<br />

Dendrochronology’s date record the time at which tree rings were formed, in many types of wood, to the<br />

exact calendar year, and sunspot populations quickly rise and more slowly fall on an irregular cycle of<br />

11 years, their characteristic behavior that significant variations are known over longer and reasonably<br />

complete sunspot records are available beginning from sunspots correlates with the intensity update the<br />

periods in 1979, 1990 and in 2000. For information on temperature measurements over various periods,<br />

and the highest daily temperature data sources available in A.D. 1979-1989, 1990-1999, 2000-2008, are<br />

40.3 °C, 41.1 °C and 41.8 °C. Global surface temperature increased 0.8 °C (1.98%) and 0.7 °C (1.70%),<br />

that is likely to rise a further each cycle from 40.3 to 41.8 °C (1.5 °C or 3.72%) during for the last 30<br />

surrounding years to determine effecting global warming in Udon Thani. The relationships between<br />

Dendroclimatology, Sunspot Cycle and Climate Change in Udon Thani are able to be predicted from the<br />

last to the future of the Uniformitarianism of the climate change and global warming effect of the world.<br />

Natural disasters; Droughts should be an extended period cycle in 2010-2011 and Flood may be<br />

overflowed or accumulation of an expanse of water that is going to submerge Udon Thani in 2016-2017,<br />

possible.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศยังหาขอสรุปถึงสาเหตุที่แนนอนไมได เนื่องจากภูมิอากาศมิไดอยูนิ่ง<br />

สมาคมเพื่อความกาวหนาของวิทยาศาสตรแหงอเมริกา ไดรายงานการเปลี ่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกวา สภาพที่<br />

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมินี้เพิ่งจะเกิดขึ้นในอดีตเมื่อไมนานมานี้เอง “การศึกษาวงตนไมหรือกาลานุกรมตนไม<br />

สามารถที่จะตรวจสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตได 3 อยางคือ จํานวนฝนตกในปหนึ่ง วัฏจักรของจุดดับบนดวงอาทิตยในอดีต<br />

ลมฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงทั่วๆ ไป วงปอาจมีความสําคัญตอการพยากรณสามารถบงบอกอัตราการเติบโตของ<br />

ตนไมในแตละป รวมทั้งบงบอกสภาพแวดลอมทางภูมิอากาศในแตละปอีกดวย ความสัมพันธที่เกิดขึ้นในอดีตอาจ<br />

เปนลูทางใหนักวิทยาศาสตรพยากรณวาสิ่งใดจะเกิดขึ้นในอนาคตได นักกาลานุกรมตนไมจะทําการหาคาเฉลี่ย<br />

ในความกวางของวงปตนไมจากหลายๆตัวอยางเพื่อที่จะสรางประวัติของวงป เพื่อเชื่อมโยงรูปแบบกับกาลานุกรม<br />

ยอนหลังกลับไปไดมากกวา 10,000 – 26,000 ป กอนการบันทึกขอมูลปริมาณน้ําฝนและอุณหภูมิของการ<br />

อุตุนิยมวิทยายังไมยาวนานเพียงพอที่จะนํามาศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอดีต ความ<br />

จําเปนตองหาหลักฐานอื่นที่ทําหนาที่เสมือนกับเครื่องมือตรวจสอบสภาพภูมิอากาศได กาลานุกรมตนไมจึงนาจะ<br />

34


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนเปนหลักฐานหนึ่งที่ไดรับการพิสูจนและทําการศึกษากันอยางกวางขวางในประเทศตางๆ และสงเสริมสนับสนุน<br />

การวิจัยเกี่ยวกับวงปไมในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชีย<br />

ในเนื้อไมที่ตนไมไดพัฒนาวงปดวยคุณสมบัติที่แตกตางกันไปตามดินฟาอากาศ ในเขตละติจูดสูงอุณหภูมิ<br />

จะเปนปจจัยที่จํากัดที่สุดที่จะมีผลตอความกวางของวงป ตนไมที่เจริญเติบโตในพื้นที่ต่ําหรือพื้นที่มีความชุมชื้นสูงจะ<br />

ใหชุดของวงปที่ตอบสนองตอปริมาณน้ําฝนที่ตกนอย ความแปรผันเหลานี้อาจถูกนําไปใชในการอนุมานความแปร<br />

ผันของภูมิอากาศในอดีตได เนื้อไมที่เกิดขึ้นในฤดูฝนจะมีความหนาแนนต่ําและคอนขางที่มีรูพรุนมาก เห็นเปนสี<br />

ออน เจริญเติบโตอยางรวดเร็วกวาไมที่โตในฤดูปลายฝน ฤดูหนาว ฤดูแลง จะมีความแนนสูงเห็นเปนสีเขม ในป<br />

ตอไปก็เห็นเนื้อไมที่มีสีออนและสีเขมสลับกันเปนชวงๆ โดยไมสีออนกับสีเขมสลับกัน โดยไมสีออน 1 ชั้นรวมกับไม<br />

สีเขม 1 ชั้นคืออายุ 1 ปของไม<br />

การศึกษาวงปตนไมไดดําเนินการมาแลวกวาศตวรรษ มีการบันทึกการเห็นแสงเหนือเปนครั้งแรกในป<br />

พ.ศ.2259 ซึ่งอาจเคยมีชวงที่ดวงอาทิตยไมมีจุดดําในระหวาง พ.ศ. 1943 - 2053 แตหลักฐานการบันทึกไมสมบูรณ<br />

(Halley, 1680) อยางไรก็ตามมีผูตรวจสอบวงปของตนไมซึ่งมีอายุอยูระหวางประมาณ 268 ปกอนพุทธศักราช ถึง<br />

พ.ศ .2457 พบวาการเจริญเติบโตของตนไมยังไดรับผลกระทบจากจุดบนดวงอาทิตยดวย และมีชวงที่ดวงอาทิตยมี<br />

จุดนอย ) E.W. Maunder, 1990) ดวงอาทิตยสรางพลังงานขึ้นมาเองโดยการเปลี่ยนเนื้อสารเปนพลังงาน บริเวณที่<br />

เนื้อสารกลายเปนพลังงาน คือแกนกลางซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 15 ลานองศาเซลเซียส การถายทอดพลังงานจาก<br />

แกนกลางสูผิว โดยการแผรังสีบนผิวระดับโฟโทสเฟยรมีบริเวณที่อุณหภูมิต่ํากวาขางเคียงจนสังเกตเห็นเปนจุดดํา<br />

เรียกวา จุดดําบนดวงอาทิตย (Sunspot) จุดเหลานี้ไมถาวรเกิดแลวมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาด อาจมีเสน<br />

ผานศูนยกลางยาวถึง 100,000 กิโลเมตร รอบนอกของจุดมีความสวางมากกวาสวนใน จํานวนของจุดดํามีการ<br />

เพิ่มขึ้นและลดลงอยางเปนคาบ มีชวงเวลาหนึ่งรอบประมาณ 11 .1 ป ตั้งแตป พ.ศ 2443 . ถึงทศวรรษที่ 2503 จะมี<br />

จํานวนจุดดําโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แตทศวรรษที่ 2503 เปนตนมาจุดดํากลับมีแนวโนมลดลง จํานวนของจุดดํายังมี<br />

ความสัมพันธกับการแผรังสีของดวงอาทิตยอีกดวย โดยเริ่มตั้งแตป พ.ศ 2522 .<br />

การพัฒนาความสัมพันธระหวางกาลานุกรมตนไม และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศขึ้นครั้งแรกโดย<br />

ดักลาสส (A. E. Douglass, 1929) ผูกอตั้งหองปฏิบัติการวิจัยวงปตนไม พบวาการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของ<br />

ดวงอาทิตยจะมีผลตอรูปแบบภูมิอากาศบนโลก ซึ่งไดถูกบันทึกไวในรูปแบบของวงปของตนไม กลาวคือ จุดดับบน<br />

ดวงอาทิตย → ภูมิอากาศ → วงปของตนไม ซึ่งเปนเทคนิคทางกาลานุกรมตนไมนี้สามารถวิเคราะหหาอายุของ<br />

วงปตนไมจากไมหลายชนิดเปนปปฏิทินไดอยางแมนยําของปที่วงปเกิดขึ้น<br />

ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย ระหวางละติจูด 5 ํ 37' เหนือ กับ<br />

20 ํ 27' เหนือ และระหวางลองจิจูด 97 ํ 22' ตะวันออก กับ 105 ํ 37' ตะวันออก มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 513,115<br />

ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศและลมฟาอากาศสวนใหญคลายคลึงกันมีแตกตางกันบางเพียงเล็กนอย อยู<br />

ภายใตอิทธิพลของมรสุม<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวย 19 จังหวัด มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบสูงและลาดต่ําไปทาง<br />

ทิศตะวันออกเฉียงใต ทางตะวันตกมีทิวเขาเพชรบูรณ และทิวเขาดงพญาเย็นเปนแนวกั้นกับภาคเหนือและภาค<br />

กลาง สวนทางใตมีทิวเขาสันกําแพงกั้นกับภาคตะวันออก และทิวเขาพนมดงรักกั้นพรมแดนภาคนี้กับประเทศ<br />

กัมพูชา เปนแนวกั้นกระแสลมตะวันตกเฉียงใต ทําใหบริเวณดานหลังเขาซึ่งไดแกพื้นที่ทางดานตะวันตกของภาคมี<br />

ฝนนอยกวาทางตะวันออก มีลักษณะแบบทุงหญาสะวันนา (Aw) คือ มีอากาศรอนชื้นสลับกับฤดูแลง มีฝนตกปาน<br />

กลาง ปจจัยควบคุมลมฟาอากาศ ไดแก ที่ตั้งตามละติจูด ความสูงของพื้นที่ แนวทิวเขาที่ขวางกั้นทิศทางลมประจํา<br />

ระยะหางจากทะเล ทิศทางของลมประจํา และอิทธิพลของพายุหมุน<br />

จังหวัดอุดรธานี เปนจังหวัดอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีเนื้อที่ประมาณ 11,730 ตาราง<br />

กิโลเมตร เปนที่ราบสูง สูงกวาระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ยประมาณ 187 เมตร พื้นที่เอียงลาดลงสูแมน้ําโขงทางจังหวัด<br />

35


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หนองคาย ประกอบดวยทุงนา ปาไมและภูเขา พื้นที่สวนใหญเปนดินทรายปนดินลูกรัง ไมเก็บน้ําหรืออุมน้ําในฤดู<br />

แลง บางแหงเปนดินเค็ม บางสวนเปนลูกคลื่นลอนลาด เปนที่ราบในบริเวณตอนกลางของจังหวัด เปนที่ดอนเนินสูง<br />

และเขาบริเวณดานทิศตะวันตก ทิศใตมีเทือกเขาภูพานทอดเปนแนวยาว ตั้งแตอําเภอนายูงตลอดไปตามเขตแดน<br />

ของจังหวัดลงไปทางทิศใต และตัดตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต สําหรับตัวจังหวัดอุดรธานีตั้งอยูในที่ราบกน<br />

กะทะที่เรียกวาแองสกลนคร โดยมีเทือกเขาภูพานเปนแนวแบงเขตกับแองโคราช ทําใหพื้นที่ของจังหวัดอุดรธานี<br />

แบงออกเปนสองที่ราบลุม<br />

.ในการศึกษาในครั้งนี้ตองการศึกษาความสัมพันธระหวางพลังงานความรอนที่แผปกคลุมโลกจากดวง<br />

อาทิตยที่ทีวัฏจักรของการกําเนิดในชวงเวลาที่แนนอนที่มีผลตอลักษณะของภูมิอากาศโลกในแตละพื้นที่ที่ถูกบันทึก<br />

ดวยตนไมในลักษณะของวงปตนไมซึ่งมีเทคนิคของการศึกษาวงปไมเรียกวากาลานุกรมตนไม และเพื่อใหขอมูลที่<br />

ตนไมบันทึกไวนั้นจะมีความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีการวัดดวยเครื่องมืออุตุนิยมวิทยาอยางมี<br />

ระบบของพื้นที่ในความรับผิดชอบของสถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดอุดรธานีหรือไม และความสัมพันธของทั้งสอง<br />

ปจจัยจะไดรับการตรวจสอบที่เปนระบบและมีมาตรฐานสากลจากเครื่องมือวัดนั้นในระดับมากนอยเพียงไร และ<br />

พฤติกรรมของพลังงานความรอนจากดวงอาทิตยจะมีผลตอรูปแบบภูมิอากาศบนโลกที่สามารถชี้วัดไดวาเปนปจจัย<br />

ของการเกิดภาวะโลกรอนหรือไม โดยการศึกษาในครั้งนี้มุงศึกษาของการเปลี่ยนแปลงอากาศในจังหวัดอุดรธานีใน<br />

รอบ 30 ป (พ.ศ. 2522-2551)<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551) ที่เปน<br />

ปจจัยชี้วัดถึงปรากฏการณโลกรอน<br />

2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ<br />

30 ป (พ.ศ.2522-2551) กับการบันทึกของกาลานุกรมตนไมในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานี ตอปจจัยการชี้วัดถึง<br />

ปรากฏการณโลกรอน<br />

2.3 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ<br />

30 ป (พ.ศ.2522-2551) กับวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตยตอปจจัยการชี้วัดถึงปรากฏการณโลกรอน<br />

2.4 เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการบันทึกของกาลานุกรมตนไมในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานีกับวัฏจักร<br />

ของจุดดําบนดวงอาทิตยตอการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551) ที่มีผล<br />

ตอปจจัยการชี้วัดปรากฏการณโลกรอน<br />

3. นิยามศัพทที่ใชในการวิจัย<br />

กาลานุกรมตนไม (Dendrochronology) เปนวิธีการวัดหาอายุทางวิทยาศาสตรโดยการวิเคราะหรูปแบบ<br />

วงปของตนไม ในแนวระดับที่ตัดขวางกับลําตนของตนไม วงปเปนผลมาจากการเติบโตใหมของวาสคิวลาแคมเบียม<br />

(Vascular cambium) เซลลเนื้อไมเมอริสเตม (Meristem)<br />

วัฏจักรจุดดําบนดวงอาทิตย (Sunspot Cycle) หมายถึง พื้นที่สวนหนึ่งบนผิวดวงอาทิตย ที่มีอุณหภูมิ<br />

ต่ํากวาบริเวณโดยรอบประมาณ 4,000-4,500 เคลวิน และมีสนามแมเหล็กที่มีปนปวนสูงมาก ทําใหเกิดการขัดขวาง<br />

กระบวนการพาความรอนบนพื้นผิวดวงอาทิตย จํานวนของจุดดํามีการเพิ่มขึ้นและลดลงอยางเปนคาบ มีชวงเวลา<br />

หนึ่งรอบประมาณ 10-16 ป และคาเฉลี่ยประมาณ 11.1 ป<br />

36


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปรากฏการณภาวะโลกรอน (Global warming) หมายถึง การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล<br />

พื้นผิวโลกและน้ําในมหาสมุทรตั้งแตชวงครึ่งหลังของคริสตศตวรรษที่ 20<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่<br />

เปลี่ยนองคประกอบของบรรยากาศโลกจากความแปรปรวนของสภาวะอากาศตามธรรมชาติในชวงระยะเวลา<br />

เดียวกัน ไดแก อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณน้ําฝน และฤดูกาล<br />

จังหวัดอุดรธานี หมายถึง ผืนแผนดินบนที่ราบสูงโคราชและแองสกลนครบนพื้นที่ 11,730 ตาราง<br />

กิโลเมตร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งอยูระหวางเสนรุง (Latitude) 17 องศา 23 ลิปดา เหนือ และเสนแวง<br />

(Longitude) 102 องศา 48 ลิบดาตะวันออก ในระดับความสูงเฉลี่ยจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 177 เมตร<br />

4. กรอบแนวคิดในการวิจัยและวรรณกรรมสนับสนุนกรอบแนวคิด<br />

การวิจัยในครั้งนี้เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยของกาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบน<br />

ดวงอาทิตยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิอากาศตอปรากฏการณภาวะโลกรอนในจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30<br />

ป (พ.ศ. 2523-2552) คุณคาของผลงานวิจัยที่จะไดรับเปนการคาดคะเนผลที่จะไดรับจากการทําวิจัยไดแก การใช<br />

กระบวนการวิธีวิทยาศาสตรศึกษาหาความสัมพันธของกาลานุกรมตนไมซึ่งไดบันทึกเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นโดย<br />

ธรรมชาติเชนตนไมไดบันทึกไว รวมทั้งศึกษาวัฏจักรของการกําเนิดของจุดดําบนดวงอาทิตยจะมีอิทธิพลอยางไร<br />

บางหรือไมตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานี และถามีการเปลี่ยนแปลงจะ<br />

เปลี่ยนแปลงเชนเดียวกันกับภาวะโลกรอนในปจจุบันหรือไมหรือ ถามีความสัมพันธตอกันจะอยูในระดับมากนอย<br />

เพียงไร ผลการวิจัยจะเปนความรูใหมทางดานวิชาการเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวนี้ ความรูใหมที่ไดรับนาจะกอใหเกิด<br />

ประโยชนสูงสุดตอการประยุกตความรูทางดานการอุตุนิยมวิทยา ดาราศาสตร และธรณีวิทยา ตอมวลมนุษยชาติให<br />

มีความตระหนักและรับรูถึงความสัมพันธของศาสตรทั้งสามสาขาตอการพัฒนาความรูใหมทางวิทยาศาสตรตอไป<br />

รวมทั้งการสรางองคความรูใหมในทางวิทยาศาสตร และเปนการสรางฐานขอมูลของการเปลี่ยนแปลงลักษณะ<br />

ภูมิอากาศในเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานีใหเปนระบบที่อาจจะผลการศึกษาเปนปจจัยชี้วัดตอการเกิดปรากฏการณ<br />

ภาวะโลกรอน<br />

5. วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

5.1 แหลงขอมูล<br />

5.1.1 ขอมูลในดานลักษณะสภาพภูมิอากาศ โดยคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ไดทํา<br />

หนังสือขออนุญาตใหผูวิจัยไดรวมเขาศึกษาอบรมการศึกษาขอมูลทางดานการอุตุนิยมวิทยาจากนักอุตุนิยมวิทยา<br />

ระดับชํานาญการ ณ สถานีอุตุนิยมวิทยาอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี เปนเวลา 2 เดือน<br />

37


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Thermometer Rain Gauge Wet-Dry Hygrometer American Class a Pan<br />

Meteorological Field in Udon Thani Station<br />

Meteorological Laboratory<br />

5.1.2 ขอมูลเกี่ยวกับกาลานุกรมตนไม เพื่อศึกษาวงปตนไม เปนตนไมจํานวน 60 ตน ที่มีอายุมากกวา 20<br />

ป จากทุกอําเภอของจังหวัดอุดรธานี จํานวน 20 อําเภอๆ ละ 3 ตน จาก 3 แหลง ไดแก ตามทองนา ตามริมแหลง<br />

น้ํา และตามที่ราบหรือเนินหรือปาที่น้ําทวมไมถึง<br />

ตนไมตายยืนตน ตอไม ตนไมลมตามธรรมชาติ ตนไมถูกโคนตามริมถนน<br />

ตนไมตามเนินปา ตนไมตามทุงนา ตนไมตามใกลแหลงน้ํา การเลือกตําแหนงเลื่อย<br />

ขนาดของวงปไมที่ศึกษา ทาดวยแลกเคอรกันเชื้อรา วางผึ่งไวในที่โลง อุปกรณในการศึกษา<br />

วิเคราะหจํานวนวงป ตรวจสอบจํานวนวงป วัดขนาดของวงป บันทึกผลการศึกษา<br />

38


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.1.3 ขอมูลวัฏจักรจุดดําบนดวงอาทิตย ศึกษาจากเอกสาร วารสารที่ตีพิมพ วีดีทัศน และจากเวปไซด<br />

ตางๆ ที่เผยแพรผานระบบ Internet<br />

5.2 วิธีเก็บรวบรวมขอมูล<br />

5.2.1 ขอมูลดานลักษณะของสภาพภูมิอากาศ เก็บขอมูลบันทึกเปนระบบ Microsoft Excel ในระหวางป<br />

ค.ศ. 1951 -2009 ประกอบดวย อุณหภูมิรายวัน ปริมาณฝน ความชื้นสัมพัทธ การระเหยของน้ํา และชวงเวลา<br />

ลักษณะอากาศ<br />

5.2.2 ขอมูลดานกาลานุกรมตนไม เก็บตัวอยางตนไมในรูปแบบของภาคตัดขวาง จํานวน 60 ชื้น หนา<br />

ประมาณ 2.5 – 4.0 นิ้ว ทาดวยน้ํายาแลกเคอรเพื่อรักษาและทําความสะอาดของเนื้อไม รวมทั้งกันเชื้อรา เก็บไวใน<br />

ที่โลง<br />

5.2.3 ขอมูลดานวัฏจักรจุดดําบนดวงอาทิตย เนื่องจากเปนทฤษฎี รายงานการวิจัย และอื่น ๆ ได<br />

ทําการศึกษาและรวบรวมไวในระบบคอมพิวเตอรรูปแบบ Microsoft word<br />

5.3 เครื่องมือที่ใช<br />

ขอมูลเชิงทฤษฏี ใชศึกษาและเก็บขอมูลดวยระบบคอมพิวเตอร ขอมูลดานกาลานุกรมตนไม ใชเครื่องมือ<br />

สวาน เลื่อย เครื่องขัดเจียดวยไฟฟา แลกเคอรสําเร็จรูป และแปรงทาสี<br />

5.4 ประชากรและกลุมตัวอยาง<br />

ประชากรดานกาลานุกรมตนไม ประกอบดวยไมเต็ง ไมรัง ไมจิก ไมมะขาม ไมยางนา ไมกามปู ไมตะโก<br />

และไมตะแบก จํานวน 60 ตน ที่มีอายุระหวาง 24-128 ป จากแหลงทองนา เนินดิน และริมแหลงน้ํา ทั่วทั้ง 20<br />

อําเภอๆ ละ 3 ตน ทุกพื้นที่ของจังหวัดอุดรธานี ซึ่งอาจจะเปนตนเปนยืนตน ตนที่ตายแลวยืนตน และเปนตอไม<br />

5.5 การวิเคราะหขอมูล<br />

ในสวนที่เปนขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา ไดแก อุณหภูมิ ปริมาณฝน ความชื้นสัมพัทธ เปนตน ไดนําขอมูลที่มี<br />

การบันทึกอยางเปนระบบเปนรายวันตั้งแตป พ.ศ.2494-2552 เลือกขอมูลจากป พ.ศ. 2522 -2551 นําเสนอใหม<br />

เปนขอมูลเฉลี่ยรายเดือน และรายป ในรูปแบบของกราฟเสน นําขอมูลที่ไดเปรียบเทียบชวงเวลาของการ<br />

เปลี่ยนแปลงระหวางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัดอุดรธานีกับการบันทึกกาลานุกรมตนไมและวัฏ<br />

จักรของจุดดําบนดวงอาทิตย<br />

6. ผลการวิจัย<br />

6.1 ลักษณะสภาพลมฟาอากาศของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551) เปนแบบฝนเมืองรอน<br />

เฉพาะฤดู ตามการจําแนกลักษณะภูมิอากาศแบบ Koppen เดือนที่หนาวที่สุดสูงกวา 18 องศาเซลเซียส และมีฝน<br />

ตกไมตลอดป จํานวนฝนเฉลี่ยตลอดปประมาณ 1,520.5 มิลลิเมตร เดือนสิงหาคมที่มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุดคือ<br />

709.5 มิลลิเมตร ปริมาณน้ําฝนทั้งปวัดได 1,654.7 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมที่มีน้ําฝนนอยที่สุด และอยูภายใต<br />

อิทธิพลของลมมรสุมประจําฤดู แบงฤดูกาลออกได 3 ฤดู ในฤดูรอนจะมีอุณหภูมิคอนขางสูง อุณหภูมิสูงสุด 42.5<br />

องศาเซลเซียสในเดือนเมษายน และในฤดูหนาวอุณหภูมิต่ําสุด 10.9 องศาเซลเซียส ในเดือนมกราคม<br />

6.2 การเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551) พบวาคาเฉลี่ยของ<br />

อุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายนมีชวงของการเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง 27.6 – 31.8 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยของ<br />

39


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อุณหภูมิต่ําสุดในเดือนธันวาคม มีชวงของการเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง 20.2 – 24.7 องศาเซลเซียส เมื่อวิเคราะห<br />

เปนรายเดือน พบวาอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 43.0 องศาเซลเซียส ในป พ.ศ. 2550 และพบวาระดับอุณหภูมิสูงที่สุดใน<br />

แตละเดือน มีระดับเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2522 แลวลดลงอยางตอเนื่องถึงป พ .ศ . 2530 แลวเพิ่มขึ้นสูงสุดอีกครั้งในป<br />

พ.ศ. 2534 โดยมีชวงระยะหางของการเปลี่ยนแปลง ประมาณ 12 ป แลวอุณหภูมิจะลดลงอีกครั้ง แลวเพิ่มสูงขึ้นอีก<br />

ครั้งในป พ.ศ. 2544 มีชวงการเปลี่ยนแปลงประมาณ 10 ป อุณหภูมิลดลงอีกครั้ง และแนวโนมจะวัดไดคาสูงสุด<br />

ประมาณป พ.ศ. 2555 หรือมีชวงของการเปลี่ยนแปลงประมาณ 11 ป<br />

6.3 ปริมาณน้ําฝนที่ตกเฉลี่ยเปนรายปในรอบ 30 ป มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําฝนมีลักษณะเปน<br />

ชวงเวลา ไดแก ชวงเวลาระหวางป พ.ศ. 2522-2528, ระหวางป พ.ศ. 2528-2536, ระหวางป พ.ศ. 2536-2541,<br />

ระหวางป พ.ศ. 2541-2549 และตั้งแตป พ.ศ. 2550 เปนตนไป แตละชวงเวลาจะมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณฝนลดลง<br />

ถึงจุดต่ําสุดแลวคอยเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นถึงจุดสูงสุดและลดลงอีกครั้งแลวก็เพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่งสลับกันไปมา และ<br />

พบวาปริมาณฝนเฉลี่ยรายปปริมาณต่ําสุดปรากฏในป พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2536 และเปนเวลาของปริมาณฝน<br />

เฉลี่ยรายปมีปริมาณหนักถึงหนักมากปรากฏในป พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2548 อาจกลาวไดวาการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ปริมาณฝนเฉลี่ยต่ําสุดในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522 -2551) มีชวงเวลาเวลาของการเปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักรประมาณ<br />

11-12 ป<br />

6.4 คาความชื้นสัมพัทธแบงเปน 2 กลุมของชวงเวลา กลุมแรกเปนคาความชื้นสัมพัทธที่มีคาเฉลี่ยในชวง<br />

69.6 % ระหวางป พ.ศ. 2522-2536 ซึ่งอากาศคอนขางแหงแลงหรือมีความชื้นระดับปานกลาง หรือมีปริมาณฝน<br />

เฉลี่ยนอย และกลุมชวงเวลาที่ 2 พบวามีคาความชื้นสัมพัทธคาเฉลี่ยในชวง 71.7 % ปรากฏอยูในชวงเวลาระหวาง<br />

ป พ.ศ. 2537-2551 ซึ่งอากาศคอนขางชื้นหรือมีปริมาณฝนเฉลี่ยเปนฝนหนัก<br />

6.5 การศึกษาจํานวนวงปตนไมดวยวิธีกาลานุกรมตนไมเปนภาคตัดขวางจํานวน 60 ตน อายุวงปตนไมมี<br />

อายุเฉลี่ยจํานวนวงป 44 ป จํานวนวงปต่ําสุด 24 ป และสูงสุด 128 ป วงปที่เห็นชัดที่สุดเปนวงปของไมมะขาม ไม<br />

เต็ง ไมจิก ไมยางนา ตามลําดับ วงปที่ไมชัดเจนเปนไมกามปู และพบวาลักษณะของวงปเปนเสนเล็กสีเขมชัดเจน<br />

ขนาด 0.02-0.08 มิลลิเมตร จํานวน 11-12 เสน ลักษณะดังกลาวจะอยูระหวางป พ.ศ. 2522-2533 และพ.ศ. 2543 –<br />

ปจจุบัน ซึ่งเสนที่มีความเขมสลับกับเสนวงปสีออนหรือคอนทางน้ําตาลขาวและมีความหนาขนาด 1.28 – 3.25<br />

มิลลิเมตร จํานวน 10-13 เสน สลับกันอยางตอเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับเวลา ลักษณะดังกลาวจะอยูระหวางป พ.ศ.<br />

2534-2533<br />

ระดับอุณหภูมิเฉลี่ย(องศาเซลเซียส)<br />

28<br />

27<br />

26<br />

25<br />

24<br />

23<br />

22<br />

พ.ศ.2522<br />

พ.ศ.2524<br />

พ.ศ.2526<br />

พ.ศ.2528<br />

พ.ศ.2530<br />

พ.ศ.2532<br />

พ.ศ.2534<br />

พ.ศ.2536<br />

พ.ศ.2538<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

พ.ศ.2540<br />

พ.ศ.2542<br />

พ.ศ.2544<br />

พ.ศ.2546<br />

พ.ศ.2548<br />

พ.ศ.2550<br />

อุณหภูมิเ<br />

ป พ.ศ.<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยรายปของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป<br />

(พ.ศ.2522-2551)<br />

ระดับอุณหภูมิรายวันสูงสุดในแตละป<br />

44<br />

43<br />

42<br />

41<br />

40<br />

39<br />

38<br />

37<br />

36<br />

35<br />

พ.ศ.2522<br />

พ.ศ.2524<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุด<br />

พ.ศ.2526<br />

พ.ศ.2528<br />

พ.ศ.2530<br />

พ.ศ.2532<br />

พ.ศ.2534<br />

พ.ศ.2536<br />

พ.ศ.2538<br />

พ.ศ.2540<br />

พ.ศ.2542<br />

พ.ศ.2544<br />

พ.ศ.2546<br />

พ.ศ.2548<br />

พ.ศ.2550<br />

อุณหภูมิรายวันสู<br />

ป พ.ศ.<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุดของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป<br />

(พ.ศ.2522-2551)<br />

40


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุด<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยรายวันสูงสุดในชวง 4-6 ป<br />

42<br />

41.5<br />

41<br />

40.5<br />

40<br />

39.5<br />

39<br />

38.5<br />

38<br />

พ.ศ.2522-2525<br />

พ.ศ.2526-2530<br />

พ.ศ.2531-2535<br />

พ.ศ.2536-2539<br />

พ.ศ.2540-2544<br />

พ.ศ.2545-2548<br />

พ.ศ.2549-2551<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุด<br />

ชวงป พ.ศ.<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุดในชวงเวลา 4-6 ป ของจังหวัด<br />

อุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

ปริมาณจํานวนฝนเฉลี่ยรายป (มิลลิเมตร)<br />

180<br />

160<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

พ.ศ.2522<br />

พ.ศ.2524<br />

พ.ศ.2526<br />

ปริมาณฝนเฉลี่ย<br />

พ.ศ.2528<br />

พ.ศ.2530<br />

พ.ศ.2532<br />

พ.ศ.2534<br />

พ.ศ.2536<br />

พ.ศ.2538<br />

พ.ศ.2540<br />

พ.ศ.2542<br />

พ.ศ.2544<br />

พ.ศ.2546<br />

พ.ศ.2548<br />

พ.ศ.2550<br />

ปริมาณฝนเฉ<br />

ป พ.ศ.<br />

ปริมาณฝนตกเฉลี่ยรายปของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป<br />

(พ.ศ.2522-2551)<br />

ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย (%)<br />

78<br />

76<br />

74<br />

72<br />

70<br />

68<br />

66<br />

64<br />

62<br />

พ.ศ.2522<br />

ความชื้นสัมพัทธ<br />

พ.ศ.2525<br />

พ.ศ.2528<br />

พ.ศ.2531<br />

พ.ศ.2534<br />

พ.ศ.2537<br />

พ.ศ.2540<br />

พ.ศ.2543<br />

พ.ศ.2546<br />

พ.ศ.2549<br />

ความชื้นสัมพัทธ<br />

ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยรายปของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30<br />

ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

ป<br />

ระดับอุณหภูมิรายวันสูงสุดเฉลี่ยในชวงเวลาทุก 11 ป<br />

41.2<br />

41<br />

40.8<br />

40.6<br />

40.4<br />

40.2<br />

40<br />

39.8<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

พ.ศ.2522-2532 พ.ศ.2533-2543 พ.ศ.2544-2551<br />

อุณหภูมิรายวันสูงสุดในชวงเวลา 11 ป ของจังหวัด<br />

อุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

จํานวนวันที่ฝนตกในแตละป (วัน)<br />

160<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

พ.ศ.2522<br />

พ.ศ.2524<br />

พ.ศ.2526<br />

พ.ศ.2528<br />

พ.ศ.2530<br />

พ.ศ.2532<br />

พ.ศ.2534<br />

พ.ศ.2536<br />

จํานวนวันที่ฝนตก<br />

พ.ศ.2538<br />

พ.ศ.2540<br />

พ.ศ.2542<br />

พ.ศ.2544<br />

พ.ศ.2546<br />

พ.ศ.2548<br />

พ.ศ.2550<br />

อุณหภูมเ<br />

ชวงป พ.ศ<br />

จํานวนวันที่ฝ<br />

ป พ.ศ.<br />

จํานวนวันที่ฝนตกของแตละปของจังหวัดอุดรธานีใน<br />

รอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

ความชื้นสัมพัทธ<br />

ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยนรายเดือนในรอบ 30 ป<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

กุมภาพันธ<br />

มีนาคม<br />

เมษายน<br />

พฤษภาคม<br />

มิถุนายน<br />

กรกฎาคม<br />

สิงหาคม<br />

กันยายน<br />

ตุลาคม<br />

พฤศจิกายน<br />

ธันวาคม<br />

มกราคม<br />

ความชื้นสัมพัท<br />

เดือน<br />

ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยรายเดือนของจังหวัดอุดรธานีใน<br />

รอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

วัฏจักรของการกําเนิดจุดดําบนดวงอาทิตยในรอบ 400 ป<br />

ตัวอยางวงปตนไมของตนมะขาม<br />

41


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6.6 จากการศึกษาจุดดําบนดวงอาทิตยพบวาเปนกาซรอนๆไหลวนเขามาบรรจบกัน จํานวนของจุดดํามี<br />

ความสัมพันธกับการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2522 ชวงที่เกิดจุดดําบนดวงอาทิตยสูงสุดครั้ง<br />

ลาสุดคือเดือนกรกฎาคมป พ.ศ. 2532 และการเกิดจุดดําบนดวงอาทิตยมากที่สุดอีกครั้งในป พ.ศ. 2543 จนถึงตนป<br />

2544 เปนวัฏจักรประมาณ 11 ป<br />

ผลการศึกษาพบวาการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551) มี<br />

ความสัมพันธกับการบันทึกกาลานุกรมตนไมและมีความสัมพันธกับวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตยและการบันทึก<br />

กาลานุกรมตนไมและมีความสัมพันธกับวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตยดวย<br />

7. สรุปผลการศึกษา<br />

จากผลการศึกษาพบวาการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศของจังหวัดอุดรธานีในรอบ 30 ป (พ.ศ.2522-2551)<br />

มีการเปลี่ยนแปลงในอัตราที่นอยมาก เนื่องจากเปนชวงเวลาสั้น และพบวาอุณหภูมิเฉลี่ยรายปในชวงเวลาดังกลาว<br />

เริ่มเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่สูงขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2544 อุณหภูมิสูงสุดในป พ.ศ.2550 และพบวามีฝนตกหนักอยาง<br />

ตอเนื่องเปนเวลา 5 วัน ในเดือนธันวาคม พ.ศ.2552 ดวย ซึ่งปจจัยดังกลาวอาจมีอิทธิพลจากปรากฏการณภาวะโลก<br />

รอนที่มีการบันทึกดวยกาลานุกรมตนไมและวัฏจักรของจุดดําบนดวงอาทิตย<br />

8. ขอเสนอแนะ<br />

ผลการวิจัยในครั้งนี้เปนความรูใหมทางดานวิชาการเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวนี้ ความรูใหมที่ไดรับนาจะ<br />

กอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการประยุกตความรูทางดานการอุตุนิยมวิทยา ดาราศาสตร และธรณีวิทยา ตอมวล<br />

มนุษยชาติใหมีความตระหนักและรับรูถึงความสัมพันธของศาสตรทั้งสามสาขาตอการพัฒนาความรูใหมทาง<br />

วิทยาศาสตรตอไป รวมทั้งการสรางองคความรูใหมในทางวิทยาศาสตร และเปนการสรางฐานขอมูลของการ<br />

เปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิอากาศอยางเปนระบบที่เปนปจจัยชี้วัดตอการเกิดปรากฏการณภาวะโลกรอนในอนาคตตอไป<br />

9. เอกสารอางอิง<br />

- นาฏสุดา ภูมิจํานง, รองศาสตราจารย ดร .(2551). ถอดรหัส “วงปไม” ไขปริศนา “โลกรอน”.<br />

หนังสือพิมพไทยโพสต. ฉบับวันจันทรที่ 17 กันยายน พ.ศ.2550 หนา 4.<br />

- นิติ เอี่ยมชื่น. (2543). การแบงเขตภูมิอากาศของประเทศไทย. เอกสารประกอบการสอนวิชาภูมิ<br />

ปริทัศนภาคเหนือตอนลาง ครั้งที่ 3. อางถึง Wladimir Köppen (1935) การจําแนกอากาศแบบ<br />

คอปเปอร (Köppen's Classification). [Online]. Available:<br />

http://www.pyo.nu.ac.th/agri/major/geo/e-learning/001134_03.pdf (10 มิถุนายน 2543).<br />

- วิรัช มณีสาร, เรือโท. (2538). ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะอากาศตามฤดูกาลของภาคตางๆ<br />

ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการเลขที่ 551.582-02-2538, ISBN: 974-7567-25-3, กันยายน<br />

2538.<br />

- ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานวงปไมและการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศ (2550). [Online].<br />

Available: www.en.mahidol.ac.th/thai/research/center.html (18 สิงหาคม 2550)<br />

- สถานีอุตุนิยมวิทยาอุดรธานี. (2551). สภาพภูมิศาสตรและสภาพภูมิอากาศจังหวัดอุดรธานี.<br />

[Online]. Available: http://phenpit.ac.th/pp/site_m.html (15 กันยายน 2551).<br />

42


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- สนุก!พีเดีย, สารานุกรมชาวสนุก. (2550). ภาวะโลกรอน.[Online]. Available:<br />

http://guru.sanook.com/search/knowledge_search. Global+Warming) & select=1(29<br />

สิงหาคม 2550).<br />

- สมาคมดาราศาสตรไทย. (2551). จุดดําบนดวงอาทิตยเกิดจากอะไร. [Online]. Available:<br />

http://thaiastro.nectec.or.th/letters/jul99.html (18 สิงหาคม 2551).<br />

- อุตุนิยมวิทยา, กรม. ความรูอุตุนิยมวิทยา. (2549). ปจจัยธรรมชาติที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง<br />

ภูมิอากาศ. (2549). อางถึง Crichfield, H. J. ( 1974)<br />

. [Online]. Available:<br />

http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=21 (2006, July 24).<br />

- อุตุนิยมวิทยา, กรม. (2551). ลักษณะอากาศทั่วไปของประเทศไทย. [Online]. Available:<br />

http://www.tmd.go.th/thailand.php (12 มีนาคม 2551).<br />

- อุตุนิยมวิทยา, กรม. (2551). อากาศจังหวัดอุดรธานี. [Online]. Available:<br />

http://www.tmd.go.th/province.php?id=23 (6 มีนาคม 2551).<br />

- Alley, R. B. (2002). The two-mile time machine: Ice cores, abrupt climate change, and<br />

our future. [Online]. Available:<br />

http://www.historycommons.org/entity.jsp?entity=richard_b._alley_1 (January 14, 2002).<br />

- Douglass, A.E. 1929. The secret of the Southwest solved by talkative tree rings. National<br />

Geographic Magazine 56(6): 736-770.<br />

- Crowley, T. J. (2007). History and modeling of past climates: effect of climate change.<br />

[Online]. Available: http://www.geos.ed.ac.uk/homes/tcrowley (June 17, 2007).<br />

- Foukal, Peter; et al. (1977). "The effects of sunspots and faculae on the solar constant".<br />

Astrophysical Journal 215: 952. doi:10.1086/155431<br />

- Fritts, H.C. (1976). Tree rings and climate. London: Academic Press. [Online]. Available:<br />

http://www.lpc.uottawa.ca/resources/tree_rings.html (May 23, 1976).<br />

- Hutton, J. (1785). Abstract of a dissertation read in the Royal Society of Edinburgh, upon<br />

the seventh of March, and fourth of April, MDCCLXXXV. Concerning the System of the<br />

Earth, Its Duration, and Stability. Edinburgh. 30pp.<br />

- Milankovitch, M. (1998) [1941]. Canon of Insolation and the Ice Age Problem. Belgrade:<br />

Zavod za Udz̆benike i Nastavna Sredstva. ISBN 8617066199.; see also Astronomical<br />

Theory of Climate Change.<br />

- Scafetta, N.; West, B. J. (2007). Phenomenological reconstructions of the solar signature<br />

in the Northern Hemisphere, surface temperature records since 1600. J. Geophys. Res.<br />

112: D24S03. doi:10.1029/2007JD008437<br />

- Thompson, L. G. (2003). Tropical glacier and ice core evidence of climate change on<br />

annual to millennial time scales. Climatic Change. 59: 137-155. [Online]. Available:<br />

http://en.wikipedia.org/wiki/Lonnie_Thompson (January 30, 2003).<br />

- Walker, G.T. (1923). Correlation in seasonal variations of weather, VIII. A preliminary<br />

study of world weather. Memoirs of the India Meteorological Department, 24, (4), 75-131.<br />

43


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับลักษณะเชิงพื้นที่ตอปรากฎการณ<br />

เกาะความรอนเมืองในเขตเมืองเชียงใหม<br />

Effects of Climate Change and Spatial Characteristics on Urban Heat Island in<br />

Chiang Mai Metropolitan Area, Thailand<br />

มานัส ศรีวณิช<br />

สาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนยรังสิต)<br />

จังหวัดปทุมธานี 12121 Tel.: (0)2-986-9605 E-mail address: s.manat@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

เมืองเชียงใหมเปนพื้นที่หนึ่งที่ประสบปญหาการขยายตัวของเมืองอยางรวดเร็วและไดรับผลกระทบจาก<br />

ปรากฏการณความรอนเมือง ปญหานี้ไดสงผลตอสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาค ตลอดจนสภาพแวดลอมเมือง<br />

และการพัฒนาทางดานสังคมและเศรษฐกิจ บทความนี้ไดเลือกใชภาพถายดาวเทียมแลนดแซท ทีเอ็ม และ อีที<br />

เอ็มพลัส ในป ค.ศ.1989, 2000 และ 2006 ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่สามารถบงบอกถึงอุณหภูมิพื้นผิว<br />

(LST) และการขยายตัวของสิ่งปลูกสราง ผลลัพทที่ไดแสดงใหเห็นถึงรูปแบบการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของอุณหภูมิ<br />

พื้นผิวที่สูงซึ่งสัมพันธกับประเภทของสิ่งปกคลุมพื้นดิน ตลอดจนถึงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับ<br />

ดัชนีอื่นไดแก ดัชนีผลตางพืชพรรณ (NDVI) และดัชนีผลตางสิ่งปลูกสราง (NDBI) พบวา ความสัมพันธของอุณหภูมิ<br />

แปรผกผันกับดัชนีผลตางพืชพรรณ และแปรผันตรงกับดัชนีผลตางสิ่งปลูกสราง<br />

คําสําคัญ : เกาะความรอนเมือง (Urban heat island: UHI) อุณหภูมิพื้นผิว (Land surface temperature: LST)<br />

Abstract<br />

Chiang Mai Metropolitan Area (CMMA) is one of the regions experiencing rapid urbanization that<br />

has resulted in remarkable Urban Heat Island (UHI) effect, which will be sure to influence the regional<br />

climate, environment, and socio-economic development. In this study, Landsat TM and ETM+ images from<br />

1989, 2000 and 2006 in the CMMA were selected to retrieve the land surface temperature (LST) and builtup<br />

area. The analysis showed that higher temperature in the UHI was located with a scattered pattern,<br />

which was related to certain land-cover types. In order to analyze the relationship between UHI and landcover<br />

changes, this study attempted to employ a quantitative approach in exploring the relationship<br />

between temperature and several indices, including the Normalized Difference Vegetation Index (NDVI)<br />

and Normalized Difference Built-up Index (NDBI). It was found that correlations between NDVI, NDBI and<br />

temperature are negative when NDVI is limited in range, but positive correlation is shown between NDBI<br />

and temperature.<br />

44


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

การขยายตัวของเมืองจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นไมเฉพาะแตกรุงเทพมหานครเทานั้น รวมถึงเมืองขนาดใหญที่<br />

อยูตามภาคตางๆ เชน เชียงใหม นครราชสีมา ขอนแกน ฯลฯ ก็มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเชนกัน การขยายตัวของ<br />

เมืองโดยเฉพาะการกอสรางอาคารบานเรือนและสิ่งกอสรางตางๆอยางไมมีแบบแผน รวมถึงการที่อาคารที่มีความสูง<br />

และขนาดตางๆไดเขามาแทนพื้นที่สีเขียวในเมือง สงผลใหพื้นที่เมืองขาดพืชพรรณในพื้นที่ในเมืองที่จะชวยใหเย็น<br />

ลงจากการระเหยคายน้ํา (evaporation) ของตนไม ประกอบกับลมพัดประจําปไมสามารถพัดพาอากาศเสียในเมืองที่<br />

เกิดจากฝุนและมลพิษในอากาศออกไปจากเมืองได ทําใหเกิดเปนกลุมของหมอกควันปกคลุมอยูเหนือเมือง สิ่ง<br />

สําคัญสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นและเปนผลมาจากปญหาตางๆขางตน คือ การมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นและสะสมอยูเหนือเมือง<br />

(ธนกฤต เทียนมณี, 2545) มีปจจัยตางๆ ที่กอใหเกิดปรากฏการณนี้ เชน การที่พื้นผิวของสิ่งกอสรางโดนแสงแดด<br />

ตลอดเวลา ในชวงเวลากลางวัน ทําใหมีการดูดซับและสะสมความรอนเปนจํานวนมากและมีการคายความรอนนั้นสู<br />

บรรยากาศทําใหอุณหภูมิของเมืองเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ความรอนจากการเผาไหมตางๆ และความรอนจาก<br />

เครื่องปรับอากาศ ที่ใชอยูทั่วไปก็สงผลตอการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอยางหลีกเลี่ยงไมไดและมีผลกระทบตอการดํารง<br />

ชีวิตประจําวันและสุขภาพของผูคนที่พักอาศัยอยูในเมืองอีกดวย<br />

การขยายตัวของเมืองที่เพิ่มมากขึ้นและปญหานี้จะเพิ่มขึ้นตามมาอยางแนนนอน การเพิ่มความรอน<br />

ของเมืองเปนปรากฏการณปกติในพื้นที่เมือง สภาพการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของเมืองที่มีลักษณะที่ซับซอน<br />

ทางดานรูปทรงวัสดุกอสรางและกิจกรรมมนุษยการเพิ่มขึ้นของสารกอมลพิษในอากาศและการลดลงของความชื้น<br />

สัมพัทธ มลภาวะทางความรอนที่เกิดจากกิจกรรมมนุษยเปนปรากฏการณที่อุณหภูมิในเมืองสูงกวาชนบท<br />

ปรากฏการณนี้รูจักในนามของ ปรากฏการณเกาะความรอน (Urban Heat Island) และเปนปรากฏการณที่สัมพันธ<br />

กับสภาวะโลกรอน (Oke, 1987; Nakagawa,1996; Rizwan et al., 2008) ในขณะที่พื้นที่สีเขียวและแหลงน้ํามีสวน<br />

ชวยในการลดความรอนที่ถูกกักไวในเมือง เรียกพื้นที่ดังกลาววา บริเวณอุณหภูมิต่ํา (Cool Island) ในเวลากลางวัน<br />

ความรอนจะถูกนํามาใชในการระเหยน้ําผิวดินและในดินไปเปนความชื้นในบรรยากาศ รวมทั้งใชแสงแดดไปในการ<br />

สังเคราะหแสงและการหายใจของพืชแทนที่จะเปลี่ยนเปนความรอน ดังนั ้นการลดลงของพื่นที่สีเขียวภายในเมือง<br />

ยอมสงผลใหเมืองรอนขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่มีสิ่งปลูกสราง (Built-up area) ที่มีพืชพันธุนอยกวาบริเวณ<br />

โดยรอบหรือพื้นที่เปดโลง (Pichakum N, 1995)<br />

จากเหตุผลดังกลาวขางตนทําใหผูทําการศึกษาสนใจศึกษาเรื่อง ผลกระทบของการขยายตัวของเมือง<br />

เชียงใหมตออุณหภูมิพื้นผิวดวยวิธีการประยุกตใชเทคโนโลยีดานการสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) รวมกับ<br />

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System (GIS) และการหาความสัมพันธระหวางดัชนี<br />

ผลตางพืชพรรณ, ดัชนีผลตางน้ํา, ความหนาแนนอาคาร, อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และอัตราสวนพื้นที่<br />

อาคารปกคลุมดินตอพื้นที่ดิน กับอุณหภูมิพื้นผิวในเขตเมืองเชียงใหม เพื่อนํามาสูการกําหนดมาตรการลดอุณหภูมิ<br />

ในตัวเมืองตอไป ซึ่งถือวาเปนเรื่องที่นาสนใจอีกเรื่องหนึ่งและสําคัญไปไมนอยกวาปญหาภาวะโลกรอนที่พบอยูใน<br />

ปจจุบันนี้<br />

2. วัตถุประสงค<br />

วัตถุประสงคของการศึกษานี้เพื่อศึกษาความสัมพันธของปรากฏการณความรอนเมืองของเมือง<br />

เชียงใหม ดวยวิธีการประยุกตใชเทคโนโลยีดานการสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) จากขอมูลดาวเทียมแลนด<br />

แซท (LANDSAT) ระบบ Enhanced Thematic Mapper Plus (ETM+) ในชวงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม และเดือน<br />

มกราคมถึงมีนาคม ซึ่งเปนชวงที่มีปรากฏการณเกาะความรอนเมืองมีความรุนแรง (Urban Heat Island Intensity:<br />

45


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

UHII) (Pathathai, 2006) ไดแก วันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2000 (พ.ศ.2543) และ วันที่ 18 กุมภาพันธ ค.ศ. 2006 (พ.ศ.<br />

2549) เพื่อตรวจหาความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิพื้นผิวระหวางพื้นที่ที่มีการใชที่ดินเปนอาคารและสิ่งปลูกสราง<br />

(Built-up area) กับพื้นที่เปดโลง (Open space) ในเขตเมืองเชียงใหม ตลอดจนศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิ<br />

พื้นผิวกับคาดัชนีผลตางพืชพรรณ (Normalized Difference Vegetation Index: NDVI), ดัชนีผลตางน้ํา<br />

(Normalized Difference Water Index: NDWI), ความหนาแนนอาคาร, อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน<br />

(Floor Area Ratio: FAR) และอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุมดินตอพื้นที่ดิน (Building Coverage Ratio: BCR)<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 การศึกษาความสมบูรณของน้ําที่เปนองคประกอบของพืชพรรณและดิน จากการคํานวณหาดัชนีผลตางน้ํา<br />

(Normalized Difference Water Index: NDWI) อัตราสวนคาการสะทอนแสงเฉลี่ยในชวงอินฟราเรดใกล และชวง<br />

อินฟราเรดกลาง คา NDWI จะแปรผันอยูระหวาง -1 และ 1 โดยคา 0 หมายถึงไมมีองคประกอบของน้ําอยูในพื้นที่<br />

สํารวจ ในขณะที่เขาใกลคา 1 หมายถึงมีองคประกอบของน้ําอยูหนาแนนมากในพื้นที่ดังกลาว ซึ่งมีสูตรการ<br />

คํานวณหาดังสมการที่ 1<br />

NDWI<br />

R<br />

R<br />

NIR MIR<br />

= [1]<br />

เมื่อ NDWI คือ ดัชนีผลตางพืชพรรณ, R NIR และ R MIR คือ คาการสะทอนแสงในชวงคลื่นอินฟราเรดใกล<br />

(Near-infrared band) หรือ แบด 4 และชวงคลื่นอินฟราเรดกลาง (Mid-infrared band) หรือ แบนด 5 ความยาวชวง<br />

คลื่นระหวาง 0.75-0.90 m. และ 1.55-1.75 m. ตามลําดับ (Maki et al., 2004)<br />

3.2 การศึกษาความสมบูรณของพืชพรรณจากการคํานวณหาดัชนีผลตางพืชพรรณ (Normalized Difference<br />

Vegetation Index: NDVI) อัตราสวนคาการสะทอนแสงเฉลี่ยในชวงสีแดงและชวงอินฟราเรดใกล คา NDVI จะแปร<br />

ผันอยูระหวาง -1 และ 1 โดยคา 0 หมายถึงไมมีพวกพืชพรรณใบเขียวอยูในพื้นที่สํารวจในขณะที่คา 0.8 หรือ 0.9<br />

หมายถึงมีพวกพืชพรรณใบเขียวอยู หนาแนนมากในพื้นที่ดังกลาว ทั้งนี้โดยปกติคานี้จะอยูระหวาง 0.1 ถึง 0.7<br />

เทานั้น ซึ่งมีสูตรการคํานวณหาดังสมการที่ 2<br />

NDVI<br />

R<br />

NIR<br />

NIR<br />

− R<br />

+ R<br />

MIR<br />

NIR red<br />

= [2]<br />

R<br />

เมื่อ NDVI คือ ดัชนีผลตางพืชพรรณ, R NIR และ R red คือ คาการสะทอนแสงในชวงคลื่นอินฟราเรดใกล<br />

(Near-infrared band) หรือ แบด 4 และชวงคลื่นสีแดง (Red band) หรือ แบนด 3 ที่มีความยาวชวงคลื่นระหวาง<br />

0.63-0.69 m. ตามลําดับ (Purevdorj et al., 1998)<br />

3.3 การศึกษาอุณหภูมิพื้นผิว (Land Surface Temperature: LST) จะใชคาการสะทอนแสงในชวงคลื่นอินฟราเรด<br />

ความรอน (thermal infrared band) หรือ แบด 6 ดาวเทียม LANDSAT ระบบ ETM+ ที่มีความยาวชวงคลื่นระหวาง<br />

10.40-12.50 m. โดยแบงเปน 2 ขั้นตอน (Chen et al.,2006) ดังนี้<br />

3.1. ขั้นตอนที่ 1 การแปลงคาความสวาง (Digital Numbers: DNs) เปนคาการแผรังสีเชิงคลื่น (Spectral<br />

Radiance) ซึ่งมีสูตรการคํานวณหาดังสมการที่ 3<br />

( L<br />

− L<br />

)<br />

− R<br />

+ R<br />

red<br />

ma x min<br />

λ<br />

=<br />

× ( DN − QCALmin<br />

) + Lmin<br />

[3]<br />

QCALma<br />

x<br />

− QCALmin<br />

L<br />

46


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อ Lλ<br />

คือ คาการแผรังสีเชิงคลื่นที่วัดไดจากเซ็นเซอร (Spectral radiance at the sensor's aperture)<br />

(W/(m 2 • sr•μm)), DN คือ คาความสวาง (Digital Numbers: DNs) ในชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน, QCAL<br />

max<br />

คือ คาความสวางสูงสุดของแบนด 6 ดาวเทียม LANDSAT ระบบ ETM+ เทากับ 255, QCAL<br />

min<br />

คือ คาความ<br />

สวางต่ําสุดของแบนด 6 ดาวเทียม LANDSAT ระบบ ETM+ เทากับ 1, Lmin<br />

คือ คาการแผรังสีเชิงคลื่นต่ําสุดที่วัด<br />

ไดจากเซ็นเซอรระบบ ETM+ เทากับ 3.20 (W/(m 2 • sr •μm)), L<br />

max<br />

คือ คาการแผรังสีเชิงคลื่นสูงสุดที่วัดไดจาก<br />

เซ็นเซอรระบบ ETM+ เทากับ 12.65 (W/(m 2 • sr •μm))<br />

3.2. ขั้นตอนที่ 2 การแปลงแผรังสีเชิงคลื่นที่วัดไดจากเซ็นเซอรใหเปนอุณหภูมิพื้นผิว (Land Surface<br />

Temperature: LST) ซึ่งมีสูตรการคํานวณหาดังสมการที่ 4<br />

K 2<br />

T k<br />

=<br />

[4]<br />

⎛ K1<br />

⎞<br />

In<br />

⎜ + 1<br />

⎟<br />

⎝ L λ ⎠<br />

เมื่อ T<br />

k<br />

คือ อุณหภูมิพื้นผิว (เคลวิน), K 1 และ K 2 คือ คา pre-launch calibration constants ของ<br />

ดาวเทียม LANDSAT ระบบ ETM+ โดย K1เทากับ 666.09 (W/(m 2 • sr •μm)) และ K 2 เทากับ 1282.71 เคลวิน,<br />

L คือ คาการแผรังสีเชิงคลื่นที่วัดไดจากเซ็นเซอร (W/(m 2 • sr •μm)) (Chander and Markham, 2003)<br />

λ<br />

3.3. ขั้นตอนที่ 3 การแปลงอุณหภูมิพื้นผิวจากหนวยเคลวิน( T<br />

k<br />

) เปนองศาเซลเซียส( T<br />

c<br />

) ซึ่งมีสูตรการ<br />

คํานวณหาดังสมการที่ 5<br />

T T − 273.15<br />

[5]<br />

c<br />

= k<br />

3.4 การศึกษาลักษณะทางกายภาพของเมืองจากขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการวางผังเมืองมาตราสวน<br />

1:4,000 กรมโยธาธิการและผังเมือง โดยแบงพื้นที่ออกเปนกริดขนาด 500 เมตร จํานวนทั้งสิ้น 1,773 กริด<br />

ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา เพื่อศึกษาลักษณะเชิงพื้นที่ของเมืองไดแก ความหนาแนนอาคาร (Building density)<br />

หมายถึง จํานวนอาคารในกริด, อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio: FAR)หมายถึง อัตราสวน<br />

พื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคารทุกหลังตอพื้นที่กริดที่เปนที่ตั้งอาคาร และอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุมดินตอพื้น<br />

ที่ดิน (Building Coverage Ratio: BCR) หมายถึง อัตราสวนพื้นที่อาคารและสวนที่มีหลังคาปกคลุมถึงทั้งหมดตอ<br />

พื้นที่กริดที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร<br />

ในการศึกษานี้ใชการวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธอยางงาย (Simple Linear Regression and<br />

Correlation Analysis) ใชในการตรวจสอบลักษณะของความสัมพันธระหวางตัวแปร ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป โดยแบงเปน<br />

ตัวแปรอิสระ (Independent variable) ในที่นี้คือคาดัชนีผลตางพืชพรรณ และดัชนีผลตางสิ่งปลูกสราง สวนอุณหภูมิ<br />

พื้นผิวเปนตัวแปรตาม (Dependent variable) ผลของการศึกษาจะใหทราบถึง (1) ขนาดของความสัมพันธระหวาง<br />

ตัวแปรอิสระที่มีตอตัวแปรตาม และ (2) แบบจําลองความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม เพื่อที่จะ<br />

สามารถคาดการณไดวาตัวแปรอิสระตัวใดมีอิทธิพลตอตัวแปรตามมากที่สุดจากสัมประสิทธิ์ความถดถอย<br />

(regression coefficient) และแสดงเปนแผนภาพการกระจาย(scatter diagram หรือ scatter plot) ตลอดจนการ<br />

วิเคราะหการถดถอยจากสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรทั้งสอง (correlation coefficient)<br />

47


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของการใชที่ดินเปนอาคารและสิ่งปลูกสราง ดวยวิธีการประยุกตใชขอมูล<br />

ดาวเทียมแลนดแซท ในป ค.ศ. 2000 และ ค.ศ. 2006 ทําการจําแนกประเภทภาพแบบกํากับดูแล (Supervised<br />

classification) เพื่อจําแนกพื้นที่อาคารและสิ่งปลูกสรางในเขตเมืองเชียงใหมและปริมณฑล มีพื้นที่ประมาณ 410<br />

ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 7 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองเชียงใหม, อําเภอแมริม, อําเภอสันทราย, อําเภอดอนสะเก็ด<br />

, อําเภอสันกําแพง, อําเภอสารภี และอําเภอหางดง<br />

(a) Built-up area 2000 (b) Built-up area 2006<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

LST 2000 (Centigrade)<br />

Less than 26<br />

26 - 28<br />

28 - 29<br />

29 - 30<br />

More than 30<br />

Retrieved from Thermal Infrared Band (Band6)<br />

LANDSAT (ETM+) Date: 2000/03/05<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

LST 2006 (Centigrade)<br />

Less than 26<br />

26 - 28<br />

28 - 29<br />

29 - 30<br />

30 - 32<br />

More than 32<br />

Retrieved from Thermal Infrared Band (Band6)<br />

LANDSAT (ETM+) Date: 2006/02/18<br />

(c) LST March 5, 2000 (d) LST 2006 February 18, 2006<br />

รูปที่ 1 การขยายตัวของอาคารและสิ่งปลูกสราง (Built-up area) (a) 2000 และ (b) 2006, การเปลี่ยนแปลง<br />

อุณหภูมิพื้นผิว (LSTs) (c) 2000 และ (d) 2006<br />

48


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยพบวา ในป ค.ศ.2000 มีพื้นที่อาคารและสิ่งปลูกสรางประมาณ 43 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 10<br />

ของพื้นที่ศึกษา โดยรอยละ 53 หรือประมาณ 23 ตารางกิโลเมตร ของพื้นที่อาคารและสิ่งปลูกสรางในป ค.ศ.2000<br />

กระจายอยูในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม และในป ค.ศ.2006 ขยายตัวของพื้นที่อาคารและสิ่งปลูกสรางเพิ่มขึ้นเปน 49<br />

ตารางกิโลเมตร หรือ คิดเปนรอยละ 12 ของพื้นที่ศึกษา โดยกระจายตัวอยูในเขตอําเภอเมืองเชียงใหมมากที่สุด<br />

ประมาณ 26 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 53) รองลงมาไดแก อําเภอสารภี (รอยละ 11.6), อําเภอหางดง (รอยละ<br />

10.1), อําเภอสันทราย (รอยละ 9.7), อําเภอแมริม (รอยละ 7.6), อําเภอสันกําแพง (รอยละ 6.3) และอําเภอดอย<br />

สะเก็ด (รอยละ 1.7) ตามลําดับ (รูปที่ 1, a และ b) การขยายสูพื้นที่ชานเมืองของเมืองเชียงใหมมากขึ้นจึงสงผลให<br />

พื้นที่โลงที่เปนพื้นที่เกษตรกรรมถูกรุกล้ําเพื่อนําไปใชกอสรางสิ่งปลูกสรางตางๆ เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วอยางไมมี<br />

แบบแผน สิ่งสําคัญสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นและเปนผลมาจากปญหาดังกลาว คือ การมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นและสะสมอยูเหนือ<br />

เมืองที่เรียกวา ปรากฏการณเกาะความรอนเมือง<br />

(a.) March 05, 2000 (b.) February 18, 2006<br />

รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิพื้นผิว (LSTs) ในพื้นที่เมืองเชียงใหม (a) 2000 และ (b) 2006<br />

การศึกษาอุณหภูมิพื้นผิว (LST) (รูปที่ 1, c และ d) จะใชคาการสะทอนแสงในชวงคลื่นอินฟราเรด<br />

ความรอน ดาวเทียม LANDSAT ระบบ ETM+ พบวา ป ค.ศ.2000 เมืองเชียงใหมมีอุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย<br />

ประมาณ 20.73 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นเปน 26.80 องศาเซลเซียส ในป ค.ศ. 2006 ตามลําดับ โดยในป<br />

ค.ศ.2006 เขตอําเภอเมืองเชียงใหมมีอุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงที่สุดประมาณ 27.68 องศาเซลเซียส มากกวา<br />

อําเภอรอบนอกประมาณ 1 ถึง 2 องศาเซลเซียส โดยอําเภอที่มีอุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงรองลงมาไดแก<br />

อําเภอหางดง (26.94 องศาเซลเซียส), อําเภอสันกําแพง (26.83 องศาเซลเซียส), อําเภอแมริม (26.82<br />

49


การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

50<br />

CTC<br />

2010<br />

องศาเซลเซียส), อําเภอดอยสะเก็ด (26.30 องศาเซลเซียส), อําเภอสารภี (26.20 องศาเซลเซียส) และอําเภอสัน<br />

ทราย (26.18 องศาเซลเซียส) ตามลําดับ<br />

จากการศึกษาวิเคราะหเพื่อหาความสัมพันธอยางงาย โดยอุณหภูมิพื้นผิว (LST) เปนตัวแปรตาม คาดัชนี<br />

ผลตางพืชพรรณ (NDVI), ดัชนีผลตางน้ํา (NDWI), ความหนาแนนอาคาร, อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน<br />

(FAR) และอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุมดินตอพื้นที่ดิน (BCR) เปนตัวแปรอิสระ ความสัมพันธของตัวแปรทั้งหา<br />

แสดงออกมาเปนแผนภาพกระจัดกระจาย (รูปที่ 3 และรูปที่ 4) จากคาสัมประสิทธิ์ความถดถอยที่แสดง<br />

ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพื้นผิวกับคาดัชนีผลตางพืชพรรณและคาดัชนีผลตางน้ํา พบวา ดัชนีผลตางพืชพรรณ<br />

และคาดัชนีผลตางน้ํา มีความสัมพันธกันในทิศทางตรงกันขามอุณหภูมิพื้นผิว โดยคาดัชนีผลตางน้ํามีคาสัมประสิทธิ์<br />

สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) หรือ R 2 เทากับ 0.7565 มากกวาดัชนีผลตางพืชพรรณที่เทากับ 0.3230 นั่น<br />

แสดงวาคาดัชนีผลตางน้ํามีความสัมพันธตออุณหภูมิพื้นผิวที่ลดลงมากกวาคาดัชนีพืชพรรณ อัตราการลดลงเฉลี่ย<br />

ประมาณ 16.65 องศาเซลเซียส พื้นที่ที่มีความสัมพันธอยู<br />

ในระดับความเชื่อมั่นสูงสวนใหญจะเปนพื้นที่อําเภอรอบ<br />

นอกที่เปนพื้นที่เกษตรกรรมและมีแหลงน้ําที่อุดมสมบูรณ<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

0.00000 24.00000 48.00000<br />

BCR<br />

Y = 26.1594809 + 0.0881972X<br />

R-Squared = 0.3097<br />

22.65100<br />

25.22800<br />

27.80500<br />

30.38200<br />

32.95900<br />

Mean LST (Centigrade)<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

##<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

# # #<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

##<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

1.000 406.000 811.000<br />

Building Density<br />

Y = 26.1868939 + 0.0052722X<br />

R-Squared = 0.2250<br />

22.651<br />

25.228<br />

27.805<br />

30.382<br />

32.959<br />

Mean LST (Centigrade)<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

# #<br />

# # #<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

0.00000 0.72500 1.45000<br />

FAR<br />

Y = 26.3296847 + 3.9614258X<br />

R-Squared = 0.2525<br />

22.65100<br />

25.22800<br />

27.80500<br />

30.38200<br />

32.95900<br />

Mean LST (Centigrade)<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

# #<br />

#<br />

# #<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

-0.30000 0.03500 0.37000<br />

Mean NDVI<br />

Y = 26.4673345 - 8.6954943X<br />

R-Squared = 0.3230<br />

22.65100<br />

25.22800<br />

27.80500<br />

30.38200<br />

32.95900<br />

Mean LST (Centigrade)<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# # #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

# #<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

#<br />

-0.40000 -0.13000 0.14000<br />

Mean NDWI<br />

Y = 23.8166632 - 16.6466089X<br />

R-Squared = 0.7565<br />

22.65100<br />

25.22800<br />

27.80500<br />

30.38200<br />

32.95900<br />

Mean LST (Centigrade)<br />

(a)<br />

(b)<br />

(d)<br />

(c)<br />

(e)<br />

รูปที่ 3 แผนภาพกระจัดกระจาย (Scatter Plots) แสดงความสัมพันธระหวาง (a) LST กับ NDVI, (b) LST กับ<br />

NDWI, (c) LST กับ FAR, (d) LST กับ BCR และ (e) LST กับ ความหนาแนนอาคาร


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สวนความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพื้นผิวกับความหนาแนนอาคาร, FAR และ BCR พบวา มีความสัมพันธ<br />

ในทิศทางเดียวกัน โดยอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุมดินตอพื้นที่ดิน (BCR) มีความสัมพันธกับอุณหภูมิพื้นผิวที่<br />

เพิ่มขึ้นมากกวา อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน (FAR) และความหนาแนนอาคาร โดยพิจารณาจากคา<br />

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่เทากับ 0.3097, 0.2525 และ 0.2250 ตามลําดับ โดยพื้นที่ที่มีอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุม<br />

ดินสัมพันธกับอุณหภูมิพื้นผิวสูงไดแก บริเวณยานศูนยกลางพาณิชยกรรมในเขตอําเภอเมือง ยานตลาดตนลําไย<br />

ยานไนทบาซาร ถนนชางคลาน ยานชางเผือก ถนนโชตนา ยานวิทยาลัยครูเชียงใหม ยานประตูเชียงใหม ถนนวัว<br />

ลาย เปนตน<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

Average LST 2006 (Centigrade)<br />

Less than 26<br />

26 - 28<br />

28 - 29<br />

29 - 30<br />

30 - 32<br />

More than 32<br />

Retrieved from Thermal Infrared Band (Band6)<br />

LANDSAT (ETM+) Date: 2006/02/18<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

2 0 2<br />

Kilometer s<br />

Average NDVI 2006<br />

-1.000 - 0.000<br />

0.000 - 0.022<br />

0.022 - 0.185<br />

0.185 - 0.348<br />

0.348 - 0.510<br />

0.510 - 1.000<br />

Retrieved from Infrared Band and Red Band<br />

LANDSAT (ETM+) Date: 2006/02/18<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

(a) LST<br />

(b) NDVI<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

Average NDWI 2006<br />

-0.4 - -0.25<br />

-0.25 - -0.2<br />

-0.2 - -0.15<br />

-0.15 - -0.09<br />

-0.09 - 0.14<br />

Retrieved from Near-Infrared Band and Mid-Inf rared Band<br />

LANDSAT (ETM+) Date: 2006/02/18<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

Building Density<br />

(Number of Building per Grid)<br />

Less than 100<br />

101 - 200<br />

201 - 300<br />

301 - 400<br />

401 - 500<br />

More than 500<br />

Retrieved from GIS data, Source: DTCP,Thailand<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

(c) NDWI<br />

(d) Building Density<br />

2 0 2<br />

Kilometer s<br />

Floor Area Ratio (FAR)<br />

0.0 - 0.2<br />

0.2 - 0.4<br />

0.4 - 0.6<br />

0.6 - 0.8<br />

0.8 - 1.0<br />

1.0 - 1.5<br />

Retrieved from GIS data, Source: DTCP,Thailand<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

2 0 2<br />

Kilometers<br />

Building Coverage Ratio (BCR):<br />

(Percentage)<br />

Less than 10<br />

10 - 15<br />

15 - 25<br />

25 - 30<br />

30 - 35<br />

Over than 35<br />

Statistics; Maximum=48.00, Mean=6.89<br />

Grid Size: 500m.x500m.<br />

(e) FAR<br />

(f) BCR<br />

รูปที่ 4 ลักษณะขอมูลเชิงพื้นที่ของเมืองเชียงใหม (a) LST, (b) NDVI, (c) NDWI,<br />

(d) Building density, (e) FAR และ (f) BCR<br />

51


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ผลจากการศึกษาที่ไดจากการประเมินคาดัชนีผลตางพืชพรรณ (NDVI), ดัชนีผลตางน้ํา (NDWI), ความ<br />

หนาแนนอาคาร, อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน (FAR) และอัตราสวนพื้นที่อาคารปกคลุมดินตอพื้นที่ดิน<br />

(BCR) รวมกับอุณหภูมิพื้นผิวที่เปนตัวแปรตามและถือเปนปจจัยหลักของลดและเพิ่มความรุนแรงของการเกิด<br />

ปรากฏการณเกาะความรอนภายในเขตพื้นที่เมืองเชียงใหม ที่ไดรับอิทธิพลจากการขยายตัวของเมืองในชวงเวลาที่<br />

ตางกัน โดยพบวา แนวโนมการขยายตัวของอาคารสิ่งปลูกสรางจากป ค.ศ. 2000 และค.ศ.2006 เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ<br />

พื้นที่อําเภอขางเคียงกับอําเภอเมืองเชียงใหม การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเมืองที่มี<br />

แนวโนมเพิ่มสูงขึ้น จากป ค.ศ.2000 อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 20.73 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นประมาณ 6 องศา<br />

เซลเซียส เปน 26.80 องศาเซลเซียส ในป ค.ศ. 2006 โดยในป ค.ศ.2006 เขตอําเภอเมืองเชียงใหมมีอุณหภูมิพื้นผิว<br />

เฉลี่ยสูงที่สุดประมาณ 27.68 องศาเซลเซียส มากกวาอําเภอรอบนอกประมาณ 1 ถึง 2 องศาเซลเซียส การเพิ่มขึ้น<br />

ของอุณหภูมิพื้นผิวดังกลาวสัมพันธกับการเพื่มขึ้นของอาคารและสิ่งปลูกสราง ทั้งในเรื่องของขนาดและความ<br />

หนาแนน ตลอดจนลงของพืชพรรณ ตนไมใหญ และภาวะความแหงแลงในชวงหนาแลงที่ทําใหสูญเสียความชุมชื้น<br />

ของดิน ซึ่งอาจจะมีสาเหตุหรือปจจัยที่เปนตัวแปรที่สงผลตอความรุนแรงของปรากฏการณเกาะความรอนของพื้นที่<br />

เมืองเชียงใหม การศึกษาปรากฏการณเกาะความรอนในการศึกษานี้ไดประยุกตใชประยุกตใชเทคโนโลยีดานการ<br />

สํารวจระยะไกล หรือ Remote Sensing จากการวิเคราะหขอมูลดาวเทียมแลนดแซท (LANDSAT) ระบบ ETM+<br />

ในชวงเดือนกุมภาพันธถึงมีนาคม โดยใชชวงคลื่นอินฟราเรดความรอนประเมินคาอุณหภูมิพื้นผิวในชวงเวลา<br />

กลางวัน หากจะมีการศึกษาผลกระทบของปรากฏการณเกาะความรอนเมืองในชวงเวลาคืนที่เกิดจากการปลดปลอย<br />

รังสีความรอนของพื้นผิวอาจจะตองเลือกใชขอมูลดาวเทียมที่มีระบบบันทึกภาพชวงเวลากลางคืน เชน MODIS,<br />

AVHRR, MTSAT เปนตน<br />

6. กิติกรรมประกาศ<br />

ผูวิจัยขอขอบพระคุณกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ที่อนุเคราะหขอมูล GIS ผังเมืองรวม<br />

เมืองเชียงใหม มาตรสวน 1:4,000 เพื่องานวิจัยชิ้นนี้<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Chen, X.L., Zhao, M.Z., Li, P.X., Yin, Z.Y., 2006. Remote sensing image-based analysis<br />

of the relationship between urban heat island and land use/cover changes. Remote<br />

Sensing of Environment 104, 133–146.<br />

- Chen, Z.M., Babiker, I.S., Chen, Z.X., Komaki, K., Mohamed, M.A.A., Kato, K., 2004.<br />

Estimation of interannual variation in productivity of global vegetation using NDVI data.<br />

International Journal of Remote Sensing 25 (16), 3139–3150.<br />

- Chander, G., Markham, B., 2003. Revised Landsat-5 TM radiometric calibration<br />

procedures and postcalibration dynamic ranges. IEEE Transactions on Geoscience and<br />

Remote Sensing 41 (11), 2674–2677.<br />

- K. Kataoka, F. Matsumoto and T. Ichinose.(2009). Urban warming trends in several large<br />

Asian cities over the last 100 years: science of the total environment.<br />

52


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Nakagawa K. Recent trends of urban climatological studies in Japan, with special<br />

emphasis on the thermal environments of urban areas. Geogr Rev Jpn 1996; 69-B:206–<br />

24.<br />

- Oke TR. City size and the urban heat island. Atmos Environ1973; 7: 769–79.<br />

- Pathathai Tonsuwonnont. (2006). Heat island and electrical energy consumption in urban<br />

areas. Asian institute of technology. Thailand.<br />

- Pichakum N, Maruta Y. An investigation on the distribution of air temperature and the<br />

effect of open space on mitigating severe climate in Bangkok, Thailand. Environ Inf Sci<br />

1995;24-1:74–81<br />

- Purevdorj, T.S., Tateishi, R., Ishiyama, T., Honda, Y., 1998. Relationships between<br />

percent vegetation cover and vegetation indices. International Journal of Remote<br />

Sensing 19 (18), 3519–3535.<br />

- Rizwan AM, Dennis YCL, Liu C. A review on the generation, determination and<br />

mitigation of urban heat island. J Environ Sci 2008;20:120–8.<br />

- Zha, Y., Gao, J., Ni, S., 2003. Use of normalized difference built-up index in<br />

automatically mapping urban areas from TM imagery. International Journal of Remote<br />

Sensing 24 (3), 583–659.<br />

- จริยา บุญญวัฒน และคณะ. โดมความรอนเหนือมหานคร วิธีการตรวจวัดและแนวทางการ<br />

ควบคุม. สิ่งแวดลอม.3, 14 (2542), 15.<br />

- ธนกฤต เทียนมณี. (2545).ปรากฏการณเกาะความรอนกับสภาพทางกายภาพของเมือง.<br />

กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร.<br />

53


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การตรวจวัดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมซึ่งเกิดจากกาซมีเธนในการเลี้ยงโค<br />

ดวยจมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

Methane Emission Measurement in Cow Husbandry by Using E-Nose<br />

วรรัตน ปตรประกร 1 , รักพงศ สายแกว 1 , นิติการ นิ่มสุข 2 และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร 2<br />

1 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต<br />

ถนนพหลโยธิน คลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

2 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต<br />

ถนนพหลโยธิน คลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

ในบทความนี้จมูกอิเล็กทรอนิกสถูกนําเสนอเพื่อใชประเมินผลรวมที่ถูกตองยิ่งขึ้นของผลกระทบจาก กาซ<br />

มีเธนในการเลี้ยงโค จากขอมูลของกรมปศุสัตวในป ค.ศ. 2009 พบวาในประเทศไทยมีโคอยู 9,079,327 ตัว ทั้งนี้<br />

จากผลการศึกษาของนักวิจัยหลายทานพบวา ศักยภาพของการลดลงของการปลดปลอยกาซมีเธนมีคาสูงสุดที่<br />

11,666,935 ตัน เทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด ในกรณีที่กาซมีเธนทั้งหมดถูกรวบรวมไดจากทุกกิจกรรมในการ<br />

เลี้ยงโค อยางไรก็ตามมีตัวแปรมากมายที่สงผลกระทบโดยตรงกับการลดลงของการปลดปลอยกาซมีเธน<br />

ตัวอยางเชน ขนาดของโค, วิธีการรวบรวมกาซมีเธนและตําแหนงที่ตั้งของฟารม ดังนั้น วิธีการตรวจวัดที่ยอมรับได<br />

จึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการหาคาการลดลงของการปลดปลอยกาซมีเธนจากโค ซึ่งไดแก การเรอของโค และการ<br />

ผายลมของโค เปนตน นอกจากนี้การประเมินผลของการลดลงของกาซคารบอนไดออกไซดสําหรับกลไกพัฒนาที่<br />

สะอาด ควรมีความแมนยําที่สูง ภายใตราคาที่สมเหตุสมผล ดังนั้นในบทความนี้จึงนําเสนอแนวคิดของระบบสําหรับ<br />

การเรอ และการผายลมของโค โดยอาศัยจมูกอิเล็กทรอนิกส จากผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา จมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

มีศักยภาพสูงในการพัฒนาเปนเครื่องมือวัดผลกระทบจากมีเธน ภายใตความเหมาะสมระหวางราคาและความ<br />

แมนยํา ทายที่สุดโครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาดในรูปแบบใหมของการเลี้ยงโคจะถูกพิจารณาภายใต<br />

แนวความคิดที่ซับซอนมากยิ่งขึ้น เมื่อระบบการวัดดวยจมูกอิเล็กทรอนิกสถูกพัฒนาเสร็จสมบูรณ<br />

คําสําคัญ : การเลี้ยงโค กาซมีเธน การปลอยกาซเรือนกระจก จมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

Abstract<br />

In this paper, electronic nose (E-nose) is proposed to evaluate the accurate amount of methane<br />

emission in cow husbandry. The information from the department of livestock development in 2009, there<br />

are 9,079,327 cows in Thailand. According to many results from various researchers, the maximum<br />

potential of CH 4 reduction is up to 11,666,935 tons of CO 2 equivalent, in case of all CH 4 are captured from<br />

all activities in cow husbandry. However many factors are directly related to the CH 4 reduction, such as<br />

size of cow, method to capture CH 4 and location of farm. Therefore, the acceptable measuring method is<br />

54


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

needed to indicate CH 4 emission from the activities of cow that are cows’ burp and cows’ fart, etc.<br />

Moreover, the evaluation of CO 2 reduction for clean development mechanism (CDM) should be more<br />

accurate with reasonable cost. Thus, this paper offers the concept of methane emission measurement for<br />

cows’ burp and fart by using E-nose. The analytical results show that E-nose has the high potential to<br />

develop the methane emission measurement with optimum between cost and precision. Finally, the new<br />

CDM project about cow husbandry will be concern more and more in complicated idea when the E-nose is<br />

completely developed.<br />

1. การเลี้ยงโคในประเทศไทย<br />

การเลี้ยงโคในประเทศไทยเริ่มตนดวยการเลี้ยงเพื่อใชงานในภาคเกษตรกรรมเชนเดียวกับกระบือ<br />

นอกจากนี้ยังใชเพื่อการคมนาคมในอดีตอีกดวย รวมถึงเมื่อปลดระวางจึงถูกนํามาทําเปนโคเนื้อเพื่อการทําอาหาร<br />

ภายหลังจากมีการนําเขาผลิตภัณฑนมจากตางประเทศเปนจํานวนมากจึงไดมีการขยายการเติบโตเปนการเลี้ยง<br />

โคนม สวนการเลี้ยงโคแบบอื่นๆ เชนการเลี้ยงเพื่อการกีฬา เชน การวิ่งแขง เปนตน รวมถึงการเลี้ยงโคสวยงาม<br />

เกิดขึ้นภายหลัง แมมีบางที่ที่มีประเพณีการแขงวิ่งโค หรือ แขงชนโค ก็เปนการนําโคที่ใชงานจากภาคเกษตรกรรม<br />

มาใชทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นไดวาการเลี้ยงโคในประเทศไทยสามารถแบงออกไดเปน 4 ประเภท [1,2]<br />

1. การเลี้ยงโคเพื่อใชงานหรือโคงาน เกิดขึ้นมานานควบคูกับการใชแรงงานกระบือ มีขอไดเปรียบคือ โคมีเทาเล็ก<br />

กวากระบือ ทําใหเดินไดเร็วกวา เหมาะกับการเทียมเกวียน ลากเลื่อน และไถนาดอน นอกจากนี้ยังทนทานตอ<br />

แสงอาทิตยดวย อยางไรก็ตามการใชงานโคก็มีขอเสีย กลาวคือ โคมีกําลังนอยกวากระบือ และมักชอบทํางานเปนคู<br />

โคที่ใชทํางานเดิมมักจะโคพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ หรือโคลูกผสมโคพันธุอเมริกันบรามัน (American Brahman) ซึ่ง<br />

จะเปนโคที่มีขนาดโตกวาโคพื้นเมือง แตในปจจุบันการใชโคเพื่องานเกษตรกรรมลดนอยลงไปมากเพราะมี<br />

เครื่องจักรการเกษตรเขามาแทนที่ ทําใหเกิดวัตถุประสงคใหมในการเลี้ยงโค ดังอธิบายในประเภทตอไป<br />

2. การเลี้ยงโคเพื่อใชเนื้อเปนอาหารหรือการเลี้ยงโคเนื้อ จากเดิมใชเนื้อของโคที่ปลดระวางมาเปนอาหารจะไดเนื้อที่<br />

มีคุณภาพต่ํา แตขณะที่ตางประเทศไดมีการพัฒนาสายพันธุโคเนื้อไปมากโดยยึดหลักการเลี้ยงเพื่อทําเปนอาหาร<br />

มีหลายพันธุ ลักษณะของโคเนื้อคือ มีขนาดใหญ น้ําหนักมาก ขณะที่บางชนิดก็สามารถที่จะใชเปนโคงานไดดวย<br />

เชน โคพันธุอเมริกันบรามัน หรือเปนโคเนื้อโดยเฉพาะเชนโคพันธุชาโลเลย(Charlolais) พันธุอะเบอดีนแองกัส<br />

(Aberdeen Angus) ในประเทศไทยเกษตรกรมักนิยมเลี้ยงโคพันธุผสมมากกวา เพราะโคพันธุผสมสามารถปรับตัว<br />

ในสภาพอากาศของประเทศไทยไดดีกวา แมวาจะมีขอดอยดานขนาด นอกจากนี้ โคที่เลี้ยงเพื่อเปนโคเนื้อจะ<br />

สามารถขายไดเมื่ออายุเพียง 2-3 ป หรือถาตองการเนื้อที่มีคุณภาพดีมากๆ อาจจะสงขายเมื่ออายุประมาณ 1-1.5 ป<br />

เทานั้น อยางไรก็ตาม มีเกษตรกรสวนหนึ่งซื้อลูกโคนมตัวผูมาขุน เพื่อพยายามในการสรางสายพันธุโคเนื้อขึ้นใน<br />

ประเทศไทย เชนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดพยายามสรางโคพันธุเนื้อลูกผสม 3 สายพันธุ คือ<br />

• โคเนื้อกําแพงแสน 1 เปนโคพื้นเมือง 25% โคบราหมัน25% และโคพันธุชาโลเลส 50%<br />

• โคเนื้อกําแพงแสน 2 เปนโคพื้นเมือง 12.5% โคบราหมัน25% และโคพันธุชาโลเลส 62.5%<br />

ซึ่งความจริงแลวโคเนื้อดังกลาวมิใชโคเนื้อพันธุแท เปนเพียงโคลูกผสมที่อาจจะเหมาะสมในการทําเปนโคขุนเพื่อ<br />

การคาเทานั้น<br />

55


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. การเลี้ยงโคเพื่อใหนมหรือโคนม ชวงกอน พ.ศ. 2500 การเลี้ยงโคนม มิใชอาชีพดั้งเดิมของคนไทย อาหารนมที่<br />

บริโภคกันมากขณะนั้น คือ นมขนหวาน นมขนจืด และนมผง เกือบทั้งหมดเปนการนําเขาจากตางประเทศ แตหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่มตน ไดมีการสงเสริมเลี้ยงโคนม โดย กรมปศุสัตวและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พันธุโคนม<br />

ที่นําเขาในระยะนั้นไดแก พันธุ Holstein Friesian พันธุ Jersy พันธุBrown Swiss และพันธุRed Sindhi ในชวง<br />

พ.ศ. 2501 – พ.ศ. 2510 มีการนําเขาพันธุโคนม และจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน และ<br />

สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินเยือนประทศเดนมารค เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2503<br />

ไดทรงสนพระทัยในกิจการเลี้ยงโคนมเปนอยางมาก ทางรัฐบาลเดนมารคไดถวายโครงการการสงเสริมการเลี้ยงโค<br />

นมใหกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยไดจัดสงผูเชี่ยวชาญมาสํารวจ จัดทําโครงการ และจัดสรางฟารมโคนม<br />

ไทย-เดนมารค ขึ้นที่สถานีพืชอาหารสัตวมวกเหล็ก กรมปศุสัตว ซึ่งตั้งอยูที่ อ.มวกเหล็ก จ. สระบุรี เมื่อป พ.ศ.<br />

2504 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและเจาเฟรดเดอริคที่ 9 แหงประเทศเดนมารคไดเสด็จมาเปนประธานในพิธีเปด<br />

ฟารมเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2505 ในปพ.ศ. 2508 มีโครงการโคนมไทย-เยอรมันที่จังหวัดเชียงใหม ปพ.ศ.<br />

2500 – พ.ศ. 2510 จึงนับเปนทศวรรษแหงการเริ่มตน ชวงพ.ศ. 2511 – พ.ศ.2520 เปนชวงเติบโตและขยายการ<br />

เลี้ยงโคนม อยางไรก็ตามปญหาผลผลิตที่เกินความตองการจริงเกิดขึ้นบอยครั้ง ทําใหในปพ.ศ.2514 จึงเกิดกลุม<br />

เกษตรกรหนองโพ ซึ่งเลี้ยงโคนมมาตั้งแตกอน 2502 ไดรวมตัวกันขึ้นเปน สหกรณโคนมราชบุรี การพัฒนาการเลี้ยง<br />

โคนมยังเปนไปไดชามาก และการดื่มนมของคนไทยก็ยังอยูในวงจํากัด ไดมีการรณรงคใหมีการดื่มนมกันอยาง<br />

จริงจัง โดยเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2529 ทําใหความตองการนมมีปริมาณสูงขึ้น สงผลใหตองมีการนําเขานมและ<br />

ผลิตภัณฑนมจากตางประเทศมากขึ้น ตอมาประเทศไทยมีปญหาเรื่องผลผลิตการเกษตรลนตลาดและราคาตกต่ํา<br />

เชนมันสําปะหลัง และขาว รัฐบาลจึงมีนโยบายลดพื้นที่การปลูกพืชบางชนิดเชนมันสําปะหลัง และในพื้นที่ที่การปลูก<br />

ขาวแตใหผลผลิตนอย ใหเกษตรกรเปลี่ยนอาชีพไปเลี้ยงโคนม ในป พ.ศ.2530 รัฐบาลไดมีการสงเสริมใหเกษตรกรมี<br />

การเลี้ยงโคนมกันมากขึ้น โดยใหองคการสงเสริมโคนมแหงประเทศไทย (อ.ส.ค.) เปนผูดําเนิน การจัดหาและ<br />

สงเสริมการเลี้ยงโคนมในพื้นที่ที่อยูในการดูแลของ อ.ส.ค. การสงเสริม พัฒนา และวิจัยดานโคนมของไทยซึ่งถือเปน<br />

ยุทธศาสตรที่สําคัญในการพัฒนาประเทศที่กอใหเกิดการสรางงาน สรางรายไดใหกับเกษตรกรไทย โดยไดกําหนดไว<br />

ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 และ 5 จนทําใหกิจการเลี้ยงโคนมมีความเจริญกาวหนา และ<br />

ไดรับความสนใจจากเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น และตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530<br />

-2534) เปนตนมา รัฐบาลไดเรงรัดการสงเสริมการเลี้ยงโคนม อยางเต็มที่ กอปรกับปริมาณน้ํานมดิบที่ผลิตไดใน<br />

ประเทศยังไมเพียงพอกับความตองการบริโภค จึงเกิดแรงจูงใจใหเกษตรกรและภาคเอกชนหันมาประกอบอาชีพการ<br />

เลี้ยงโคนมเพิ่มขึ้น เพราะเห็นโอกาสที่จะทําใหมีงานทําและมีรายไดตลอดทั้งป สงผลใหพันธุโคนมในประเทศขาด<br />

แคลน ตองมีการนําพันธุโคนมจากตางประเทศเขามาเลี้ยงเปนจํานวนมากปละกวา 4,000 ตัว การเลี้ยงโคนมใน<br />

ประเทศไทยมีการพัฒนา เจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดการสรางงาน สรางรายไดแกเกษตรกร และ<br />

ผูประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวของมากมายตลอดทั้งป คิดเปนมูลคาประมาณ 30,000 ลานบาท เพราะมีการผลิตและ<br />

การบริโภคนมและผลิตภัณฑจากโคนมทุกวัน ซึ่งแตกตางจากอาชีพเกษตรกรรมดานอื่น ๆ เชน การทํานา ทําสวน<br />

และทําไร ที่มีรายไดเปนชวง ๆ ตามฤดูกาลเพาะปลูก ไมไดผลผลิตตลอดทั้งป ในป พ.ศ.2531 กรมปศุสัตวไดรับ<br />

งบประมาณในการจัดหาโคนมใหเกษตรกร อ.วังน้ ําเย็น จ.ปราจีนบุรี (ปจจุบัน คือ จ.สระแกว) มีเกษตรกรเขารวม<br />

200 ราย และ ต.เขาขลุง อ.บานโปง จ.ราชบุรี มีเกษตรกรเขารวม 100 รายจากนั้นก็ไดมีโครงการในจังหวัดตางๆ<br />

เพิ่มขึ้นอีกมากมาย มีเกษตรกรและนักธุรกิจใหความสนใจในการเลี้ยงโคนมเปนจํานวนมาก รัฐบาลไดมีโครงการ<br />

สงเสริมใหประชาชนดื่มนมเพื่อสุขภาพ และตองการใหประชาชนชาวไทยมีรางกายสูงใหญขึ้นจากเดิม โดยการ<br />

สงเสริมใหเด็กเล็กในโรงเรียนดื่มนมที่เรียกวาโครงการ "นมโรงเรียน" ในป พ.ศ.2536 โดยเริ่มจากชั้นอนุบาลกอน<br />

และจะเพิ่มปละ 1 ชั้นเรียนจนถึงชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปงบประมาณ 2539 มีงบประมาณ 2,765 ลานบาท สําหรับ<br />

นักเรียนประถมศึกษาปที่ 1-3 มีนมดื่มฟรี คนละ 200 ซีซี /คน /วัน จํานวน 200 วัน ซึ่งมีนักเรียนในโครงการ<br />

56


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประมาณ 4.5 ลานคน ในป 2540 ทางรัฐบาลไดตั้งงบประมาณเพิ่มขึ้นไวสูงถึง 6,000 ลานบาท สําหรับโครงการ<br />

ดังกลาว ในปจจุบันนี้ประเทศไทยสามารถผลิตนมไดเพียงรอยละ 25-30 ของความตองการภายในประเทศเทานั้น<br />

รัฐบาลมีนโยบายที่จะสงเสริมการเลี้ยงโคนมเพื่อทดแทนการนําเขา โดยใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ (ธ.<br />

ก.ส.)ใหการสนับสนุนเรื่องเงินกู กรมปศุสัตวและ อ.ส.ค. ใหการสนับสนุนทางดานวิชาการ<br />

จากสถิติการเลี้ยงโคเนื้อในประเทศไทย [3,4] มีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. 2546 ถึงป พ.ศ.<br />

2551 และมีการชะลอตัวลงในป พ.ศ.2552 ดังในรูปที่ 1 ซึ่งเมื่อพิจารณาเทียบกับอัตราการเปลี ่ยนแปลงของจํานวน<br />

ประชากรจะพบวา อัตราเฉลี่ยของจํานวนโคเนื้อตอประชากรมีคาเปน 0.12 ตัว/คน ในสวนของการเลี้ยงโคนมมี<br />

แนวโนมคอนขางคงที่ในชวงดังกลาว อยางไรก็ดี อาจมีการชะลอตัวในบางชวงตามภาวะความผันผวนของเศรษฐกิจ<br />

หรือการมีโรคระบาด ดังรูปที่ 2 และเมื่อพิจารณาเทียบกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรจะพบวา<br />

อัตราเฉลี่ยของจํานวนโคนมตอประชากรมีคาเปน 0.007 ตัว/คน<br />

รูปที่ 1 สถิติจํานวนโคเนื้อกับจํานวนประชากรในประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2546-2552<br />

(ที่มา กรมปศุสัตว, 2546-2552; กรมการปกครอง, 2546-2552)<br />

รูปที่ 2 สถิติจํานวนโคนมกับจํานวนประชากรในประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2546-2552<br />

(ที่มา กรมปศุสัตว, 2546-2552; กรมการปกครอง, 2546-2552)<br />

57


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ดวยขอมูลดังกลาวรวมกับวิธีการคํานวณจากกรณีการหาการปลอยกาซมีเธนสูชั้นบรรยากาศจากกรณีศึกษาใน<br />

สหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี สามารถคิดปริมาณการปลอยกาซมีเธน<br />

เทียบเทากับปริมาณคารบอนไดออกไซดไดดังตารางที่ 1 [5] ซึ่งพบวาประเทศมีศักยภาพในการหาแนวทางในการ<br />

รวบรวมกาซมีเธนดังกลาวผานกลไกการพัฒนาที่สะอาดสูงถึง 11,045,124.98 ตันเทียบเทาคารบอนไดออกไซด<br />

สําหรับโคเนื้อและ 621,810 ตันเทียบเทาคารบอนไดออกไซด สําหรับโคนม โดยเมื่อพิจารณาผลรวมจะมีคาสูงถึง<br />

11,666,935 ตันเทียบเทาคารบอนไดออกไซด ในป พ.ศ. 2552 ซึ่งเมื่อพิจารณาจากมูลคาการขายคารบอนเครดิตที่<br />

ราคา 14.59 ยูโรตอตันเทียบเทาคารบอนไดออกไซดแสดงใหเห็นถึงมูลคาตลาดที่มีคากวา 7,600 ลานบาท<br />

4. การเลี้ยงโคเพื่อวัตถุประสงคอื่นๆ การเลี้ยงเพื่อวัตถุประสงคอื่นๆ เชนเพื่อการกีฬาชนโคหรือเพื่อความสวยงาม<br />

การเลี้ยงโคเพื่อกีฬา มีทํากันในเขตภาคใตของประเทศไทยเทานั้น เปนการกีฬาเพื่อการพนันโดยเฉพาะ หรือ<br />

การเลี้ยงโคสวยงาม (fancy cattle) เชน การเลี้ยงโคฮินดูบราซิล (Hindu Brazil) ในประเทศเมื่อประมาณ 20 ปที่<br />

ผานมา ทั้งนี้การเลี้ยงโคดังกลาวมักมีวิธีการเฉพาะในการเลี้ยงและมีโอกาสในการปรับเปลี่ยนที่นอยดวย<br />

ตารางที่ 1 ปริมาณโคกับการปลอยกาซมีเธนคิดในหนวยของตันเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด/ป<br />

ปพ.ศ. โคเนื้อ ปริมาณการปลอยกาซมีเธนเทียบเทากับกาซคารบอนไดออกไซด(ตัน/ป)<br />

2546 5,916,323 7,602,475.06<br />

2547 6,668,332 8,568,806.62<br />

2548 7,796,272 10,018,209.52<br />

2549 8,036,057 10,326,333.25<br />

2550 8,848,392 11,370,183.72<br />

2551 9,112,093 11,709,039.51<br />

2552 8,595,428 11,045,124.98<br />

ปพ.ศ. โคนม ปริมาณการปลอยกาซมีเธนเทียบเทากับกาซคารบอนไดออกไซด(ตัน/ป)<br />

2546 380,203 488,560.86<br />

2547 408,350 524,729.75<br />

2548 478,836 615,304.26<br />

2549 412,804 530,453.14<br />

2550 489,593 629,127.01<br />

2551 469,937 603,869.05<br />

2552 483,899 621,810.22<br />

หมายเหตุ: การคํานวณปริมาณการปลอยกาซมีเธนเทียบเทากับกาซคารบอนไดออกไซด ใชแบบจําลองจากกรณี<br />

ตัวอยางในสหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี (ที่มา: P., Woraratana et al.,<br />

2010)<br />

58


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัฏจักรการเลี้ยงโค<br />

โดยทั่วไปวัฏจักรการเลี้ยงโคแบงออกเปน 2 แบบ ดังรูปที่ 3 สามารถอธิบายไดดังนี้<br />

1) วัฏจักรการเลี้ยงโคนม<br />

วัฏจักรในชวงแรกเริ่มเหมือนกับการเลี้ยงโคแบบอื่นๆ แตจะไมถูกนําไปขายขณะที่อายุยังนอย แตจะถูกนําไปผสม<br />

พันธุเพื่อใหตกลูกและสามารถใหนมได โดยโคนมจะสามารถใหนมไดมากไดเพียงชวงเวลาหนึ่ง โดยที่หลังจากนั้นจะ<br />

ถูกนําไปขายหรือเปนแมพันธุเพียงอยางเดียว<br />

2) วัฏจักรการเลี้ยงโคแบบอื่นๆ (โคเนื้อ, โคงาน, โคชน, โคเพื่อการกีฬา และโคสวยงาม)<br />

มีวัฏจักรทั่วๆ ไปคือ ชวงเวลาที่เปนลูกวัว ชวงเวลาที่เปนวัวรุน และ ชวงเวลาที่เปนโคหนุมและโคสาวที่พรอม<br />

ผสมพันธุ โดยโคแตละประเภทจะมีลักษณะเฉพาะที่เหมาะสมเพื่อเปนพอพันธุแมพันธุ สวนโคตัวอื่นๆ จะถูก<br />

นําไปใชงานตามประเภทของโคแบบนั้นๆ<br />

' &*<br />

('+<br />

&*<br />

&*<br />

&*&)+<br />

$, ) *<br />

)) &&*<br />

&*$<br />

รูปที่ 3 วัฎจักรการเลี้ยงโค<br />

59


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. ผลกระทบเชิงสิ่งแวดลอมจากการเลี้ยงโค<br />

CH 4<br />

CH 4<br />

ตารางที่ 2 สวนประกอบใน กาซรูเมน<br />

รูปที่ 4 ระบบยอยอาหารของโคกับกาซชีวภาพ<br />

(ที่มา Addison Wesley Longman. Inc.)<br />

สวนประกอบ<br />

เปอรเซ็นตโดยประมาณ<br />

ไฮโดรเจน 0.2<br />

ออกซิเจน 0.5<br />

ไนโตรเจน 7.0<br />

มีเธน 26.8<br />

คารบอนไดออกไซด 65.5<br />

(ที่มา Sniffen and Herdt, 1991) [7]<br />

เหตุผลที่การเลี้ยงโคมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอมเปนผลเนื่องมาจากโคมีการปลอยกาซมีเธนซึ่งเปนกาซ<br />

เรือนกระจกที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสูงถึง 21 เทาของกาซคารบอนไดออกไซด การเกิดกาซดังกลาวมีสาเหตุมา<br />

จากปจจัยทางกายภาพของโคที่มีการยอยเกิดขึ้นในกระเพาะทั้ง 4 สวนของโคดังแสดงในรูปที่ 4 โดยในสวนแรก รู<br />

เมน เปนสวนที่มีการเกิดกาซมีเธนขึ้นมากที่สุดเพราะเปนสวนที่มีแบคทีเรียอยูมากที่สุด และเปนสวนที่อาหารของโค<br />

ยังไมยอยสลายดวยเอนไซม แบคทีเรียในบริเวณนี้จึงยอยสลายอาหารดังกลาวและใหกาซมีเธนที่เรียกกวา กาซรู<br />

เมน (Rumen Gases) ออกมาในรูปการเรอของโค ซึ่งมีองคประกอบดังตารางที่ 2 ในสวนที่สอง เรติคูลั่ม เปนสวนที่<br />

มีการสํารอกอาหารที่ยังเคี้ยวไมละเอียดออกมาเคี้ยวใหม หลังจากเคี้ยวละเอียดดีแลว อาหารจะถูกกลืนและเคลื่อนที่<br />

เขาสูสวนที่สามซึ่งเรียกวา โอมาซั่ม ซึ่งเปนบริเวณที่มีการยอยทางกายภาพ และทายที่สุดอาหารจะถูกสงไปยัง<br />

บริเวณที่มีการยอยอาหารจริงซึ ่งมีเอนไซมอยู โดยเอนไซมจะยอยสลายแบคทีเรียเพื่อดึงเอาสารอาหารมาใช<br />

ประโยชน หากโคมีการบริโภคอาหารที่ยอยสลายไดยาก แบคทีเรียที่อยูในบริเวณนี้จะทําใหเกิดกาซมีเธนขึ้นและ<br />

เกิดการปลอยกาซมีเธนเปนปริมาณที่มากขึ้นดวย โดยการปลอยกาซดังกลาวจะปลอยดวยการผายลม [6]<br />

60


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. การศึกษาการตรวจวัดการปลดปลอยกาซมีเธนสูชั้นบรรยากาศจากกิจกรรมของโคในประเทศตางๆ<br />

ดวยเหตุผลดานผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากการเลี้ยงโคนี่เองทําใหมีการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการในการ<br />

ตรวจวัดการปลดปลอยกาซมีเธนจากกิจกรรมของวัวในประเทศตางๆ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้<br />

R. Kinsman, et al. [8] ไดทําการศึกษาการปลอยกาซมีเธนและคารบอนไดออกไซดจากโคนมในการ<br />

ตรวจสอบตลอดชวงเวลาในการใหนมเปนเวลา 6 เดือน โดยการใชอุปกรณวิเคราะหกาซดวยอินฟราเรดดังแสดงใน<br />

รูป 5 ซึ่งการศึกษาดังกลาวมีการสอบเทียบอุปกรณกอนทําการตรวจวัดซึ่งแสดงไดในตารางที่ 3 และเมื่อมีการ<br />

ทดสอบแลวพบวาการปลอยกาซมีเธนและกาซคารบอนไดออกไซดในแตละวันเปนดังรูปที่ 6 และ สามารถตรวจดู<br />

การปลอยกาซทั้งสองชนิดขางตน ในแตละชั่วโมงของวัน ไดดังรูปที่ 7 จากการวิจัยพบวา อัตราการปลดปลอย<br />

กาซคารบอนไดออกไซดและกาซมีเธนจากโคมีคาไมคงที่ในหนึ่งวัน รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงอยางมีนัย ในวันที่<br />

ตางๆ กัน โดยโคจะปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดและกาซมีเธน มากในชวงเวลาเชาและลดลงในชวงเวลา<br />

กลางคืน<br />

รูปที่ 5 แผนภาพระบบการตรวจวัดกาซในโรงเรือน<br />

(ที่มา: R. Kinsman, et al., 1995)<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณกาซมีเธนที่ถูกปลอยและนํากลับไปใชจากกระบอกสูบสองตัวสูโรงเรือนเปลา<br />

Trial<br />

Total CH4<br />

released<br />

Recovery<br />

Total CH4<br />

recovered Uncorrected Corrected<br />

(g) (%)<br />

1 10,159 11,837 117 109<br />

2 10,159 10,666 105 98<br />

3 9,875 11,840 120 113<br />

4 9,705 10,124 104 97<br />

5 4,200 4,835 115 98<br />

61


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หมายเหตุ: 1 การปลอยกาซมีเธนจากถังเก็บมูลเหลวถูกนําไปหักลบกับกาซมีเธนที่นํากลับไปใชไดเมื่อมีการคํานวณ<br />

เปอรเซ็นตการนํากลับไปใช ได<br />

2 จํานวนในการทดสุมการปลอยกาซมีเธนมีคาเทียบเทากับ 424 ± 42 ลิตรตอวันตอโคหนึ่งตัว โดย<br />

พิจารณาโค 118 ตัว<br />

รูปที่ 6 ปริมาณคารบอนไดออกไซดและมีเธนที่ปลอยออกมาจากโค 118 ตัว โดยมีการบันทึกเปนเวลา<br />

112 วัน (ที่มา: R. Kinsman, et al., 1995)<br />

รูปที่ 7 ปริมาณคารบอนไดออกไซดและมีเธนที่ปลอยออกมาจากโค 118 ตัว ในหนึ่งวัน โดยมีการบันทึก<br />

เปนเวลา 112 วัน โดยกราฟแนวตั้งแสดงความเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

(ที่มา: R. Kinsman, et al., 1995)<br />

B. Amon, et al. [9] ทําการศึกษาเกี่ยวกับการปลอยกาซเรือนกระจกสูสิ่งแวดลอมจากมูลโค แตสนใจใน<br />

การตรวจวัดแอมโมเนีย (NH 3 ), ไนตรัส ออกไซด (N 2 O) และมีเธน ซึ่งที่มีการตรวจวัดในโรงเรือนแบบปด ดังแสดง<br />

ในรูปที่ 8 ซึ่งในรูปแสดงใหเห็นการตรวจวัดอากาศขาเขาและขาออกจากโรงเรือน เพื่อหาความเขมขนของกาซที่<br />

ออกจากโรงเรือนแลวนําไปประมวลผลผานระบบคอมพิวเตอร สําหรับการปลอยแอมโมเนีย และไนตรัสออกไซด มี<br />

การเปรียบเทียบกันระหวางการกําจัดของเสียดวยการฝงกลบและการหมักใหเกิดการยอยสลายโดยไมใชออกซิเจน<br />

พบวา การหมักใหเกิดการยอยสลายโดยไมใชออกซิเจนทําใหเกิดการปลอยก าซแอมโมเนียและไนตรัสออกไซดนอย<br />

62


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กวาการฝงกลบอยางมีนัย ดังแสดงในรูปที่ 9 และตารางที่ 4 ตามลําดับ ขณะที่เมื่อพิจารณาการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกโดยภาพรวม เห็นไดวา การฝงกลบจะใหคาที่สูงกวาการหมักใหเกิดการยอยสลายโดยไมใชออกซิเจนถึง<br />

33.9 % ดังแสดงในรูปที่ 10<br />

รูปที่ 8 หองควบคุมแบบเปดขนาดใหญที่พัฒนาโดย ILUET<br />

(Institute of Agricultural, Environmental and Energy Engineering ประเทศออสเตรีย)<br />

(ที่มา: B., Amon, 2001)<br />

Σ740.8<br />

Σ432.5<br />

รูปที่ 9 การปลอยกาซแอมโมเนียจากโรงเรือนเลี้ยงโคนมคอกปด<br />

(ที่มา: B., Amon, 2001)<br />

63


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 4 การสูญเสียไนโตรเจนจากการฝงกลบและจากของเสียที่นําไปหมักแบบไรอากาศ<br />

Experiment N losses [g (t FM*) -1 ] % of total N<br />

NH 3 -N N 2 O-N N in Sum<br />

see page water<br />

Summer<br />

• Composted FYM** 552.2 23.9 141.5 717.6 10.8<br />

• Stacked FYM 206.7 36.5 260.1 502.3 7.8<br />

Winter<br />

• Composted FYM 249.2 30.0 200.1 479.3 7.6<br />

• Stacked FYM 201.3 55.6 181.9 438.8 6.5<br />

*Fresh matter, **farmyard manure (ที่มา: B., Amon, 2001)<br />

Σ210.7<br />

Σ282.1<br />

รูปที่ 10 การปลอยกาซเรือนกระจกจากโรงเรือนเลี้ยงโคนมคอกปด<br />

(ที่มา: B., Amon, 2001)<br />

5. จมูกอิเล็กทรอนิกสกับการตรวจวัดการปลดปลอยกาซมีเธนจากกิจกรรมของโค<br />

จมูกอิเล็กทรอนิกสเปนระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อเลียนแบบระบบรับรู วิเคราะห และจําแนกกลิ่นของสิ่งมีชีวิต<br />

โดยมีสวนประกอบหลัก 2 สวน ไดแก สวนรับรูกลิ่น และ สวนประมวลผล สวนรับรูกลิ่นเปนระบบฮารดแวรที่<br />

โดยทั่วไปแลวจะใชเทคโนโลยีของกาซเซ็นเซอรมาใชตรวจจับกลิ่นที่เขามา โดยจะแปลงปริมาณเชิงเคมีของกลิ่นที่<br />

จับไดใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากนั้นก็จะสงสัญญาณนั้นไปยังสวนประมวลผล สวนประมวลผลสวนใหญจะเปน<br />

ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร มีหนาที่วิเคราะหสัญญาณไฟฟาที่ได เชน จําแนกชนิดของกลิ่น ระบุคาเชิงปริมาณของ<br />

กลิ่นที่ตรวจวัด เปนตน<br />

ในปจจุบันมีการพัฒนากาซเซ็นเซอรขึ้นมาหลายชนิด โดยแตละชนิดก็มีคุณสมบัติตาง ๆ ลักษณะการใช<br />

งาน ขอเดนและขอดอยแตกตางกัน อาทิ เซ็นเซอรชนิดสารกึ่งตัวนําโลหะออกไซด จะอาศัยการเปลี่ยนแปลงคา<br />

64


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ความตานทานไฟฟาของสารเมื่อจับกับโมเลกุลกลิ่น เซ็นเซอรมีราคาถูก อายุการใชงานยาว และใชในที่ที่มีความชื้น<br />

ได นอกจากนี้ก็ยังมีเซ็นเซอรชนิดโพลิเมอรนําไฟฟา ที่ใชหลักการคลายกับชนิดสารกึ่งตัวนําโลหะออกไซด แต<br />

สามารถทํางานที่อุณหภูมิหองได เซ็นเซอรชนิดเพียโซอิเล็กทริก ที่ใชหลักการตรวจจับความถี่การสั่นของ<br />

ผลึกควอสซ ซึ่งมีความไวสูงแตราคายังคอนขางสูง เปนตน โดยหลักแลว การเลือกใชเซ็นเซอรชนิดใดนั้นก็จะตอง<br />

พิจารณาชนิดของกลิ่นที่จะตรวจวัดและสภาพแวดลอมที่จะนําไปใชงานดวย<br />

การตรวจวัดกาซมีเธน (CH 4 ) และกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) นั้น ปจจุบันไดมีกาซเซ็นเซอรชนิดสาร<br />

กึ่งตัวนําโลหะออกไซดที่สามารถตรวจวัดกาซทั้งสองออกมาใชในเชิงพาณิชยแลว [10, 11] โดยสามารถตรวจวัด<br />

กาซไดในระดับความเขมขน 500 - 12,500 ppm และ 0 - 10,000 ppm ตามลําดับ ลักษณะของเซ็นเซอรเปนดังรูปที่<br />

11(ก) ซึ่งแสดงตัวอยางของกาซเซ็นเซอรสําหรับตรวจวัดกาซมีเธน ซึ่งมีขนาดประมาณ 9.2 x 13.0 cm จากขนาดที่<br />

กะทัดรัด ความงายในการนําไปใช และคุณสมบัติที่สามารถใชในสภาพแวดลอมที่มีความชื้นและทนตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของเซ็นเซอรชนิดนี้ จึงทําใหกาซเซ็นเซอรชนิดสารกึ่งตัวนําโลหะออกไซดนี้ไดรับการ<br />

นําไปพัฒนาอุปกรณตรวจวัดกลิ่นแบบพกพาดวย [12, 13] สวนในรูป 11(ข)เปนเซ็นเซอรอีกแบบหนึ่งซึ่งมีการทํา<br />

ขึ้นมาในลักษณะเปนโมดูลใชงาน และ รูป 11 (ค) เปนเซ็นเซอรอีกแบบหนึ่งที่ใชในการตรวจกาซรั่วไหลสําหรับ<br />

ตรวจวัดกาซมีเธนโดยเฉพาะ สามารถ ตรวจจับการรั่วไหลไดตั้งแตระดับ 200 สวนในลานสวน ถึง 10,000 สวนใน<br />

ลานสวน<br />

ในการระบุคาเชิงปริมาณจากสัญญาณของกาซเซ็นเซอรนั้น ปกติจะนําคาสัญญาณที่ไดมาเทียบกับกราฟ<br />

หรือตารางแสดงความสัมพันธระหวางคาสัญญาณกับความเขมขนของกาซที่ตรวจวัด ตัวอยางเชนรูปที่ 12 แสดงคา<br />

ความสัมพันธระหวางคาสัญญาณที่ไดจากเซ็นเซอรคืออัตราสวนคาความตานทาน (Rs/Ro) กับความเขมขน<br />

ของกาซ (ppm) ซึ่งในกรณีนี้จะเห็นไดวาคาลอการิทึมของทั้งคาความตานทานและความเขมขนมีความสัมพันธเปน<br />

เสนตรง ทําใหสามารถหาสมการแสดงความสัมพันธระหวางคาทั้งสองเพื่อไวใชในการประมาณคาความเขมขนของ<br />

กาซจากคาสัญญาณจากเซ็นเซอรไดโดยงายอีกดวย<br />

(ก) (ข) (ค)<br />

รูปที่ 11 ตัวอยางกาซเซ็นเซอรสําหรับตรวจวัดกาซมีเธน<br />

65


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 12 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาความตานทาน (Rs/Ro)<br />

กับความเขมขนของกาซ (ppm) ของกาซเซ็นเซอรรุน TGS3870 [10]<br />

6. แนวคิดในการพัฒนาระบบเครื่องมือวัดการปลดปลอยกาซมีเธนจากกิจกรรมของโค<br />

เมื่อพิจารณาทฤษฎีของจมูกอิเล็กทรอนิกส จะเห็นวา มีความเปนไปไดในการพัฒนาระบบเครื่องมือวัดการ<br />

ปลดปลอยกาซมีเธนจากกิจกรรมของโค โดยแนวคิดพื้นฐานสามารถอธิบายไดดวยรูปที่ 13 กลาวคือ E-nose เปน<br />

หลักการพัฒนาจากระบบตรวจจับที่ราคาสมเหตุสมผลภายใตความแมนยําที่ยอมรับได ทําให ถาระบบเครื่องมือวัด<br />

การปลดปลอยกาซมีเธนจากกิจกรรมของโค สามารถพัฒนาไดแลวเสร็จ ก็มีความเปนไปไดสูงในการสงเสริมใหเกิด<br />

โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดจากการเลี้ยงโคไดหลากหลายยิ่งขึ้น<br />

ติดตั้ง<br />

อุปกรณ<br />

E-nose<br />

ติดตั้ง<br />

อุปกรณ<br />

E-nose<br />

66


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. ผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการพัฒนาจมูกอิเล็กทรอนิกสเปนระบบเครื่องมือวัดการปลดปลอย<br />

กาซมีเธนจากกิจกรรมของโค<br />

หากจมูกอิเล็กทรอนิกสสามารถตรวจวัดคาไดถูกตองจะมีประโยชนในดานตางๆ มากมาย<br />

1) หากจมูกอิเล็กทรอนิกสสามารถตรวจวัดคามีเธนไดอยางถูกตอง จะเปนประโยชนในการคํานวณคาที่<br />

ถูกตองจากการปลดปลอยกาซมีเธนสูบรรยากาศหลังจากมีการนํากาซมีเธนไปใชประโยชนในรูปแบตางๆ เชน รูป<br />

ของกาซชีวภาพดวยมูลโค ทําใหสามารถนําคาเทียบเทาของกาซคารบอนไดออกไซดของคาดังกลาวไปใชเพื่อการ<br />

ซื้อขายคารบอนผานกลไกพัฒนาที่สะอาด<br />

2) การที่มีการตรวจวัดที่ถูกตอง และมีกระบวนการที่ไดมาตรฐานของกลไกพัฒนาที่สะอาดจนสามารถทํา<br />

การซื้อขายคารบอนได ทําใหการตรวจวัดตลอดจนกระบวนการที่จัดทําขึ้นสามารถจัดทําขึ้นเปนมาตรฐานเพื่อเปน<br />

แนวทางใหสหกรณการเลี้ยงโคสามารถนําไปใชได<br />

3) หากเกษตรกรซึ่งมีการรวมตัวในรูปแบบสหกรณการเลี้ยงโคสามารถทําการซื้อขายคารบอนเปนรายได<br />

อีกทางหนึ่ง เปนใหเกษตรกรผูเลี้ยงโคมีผลตอบแทนที่ดี เปนผลดีตอสังคมคือประชากรในเขตชนบทยายเขามา<br />

ทํางานในเมืองนอยลง<br />

4) ในดานสิ่งแวดลอม การตรวจวัดคาที่ถูกตองทําใหสามารถคํานวณผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดแมนยํา<br />

ขึ้น สามารถทําขอมูลเพื่อพยากรณผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดดีขึ้น ทําใหสามารถเตรียมตัวเพื่อรับมือปญหาทาง<br />

สิ่งแวดลอมไดดีขึ้น<br />

8. สรุป<br />

เนื่องจากในปจจุบันปญหาดานสิ่งแวดลอมเปนเรื่องที่ทุกภาคสวนใหความสนใจทั้งในและตางประเทศ<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งการปลดปลอยกาซเรือนกระจกสูชั้นบรรยากาศ มีเธนซึ่งเปนหนึ่งในกาซเรือนกระจกที่มี<br />

อัตราสวนคิดเปน 21 เทาของกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุจากภาคเกษตรกรรม หนึ่งในกิจกรรมดัง<br />

กลาวคือการเลี้ยงโค การนํากาซมีเธนมาชวยลดความรุนแรงของการปลอยกาซมีเธนสูชั้นบรรยากาศไดเมื่อเทียบ<br />

เปนปริมาณคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมา อยางไรก็ตามแนวคิดที่หลากหลายในการพัฒนาระบบการรวบรวม<br />

กาซมีเธนจากกิจกรรมของโคภายใตการใชประโยชนในการทําการซื้อขายคารบอนผานกลไกพัฒนาที่สะอาด อาจถูก<br />

ปดกั้นดวยเงื่อนไขในการตรวจวัดการปลดปลอยกาซมีเธนจากโค ซึ่งหนึ่งในขอจํากัดดังกลาวคือ ราคาระบบ<br />

ตรวจวัดที่สูง ทําใหความคุมคาในการพัฒนาลดลง นอกจากนี้ การหาคาที่ใกลเคียงกับความเปนจริงของกาซมีเธนที่<br />

สามารถนําไปใชประโยชนดวยการขายคารบอนผานกลไกพัฒนาที่สะอาดจําเปนตองมีกระบวนการที่ถูกตองและ<br />

คาที่แมนยําใกลเคียงกับความเปนจริง ดังนั้นบทความฉบับนี้จึงนําเสนอการนําจมูกอิเล็กทรอนิกสมาใชเพื่อหา<br />

ปริมาณกาซมีเธนที่ปลดปลอยออกมาผานการเรอและผายลมของโค ดวยขอมูลที่ถูกตองจากจมูกอิเล็กทรอนิกส<br />

ภายใตเงื่อนไขดานการเงินที่สมเหตุสมผลรวมถึงและการจัดการในการวัดที่เปนไปตามเงื่อนไขของกลไกพัฒนาที่<br />

สะอาด การซื้อขายคารบอนจึงเปนแนวทางที่สามารถเพิ่มมูลคาใหกับการเลี้ยงโคไดอีกทางหนึ่ง สงผลใหเกษตรกรมี<br />

ความเปนอยูที่ดีขึ้นอีกระดับหนึ่ง ทายที่สุด การแกไขปญหาดานสิ่งแวดลอมในดานอื่นๆ อาจถูกแกไขดวยการ<br />

ผสมผสานแนวคิดทางวิศวกรรม การจัดการ เศรษฐศาสตร และแนวคิดอื่นๆ เพื่อทําใหกิจกรรมตางๆ ที ่ดําเนินอยู<br />

เปนไปอยางรูคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

67


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

9. เอกสารอางอิง<br />

- [1]รศ.น.สพ. ดร.มานพ มวงใหญ ‘วิชาสหสาขาศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท (0201232): การเลี้ยง<br />

สัตว’ บรรยายวันที่ 1 ธันวาคม 2542 เวลา 13.00-15.00 น. หอง 504 อาคารบรมราชกุมารี<br />

- [2] ประชุม อินทรโชติ. 2545. แนวทางในการสงเสริมโคนม. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง<br />

“วิกฤตและโอกาสการพัฒนาพันธุโคนมไทยในตลาดการคาเสรีโลก” สมาคมนิสิตเกา<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 22 เมษายน 2545.<br />

- [3]สถิติจํานวนปศุสัตวในประเทศไทย รายภาค ป 2546-2552 กรมปศุสัตว, 2546-2552<br />

- [4]กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสํานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง<br />

จํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเปนกรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ ตามหลักฐานการ<br />

ทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546-2552." [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก:<br />

http://www.dopa.go.th สืบคน 30 มกราคม 2552.<br />

- [5]Woraratana Pattaraprakorn, Rakpong Saikaew , and Pornrapeepat Bhasaputra. 2010.<br />

“Feasible study of biogas energy from cow manure from Thai Dairy Cooperative: The<br />

Energy Potential and Financial indices. PEA-AIT International Conference on Energy and<br />

Sustainable Development: Issues and Strategies (ESD 2010)<br />

- [6]Steven M. Carr. 2004. Ruminant digestion in Bos Taurus. Available at<br />

http://www.mun.ca/biology/scarr/Ruminant_Digestion.htm<br />

- [7]Sniffen C.J., and H. H. Herdt. 1991. The Veterinary Clinics of North America: Food<br />

Animal Practice, Vol. 7, No 2. Philadelphia, PA: W. B. Saunders Company.<br />

- [8]R. Kinsman, F. D. Sauer, H. A. Jackson, and M. S. Wolynetz. 1995. “Methane and<br />

Carbon Dioxide Emissions from Dairy Cows in Full Lactation Monitored over a Six-Month<br />

Period.” Journal of Dairy Science Vol. 78. No. 12: 2760-2766.<br />

- [9]B. Amon, Th. Amon, J. Boxberger and Ch. Alt. 2001. “Emissions of NH3, N2O and<br />

CH4 from dairy cows housed in a farmyard manure tying stall (housing, manure storage,<br />

manure spreading).” Nutrient Cycling in Agroecosystems 60: 103–113.<br />

- [10]TGS 3870 - for the detection of oth Methane and Carbon Monoxide, Figaro<br />

Engineering Inc. Available at http://www.figaro.co.jp/en/data/pdf/20091110165304_7.pdf.<br />

Accessed July 2, 2010.<br />

- [11]Futurlec. Available at http://www.futurlec.com/CO2_Sensor.shtml. Accessed July 2,<br />

2010.<br />

- [12]Kato, Y., Mukai, T. (2007). “A real-time intelligent gas sensor system using a<br />

nonlinear dynamic response”. Sensors and Actuators B, Vol. 120, pp. 514-520.<br />

- [13]Zhang, S., Xie, C., Zeng, D., Zhang, Q., Li, H., Bi, Z. (2007). “A feature extraction<br />

method and a sampling system for fast recognition of flammable liquids with a portable<br />

E-nose”. Sensors and Actuators B, Vol. 124, pp. 437-443.<br />

68


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หมวดที่ 1 ภูมิอากาศวิทยา: คุณภาพอากาศ<br />

(Sector 1 Climate Science: Air Quality)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลดปลอยสารมลพิษและผลตอคุณภาพอากาศ จากการใชกาซธรรมชาติ<br />

ในภาคขนสงของกรุงเทพมหานคร<br />

Air Pollutant Emission and Air Quality due to Implementation of Compressed<br />

Natural Gas in Transport Sector<br />

รัฐพล อนแฉง 1 2<br />

, ธรรมรัตน ธรรมเดชศักดิ์ และ ประเดิม สุดสงวน 3<br />

1 ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ถ.ราชมรรคาใน ต.พระปฐมเจดีย อ.เมือง จังหวัดนครปฐม 73000<br />

2 ฝายเทคนิคพลังงานประยุกตและเครื่องยนตทดสอบ สถาบันวิจัยและโทคโนโลยี ปตท.<br />

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 71 หมู 2 ถ.พหลโยธิน กม.78, ต.สนับทึบ อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา 13170<br />

3 ฝายตลาดกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)<br />

555 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

บทคัดยอ<br />

จากความผันผวนของสถานการณเชื้อเพลิง สงผลใหทั่วโลกเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาและสนับสนุน<br />

การใชเชื้อเพลิงทางเลือกอยางกวางขวาง สําหรับประเทศไทย รัฐบาลไดสนับสนุนใหมีการใชกาซธรรมชาติ<br />

(Natural Gas) เปนพลังงานทางเลือกในภาคขนสง อยางไรก็ตามไดเกิดคําถามในประเด็นปญหามลพิษทางอากาศ<br />

ที่อาจเกิดขึ้นจากการใชเชื้อเพลิงชนิดนี้ เปาหมายของการศึกษานี้คือเพื่อประเมินผลกระทบของการใชกาซ<br />

ธรรมชาติอัดในรถยนตหรือเอ็นจีวี (Natural Gas for Vehicle, NGV) ที่มีตอการปลดปลอยสารมลพิษทางอากาศ<br />

และคุณภาพอากาศ โดยไดทําการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบระหวางการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ และ<br />

การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศระหวางกรณีไมมีรถเอ็นจีวีและมีรถเอ็นจีวีในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในชวงป 2550-<br />

2555 ผลการศึกษาพบวา ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ คือ ปริมาณรถเอ็นจีวีที่<br />

แทนที่รถยนตที่ใชเชื้อเพลิงเบนซินและดีเซลและเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงเครื่องยนตเปนเอ็นจีวี ในกรณีที่มีเอ็นจี<br />

วี Total Hydrocarbon (THC) NO x CO และฝุนละออง (PM) มีแนวโนมการปลดปลอยที่ลดลงอยางตอเนื่องโดยที่<br />

THC NO x และ CO มีการลดลงสูงสุดในป 2555 และฝุนละอองมีการลดลงสูงสุดในป 2553 ในสวนของ CO 2 นั้นพบ<br />

การลดลงสูงสุดในป 2552 ที่รอยละ 0.3 แตเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 ในป 2555 จากการคาดการณการเปลี่ยนแปลง<br />

คุณภาพอากาศโดยใชแบบจําลองฯ พบวา ระหวางป 2551-2555 ความเขมขนของ NO x CO CO 2 และ PM 10 ใน<br />

บรรยากาศ มีแนวโนมลดลงในระดับที่ตางกันในทุกพื้นที่ศึกษา โดยระหวางป 2554-2555 NO x และ PM 10 มี<br />

แนวโนมการลดลงถึงรอยละ 10-20 จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นถึงผลกระทบเชิงบวกของรถเอ็นจีวีตอคุณภาพ<br />

อากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Co-benefit Impacts)<br />

คําสําคัญ: เอ็นจีวี มลพิษทางอากาศ ผลกระทบตอภูมิอากาศ<br />

70


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Due to uncertainty of fuel situation, developments and encouragements of using alternative fuels<br />

have become a crucial issue worldwide. In Thailand, the government has supported natural gas to be an<br />

alternative fuel in transport sector. However, air pollution due to CNG uses is a vital question. The aim of<br />

this study is to assess impacts of using natural gas in transport sector (or so-called Natural Gas for<br />

Vehicle, NGV) on air pollutants emissions and air quality. Analyses of the changes in air pollutants<br />

emissions and its concentrations in the air between the cases of “having NGV” and “without NGV” on<br />

vehicle fleets in Bangkok during the years 2007 to 2012 were carried out. The results reveal that number<br />

of NGVs replacing gasoline and diesel vehicles and NGV switching technologies play a key role in the<br />

changes of air pollutants emissions. In the case of having NGV, the emissions of Total Hydrocarbon<br />

(THC), NO x , CO and Particulate Matters (PM) are continuously decreased. Maximum emissions<br />

reductions of THC, NO x and CO are found in the year 2012, while PM in 2010. Maximum CO 2 reduction<br />

of 0.3 % is found in 2009, but turn to rise to 0.1 % in 2012. For estimation of the changes of those in air<br />

quality, by means of air quality modeling, the concentrations of NO x , CO, CO 2 and PM 10 tend to be<br />

decreased in all study areas. In particular, major decreasing of NO x and PM 10 concentrations (about 10-20<br />

%) were found in the years 2011 and 2012. The overall result reveals the positive impacts on both air<br />

quality and climate (co-benefit impacts).<br />

Keywords: Natural Gas for Vehicle (NGV), Air Pollution, Climate Impact<br />

1. ความสําคัญ<br />

จากความผันผวนของสถานการณเชื้อเพลิง สงผลใหทั่วโลกเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาและสนับสนุน<br />

การใชเชื้อเพลิงทางเลือกอยางกวางขวาง ในสวนของประเทศไทยนั้นกาซธรรมชาติ (Natural Gas) เปนพลังงาน<br />

ทางเลือกหนึ่งที่รัฐบาลสนับสนุน อยางไรก็ตามไดเกิดคําถามในประเด็นปญหามลพิษทางอากาศจากการใช<br />

เชื้อเพลิงชนิดนี้ ดวยเหตุนี้โครงการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศจากเอ็นจีวี (NGV Air Quality) จึงเกิดขึ้น<br />

โดยมีเปาหมายเพื่อศึกษาผลของรถยนตที่ใชกาซธรรมชาติหรือเอ็นจีวี (Natural Gas for Vehicle, NGV) ที่มีตอ<br />

การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ โดยกําหนดแนวทางการศึกษาใน<br />

ลักษณะการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษ และการเปลี่ยนแปลงความ<br />

เขมขนของสารมลพิษในบรรยากาศกรณีไมมีและมีรถเอ็นจีวีในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในชวงป 2550 ถึงป 2555<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวีที่มีผลตอการปลดปลอยสารมลพิษทางอากาศ<br />

2.2 เพื่อศึกษาคุณภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจากการใชรถเอ็นจีวีในพื้นที่กรุงเทพฯ<br />

71


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

จากแนวทางการศึกษาดังกลาวขางตน ไดแบงขั้นตอนการศึกษาออกเปน 3 สวน ไดแก การวิเคราะหการ<br />

เปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวี การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ และการวิเคราะหการ<br />

เปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ<br />

3.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวี<br />

การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวีและขั้นตอนวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสาร<br />

มลพิษแสดงไดดังรูปที่ 1 ในขั้นตนไดรวบรวมขอมูลปริมาณรถยนตทั่วไป (Conventional Vehicle, CV) 8 ชนิด<br />

ไดแก รถตุกตุก รถยนตนั่งสวนบุคคล รถแท็กซี่ รถปกอัพ รถตู รถบรรทุก รถเมลขสมก. และรถเมลรวม ที่ใชน้ํามัน<br />

เบนซินและดีเซล ในกรุงเทพมหานครจากกรมการขนสงทางบก (ในสวนของรถเมลขสมก. และรถเมลรวม รวบรวม<br />

ขอมูลจากองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ) ตั้งแตป 2547 ถึง 2550 และคาดการณปริมาณรถป 2551-2555 โดยใช<br />

สมการเชิงเสน ในสวนของรถเอ็นจีวีนั้นไดรวบรวมขอมูลปริมาณรถในปจจุบัน (ป 2550) และการคาดการณใน<br />

อนาคต (ป 2551-2555) จากบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) จากนั้นนําขอมูลทั้งสองกลุมดังกลาวมาคํานวณปริมาณ<br />

รถยนตที่ยังไมไดมีการเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวีตั้งแตป 2551-2555 และคํานวณสัดสวนรถเอ็นจีวีตอรถยนตปกติดัง<br />

สมการที่ (1) และ (2)<br />

NonNGV<br />

V<br />

= CV − NGV<br />

(1)<br />

V<br />

V<br />

NGVV<br />

R<br />

V<br />

= ×100<br />

(2)<br />

CV<br />

V<br />

เมื่อ NonNGV<br />

V<br />

คือ ปริมาณรถยนตชนิด V (รถตุกตุก รถแท็กซี่ รถบรรทุก ฯลฯ) ที่ยังไมได<br />

มีการเปลี่ยนแปลงเปนรถเอ็นจีวี ณ ปที่สนใจ<br />

R<br />

V<br />

คือ รอยละรถเอ็นจีวีตอรถยนตปกติ<br />

NGV<br />

V<br />

คือ ปริมาณรถเอ็นจีวีชนิด V ณ ปที่สนใจ<br />

CV คือ ปริมาณรถยนตปกติชนิด V ณ ปที่สนใจ<br />

V<br />

72


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Vehicle Data Surveys<br />

Amounts of NGV<br />

and Conventional<br />

Vehicle (CV)<br />

NGV Technology Analyses<br />

Vehicle Comparison<br />

Replacements<br />

of CV by NGV<br />

NGV and CV<br />

Technology<br />

trends<br />

Calculation of NGV and CV<br />

Quantities segregated<br />

into its Technologies<br />

NGV and CV<br />

Emission<br />

Factors<br />

Vehicle<br />

Kilometers<br />

Traveled<br />

Calculation of NGV and CV<br />

Pollution Emission<br />

Changes of<br />

Emission due to<br />

replacements of<br />

CV by NGV<br />

รูปที่ 1 ขั้นตอนการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ<br />

3.2 การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ<br />

เนื่องจากเทคโนโลยีที่ใชเปลี่ยนแปลงเปนรถเอ็นจีวีมีผลใหอัตราการปลดปลอยสารมลพิษมีความแตกตาง<br />

กัน ในการศึกษานี้จึงวิเคราะหแนวโนมของเทคโนโลยีในชวงป 2551-2555 โดยพิจารณาจากความเหมาะสมทาง<br />

เทคนิค ตนทุนของเทคโนโลยี และแนวโนมทางการตลาด<br />

จากรูปที่ 1 ผลการวิเคราะหปริมาณรถยนตที่ไดจากขอ 3.1 จะนํามาเปนขอมูลรวมกับขอมูลกิจกรรมการ<br />

ขับขี่และตัวคูณการปลดปลอยสารมลพิษ เพื ่อคํานวณการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารมลพิษที่ปลดปลอยจากรถยนต<br />

กรณีที่มีเอ็นจีวีและไมมีเอ็นจีวี ดังสมการที่ (3) และสมการที่ (4)<br />

∑ ×<br />

E<br />

i<br />

AV<br />

× NV<br />

EFV<br />

, i<br />

V , i<br />

= (3)<br />

เมื่อ E<br />

i<br />

คือ ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษชนิด i (ตัน/ป)<br />

A<br />

V<br />

คือ กิจกรรมการขับขี่ของรถยนตชนิด V (กิโลเมตร/ป/คัน)<br />

N คือ ปริมาณรถยนตชนิด V (คัน/ป)<br />

V<br />

EF<br />

V , i<br />

คือ ตัวคูณการปลดปลอย (Emission Factor) ของสารมลพิษชนิด i จากรถยนตชนิด V<br />

(กิโลกรัม/กิโลเมตร/คัน)<br />

Δ<br />

เมื่อ Ei<br />

ป)<br />

( E<br />

=<br />

− E<br />

)<br />

× 100<br />

i NGV i without NGV<br />

E with<br />

(4)<br />

i<br />

Ei<br />

without NGV<br />

Δ คือ การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษชนิด i (รอยละ)<br />

E คือ ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษชนิด i กรณีไมมีรถเอ็นจีวี (กิโลกรัม/ป หรือตัน/<br />

i without NGV<br />

73


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

E คือ ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษชนิด i กรณีมีรถเอ็นจีวี (กิโลกรัม/ป หรือตัน/ป)<br />

i with NGV<br />

ทั้งนี้ในกรณีที่ไมมีรถเอ็นจีวี ไดสมมุติใหปริมาณรถยนตแตละชนิด ณ ปที่สนใจไมเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวีเลย<br />

และกรณีที่มีรถเอ็นจีวีไดสมมติใหปริมาณรถยนตแตละชนิด ณ ปที่สนใจ มีการเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวีตามการ<br />

คาดการณของ ปตท.<br />

ในสวนของสารมลพิษที่ศึกษาจํานวน 5 ชนิด ไดแก Total Hydrocarbons (THC) CO CO 2 NO x และ ฝุน<br />

ละออง (Particulate Matters, PM) พบวาขอมูลตัวคูณการปลดปลอยสารมลพิษ (Emission Factor) ของรถยนตแต<br />

ละชนิดมีอยูจํากัด การไดมาซึ่งขอมูลนี้จึงมีหลายวิธีการ ไดแก ขอมูลจากการตรวจวัดดวย Chassis Dynamometer<br />

ของกรมควบคุมมลพิษ และบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) จากแบบจําลองการปลดปลอยมลพิษ IVE (International<br />

Vehicles Emissions Model) (ISSRC, 2010) และการประมาณการณโดยใชคามาตรฐานการปลดปลอยมลพิษของ<br />

ยุโรป (European Emission Standard หรือ EURO Standard) เปนเกณฑ ในสวนของกิจกรรมการขับขี่ของ<br />

รถยนตไดใชขอมูลจากสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข., 2551)<br />

3.3 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ<br />

การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษที่เกิดจากการเปลี่ยนมาใชเชื้อเพลิง CNG ในรถยนต ยอมสงผล<br />

ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศของพื้นที่กรุงเทพฯ การศึกษานี้ไดวิเคราะหระดับการเปลี่ยนแปลงจากการ<br />

เปรียบเทียบความเขมขนของสารมลพิษในกรณีที่ไมมีและมีรถเอ็นจีวีวิ่งอยูบนถนนของกรุงเทพฯ ในป 2550 ถึง<br />

2555 (ขั้นตอนการศึกษาแสดงดังรูปที่ 2) โดยใชแบบจําลองคุณภาพอากาศ GRAL (Graz Lagrange Model)<br />

(Oettl et al., 2001) มาคํานวณการแพรกระจายสารมลพิษในพื้นที่ของกรุงเทพฯ โดยกําหนดพื้นที่ศึกษา 5 แหง<br />

(ดังรูปที่ 3) ไดแก อนุสาวรียชัยสมรภูมิ หวยขวาง ธนบุรี บางนาและปทุมวัน พื้นที่ดังกลาวไดคัดเลือกโดยพิจารณา<br />

จากการมีประชากรหนาแนน เปนยานพาณิชยกรรมหรือที่พักอาศัย และมีสถานีตรวจวัดมลพิษทางอากาศอยูใน<br />

พื้นที่ (ทั้งนี้เพื่อใชในการเปรียบเทียบกับผลการคํานวณดวยแบบจําลอง)<br />

Site Selection<br />

Data survey used for<br />

dispersion modeling<br />

Meteo. data<br />

Road<br />

Networks data<br />

Topographical<br />

data<br />

Pollution<br />

Monitoring data<br />

Traffic<br />

Data<br />

Pollution Emission<br />

Calculation<br />

Emission<br />

rate<br />

Conduct Dispersion<br />

Calculation<br />

ขอมูล<br />

จากขั้นตอนที่ 3.1 และ 3.2<br />

NGV and CV<br />

Emission<br />

Factors<br />

Ratio of<br />

NGV to CV<br />

Observed and<br />

Modelled Intercomparison<br />

Data post-processing<br />

Changes in<br />

pollutant due to CV<br />

to NGV Switching<br />

รูปที่ 2 ขั้นตอนการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ<br />

74


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 พื้นที่ทั้ง 5 แหงในเขตกรุงเทพมหานครที่กําหนดเปนพื้นที่ศึกษา<br />

ขอมูลนําเขาแบบจําลอง ไดแก ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษจะใชสมการที่ (3) ในการคํานวณ โดย<br />

กิจกรรมการขับขี่วิเคราะหจากขอมูลจํานวนรถยนตในแตละวันที่วิ่งอยูในโครงขายถนนในพื้นที่ศึกษา (ตัวอยาง<br />

ขอมูลแสดงดังตารางที่ 1) จากนั้นจําแนกเปนรถยนตปกติและรถเอ็นจีวีโดยใชสัดสวนที่ไดจากผลการศึกษาขอที่<br />

3.1 สวนตัวคูณการปลดปลอยสารมลพิษใชผลการศึกษาจากขอที่ 3.2<br />

นอกจากนี้ยังมีขอมูลที่สําคัญอื่นๆ ไดแก แผนที่แสดงโครงขายถนน ขอมูลอุตุนิยมวิทยา (ระดับพื้นดินและ<br />

ระดับเหนือพื้นดิน) และปริมาณมลพิษทางอากาศในพื้นที่ศึกษา ซึ่งไดจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักงานผัง<br />

เมือง กรุงเทพมหานคร กรมอุตุนิยมวิทยา และกรมควบคุมมลพิษ<br />

ตารางที่ 1 ตัวอยางขอมูลการสํารวจปริมาณจราจร จําแนกตามประเภทรถในแตละชวงเวลา<br />

ลําดับ ชื่อทางแยก/<br />

ประเภทรถ (คัน)<br />

ปริมาณรวม (คัน)<br />

ถนน/ซอย ชวงเวลา<br />

ที่ จุดที่สํารวจ รถยนตนั่ง ตู/ปคอัพ เมลใหญ เมลเล็ก บรรทุก สามลอ ชวงเวลา แตละถนน รวมทั้งหมด<br />

1<br />

2<br />

เรงดวนเชา (7.00 -9.00 น.) 2595 674 353 8 20 70 3720<br />

สามเสน นอกเรงดวน (9.00-16.00 น.) 9515 2960 1227 19 303 355 14379<br />

กรุงธน เรงดวนเย็น (16.00-19.00 น.) 4351 1322 481 13 18 152 6337<br />

(04/01/2550) เรงดวนเชา (7.00 -9.00 น.) 3246 910 236 33 13 27 4465<br />

ราชวิถี นอกเรงดวน (9.00-16.00 น.) 6435 2290 984 168 119 114 10110<br />

เรงดวนเย็น (16.00-19.00 น.) 3405 904 311 38 13 56 4727<br />

เรงดวนเชา (7.00 -9.00 น.) 4834 1219 78 16 7 53 6207<br />

พระราม 6 นอกเรงดวน (9.00-16.00 น.) 15825 5950 296 56 292 370 22789<br />

ดวนพระราม 6 เรงดวนเย็น (16.00-19.00 น.) 7779 2127 120 28 47 212 10313<br />

(05/01/2550) ทางขึ้น-ลง เรงดวนเชา (7.00 -9.00 น.) 1956 576 52 0 1 40 2625<br />

ทางดวน นอกเรงดวน (9.00-16.00 น.) 2771 1079 146 0 34 75 4105<br />

เศรษฐสิริ เรงดวนเย็น (16.00-19.00 น.) 1240 353 58 2 10 49 1712<br />

24436<br />

19302<br />

39309<br />

8442<br />

43738<br />

47751<br />

ที่มา: สํานักการจราจรและขนสง กรุงเทพมหานคร, 2551<br />

75


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวี<br />

จากการรวบรวมขอมูลปริมาณรถยนตปกติที่ใชเชื้อเพลิงหลัก (Conventional Vehicle) จากกรมการขนสง<br />

ทางบก และปริมาณเอ็นจีวีที่มีอยูในปจจุบัน (ป 2550) และแผนการสนับสนุนในอนาคต (ป 2551-2555) จาก ปตท.<br />

(รูปที่ 4) พบวารอยละของรถเอ็นจีวีเทียบกับรถยนตปกติ ในป 2550 2551 2552 2553 2554 และ 2555 ประมาณ<br />

1.4 2.9 4.2 5.0 5.1 และ 5.0 ตามลําดับ (รูปที่ 5) หากจําแนกตามประเภทของรถยนต (รูปที่ 6) พบวาในแตละปมี<br />

สัดสวนการแทนที่แตกตางกัน โดยระหวางป 2550-2551 รถเมลรวมมีสัดสวนถูกแทนที่ดวยรถเอ็นจีวีมากที่สุด<br />

รองลงมา ไดแก รถแทกซี่ รถตุกตุกและรถบรรทุก ตามลําดับ ในป 2552-2553 พบวา รถเมลขสมก. มีสัดสวนถูก<br />

แทนที่ดวยเอ็นจีวีเพิ่มขึ้นอยางชัดเจนจนกระทั่งแทนที่รถปกติไดทั้งหมดในป 2553 ซึ่งมีปจจัยสําคัญคือการที่รัฐบาล<br />

จะเชารถเอ็นจีวีจํานวน 4,000 คัน มาใหบริการในชวงปดังกลาว และในชวงเดียวกันนี้รถเมลรวมที่เปนรถปกติจะถูก<br />

แทนดวยรถเอ็นจีวีทั้งหมดเชนกัน และยังจะมีรถใหมซึ่งทั้งหมดจะเปนรถเอ็นจีวีเพิ่มเติมตอเนื่องไปจนถึงป 2555<br />

ในสวนของรถแทกซี่นั้นจะมีแนวโนมเชนเดียวกับรถเมลรวมทั้งนี้เนื่องจาก ปตท. มีแผนสงเสริมทางดานการเงินแก<br />

ผูประกอบการเพื่อเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวี<br />

300,000<br />

คัน<br />

250,000<br />

200,000<br />

150,000<br />

100,000<br />

50,000<br />

รถเมลรวม<br />

รถเมลขสมก.<br />

รถบรรทุก<br />

รถตู <br />

รถปิ๊กอัพ<br />

รถตุ กตุ ก<br />

แทกซี ่<br />

รถเกง<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

รูปที่ 4 ประมาณการณปริมาณรถเอ็นจีวีระหวางป 2550-2555 โดยบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)<br />

6,000,000<br />

5,000,000<br />

NON-NGV<br />

NGV<br />

4,000,000<br />

คัน<br />

3,000,000<br />

2,000,000<br />

1,000,000<br />

ป NON-NGV NGV % Share of NGV<br />

2550 3,171,194 45,652 1.42<br />

2551 3,447,528 103,152 2.91<br />

2552 3,757,207 163,475 4.17<br />

2553 4,115,939 214,921 4.96<br />

2554 4,540,688 244,980 5.12<br />

2555 5,023,254 266,810 5.04<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

รูปที่ 5 รถเอ็นจีวี (NGV) เทียบกับรถยนตปกติ (NON-NGV) ในกรุงเทพฯ ป 2550-2555<br />

76


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ตัวเลขในตารางแสดงปริมาณและสัดสวนการแทนที่)<br />

180<br />

รอยละ<br />

160<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

รถตุ กตุ ก<br />

รถเกง<br />

แทกซี ่<br />

รถปิ๊กอัพ<br />

รถตู <br />

รถบรรทุก<br />

รถเมลขสมก.<br />

รถเมลรวม<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

รูปที่ 6 รอยละของรถเอ็นจีวีที่แทนที่รถยนตปกติในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามชนิดของรถยนต<br />

ป 2550-2555 (รอยละ 100 หมายถึง รถยนตปกติถูกแทนที่ดวยรถเอ็นจีวีทั้งหมด รอยละที่มากกวา 100<br />

หมายถึง รถยนตปกติถูกแทนที่ดวยรถเอ็นจีวีทั้งหมดและมีรถใหมเพิ่มเติมเปนรถเอ็นจีวี)<br />

4.2 การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ<br />

4.2.1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีรถเอ็นจีวี<br />

ผลการวิเคราะหแนวโนมของเทคโนโลยีการเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวีแสดงดังรูปที่ 7 โดยคาดวารถเกง รถ<br />

แท็กซี่ รถเมลขสมก. และรถเมลรวม มีแนวโนมการนํารถเอ็นจีวีใหมจากโรงงาน (OEM) มาใชเพิ่มขึ้น ซึ่งในสวน<br />

ของรถเมลขสมก. นั้นคาดวาการนํารถเอ็นจีวีมาใชจะเปนการเชารถเมลปรับอากาศใหมที่ผลิตจากโรงงานจํานวน<br />

4,000 คัน ตามมติของคณะรัฐมนตรี ในสวนของรถปกอัพและรถตูคาดวาจะเปนการยกเครื่องเดิมที่เปนเครื่องยนต<br />

ดีเซลมาเปนเครื่องยนตเบนซินที่เปนระบบดูด (Fumigation) และระบบหัวฉีด (MPI) ที่ดัดแปลงเปนเอ็นจีวี สวนการ<br />

ใชเชื้อเพลิงรวม (DDF) คาดวามีแนวโนมลดลง ขณะที่รถบรรทุกมีแนวโนมการดัดแปลงเครื่องยนต (DDC) และการ<br />

เปลี่ยนเครื่องยนตใหม (R) เปนเอ็นจีวี รวมกับใชรถเอ็นจีวีที่ผลิตจากโรงงาน และรถบรรทุกเอ็นจีวีที่ใชเชื้อเพลิง<br />

รวมคาดวามีแนวโนมที่ลดลงเชนเดียวกับรถปกอัพและรถตู<br />

[% Share]<br />

รถเกง<br />

100%<br />

Fumi<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

MPI<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

OEM<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

รถแทกซี่<br />

Fumi<br />

MPI<br />

OEM<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

รถปกอัพ<br />

100%<br />

DDF<br />

90%<br />

80%<br />

Fumi<br />

70%<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

MPI<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

รถตู<br />

DDF<br />

100%<br />

90%<br />

Fumi<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

MPI<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

รถเมลขสมก.<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

OEM<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

รถเมลรวม<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

DDC<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

R<br />

20%<br />

OEM<br />

10%<br />

0%<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

[%Share]<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

รถบรรทุก<br />

DDC<br />

R<br />

OEM<br />

DDF<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

หมายเหตุ:<br />

Fumi คือ รถเอ็นจีวีที่เปนเครื่องยนตระบบดูด<br />

MPI คือ รถเอ็นจีวีที่เปนเครื่องยนตระบบหัวฉีด<br />

OEM คือ รถเอ็นจีวีรุนใหมจากจากโรงงานผลิต<br />

DDF คือ รถเอ็นจีวีที่ใชเชื้อเพลิงรวม (Diesel Dual Fuel)<br />

DDC คือ รถโดยสารหรือรถบรรทุกดีเซลที่ดัดแปลงเครื่องยนตเปนเอ็นจีวี<br />

R คือ รถโดยสารหรือรถบรรทุกดีเซลที่เปลี่ยนเครื่องยนตใหมเปนเอ็นจีวี<br />

รูปที่ 7 แนวโนมของเทคโนโลยีการเปลี่ยนเปนรถเอ็นจีวีของรถยนตแตละชนิด ป 2550-2555<br />

77


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2.2 การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ<br />

ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษแสดงดังรูปที่ 8 พบวากรณีที่มีเอ็นจีวีมีผลให<br />

THC NO x CO และ PM มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยที่ THC และ CO มีการลดลงสูงสุดในป 2555 พบการ<br />

ลดลงรอยละ 7.5 และ 14.1 ตามลําดับ NO x และ PM มีการลดลงสูงสุดในป 2553 ที่รอยละ 5.8 และ 4.4 ตามลําดับ<br />

ในสวนของ CO 2 นั้นมีความแตกตางจากสารมลพิษอื่นๆ โดยพบวามีการลดลงสูงสุดในป 2552 ที่รอยละ 0.3 และ<br />

เพิ่มเปนรอยละ 0.1 ในป 2555 ทั้งนี้เปนเพราะการเผาไหมเชื้อเพลิง CNG สมบูรณกวาการเผาไหมเบนซินและ<br />

ดีเซลทําใหเกิด CO 2 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปกอนหนาที่มีสัดสวนการแทนที่รถเอ็นจีวีนอยกวา<br />

ในแงผลกระทบตอภูมิอากาศ (Climate Impact) จากกรณีที่มีรถเอ็นจีวีที่ทําใหการปลดปลอย CO 2<br />

เพิ่มขึ้นนั้น จะตองพิจารณารวมกับการลดลงของกาซเรือนกระจกตัวอื่นๆ ดวย แตเนื่องจากขาดตัวคูณการ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจก CH 4 และ N 2 O ทําใหไมสามารถคํานวณการเปลี่ยนแปลงไดอยางสมบูรณ อยางไรก็<br />

ตามเมื่อวิเคราะหจากการลดลงของ THC (สวนหนึ่งคือ CH 4 ) และ NO x (สวนหนึ่งคือ N 2 O) ซึ่ง CH 4 และ N 2 O มี<br />

ศักยภาพที่ทําใหเกิดโลกรอน (Global Warming Potential) ถึง 21 และ 310 เทียบเทา CO 2 ตามลําดับ (UNFCCC,<br />

2010) นั้น จึงประเมินไดวากรณีที่มีรถเอ็นจีวีนั้นจะมีผลกระทบเชิงบวกตอภูมิอากาศ<br />

THC<br />

THC<br />

60,000<br />

1.0<br />

ton/year<br />

50,000<br />

40,000<br />

30,000<br />

20,000<br />

10,000<br />

รอยละ<br />

0.0<br />

‐1.0<br />

‐2.0<br />

‐3.0<br />

‐4.0<br />

‐5.0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

‐6.0<br />

Without NGV 34,435 37,962 41,716 45,620 49,455 53,167<br />

‐7.0<br />

With NGV 34,543 37,473 39,387 42,592 45,922 49,125<br />

‐8.0<br />

NO x<br />

‐7.0<br />

ton/year<br />

80,000<br />

70,000<br />

60,000<br />

50,000<br />

40,000<br />

30,000<br />

20,000<br />

10,000<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

Without NGV 36,246 40,564 46,042 52,658 59,178 66,766<br />

With NGV 36,712 40,132 43,734 49,172 55,557 62,956<br />

รอยละ<br />

2.0<br />

1.0<br />

0.0<br />

‐1.0<br />

‐2.0<br />

‐3.0<br />

‐4.0<br />

‐5.0<br />

‐6.0<br />

NO x<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

CO<br />

CO<br />

300,000<br />

250,000<br />

0.0<br />

‐2.0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

ton/year<br />

200,000<br />

150,000<br />

100,000<br />

50,000<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

Without NGV 174,842 190,653 206,712 222,353 236,262 247,555<br />

With NGV 169,318 178,549 183,106 193,228 204,052 212,362<br />

รอยละ<br />

‐4.0<br />

‐6.0<br />

‐8.0<br />

‐10.0<br />

‐12.0<br />

‐14.0<br />

‐16.0<br />

รูปที่ 8 ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษเปรียบเทียบระหวางกรณีมีและไมมีรถเอ็นจีวี ป 2550-2555 ใน<br />

กรุงเทพมหานคร (ซาย) รอยละการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษเทียบกับกรณีไมมีรถเอ็นจีวี<br />

(คาติดลบ หมายถึง มีปริมาณปลดปลอยที่ลดลง) (ขวา)<br />

78


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ton/year<br />

PM<br />

16,000<br />

14,000<br />

12,000<br />

10,000<br />

8,000<br />

6,000<br />

4,000<br />

2,000<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

Without NGV 5,064 6,140 7,515 9,243 11,314 13,902<br />

With NGV 5,006 5,968 7,215 8,831 10,878 13,434<br />

รอยละ<br />

0.0<br />

‐0.5<br />

‐1.0<br />

‐1.5<br />

‐2.0<br />

‐2.5<br />

‐3.0<br />

‐3.5<br />

‐4.0<br />

‐4.5<br />

‐5.0<br />

PM<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

CO 2<br />

‐0.30<br />

CO 2<br />

40,000,000<br />

0.20<br />

35,000,000<br />

0.15<br />

30,000,000<br />

0.10<br />

ton/year<br />

25,000,000<br />

20,000,000<br />

15,000,000<br />

รอยละ<br />

0.05<br />

0.00<br />

‐0.05<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

10,000,000<br />

‐0.10<br />

5,000,000<br />

‐0.15<br />

0<br />

2550 2551 2552 2553 2554 2555<br />

Without NGV 13,226,150 15,914,323 19,274,724 23,445,246 28,473,621 34,692,737<br />

‐0.20<br />

‐0.25<br />

With NGV 13,211,367 15,880,991 19,219,765 23,405,104 28,480,193 34,745,558<br />

รูปที่ 8 ปริมาณการปลดปลอยสารมลพิษเปรียบเทียบระหวางกรณีมีและไมมีรถเอ็นจีวี ป 2550-2555 ใน<br />

กรุงเทพมหานคร (ซาย) รอยละการเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษเทียบกับกรณีไมมีรถเอ็นจีวี<br />

(คาติดลบ หมายถึง มีปริมาณปลดปลอยที่ลดลง) (ขวา) (ตอ)<br />

4.3 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ<br />

จากการใชแบบจําลองคุณภาพอากาศ GRAL เพื่อคํานวณการแพรกระจายของสารมลพิษเปรียบเทียบ<br />

กรณีไมมีรถเอ็นจีวีและกรณีมีรถเอ็นจีวีในพื้นที่ศึกษาทั้ง 5 แหง ไดแก อนุสาวรียชัยสมรภูมิ หวยขวาง ธนบุรี บาง<br />

นา และปทุมวัน ไดผลดัง<br />

รูปที่ 9 ซึ่งจะเห็นไดวาระหวางป 2551-2553 ความเขมขนของ NO x CO CO 2 และ PM 10 1 มีแนวโนมลดลงในระดับ<br />

ที่แตกตางกันโดยพบวา PM 10 มีการลดลงมากที่สุด รองลงมา ไดแก NO x CO และ CO 2 ตามลําดับ ระหวางป<br />

2554-2555 NO x และ PM 10 มีแนวโนมการลดลงที่ใกลเคียงกันที่ประมาณรอยละ 10-20 NO x เปนสารมลพิษตั้งตน<br />

ที่ทําใหเกิดกาซโอโซนในบรรยากาศ ดังนั้นการที่ NO x ลดลงยอมสงผลตอการลดลงของกาซโอโซนซึ่งในปจจุบัน<br />

กาซนี้ (รวมทั้ง PM 10 ) เปนปญหามลพิษที่สําคัญของกรุงเทพมหานคร (สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง,<br />

2552) อยางไรก็ตามพบวา THC มีการเปลี่ยนในแตละปเพิ่มขึ้น โดยพบการเพิ่มขึ้นที่รอยละ 0.2 ถึง 4.5 ทั้งนี้อาจ<br />

เปนเพราะมีสัดสวนของรถเอ็นจีวีที่ปลดปลอย THC ในปริมาณสูงในพื้นที่ศึกษาคอนขางมาก ไดแก รถตู รถเมล<br />

และรถบรรทุก ที่ติดตั้งเอ็นจีวีระบบเชื้อเพลิงรวม (Diesel Dual Fuel, DDF)<br />

ตัวอยางผลการเปรียบเทียบผลการคํานวณกับขอมูลการตรวจวัด และการแพรกระจายของสารมลพิษเชิง<br />

พื้นที่แสดงดังรูปที่ 10 และรูปที่ 11 ตามลําดับ<br />

1 คํานวณภายใตสมมุติฐานวา PM ที่ปลดปลอยจากรถยนตจะเปน PM 10 ประมาณรอยละ 90<br />

79


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5<br />

Victory Monument<br />

0<br />

[%]<br />

-5<br />

-10<br />

-15<br />

THC<br />

NOx<br />

CO<br />

CO2<br />

PM<br />

-20<br />

2007 2008 2009 2010 2011 2012<br />

Year<br />

5<br />

Bangna<br />

5<br />

Thonburi<br />

[%]<br />

0<br />

-5<br />

-10<br />

-15<br />

THC<br />

NOx<br />

CO<br />

CO2<br />

PM<br />

[%]<br />

0<br />

-5<br />

-10<br />

-15<br />

THC<br />

NOx<br />

CO<br />

CO2<br />

PM<br />

-20<br />

2007 2008 2009 2010 2011 2012<br />

Year<br />

-20<br />

2007 2008 2009 2010 2011 2012<br />

Year<br />

5<br />

Pathumwan<br />

5<br />

Huaykwang<br />

0<br />

0<br />

[%]<br />

-5<br />

-10<br />

-15<br />

THC<br />

NOx<br />

CO<br />

CO2<br />

PM<br />

[%]<br />

-5<br />

-10<br />

-15<br />

THC<br />

NOx<br />

CO<br />

CO2<br />

PM<br />

-20<br />

2007 2008 2009 2010 2011 2012<br />

Year<br />

-20<br />

2007 2008 2009 2010 2011 2012<br />

Year<br />

รูปที่ 9 รอยละการเปลี่ยนแปลงสารมลพิษ (THC NO x CO CO 2 และ PM 10 ) ระหวางป 2550-2555 ในพื้นที่<br />

ศึกษาทั้ง 5 แหง (ตัวเลขติดลบ หมายถึง รอยละของสารมลพิษที่แพรกระจายลดลงจากกรณีที่มีรถเอ็นจีวี)<br />

concentration [µg/m 3 ]<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Observed PM10<br />

modelled PM10<br />

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec<br />

concentration [µg/m 3 ]<br />

4500<br />

4000<br />

3500<br />

3000<br />

2500<br />

2000<br />

1500<br />

1000<br />

500<br />

0<br />

Observed CO<br />

modelled CO<br />

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec<br />

Month<br />

Month<br />

รูปที่ 10 ตัวอยางการเปรียบเทียบผลการคํานวณโดยแบบจําลอง GRAL กับขอมูลตรวจวัดจากสถานี<br />

ตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ตั้งอยูในพื้นที่ศึกษาอนุสาวรีชัยสมรภูมิ<br />

80


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2007)<br />

µg/m 3 Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2008)<br />

µg/m 3<br />

Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2009)<br />

µg/m 3 Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2010)<br />

µg/m 3<br />

Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2011)<br />

Difference of PM Annual Mean Concentration (year 2012)<br />

µg/m 3<br />

µg/m 3<br />

รูปที่ 11 ตัวอยางผลของการคํานวณการแพรกระจายสารมลพิษบริเวณพื้นที่ศึกษาอนุสาวรีชัยสมรภูมิ<br />

ระหวางป 2550-2555 (จากรูปแสดงระดับความเขมขนที่ลดลงของ PM 10 กรณีที่มีเอ็นจีวี)<br />

5. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ<br />

5.1 สรุปผลการศึกษา<br />

5.1.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณรถเอ็นจีวี: ระหวางป 2550-2555 ปริมาณรถเอ็นจีวีมีแนวโนมที่จะแทนที่<br />

รถยนตปกติในกรุงเทพมหานคร ประมาณรอยละ 1.4-5.0 หากจําแนกตามประเภทรถยนตพบวา รถเมลขสมก.<br />

รถเมลรวมและรถแทกซี่ จะถูกแทนที่ดวยรถเอ็นจีวีทั้งหมดและรถที่จดทะเบียนใหมจะเปนรถเอ็นจีวีทั้งหมด<br />

5.1.2 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีรถเอ็นจีวี: ระหวางป 2550-2555 คาดวา รถเกง รถแท็กซี่ รถเมลขสมก.<br />

และรถเมลรวม มีแนวโนมเปนรถเอ็นจีวีที่ผลิตจากโรงงาน ในสวนของรถปกอัพและรถตูคาดวาจะเปนการยกเครื่อง<br />

เดิมที่เปนเครื่องยนตดีเซลมาเปนเครื่องยนตเบนซินที่เปนระบบดูดและระบบหัวฉีดที่ดัดแปลงใหเปนรถเอ็นจีวี และ<br />

81


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รถบรรทุกมีแนวโนมการดัดแปลงเครื่องยนตและการเปลี่ยนเครื่องยนตใหมเปนเอ็นจีวี และสวนหนึ่งจะเปนรถเอ็นจี<br />

วีใหมจากโรงงาน<br />

5.1.3 การเปลี่ยนแปลงการปลดปลอยสารมลพิษ: กรณีที่มีเอ็นจีวีมีผลให THC NO x CO และ PM มี<br />

แนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยที่ THC และ CO มีการลดลงสูงสุดในป 2555 พบการลดลงรอยละ 7.5 และ 14.1<br />

ตามลําดับ NO x และ PM มีการลดลงสูงสุดในป 2553 ที่รอยละ 5.8 และ 4.4 ตามลําดับ ในสวนของ CO 2 นั้นพบวา<br />

มีการลดลงสูงสุดในป 2552 ที่รอยละ 0.3 และเพิ่มรอยละ 0.1 ในป 2555 ทั้งนี้อาจเปนเพราะการเผาไหมเชื้อเพลิง<br />

CNG สมบูรณกวาเบนซินและดีเซลสงผลใหเกิด CO 2 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปกอนหนาที่มีสัดสวนการแทนที่รถเอ็นจีวี<br />

นอยกวา<br />

5.1.4 ผลกระทบตอภูมิอากาศ: จากกรณีที่รถเอ็นจีวีมีการปลดปลอย CO 2 เพิ่มขึ้นนั้น เมื่อวิเคราะห<br />

รวมกับการลดลงของ THC (สวนหนึ่งคือ CH 4 ) และ NO x (สวนหนึ่งคือ N 2 O) ซึ่ง CH 4 และ N 2 O มีศักยภาพที่ทําให<br />

เกิดโลกรอน (Global Warming Potential) ถึง 21 และ 310 เทียบเทา CO 2 ตามลําดับ จึงไดวากรณีที่มีรถเอ็นจีวี<br />

นั้นมีผลกระทบเชิงบวกตอภูมิอากาศ<br />

5.1.5 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ: ระหวางป 2551-2555 ความเขมขนของ NO x CO CO 2 และ<br />

PM 10 มีแนวโนมลดลงในระดับที่ตางกันในทุกพื้นที่ศึกษา โดยระหวางป 2554-2555 NO x และ PM 10 มีแนวโนมการ<br />

ลดลงถึง รอยละ 10-20<br />

5.2 ขอเสนอแนะ<br />

5.2.1 เนื่องจากงานวิจัยนี้ไดดําเนินการเสร็จสิ้นในป 2551 ตัวเลขการคาดการณเปรียบเทียบในปจจุบันจึง<br />

มีการคาดเคลื่อนตามปจจัยตางๆ เชน โครงการเชารถเมลเอ็นจีวีจํานวน 4,000 ที่คาดการณวาจะมีการนํามาใชในป<br />

2553 ที่ปจจุบันยังอยูระหวางการดําเนินการ รวมทั้งปจจัยทางดานราคาของกาซธรรมชาติอัดที่มีแนวโนมสูงขึ้นทํา<br />

ใหจํานวนรถเอ็นจีวีลดลงได ดังนั้นจึงควรมีการทบทวนการศึกษานี้เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนไป<br />

5.2.2 ผลการศึกษานี้ชี้ใหเห็นถึงแนวโนมการลดการปลอยกาซเรือนกระจกของรถเอ็นจีวี ดังนั้นจึงควรมี<br />

การศึกษาความเหมาะสมในการดําเนินโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism)<br />

ตอไป<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

คณะผูวิจัยขอขอบคุณ คุณอิทธิพล พออามาตย สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ<br />

ที่ใหขอเสนอและขอมูลที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอการศึกษาครั้งนี้<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- International Sustainable Systems Research Center (ISSRC) (2008), International<br />

Vehicle Emission (IVE) Model. last accessed on 14 June 2008 at:<br />

.<br />

- Oettl, D. et al. (2001), A new method to estimate diffusion in stable, low-wind conditions,<br />

Journal of Applied Meteorology 40, pp. 4581-4594.<br />

82


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC) (2010), Global<br />

Warming Potential, last accessed on 14 June 2010 at:<br />

.<br />

- สํานักการจราจรและขนสง. สถิติจราจร ป 2550, กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพมหานคร, 2551.<br />

- สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.). รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษา<br />

ความเหมาะสมในการดําเนินโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development<br />

Mechanism) ในภาคคมนาคมและขนสง, กรุงเทพมหานคร: กระทรวงคมนาคม, 2551.<br />

- สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง. สถานการณและการจัดการมลพิษอากาศและเสียงป<br />

2551, กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมมลพิษ, 2552.<br />

83


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Influential Factors and Ozone Formation Potential of Volatile Organic Compounds in<br />

Suburban Bangkok, Thailand<br />

J. Suthawaree 1 , Y. Tajima 1 , S. Kato 1 , A. Khunchornyakong 1 , A. Sharp 2 and Y. Kajii 1<br />

1<br />

Department of applied chemistry, Faculty of Urban Environmental Sciences,<br />

Tokyo Metropolitan University, 1-1 Minami-Osawa, Hachioji, Tokyo, 192-0397, Japan.<br />

2<br />

Sirindhorn International Institute of Technology,<br />

Thammasat University - Rangsit Campus, P.O.Box 22, Pathum Thani, 12121, Thailand.<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่เขตชานเมืองในกรุงเทพมหานครมีความสําคัญอยางมากในการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพของกฎหมายและการกําหนดแผนกลยุทธเชิงมาตรการการลดมลพิษทางอากาศ สารอินทรียระเหย<br />

งายมีบทบาทสําคัญตอการเกิดกาซโอโซนในบรรยากาศชั้นลางบริเวณเขตเมือง วิธีการวิจัยมีการดําเนินการโดย<br />

เก็บตัวอยางดวยถังเก็บอากาศที่สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) ระหวางวันที่ 2 – 7 กรกฎาคม 2551<br />

โดยทําการเก็บตัวอยาง 4 ครั้งตอวันในชวงเวลา 6:30 12:30 17:30 และ 21:30 ซึ่งใชเวลาเก็บอากาศอยางตอเนื่อง<br />

เปนเวลา 1 นาทีในแตละครั้ง ตัวอยางอากาศที่เก็บถูกนําไปวิเคราะหผลผานเครื่อง GC-FID และ GC-MS จาก<br />

การศึกษาพบวาสารอินทรียระเหยงายมีปริมาณความเขมขนสูงสุดในชวงเวลาเชาและเวลาเย็นซึ่งเปนผลสืบ<br />

เนื่องมาจากการปลอยมลพิษของยานพาหนะ ทั้งนี้คาความเขมขนเฉลี่ยของสารอินทรียระเหยงายระหวางชวงวัน<br />

ธรรมดา(วันทํางาน)และวันหยุดสุดสัปดาหมีความแตกตางกันอยางชัดเจน ทั้งนี้พบวาความเขมขนของสารอินทรีย<br />

ระเหยงายมีความเขมขนต่ํากวาในชวงวัดหยุดสุดสัปดาห นอกจากนี้ไมพบความแตกตางของ CFC เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับคาที่วัดไดจากองคการอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) ชนิดของสารซึ่งพบมากที่สุด ณ จุดตรวจวัด SIIT<br />

คือ propane และ toluene มีคาเฉลี่ยความเขมขนเทากับ 3100 และ2891 pptv ตามลําดับ จากอัตราสวนของ<br />

benzene และ toluene ชี้วาคาความเขมขนที่เพิ่มขึ้นนั้นเกิดมาจากการปลอยมลพิษจากอุตสาหกรรมซึ่งมีปริมาณ<br />

ความเขมขนสูงกวาในชวงวันทํางาน เมื่อพิจารณาจากการเปรียบเทียบอัตราการผสมสารระหวาง C 2 Cl 4 และ<br />

CH 3 Cl ซึ่งวัดที่ชานเมืองโตเกียวพบวา การเผาไหมทางชีวมวลมีอิทธิพลตอคุณภาพอากาศบริเวณเขตชานเมืองใน<br />

กรุงเทพมหานคร การประเมินบทบาทของสารอินทรียระเหยงายแตละประเภทตอศักยภาพการเกิดกาซโอโซนใน<br />

บรรยากาศชั้นลางโดยใชคา MIR พบวา toluene มีบทบาทสูงสุดในการกอใหเกิดกาซโอโซนตามมาดวย ethylene,<br />

m,p-xylene, และ propylene<br />

84


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Elucidation of air quality in the suburban area of Bangkok, Thailand is essential in order to achieve<br />

effective regulations and mitigation strategies. Volatile organic compound (VOC) plays important role in<br />

formation of tropospheric urban ozone. Whole air canister sampling was carried out in the suburban<br />

Bangkok at Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT) during 2008, July 2–7. Four samples per<br />

day were collected at 30 min passes 6, 12, 17, 21 hours with sampling time of 1 min. Analysis was<br />

performed using GC-FID and GC-MS. High mixing ratios of VOCs detected during the peak periods in the<br />

morning and evening are most likely due to vehicular emission. Averaged VOCs mixing ratios, revealed<br />

distinct different between mixing ratios obtained during the weekday and weekend which the latter were<br />

found to be lower. No difference was found for CFCs which the levels were also comparable to global<br />

background level reported by World Meteorological Organization. The most abundance species at SIIT<br />

were propane and toluene with averaged mixing ratios of 3100 and 2891 pptv, respectively. Ratios of<br />

benzene over toluene suggested additional concentration owing to industrial emission, of which<br />

particularly larger during the weekday. Comparison between C 2 Cl 4 and CH 3 Cl mixing ratios obtained for<br />

suburban Tokyo reveal relatively higher influence of biomass burning at suburban Bangkok. In order to<br />

estimate the role of the different VOCs towards tropospheric ozone formation, ozone formation potential<br />

was calculated using maximum incremental reactivity. Toluene was found to contribute the most to O 3<br />

production followed by ethylene, m,p-xylene, and propylene.<br />

Keywords: Volatile organic compounds, Suburban air quality, Emission source, Ozone formation<br />

potential.<br />

1. Introduction<br />

Long-term observations of surface ozone (O 3 ) in Bangkok and surrounding areas revealed higher<br />

concentrations in the downwind locations (Zhang and Oanh, 2002). Seasonal variations showed high<br />

concentrations during January to April, while low concentrations were found during the mid-rainy season<br />

in August. The optimum ratio between oxides of nitrogen (NO x ) and non-methane hydrocarbon (NMHC)<br />

was also reported to be around 0.07 which has been found to be frequently found during summer. In<br />

general, O 3 production in urban area is mostly designated as VOC-sensitive regime where availability of<br />

VOCs plays important roles while increasing importance of availability of NO x is expected for the air mass<br />

moving outward the city (Sillman, 1999). This is also true for Bangkok case (World Bank, 2002) which<br />

suggests the importance of understanding of VOCs characteristics in Bangkok in order to assess the<br />

impact of O 3 . Despite importance of VOCs in Bangkok, only limited number research has been conducted<br />

and contributed mostly to direct impact on human health. Ambient levels of VOCs in 1995 and 1996 were<br />

reported by Gee and Sollars, (1998). At the time, comparison with Latin America cities revealed much<br />

greater concentrations of several species such as hexane, benzene, and toluene, from observation in<br />

Bangkok. Several recent researches have been focused on the health effect and exposure to excess<br />

85


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

PAHs and benzene. Concentrations of PAHs from blood and urine samples indicated more than twenty<br />

folds higher in traffic police (high exposure sample) than office police (low exposure sample) (Ruchirawat<br />

et al., 2002). Moreover, students in the school located in inner Bangkok have been found to expose to<br />

total PAHs and benzene, carcinogenic and mutagenic pollutants, at levels significantly higher than those<br />

students in the rural areas (Buthbumrung et al., 2008). Oanh et al., (2008) determined the hourly<br />

maximum concentrations from the roadside stations of toluene, m,p-xylene, o-xylene to be 258, 51, and<br />

15 ppb, respectively. These values were also stated to be higher than levels reported in other Asian<br />

cities, thus, post the concern over the importance of information on VOC in the region.<br />

2. Objective<br />

2.1 Investigation of characteristic of mixing ratios of VOCs included wide range of non-methane<br />

hydrocarbons and halocarbons at suburban area to the north of Bangkok city center.<br />

2.2 Investigation of influential factors controlling VOCs mixing ratios.<br />

2.3 Investigation of VOC species which contribute to ozone formation potential.<br />

3. Experiment<br />

3.1 Observation site<br />

With one of the objective of capture pollution outflow from Bangkok center, measurement site<br />

has been set up at Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT) situated in Rangsit campus of<br />

Thammasat University in Pratum Thani province. Geographical coordinate of SIIT is 14.06°N and<br />

100.61°E. The distance from Bangkok center is approximately 40 km to the north. From the site to main<br />

road is 1 km. For comparison purpose, mixing ratios of VOCs measured in the suburban Tokyo with the<br />

distance of more than 30 km to the west from metropolitan area at Tokyo Metropolitan University (TMU)<br />

(35.62°N and 139.38°E).<br />

3.2 Measurements of VOC and CO mixing ratios<br />

Whole ambient air samples were compressed using a Teflon bellows pump (Iwaki, BA-106TN)<br />

and collected for 4 days (2, 4–6, July 2008) at approximately 6:30, 12:30, 17:30, and 21:30 local time into<br />

canister of 6-L type provided by Entech (Silonite) and Hewlett Packard (SilcoCan). The sample collections<br />

for the first four days were performed at the balcony of the fourth floor of SIIT with the sampling duration<br />

of approximately 1 min. On 7 July, the samples were collected for ambient air inside the Bangkok city on<br />

second floor of one residence located about 500 m from main road (AREE). The analysis method was<br />

based on the preconcentration of air sample by concentrator (Entech, model 7000) coupling with GC-FID<br />

(HP-6890) or GC-MS (HP-5973). Details on analysis method were described elsewhere (Kato et al., 2007,<br />

Suthawaree et al., 2010). GC-FID was specifically used for obtaining hydrocarbons mixing ratios while<br />

GC-MS was used for detection of halocarbon species. Total number of 72 VOCs species was derived<br />

from the analysis ranged from C 2 to C 9 including alkanes, alkenes, acetylene, aromatics, and halocarbons<br />

86


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

including CFCs and other halogenated species. Covering the period of July 2008, continuous<br />

measurements of CO have been conducted at SIIT since 2006 by employing Thermo Environmental<br />

Instrument (TEI) 48C (Non-Dispersive Infrared technique).<br />

4. Results and discussions<br />

4.1 General characteristics of VOC at suburban Bangkok and city center<br />

VOCs mixing ratios from measurement at SIIT and AREE for selected VOCs species included<br />

alkanes, alkenes, acetylene, aromatics, and halocarbons are shown in Figure 1. In general, mixing ratios<br />

of all species observed at AREE are distinctly higher than those at SIIT. Whereas, within the data<br />

observed at SIIT, averaged mixing ratios measured during the weekdays are also significantly higher than<br />

those of weekends even for, though not shown, CFCs species, despite considerably small data set.<br />

Distinct diurnal variation indicated high mixing ratios during the morning and evening rush hour with<br />

relatively lower mixing ratio during the noon time. Extensive human activities during the weekdays are<br />

believed to be the cause of this trend. As expected, the diurnal variation is not true for biogenic specie,<br />

isoprene (not shown).<br />

4.2 Influence from traffic, biomass burning, and industrial emission<br />

Ratio between benzene and toluene (B/T) is widely used to for investigation of sources of<br />

toluene. The ratios of 0.5–0.6 (weight/weight) were suggested as a signature of toluene emission<br />

associated mainly with vehicular emission in many cities in the world included Chinese cities (Barletta et<br />

al., 2005, 2008). B/T obtained for SIIT and AREE are indicated in Table 1. Averaged values from all<br />

categories reveal much lower than the suggested values. Reduced benzene and/or enhanced toluene can<br />

lead to these low values. Additional toluene from industrial emission also found in the rural area of the<br />

BMA (Laowagul et al., 2008). Moreover, relatively larger difference is found for toluene than that of<br />

benzene from comparison between the weekday and weekend values; which most likely due to additional<br />

toluene emitted from extensive industrial activity during the weekday.<br />

Table 1 Benzene over toluene ratios (weight/weight) obtained for observation at SIIT and AREE.<br />

SIIT Weekday SIIT weekend AREE<br />

Averaged 0.11 0.20 0.12<br />

Range 0.06 – 0.15 0.11 – 0.43 0.08 – 0.16<br />

87


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

10 5<br />

ethane propane i-butane i-pentane hexane<br />

10 4<br />

10 3<br />

Mixing ratios (pptv)<br />

10 2<br />

a<br />

10 1<br />

10 4<br />

acetylene benzene toluene Ethylene Propylene<br />

10 3<br />

10 2<br />

10 1<br />

b<br />

02 03 04 05 06 07 08<br />

July 2008<br />

Figure 1 Mixing ratios of (a) selected alkanes, and (b) acetylene, benzene, toluene, ethylene and<br />

propylene, measured at SIIT and AREE (right side of dash line) during July 2008. Log scales are<br />

used for making apparent trend of all species.<br />

Despite that the ratio obtained for the weekend is quite similar to the ratios obtained for the<br />

measurement where vehicular emission is the dominant strong correlation between i-pentane—signature<br />

specie of emission from gasoline both through evaporation as well as exhaust gases (Barletta et al.,<br />

2005)—and acetylene, which can be used as combustion marker, indicated that vehicular emission is<br />

more severe during the weekday. In Figure 2, ratios between C 2 Cl 4 (industrial emission indicator) and CO<br />

are plotted in associate with the ratios between CH 3 Cl (biomass burning indicator) and CO in order to<br />

reveal the comparative influence of biomass/biofuel burning and industrial emission observed at SIIT and<br />

suburban Tokyo (TMU). Relatively high ratios of C 2 Cl 4 and CO are found for observation at TMU. In<br />

contrast, the ratios between CH 3 Cl and CO indicated clearly the relatively larger impact of biomass<br />

burning emission at SIIT. In suburban Bangkok area, although not extensive, burning of wastes included<br />

household, agricultural, and unwanted plants such as weed and overgrown grass is very common and<br />

thus can contributed to enhanced CH 3 Cl mixing ratios. It is noteworthy that these ratios for SIIT were<br />

obtained for wet season where northern forest fire activities were at their minimum. This fact also<br />

supports the suggestion of occasional influence of burning activities within the BMA.<br />

88


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 Ozone Formation Potential<br />

In order to estimate the role of the different VOCs towards tropospheric ozone formation, a<br />

Maximum Incremental Reactivity (MIR) scale is widely used (Barletta et al., 2008). MIR is defined as the<br />

maximum increment of O 3 in weight (g) per weight (g) of additional VOCs added into the system which<br />

NOx-VOC are presence in sufficient light intensity (Carter et al., 1994). Product from multiplication<br />

between MIR and VOCs gives approximation of contribution of each VOC to local O 3 formation which is<br />

indicated as O 3 Formation Potential (OFP). The most important VOCs species with the highest 15 OFP<br />

from the total of 57 species and their mixing ratios are shown in Figure 3 for SIIT weekday (a), weekend<br />

(b), and AREE (c), calculated by using MIR provided by Carter, (1999). Toluene is the most dominant<br />

VOCs at all periods and sites in term of OFP due to its high reactivity as well as its excess in abundance,<br />

followed by ethylene, m, p-xylene, and propylene. Significant difference between weekday and weekend<br />

OFP at SIIT is found primarily owing to different VOCs mixing ratios especially for those highly reactive<br />

species. At AREE, the total OFP gives the value of exceptionally high as 993 μg O 3 .<br />

0.20<br />

0.15<br />

SIIT weekday<br />

SIIT weekend<br />

TMU summer<br />

TMU winter<br />

C 2<br />

Cl 4<br />

/ CO<br />

0.10<br />

0.05<br />

0.00<br />

0<br />

1<br />

2 3<br />

CH 3<br />

Cl / CO<br />

4<br />

5<br />

Figure 2 C 2 Cl 4 /CO and CH 3 Cl/CO obtained from SIIT and TMU<br />

5. Conclusion<br />

Measurement of wide variety of VOCs was carried out during July 2008 at suburban area of<br />

Bangkok. Samples were also collected in urban area of Bangkok at AREE. Toluene was found to be the<br />

most abundance VOC. Diurnal variation of anthropogenic related VOCs at both sites followed traffic<br />

pattern with mixing ratios peaks during morning and evening. In contrast, biogenic activity indicator,<br />

isoprene, revealed peak during the noontime. As expected, higher mixing ratios were found during the<br />

weekday. Comparison between SIIT and TMU revealed relatively larger impact from biomass burning to<br />

industrial emission at SIIT. To assess impact from VOCs on O 3 formation, OFP was calculated using MIR<br />

for VOCs mixing ratios obtained for SIIT weekday and weekend, and AREE. Results indicated higher<br />

OFP during weekday is greater than during the weekend at SIIT. As expected, OFP at AREE revealed<br />

the highest value.<br />

89


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

30<br />

25<br />

SIIT weekday<br />

5000<br />

4000<br />

30<br />

25<br />

SIIT weekend<br />

5000<br />

4000<br />

OFP (percent)<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

3000<br />

2000<br />

1000<br />

concentration (pptv)<br />

OFP (percent)<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

3000<br />

2000<br />

1000<br />

concentration (pptv)<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

a<br />

Toluene<br />

Ethylene<br />

p,m-Xylene<br />

Propylene<br />

i-Pentane<br />

2-Methyl-2-Butene<br />

o-Xylene<br />

1,2,4-TMB<br />

Isoprene<br />

n-Butane<br />

Ethylbenzene<br />

i-Butane<br />

Propane<br />

1,3,5-TMB<br />

2-Methylpentane<br />

b<br />

Toluene<br />

Ethylene<br />

Isoprene<br />

p,m-Xylene<br />

Propylene<br />

i-Pentane<br />

o-Xylene<br />

2-Methyl-2-Butene<br />

1,2,4-TMB<br />

Cyclopentane<br />

n-Butane<br />

i-Butane<br />

trans-2-Butene<br />

2-Methylpentane<br />

Propane<br />

30<br />

25<br />

AREE weekday<br />

30x10 3<br />

25<br />

OFP (percent)<br />

20<br />

15<br />

10<br />

20<br />

15<br />

10<br />

concentration (pptv)<br />

5<br />

5<br />

0<br />

0<br />

c<br />

Toluene<br />

Ethylene<br />

p,m-Xylene<br />

Propylene<br />

n-Butane<br />

2-Methyl-2-Butene<br />

trans-2-Butene<br />

i-Pentane<br />

Isoprene<br />

i-Butane<br />

1,2,4-TMB<br />

cis-2-Butene<br />

o-Xylene<br />

Propane<br />

trans-2-Pentene<br />

Figure 3 Ozone Formation Potential (OFP) in percentage of the total (open circles) and mixing ratios<br />

(solid circles) of the top 15 OFP species obtained for SIIT weekday (a), weekend (b), and AREE (c)<br />

6. References<br />

- Barletta, B. et al. (2005), Volatile organic compounds in 43 Chinese cities, Atmospheric<br />

Environment, 39, pp. 5979-5990.<br />

- Barletta, B. et al. (2008), Ambient mixing ratios of nonmethane hydrocarbons (NMHCs)<br />

in two major urban centers of the Pearl River Delta (PRD) region: Guangzhou and<br />

Dongguan, Atmospheric Environment, 42, pp. 4393-4408.<br />

- Buthbumrung, N. et al. (2008), Oxidative DNA damage and influence of genetic<br />

polymorphisms among urban and rural schoolchildren exposed to benzene, Chemico-<br />

Biological Interactions, 172(3), pp. 185-194.<br />

- Carter, W. P. L. (1994), Development of ozone reactivity scales for volatile organic<br />

compounds, Journal of the Air and Waste Management Association, 44, pp. 881-899.<br />

- Carter, W. P. L. (1999). Updated maximum incremental reactivity scale for regulatory<br />

90


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

applications, Preliminary Report to California Air Resources Board Contract No. 95-308,<br />

http://www.engr.ucr.edu/~carter/r98tab.htm.<br />

- Gee, I. L. and Sollars, C. J. (1998), Ambient air levels of volatile organic compounds in<br />

Latin American and Asian cities, Chemosphere, 36(11), pp. 2497-2506.<br />

- Kato, S. et al. (2007), Trace gas measurements over the northwest Pacific during the<br />

2002 IOC cruise, Geochemistry Geophysics Geosystems, 8, Q06M10,<br />

doi:10.1029/2006GC001241.<br />

- Laowagul, W. et al. (2008), Ambient Air Concentrations of Benzene, Toluene,<br />

Ethylbenzene, and Xylene in Bangkok, Thailand during April-August in 2007, Asian<br />

Journal of Atmospheric Environment, 2(1), pp. 14-25.<br />

- Oanh, N. T. K. et al. (2008), Determination of fleet hourly emission and on-road vehicle<br />

emission factor using integrated monitoring and modeling approach, Atmospheric<br />

Research, 89(3), 223-232.<br />

- Sillman, S. (1999). The relation between ozone, NO x and hydrocarbons in urban and<br />

polluted rural environments, Atmospheric Environment, 33, pp. 1821-1845.<br />

- Suthawaree, J. et al. (2010), Measurements of volatile organic compounds in the middle<br />

of Central East China during Mount Tai Experiment 2006 (MTX2006): observation of<br />

regional background and impact of biomass burning, Atmospheric Chemistry and<br />

Physics, 10, pp. 1269-1285.<br />

- World Bank (2002), Thailand Environmental situation on Air pollution 2002 issue,<br />

http://siteresources.worldbank.org/INTEASTASIAPACIFIC/Resources/Thailand-02(Thaiversion).pdf<br />

- Zhang, B. N. and Oanh, N. T. K. (2002), Photochemical smog pollution in the Bangkok<br />

Metropolitan Region of Thailand in relation to O 3 precursor concentrations and<br />

meteorological conditions, Atmospheric Environment, 36(26), pp. 4211-4222.<br />

91


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อิทธิพลของความเร็วลมในแนวดิ่งตอคาฟลักซของกาซซัลเฟอรไดออกไซดในพื้นที่<br />

ปาเขตรอน<br />

Effect of Vertical Wind to Change Flux of Sulfur Dioxide Over Tropical Forest<br />

ประดิพัทธ ตั้งนรกุล และ พจนีย ขุมมงคล<br />

สายวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

เทคนิคเอ็ดดี้โควาเรียน (Eddy covariance) เปนวิธีการประยุกตใชขอมูลตรวจวัดทางจุลอุตุนิยมวิทยา<br />

(Micrometeorological) และความเขมขนของกาซในบรรยากาศมาประเมินปริมาณการตกสะสม หรือ คาฟลักซของ<br />

กาซที่สงผลกระทบตอระบบนิเวศวิทยา คาทางอุตุนิยมวิทยาที่ตรวจวัด ไดแก การเปลี่ยนแปลงของความเร็วลมใน<br />

แนวดิ่ง (Vertical wind speed) ความชื้นสัมพัทธ (Relative humidity) และรังสีสุทธิ (Net radiation) จากการศึกษา<br />

พบวารังสีสุทธิมีอิทธิพลตอคาฟลักซ (Flux) และความเร็วในการตกสะสม (Deposition Velocity) ของกาซซัลเฟอร<br />

ไดออกไซด (SO 2 ) แบบแหง และคาฟลักซมีแนวโนมสูงในเวลากลางวันโดยเกิดจากอิทธิพลของความปนปวนของ<br />

ลมในบรรยากาศ คาฟลักซเฉลี่ยของกาซซัลเฟอรไดออกไซด เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน<br />

ธันวาคม และมกราคม ที่ตรวจวัดไดเทากับ 7.67 8.14 8.66 9.17 9.23 และ 9.37 ng/cm 2 /s เมื่อทราบคาฟลักซแลว<br />

จะสามารถประมาณความเร็วของการตกสะสมของกาซซัลเฟอรไดออกไซด เฉลี่ยแบบแหงไดเทากับ 0.50 0.38<br />

0.59 0.41 0.28 และ 0.22 cm/s ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: เอ็ดดี้โควาเรียน ซัลเฟอรไดออกไซด การตกสะสมแบบแหง จุลอุตุนิยมวิทยา<br />

Abstract<br />

Eddy covariance is micrometeorological technique for evaluation flux and concentration of the<br />

pollutant in the atmosphere that have effect to ecological system. The metcological parameter is vertical<br />

wind speed relative humidity and net radiation. It was found that net radiation cause to diurnal flux and<br />

deposition velocity and effect of the turbulent of win in the atmosphen. The average flux of SO 2 were<br />

7.67, 8.14, 8.66, 9.17, 9.23 and 9.37 ng/cm 2 /s August, September, October, November, December and<br />

January, respcetirely once, the flux is know, the deposition velocities of SO 2 can be determined. The<br />

deposition velocities of SO 2 were 0.50, 0.38, 0.59, 0.41, 0.28 and 0.22 cm/s respectively.<br />

92


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปจจุบันการใชพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลไดมีการใชกันอยางแพรหลาย ผลที่ตามมาสารจากการใชที่<br />

เกิดจากใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทําใหเกิดสารมลพิษบางชนิดขึ้นมา ไดแก กาซออกไซดของซัลเฟอร และกาซ<br />

ออกไซดของไนโตรเจน ทั้งสองตัวเปนตัวการหลักที่ทําใหเกิดฝนกรดในบรรยากาศ เมื่อออกไซดทั้งสองลอยตัวขึ้นสู<br />

บรรยากาศรวมตัวกับน้ําเปนการตกสะสมแบบเปยกทําใหเกิดเปนกรดซัลฟูริค และกรดไนตริกแลวตกลงมาสูพื้นดิน<br />

ในรูป หมอก น้ําคาง ฝน หิมะ ซึ่งมีสภาพเปนกรด บางสวนจะตกลงมาในสภาพแบบกาซโดนตรง สารกรดใน<br />

บรรยากาศเปนปญหาตอสิ่งแวดลอมที่รุนแรงในพื้นอุตสาหกรรม สิ่งปลูกสรางตางๆ และทรัพยากรปาไม ทําความ<br />

เสียหายตอระบบนิเวศ สุขภาพของมนุษย และสิ่งมีชีวิตตางๆ ซึ่งสงผลกระทบเปนบริเวณกวาง [4, 5] ดังนั้น<br />

การศึกษาการตกสะสมสารกรดในบรรยากาศในพื้นที่ปาไมจึงมีความสําคัญมาก สําหรับงานวิจัยมีเปาหมายศึกษา<br />

ความเขมขนของสารกรดในบรรยากาศในรูปแบบของกาซ และวิเคราะหอุณหภูมิ รังสีสุทธิ และความชื้นสัมพัทธ ที่<br />

มีผลตอความเขมขนของสารกรดในบรรยากาศ เพื่อที่จะหาแนวทางปองกันอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ<br />

ตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

ศึกษาความสัมพันธระหวางความชื้น รังสีสุทธิ และความเร็วลมในแนวดิ่งที่มีอิทธิพลตอคาฟลักซ และ<br />

ความเร็วการตกสะสมของกาซซัลเฟอรไดออกไซด ในบริเวณปาไมเขตรอน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 สถานที่เก็บตัวอยาง<br />

พื้นที่ปาไมเต็งรังบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี จุดเก็บตัวอยาง<br />

ตั้งอยูที่ละติจูด 13 องศา 35 ลิปดา 13.3 ฟลิปดาเหนือ ลองติจูด 99 องศา 30 ลิปดา 3.9 ฟลิปดาตะวันออก ซึ่ง<br />

ลักษณะของพื้นที่ที่ทําการเก็บขอมูลเปนลักษณะปาเต็งรัง มีพื้นที่ประมาณ 187.2 เฮกเตอร<br />

3.2 การเก็บตัวอยาง<br />

อุปกรณเก็บตัวอยางที่ใชเปนแบบอัตโนมัติโดยใชเครื่องวัดความเขมขนของกาซซัลเฟอรไดออกไซด<br />

(Fluorescence SO 2 Analyzer) ดวยวิธี UV Fluorescence ในการทดลองไดทําการตรวจวัดคาซัลเฟอรไดออกไซด<br />

ที่ความสูง 10 เมตร โดยตั้งชวงการเก็บคาความเขมขนไวที่ 0-50 ppb และที่ระดับ 10 เมตร ไดติดเครื่องวัด<br />

ความเร็วลม (3D Ultrasonic Anemometer) และเครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ ที่ระดับความสูง 8 เมตร ติดตั้งอุปกรณ<br />

ตรวจวัดรังสีสุทธิ (Net Radiation) ลักษณะจุดเก็บตัวอยางจะมีลักษณะดังรูปที่ 1 โดยใชระยะเวลาในการเก็บขอมูล<br />

ใชเวลานาน 6 เดือน ตั้งแตเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม<br />

93


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 จุดเก็บตัวอยาง<br />

3.3 การวิเคราะหตัวอยาง<br />

การวิเคราะหตัวอยางโดยใชเทคนิคเอ็ดดี้โควาเรียนเปนวิธีที่ใชคาความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลง<br />

ของความเร็วลมในแนวดิ่ง (w) และความเขมขนของสารมลพิษ (c) สามารถคํานวณไดจากสมการที่ (1)<br />

F = (1)<br />

เมื่อ F = ฟลักซ (ng/cm 2 /s)<br />

= คาความเขมขนที่มีการเปลี่ยนแปลงในเวลาสั้น (ng/cm 3 )<br />

= คาลมที่มีการเปลี่ยนแปลงในเวลาสั้น (cm/s)<br />

คาความเขมขนที่มีการเปลี่ยนแปลงในเวลาสั้น ( ) สามารถคํานวนไดจากสมการที่ (2)<br />

= C - (2)<br />

เมื่อ C = คาความเขมขนของกาซเวลาใดเวลาหนึ่ง (ng/cm 3 )<br />

= คาเฉลี่ยความเขมขนของกาซ (ng/cm 3 )<br />

คาลมที่มีการเปลี่ยนแปลงในเวลาสั้น สามารถคํานวณไดจากสมการที่ (3)<br />

= W - (3)<br />

เมื่อ W = คาความเร็วของลมเวลาใดเวลาหนึ่ง (cm/s)<br />

94


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

= คาความเร็วของลมเฉลี่ย (cm/s)<br />

ซึ่งฟลักซของการตกสะสมของกรด คือ จํานวนของสารมลพิษที่เคลื่อนที่ตกลงมาบนพื้นที่แหลงรองรับตอ<br />

หนวยเวลา โดยพิจารณาจากการตกสะสมของอนุภาค ไอหรือกาซ โดยคาอัตราการตกสะสมแหง (Dry deposition<br />

rate) จะหมายถึงคาฟลักซของการตกสะสมแหง (Dry deposition flux: F d ) หรือความเร็วของการตกสะสมแหง (V d )<br />

ดังสมการที่ (4)<br />

V d = -F/C avg [cm/s] (4)<br />

4. ผลและวิจารณผลการทดลอง<br />

เมื่อ V d = ความเร็วในการตกของกาซ [cm/s]<br />

F = คา Flux ของกาซ [ng/cm 2 /s]<br />

C avg = ความเขมขนเฉลี่ยของกาซที่สภาวะมาตรฐาน [ng/cm 3 ]<br />

4.1 ผลการวิเคราะหความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศ<br />

คาความเขมขนเฉลี่ยกาซซัลเฟอรไดออกไซดในรูปที่ 2 เปนการเก็บรวบรวมขอมูลคาเฉลี่ยรายชั่วโมง<br />

จากการเก็บขอมูลเปนระยะเวลา 6 เดือน พบวา คาเฉลี่ยความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซดมีคาเทากับ 0.9 1.1<br />

0.8 1.1 1.4 และ 2.0 ppb ในเดือน สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม ตามลําดับ และ<br />

คาความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซดเดือนสิงหาคม กันยายน และตุลาคม ซึ่งเปนฤดูฝนมีคาความเขมขนต่ํากวา<br />

ในชวงฤดูหนาว คือเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม เนื่องจากน้ําฝนไดชะกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ลอย<br />

อยูในบรรยากาศ และกาซซัลเฟอรไดออกไซดสามารถละลายในน้ําไดดีจึงมีผลใหกาซซัลเฟอรไดออกไซดในหนา<br />

ฝนมีความเขมขนต่ํากวาในฤดูกาลอื่น<br />

รูปที่ 2 ความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศ<br />

95


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 ผลการวิเคราะหคาฟลักซของกาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศ<br />

ฟลักซของการตกสะสมของสารกรด คือ จํานวนของสารมลพิษที่เคลื่อนที่ตกลงมาบนพื้นที่แหลงรองรับตอ<br />

หนวยเวลา จากการประเมินคาฟลักซกาซซัลเฟอรไดออกไซดโดยใชเทคนิคเอ็ดดี้โควาเรียนพบวาฟลักซของกาซ<br />

ซัลเฟอรไดออกไซด มีแนวโนมสูงในเวลากลางวัน เนื่องจากอิทธิพลของความปนปวนของลมในแนวดิ่ง รังสีสุทธิ<br />

และความชื้นสัมพัทธ [2, 3, 5] จากรูปที่ 3 พบวาคาเฉลี่ยฟลักซสูงสุดในเวลากลางวันมีคาเทากับ 15.15 17.56<br />

18.92 19.69 21.24 และ 22.16 ng/cm 2 /s ในเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม<br />

ตามลําดับ<br />

รูปที่ 3 คาเฉลี่ยฟลักซ<br />

4.3 ผลการวิเคราะหคาความเร็วในการตกสะสมของกาซซัลเฟอรไดออกไซด<br />

ความเร็วในการตกสะสมของกาซซัลเฟอรไดออกไซดเปนคาที่บงบอกถึงความเร็วที่มลพิษตกลงมายัง<br />

พื้นที่ที่ทําการศึกษา จากรูปที่ 4 พบวา คาเฉลี่ยความเร็วการตกสะสมสูงสุดชวงกลางวันมีคาเทากับ1.23 0.81 0.96<br />

0.9 0.57 และ 0.56 cm/s ในเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม ตามลําดับ<br />

รูปที่ 4 คาเฉลี่ยความเร็วในการตกสะสม<br />

96


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.4 ผลการวิเคราะหคาที่มีผลตอความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซด คาฟลักซ และคาความเร็วในการ<br />

ตกสะสมแบบแหง<br />

รูปที่ 5 คาเฉลี่ยความชื้นสัมพัทธ<br />

รูปที่ 6 คาเฉลี่ยความเร็วลมในแนวดิ่ง<br />

97


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 7 คาเฉลี่ยรังสีสุทธิ<br />

คาอุณหภูมิ และรังสีสุทธิในชั้นบรรยากาศเปนคาที่มีอิทธิพลตอคาฟลักซ คาฟลักซจะมีคาสูงในชวง<br />

กลางวัน และจะมีคาต่ําในชวงกลางคืน [2, 3] จากอิทธิพลจาก อุณหภูมิ และรังสีสุทธิ เพราะถาหากคารังสีสุทธิสูง<br />

อุณหภูมิก็จะสูงตามไปดวย เมื่ออุณหภูมิสูงคาความกดอากาศจะต่ํา และเมื่อความกดอากาศต่ําจะทําใหมวลอากาศ<br />

เบาสงผลใหการกระจายตัวมวลสารในบรรยากาศ (Mixing height) สูงทําใหมลพิษสามารถกระจายมวลในอากาศได<br />

ดี ในขณะที่อุณหภูมิต่ําความกดอากาศจะสูงทําใหมวลอากาศกดลงมา ทําใหเกิดการสะสมของมลพิษในระดับที่สูง<br />

ดังนั้นจึงทําใหกาซซัลเฟอรไดออกไซดมีความเขมขนสูงในชวงที่มีอุณหภูมิต่ํา<br />

เมื่อทําการเปรียบเทียบระหวางคาฟลักซ และความชื้นสัมพัทธ ระหวางรูปที่ 2 และ 5 พบวาความชื้น<br />

สัมพัทธมีอิทธิพลตอความเขมขนของกาซซัลเฟอรไดออกไซด เนื่องจากกาซซัลเฟอรไดรออกไซดสามารถละลาย<br />

น้ําไดดี เมื่อรวมตัวกับน้ําเปนกรดซัลฟูริค (H 2 SO 4 ) ดังนั้นถาในชั้นบรรยากาศมีความชื้นมากจะทําใหกาซซัลเฟอร<br />

ไดออกไซดเปลี่ยนรูปไปเปนกรดซัลฟูริคจึงทําใหคาความเขมขนกาซซัลเฟอรไดออกไซดลดลง และจะสงผลทําให<br />

คาฟลักซต่ําลงไปดวย<br />

5. สรุปผลการทดลอง<br />

จากการศึกษาคาฟลักซและความเร็วในการตกสะสมของกาซซัลเฟอรไดออกไซดดวยเทคนิคเอ็ดดี้โควา<br />

เรียน พบวาคาคาฟลักซและความเร็วในการตกสะสมจะมีคาสูงในชวงกลางวันและจะมีคาต่ําในเวลากลางคืน โดย<br />

คาที่มีอิทธิพลตอคาฟลักซและความเร็วในการตกสะสมแบบแหงคือคาความเร็วลมในแนวดิ่ง และรังสีสุทธิซึ่งคาทั้ง<br />

สองตัวจะมีอิทธิพลในชวงกลางวันคือคาทั้งสองจะสูงสุดในชวงกลางวันและจะคอยๆลดลงเมื่อความเขมของแสง<br />

ลดลงในชวงบาย สวนคาความชื้นสัมพัทธจะมีคาต่ําสุดในชวงกลางวันจึงเปนอีกตัวหนึ่งที่เปนตัวบงบอกวาคาฟลักซ<br />

มีนอยในชวงฤดูฝน และจะมีมากในชวงฤดูหนาว คาความเร็วในการตกสะสมแบบแหงจะสูงในชวงฤดูฝนและจะต่ํา<br />

ในชวงฤดูหนาว<br />

98


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- [1] Erisman, J.W., Draaijers, G.P.J., 1995, Atmospheric deposition in relation to<br />

acidification and eutrophication. Studies in Environmental Science 63, 55–75.<br />

- [2] Jitto, P, Vinitnantarat S. and Khummongkol, P., 2007, Dry deposition velocity of<br />

sulfur dioxide over rice paddy in the tropical region, Atmospheric research, vol. 85, pp.<br />

140 – 147.<br />

- [3] Matsuda K., et. al., 2006, “Deposition velocity of O 3 and SO 2 in the dry and wet<br />

season above a tropical forest in northern Thailand”, Atmospheric Environment, Vol. 40,<br />

pp. 7557-7564.<br />

- [4] กรมควบคุมมลพิษ, 2543, สารกรดในบรรยากาศมลพิษไรพรมแดน, สํานักจัดการคุณภาพ<br />

อากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ, กรุงเทพ, หนา 1-15<br />

- [5] ธิดารัตน แกวประสงค และ พจนีย ขุมมงคล, ผลของอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธและปริมาณ<br />

การจราจรตอความเขมขนของสารกรดในบรรยากาศบริเวณการจราจรหนาแนน, วารสารวิจัย<br />

และพัฒนา มจธ. ปที่ 30 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2550, pp. 641-647.<br />

- [6] สิริกัลยา สุวจิตรานนท, พัฒนา มูลพฤกษ และธํารงรัตน มุงเจริญ, 2541, การปองกันและ<br />

ควบคุมมลพิษ, สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพมหานคร, pp. 144-183.<br />

- [7] แสงเดือน ตระกูลสําราญ, 2551, อิทธิพลของพื้นผิวตอความเร็วของการตกสะสมแบบแหง<br />

ของกาซซัลเฟอรไดออกไซด, วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี<br />

สิ่งแวดลอม คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี.<br />

99


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลดปลอย Carbonaceous Aerosols จากไฟปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในประเทศไทย<br />

Estimation of Carbonaceous Aerosols Emitted from Dry Dipterocarp Forest and Mixed<br />

Deciduous Forest Fire in Thailand<br />

อุบลวรรณ ไชโย และ สาวิตรี การีเวทย<br />

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

การเกิดไฟปาในประเทศไทย โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือเปนแหลงปลอยมลพิษสูบรรยากาศที่สําคัญ<br />

กอใหเกิดมลภาวะและหมอกควันปกคลุมพื้นที่ที่เกิดไฟปาและยังกอใหเกิดปญหามลพิษขามแดนยังประเทศ<br />

ใกลเคียง และนอกจากนั้นยังสงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางดานภูมิอากาศของโลก (Climate Change) โดยเฉพาะ<br />

มลพิษที่เปนฝุนละออง (Particulate matter, PM) ที่ปลดปลอยจากไฟปา กอใหเกิดผลกระทบตอการมองเห็นและ<br />

ปญหาสุขภาพในระบบทางเดินหายใจที่มีสาเหตุมาจากฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) และ<br />

นอกจากนั้น ฝุนละอองยังมีสวนสําคัญที่เปน Carbonaceous aerosol เปนองคประกอบหลักที่ประกอบดวยอินทรีย<br />

คารบอน (Organic Carbon, OC) และ Black Carbon (BC) โดย OC มีบทบาทตอการทําใหโลกเย็นลงหรือ Global<br />

cooling และ BC มีบทบาทตอการทําใหโลกรอนขึ้นหรือ Global warming ดังนั้นในการศึกษาวิจัยนี้จึงมุงเนนในการ<br />

ตรวจวัดละอองฝุนที่ปลดปลอยจากไฟปาเพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการประเมินหาสัมประสิทธิ์การปลอยมลพิษ โดย<br />

สุมตัวอยางชีวมวลเชื้อเพลิงจากปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ซึ่งปาทั้งสองชนิดนี้เปนชนิดปาที่มีลักษณะเดนและ<br />

ครอบคลุมพื้นที่ในภาคเหนือที่เปนแหลงเกิดไฟปามากที่สุดในประเทศไทย โดยชีวมวลเชื้อเพลิงที่นํามาศึกษาจาก<br />

ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ประกอบดวย ใบไม ตนหญาและไมพุม โดยมีใบไมเปนองคประกอบหลักปกคลุมอยูใน<br />

สัดสวนที่ใกลเคียงกันของทั้งปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ โดยพบวาชีวมวลใบไมปกคลุมในพื้นที่ปาเบญจพรรณ<br />

90-95% และ 70-80% ในปาเต็งรัง เมื่อนํามาเผาเพื่อตรวจวัดปริมาณฝุนละอองที่ปลดปลอยออกมาพบวาลักษณะ<br />

ของสีละอองฝุนบนกระดาษกรองที่ไดจากการเผาไหมชีวมวลปาเต็งรังมีสีเทาดํา สวนปาเบญจพรรณละอองฝุนที่<br />

ปลดปลอยมีสีเหลืองน้ําตาล โดยที่ระยะของการเกิดการเผาไหมแบบเปลวเปนลักษณะเดนในการเผาไหมชีวมวล<br />

เชื้อเพลิงปาเต็งรังซึ่งจะปลดปลอย BC สูบรรยากาศในปริมาณที่สูงกวา การเกิดการเผาไหมแบบควันที่เปนลักษณะ<br />

เดนในการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจพรรณซึ่งจะปลดปลอย BC สูบรรยากาศในปริมาณที่นอยกวา โดยมี<br />

องคประกอบคารบอนรวมทั้งหมดจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณอยูประมาณ 55.5% และ<br />

60.2% ตามลําดับ และมีปริมาณ BC ที่ประเมินจากสวนตางของคารบอนรวมทั้งหมดในละอองฝุนและคารบอน<br />

อินทรียจากสมการ มีอยูประมาณ 49.3% และ 48.5% ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: Carbonaceous aerosols ฝุนละออง ปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ไฟปา<br />

100


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

The forest fire in Thailand particularly in the northern has a source of significant emissions into<br />

the atmosphere. Cause pollution and smog covered the fire area and causing pollution in the nearby<br />

border. And also affect changes in global climate, especially in the pollution is Particulate matter (PM)<br />

released from forest fires. Causing impact on visibility and health problems in the respiratory system<br />

caused by particulates smaller than 2.5 micrometers (PM2.5) and also PM are contributed carbonaceous<br />

aerosol is contained Organic Carbon (OC) and Black Carbon (BC). OC and BC are play role the global<br />

cooling and global warming, respectively. So the aim of this study focuses on measurement PM emitted<br />

from forest fire for to be used to evaluate the coefficient data of emissions. The biomass fuel samples are<br />

included dry dipterocarp forest (DDF) and mixed deciduous forest (MDF). Both of forest types are a<br />

dominant forest type and coverage in the north where is the most area occurred forest fires in Thailand.<br />

The biomass fuels characterization from DDF and MDF are as grasses, leaves and shrubs. Leaves are<br />

the main component covered in a similar proportion of the DDF and MDF. The estimation of biomass<br />

fuels are as leaves about 90-95% and 70-80% covered in MDF and DDF, respectively. PM emitted from<br />

DDF biomass burning showed that the color on quarts filter is dark gray. On the other hand, a color of<br />

PM collected from MDF biomass burning is yellow brown. The flaming phase dominant in DDF biomass<br />

burning is releases a higher BC concentration into the atmosphere. In contrast of smoldering phase<br />

dominant in MDF biomass burning is releases a lower BC concentration into the atmosphere. The total<br />

carbon (TC) is obtained from DDF and MDF biomass burning are about 55.5% and 60.2%, respectively.<br />

However, BC component of PM collected from DDF and MDF biomass burning is estimated from the<br />

difference of the TC and OC are about 49.3% and 48.5%, respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

พื้นที่ที่เกิดไฟปาเปนแหลงปลดปลอยมลพิษสูบรรยากาศ โดยมลพิษที่ปลดปลอยไดแก กาซมลพิษ เชน<br />

กาซคารบอนไดออกไซด (CO) กาซคารบอนมอนอกไซด (CO 2 ) กาซมีเทน (CH 4 ) เปนตน และมลพิษที่อยูในรูป<br />

ของฝุนละออง (Particulate matter) ซึ่งเปน อนุภาคที่แขวนลอยอยูในอากาศมีสถานะเปนของแข็งและละออง<br />

ของเหลว มีขนาดตางๆ กัน โดยทั่วไปมีขนาดไมเกิน 100 ไมครอน กอใหเกิดผลกระทบดานตางๆ มากมาย เชน<br />

ผลกระทบตอสุขภาพ การมองเห็นทําใหเกิดอุบัติเหตุในการคมนาคมทั้งทางบกและอากาศ เปนตน สําหรับฝุน<br />

ละอองขนาดเล็กประกอบดวยฝุนละอองที่มีขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (≤ PM10) โดย PM10 หรือ Course Particle<br />

มีขนาด 2.5 - 10 ไมครอน และ PM2.5 หรือ fine particle มีขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (USEPA, United state<br />

Environmental Protection Agency) ซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพในระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้มลพิษที่เกิดจาก<br />

การเผาไหมเชื้อเพลิงและมวลชีวภาพ เชน SO 2 , NO x และสาร VOC จะทําปฏิกิริยากับสารอื่นๆ ที่กระจายตัวอยูใน<br />

บรรยากาศกอใหเกิดการรวมตัวเปนฝุนขนาดเล็กและสงผลกอใหเกิดอิทธิพลตอการดูดซับพลังงานความรอนจาก<br />

ดวงอาทิตยสะสมไวในชั้นบรรยากาศ ทําใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศโลก โดยเฉพาะใน<br />

ภูมิภาคเอเชียที่มีสถิติการเกิดไฟปาในแตละปเปนบริเวณที่คอนขางกวางกอใหเกิดปญหาหมอกควันและมลพิษขาม<br />

แดนยังประเทศเพื่อนบานใกลเคียงกันและเปนที่มาของสนธิสัญญาขอตกลงระหวางประเทศ ในประเทศไทยก็<br />

เชนเดียวกัน การเกิดไฟปาในชวงฤดูแลงคือชวงเดือน มกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ซึ่งชีวมวลเชื้อเพลิงที่สะสมปก<br />

101


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คลุมอยูบนพื้นดินอยูในสภาวะที่เหมาะสมกับการลุกไหมไดเปนอยางดี พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยเปนพื้นที่ที่<br />

ประสบปญหาไฟปามากที่สุดของประเทศ จากสถิติพื้นที่ปาที่ถูกไฟไหมเฉลี่ยในป พ.ศ. 2550-2551 ประมาณ<br />

6,702.08 เฮกตาร (www.dnp.go.th/forestfire/stat41_51.xls) โดยมีชนิดของปาเต็งรังและปาเบญจพรรณเปนปาที่<br />

มีลักษณะเดนและมีพื้นที่ครอบคลุมมากที่สุดของพื้นที่ดังกลาว และมีชีวมวลเชื้อเพลิงเฉลี่ยในพื้นที่ปาเต็งรัง<br />

ประมาณ 3.83 ตันตอเฮกตาร และในปาเบญจพรรณมีปริมาณเชื้อเพลิงเฉลี่ยประมาณ 4.76 ตันตอเฮกตาร<br />

ตามลําดับ (สาวิตรี การีเวทย และคณะ, 2551) และในป 2551 มีปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก PM10 ที่ประเมินจาก<br />

สถิติไฟปาในปริมาณ 672 ตัน ซึ่งในสวนของมลพิษที่ปลดปลอยสูบรรยากาศจากแหลงที่เกิดไฟปาในประเทศไทย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่ง สวนขององคประกอบคารบอนในฝุน (Carbonaceous Aerosols) ที่ประกอบดวยอินทรีย<br />

คารบอนหรือ Organic Carbon (OC) และ Black Carbon (BC)<br />

ในการศึกษานี้ไดดําเนินการเก็บละอองฝุนจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงตัวอยางจากปาเต็งรังและปา<br />

เบญจพรรณเพื่อประเมินปริมาณฝุนโดยใช Gravimetric method บนกระดาษกรองฝุนและองคประกอบคารบอนใน<br />

ละอองฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในประเทศไทย โดยละอองฝุน<br />

ดังกลาวมี Carbonaceous aerosols ซึ่งประกอบดวยอินทรียคารบอน หรือ OC และ BC เปนองคประกอบ โดย<br />

OC มีบทบาทในสวนของการกระจายแสงทําใหโลกเย็นลง (Global cooling) และในทางตรงกันขาม BC มีบทบาท<br />

ตอการทําใหโลกรอนขึ้น (Global warming) ซึ่งเกิดจากการดูดซับความรอนไวในบรรยากาศที่มีองคประกอบของ<br />

ฝุนกระจายตัวสะสมอยูสงผลใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางดานภูมิอากาศ [Ho และคณะ (2003),<br />

Andreae และคณะ (2005)] ในพื้นที่ที่เกิดไฟปาและสงผลใหเกิดการเคลื่อนที่ในบรรยากาศเปนปญหาที่ตอเนื่องจาก<br />

ปญหาหมอกควันขามแดนที่สงผลกระทบตอประเทศอื่นๆ จนถึงระดับโลกในที่สุด ซึ่งในประเทศไทยยังขาดแคลน<br />

ขอมูลและมีขอจํากัดในวิธีและขั้นตอนการประเมินมลพิษที่ปลดปลอยจากการเกิดไฟปา เพื่อนํามาใชเชื่อมโยงถึง<br />

ผลกระทบในดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากอัตราการปลอยที่จะนําไปสูการจัดการและการควบคุมเชิง<br />

นโยบายในระดับประเทศได<br />

บทความนี้แบงออกเปน 3 สวน โดยในสวนที่ 1 ไดอธิบายรายละเอียดระเบียบวิธีการวิจัย สวนที่ 2<br />

กลาวถึงการนําเสนอผลการศึกษาและอภิปรายผลและในสวนที่ 3 คือสวนของบทสรุปและขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุง<br />

การศึกษาในอนาคต<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อประเมินปริมาณฝุน (PM) และองคประกอบคารบอนฝุน (Carbonaceous aerosols) ที่ปลดปลอยจาก<br />

การเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในประเทศไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ขอบเขตของการศึกษาวิจัยหัวขอนี้ไดประยุกตขึ้นมาจากพื้นฐานสมการความสัมพันธระหวางปริมาณกาซ<br />

มลพิษที่ถูกปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงและสัมประสิทธิ์การระบายมลพิษทางอากาศ โดยเขียน<br />

ความสัมพันธไดดังนี้<br />

E = M x EF (1)<br />

102


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยที่ E คือ ปริมาณกาซมลพิษที่ถูกปลดปลอยจากการเกิดไฟปา (กรัม) M คือ ปริมาณชีวมวลเชื้อเพลิงที่<br />

ถูกเผา (กรัม) และ EF คือ คาสัมประสิทธิ์การระบายมลพิษทางอากาศ (กรัมตอกิโลกรัมของเชื้อเพลิงแหงที่ถูกเผา)<br />

ซึ่งในการดําเนินการตรวจวัด E เพื่อศึกษาปริมาณคารบอนในฝุนละอองที่ปลอยจากไฟปาในประเทศไทย<br />

ในสวนของชีวมวลเชื้อเพลิงที่ถูกเผา (M) ยังมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการเผาไหมที่มีตอความ<br />

หนาแนนของชีวมวลเชื้อเพลิงในพื้นที่ปาที่ถูกไฟเผาดังนี้<br />

M = A x B x C (2)<br />

เมื่อ A คือ พื้นที่ปาที่ถูกเผา B คือ ความหนาแนนของชีวมวลเชื้อเพลิงในปา และ C คือ ประสิทธิภาพการเผาไหม<br />

3.1 การเก็บตัวอยางชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ<br />

ชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดดําเนินการสุมเก็บตัวอยางจากปา<br />

ในเขต ตําบลสุเทพ ซึ่งเปนเขตรับผิดชอบของศูนยปฏิบัติการไฟปาเชียงใหม โดยมีขนาดพื้นที่สุมเพื่อที่จัดเก็บ<br />

ตัวอยางชีวมวลเชื้อเพลิงขนาด 1 ตารางเมตร และนํามาคัดแยกองคประกอบของชีวมวลเชื้อเพลิงที่ครอบคลุมอยูใน<br />

พื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร ที่ไดดําเนินการจัดเก็บ ประกอบดวย ใบไม กิ่งกาน ตนหญา และไมลมลุก หลังจากนั้นนํา<br />

ชีวมวลเชื้อเพลิงมาผสมรวมกันกอนเพื่อแบงชีวมวลสวนหนึ่งไปใชในการดําเนินการหาปริมาณความชื้นชีวมวล<br />

เชื้อเพลิงรวมและอีกสวนหนึ่งนําไปใชเปนตัวอยางชีวมวลเชื้อเพลิงสําหรับเผาเพื่อศึกษาการปลอยมลพิษ<br />

3.2 องคประกอบของชีวมวลปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ<br />

ความชื้นเฉลี่ยของชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่ใชในการเผาไหมเพื่อศึกษามลพิษละออง<br />

ฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาไหมมีคา 8.2% และ 6.5% ตามลําดับ โดยชีวมวลเชื้อเพลิงดังกลาวไดเก็บจากพื้นที่<br />

ขนาด 1 ตารางเมตร เพื่อนํามาวิเคราะหองคประกอบและสัดสวนการปกคลุม ดังตาราง1<br />

เต็งรัง<br />

เบญจพรรณ<br />

รูปที่ 1 ลักษณะชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณจากพื้นที่ปาในเขตตําบลสุเทพ จังหวัด<br />

เชียงใหม<br />

103


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 องคประกอบของชีวมวลจากปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในพื้นที่สุมตัวอยางขนาด 1 ตาราง<br />

เมตร<br />

ลักษณะชีวมวล<br />

องคประกอบชีวมวล (% การปกคลุม)<br />

ปาเต็งรัง<br />

ปาเบญจพรรณ<br />

ใบไม 70-80 90-95<br />

กิ่งกาน 2-5 2-5<br />

ตนหญา 2-5 2-5<br />

ไมพุม 5-10 1-2<br />

3.3 การเผาชีวมวลเชื้อเพลิง<br />

นําตัวอยางชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณในปริมาณแหลงละ 200 กรัม มาดําเนินการเผาใน<br />

สภาวะแบบเปด เพื่อเก็บละอองฝุนตั้งแตเริ่มเผาจนกระทั่งไมหลงเหลือควันจากการเผาถือวาสิ้นสุดการเผาแลว<br />

ทําซ้ําในชีวมวลเชื้อเพลิงละ 3 ซ้ํา ของทั้งสองแหลงชีวมวลเชื้อเพลิง ดังรูปที่ 2<br />

กลุมควันจากการเผา<br />

ชีวมวลปา 200 กรัม<br />

ประเมินละอองฝุนบนกระดาษกรองโดย Gravimetric method<br />

ปมดูดอากาศที่อัตราการไหล 5 ลิตร/นาที<br />

พับทบกระดาษกรองฝุนแลวตัดใหมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 mm<br />

นํากระดาษกรองฝุนขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 mm มาบรรจุในกระทงดีบุก (Tin capsule)<br />

วิเคราะหโดยใชเครื่อง OEA โดยเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในชวง 200-950˚C<br />

%Carbon<br />

รูปที่ 2 ขั้นตอนตางๆ ในการเก็บตัวอยางละอองฝุนบนกระดาษกรองฝุนแบบใยแกว (Quartz filter) ที่<br />

ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณโดยใชปมดูดอากาศที่อัตราการ<br />

ไหล 5 ลิตรตอนาที เพื่อวิเคราะหหาองคประกอบคารบอนในละอองฝุนโดยใชเครื่อง<br />

Organic elemental analyzer (OEA)<br />

104


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.4 การตรวจวัดปริมาณละอองฝุน<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ใชการตรวจวัดปริมาณฝุนโดยใชปมดูดอากาศที่อัตราการไหล 5 ลิตรตอนาที นํามาดูด<br />

ควันจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงลงบนกระดาษกรองแบบใยแกว (Quartz Filter) โดยมีสายยางเชื่อมตอปมดูด<br />

อากาศกับหัวเก็บฝุนแบบเปดที่ทําจากวัสดุที่เปนสแตนเลส หลังจากสิ้นสุดการตรวจวัดของแตละครั้งการทดลองนํา<br />

กระดาษกรองที่ผานการกรองฝุนแลวมาตรวจวัดน้ําหนัก (Gravimetric Analysis Method) โดยปริมาณฝุนที่นํามา<br />

ประเมินนั้นไดผานการหักลบจากน้ําหนักกระดาษกรองกอนเก็บฝุน (รูปที่ 2)<br />

3.5 การตรวจวัดองคประกอบคารบอนในตัวอยางฝุน<br />

การตรวจวัดองคประกอบคารบอนในละอองฝุนบนกระดาษกรองที่ผานการตัดใหมีขนาดเสนผาน<br />

ศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร (รูปที่ 2) ซึ่งในการวิเคราะหองคประกอบคารบอนในการศึกษาครั้งนี้ใชเครื่อง Organic<br />

Elemental Analysis (OEA) ยี่หอ Thermo Finnigan รุน EA1112 NC analyzer ที่มีการเชื่อมตอกับ Thermal<br />

Conductivity Detector (TCD) ของเครื่อง Gas Chromatograph (GC) ซึ่งเครื่อง OEA นี้ อาศัยหลักการการเผา<br />

ไหมตัวอยางที่ปอนเขาไปในทอปฏิกรณความรอน (Reactor) ที่กําหนดอุณหภูมิและสภาวะการเผาไหมตัวอยาง<br />

(ตารางที่ 2) ในสภาวะที่มีออกซิเจน โดยมีกาซ CO 2 เปนกาซที่เกิดขึ้นจากการเผาไหมตัวอยางและสามารถประเมิน<br />

หาองคประกอบคารบอนจากพื้นที่ใตกราฟ<br />

ปริมาณคารบอนทั้งหมดที่เปนองคประกอบในฝุนละอองประกอบดวย Black carbon (BC) และ Organic<br />

Carbon (OC) ดังสมการ<br />

TC = BC+OC (3)<br />

โดยที่ TC คือ องคประกอบคารบอนทั้งหมดในฝุนละอองบนกระดาษกรองที่ปลดปลอยจากการชีวมวลเชื้อเพลิงซึ่ง<br />

ไดจากการวิเคราะหดวยเครื่อง OEA ในสภาวะอุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส<br />

OC คือ Organic Carbon เปนองคประกอบคารบอนอินทรียในฝุนละอองบนกระดาษกรองที่ปลดปลอยจากการเผา<br />

ไหมชีวมวลเชื้อเพลิงที่วิเคราะหในสภาวะอุณหภูมิต่ํากวา 650 องศาเซลเซียส<br />

BC คือ Black carbon องคประกอบคารบอนในฝุนที่วิเคราะหในสภาวะ อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส หรือ ปริมาณ<br />

คารบอนในฝุนที่ไดจากผลตางของปริมาณคารบอนทั้งหมด (TC) ที่วิเคราะหในสภาวะอุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส<br />

หักลบดวยปริมาณ OC<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ลักษณะของฝุนละอองจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ<br />

ชีวมวลเชื้อเพลิงทั้งสองแหลงปาถูกเผาในสภาวะของการเผาในที่โลง โดยมีอัตราการเผาไหมชีวมวล<br />

เชื้อเพลิงเฉลี่ย 2-5 นาที ในชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและ 5-10 นาที ในชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจพรรณ โดยมีระยะ<br />

การเผาไหมที่เดนชัดของการเกิดเปลวในชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังในทางตรงกันขามกับชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจ<br />

พรรณที่มีการเกิดควันเปนลักษณะเดน ซึ่งการเผาไหมชีวมวลจากปาเต็งรังที่มีการเผาแบบระยะของการเกิดเปลว<br />

เปนลักษณะเดนนั้นเปนสภาวะที่กอใหเกิดการเผาที่เกิดในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูงและการเผาไหมคอนขางเปนการ<br />

เผาไหมแบบสมบูรณ<br />

การประเมินละอองฝุนบนกระดาษกรองโดยใชปมอากาศที่มีอัตราการไหล 5 ลิตรตอนาที ดูดควันที่เกิด<br />

จากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณตั้งแตเริ่มเผาจนกระทั่งควันจางหายไปเปนอันสิ้นสุดการ<br />

105


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กรองเพื่อเก็บฝุนละอองบนกรดาษกรอง หลังจากนั้นนํากระดาษกรองดังกลาวใสในจานสไลดสําหรับเก็บกระดาษ<br />

กรองเพื่อนําไปบรรจุในตูควบคุมความชื้นเปนระยะเวลา อยางนอย 24 ชั่วโมง กอนที่จะนํามาหาปริมาณฝุนโดยใช<br />

หลักการ Gravimetric Analysis Method ซึ่งเครื่องมือที่ใชในการหาปริมาณฝุนในการศึกษาครั้งนี้เปนเครื่องชั่งแบบ<br />

ตัวเลข 6 ตําแหนง ที่ติดตั ้งไวใชงานในสภาวะที่ไมไดควบคุมสภาวะแวดลอม โดยมีความชื้นภายในหองขณะที่<br />

ดําเนินการชั่งอยูในชวง 60-68% ที่อุณหภูมิขณะชั่งอยูในชวง 23-25 องศาเซลเซียส ซึ่งในสภาวะมาตรฐานได<br />

กําหนดไวที่ชวงความชื้น 39.5-41% และอุณหภูมิอยูในชวง 22-24 องศาเซลเซียส (US EPA, 1988).โดยปริมาณ<br />

ละอองฝุนบนกระดาษกรองเมื่อหักลบจากน้ําหนักกระดาษกรองแลวมีปริมาณละอองฝุนที่ปลดปลอยออกมาจากการ<br />

เผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณโดยเฉลี่ย 0.95 กรัม และ 1.05 กรัม โดยคิดเปนน้ําหนักละออง<br />

ฝุนรวม (TPM) ของปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ 54.29 และ 28.00 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ (ตารางที่<br />

3)<br />

ตารางที่ 2 คุณลักษณะเฉพาะของตัวอยางและสภาวะของเครื ่อง Organic elemental analyzer ที่ใชในการ<br />

วิเคราะหหาปริมาณองคประกอบคารบอนในละอองฝุนบนกระดาษกรอง<br />

Subject<br />

Specification<br />

Sample requirements Substrate: quartz, Pall<br />

Substrate pretreatment: pre-fired at 800˚C for at least 5 h (before<br />

sampling)<br />

Sample size: 0.5 cm 2 punch (uniform deposit)<br />

Sample storage: store room temperature<br />

Analysis time<br />

600-1,200 s (10-20 min)<br />

Detection limit 1%<br />

Carrier gas/flow rate<br />

Helium measurement: 140 mL/min<br />

Helium references: 100 mL/min<br />

Oxygen: 250 mL/min<br />

Oxygen injection time 5 sec<br />

Sample delay<br />

12 sec<br />

รูปที่ 3 ลักษณะสีของละอองฝุนบนกระดาษกรองที่กรองไดจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรัง<br />

และปาเบญจพรรณ<br />

106


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 ปจจัยสําคัญของการประเมินการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ<br />

ปจจัยตางๆ ชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรัง ชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจพรรณ<br />

ปริมาณเชื้อเพลิง (กรัม) 200 200<br />

เวลาที่ใชในการเผาไหม (นาที) 2-5 5-10<br />

ระยะการเผาไหมที่มีลักษณะเดน เปลว ควัน<br />

สีของละอองฝุนบนกระดาษกรอง เทาดํา น้ําตาลเหลือง<br />

น้ําหนักละอองฝุนบนกระดาษกรองโดยเฉลี่ย<br />

0.95 1.05<br />

(มิลลิกรัม)<br />

TPM (mg/m 3 ) 54.29 28.00<br />

4.2 ผลการตรวจวัดปริมาณคารบอนในฝุนละอองจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจ<br />

พรรณ<br />

การประเมินปริมาณคารบอนในละอองฝุนบนกระดาษกรองใชวิธีการวิเคราะหโดยใชอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

ตั้งแต 200-950 องศาเซลเซียส โดยในชวงอุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส ในการศึกษาของ H. Schmid และคณะ<br />

(2001) พบวาเปนอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการวิเคราะหหาปริมาณของ organic carbon ซึ่งในการศึกษาครั ้งนี้มี<br />

ปริมาณองคประกอบคารบอนอินทรียในละอองฝุนนอยกวา 1% ของการปลดปลอยจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปา<br />

เต็งรังและปาเบญจพรรณ และนอกจากนั้น H. Schmid และคณะ (2001) ยังพบวาอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการ<br />

วิเคราะหหา element carbon ที่เหมาะสมคือ 620 และ 700 องศาเซลเซียส เปนการศึกษาของ Watson และคณะ<br />

(2005) ในการศึกษาวิเคราะหเพื่อประเมินหาปริมาณ black carbon ในครั้งนี้ใชอุณหภูมิในชวง 800 องศาเซลเซียส<br />

พบวาปริมาณคารบอนในละอองฝุนปาเต็งรังและปาเบญจพรรณมี่คาประมาณ 50.2% และ 56.5% ตามลําดับ และ<br />

ปริมาณคารบอนรวมที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส มีปริมาณคารบอนทั้งหมดในฝุนละอองบนกระดาษกรองที่<br />

ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณประมาณ 55.5% และ 60.2% ตามลําดับ<br />

ดังผลการศึกษาที่แสดงไวในตาราง 4 ซึ่งสอดคลองกับสมการความสัมพันธระหวางปริมาณคารบอนทั้งหมดในฝุน<br />

ละอองที่มีคารบอนอินทรีย (OC) และ BC เปนองคประกอบ เมื่อคํานวณหาปริมาณ BC จากความสัมพันธดังกลาว<br />

พบวาปริมาณ BC ที่เปนองคประกอบอยูในฝุนละอองจากการเผาชีวมวลปาเต็งรังและปาเบญจพรรณมี่คาประมาณ<br />

49.3 และ 48.5% ตามลําดับ ซึ่งในสวนของการตรวจวัดโดยใชอุณหภูมิ (Thermal technique) มีขอจํากัดในสวน<br />

ของการไหมเกรียม (Char) ขององคประกอบที่เปน OC เปลี่ยนไปเปน BC ในชวงอุณหภูมิที่สูงกวา 700 องศา<br />

เซลเซียส สงผลใหมีปริมาณ BC ที่วัดไดมี่ทั้งที่เกิดจาก BC สวนที่เปลี่ยนมาจาก OC และ BC ที่เกิดจากตัวอยางที่<br />

ไดจากการเผาไหมชีวมวลโดยตรง ทําไห BC มีปริมาณที่สูงเกินจริง (Hadley และคณะ 2008)<br />

ตารางที่ 4 องคประกอบคารบอนในละอองฝุนบนกระดาษกรองที่ปลดปลอยจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิง<br />

ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่ใชอุณหภูมิการวิเคราะหอยูในชวง ~200-950˚C<br />

ชีวมวล องคประกอบคารบอนในละอองฝุน (%)<br />

200˚C 300˚C 400˚C 500˚C 600˚C 650˚C 700˚C 800˚C 900˚C 950˚C<br />

ปาเต็งรัง


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

องคประกอบคารบอนในละอองฝุน (%) ไดจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่เกิดจาก<br />

การทดสอบการเผา 3 การทดสอบ<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ลักษณะละอองฝุนบนกระดาษกรองที่ไดจากการเผาชีวมวลปาเต็งรังและปาเบญจพรรณขึ้นอยูกับ<br />

คุณสมบัติของการเผาไหมที่มีลักษณะเปลวและควันเปนลักษณะเดน โดยในการเผาไหมชีวมวลปาเต็งรังมีลักษณะ<br />

เดนของการเกิดเปลวทําใหละอองฝุนบนกระดาษกรองมีสีเทาดําซึ่งเปนตัวบงชี้วามีการปลดปลอย BC ออกมาใน<br />

ปริมาณที่เดนชัดกวาการเผาไหมที่มีการเกิดควันเปนลักษณะเดนจากชีวมวลปาเบญจพรรณทําใหละอองฝุนบน<br />

กระดาษกรองที่ตรวจวัดไดมีลักษณะสีเหลืองอมน้ําตาล และนอกจากนั้นชวงเวลาที่เกิดการเผาไหมของชีวมวลที่มี<br />

ระยะเปลวเปนลักษณะเดนจะใชชวงเวลาการเผาไหมที่จะสั้นกวา ปริมาณละอองฝุนที่ปลดปลอยสูบรรยากาศเมื่อ<br />

เทียบระยะเวลาในการตรวจวัดและปริมาตรของอัตราการดูดอากาศจึงสงผลทําให ปริมาณละอองฝุนบนกระดาษ<br />

กรองที่ไดจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ มีคาประมาณ 54.29 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร<br />

และ 28.00 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ<br />

ปริมาณองคประกอบคารบอนอินทรียในละอองฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลปาเต็งรังและปา<br />

เบญจพรรณ มีปริมาณ 6.2 และ 11.7% ของปริมาณคารบอนทั้งหมดในฝุน ตามลําดับ และปริมาณ BC ในละออง<br />

ฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ โดยการประเมิน BC จากสวนตางของ<br />

คารบอนทั้งหมด (TC) และคารบอนอินทรีย (OC) พบวามี BC ปริมาณ 49.3 และ 48.5% ในละอองฝุนที่ปลดปลอย<br />

จากการเผาไหมชีวมวลปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ตามลําดับ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบถึงลักษณะสีของละอองฝุนและ<br />

ระยะเดนของการเผาไหมแบบเปลวและแบบควัน บงชี้วาปริมาณ BC จากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเต็งรังมีการ<br />

ปลดปลอยออกมามากกวาและเดนชัดกวาจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจพรรณ แตปริมาณ BC จากสวน<br />

ตางที่ประเมินไดมีคาที่ใกลเคียงกันนั้นเนื่องมาจากสาเหตุของสภาวะการไหมเกรียมของอินทรียคารบอนที่เกิดขึ้นใน<br />

การตรวจวัดดวยเทคนิคการใชอุณหภูมิ (Thermal technique) ที่สงผลใหมีการเปลี่ยนคุณสมบัติทางเคมีของอินทรีย<br />

คารบอนไปเปน BC (Hadley และคณะ 2008) จึงทําใหปริมาณ BC ในละอองฝุนจากการเผาไหมชีวมวลปาเบญจ<br />

พรรณมี่คาใกลเคียงกันกับละอองฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลปาเต็งรัง ซึ่งคา BC ที่ประเมินไดในละออง<br />

ฝุนจากการเผาชีวมวลเชื้อเพลิงปาเบญจพรรณที่ 48.5% เปนปริมาณที่ไดจากอินทรียคารบอนที่ตรวจวัดไดเปลี่ยน<br />

รูปไปเปน BC และ BC ที่อยูในละอองฝุนที่ปลดปลอยจากการเผาไหมชีวมวลเชื้อเพลิงโดยตรง<br />

เพื่อยืนยันปริมาณ BC ที่ตรวจวัดไดใหมีความแมนยําและเปนการปองกันสาเหตุที่จะทําใหอินทรีย<br />

คารบอนมีการเปลี่ยนคุณสมบัติทางเคมีไปเปน BC จากอุณหภูมิที่ใชในการวิเคราะห อาจทําการเปรียบเทียบ<br />

วิธีการหรือเทคนิคการตรวจวัดแบบอื่นๆ เชน ตรวจวัดแบบ Optical techcnique โดยใช Aethalometer ซึ่งใช<br />

หลักการดูดซับและสะทอนแสงที่ตกกระทบบนพื้นผิวตัวอยาง<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Andreae, M. O., Jones, C. D., Cox, P. M., (2005). Strong present-day aerosol cooling<br />

implies a hot future. Nature 435 (7046), pp 1187-1190.<br />

- Engling, G., Herckes, P., Kreidenweis, S. M., Malm, W.C., and Collet Jr. J. J., (2006).<br />

Composition of the fine organic aerosol in Yosemite National Park during the 2002<br />

Yosemite Aerosol Characterization Study. Journal of Atmospheric Environment. (40),<br />

108


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

pp 2959-2972.<br />

- Fisseha, R., Saurer, M., Jäggi, M., Siegwolf, R.T.W., Dommen, J., Szidat, S.,<br />

Samburova, V., and Baltensperger, U., (2009). Determination of primary and<br />

secondary sources of organic acids and carbonaceous aerosols using stable carbon<br />

isotopes. Journal of Atmospheric Environment. (43), pp 431-437.<br />

- Geron, C., (2009). Carbonaceous aerosol over a Pinus taeda forest in Central North<br />

Carolina, USA. Journal of Atmospheric Environment. (43), pp 9959-969.<br />

- Ho, K. F., Lee, S. C., Chan, C. K., Yu, J. C., Chow, J. C., and Yao, X.H., (2003).<br />

Characterization of chemical species in PM2.5 and PM10 aerosols in Hong Kong.<br />

Journal of Atmospheric Environment 38, pp 1795-1800.<br />

- Hadley, O. L., Corrigan, C. E., and Kichstetter, T. W. (2008). Modified Thermal-optical<br />

analysis using spectral absorption selectivity to distinguish black carbon from pyrolized<br />

organic carbon. Journal of Environmental Science and Technology. (42), pp 8459-8464.<br />

- Operating Manual (2001). Eager 300 Software for FlashEA TM 1112-USB-A/D.<br />

Published by TMF-Milan, Technical Publications, Strada Rivoltana 20090 Rodano-<br />

Milan.<br />

- Schmidl, C., Buer, H., Dattler, A., Hitzenberger, R., Weissenboek, G., Marr, I. L. and<br />

Puxbaum, H. (2008). Chemical characterization of particle emissions from burning<br />

leaves. Journal of Atmospheric Environment. 42, pp 9070-9079.<br />

- US EPA. PM 2.5 mass sampling weighing laboratory standard operating procedure for<br />

the performance evaluation program, 1988.<br />

- กรมปาไม. (2553). เขาถึงขอมูลไดจาก http://www.forest.go.th<br />

- สาวิตรี การีเวทย และคณะ. (2551). การติดตามและประเมินการปลอยมลพิษทางอากาศจาก<br />

ไฟปาในภาคเหนือของประเทศไทย, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ประจําป<br />

งบประมาณ 2550.<br />

- สวนควบคุมไฟปา สํานักปองกัน ปราบปรามและควบคุมไฟปา กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา<br />

และพันธุพืช เขาถึงขอมูลไดจาก www.dnp.go.th/forestfire/stat41_51.xls<br />

109


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: ภาคพลังงาน<br />

(Session II Greenhouse Gas Mitigation: Energy<br />

Sector)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนผลิตผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส<br />

Greenhouse Gas Emission from Production of Polyolefins Products<br />

นพวรรณ สุนทรโชติ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

สายวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนสที่ขึ้นรูปดวย<br />

วิธีการฉีดและวิธีการเปา เพื่อหาแนวทางในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยศึกษาวิธีการขึ้นรูปขวดและฝา<br />

พลาสติก พอลิพรอพิลีน (PP) และ พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง (HDPE) ดวยวิธีการเปาและฉีด ปริมาณการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกคํานวณตั้งแตการผลิตเม็ดพลาสติก(Cradle to Gate) โดยเก็บขอมูลจากกระบวนการผลิต<br />

เปนเวลา 3 เดือนและใชฐานขอมูล SimaPro 7.1 และการนําเม็ดพลาสติกมาขึ้นรูปจนไดผลิตภัณฑ (Gate to Gate)<br />

ผลการศึกษาพบวา พลังงานหลักที่ใชในกระบวนการผลิตคือ พลังงานไฟฟา โดยมีอัตราการใชไฟฟาเฉลี่ยในการ<br />

เปาขึ้นรูป PP เทากับ 9.41 kWh/kg, HDPE เทากับ 7.10 kWh/kg ในขณะที่การฉีดขึ้นรูป PP และ HDPE มี<br />

การใชไฟฟา 0.49 และ 0.46 kWh/kg ผลของการคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาตั้งแตการผลิต<br />

เม็ดจนถึงการขึ้นรูปผลิตภัณฑ โดยใชโปรแกรม SimaPro7.1 ในรูปของปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

(kg CO 2 -Eq.) พบวา การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปาขึ้นรูปขวด PP และ HDPE มีคา 10.67 ±0.32 และ<br />

7.85 ±0.2 kg CO 2 -Eq./ kg โดยการฉีดขึ้นรูปฝา PP และ HDPE เทากับ 2.42 ±0.03 และ 2.30 ±0.02 kg CO 2 -<br />

Eq./ kg เมื่อพิจารณาถึงสัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกของการขึ้นรูปแบบเปาพบวาปริมาณกาซเรือนกระจก<br />

สวนใหญ รอยละ 75 มาจากการใชไฟฟาในขั้นการผลิตโดยสามในสี่มาจากสวนของ Air Compressor ในขณะที่<br />

การขึ้นรูปแบบฉีดประมาณรอยละ 80 มาจากเม็ดพลาสติกที่ใชในการขึ้นรูป แนวทางในการลดปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกจากการขึ้นรูปดวยวิธีการเปา ไดแก การปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ มีความคุมคาทาง<br />

เศรษฐศาสตรที่ระยะเวลาคุมทุนประมาณ 5 เดือน สวนการเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศใหมจะสามารถลดปริมาณกาซ<br />

เรือนกระจกไดมากกวา แตมีระยะเวลาคุมทุนประมาณ 1 ป 4 เดือน<br />

คําสําคัญ: การปลอยกาซเรือนกระจก การเปาพลาสติก การฉีดพลาสติก พอลิพรอพิลีน พอลิเอทิลีนชนิดความ<br />

หนาแนนสูง<br />

Abstract<br />

The objectives of this research are to study the greenhouse gas emission from the production of<br />

polyolefins products and to suggest the mitigation options for greenhouse gas emission. This study<br />

focuses on blow molding and injection molding of Polypropylene (PP) and High Density Polyethylene<br />

(HDPE) bottles and its cover. The data was collected for 3 months from a plastic processing plant. The<br />

111


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

greenhouse gas emission was calculated from production of plastic resin (Cradle-to-Gate) and processing<br />

of plastic products (Gate-to-Gate) by using SimaPro7.1 database. The results indicated that electricity is<br />

the major contribution to greenhouse gas emission. The PP and HDPE blow molding consumed 9.41 and<br />

7.10 kWh/kg, respectively. While the PP and HDPE injection molding consumed 0.49 and 0.46 kWh/kg,<br />

respectively. The greenhouse gas emission (Cradle-to-Gate) calculated from SimaPro 7.1 program in a<br />

unit of carbon dioxide equivalent was 10.67±0.32 and 7.85±0.2 kg CO 2 -Eq./ kg plastic for the PP and<br />

HDPE blow molding and 2.42±0.03 and 2.30±0.02 kg CO 2 -Eq./ kg plastic for the PP and HDPE<br />

injection molding, respectively. More than 75 percentages of greenhouse gases emitted from blow<br />

molding was resulted from electricity consumption of which the three-fourths was from an air compressor.<br />

Whereas 80 percentages of greenhouse gases emitted from blow molding was from plastic resins. The<br />

mitigation options of greenhouse gas emission for blow molding were 1) improvement of air compressor<br />

efficiency which has the payback period of 5 months and 2) installation of highly efficient air compressor<br />

which has the payback period of 1.3 years.<br />

1. ความสําคัญ<br />

อุตสาหกรรมพลาสติกจากรายงานของคูมือ IPCC (2000) พบวาเปนแหลงปลอยของกาซเรือนกระจกที่<br />

สําคัญ เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตและพัฒนาอยางตอเนื่อง เปนผลมาจากผลิตภัณฑพลาสติกเปน<br />

ผลิตภัณฑที่ไดรับความนิยมเนื่องจากพลาสติกสามารถขึ้นรูปไดงาย โดยเฉพาะพลาสติกประเภทเทอรโมพลาสติกที่<br />

มีการผลิตใชงานประมาณ 80-85% ซึ่งถือเปนกลุมพลาสติกที่มีการนําไปใชงานมากที่สุด (เจริญ, 2546) ซึ่ง<br />

ประกอบดวยพลาสติกในกลุม พอลิโอเลฟนส ไดแก พอลิเอทิลีน และ พอลิพรอพิลีน ในแงสิ่งแวดลอม<br />

อุตสาหกรรมพลาสติกเปนอุตสาหกรรมที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งอุตสาหกรรมการผลิตเม็ดพลาสติกที่ผลิตมา<br />

จากฟอสซิลและอุตสาหกรรมขึ้นรูปพลาสติก (บัณฑิต, 2550) ดังนั้นในการศึกษานี้จึงไดศึกษาผลกระทบของ<br />

สิ่งแวดลอมจากกระบวนการขึ้นรูปผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนสดวยวิธีฉีดและเปา ในแงของปริมาณการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกจากกระบวนการขึ้นรูปผลิตภัณฑตอหนวยผลิตภัณฑและหาแนวทางเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกจาก<br />

กระบวนการผลิตผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส<br />

2. วัตถุประสงค<br />

คํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส(PP และ HDPE) ที่ขึ้นรูปดวยวิธีการฉีด<br />

และการเปาและศึกษาแนวทางในการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

โดยขอบเขตที่จะศึกษากระบวนการผลิตเฉพาะในสวนของเม็ดพลาสติกกอนนํามาขึ้นรูป (Cradle to<br />

Gate) จากฐานขอมูล SimaPro 7.1 และ การนําเม็ดพลาสติกมาขึ้นรูปจนไดผลิตภัณฑ (Gate to Gate) โดยมี<br />

ขั ้นตอนการดําเนินงานวิจัยดังนี้<br />

1. ศึกษาและรวบรวมขอมูลกระบวนการผลิตผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส ไดแก พอลิเอทิลีน(PE) เกรดพอลิเอ<br />

ทิลีนความหนาแนนสูง(HDPE) และ พอลิพรอพิลีน (PP) ที่ขึ้นรูปดวยวิธีการฉีด(Injection) และวิธีการเปา (Blow<br />

112


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

molding) ของฝาและขวด โดยเก็บขอมูลจากโรงงานผลิตขวดและฝาพลาสติกระยะเวลา 3 เดือน ขอมูลของปริมาณ<br />

วัตถุดิบ การใชพลังงาน(ไฟฟา) และ ปริมาณผลิตภัณฑของพอลิโอเลฟนส<br />

2. คํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาจากการขึ้นรูปผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส ดวยวิธีการเปา<br />

และวิธีการฉีดของขวดและฝาพลาสติกตามคูมือของ IPCC (2000) และวิเคราะหความคลาดเคลื่อนในการเก็บขอมูล<br />

(IPCC, 2000)<br />

3. ศึกษาทางเลือกในการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากการขึ้นรูปผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส โดยใชวิธีการ<br />

วิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตรโดยวิธีศึกษาระยะเวลาคุมทุน (Pay Back Period) ในลักษณะที่ผลประโยชน<br />

ที่เกิดขึ้นของโครงการในรูปการประหยัดตนทุน พิจารณาทางเลือกที่ใหความคุมคาทางเศรษฐศาสตรมากที่สุด<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ขอมูลทั่วไปของกระบวนการผลิตผลิตภัณฑพลาสติก<br />

4.1.1 สมบัติของเม็ดพลาสติก<br />

สมบัติของเม็ดพลาสติกพอลิพรอพิลีน (PP) และ พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง (HDPE) ที่ใชในงานวิจัยนี้มี<br />

รายละเอียดแสดงในตารางที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.1 สมบัติของเม็ดพลาสติก PP และ HDPE<br />

สมบัติของเม็ดพลาสติก PP HDPE<br />

ความสามารถทนตอแรงดึง (Tensile Strength At Yield), MPa 29.5 29.4<br />

ความทรงรูปในแนวแรงกด (Flexural Modulus), MPa 1000 1372.5<br />

จุดหลอมเหลว (Melting Point), o C 170 132<br />

ความหนาแนน (Density), g/cm 3 0.95 0.962<br />

4.1.2 ขอมูลการใชไฟฟา<br />

การใชพลังงานไฟฟาในสวนของการฉีดและการเปาของผลิตภัณฑพลาสติกทั้งขวดและฝา จะมีการใชงาน<br />

ที่แตกตางกันในสวนของอุปกรณที่ใชในการขึ้นรูปซึ่งมีรายละเอียดที่แสดงดังตารางที่ 4.2 ในสวนของการเปาขึ้นรูป<br />

และการฉีดขึ้นรูปในตารางที่ 4.3 จากตารางที่ 4.2 และ 4.3 พบวาการขึ้นรูปแบบเปามีการใชพลังงานไฟฟารวม<br />

5,897 kWh โดยพลังงานไฟฟาสวนใหญมาจาก ปมอัดอากาศ (Air Compressor) 4,320 kWh ซึ่งปมอัดอากาศ (Air<br />

Compressor) และเครื่องทําความเย็น (Chiller) จะเปน เครื่องมือการใชไฟฟาที่มีเฉพาะการเปาขึ้นรูป ในขณะที่<br />

พลังงานไฟฟาที่ใชในการฉีดขึ้นรูปรวมประมาณ 1,562 kWh โดยสวนใหญมาจากเครื่องฉีดประมาณ 706 kWh<br />

โดยแสดงสัดสวนของพลังงานไฟฟาที่ใชของการขึ้นรูปแบบเปาในรูปที่ 4.1(ก.) โดยสัดสวนมากที่สุดคือ รอยละ 73<br />

มาจากพลังงานไฟฟาที่ใชของปมอัดอากาศ (Air Compressor) ในขณะที่สัดสวนการใชพลังงานไฟฟาของการฉีด<br />

ขึ้นรูปในรูปที่ 4.1 (ข.) พบวาสวนใหญมาจากเครื่องฉีดคิดเปน รอยละ 45 และนอยที่สุดคือ เครื่องโมเศษพลาสติก<br />

คิดเปนรอยละ 1 ทั้งเปาและฉีด<br />

113


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 4.2 กําลังไฟฟาและพลังงานไฟฟาจากกิจกรรมที่ใชในการเปาขึ้นรูปพลาสติก<br />

การขึ้นรูป กิจกรรมการใชไฟฟา<br />

กําลังไฟฟา (kW)<br />

พลังงานไฟฟา<br />

(kWh)<br />

เปา เครื่องเปา 23 552<br />

เครื่องโมเศษพลาสติก 16.6 16.6<br />

Cooling Tower 7.5 360<br />

ปมน้ํา 10 480<br />

ปมอัดอากาศ (Air Compressor) 90 4320<br />

เครื่องทําความเย็น (Chiller) 7 168<br />

พลังงานไฟฟารวม 5,897<br />

ตารางที่ 4.3 กําลังไฟฟาและพลังงานไฟฟาจากกิจกรรมที่ใชในการฉีดขึ้นรูปพลาสติก<br />

การขึ้นรูป กิจกรรมการใชไฟฟา<br />

กําลังไฟฟา (kW)<br />

พลังงานไฟฟา<br />

(kWh)<br />

ฉีด เครื่องฉีด 29.4 705.6<br />

เครื่องโมเศษพลาสติก 16.6 16.6<br />

Cooling Tower 7.5 360<br />

ปมน้ํา 10 480<br />

พลังงานไฟฟารวม 1562.2<br />

Chiller<br />

3%<br />

เครื่องเปา<br />

เครื่องโม 0%<br />

10% Cooling Tower<br />

6 %<br />

Pump<br />

8 %<br />

ก. สัดสวนการใชไฟฟาในการเปาขึ้นรูป ข. สัดสวนการใชไฟฟาในการฉีดขึ้นรูป<br />

รูปที่ 4.1 สัดสวนพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูปพลาสติก<br />

114


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.1.3 ขอมูลปริมาณวัตถุดิบ ผลผลิตและพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูป<br />

โดยเปนขอมูลเฉลี่ยในชวงระยะเวลา 3 เดือนที่เก็บขอมูลซึ่งแสดงไวในตารางที่ 4.4<br />

ตารางที่ 4.4 ขอมูลผลผลิตเทียบกับปริมาณวัตถุดิบและพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูป<br />

การขึ้นรูป<br />

Blow<br />

Injection<br />

ปริมาณ<br />

ชนิด<br />

ผลผลิตสุทธิ ผลผลิตเสีย พลังงานไฟฟา<br />

วัตถุดิบ<br />

พลาสติก<br />

kg/month pcs/month kg/month kg/month (kWh)<br />

PP 15,030 564,028 13,993 1037 131,700<br />

PE(HDPE) 21,775 586,275 20,766 1009 147,425<br />

PP 36,388 588,830 35,982 406 17,184<br />

PE(HDPE) 52,736 834,496 52,418 318 24,995<br />

จากขอมูลตารางที่ 4.4 การขึ้นรูปแบบเปาของพลาสติกชนิด PP มีการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ย 131,700<br />

kWh ซึ่งมีผลผลิตเฉลี่ย 564,028 ชิ้นตอเดือน โดยมีคาอัตราการใชไฟฟาเฉลี่ยตอการเปาขึ้นรูป PP เทากับ 9.41<br />

kWh/kg สวนการเปาขึ้นรูปของขวด HDPE ที่มีผลผลิตเฉลี่ยตลอดระยะเวลาที่เก็บขอมูล 586,275 ชิ้นตอเดือนที่<br />

การใชไฟฟาเฉลี่ย 147,425 kWh ซึ่งมีอัตราการใชไฟฟาตอการขึ้นรูปเฉลี่ย 7.10 kWh/kg ในขณะที่การฉีดขึ้นรูป<br />

ฝาพลาสติก PP ใหผลผลิตเฉลี่ย 588,830 ชิ้นตอเดือน ใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ย 17,184 kWh และมีอัตราการใช<br />

พลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอการฉีดขึ้นรูป 0.49 kWh/kg ในขณะที่อัตราการใชพลังงานไฟฟาในการฉีดขึ้นรูปพลาสติก<br />

ประเภท HDPE 0.46 kWh/kg ที่มีการใชพลังงานไฟฟา 24,995 kWh ใหผลผลิตประมาณ 834,496 ชิ้นตอเดือน<br />

4.2 การปลอยกาซเรือนกระจกจากการขึ้นรูปผลิตภัณฑพลาสติก<br />

4.2.1 ผลการคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

โดยคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตตามคูมือ IPCC (2000) ซึ่งในงานวิจัยนี้คํานวณจาก<br />

โปรแกรม SimaPro 7.1 โดยใชขอมูลจากการเก็บขอมูลที่สถานที่จริงในสวนของคาพลังงานที่ใชในกระบวนการขึ้น<br />

รูปผลิตภัณฑ คิดปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในรูปของปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอน้ําหนัก<br />

ผลิตภัณฑ (kg CO 2 -Eq./kg) ซึ่งแสดงผลการคํานวณดังรูปที่ 4.2<br />

พบวาปริมาณกาซเรือนกระจกจากการขึ้นรูปแบบเปาของพลาสติกชนิด PP คิดตอน้ําหนักของผลิตภัณฑ<br />

มีคา 10.67 kg CO 2 -Eq./kg เมื่อพิจารณาปริมาณกาซเรือนกระจกทั้งหมดของการเปาขึ้นรูปพลาสติกตอน้ําหนัก<br />

ของผลิตภัณฑได 7.85 kg CO 2 -Eq./kg ในขณะที่การขึ้นรูปแบบฉีดของพลาสติกประเภท PP ปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกที่ใชขึ้นรูปตอน้ําหนักของผลิตภัณฑมีคา 2.42 kg CO 2 -Eq./kg สวนการฉีดขึ้นรูปของพลาสติกประเภท<br />

HDPE มีปริมาณกาซเรือนกระจกทั้งหมดตอน้ําหนักของผลิตภัณฑที่ผลิต 2.30 kg CO 2 -Eq./kg และจะเห็นไดวา<br />

การขึ้นรูปแบบเปากาซเรือนกระจกสวนใหญมาจากพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูป คิดเปนประมาณรอยละ 75<br />

สวนการขึ้นรูปแบบฉีดประมาณรอยละ 80 กาซเรือนกระจกมาจากเม็ดพลาสติกที่ใชในการขึ้นรูป<br />

115


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(kg CO 2 -Eq./kg)<br />

รูปที่ 4.2 ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาจากการขึ้นรูปผลิตภัณฑ<br />

4.2.2 วิเคราะหความคลาดเคลื่อนในการเก็บขอมูล (Uncertainty Analysis)<br />

ทําการวิเคราะหความคลาดเคลื่อนในการเก็บขอมูล (Uncertainty Analysis) โดยอางอิงตามคูมือของ IPCC (2000)<br />

เชนกันกับการคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจก ซึ่งจากการศึกษาและเก็บขอมูล ไดคาความคลาดเคลื่อนของการ<br />

เก็บขอมูลของการขึ้นรูปแบบเปาจากพลาสติกชนิด PP ที่รอยละ 3 และพลาสติกชนิด HDPE ที่รอยละ 2.5 ในขณะ<br />

ที่การขึ้นรูปแบบฉีดของพลาสติกชนิดทั้ง PP และ HDPE มีคาคลาดเคลื่อนในการเก็บขอมูลเทากันที่รอยละ 1<br />

4.3 ทางเลือกในการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากการขึ้นรูปผลิตภัณฑ<br />

จากหัวขอ 4.2 จะพบวาปริมาณกาซเรือนกระจกสวนใหญที่เกิดขึ้นมาจากพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูปผลิตภัณฑ<br />

ในสวนของการขึ้นรูปแบบเปา และมาจากวัสดุ(เม็ดพลาสติก) จากการขึ้นรูปแบบฉีด โดยไดเสนอแนวทางในการลด<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจกไวดังนี้<br />

4.3.1 แนวทางการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากการปรับปรุงประสิทธิภาพของปมอัดอากาศที่มีอยู<br />

ซึ่งอางอิงจากงานศึกษาวิจัยของผูที่ไดศึกษาไว (โครงการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, 2550) และประกอบกับการสํารวจใน<br />

สถานที่ปฏิบัติจริงที่ยังพบขอผิดพลาดในการทํางานอยู โดยมีแนวทางดังนี้ ปรับอุณหภูมิของอากาศที่นําเขาเครื่อง<br />

การลดลงของความดันที่ไสกรอง การตั้งคาแรงดัน การลดแรงดันสง และ การลดการรั่วไหล คาใชจายที่ใชในการ<br />

ซอมบํารุงปรับปรุงมีคาประมาณ 5,000 บาท โดยประมาณไดวาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดลงไดประมาณ รอยละ 10<br />

ของพลังงานไฟฟาที่ใชในการขึ้นรูปของปมอัดอากาศ (Air Compressor)ประหยัดไดประมาณ 432 kWh คิดเปน<br />

มูลคาไฟฟาที่ประหยัดได 1,080 บาท/เดือน และมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรที่ระยะเวลาคุมทุน ประมาณ 5<br />

เดือน<br />

4.3.2 แนวทางการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนปมอัดอากาศ<br />

เปลี่ยนปมอัดอากาศไปใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีการใชพลังงานไฟฟาไมสูงมากจึงเปนทางเลือกที่นาสนใจ<br />

เนื่องจาก จะทําใหมีแรงดัน มากกวาแรงดันเดิมและมีกําลังการใชไฟฟารวม 74 kW ซึ่งนอยกวากําลังไฟฟาของ<br />

116


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เครื่องเกาเพียงเครื่องเดียวสงผลใหลดพลังงานไฟฟาลงได 2,544 kWh คิดเปนมูลคา 6,360 บาท/เดือน โดยมีมูลคา<br />

ในการลงทุนประมาณ 50,000 บาท เมื่อพิจารณาความคุมคาทางเศรษฐศาสตรพบวามีระยะเวลาคุมทุนประมาณ 1<br />

ป 4 เดือน<br />

การลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากเม็ดพลาสติกแนวทางที่มีความเปนไปไดคือการใชเม็ดพลาสติก<br />

ชีวภาพในการขึ้นรูปหรือการผสมเม็ดพลาสติกชีวภาพกับเม็ดพลาสติกที่ใชอยู ซึ่งเม็ดพลาสติกดังกลาว<br />

ทําการศึกษาคุณสมบัติจากโครงการวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือวาสามารถใชผสม<br />

ในการขึ้นรูปผลิตภัณฑได (ศกุนตลา และคณะ, 2542) ทั้งนี้แนวทางดังกลาวอยูในขั้นของการทดลองยังไมมีการ<br />

นําไปใชจริงในทางอุตสาหกรรม แตเปนทางเลือกที่เปนประโยชนตอการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจากเม็ด<br />

พลาสติกที่ใชในการขึ้นรูป<br />

5. สรุปผลการทดลอง<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจกตอน้ําหนักผลิตภัณฑผลิตภัณฑพอลิโอเลฟนส ที่ขึ้นรูปดวยวิธีการเปาและวิธีการ<br />

ฉีดจากพลาสติกประเภทพอลิพรอพิลีน (Polypropylene, PP) ซึ่งมากกวาปริมาณกาซเรือนกระจกจากพลาสติก<br />

ประเภท พอลิเอทิลีนความหนาแนนสูง (High Density Polyethylene, HDPE) ซึ่งเปนไปตามปริมาณการใชไฟฟาที่<br />

มากกวาในการหลอมเหลว และการขึ้นรูปพลาสติกแบบเปาใหปริมาณกาซเรือนกระจกมากกวาแบบฉีด ทั้งนี้เปน<br />

ผลจากพลังงานไฟฟาที่ใชในเครื่องอัดอากาศในการขึ้นรูปแบบเปา แนวทางในการลดปริมาณกาซเรือนกระจกจาก<br />

การเปาขึ้นรูป ไดแก การปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศซึ่งมีระยะเวลาคุมทุนประมาณ 5 เดือน ในขณะ<br />

ที่การเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศใหมจะสามารถลดปริมาณกาซเรือนกระจกไดมากกวา แตมีระยะเวลาคุมทุนประมาณ<br />

1 ป 4 เดือน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- IPCC Good Practice Guidance and Uncertainty Management in National Greenhouse Gas<br />

Inventories. (2000)<br />

- บัณฑิต คงอินทร. รุก-รับ “โลกรอน” กอนโลกหายนะ, กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2550.<br />

- ศกุนตลา พรหมสาขา ณ สกลนคร และ วิมลา งามสันติวงศ. การศึกษาสมบัติเชิงกลของพลาสติก<br />

LDPE เกรด JJ 4324 ที่ผสมเสนใยจากใบสับปะรด, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกลาพระนครเหนือ, 2542.<br />

- เจริญ นาคะสรรค. เทคโนโลยีเบื้องตนทางพลาสติก, กรุงเทพมหานคร: โพรเพช, 2546.<br />

- โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ. แนวทางปฏิบัติเพื่อการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพใน<br />

ภาคอุตสาหกรรมของเอเชีย, กรุงเทพมหานคร: โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ, 2550.<br />

117


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง<br />

Greenhouse Gas Emission from Construction Process<br />

กมลทิพย อรัญศิริ และ สิริลักษณ เจียรากร<br />

สายวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ<br />

เลขที่ 126 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด<br />

เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากกระบวนการสรางบานดวยวิธีการ<br />

กออิฐ วิธีกอสรางดวยชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast Construction) และวิธีกอสรางดวยการประกอบชิ้นสวน<br />

(Knockdown) โดยศึกษาบานที่มีพื้นที่ใชสอยขนาด 155 m 2 150 m 2 และ 30 m 2 ตามลําดับ โดยมีขอบเขต<br />

การศึกษา 2 สวนคือ Cradle-to-Gate ซึ่งพิจารณาการปลอยกาซเรือนกระจกของการผลิตวัสดุกอนนํามาเขาสู<br />

กระบวนการกอสราง และ Gate-to-Gate ซึ่งพิจารณาเฉพาะกระบวนการกอสราง โดยเก็บขอมูลจากกระบวนการ<br />

กอสรางเปนเวลา 3 เดือน รวมทั้งวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) ของวิธีการกอสรางทั้ง 3 วิธี<br />

ผลการศึกษาปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากสวนวัสดุและกระบวนการกอสรางบานกออิฐ บาน<br />

ชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป และบานประกอบชิ้นสวน โดยการใชโปรแกรม SimaPro 7.1 ในหนวยของปริมาณกาซ<br />

เรือนกระจกในรูปของคารบอนไดออกไซดเทียบเทา เมื่อพิจารณาขอบเขตตั้งแต Cradle-to-Gate พบวา กาซเรือน<br />

กระจกที่ปลอยจากวัสดุที่ใชกอสรางบานกออิฐ บานชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป และบานประกอบชิ้นสวน มีคาเทากับ<br />

187±28 kgCO 2 eq./m 2 95±9.5 kgCO 2 eq./m 2 และ 25±1.25 kgCO 2 eq./m 2 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาขอบเขตตั้งแต<br />

Gate-to-Gate พบวา ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากกระบวนการกอสรางบานกออิฐ บานชิ้นสวนคอนกรีต<br />

สําเร็จรูป และบานประกอบชิ้นสวน มีคาเทากับ 7.44±1.12 kgCO 2 eq./m 2 0.84±0.08 kgCO 2 eq./m 2 และ<br />

6.18±0.31 kgCO 2 eq./m 2 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาสัดสวนกาซเรือนกระจกจากวัสดุและกระบวนการสรางบานกออิฐ<br />

มีคา 96 % และ 4 % ตามลําดับ บานชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปมีคา 99 % และ 1 % ตามลําดับ และบานประกอบ<br />

ชิ้นสวนมีคา 81 % และ 19% ตามลําดับ และการวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) ของวิธีการกอสราง<br />

คิดเปนผลกําไรตอกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากการกอสรางบานกออิฐ บานชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป และบาน<br />

ประกอบชิ้นสวน เทากับ 13,681 บาท/ kgCO 2 eq./m 2 14,583 บาท/ kgCO 2 eq./m 2 และ 3,313 บาท/ kgCO 2 eq./m 2<br />

คําสําคัญ : การปลอยกาซเรือนกระจก กระบวนการกอสราง บานกออิฐ บานชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป<br />

บานประกอบชิ้นสวน<br />

118


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

The aims of this research were to study the greenhouse gas emission from various residential<br />

houses constructed by masonry, precast concrete and knockdown methods and to calculate the ecoefficiency<br />

for each house. The data was collected for 3 months from the construction sites. The housing<br />

spaces of masonry house, precast house and knockdown house were 155 m 2 , 150 m 2 and 30 m 2 ,<br />

respectively. The greenhouse gas emission was calculated from production of construction materials<br />

(Cradle-to-Gate) plus construction process (Gate-to-Gate) using SimaPro 7.1 program. The results<br />

showed that the greenhouse gas emission from masonry, precast and knockdown construction materials<br />

were 187±28 kgCO 2 eq./m 2 , 95±9.5 kgCO 2 eq./m 2 and 25±1.25 kgCO 2 eq./m 2 respectively. While<br />

greenhouse gas emission from masonry, precast and knockdown construction process were 7.44±1.12<br />

kgCO 2 eq./m 2 , 0.84±0.08 kgCO 2 eq./m 2 and 6.18±0.31 kgCO 2 eq./m 2 respectively. The greenhouse gas<br />

embedded in construction materials is a major contribution. The greenhouse gas emitted from the<br />

masonry house was 96% from materials and 4% from construction process. For precast and knockdown<br />

houses, 99% and 81% were from materials and the rest were from construction process. The ecoefficiency<br />

value was calculated from the ratio of the financial profit and the quantity of greenhouse gas<br />

emitted from each house. The masonry, precast and knockdown house had the eco-efficiency value of<br />

13,681 Bath/kgCO 2 eq./m 2 , 14,583 Bath/ kgCO 2 eq./m 2 and 3,313 Bath/ kgCO 2 eq./m 2 respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในปจจุบันแนวโนมการกอสรางที่อยูอาศัยกําลังเปนอุตสาหกรรมที่กําลังเติบโตมากขึ้น ซึ่งมีการ<br />

กอสรางที่ใชระบบชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast) และระบบชิ้นสวนประกอบ (Knockdown) เพิ่มขึ้น<br />

นอกเหนือจากวิธีการเดิมคือการกอผนังดวยอิฐ โดยเฉพาะในธุรกิจบานจัดสรร (พัศพันธน, 2550) โดย<br />

ระบบชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปและระบบชิ้นสวนประกอบถือวาเปนระบบที่ประหยัดเวลาการกอสราง แต<br />

ทั้งนี้ตองคํานึงถึงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมทั้งที่มาจากการใชวัสดุกอสรางและกระบวนการกอสรางเอง<br />

ซึ่งเปนอีกสาเหตุหนึ่งของการปลอยกาซเรือนกระจกและกอใหเกิดสภาวะโลกรอน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคใน<br />

การศึกษาการปลอยกาซเรือนกระจกที่มาจากการกอสรางบานทั้ง 3 แบบ โดยคิดปริมาณกาซเรือนกระจกเปนคา<br />

เทียบเทาคารบอนไดออกไซด (Cole., 1999 และ Suzuki et al., 1995)<br />

2. วัตถุประสงค<br />

ศึกษาปริมาณกาซเรือนกระจกที ่ปลอยออกมาจากการกอสรางบานดวยวิธีการกออิฐ วิธีกอสรางดวย<br />

ชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast) และวิธีกอสรางดวยการประกอบชิ้นสวน (Knockdown)<br />

119


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 ศึกษาวิธีการกอสรางบานกออิฐ บานชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast Construction) และบานประกอบ<br />

ชิ้นสวน (Knockdown)<br />

3.2 เก็บขอมูลวัสดุ การใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงในกระบวนการกอสรางบานทั้ง 3 แบบเปนระยะเวลา 3<br />

เดือน<br />

3.3 ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสรางบานทั ้ง 3 แบบโดยใชโปรแกรม SimaPro 7.1<br />

3.4 การวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) ของผลกําไรตอกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากการกอสรางบาน<br />

แตละแบบ เพื่อเปนแนวทางเลือกบานที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงในกระบวนการกอสราง<br />

ปริมาณพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงที่ใชในแตละกระบวนการกอสรางบานทั้ง 3 แบบ แสดงในตารางที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.1 ปริมาณพลังงานไฟฟาที่ใชในกระบวนการกอสรางบาน<br />

ขั้นตอน<br />

พลังงานไฟฟา (kWh)<br />

บานกออิฐ บาน Precast บาน Knockdown<br />

ฐานรากและเสาเข็ม 52.5 9.6 N.A.<br />

เสาและคาน 157.92 N.A. N.A.<br />

กออิฐ 271.65 N.A. N.A.<br />

ฉาบปูน 234.9 N.A. N.A.<br />

ฝาเพดาน 51.45 N.A. 6.3<br />

โครงเหล็กหลังคา 525 28 157<br />

มุงหลังคา 76.75 15.2 4.2<br />

ติดตั้งผนัง N.A. 34.4 22.8<br />

ติดตั้งพื้น N.A. 19.45 34.2<br />

รวม 1,370.17 106.65 224.5<br />

ชนิดเชื้อเพลิง เชื้อเพลิง (ลิตร)<br />

น้ํามันดีเซล 50 90 N.A.<br />

N.A. Not Applicable.<br />

120


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง<br />

4.2.1 พิจารณาขอบเขต Cradle-to-Gate<br />

จากการเก็บขอมูลวัสดุกอสรางที่ใชในกระบวนการกอสรางบาน เพื่อนํามาประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกซึ่งคิด<br />

เทียบเทาคารบอนไดออกไซด (CO 2 eq.) ดวยโปรแกรม SimaPro 7.1 โดยใชฐานขอมูลของโปรแกรมในสวนของ<br />

วัสดุกอสรางกอนนํามาเขาสูกระบวนการกอสราง (Cradle-to-Gate) แสดงในตารางที่ 4.2 และรูปที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.2 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากสวนวัสดุกอสราง (Cradle-to-Gate)<br />

รายการ<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจก (kgCO 2 eq./m 2 )<br />

บานกออิฐ บาน Precast บาน Knockdown<br />

เหล็ก 45.425 4.400 72.626<br />

คอนกรีตผสมเสร็จ 56.432 31.524 N.A.<br />

กระเบื้องหลังคา 13.842 13.112 10.346<br />

ปูนซีเมนตปอรตแลนด 33.966 42.319 N.A.<br />

ปูนซีเมนตฉาบ 11.085 N.A. N.A.<br />

อิฐ 21.114 N.A. N.A.<br />

ทราย 2.824 0.006 N.A.<br />

หิน 1.355 1.705 N.A.<br />

ฝายิปซั่ม 1.950 2.198 2.159<br />

น้ําประปา 1.59807E-05 2.58E-05 N.A.<br />

ไมอัดซีเมนต N.A. N.A. -59.434<br />

รวม 187.998 95.263 25.698<br />

N.A. Not Applicable.<br />

เมื่อพิจารณาปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากสวนวัสดุที่ใชกอสรางนั้น พบวาวัสดุที่ใชกอสรางบานกออิฐ<br />

มีคาการปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุดซึ่งมาจากเหล็กและคอนกรีตถึงรอยละ 24 และ 30 ตามลําดับ สวนวัสดุที่ใช<br />

กอสรางบาน Precast และบาน Knockdown มีการปลอยกาซเรือนกระจกจากปูนซีเมนตคิดเปนรอยละ 44 และ<br />

เหล็กคิดเปนรอยละ 72 ตามลําดับ นอกจากนี้จะเห็นไดวา ไมอัดซีเมนต ที่ใชกอสรางบาน Knockdown นั้นมี<br />

สวนประกอบของไมซึ่งชวยในการดูดกลับการปลอยกาซเรือนกระจกไดถึงรอยละ 41<br />

121


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

100%<br />

80%<br />

60%<br />

40%<br />

21(11%)<br />

11(6%)<br />

34(18%)<br />

13(7%)<br />

56(30%)<br />

42(44%)<br />

13(14%)<br />

10(7%)<br />

%<br />

20%<br />

0%<br />

-20%<br />

31(33%)<br />

51(72%)<br />

45(24%)<br />

4(5%)<br />

กออิฐ Precast Knockdown<br />

-59(-41%)<br />

-40%<br />

-60%<br />

ประเภทบาน<br />

เหล็กเสริม คอนกรีตผสมเสร็จ กระเบื้องหลังคา ปูนซีเมนตปอรตแลนด<br />

ปูนซีเมนตฉาบ อิฐ ทราย หิน<br />

ฝายิปซั่ม น้ําประปา ไมอัดซีเมนต<br />

รูปที่ 4.1 เปอรเซ็นตการปลอยกาซเรือนกระจกจากสวนวัสดุกอสราง (Cradle-to-Gate)<br />

4.2.2 พิจารณาขอบเขต Gate-to-Gate<br />

จากการเก็บขอมูลปริมาณการใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงที่ใชในกระบวนการกอสรางบาน เพื่อนํามาประเมินการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากกระบวนการกอสราง (Gate-to-Gate) ซึ่งคิดเทียบเทาคารบอนไดออกไซด<br />

(CO 2 eq.) ดวยโปรแกรม SimaPro 7.1 โดยใชฐานขอมูลของโปรแกรมในสวนเชื้อเพลิงและไฟฟา ซึ่งคิดตามการ<br />

ผลิตพลังงานไฟฟาจําแนกตามชนิดเชื้อเพลิง แสดงในตารางที่ 4.3 และรูปที่ 4.2<br />

ตารางที่ 4.3 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง (Gate-to-Gate)<br />

รายการ<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจก (kgCO 2 eq./m 2 )<br />

บานกออิฐ บาน Precast บาน Knockdown<br />

น้ํามันดีเซล 0.135 0.251 N.A.<br />

ไฟฟา 7.309 0.588 6.188<br />

รวม 7.444 0.839 6.188<br />

122


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

0.59(70%)<br />

%<br />

%<br />

50%<br />

7.31(98%)<br />

6.19<br />

(100%)<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

0.25(30%)<br />

0.13(2%)<br />

กออิฐ Precast Knockdown<br />

ประเภทบาน<br />

น้ํามันดีเซล ไฟฟา<br />

รูปที่ 4.2 เปอรเซ็นตการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการกอสราง (Gate-to-Gate)<br />

กาซเรือนกระจกที่ปลอยจากกระบวนการกอสรางบานทั้ง 3 แบบนั้นเกี่ยวของกับการใชเชื้อเพลิงจาก<br />

น้ํามันดีเซล ซึ่งบานกออิฐและบาน Precast มีการใชน้ํามันดีเซลคิดเปนรอยละ 2 และรอยละ30 ตามลําดับ สวน<br />

พลังงานไฟฟาที่ใชกับอุปกรณ เครื่องมือกอสรางตางๆ นั้น มีปริมาณกาซเรือนกระจกจากบานกออิฐ บาน Precast<br />

คิดเปนรอยละ 98 และรอยละ 70 สวนบาน Knockdown มีการใชพลังงานไฟฟาเพียงอยางเดียวในการกระบวนการ<br />

กอสราง<br />

เมื่อพิจารณาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากทั้งสองขอบเขตรวมกันคือสวนวัสดุกอสราง (Cradleto-Gate)<br />

และสวนกระบวนการกอสราง (Gate-to-Gate) มีการปลอยกาซเรือนกระจกแสดงในตารางที่ 4.4<br />

ตารางที่ 4.4 ปริมาณกาซเรือนกระจกจากสวนวัสดุและสวนกระบวนการกอสราง<br />

รายการ<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจก (kgCO 2 eq./m 2 )<br />

บานกออิฐ บาน Precast บาน Knockdown<br />

Material (Cradle-to-Gate) 187.998 95.263 25.698<br />

Process (Gate-to-Gate) 7.444 0.839 6.188<br />

รวม 195.442 96.102 31.886<br />

123


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 วิเคราะหความคลาดเคลื่อนในการเก็บขอมูล (Uncertainty Analysis)<br />

เพื่อใหผลการคํานวณมีความแมนยําและนาเชื่อถือมากที่สุดในการประเมินกาซเรือนกระจกที่ปลอยจาก<br />

กระบวนการกอสรางบานดังที่กลาวมาแลวนั้น ในขั้นตอนของการเก็บขอมูลดานกิจกรรม (Activities Data) เพื่อ<br />

นํามาใชในการประมวลผลดวยโปรแกรม SimaPro 7.1 ตองมีการวิเคราะหคาความคลาดเคลื่อนที่กําหนดไวตาม<br />

คูมือของ IPCC ซึ่งใชวิธีทางคณิตศาสตรดวยวิธีคูณคาความคลาดเคลื่อนแตละตัว (Multiplication) (IPCC, 2000)<br />

โดยคาความคลาดเคลื่อนจากการเก็บขอมูลในการกอสรางบานกออิฐ บาน Precast และบาน Knockdown มีคา<br />

เทากับ 15% 10% และ 5% ตามลําดับ<br />

4.4 การวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency)<br />

การวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ จะพิจารณาผลกําไร ซึ่งมาจากการคิดผลตางของราคาขายบานซึ่งไมรวม<br />

ราคาที่ดินและตนทุนการกอสรางตอปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากการกอสรางบาน แสดงในตารางที่ 4.5<br />

ตารางที่ 4.5 การวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจ<br />

ผลกําไร (บาท)<br />

• ราคาขาย<br />

• ตนทุน<br />

บาน Precast บานกออิฐ บาน Knockdown<br />

1,400,000<br />

1,575,000<br />

175,000<br />

2,667,798<br />

3,133,500<br />

465,702<br />

106,000<br />

530,000<br />

424,000<br />

kg CO 2 Eq./m 2 96 195 32<br />

Eco-Efficiency<br />

(บาท/ kg CO 2 Eq./m 2 )<br />

14,583 13,681 3,312<br />

เมื่อพิจารณาคา Eco-Efficiency ของบานแตละแบบ พบวา บาน Precast มีคา Eco-Efficiency สูงที่สุดซึ่ง<br />

แสดงถึงอัตราสวนของผลกําไร ที่มีคามากและปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมานอย และหากเปรียบเทียบกับ<br />

คา Eco-Efficiency ของบาน Knockdown ถึงแมจะมีปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมามากกวา แตมีผลกําไร<br />

ที่นอยกวา จึงทําใหคา Eco-Efficiency ของบาน Knockdown มีคานอยกวาบาน Precast และบานกออิฐ<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

กาซเรือนกระจกที่ปลอยจากสวนวัสดุกอสราง (Cradle-to-Gate) สําหรับบานกออิฐมีปริมาณมากที่สุด ซึ่ง<br />

มาจากคอนกรีตรอยละ 28 และเหล็กรอยละ 23 สวนกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากสวนกระบวนการกอสราง (Gateto-Gate)<br />

สําหรับบานกออิฐมีปริมาณมากที่สุด ซึ่งมาจากการใชพลังงานไฟฟารอยละ 98 และเชื้อเพลิงรอยละ 2<br />

และการวิเคราะหเชิงนิเวศเศรษฐกิจพบวา บาน Precast มีคา Eco-Efficiency สูงที่สุด (14,583 บาท/<br />

kgCO 2 Eq./m 2 ) รองลงมาคือบานกออิฐ (13,681 บาท/ kgCO 2 Eq./m 2 ) และบาน Knockdown (3,312 บาท/<br />

kgCO 2 Eq./m 2 )<br />

124


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Cole, R. J. (1999), Energy and greenhouse gas emissions associated with the<br />

construction of alternative structural systems, Building and Environment, 34, pp.335-348.<br />

- IPCC Good Practice Guidance and Uncertainty Management in National Greenhouse<br />

Gas Inventories. (2000)<br />

- Suzuki, M. et al. (1995), The estimation of energy consumption and CO 2 emission due<br />

to housing construction in Japan, Energy and Buildings, 22, pp.165-169.<br />

- พัศพันธน ชาญวสุนันท, 2550, แผนการติดตั้งชิ้นสวนในการกอสรางบานพักอาศัยระบบชิ้นสวน<br />

คอนกรีตสําเร็จรูป, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ, ครั้งที่ 12, 2-4 พฤษภาคม<br />

2550, โรงแรมอมรินทรลากูน, หนา 214-219.<br />

125


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดดวยโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย<br />

CO 2 Mitigation by Means of Wind Farm Operation Along the Coast of Southern Thailand<br />

จอมภพ แววศักดิ์<br />

1 และ ชูลีรัตน คงเรือง 2<br />

1 หนวยวิจัยพลังงานลม-แสงอาทิตย ศูนยวิจัยและสาธิตระบบพลังงานทดแทน<br />

ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ<br />

222 หมู 2 ตําบลบานพราว อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง 93110<br />

2 คณะเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ<br />

140 ถนนกาญจนวณิช ตําบลเขารูปชาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000<br />

บทคัดยอ<br />

ป พ.ศ. 2552 ประเทศไทยปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากโรงไฟฟาเชื้อพลิงฟอสซิล 83,410 kton<br />

ดังนั้นโรงไฟฟาสีเขียวจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งในการลดการปลอดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการผลิตไฟฟา<br />

งานวิจัยนี้แสดงใหเห็นถึงปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่สามารถลดการปลดปลอยลงไดจากการผลิตไฟฟาดวย<br />

ฟารมกังหันลมตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย ผลการวิจัยพบวาภายใตศักยภาพของแหลง<br />

พลังงานลมตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใต ทําใหสามารถพัฒนาฟารมกังหันลมได 69 คลัสเตอร มีกําลังการผลิต<br />

ติดตั้งรวมกันทั้งสิ้น 1,321 MW 1,354.5 MW และ 1,294 MW สําหรับกังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 1.0 MW 1.5 MW<br />

และ 2.0 MW ตามลําดับ โดยสามารถผลิตไฟฟาได 4,068 GWh/year 4,096 GWh/year และ 4,492 GWh/year<br />

ตามลําดับ ซึ่งสามารถลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดรวมกันทั้งสิ้น 2,332 kton/year 2,365<br />

kton/year 2,591 kton/year ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ : กลไกการพัฒนาที่สะอาด พลังงานลม โรงไฟฟาฟารมกังหันลม คารบอนเครดิต<br />

Abstract<br />

In 2009, Thailand emitted CO 2 by fossil fuel type power plant about 83,410 kton. Consequently,<br />

green power generation is another interesting alternative for reducing CO 2 emission. This research work<br />

presents the amount of CO 2 avoidance by the installation of wind farm power plants along the coastal<br />

area of southern Thailand. Results showed that under the wind resource condition of southern Thailand,<br />

the 69 clusters of wind farm could be installed with capacity of 1,321 MW, 1,354.5 MW, and 1,294 MW<br />

for wind turbine generator size of 1.0 MW, 1.5 MW, and 2.0 MW respectively. The annual energy<br />

production was 4,068 GWh/year, 4,096 GWh/year, and 4,492 GWh/year respectively which could avoid<br />

the CO 2 emission of 2,332 kton/year 2,365 kton/year 2,591 kton/year respectively.<br />

126


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

กลุมประเทศอุตสาหกรรมมีการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลในอัตรารอยละ 65 และจากการคาดการณ<br />

ในชวงทศวรรษหนาถาหากยังมีการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงฟอสซิลสูงในอัตรารอยละ 50 ภายในป 2573 ก็จะ<br />

สงผลกระทบตอสภาวะโลกรอนเปนอยางมาก ดังนั้นจึงนําไปสูความสนใจในการใชประโยชนจากแหลงพลังงานใหม<br />

และแหลงพลังงานหมุนเวียน (Sesto and Casale, 1998) หลังจากศตวรรษที่ 20 เปนตนมาไดใหความสนใจใน<br />

การศึกษาศักยภาพของแหลงพลังงานใหมและพลังงานทดแทนโดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานลมสําหรับการผลิตไฟฟา<br />

นักวิทยาศาสตร นักวิจัยและวิศวกรไดพยายามคนควาวิจัยเพื่อหาคําตอบและการออกแบบรวมทั้งการประยุกตใช<br />

งานในระดับอุตสาหกรรม ทั้งในดานของอุตุนิยมวิทยาที่เกี่ยวของกับการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ความสัมพันธ<br />

ระหวางพลังงานและภูมิอากาศ เทคโนโลยีกังหันลม เศรษฐศาสตรพลังงานลม และการประยุกตใชพลังงานลม<br />

(Sahin, 2004) ซึ่งโรงไฟฟาพลังงานลมเปนโรงไฟฟาสีเขียว (Green Power) ที่สามารถลดการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดลงได ในป พ.ศ. 2549 ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมาก<br />

เปนอันดับที่ 23 ของโลกและมีการปลดปลอยออกมาปละประมาณ 272,521 kton CO 2 หรือรอยละ 1 ของการ<br />

ปลดปลอยทั้งโลก โดยมีอัตราการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดรอยะ 4.3 ตอคน และมีความเขมขนการ<br />

ปลดปลอย (Emission Intensity) เทากับรอยละ 0.58 kg ของ CO 2 ตอ 1$ GDP (PPP) ปจจุบันจากรายงานสถิติ<br />

พลังงานของประเทศไทยพบวาประเทศไทยมีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการใชพลังงานในภาค<br />

สวนตางๆ รวมกันประมาณ 196,022 ktonCO 2 ในป พ.ศ. 2552 และแสดงรายละเอียดของการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดจากภาคสวนตางๆ ดังรูปที่ 1 จากรูปที่ 1 จะเห็นไดวาการใชพลังงานสําหรับการผลิตไฟฟา<br />

สงผลตอการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากเปนอันดับหนึ่งโดยในป พ.ศ. 2552 มีการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดจากกิจกรรมดังกลาวเปนจํานวน 83,410 ktonCO 2 รองลงมาไดแกภาคขนสงในปริมาณ<br />

50,196 ktonCO 2 ตามมาดวยภาคอุตสาหกรรมการผลิตซึ่งมีการปลดปลอยในปริมาณ 45,149 ktonCO 2 และภาคที่<br />

อยูอาศัยและธุรกิจการคามีการปลดลปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในปริมาณ 6,895 ktonCO 2<br />

รูปที่ 1 ปริมาณคารบอนไดออกไซดที่มีการปลดปลอยจากการใชพลังงานในภาคสวนตางๆ<br />

127


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยจากรูปที่ 1 สามารถสังเกตเห็นไดวาปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดของประเทศไทย<br />

ซึ่งถึงแมวาจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปแตก็เปนการเพิ่มขึ้นในปริมาณที่ไมสูงมากนัก โดยปริมาณการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในป พ.ศ. 2552 มีคาลดลงเมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2551 (สถิติพลังงานของประเทศไทย 2552)<br />

ดวยเหตุนี้โรงไฟฟาสีเขียว (Green Power) เปนอีกแนวทางเลือกหนึ่งสําหรับการลดการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดจากการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงฟอสซิล กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน<br />

(พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดกําหนดแผนยุทธศาสตรพลังงานทดแทนของประเทศไทยโดยเนนการผลิตไฟฟาจาก<br />

พลังงานหมุนเวียน เชน ชีวมวล น้ํา แสงอาทิตยและลม รอยละ 8 ภายในป พ.ศ. 2554 หรือในปริมาณ 3,276 MW<br />

และเพิ่มสัดสวนการใชเปนรอยละ 20.4 ภายในป พ.ศ. 2565 โดยกําหนดเปาหมายการผลิตไฟฟาจากพลังงาน<br />

หมุนเวียนใหได 5,508 MW ซึ่งไดมีการประเมินศักยภาพของพลังงานลมในเบื้องตนและคาดวาจะมีศักยภาพ<br />

สําหรับการผลิตไฟฟาทั้งประเทศประมาณ 1,600 MW ปจจุบันไดมีการประเมินศักยภาพของพลังงานลมเพื่อคนหา<br />

แหลงลมดีและการศึกษาความเปนไปไดในการกอสรางโรงไฟฟาฟารมกังหันลมโดยเฉพาะอยางยิ่งตามแนวชายฝง<br />

ทะเลทางภาคใตของประเทศไทย (จอมภพ และคณะ 2552 ชนะ และ จอมภพ 2552 ธเนศ และคณะ 2552<br />

Waewsak et al. 2008) โดยในการศึกษาความเปนไปไดของโรงไฟฟาฟารมกังหันลมมักจะพิจารณากลไกการ<br />

พัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ซึ่งสามารถวิเคราะหปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่<br />

จะลดการปลดปลอยลงไดจากการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม และนําปริมาณคารบอนเครดิตไปขายในตลาด<br />

คารบอนตอไป อยางไรก็ตามยังมีความเสี่ยงเนื่องจากการลงทุนธุรกิจโรงไฟฟาพลังงานลมเนื่องจากความไม<br />

แนนอนของนโยบายในระดับนานาชาติและความไมแนนอนของราคาคารบอนเครดิตที่เกิดจากการซื้อขายเมื่อ<br />

วิเคราะหออกมาในรูปของมูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการ (Net Present Value: NPV) ซึ่งจากความไมแนนอน<br />

ดังกลาวยอมสงผลกระทบตอความเปนไปไดของโครงการในเชิงเศรษฐศาสตร (Yang et al. 2010) อยางไรก็ตาม<br />

ถึงแมวาจะมีความไมแนนอนจากการซื้อขายคารบอนเครดิตแตก็ควรจะมีการจัดทํากลไกการพัฒนาที่สะอาด<br />

เนื่องจากจะชวยใหโครงการโรงไฟฟาพลังงานลมมีความเปนไปไดทางดานเศรษฐศาสตรสูงมากขึ้น<br />

2. วัตถุประสงค<br />

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่สามารถลดลงไดจากการ<br />

ติดตั้งโรงไฟฟาฟารมกังหันลมนอกชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

โครงการวิจัยนี้ไดติดตั้งสถานีวิจัยพลังงานลมจํานวน 18 สถานี ตามแนวชายฝงทะเลอาวไทยและตาม<br />

แนวชายฝงทะเลอันดามัน เพื่อตรวจวัดอัตราเร็วและทิศทางของลมที่ระดับความสูง 20 m 30 m และ 40 รวมทั้ง<br />

อุณหภูมิอากาศแวดลอม โดยมีตําแหนงของสถานีวิจัยพลังงานลมแสดงดังรูปที่ 2 และทําการบันทึกขอมูลทุกๆ 10<br />

นาที ระยะเวลา 1 ป ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 และนําขอมูลลมสถิติมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย<br />

และสัมประสิทธิ์แรงเฉือนลมรายเดือนสําหรับการประมาณคาอัตราเร็วและทิศทางของลมที่ระดับความสูง 80 m 90<br />

m และ 100 m เพื่อวิเคราะหปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานลมโดยใชกังหันลมขนาดใหญที่มีกําลังการผลิต<br />

ติดตั้ง 1.0 MW 1.5 MW และ 2.0 MW ตามลําดับ<br />

โดยทําการวิเคราะหปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดรายปจากฟารมกังหันลมผลิตไฟฟาที่มีความเปนไปไดทั้งทาง<br />

เทคนิคและทางวิศวกรรมโดยอาศัยโปรแกรม WAsP 9.0 และระบบภูมิสารสนเทศรวมทั้งเสนโคงกําลังของกังหันลม<br />

ผลิตไฟฟาทั้ง 3 รุน<br />

128


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดรายปจากกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดดังกลาวที่ถูกติดตั้งในพื้นที่ที่มีความเปนไปได<br />

สูงตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทยจะถูกนําไปวิเคราะหปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่สามารถ<br />

ลดการปลดปลอยลงไดโดยอาศัยแฟกเตอรการแปลง (Conversion Factor) 0.58 kg/kWh และทําการวิเคราะห<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดในหนวย kton CO 2 ตอไป<br />

รูปที่ 2 แผนที่แสดงพิกัดทางภูมิศาสตรและพื้นที่โดยรอบขนาด 15× 15 km 2<br />

ของสถานีวิจัยพลังงานลมตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย จํานวน 18 สถานี<br />

129


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ผลการวิจัยพบวาอัตราเร็วลมที่ระดับความสูง 80-100 m มีคาอยูในชวง 3.4-9.5 m/s โดยมีสถานีวัดลมที่มี<br />

อัตราเร็วลมเฉลี่ยสูงกวา 4 m/s จํานวน 11 สถานี และเมื่อพิจารณาการใชประโยชนที่ดินพบวาสามารถพัฒนา<br />

โรงไฟฟาฟารมกังหันลมไดในพื้นที่โดยรอบสถานีวัดลมจํานวน 10 สถานี ดวยกันไดแก ทาชนะ จ.สุราษฎรธานี<br />

ขนอม สิชล ทาศาลา ปากพนังและหัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ระโนด สะทิงพระ1 สิงหนคร และ จะนะ จ.สงขลา<br />

แสดงรายละเอียดดังรูปที่ 3-5 โดยสามารถพัฒนาโรงไฟฟาฟารมกังหันลมบนพื้นที่แหลงลมดีและสามารถใช<br />

ประโยชนที่ดินไดจํานวน 69 คลัสเตอร กําลังการผลิตติดตั้ง 1,018 MW 1,038 MW และ 1,148 MW สําหรับกังหัน<br />

ลมขนาด 1.0 MW 1.5 MW และ 2.0 MW ตามลําดับ โดยสามารถติดตั้งกังหันลมไดในแตละคลัสเตอรอยูในชวง 1-<br />

65 MW ซึ่งสามารถพัฒนาเปนโรงไฟฟาทั้งในรูปแบบของ VSPP และ SPP ไดตอไป โรงไฟฟาฟารมกังหันลมมีคา<br />

PLF อยูในชวง 17-48% สําหรับกังหันลมขนาด 1.0 MW และ 1.5 MW และมีคาอยูในชวง 22-56% สําหรับกังหัน<br />

ลมขฃนาด 2.0 MW ผลการวิเคราะหความเสี่ยงของโครงการพบวาสามารถติดตั้งโรงไฟฟาฟารมกังหันลมที่ติดตั้ง<br />

กังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 1.0 MW 1.5 MW และ 2.0 MW ขนาดกําลังการผลิต 558 MW 497 MW 492 MW ใน<br />

ระยะสั้น 886 MW 606 MW 1,144 MW ในระยะปานกลาง และ 1,018 MW 1,038 MW 1,148 MW ในระยะยาว<br />

ตามลําดับ ดังรูปที่ 6 โดยแสดงตําแหนงของโรงไฟฟาฟารมกังหันลมดังรูปที่ 7 ซึ่งจากการติดตั้งกังหันลมผลิต<br />

ไฟฟาจํานวน 69 คลัสเตอรดังลาวทําใหสามารถผลิตพลังงานไฟฟาไดรวมกันทั้งสิ้น 4,068 GWh/year 4,096<br />

GWh/year และ 4,492 GWh/year สําหรับกังหันลมขนาด 1.0 MW 1.5 MW และ 2.0 MW ตามลําดับ ซึ่งสามารถ<br />

ลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดรวมกัน 2,332 kton/year 2,365 kton/year 2,591 kton/year<br />

ตามลําดับ โดยมีผลการวิเคราะหการลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดของโรงไฟฟาฟารมกังหันลมแต<br />

ละคลัสเตอรแสดงรายละเอียดดังรูปที่ 8 สําหรับโรงไฟฟาฟารมกังหันลมขนาด 1.0 MW ดังรูปที่ 9 สําหรับโรงไฟฟา<br />

ฟารมกังหันลมขนาด 1.5 MW และรูปที่ 10 สําหรับโรงไฟฟาฟารมกังหันลมขนาด 2.0 MW<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากผลการวิจัยพบวาภายใตศักยภาพของแหลงพลังงานลมตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตสามารถ<br />

พัฒนาโรงไฟฟาฟารมกังหันลมสําหรับผลิตไฟฟาได 69 คลัสเตอร มีกําลังการผลิตติดตั้งรวมกันทั้งสิ้น 1,321 MW<br />

1,354.5 MW และ 1,294 MW สําหรับกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดกําลังการผลิตติดตั้ง 1.0 MW 1.5 MW และ 2.0<br />

MW ตามลําดับ โดยสามารถผลิตไฟฟาไดรวมกันทั้งสิ้น 4,068 GWh/year 4,096 GWh/year และ 4,492<br />

GWh/year ตามลําดับ ซึ่งสามารถลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดรวมกัน 2,332 kton/year 2,365<br />

kton/year 2,591 kton/year ตามลําดับ<br />

130


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อัตราเร็วลมเฉลี่ย (m/s)<br />

9<br />

8<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

ทุงหวา<br />

หาดสําราญ<br />

เกาะลันตา<br />

เหนือคลอง<br />

จะนะ<br />

สิงหนคร<br />

สทิงพระ2<br />

สทิงพระ1<br />

ระโนด<br />

หัวไทร<br />

ปากพนัง<br />

ทาศาลา<br />

สิชล<br />

ขนอม<br />

ดอนสัก<br />

กาญจนดิษฐ<br />

ทาฉาง<br />

ทาชนะ<br />

รูปที่ 3 อัตราเร็วลมเฉลี่ยของแตละสถานีที่ระดับความสูง 80 m<br />

อัตราเร็วลมเฉลี่ย (m/s)<br />

10<br />

9<br />

8<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

ทุงหวา<br />

หาดสําราญ<br />

เกาะลันตา<br />

เหนือคลอง<br />

จะนะ<br />

สิงหนคร<br />

สทิงพระ2<br />

สทิงพระ1<br />

ระโนด<br />

หัวไทร<br />

ปากพนัง<br />

ทาศาลา<br />

สิชล<br />

ขนอม<br />

ดอนสัก<br />

กาญจนดิษฐ<br />

ทาฉาง<br />

ทาชนะ<br />

รูปที่ 4 อัตราเร็วลมเฉลี่ยของแตละสถานีที่ระดับความสูง 90 m<br />

อัตราเร็วลมเฉลี่ย (m/s)<br />

11<br />

10<br />

9<br />

8<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

ทุงหวา<br />

หาดสําราญ<br />

เกาะลันตา<br />

เหนือคลอง<br />

จะนะ<br />

สิงหนคร<br />

สทิงพระ2<br />

สทิงพระ1<br />

ระโนด<br />

หัวไทร<br />

ปากพนัง<br />

ทาศาลา<br />

สิชล<br />

ขนอม<br />

ดอนสัก<br />

กาญจนดิษฐ<br />

ทาฉาง<br />

ทาชนะ<br />

รูปที่ 5 อัตราเร็วลมเฉลี่ยของแตละสถานีที่ระดับความสูง 100 m<br />

131


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1200<br />

1000<br />

1,038<br />

Capacity (MW)<br />

800<br />

600<br />

400<br />

497<br />

606<br />

200<br />

0<br />

Short-Term Medium-Term Long-Term<br />

1200<br />

1000<br />

886<br />

1,018<br />

Capacity (MW)<br />

800<br />

600<br />

400<br />

558<br />

200<br />

Capacity (MW)<br />

0<br />

1400<br />

1200<br />

1000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

Short-Term Medium-Term Long-Term<br />

1,144 1,148<br />

492<br />

Short-Term Medium-Term Long-Term<br />

รูปที่ 6 ผลการวิเคราะหความเสี่ยงของโครงการโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ขนาด 1.0 MW (บน) 1.5 MW (กลาง) และ 2.0 MW (ลาง)<br />

132


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 7 แผนที่ตําแหนงโรงไฟฟาฟารมกังหันลมที่ติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาด 1.0 MW (ซาย)<br />

1.5 MW (กลาง) และ 2.0 MW (ขวา) ตามแนวชายฝงทะเลของจังหวัดสุราษฎรธานี (บน)<br />

นครศรีธรรมราช (กลาง) และสงขลา (ลาง)<br />

133


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สิชล C1<br />

ทาขึ้น C2<br />

ทาขึ้น C3<br />

ทาขึ้น C4<br />

ทาขึ้น C5<br />

ทาขึ้น C6<br />

โพธิ์ทอง C2<br />

หูลอง C1<br />

หูลอง C2<br />

หูลอง C3<br />

บานเพิง C1<br />

บานเพิง C2<br />

บานเพิง C3<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

ทาพญา C1<br />

ทาพญา C2<br />

ทาพญา C3<br />

บางศาลา C2<br />

ปากแพรก C1<br />

ปากแพรก C2<br />

ปากแพรก C3<br />

ปากแพรก C4<br />

บางตะพง C1<br />

บางตะพง C2<br />

บางตะพง C3<br />

เสือหึง C1<br />

เสือหึง C 2<br />

เสือหึง C3<br />

เสือหึง C4<br />

เสือหึง C5<br />

บานกลาง C1<br />

8,672<br />

27,109<br />

38,659<br />

21,294<br />

15,755<br />

15,610<br />

63,163<br />

59,827<br />

57,472<br />

71,827<br />

36,117<br />

21,785<br />

54,903<br />

66,637<br />

47,830<br />

47,916<br />

61,990<br />

59,572<br />

21,889<br />

38,350<br />

86,118<br />

62,350<br />

57,374<br />

24,609<br />

59,700<br />

47,830<br />

59,847<br />

39,220<br />

34,626<br />

30,552<br />

18,403<br />

44,811<br />

27,266<br />

บานกลาง<br />

ทาขนาน C1<br />

ทาขนาน C2<br />

ทาขนาน C3<br />

การะเกด C1<br />

การะเกด C2<br />

ทาซอม C1<br />

ทาซอม C2<br />

ทาซอม C3<br />

ทาซอม C4<br />

บางนบ C1<br />

บางนบ C2<br />

ทรายขาว C1<br />

ทรายขาว C2<br />

ทรายขาว C3<br />

ทรายขาว C4<br />

หัวไทร C1<br />

หัวไทร C2<br />

เขาพังไกรC1<br />

ระโนด C1<br />

ระโนด C2<br />

ระโนด C3<br />

ระโนด C4<br />

ระโนด C5<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

บานใหม C4<br />

บานใหม C5<br />

วัดสน C1<br />

โรง C1<br />

โรง C2<br />

โรง C3<br />

ตลิ่งชัน C3<br />

ตลิ่งชัน C4<br />

นาทับ C1<br />

26,116<br />

38,821<br />

19,786<br />

36,740<br />

58,104<br />

91,427<br />

36,853<br />

30,387<br />

17,572<br />

49,652<br />

30,246<br />

15,406<br />

52,238<br />

43,056<br />

32,513<br />

26,058<br />

89,469<br />

46,936<br />

57,538<br />

5,571<br />

9,277<br />

20,297<br />

5,597<br />

11,040<br />

7,456<br />

7,435<br />

5,595<br />

7,433<br />

5,576<br />

9,320<br />

5,541<br />

5,581<br />

9,310<br />

14,390<br />

10,860<br />

12,374<br />

0 75,000 150,000<br />

0 75,000 150,000<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

รูปที่ 8 ปริมาณคารบอนไดออกไซดที่สามารถลดการปลดปลอยจากการติดตั้งโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ที่ติดตั้งกังหันลมขนาด 1.0 MW<br />

134


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สิชล C1<br />

ทาขึ้น C2<br />

ทาขึ้น C3<br />

ทาขึ้น C4<br />

ทาขึ้น C5<br />

ทาขึ้น C6<br />

โพธิ์ทอง C2<br />

หูลอง C1<br />

หูลอง C2<br />

หูลอง C3<br />

บานเพิง C1<br />

บานเพิง C2<br />

บานเพิง C3<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

ทาพญา C1<br />

ทาพญา C2<br />

ทาพญา C3<br />

บางศาลา C2<br />

ปากแพรก C1<br />

ปากแพรก C2<br />

ปากแพรก C3<br />

ปากแพรก C4<br />

บางตะพง C1<br />

บางตะพง C2<br />

บางตะพง C3<br />

เสือหึง C1<br />

เสือหึง C 2<br />

เสือหึง C3<br />

เสือหึง C4<br />

เสือหึง C5<br />

บานกลาง C1<br />

10,017<br />

34,972<br />

35,171<br />

26,221<br />

23,652<br />

11,866<br />

75,038<br />

57,814<br />

54,294<br />

61,782<br />

39,921<br />

18,316<br />

50,506<br />

64,709<br />

43,425<br />

39,928<br />

61,318<br />

57,617<br />

25,590<br />

21,930<br />

72,651<br />

50,941<br />

54,224<br />

29,505<br />

64,806<br />

43,423<br />

72,135<br />

36,836<br />

43,198<br />

37,060<br />

17,545<br />

42,897<br />

32,456<br />

บานกลาง<br />

ทาขนาน C1<br />

ทาขนาน C2<br />

ทาขนาน C3<br />

การะเกด C1<br />

การะเกด C2<br />

ทาซอม C1<br />

ทาซอม C2<br />

ทาซอม C3<br />

ทาซอม C4<br />

บางนบ C1<br />

บางนบ C2<br />

ทรายขาว C1<br />

ทรายขาว C2<br />

ทรายขาว C3<br />

ทรายขาว C4<br />

หัวไทร C1<br />

หัวไทร C2<br />

เขาพังไกรC1<br />

ระโนด C1<br />

ระโนด C2<br />

ระโนด C3<br />

ระโนด C4<br />

ระโนด C5<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

บานใหม C4<br />

บานใหม C5<br />

วัดสน C1<br />

โรง C1<br />

โรง C2<br />

โรง C3<br />

ตลิ่งชัน C3<br />

ตลิ่งชัน C4<br />

นาทับ C1<br />

26,116<br />

38,821<br />

19,786<br />

36,740<br />

58,104<br />

91,427<br />

36,853<br />

30,387<br />

17,572<br />

49,652<br />

30,246<br />

15,406<br />

52,238<br />

43,056<br />

32,513<br />

26,058<br />

89,469<br />

46,936<br />

57,538<br />

5,571<br />

9,277<br />

20,297<br />

5,597<br />

11,040<br />

7,456<br />

7,435<br />

5,595<br />

7,433<br />

5,576<br />

9,320<br />

5,541<br />

5,581<br />

9,310<br />

14,390<br />

10,860<br />

12,374<br />

0 75,000 150,000<br />

0 75,000 150,000<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

รูปที่ 9 ปริมาณคารบอนไดออกไซดที่สามารถลดการปลดปลอยจากการติดตั้งโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ที่ติดตั้งกังหันลมขนาด 1.5 MW<br />

135


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สิชล C1<br />

ทาขึ้น C2<br />

ทาขึ้น C3<br />

ทาขึ้น C4<br />

ทาขึ้น C5<br />

ทาขึ้น C6<br />

โพธิ์ทอง C2<br />

หูลอง C1<br />

หูลอง C2<br />

หูลอง C3<br />

บานเพิง C1<br />

บานเพิง C2<br />

บานเพิง C3<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

ทาพญา C1<br />

ทาพญา C2<br />

ทาพญา C3<br />

บางศาลา C2<br />

ปากแพรก C1<br />

ปากแพรก C2<br />

ปากแพรก C3<br />

ปากแพรก C4<br />

บางตะพง C1<br />

บางตะพง C2<br />

บางตะพง C3<br />

เสือหึง C1<br />

เสือหึง C 2<br />

เสือหึง C3<br />

เสือหึง C4<br />

เสือหึง C5<br />

บานกลาง C1<br />

43,669<br />

39,268<br />

17,438<br />

26,525<br />

13,323<br />

90,865<br />

61,648<br />

45,066<br />

78,468<br />

33,814<br />

22,608<br />

50,361<br />

66,948<br />

55,986<br />

50,454<br />

78,039<br />

61,463<br />

33,826<br />

67,089<br />

33,762<br />

89,645<br />

61,741<br />

67,083<br />

39,718<br />

67,056<br />

61,961<br />

78,214<br />

46,075<br />

33,124<br />

45,965<br />

20,010<br />

39,423<br />

26,554<br />

บานกลาง<br />

ทาขนาน C1<br />

ทาขนาน C2<br />

ทาขนาน C3<br />

การะเกด C1<br />

การะเกด C2<br />

ทาซอม C1<br />

ทาซอม C2<br />

ทาซอม C3<br />

ทาซอม C4<br />

บางนบ C1<br />

บางนบ C2<br />

ทรายขาว C1<br />

ทรายขาว C2<br />

ทรายขาว C3<br />

ทรายขาว C4<br />

หัวไทร C1<br />

หัวไทร C2<br />

เขาพังไกรC1<br />

ระโนด C1<br />

ระโนด C2<br />

ระโนด C3<br />

ระโนด C4<br />

ระโนด C5<br />

บานใหม C1<br />

บานใหม C2<br />

บานใหม C3<br />

บานใหม C4<br />

บานใหม C5<br />

วัดสน C1<br />

โรง C1<br />

โรง C2<br />

โรง C3<br />

ตลิ่งชัน C3<br />

ตลิ่งชัน C4<br />

นาทับ C1<br />

36,331<br />

39,570<br />

26,605<br />

29,893<br />

62,153<br />

90,914<br />

29,927<br />

26,559<br />

45,960<br />

58,969<br />

29,730<br />

20,321<br />

62,624<br />

36,619<br />

26,601<br />

26,559<br />

91,129<br />

45,665<br />

58,639<br />

6,374<br />

9,551<br />

22,185<br />

6,388<br />

12,603<br />

9,576<br />

9,560<br />

6,387<br />

9,559<br />

6,377<br />

12,766<br />

6,357<br />

6,378<br />

9,572<br />

20,892<br />

14,520<br />

16,739<br />

0 75,000 150,000<br />

0 75,000 150,000<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

CO 2 (tCO 2 e/Yr)<br />

รูปที่ 10 ปริมาณคารบอนไดออกไซดที่สามารถลดการปลดปลอยจากการติดตั้งโรงไฟฟาฟารมกังหันลม<br />

ที่ติดตั้งกังหันลมขนาด 2.0 MW<br />

136


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

คณะผูวิจัยขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สําหรับการสนับสนุนงบประมาณการ<br />

วิจัยของโครงการ และขอขอบคุณหนวยวิจัยพลังงานลม-แสงอาทิตย สําหรับการสนับสนุนคาใชจาย<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Sesto, E. and Casale, C. (1998), Exploitation of wind as an energy source to meet the<br />

world’s electricity demand. Journal of Wind Engineering and Industrial Aerodynamics, 74-<br />

76, pp. 375-387.<br />

- Sahin, A. D. (2004), Progress and recent trends in wind energy. Progress in Energy<br />

and Combustion Science, 30, pp. 501–543.<br />

- Waewsak, J., C. Chancham, Y. Tirawanichakul, S. Tirawanichakul and N. Matan, 2008,<br />

A Pre-Feasibility Study of a MW Wind Power Generation in Thailand, Proceeding of the<br />

2 nd International Conference on Clean Electrical Power, Capri, Italy.<br />

- Yang, M., Nguyen, F., T’Serclaes, P. D. and Buchner, B. (2010) Wind farm investment<br />

risks under uncertain CDM benefit in China Energy Policy, 38, pp. 1436-1447.<br />

- รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2552 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน<br />

กระทรวงพลังงาน<br />

- จอมภพ แววศักดิ์ ชูลีรัตน คงเรือง ยุทธนา ฏิระวณิชยกุล สุภวรรณ ฏิระวณิชยกุล นิรันดร มา<br />

แทน เชาวรัตน พรหมแพทย และ อภิชาติ หนูทอง (2552) การศึกษาความเปนไปไดของ<br />

โรงไฟฟาฟารมกังหันลมตามแนวชายฝงทะเลทางภาคใตของประเทศไทย รายงานวิจัยฉบับ<br />

สมบูรณ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 270 หนา<br />

- ชนะ จันทรฉ่ํา และ จอมภพ แววศักดิ์ (2552) การประเมินศักยภาพของแหลงพลังงานลมและความ<br />

เปนไปไดของฟารมกังหันลมขนาดใหญตามแนวชายฝงทะเลอาวไทย การประชุมวิชาการ<br />

เครือขายพลังงานแหงประเทศไทย ครั้งที่ 5 29 เมษายน-1 พฤษภาคม มหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

พิษณุโลก<br />

- ธเนศ ไชยชนะ ณัฐวุฒิ ดุษฎี กิตติกร สาสุจิตต และ ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน (2552) การ<br />

วิเคราะหลักษณะและศักยภาพพลังงานลมของสถานีวัดลมกิ่วลม จังหวัดแมฮองสอน การประชุม<br />

ทางวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทย ครั้งที่ 5 29 เมษายน-1พฤษภาคม มหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร พิษณุโลก<br />

- http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_carbon_dioxide_e<br />

137


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นวัตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน กําจัดกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )<br />

ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ<br />

Fossil Fuels CO 2 Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) Technological Innovation<br />

กําธร แสงฤทธิ์ และ ชัยทัศน ไพรินทร<br />

ศูนยวิจัยนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน นานาชาติ (ศวน.)<br />

619/9 ถนนมะลิวัลย ตําบลบานเปด อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000<br />

saengrit@hotmail.com and pairintrac@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาวิจัยนี้ เปน การศึกษาวิจัย “นวัตกรรมชีวภาพ-นาโน” เพื่อ นํามาใชในการกําจัดกาซ CO 2 ใน<br />

เชื้อเพลิงธรรมชาติ ดวย เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโนกําจัดกาซ CO 2 ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ (GEB-N) โดย ได<br />

ทําการศึกษาวิจัย ณ ศวน.ใน ป พ.ศ.2553<br />

นวัตกรรมชีวภาพ-นาโน หรือ วัสดุชีวภาพ ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐ (ยื่นจดสิทธิบัตรแลว) นี้ ไดมาจาก<br />

กระบวนการผลิต ดวย เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย และเทคโนโลยีนาโนวัสดุอินทรีย แลวนํามาผสมลงในเชื้อเพลิง<br />

ธรรมชาติซากดึกดําบรรพ หรือที่เรียกวา ฟอสซิล (Fossil Fuels) ซึ่งไดแก น้ํามัน ถานหิน และ กาซธรรมชาติ เพื่อ<br />

ทําการกําจัดหรือลดปริมาณกาซ CO 2 ที่มีอยูในเชื้อเพลิงธรรมชาติแตละชนิดเหลานี้ หลังจากนั้น ไดทําการวัด<br />

ปริมาณ CO 2 ภายหลังจากการเผาไหมเชื้อเพลิง และผลจากการตรวจวัดปริมาณ CO ดวยเครื่องวัด OPUS 20<br />

พบวา มีคาอยูในระหวาง 0.00-0.05% หรือมีประสิทธิภาพในการกําจัดกาซ CO อยูในระดับ 99.95 - 100%<br />

นอกจากนี้ คณะนักวิจัยยังไดเสนอ แนวทางการถายทอดเทคโนโลยี สําหรับผูประกอบธุรกิจพลังงานเชื้อเพลิง<br />

ธรรมชาติ ตามหลักการ กลไกการพัฒนาที่สะอาด หรือ Clean Development Mechanism (CDM) ในระดับสากลไว<br />

อีกดวย<br />

ผลจากการศึกษาวิจัยนวัตกรรมครั้งนี้ สรุปไดวา สามารถนําเทคโนโลยี GEB-N นี้ไปใชใน การกําจัด<br />

CO 2 จากเชื้อเพลิงธรรมชาติใหอยูในมาตรฐาน คือ 25-40% ในป ค.ศ. 2020 และ 50% ในป ค.ศ. 2050 ตามที่<br />

คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Intergovernmental Panel on Climate<br />

Change (IPCC) กําหนดไวไดเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในการนําไปใช เพื่อลดการปลดปลอยกาซ CO 2<br />

สําหรับโรงกลั่นน้ํามัน โรงงานแยกกาซ โรงไฟฟาถานหิน โรงงานปูนซีเมนต โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ โดยมีขอดี<br />

คือ เปนเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง มีราคาถูก เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ สามารถดําเนินการไดทุกที่ทั่วโลก<br />

คําสําคัญ : นวัตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน การศึกษาวิจัยนวัตกรรม กลไกการพัฒนาที่สะอาด คณะกรรมการ<br />

ระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

138


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

This research is an innovation research on bio-nano innovation product to eliminating CO 2 in<br />

fossil fuels under fossil fuels CO 2 Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) technology. It was carried out at an<br />

International Bio-Nano Innovation Research Center (IB-NIRC) Thailand in 2010.<br />

This bio-nao product or what so called innovation product (patent pending) was derived from a<br />

combination of bio-microbial and nano technological processes. The innovation product was mixed in<br />

fossil fuels- oil, coal, and natural gas at the rate (v/v or wt/v) of 1: 1,000 to eliminate CO 2 . After<br />

combustion, CO 2 gas was detected and measured by OPUS 20, a digital gas analyzer, in % CO. Results<br />

indicated that CO gases were in the range of 0.00-0.05% or equivalent to 99.95 – 100% efficiency in term<br />

of environmental pollution reduction. In addition, the CO 2 Elimination Networking was proposed for energy<br />

enterprises worldwide under Clean Development Mechanism (CDM) project.<br />

It was concluded that this innovation research finding can be used as an effective tool in CO 2<br />

reduction target set by Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) as 25-40% by 2020 and 50%<br />

by 2050. Moreover, it is the best innovation for CDM projects under oil refinery plants, coal fire power<br />

plants, gas separation plants, cement plants, etc. since the innovation technology showed a promising<br />

advantages on cost-effective, environmentally-friendly, and can be made easily accessible to world<br />

community.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในการประชุมประเทศภาคีสมาชิก วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 15 หรือ COP 15<br />

ระหวางวันที่ 7-18 ธันวาคม 2009 ณ กรุงโคเปนฮาเกนประเทศเดนมารค (UNFCCC, 2009) ปรากฏวา ที่ประชุม<br />

ไมสามารถตกลงทําสัตยาบันรวมกัน เพื่อ ลดปริมาณ (%) การปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด หรือ CO 2 ตามที่<br />

คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ IPCC (Intergovernmental Panel on<br />

Climate Change, IPCC) กําหนด คือ 25-40%ในป ค.ศ. 2020 และ 50% ในป ค.ศ. 2050 ได และดวยเหตุนี้ จึงได<br />

มีการวิจารณกันอยางกวางขวางวา เปน “ความลมเหลว” ในความรวมมือระหวางประเทศภาคีสมาชิกฯ ซึ่งไดมีผู<br />

รวบรวมปญหาและสาเหตุตางๆไวมากมาย (Green Prophet, 2009; Jerichow, 2009; Walsh, 2009; BBC News,<br />

2010;) โดยสรุปไดวา ตนเหตุแหงปญหา คือ “การที่ไมสามารถหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ในการลดการปลอย<br />

กาซ CO 2 จากการใชเชื้อเพลิงธรรมชาติเปนพลังงานไดอยางถูกตองและมีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ-สังคม<br />

ของแตละประเทศ เปนประเด็นหลักสําคัญ”<br />

ปจจุบัน ทบวงพลังงานสากล (International Energy Agency, IEA) ไดรายงานสรุปวา ขณะนี้มีเทคโนโลยี<br />

17 ชนิด (IEA, 2008) สามารถนํามาใช เพื่อนําไปสูเปาหมายการลดปริมาณ CO 2 ในป ค.ศ. 2050 ได ประกอบดวย<br />

เทคโนโลยีประเภท การผลิตหรืออุปสงค (Demand) จํานวน 8 เทคโนโลยีและเทคโนโลยีประเภท การใชหรือ<br />

อุปทาน (Supply) จํานวน 9 เทคโนโลยี ซึ่งเทคโนโลยีเหลานี้ เปนโมเดลทางเศรษฐศาสตร ที่นํามาใชสําหรับอธิบาย<br />

การเปลี่ยนแปลงของราคาและจํานวนของสินคาในตลาด ในทางเศรษฐศาสตร ดังนั้น จึงเห็นไดชัดวา ในกรณีนี้<br />

เกือบทุกประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยดวย ไดใหความสําคัญ ในความพยายามที่จะลดปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกลง ดวยการใชเทคโนโลยีตางๆตามหลักการทางเศรษฐศาสตรที่กลาวมาแลวขางตน แตในขณะเดียวกัน<br />

คณะนักวิจัย ศวน. (Pairintra and Saengrit, 2009; Pairintra, et al., 2009)ไดทําการศึกษาประเด็นปญหาตางๆ<br />

139


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ทางวิชาการ เศรษฐกิจ-สังคม และการเมืองระหวางประเทศแลว พบวา เทคโนโลยีทั้ง 2 ประเภทในลักษณะการ<br />

ผลิตและการใชดังกลาวขางตนนี้ เปนเทคโนโลยีที่ไมมีความเหมาะสม กับ สภาพเศรษฐกิจ-สังคมของแตละประเทศ<br />

ทั้งนี้ เนื่องจาก เปนเทคโนโลยีที่มีความซับซอนในเชิงวิชาการ ไมเปนธรรมชาติ ตนทุนสูง ไมสามารถจะนําไป<br />

ปฏิบัติไดอยางทั่วถึง ฯลฯ ซึ่งตัวอยางที่เห็นไดชัดเจน ไดแก เทคโนโลยีพลังงานนิวเคลียร เทคโนโลยีการเก็บ-กัก-<br />

อัดฉีด CO 2 ลงไปใตพิภพ เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย เทคโนโลยีพลังงานลม เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ฯลฯ<br />

ซึ่งลวนมีองคประกอบดานการเมือง การลงทุนสูง ความเปนไปไดนอยในเชิงสาธารณะ รวมทั้งผลกระทบตอ<br />

สภาพแวดลอมอันอาจจะเกิดมีขึ้นในอนาคตไดอีกดวย ดวยเหตุนี้ คณะนักวิจัย ศวน. จึงไดนําเสนอ “นวัตกรรม<br />

เทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน (Bio-Nano Technological Innovation) ภายใตหัวขอ หรือ Theme “การเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพการใชพลังงาน (Energy Efficiency) ในลักษณะ ประสิทธิผล หรือ ผลิตภาพ (Productivity) การใช<br />

พลังงาน ดวย เทคโนโลยีการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก และ การถายทอดเทคโนโลยี (Greenhouse<br />

Gases Emission Reduction Technology and Technology Transfer) เพื่อนําไปสู สภาวะการลดกาซเรือนกระจก<br />

(Greenhouse Gases Mitigation)” ไดในที่สุด ดวยมีความเชื่อมั่นวา จะสามารถดําเนินการได โดยปราศจากปญหา<br />

ตางๆดังกลาวมาแลวนี้ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง การพิจารณาในดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ<br />

ใชงาน มีความเปนมิตรตอสภาพแวดลอม มีราคาถูก และสามารถนําไปปฏิบัติใชไดโดยงายทุกที่ทั่วโลก โดยมี<br />

รายละเอียดซึ่งจะไดนําเสนอตอไป<br />

2. วัตถุประสงคการวิจัยนวัตกรรม<br />

2.1 เพื่อทดสอบความสามารถของนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน หรือวัสดุชีวภาพ ในการกําจัด CO 2<br />

ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ (น้ํามัน, ถานหิน, และกาซธรรมชาติ)<br />

2.2 เพื่อประเมินผลหรือผลิตภาพ (Productivity) ของนวัตกรรมในการลดปริมาณกาซ CO 2 ลงตาม<br />

มาตรฐานที่ IPCC กําหนดไว คือ 25-40% ในป ค.ศ. 2020 และ 50% ในป ค.ศ. 2050<br />

2.3 เพื่อวางแผนการถายทอดเทคโนโลยี สําหรับ: โรงกลั่นน้ํามัน โรงแยกกาซ โรงไฟฟา และ โรงงาน<br />

ปูนซีเมนต<br />

3. หลักการและวิธีการวิจัยนวัตกรรม<br />

3. 1 หลักการ<br />

เปนการศึกษาวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน หรือวัสดุชีวภาพ (ยื่นจดสิทธิบัตรแลว) ในขั้นตอนที่<br />

6 คือ การนําเอานวัตกรรมฯ ซึ่งถือวาเปนนวัตกรรมขั้นสมบูรณ ไปใชในสถานการณทั่วไป และโดยการดัดแปลง<br />

ตามหลักการของ Fogg (2003) เพื่อนําไปสูกระบวนการเพิ่ม “ประสิทธิภาพการใชพลังงาน (Energy Efficiency)<br />

โดยมุงเนนเทคโนโลยีที่มีราคาถูกและกอใหเกิดประโยชนสูงสุด (Piebalgs, 2006) ในลักษณะ การประเมินผลิตภาพ<br />

(Productivity) ของนวัตกรรมพลังงาน และดําเนินการดวยเทคโนโลยีชีวภาพ-นาโน ในการลดหรือ กําจัด การ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gases Emission Reduction Technology) สําหรับ การลดสภาวะกาซ<br />

เรือนกระจก (Greenhouse Gases Mitigation)” ประกอบดวย<br />

3.1.1 การทดสอบ ความสามารถของนวัตกรรมฯ ในการกําจัด กาซ CO 2 ในน้ํามัน ถานหิน และกาซ<br />

ธรรมชาติ<br />

3.1.2 การประเมินผล ผลิตภาพของนวัตกรรมฯ ในการลดปริมาณ กาซ CO 2 ลง ตามมาตรฐานที่ IPCC<br />

กําหนด<br />

140


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.1.2 การกําหนดแผน/แนวทางในการถายทอดเทคโนโลยีไปทั่วโลก<br />

3.2 วิธีการ<br />

3.2.1 นําเอานวัตกรรม ไปทดสอบประสิทธิภาพ โดยผสม กับ น้ํามัน ถานหิน และกาซธรรมชาติ ใน<br />

อัตราสวน 1:1,000 (v/v or wt/v) (ผสมนวัตกรรม 1 กรัม ตอ: น้ํามัน 1,000 ซีซี / ถานหิน 1,000 กรัม / กาซ<br />

ธรรมชาติ 1,000 ลบ.ฟ.)แลวนําไปทดสอบการเผาไหม (ใช) กับรถยนต สําหรับ น้ํามันและกาซธรรมชาติ และเผา<br />

ดวยความรอน 350 C สําหรับถานหิน จากนั้นทําการวัดคา CO (%) ดวยเครื่อง OPUS 20 GAS ANALYZER จาก<br />

ทอไอเสีย หรือจากภาชนะบรรจุ CO ที่ไดรวบรวมไว ทําการบันทึกผลและรวบรวมขอมูลแลววิเคราะหผลตาม<br />

หลักการทางสถิติการวิจัย<br />

3.2.2 นําเอาผลการประเมินดานประสิทธิภาพ จากขอ 1 ไปคํานวณทางคณิตศาสตรเพื่อหาประสิทธิผล<br />

หรือ ผลิตภาพ ของ นวัตกรรรม ที่มีตอปริมาณเชื้อเพลิงธรรมชาติและปริมาณการปลอยกาซ CO 2 จากเชื้อเพลิง<br />

ธรรมชาติตางๆทั่วโลก ทั้งนี้ เพื่อยืนยันประสิทธิผลของนวัตกรรมในการลดปริมาณการปลอยกาซCO 2 ลงตาม<br />

กําหนดของ IPCC<br />

3.2.3 เสนอแผนการการถายทอดเทคโนโลยี (Technology transfer) ไปยังเครือขายทั่วโลก ตาม<br />

วัตถุประสงคที่ตั้งไว<br />

4. ผลและการวิจารณผล<br />

4.1 การทดสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผล นวัตกรรมชีวภาพ-นาโนที่มีตอการลด CO 2 ในเชื้อเพลิง<br />

ผลการตรวจวัด ปริมาณ CO (% vol) หลังการเผาไหม 1) น้ํามันแกสโซฮอล 95 ในรถยนตมิตซูบิชิแลน<br />

เซอร ขนาด 1600 cc 2) ถานหิน ดวยความรอน 350 ºC และ 3) กาซ LPG ในรถยนตแดวูเอสปโร ขนาด 1800 cc<br />

ในระหวางเดือน กุมภาพันธ – พฤษภาคม 2553 โดยไดทําการทดสอบ เปนเวลา 4 เดือนๆละครั้ง (จํานวน 4 ครั้ง)<br />

รวบรวมผล และทําการวิเคราะหทางสถิติเปรียบเทียบระหวาง การใชและไมใชนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน (ตารางที่ 1-<br />

3) ผลการวิเคราะห ไดชี้ใหเห็นชัดวา มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (โดยวิธี<br />

DMRT) กลาวคือ การใชนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน มีการปลอย CO 2 โดยเฉลี่ย 0.02, 0.03, และ 0.04 % สําหรับ<br />

น้ํามัน, ถานหิน, และกาซธรรมชาติ ตามลําดับ ดังนั้น จึงทําใหปริมาณ CO 2 ที่ปลอยจากน้ํามัน, ถานหิน, และกาซ<br />

ธรรมชาติ ลดลง 99.98, 99.97, และ 99.96% ตามลําดับ สวนวัน หรือ จํานวนครั้งที่ทําการทดสอบปรากกฎวา ไมมี<br />

ความแตกตางกันทางสถิติ ซึ่งขอมูลนี้ เปนเครื่องชี้วัดและยืนยันไดวา ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีในการกําจัดกาซ<br />

CO 2 คงที่ หรือ ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ ดังนั้น จึงสามารถนําไปใชไดทุกที่ทุกเวลา นอกจากนั้น การ<br />

ศึกษาวิจัยนวัตกรรม ในครั้งนี้ ยังไดทําการทดสอบเพื่อประเมินผลกระทบดานสุขภาพ หรือ Health Impact<br />

Assessment (HIA) โดยใชวิธีการงายๆดวยการทดลองกาซ CO จากการเผาไหม กับหนูทดลอง และผลปรากฏวา<br />

มีความปลอดภัย ดังนั้น จึงมีหมายความวา มีความปลอดภัยในดานสิ่งแวดลอมเชนเดียวกันอีกดวย นอกจากนั้น<br />

ปริมาณการใชวัสดุ หรือ นวัตกรรมชีวภาพ-นาโน จะเห็นไดวาไดใชเปนจํานวนนอยมาก คืออัตราการผสม 1 กรัม<br />

ตอ : น้ํามัน 1,000 ซีซี, ถานหิน 1,000 กรัม, กาซธรรมชาติ 1,000 ลบ.ฟ. ซึงคิดเปนราคานวัตกรรมเพียง 3.5<br />

สตางค ตอ 1 กรัม เทานั้น ดังนั้น จึงนับไดวา เปน วัสดุชีวภาพ ที่มีความปลอดภัยตอสภาพแวดลอม หรือ<br />

Environmental Impact Assessment (EIA) ที่ถูกที่สุด และสามารถจะจัดหาวัสดุในการผลิตไดโดยงายสําหรับทุกๆ<br />

ประเทศทั่วโลก<br />

141


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1: ผลการวิเคราะหปริมาณ CO (%vol) ในน้ํามันแกสโซฮอล 95<br />

ชนิดเชื้อเพลิง*<br />

น้ํามันแกสโซฮอล 95<br />

ครั้งที่ทดสอบ NS 1 2 3 4 หมายเหตุ<br />

อัตราสวนผสม<br />

สัตวทดลอง<br />

ซ้ําที่ % % % % เฉลี่ย<br />

(หนู)<br />

1 0.20 0.21 0.22 0.23 0.21 หนูสลบ<br />

1:1,000 2 0.22 0.20 0.24 0.20 0.22 หนูสลบ<br />

3 0.23 0.22 0.22 0.21 0.22 หนูสลบ<br />

เฉลี่ย 0.12 0.13 0.12 0.14 0.21<br />

น้ํามันแกสโซฮอล 95 +<br />

นวัตกรรม<br />

1:1,000<br />

1<br />

2<br />

3<br />

เฉลี่ย<br />

0.02<br />

0.03<br />

0.00<br />

0.01<br />

0.02<br />

0.01<br />

0.04<br />

0.02<br />

0.03<br />

0.04<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.05<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.02<br />

0.02<br />

0.02<br />

*มีความแตกตางทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%, NS ไมมีความแตกตางทางสถิติ (โดยวิธี DMRT)<br />

ตารางที่ 2: ผลการวิเคราะหปริมาณ CO (%vol) ในถานหินลิกไนต<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

ชนิดเชื้อเพลิง*<br />

ถานหินลิกไนตบด<br />

ครั้งที่ทดสอบ NS 1 2 3 4 หมายเหตุ<br />

อัตราสวนผสม<br />

สัตวทดลอง<br />

ซ้ําที่ % % % % เฉลี่ย<br />

(หนู)<br />

1 0.12 0.15 0.20 0.13 0.13 หนูสลบ<br />

1:1,000 2 0.12 0.14 0.13 0.15 0.13 หนูสลบ<br />

3 0.13 0.12 0.12 0.12 0.13 หนูสลบ<br />

เฉลี่ย 0.12 0.13 0.15 0.13 0.13<br />

ถานหินลิกไนตบด +<br />

นวัตกรรม<br />

1:1,000<br />

1<br />

2<br />

3<br />

เฉลี่ย<br />

0.04<br />

0.03<br />

0.04<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.04<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.04<br />

0.02<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

*มีความแตกตางทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%, NS ไมมีความแตกตางทางสถิติ (โดยวิธี DMRT)<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

ตารางที่ 3: ผลการวิเคราะหปริมาณ CO (%vol) ในกาซธรรมชาติ LPG<br />

ครั้งที่ทดสอบ NS 1 2 3 4 หมายเหตุ<br />

อัตราสวนผสม<br />

สัตวทดลอง<br />

ชนิดเชื้อเพลิง*<br />

ซ้ําที่ % % % % เฉลี่ย<br />

(หนู)<br />

1 0.17 0.25 0.19 0.18 0.19 หนูสลบ<br />

1:1,000 2 0.20 0.18 0.20 0.15 0.18 หนูสลบ<br />

กาซ LPG<br />

3 0.18 0.19 0.22 0.24 0.20 หนูสลบ<br />

เฉลี่ย 0.18 0.20 0.20 0.19 0.19<br />

1 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05<br />

1:1,000 2 0.05 0.04 0.04 0.04 0.04<br />

กาซ LPG + นวัตกรรม<br />

3 0.04 0.05 0.05 0.05 0.04<br />

เฉลี่ย 0.04 0.04 0.04 0.05 0.04<br />

*มีความแตกตางทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%, NS ไมมีความแตกตางทางสถิติ (โดยวิธี DMRT)<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

หนูปกติ<br />

142


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สิ่งที่นาสนใจจากผลของการทดสอบครั้งนี้ ที่สําคัญ คือ ความโดดเดนของนวัตกรรมในดานประสิทธิภาพ<br />

การใชงาน กลาวคือ ใชงาย ราถูก ไมเปนพิษตอสิ่งแวดลอม และมีประสิทธิภาพในการกําจัดกาซ CO 2 ไดเกือบใกล<br />

ศูนย (0.00-0.05%) หรือ ที่เรียกวา Near zero emission technology ในระดับสากล<br />

ปจจุบัน มีหลายประเทศไดใหความสนใจ Near zero emission technology เชน สหรัฐอเมริกา<br />

ออสเตรเลีย และจีน โดยมุงเปาหมายไปที่ โครงการ Carbon Capture and Storage ดวยการใชเทคโนโลยี<br />

หลากหลายชนิด และที่จะนํามาพิจารณาวิเคราะห ณ ที่นี้ มีจํานวน 4 เทคโนโลยี คือ Pulverized Coal (PC)<br />

Technology, Integrated Gasification Combined Cycle (IGCC) Technology, Natural Gas Combined Cycle<br />

(NGCC) Technology และ Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) Technology สําหรับโรงไฟฟา ซึ่งเปนที่สนใจ<br />

ของนักวิชาการและนักบริหารโดยทั่วไปในขณะนี้ และขอมูลที่จะนํามาสังเคราะห เปนพิเศษ คือ คาใชจายในการ<br />

ลงทุน ประสิทธิภาพ คาการผลิตไฟฟา ปริมาณการปลอยกาซ CO 2 คาใชจายในการดักจับและกักเก็บ CO 2 และ<br />

ราคาขาย CO 2 หรือ Carbon Trading ตามหลักการของ สหภาพยุโรป ทั้งนี้ โดย Matysek, et al. (2005) ได<br />

เปรียบเทียบ โรงไฟฟา IGCC Technology ที่ไมใชการดักจับ มีความใกลเคียงกันกับโรงงานไฟฟา PC<br />

Technology ในดานตนทุน คาใชจายในการผลิตกระแสไฟฟา และประสิทธิภาพ สวนโรงไฟฟา IGCC Technology<br />

ที่ใชการดักจับ โดยทั่วไป จะมีคากอสรางสูงกวา โรงงานไฟฟา PC Technology ที่ไมมีการดักจับ แตจะมีการ<br />

ปลอยกาซ CO 2 ออกมามากกวา ตอหนวยไฟฟาที่ผลิต ในการเปรียบเทียบปริมาณการปลอยกาซ CO 2 ของ<br />

เทคโนโลยีทั้ง 3 พบวา PC > IGCC > NGCC หรือ 722-789 > 710-750 > 344-430 g CO 2 / kWh ตามลําดับ<br />

กรณีตัวอยางที่กลาวมานี้ ยอมเปนเครื่องยืนยันไดวา แม NGCC Technology ซึ่งคนทั่วโลกยอมรับวาเปน<br />

เทคโนโลยีถานหินที่สะอาดที่สุดในปจจุบัน แตมีคาการปลอยกาซ CO 2 สูงกวา GEB-N Technology ซึ่งสามารถ<br />

พิสูจนในเชิงคณิตศาสตรไดวา หากใช นวัตกรรมชีวภาพ-นาโน โดยจะใสกอนหรือหลังการเผาไหมถานหินก็ได และ<br />

ไมตองมีการตอเติมหรือเปลี่ยนแปลงระบบการใชพลังงานของแตละเทคโนโลยี แตประการใดทั้งสิ้น ก็จะทําให<br />

ปริมาณการปลอยกาซ CO 2 ลดลงประมาณ 99.95% ดังนั้น ปญหาในขณะนี้ คือ การพิสูจนผลิตภาพของเทคโนโลยี<br />

ในดาน Near zero emission technology ซึ่งก็เปนที่นายินดีวา ขณะนี้ ศวน.กําลังดําเนินการติดตอประสานงาน กับ<br />

หนวยงาน และสถาบันพลังงานอื่นๆ เพื่อความรวมมือทั้งดานวิชาการและธุรกิจกัน ตอไป<br />

4.2 การประเมินประสิทธิผลการใชนวัตกรรมที่มีตอเปาหมายการลด CO 2 ซึ่งกําหนดโดย IPCC คือ 25-40%<br />

ในป 2020 และ 50%ในป 2050 สําหรับประเทศที่พัฒนาแลว หรือประเทศอุตสาหกรรม นั้น ไดดําเนินการ<br />

โดย ทําการรวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆที่เกี่ยวของ แลวนํามาสังเคราะหผล กับ ผลการทดสอบ<br />

ประสิทธิภาพของนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน สรุปไดดังตอไปนี้<br />

4.2.1 การกําหนดมาตรฐานการปลอย CO 2 ของ IPCC:<br />

จากรายงานการประชุมของ IPCC ที่เผยแพรในป 2007 (IPCC’s Fourth Assessment Report, 2007)<br />

สรุปไววา ในป 2020 ประเทศอุตสาหกรรมจะตองลดการปลอยกาซ CO 2 ใหต่ํากวาระดับในป 1990 ลง 25-40%<br />

ทั้งนี้เพื่อที่จะรักษาระดับอุณหภูมิของโลกไวใหไดที่ 2ºC และรายละเอียดใน Table TS.2 แสดงดวยวา การรักษา<br />

ระดับ 2.0-2.4 ºC นั้น ปริมาณ CO 2 ในบรรยากาศ ตองอยูในชวง 350-450 และ 445-495 ppm CO 2 equivalent<br />

ตามลําดับดวย ซึ่งในขณะนี้ ปริมาณสูงสุดที่วัดได ณ Mauna Loa Observatory ในป 2010 คือเดือน May 2010 มี<br />

ปริมาณ 392.94 ppm CO 2 -equivalent (CO2 NOW, 2010) แตอยางไรก็ตาม เปนที่นาสังเกตวาในการกําหนด<br />

มาตรฐานดังกลาวมาแลวนี้ ยังมีตัวเลขที่ IPCC กําหนดไวต่ําลงไปอีก ที่เรียกวา Low level reduction คือ 10-40%<br />

สําหรับประเทศพัฒนาแลวอื่นๆไวอีกดวย<br />

143


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ดังนั้น ประเด็นปญหาที่จะตองนํามาพิจารณา ณ ที่นี้ คือ ทั่วโลกจะสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไว<br />

ไดหรือไม และ ดวยเทคโนโลยีใดที่ถูกตองและเหมาะสมที่สุดกับสถานการณปจจุบัน ? ซึ่งประเด็นปญหานี้ได<br />

กลาวนํามาแลววา ในการประชุม COP 15 ที่ผานมา ไมสามารถจะบรรลุผลและหาขอยุติไดเลย<br />

ขอเสนอ ณ ที่นี้ คือ คณะนักวิจัยฯ ไดคนพบเทคโนโลยี ที ่มีความถูกตองและเหมาะสมกับสภาพการณ<br />

ปจจุบันแลว และที่สําคัญ คือ มีความสามารถดําเนินการไดทันที และทุกที่ทั่วโลก เพื่อลดการปลอย CO 2 ใหเหลือ<br />

เพียง 0.00 – 0.05 % เทานั้น ซึ่งจะสามารถปฏิบัติตามเกณฑที่ IPCC กําหนดไวไดอยางงายดาย อีกทั้งจะเปนการ<br />

ชวยบรรเทาภัยพิบัตินานาประการ อันจะเกิดจากสภาวะโลกรอนอันเนื่องมาจากกาซ CO 2 ไดเปนอยางดีอีกดวย<br />

4.2.2 ความตองการพลังงานของโลก:<br />

EIA (2009) ไดรายงานทิศทางพลังงานในอนาคตโลก (International Energy Outlook, 2009) วาในป 2030 ทั่ว<br />

โลก จะมีความตองการใชพลังงานจากเชื้อเพลิงธรรมชาติ ประมาณ 67% โดย จําแนกเปนพลังงานจากน้ํามัน จะ<br />

เพิ่มจาก 85 ลานบารเรล / วันในป 2006 เปน 107 ลานบารเรล / วัน ในป 2030 พลังงานจากถานหิน คาดวาจะ<br />

เพิ่มขึ้น 1.7% หรือ (ประมาณ 28% ของความตองการพลังงานทั้งหมด) สวนพลังงานจากกาซธรรมชาติ นั้น<br />

ประมาณวาจะเพิ่มขึ้น 1.6% คือ 104 แสนลาน ลบ.ฟ. (trillion cubic feet)ในป 2006 เปน 153 แสนลาน ลบ.ฟ.ในป<br />

2030 โดยสรุป ปริมาณการใชพลังงานจะเพิ่มขึ้น 44% หรือ จาก 472 Quadrillion BTU ในป 2006 เปน 678<br />

Quadrillion BTU ในป 2030<br />

ขอคิดจากเรื่องนี้ คือ พลังงานจากเชื้อเพลิงธรรมชาติ หรือ ฟอสซิล ยังเปนพลังงานหลัก คือ 67% แตมี<br />

ปญหาในการบริหารจัดการ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา มีการปลอยกาซ CO 2 ออกมาสูบรรยากาศ ในปริมาณที่สูง<br />

มากกวาพลังงานชนิดอื่นๆ ดังนั้น จึงมีความจําเปนตองทําการกําจัด หรือ ลดการปลอยกาซ CO 2 ในระดับที่ต่ําลง<br />

และดวยตนทุนในการดําเนินการที่ต่ําลงดวย ทั้งนี้ ดวยเหตุผลสําคัญประการหนึ่ง คือ เพื่อ ใหการขับเคลื่อน<br />

เศรษฐกิจไดกาวเดินตอไปดวยความมั่นคง เนื่องดวย เชื้อเพลิงธรรมชาติเหลานี้ยังมีพอเพียง โดยมีปริมาณสํารอง<br />

กาซธรรมชาติ, ถานหิน และน้ํามันดิบ อยู ประมาณ 177,000 แสนลาน ลบ.ฟ., 848 พันลานตัน, และ 162 พันลาน<br />

ลิตร ตามลําดับ<br />

ดวยเหตุและผลที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดอยางชัดเจนวา ผลิตภาพ (Productivity) นวัตกรรมชีวภาพ-นา<br />

โน นี้ จะชวยให เชื้อเพลิงธรรมชาติไดกอประโยชนตอประชาคมโลกอีกตอไปได ดวยการลดมลพิษลงใหอยูในระดับ<br />

ที่ต่ําที่สุด หรือ เกือบเปนศูนย (Near zero emission) หรือหากไดใชนวัตกรรมเพื่อกําจัดกาซ CO 2 ในเชื้อเพลิง<br />

พลังงานทั้งหมดแลวรวมกันก็จะมี ปริมาณ การปลอยกาซ CO 2 ออกมาเพียง 0.00 – 0.05% ของปริมาณทั้งหมด<br />

เทานั้น<br />

4.2.3 ปริมาณการปลอยกาซ CO 2 และผลกระทบตอภาพรวมของมาตรฐานตามกําหนดของ IPCC:<br />

EIA (2009) รายงานวา ทั่วโลกมีการปลอยกาซ CO 2 เพิ่มขึ้น ประมาณ 39% ในระหวางป 2006-2030 คือ<br />

ประมาณ 29.0 พันลานตัน (billion metric tons ) ในป 2006 และคาดวา ประมาณ 40.4 พันลานตันในป 2030 จาก<br />

มาตรฐานของ IPCC ที่กําหนดใหในป 2020 จะตองลดปริมาณ CO 2 ลง 25-40% จากเกณฑของป 1990 คือ 21.563<br />

พันลานตัน หรือเทากับ สามารถปลอยกาซ CO 2 ได สูงสุดเพียง 16.172 – 12.937 พันลานตัน เทานั้น ซึ่ง<br />

ขอกําหนดระดับนี้ไมสามารถจะเปนไปไดเลยเมื่อเทียบจากขอมูลขางตน และดวยสาเหตุนี้เอง ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา จึงไดแจงในการประชุม COP15 วา จะสามารถลดปริมาณตามกําหนดดังกลาวไดเพียง 17% หรือ<br />

แมแตในการประชุม AWG-KP (www.twn.org.sg) ครั้งลาสุดเมื่อเดือนมิถุนายน ป 2010 ไดมีการเสนอใหประเทศ<br />

ภาคีในบัญชีภาคผนวกที่ I สามารถปลอยกาซ CO 2 ไดในชวง 17-25% โดย ไมวาจะนับรวมกับผลที่ไดรับจาก<br />

LULUCF (Land Use, Land Use Change and Forestry) ภายใตโครงการ Reducing Emissions from<br />

Deforestation and Forest Degradation in Developing Countries (REDD Plus) ในระบบ CDM หรือไมก็ตาม<br />

144


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนที่นาสังเกตวา ในการประชุม COP15 ครั้งนี้ มาตรการในการลดกาซ CO 2 ที่สามารถจะเห็นเปน<br />

รูปธรรมไดเพียงโครงการเดียว คือ โครงการ REDD Plus ภายใตระบบ CDM ที่กลาวมาแลวนี้ เทานั้น ซึ่งประมาณ<br />

การวา จะมีความสามารถในการชวยลดปริมาณกาซ CO 2 ลงได ไมเกิน 20 % ของจํานวน CO 2 ทั้งหมด ดังนั้น เมื่อ<br />

รวมประมาณการทั้งหมดแลว ก็ยังต่ํากวามาตรฐานตามกําหนดของ IPCC ซึ่งผลกระทบที่จะเกิดขึ้น คือ การที่ไม<br />

สามารถรักษาอุณหภูมิ 2ºC ไวไดตามเกณฑมาตรฐาน จะเปนประเด็นปญหาที่สําคัญที่สุด และจะเชื่อมโยงไปถึง<br />

ภัยพิบัตินานาประการที่จะเกิดขึ้นบนโลกใบนี้<br />

ขอเสนอแนะ ซึ่งไดจากผลของการศึกษาวิจัยนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน คือ นวัตกรรมนี้ สามารถนําไปใช<br />

เพื่อลดปริมาณกาซ CO 2 ในเชื้อเพลิงทุกชนิดใหต่ําลงกวาเกณฑมาตรฐานได โดยเฉพาะอยางยิ่งสามารถจะทําให<br />

ลดลงได ในระดับเกือบเปนศูนย หรือ 99.96 - 100 % โดยเสียคาใชจายเงินในดาน Mitigation ต่ํากวาวิธีการอื่นๆ<br />

อีกดวย<br />

4.2.4 การนํา GEB-N Technology ไปใชภายใต ระบบ CDM:<br />

เปนที่ทราบกันดีวา ภายใตพิธีสารเกียวโต (Kyoto Proyocol) (ซึ่งไดเริ่มตนในป 1990 และจะสิ้นสุดลงในป<br />

2012) นั้น ไดสงเสริมแนวทางแกปญหาของสหภาพยุโรป โดยกําหนดให กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean<br />

Development Mechanism, CDM) เปน หนึ่งในสามมาตรการยืดหยุน (Flexible Mechanisms) ที่อนุญาตให<br />

ประเทศ Annex I สามารถลงทุนพัฒนาโครงการในประเทศกําลังพัฒนา เพื่อลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ประเด็นสําคัญที่นาสนใจในเรื่องนี้ คือ กระบวนการ ในการพัฒนาที่สะอาด ซึ่งจะตองเปนไปในลักษณะการ<br />

พัฒนาที่ยั้งยืน ดังนั้น ทั้งประเทศที่พัฒนาแลวในบัญชี Annex 1 และประเทศกําลังพัฒนา ลวนมีโอกาสดําเนินการ<br />

ภายใตโครงการCDMดังกลาวนี้ไดโดยการใช “นวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ-นาโนกําจัดกาซ CO 2 ในเชื้อเพลิง<br />

ธรรมชาติ (Fossil Fuels CO 2 Gas Elimination Bio-Nano (GEB-N) Technological Innovation)” ที่กําลังนําเสนอ<br />

นี้ ภายใต โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน ดานการเพิ่มผลิตภาพพลังงาน ดวยการลดการปลอยกาซ CO 2<br />

เพื่อกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั้งยืน (Sustainable Development) ซึ่งการดําเนินการดังกลาว จะเห็นไดจากการ<br />

เปรียบเทียบ การใช กับ การไมใชนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน โดยเฉพาะ ในดานประสิทธิภาพ (ในประเด็นความ<br />

ยาวนานของการใชประโยชน) ของการใชนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน ในเชื้อเพลิง ซึ่ง Pairintra and Saengrit (2009)<br />

พบวา มีประสิทธิภาพสูงกวาในเงื่อนไขเวลา กลาวคือการใชนวัตกรรมในน้ํามัน,ถานหิน, และกาซธรรมชาติ ในเวลา<br />

25, 12, และ 5 ป ตามลําดับ จะปลอยกาซ CO 2 ออกมาเทากับ การไมใชนวัตกรรมในเชื้อเพลิงธรรมชาติ เปนเวลา<br />

เพียง 1 ป เทานั้น<br />

ขอเท็จจริงจากกรณีนี้ เปนเครื่องยืนยันไดวา ในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพนั้น อุปสรรค หรือ<br />

ปจจัย ที่สําคัญ คือ เทคโนโลยีและตนทุน โดยสามารถอธิบายไดวา ในการนําเทคโนโลยีนี้ไปใชในการดําเนินการ<br />

ภายใตโครงการ CDM นั้น กระทําไดโดยงาย ดวย การนําเอานวัตกรรมชีวภาพ-นาโน นี้ลงใสลงไปในขั้นตอน การ<br />

ออกแบบโครงการ (Design) ซึ่งเปนขั้นตอนแรกของการดําเนินโครงการ CDM<br />

4.3 ขอเสนอ แผนการถายทอดเทคโนโลยี โดยอาศัย ยุทธศาสตร การสรางเครือขาย นวัตกรรมชีวภาพ-นา<br />

โน กําจัดกาซCO 2 ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ กับ ประเทศเครือขายของศูนยวิจัยนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน<br />

นานาชาติ ไปทั่วโลก ประกอบดวย 2 โครงการ คือ<br />

4.3.1 โครงการที่ 1:<br />

การฝกกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การผลิตและการทดสอบนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน ในการกําจัด<br />

กาซ CO 2 ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ” เปนเวลา 3 วัน ณ ศูนยวิจัยนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน นานาชาติ ประเทศไทย<br />

(เชียงใหมและขอนแกน) เพื่อ พัฒนานักวิทยาศาสตรในการกําจัดมลพิษอุตสาหกรรมโลก รวมทั้ง การแกไขปญหา<br />

วิกฤตมหันตภัยโลกรอน ตามหลักและวิธีการเสนอโดย กําธร (2553)<br />

145


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3.2 โครงการที่ 2:<br />

การสาธิตหลักและวิธีการ การใชนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน ในการกําจัด กาซ CO 2 ณ โรงกลั่นน้ํามัน โรง<br />

แยกกาซ โรงไฟฟาพลังงานถานหิน/กาซ โรงงานปูนซีเมนต ตามหลักการ การพัฒนาที่สะอาด (Clean<br />

Development Mechanism) ในระดับสากล ณ ประเทศเครือขายทั่วโลก ตามหลักและวิธีการ เสนอโดย Pairintra et<br />

al. (2010) ภายใตเงื่อนไขระยะเวลาของ พิธีสารเกียวโต ซึ่งจะสิ้นสุดลงในป 2012 หรือตามมติที่ประชุมของ United<br />

Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC) ในคราวตอไป(ธันวาคม 2010) ณ ประเทศ<br />

เม็กซิโก<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาวิจัยนวัตกรรมไดบรรลุตามวัตถุประสงค คือ 1) นวัตกรรมชีวภาพ-นาโน สามารถกําจัดกาซ<br />

CO 2 ในน้ํามัน ถานหิน และกาซธรรมชาติ ไดเกือบเปนศูนย คือ 0.00-0.05 % หรือ มีประสิทธิภาพ 99.95-100.00<br />

% 2) จากการประเมินประสิทธิผลโดยการเปรียบเทียบเชิงคณิตศาสตร พบ (หรือคาด) วา ผลิตภาพ (Productivity)<br />

ของนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน จะสามารถลดการปลดปลอยกาซ CO 2 ในเชื้อเพลิงธรรมชาติ (ฟอสซิล) ลงได 25-40<br />

% ในป 2020 และ 50% ในป 2050 ตามเกณฑมาตรฐานที่ IPCC กําหนด และ 3) ความโดดเดนของนวัตกรรม<br />

ชีวภาพ-นาโน คือ ตนทุนต่ํา เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสามารถดําเนินการไดทุกเวลาและทุกที่ทั่วโลก<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- BBC News, (2010), Why did Copenhagen fail to deliver a climate deal?<br />

Website (Online) Available: http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/8426835.stm<br />

- CO2 NOW, (2010), What the world needs to watch? Website (Online) Available:<br />

http://www.co2now.org/<br />

- Fogg, B.J. (2003), Seven steps to innovation. Website (Online) Available:<br />

http://bjfogg.com/innovation.html<br />

- Green Prophet, (2010), COP15 Outcome: A weak Climate Change Agreement, Disappointed<br />

Environmentalists, and “Oil Business As Usual” in the Middle East. Website (Online) Available:<br />

http://www.greenprophet.com/2009/12/20/14619/copenhagen-middle-east-2/<br />

- International Energy Agency (IEA) (2008), Energy Technology Perspectives 2008: Scenerios &<br />

Strategies to 2050. IEA, 14 p.<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) (2007), IPCC: Summary for Policymakers<br />

in Climate Change 2007: Mitigation of Climate Change, Contribution of Working Group III to the<br />

Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change, IPCC, Geneva.<br />

- Jerichow, R. (2009), Top scientist hopes that the Copenhagen negotiations fail. Website<br />

(Online) Available: http://en.cop15.dk/news/view+news?newsid=2812<br />

- Matysek, et al. (2005), Near Zero Emissions Technologies. Website (Online) Available:<br />

146


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

http://www.abare.gov.au/publications_html/research/research.../er_Emissions.pdf<br />

- Pairintra, R. et al. (2009), Elimination of CO, HC, CO 2, SO 2 and NO 2 Gases from Oil, Coal, and<br />

Natural gas by Gas Elimination Bio-nano Technology. In Pairintra, C. and Saengrit, K.<br />

(Eds.),Gas elimination Bio-Nano (GEB-N) Technology: Technical paper, IB-NIRC, pp. 10-14.<br />

- Pairintra, C. et al. (2009), The Challenge in Meeting Climate Change Goals. In Pairintra, C. and<br />

Saengrit, K. (Eds.), Gas elimination Bio-Nano (GEB-N) Technology: Technical paper, IB-NIRC.<br />

pp. 21-22.<br />

- Pairintra, C. et al. (2009), Near zero (0.00-0.05%) emission Bio-Nano Innovation for Fossil<br />

Fuels Energy. In Pairintra, C. and Saengrit, K. (Eds.), Gas elimination Bio-Nano (GEB-N)<br />

Technology: Concept paper, IB-NIRC, pp. 25-29.<br />

- Pairintra, C. and Saengrit, K. (2009), Gas elimination Bio-Nano (GEB-N) Technology. 35 p.<br />

- Piebalgs, A. (2006), What is energy efficiency? Website (Online) Available:<br />

http://www.isover.com/layout /set/print/Q-A/Green-facts-energy-efficiency/What-is-energy...<br />

- Third World Network, (2010), AWG-KP Numbers Group: The ambition is far too low, close the<br />

big gap, Annex I Parties told.<br />

- Website (Online) Available: http://www.twnside.org.sg.<br />

- United Nations UNFCCC/CP/2009/L.7 18 December 2009 Conference of the Parties Draft<br />

decision-/CP.15 Proposal by the President: Copenhagen Accord.<br />

- U.S. Energy Information Administration (EIA) (2009), International Energy Outlook 2009<br />

Website (Online) Available: http://www.eia.doe.gov/oiaf/ieo/emission<br />

- Walsh, B. (2009), COP15: Climate-Change Conference. Website (Online) Available:<br />

http://www.time.com/specials/packages/article/028804,1929071_1929070,00.html?...<br />

- กําธร แสงฤทธิ์. โครงการพัฒนานักวิทยาศาสตรในการกําจัดมลพิษอุตสาหกรรมโลก เพื่อแกไขปญหา<br />

วิกฤตมหันตภัยโลกรอน: เอกสารวิชาการ, ศูนยวิจัยนวัตกรรมชีวภาพ-นาโน นานาชาติ, 2553.<br />

147


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แหลงของจุลินทรียผลิตกาซไฮโดรเจนในกระบวนการหมักแบบไมใชแสง<br />

Sources of Hydrogen Producing Inoculum in Dark Fermentative Biohydrogen Production<br />

จิราวรรณ สุรโชติ<br />

1<br />

ธิดารัตน บุญศรี2 และ ประพัทธ พงษเกียรติกุล 2<br />

1 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรุงเทพฯ 10140<br />

2 อาจารย ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

พลังงานไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงสะอาดเผาไหมโดยไมกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม ที่สําคัญ<br />

กระบวนการผลิตกาซไฮโดรเจนจะตองมีตนทุนที่ต่ํา และปลอดภัย ดังนั้นการผลิตกาซไฮโดรเจนทางชีวภาพดวย<br />

กระบวนการหมักแบบไมใชแสงโดยกลุมจุลินทรียประเภทไรอากาศที่มีอยูในธรรมชาติจึงเปนที ่นาสนใจ งานวิจัยนี้มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อประเมินแหลงของจุลินทรียที่ผลิตกาซไฮโดรเจนในกระบวนการหมักแบบไมใชแสง กอนทําการ<br />

ทดลองเชื้อจุลินทรียทุกแหลงถูกบําบัดขั้นตนดวยความรอนเพื่อกําจัดจุลินทรียกลุมที่ไมตองการ ควบคุมคาพีเอช<br />

ของระบบที่ 5.5 เนื่องจากสามารถกระตุนการเจริญเติบโตของจุลินทรียที่ผลิตกาซไฮโดรเจนได ดําเนินการทดลอง<br />

ในขวดซีรัมขนาด 125 มล. โดยมีน้ําตาลกลูโคสความเขมขน 7.8 กรัมซีโอดีตอลิตรเปนแหลงคารบอนของจุลินทรีย<br />

เมื่อทดลองเปนระยะเวลา 26 วัน พบวาเชื ้อจุลินทรียจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซลมีศักยภาพในการผลิตกาซ<br />

ไฮโดรเจนสูงที่สุดเนื่องจากเชื้อจุลินทรียมีความคุนเคยกับพีเอชที่เปนกรดและสภาวะไรอากาศ พบวา ปริมาตรกาซ<br />

ไฮโดรเจนที่ผลิตได, คาผลผลิตไฮโดรเจน, อัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนสูงสุด และอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจน<br />

จําเพาะสูงสุด ซึ่งมีคาเทากับ 59.47 มล., 0.57 โมลไฮโดรเจน/ โมลกลูโคส, 0.57 มล./ชม. และ 2.08 มล./ก. วีเอส<br />

เอส-ชม. ตามลําดับ ซีโอดีละลายน้ํา (Soluble COD) ในระบบลดลงถึง 74 % แสดงใหเห็นวาสารอินทรียถูกแปร<br />

สภาพเปนกาซไฮโดรเจน นอกจากนี้กรดอินทรียระเหยงายหลายชนิดถูกตรวจพบ โดยเฉพาะกรดอะซิติกและกรด<br />

บิวทีริก<br />

คําสําคัญ: การผลิตกาซไฮโดรเจนทางชีวภาพ การหมักแบบไมใชแสง การบําบัดขั้นตนดวยความรอน<br />

Abstract<br />

Hydrogen energy was clean fuel, which no pollution emitted into environment. The most<br />

important issue on hydrogen generating process had to be low cost and safe. Hence, biohydrogen<br />

process under dark fermentative condition, which was driven by natural anaerobes, had become highly<br />

considering. The objective of this research was to access the source of microbial inoculums that could<br />

actively produce hydrogen gas under dark fermentative condition. Heat shock pretreatment process was<br />

foregone to eliminate undesired microbial seed. The treated seed was kept at control pH of 5.5, since this<br />

148


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

pH level could stimulate the growth of hydrogen producing microbes. Experiments were undertaken in 125<br />

mL serum bottles and glucose substrate solution at a concentration of 7.8 gCOD/L was added to be<br />

consumed as carbon source by microbes. Along 26 days continuous test, it was observed that microbial<br />

seed collected from biodiesel wastewater treatment plant had shown the highest performance among the<br />

natural microbial seeds. The reason of this claim was acclimatised with acidic pH and anaerobic<br />

condition. Therefore, these microbes could generate the highest values of produced gas, hydrogen yield,<br />

maximum hydrogen production rate and maximum specific hydrogen production rate, there were 59.47<br />

mL, 0.57 mol H 2 / mol glucose, 0.57 mL/h and 2.08 mL/g VSS-h, respectively. The soluble COD in the<br />

system was reduced by 74%, which indicated that organic substrates were transformed into hydrogen<br />

gas. Besides, many types of volatile fatty acid compound were examined in the system, typically acetic<br />

and butyric acids.<br />

Keywords: biohydrogen dark-fermentation heat-shock pretreatment<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปจจุบันวิกฤตพลังงานถือเปนปญหาใหญของโลก จึงทําใหตองแสวงหาแหลงพลังงานทดแทน พลังงาน<br />

ไฮโดรเจนเปนพลังงานชนิดหนึ่งที่กําลังเปนที่สนใจของประเทศตางๆทั่วโลกเนื่องจากไฮโดรเจนใหพลังงานสูง<br />

สามารถเผาไหมไดอยางสมบูรณโดยไมกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม อันเปนจุดเดนของการเปนพลังงานสะอาด<br />

(Clean Energy) โดยผลิตผลที่เกิดจากการเผาไหมมีเพียงน้ําเทานั้น ในอนาคตไฮโดรเจนจะถูกใชเปนเชื้อเพลิงที่ใช<br />

สําหรับเทคโนโลยีเซลลเชื้อเพลิง (fuel cell) ที่อาจจะมาแทนที่เครื่องยนตเผาไหมที่ใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิง [Das และ<br />

Veziroglu, 2001] แตกระบวนการผลิตกาซไฮโดรเจนจะตองมีตนทุนที่ต่ํา และมีความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม<br />

ดังนั้นเทคโนโลยีสําหรับกระบวนการไบโอไฮโดรเจนที่สามารถผลิตไฮโดรเจนที่มีตนทุนต่ําจึงถูกพัฒนาอยาง<br />

ตอเนื่อง การผลิตกาซไฮโดรเจนทางชีวภาพนั้นมีดวยกันหลายวิธี เชน direct-biophotolysis, indirectbiophotolysis,<br />

photo-fermentation และ dark-fermentation แตกระบวนการหมักแบบไมใชแสง(darkfermentation)นั้น<br />

มีความเปนไปไดในการใชงานไดจริงมากกวา เนื่องจากวามีอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนที่สูงกวา<br />

กระบวนการที่ใชแสง อีกทั้งยังไมตองใชพลังงานจากแสงในการดําเนินระบบ จึงสิ้นเปลืองพลังงานนอยกวา [Levin,<br />

Pitt และ Love, 2004] การผลิตกาซไฮโดรเจนดวยกระบวนการหมักแบบไมใชแสงนั้น ตองการกลุมจุลินทรีย<br />

ประเภทไรอากาศที่สามารถยอยสลายสารอินทรียแลวเปลี่ยนรูปเปน กาซไฮโดรเจน กาซคารบอนไดออกไซด และ<br />

กรดอินทรียระเหยงาย (VFAs) ซึ่งจุลินทรียกลุมนี้มีอยูในธรรมชาติ เชน ตะกอนจากระบบบําบัดแบบไรอากาศ ดินที่<br />

หมักในที่ไรอากาศ และลําไสของสัตวเคี้ยวเอื้องบางชนิด แหลงของจุลินทรียในธรรมชาติมีกลุมจุลินทรียที่สรางกาซ<br />

ชีวภาพไดหลายชนิดปะปนกัน โดยแหลงของเชื้อจุลินทรียที่จะนํามาใชในกระบวนการผลิตกาซไฮโดรเจนในสภาวะ<br />

ไรอากาศนั้น ตองอาศัยจุลินทรียกลุมที่เปน spore forming microorganism ซึ่งจะทนทานตอสภาพแวดลอมที่<br />

รุนแรงได เชน ทนตอความรอนสูง ความแหงแลง คาพีเอชที่เปนกรดและดางรุนแรง และสารเคมีที่อันตราย ซึ่ง<br />

จุลินทรียกลุมนี้สวนใหญเปนจุลินทรียกลุมที่สรางกรด (acidogenic bacteria) ดังนั้นการกําจัดจุลินทรียกลุมอื่นที่ไม<br />

ตองการสามารถทําโดยการใหความรอน (heat shock) ที่อุณหภูมิ 104°C เปนเวลา 15-120 นาที [Wang และ<br />

Wan, 2009] Kapdan และ Kargi, 2006 พบวาแหลงของเชื้อจุลินทรียที่ผานการ heat shock แลวจะพบจุลินทรีย<br />

genus Clostridium ประมาณ 64.6 % ซึ่งเปน hydrogen producing bacteria และจะผลิตกาซไฮโดรเจนในชวง<br />

exponential growth phase อยางไรก็ตามจุลินทรียกลุมที่สามารถผลิตกาซไฮโดรเจนนั้นมีจํานวนนอย และอัตรา<br />

149


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเพิ่มจํานวนชีวมวล (biomass) คอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับจุลินทรียกลุมอื่นๆ หากตองการผลิตกาซ<br />

ไฮโดรเจนจะตองทําใหเชื้อจุลินทรียมีความคุนเคยกับสารอาหาร และเพิ่มปริมาณชีวมวลไดตามจํานวนที่ตองการ<br />

จุลินทรียที่สามารถผลิตกาซไฮโดรเจนไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ กลุมที่ใชสารอินทรียคารโบไฮเดรตเปนแหลง<br />

คารบอน และไมใชออกซิเจน ดังนั้นกระบวนการหมักแบบไมใชแสงจึงเปนกระบวนการหลักที่ใชสําหรับการผลิต<br />

กาซไฮโดรเจนจากน้ําเสีย โดยน้ําตาลกลูโคสและซูโครสนั้นนิยมนํามาใชเปนสารอาหารในกระบวนการนี้มากที่สุด<br />

เนื่องจากเปนคารโบไฮเดรตที่จุลินทรียสามารถนําไปใชไดงายที่สุด [Kawagoshi,2005, Fang และ Liu, 2002<br />

Logan และคณะ, 2002] สภาวะแวดลอมของระบบ โดยเฉพาะคาพีเอชจะสงผลตอ คา hydrogen yield, ชนิดของ<br />

กรดอินทรียระเหยงายที่ผลิตขึ้น องคประกอบของกาซชีวภาพที่เกิด, ระยะเวลาในการปรับตัวของจุลินทรีย (lag<br />

time) และ specific hydrogen production rate งานวิจัยสวนใหญระบุชวงพีเอชที่เหมาะสมสําหรับกระบวนการไบ<br />

โอไฮโดรเจน คือ 5.0 ถึง 6.0 [Fang และ Liu, 2002, Khanal และคณะ, 2004, Lay, Lee และ Noike,1999]<br />

กระบวนการผลิตไฮโดรเจนนั้นจะมีการผลิตกรดอินทรียระเหยงายขึ้นในระบบควบคูกันเสมอซึ่งจะสงผลใหพีเอช<br />

ของระบบลดลง ดังนั้นตองเติมสารละลายบัฟเฟอรเพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงของพีเอช [8] สําหรับคพีเอชที ่ต่ํา<br />

กวา 5.0 สงผลตอการทํางานของเอนไซมไฮโดรจีเนส (hydrogenase) ซึ่งเปนเอนไซมหลักในการผลิตไฮโดรเจน<br />

ของจุลินทรีย [Kapdanและ Kargi, 2006] Fang และคณะ, 2002 [6] พบวา เมื่อพีเอชของระบบถูกควบคุมที่ 5.5<br />

นั้นใหคา hydrogen yield ที่สูงถึง 2.0 mol H 2 /mol glucose และ specific hydrogen production rate เทากับ 4.6 L<br />

H 2 /gMLVSS-day ดังนั้นการศึกษาแหลงของจุลินทรียที่สามารถผลิตกาซไฮโดรเจนที่มีอยูในธรรมชาติ และสภาวะ<br />

ที่เหมาะสมของจุลินทรียจะเปนประโยชนตอการออกแบบกระบวนการหมักแบบไมใชแสง ตลอดจนเปนแนวทางใน<br />

การพัฒนาการผลิตพลังงานสะอาด<br />

2. วัตถุประสงค<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแหลงของจุลินทรียที่มีศักยภาพในการผลิตกาซไฮโดรเจนใน<br />

กระบวนการหมักแบบไมใชแสงโดยมีน้ําตาลกลูโคสเปนแหลงสารอาหารของจุลินทรีย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

แหลงของจุลินทรียและสารอาหาร<br />

แหลงของจุลินทรียที่ใชในการทดลองมีทั้งหมด 6 แหลง ประกอบดวย ตะกอนจากถังยอยสลัดจแบบไร<br />

อากาศของโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่1และ2 (S1, S4) ซึ่งจุลินทรียเจริญเติบโตในสภาวะที่มี และไมมีการเติม<br />

สารอาหารเสริม ตามลําดับ ตะกอนจากโรงควบคุมคุณภาพน้ําหนองแขม (S2) ตะกอนจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอ<br />

ดีเซล (S3) ดินจากการเพาะปลูก (S5) และมูลวัว (S6) ตัวอยางสลัดจ, ดิน และมูลวัว ถูกบําบัดกอน (pretreatment)<br />

ดวยการอบที่อุณหภูมิ 104 0 ซ เปนเวลา 2 ชั่วโมง แลวนํามาใสในถังน้ําแข็งทันที เนื่องจากจุลินทรีย<br />

กลุมที่ผลิตกาซไฮโดรเจนนั้นจะทนตออุณหภูมิสูง และการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนั้นการเพิ่มและลดอุณหภูมิ<br />

สามารถลดปริมาณจุลินทรียกลุมที่ผลิตมีเทนได [7] สําหรับน้ําเสียที่ใชในการทดลองเปนน้ําเสียสังเคราะหที่เตรียม<br />

จากน้ําตาลกลูโคสความเขมขน 10 กรัมซีโอดีตอลิตร และเติมธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย โดย<br />

ประกอบดวย NH 4 HCO 3 2.0 กรัม, KH 2 PO 4 1.0 กรัม, MgSO 4·7H 2 O 0.1 กรัม, NaCl 0.01 กรัม, Na 2 MoO 4·2H 2 O<br />

0.01 กรัม, CaCl 2·2H 2 O 0.01 กรัม, MnSO 4·7H 2 O 0.015 กรัม, NiCl 2·6H 2 O 0.4 กรัม และ FeCl 2 0.00278 กรัม<br />

ในน้ําปราศจากประจุ 1 ลิตร [7] ควบคุมคาpHของระบบที่ 5.5 ตลอดการทดลองดวย sodium acetate trihydrate<br />

buffer และ1N HCl หรือ 1N NaOH ใชเพื่อปรับ pH ของระบบ<br />

150


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การดําเนินการทดลอง<br />

การดําเนินการทดลองจะแบงออกเปนสองขั้นตอนดังแสดงในรูปที่ 1<br />

Series 1: Seed preparation and acclimatisation<br />

Heat shocked<br />

104 ºC 2h<br />

Acclimatisation of microbial seed<br />

(1.5 L reactor)<br />

Active and acclimatised<br />

microbial seed<br />

Series 2: Microbial source selection<br />

Selecting source of H 2 producing bacteria<br />

(125 mL serum bottle)<br />

Active source of H 2 producing bacteria<br />

รูปที่ 1 ขั้นตอนการทดลอง<br />

ขั้นตอนแรกจะเปนการเลี้ยงเชื้อจุลินทรียในreactor ขนาด 1.5 ลิตรเปนระยะเวลา 40 วัน(แสดงในรูปที่2)<br />

เพื่อเปนการทําใหเชื้อจุลินทรียมีการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมใหมและสามารถเพิ่มจํานวนได โดยเติม<br />

เชื้อจุลินทรียที่ผานความรอนแลวดังนี ้ เติมสลัดจจากระบบบําบัดน้ําเสียแตละแหลงในปริมาณ 300 มิลลิลิตร ดินและ<br />

มูลวัวในปริมาณ 100 กรัม (น้ําหนักแหง) กลูโคสความเขมขน 10 กรัมซีโอดีตอลิตร ปริมาตร 700 มิลลิลิตร<br />

sodium acetate trihydrate buffer 20 มิลลิลิตร ธาตุอาหาร 4 มิลลิลิตร และควบคุมคาพีเอชของระบบที่ 5.5<br />

ระหวางการเลี้ยงเชื้อมีการตรวจวัดปริมาณชีวมวลในรูปของ MLVSS และคา sCOD ของระบบ หลังจากเลี้ยงเชื้อ<br />

เปนระยะเวลา 40 วัน นําเชื้อจุลินทรียแตละแหลงมาปนเหวี่ยงที่ความเร็ว 4000 รอบตอนาที จากนั้นนําของเหลว<br />

สวนใสดานบนทิ้งไป และเก็บตะกอนดานลางมาทดลองในขั้นตอนตอไป<br />

รูปที่ 2 ขั้นตอนการเลี้ยงเชื้อจุลินทรียในreactor ขนาด 1.5 ลิตร<br />

151


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขั้นตอนที่สองเปนการทดสอบความสามารถในการผลิตกาซไฮโดรเจนแบบกะถูกทดสอบในขวดสีชา<br />

(serum bottle) เพื่อปองกันแสง ขนาด 125 มิลลิลิตร มี working volume 90 มิลลิลิตร (แสดงในรูปที่3) ควบคุมคา<br />

พีเอชของระบบที่ 5.5 ในแตละการทดลองเติมเชื้อจุลินทรียทั้ง 6 แหลงที่ไดจากขั้นตอนแรกในปริมาณเทากัน คือ 5<br />

กรัม (น้ําหนักเปยก) เติมกลูโคสความเขมขน 10 กรัมซีโอดีตอลิตร ปริมาตร 70 มิลลิลิตร เติม sodium acetate<br />

trihydrate buffer 10 มิลลิลิตร เติมธาตุอาหาร 4 มิลลิลิตร มีปริมาตรสุทธิในขวดเปน 90 มิลลิลิตร กอนทําการ<br />

ทดลองตองสเปรยกาซไนโตรเจนกอนเปนเวลา 5 นาทีเพื่อทําใหระบบอยูในสภาวะไรอากาศ ดําเนินการที่<br />

อุณหภูมิหอง ในแตละชวงเวลาจะวิเคราะห ปริมาตรของกาซชีวภาพที่เกิดขึ้นวัดโดยการแทนที่น้ํา และองคประกอบ<br />

ของกาซชีวภาพที่เกิดขึ้นถูกนํามาวิเคราะห ดวยเทคนิค gas chromatography (GC)(GC-8A,Shimadzu)โดยใช<br />

thermal conductivity detector (TCD) สําหรับความเขมขนกรดอินทรียระเหยงายวิเคราะหโดย gas<br />

chromatography (GC)(GC-14B, Shimadzu) โดยใช flame ionization detector (FID) คา MLVSS และ sCOD<br />

ของระบบวิเคราะหตามวิธีของ Standard methods [APHA, 2005] จนกระทั่งจุลินทรียนั้นเขาสูระยะคงที่<br />

(stationary phase) เชื้อจุลินทรียจะถูกนํามาวิเคราะหปริมาณชีวมวลของระบบดวยคา MLVSS และปริมาณ<br />

สารอาหารที่เหลือในระบบในรูป sCOD ตลอดจนองคประกอบของกรดอินทรียระเหยงาย ในระบบ<br />

4. ผลการศึกษา<br />

รูปที่ 3 การทดสอบความสามารถในการผลิตกาซไฮโดรเจนในขวดซีรัมขนาด 125 มล.<br />

การผลิตกาซไฮโดรเจนของเชื้อจุลินทรียที่ผานการบําบัดขั้นตนดวยความรอนจากทั้ง 6 แหลง แสดงในรูป<br />

ที่ 4 พบวา เชื้อจุลินทรียที่มาจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) นั้น มีความสามารถในการผลิตกาซไฮโดรเจนได<br />

ดีที่สุดคือ 59.47 มล. รองลงมาคือสลัดจจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่ 1 (S1) คือ 22.20 มล. สวนสลัดจจาก<br />

โรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่ 2 (S4) และเชื้อจุลินทรียจากดิน (S5) มีการผลิตกาซไฮโดรเจนไดใกลเคียงกันคือ<br />

18.02 และ 18.39 มล. ตามลําดับ สําหรับมูลวัว (S6) มีการผลิตกาซไฮโดรเจนได 8.05 มล. เชื้อจากโรงควบคุม<br />

คุณภาพน้ําหนองแขม (S2) มีการผลิตกาซไฮโดรเจนไดนอยที่สุดคือ 2.62 มล. ทุกชุดการทดลองไมพบกาซมีเทน<br />

เกิดขึ้นในระบบ ยืนยันไดวากระบวนการบําบัดขั้นตนดวยความรอนสามารถยับยั้งจุลินทรียกลุมที่ไมไดผลิต<br />

ไฮโดรเจน และการควบคุมคาพีเอชของระบบที่ 5.5 เหมาะสมตอการดํารงชีพของจุลินทรียผลิตกาซไฮโดรเจนแลว<br />

ยังเปนการยับยั้งจุลินทรียกลุมที่ผลิตมีเทนไมใหเจริญเติบโต [Vazquez, Noyola และ Varaldo, 2008]<br />

152


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Cumulative H 2 production (mL)<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26<br />

Operation time(day)<br />

S1 Anaerobic sludge1 S2 Nongkheam sludge S3 Biodiesel sludge<br />

S4 Anaerobic sludge2 S5 Agricultural soil S6 Cow dung compost<br />

รูปที่ 4 การผลิตกาซไฮโดรเจนสะสมของเชื้อจุลินทรียจากแหลงตางๆ<br />

ระยะเวลาในการปรับตัวของจุลินทรีย (lag time)นั้นขึ้นอยูกับชนิดและคุณสมบัติจําเพาะของเชื้อจุลินทรีย<br />

แตละแหลง พบวาสลัดจจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่ 2 (S4) มี lag time ที่สั้นที่สุดคือ 16 ชั ่วโมง รองมาคือ<br />

เชื้อจุลินทรียจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) มี lag time 23 ชั่วโมง สวนเชื้อจากโรงควบคุมคุณภาพน้ําหนอง<br />

แขม (S2) เชื้อจุลินทรียจากดิน (S5) และเชื้อในมูลวัวมี lag time เทากันคือ 40 ชั่วโมง โดยสลัดจจากโรงงานสกัด<br />

น้ํามันปาลมแหงที่ 1 (S1) มี lag time 64 ชั่วโมง ดังแสดงในตารางที่1 ซึ่งเชื้อจุลินทรียที่มี lag time ที่นานเกินไปจึง<br />

อาจจะไมเหมาะสมตอการผลิตกาซไฮโดรเจนในทางปฏิบัติ Kapdan และ Kargi, 2006 รายงานวา หากคา pH ของ<br />

ระบบต่ําเกินไป คือในชวง 4.0-5.0 จะทําให lag time ยาวนาน ถึง 72 ชั่วโมง แตถาหาก pH ของระบบสูงเกินไปคือ<br />

9.0 จะลด lag time ลง [4] เชื้อจุลินทรียที่มาจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) มีคา hydrogen yield สูงที่สุดคือ<br />

0.615 mol H 2 /mol glucose สวนคาอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนจําเพาะ(Maximum specific H 2 production rate)<br />

เปน 2.080 mL H 2 /gMLVSS-h และมีประสิทธิภาพในการกําจัด sCOD ได 74 % ซึ่งมีคาสูงสุดเมื่อเทียบกับทุกการ<br />

ทดลอง สวนอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนสูงสุด (Maximum H 2 production rate) นั้นพบวาเชื้อจุลินทรียที่มาจาก<br />

โรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) มีอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนสูงที่สุดคือ 0.570 mL H 2 / h ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

จุลินทรียเจริญเติบโตในน้ําเสียที่คาพีเอชเทากับ 5.5 กอนที่สลัดจจะถูกนํามาทดสอบ ดังนั้นจุลินทรียจึงคุนเคยกับ<br />

น้ําเสียที่เปนกรดออน ซึ่งเปนคาที่เหมาะสมตอการผลิตกาซไฮโดรเจน อัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนที่รองลงมาคือ<br />

สลัดจจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่1 (S1) และเชื้อจุลินทรียจากดิน (S5) คาhydrogen yield ของการศึกษา<br />

การผลิตกาซไฮโดรเจนในงานวิจัยอื่นๆ พบวาอัตราการผลิตกาซที่ไดในงานวิจัยนี้มีคาในชวงที่ไมแตกตางจาก<br />

งานวิจัยอื่นๆ Logan และคณะ, 2002 [Logan และคณะ, 2002] ซึ่งใชจุลินทรียแบบ mixed culture และ ใชกลูโคส<br />

1กรัมซีโอดีเปนสารอาหาร ทดลองที่ pH 6.0 พบวาคา hydrogen yield ที่ไดคือ 0.9 mol H 2 /mol glucose และมีlag<br />

time ประมาณ 27 ชั่วโมง ซึ่งใกลเคียงกับงานวิจัยนี้<br />

153


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 การผลิตกาซไฮโดรเจนของเชื้อจุลินทรียจากแหลงตางๆ<br />

Inoculum<br />

Cumulative<br />

H 2 production<br />

(mL)<br />

Lag<br />

time<br />

(h)<br />

H 2 yield<br />

mol<br />

H 2 /mol<br />

glucose<br />

Maximum H 2<br />

production rate<br />

(mL H 2 /h)<br />

Maximum specific<br />

H 2 production rate<br />

(mL H 2 /gMLVSSh)<br />

sCOD<br />

removal<br />

(%)<br />

Anaerobicsludge1(S1) 22.20 64 0.230 0.270 0.390 53<br />

Nongkheam sludge(S2) 2.62 40 0.027 0.040 0.110 33<br />

Biodiesel sludge (S3) 59.47 23 0.615 0.570 2.080 74<br />

Anaerobic sludge2(S4) 18.02 16 0.186 0.110 0.190 50<br />

Agricultural soil (S5) 18.39 40 0.190 0.240 0.370 41<br />

Cow dung compost (S6) 8.05 40 0.083 0.070 0.060 22<br />

ตารางที่ 2 ความเขมขนของVFAsที่ผลิตขึ้นในวันสุดทายของเชื้อจุลินทรียจากแหลงตางๆ<br />

VFAs<br />

Sample of inoculums<br />

S1 S2 S3 S4 S5 S6<br />

mM % mM % mM % mM % mM % mM %<br />

HAc 36.27 61.73 8.57 80.17 48.96 68.65 21.56 49.60 25.19 50.72 21.76 89.47<br />

HBu 20.87 35.52 0.96 8.98 19.89 27.89 21.41 49.25 23.16 46.64 2.38 9.79<br />

HPr 0.40 0.91 0.09 0.84 0.29 0.41 0.50 1.15 0.28 0.56 0.00 0.00<br />

HCa 1.22 2.77 1.07 10.01 2.18 3.06 0.00 0.00 1.03 2.07 0.18 0.74<br />

Total<br />

VFAs<br />

58.76 10.69 71.32 43.47 49.66 24.32<br />

การผลิตVFAs เมื่อระบบเขาสูระยะคงที่ แสดงในตารางที่ 2 พบวา กรดอะซิติก (HAc), กรดบิวทีริก<br />

(HBu), กรดโพรไพโอนิค (HPr) และกรดคาโพอิก (HCa) เกิดขึ้นภายในระบบ โดยมีกรดอะซิติก และกรดบิวทีริก<br />

เปน by-product หลักของระบบซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยอื่นๆที่พบกรดอินทรียชนิดนี้เปนหลัก [Chang, Lee และ<br />

Lin, 2002] โดยแหลงของเชื้อจุลินทรียที่นํามาใชในงานวิจัยนี้อยูในรูปของ mix culture จึงมีการผลิตกรดอินทรีย<br />

หลายชนิดปะปนกันไป<br />

จะเห็นไดวาเชื้อจุลินทรียที่มาจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) มีการผลิตกรดอินทรียระเหยงายใน<br />

ปริมาณที่สูงสุด คือ 71.32 mM สวน เชื้อจุลินทรียจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่ 1 และ2 (S1, S4) และ<br />

เชื้อจุลินทรียในดิน (S5)มีการผลิตกรดอินทรียระเหยงายในปริมาณกลางๆ สวนเชื้อจุลินทรียจากโรงควบคุม<br />

คุณภาพน้ําหนองแขม (S2) และเชื้อจุลินทรียในมูลวัว (S6) พบการผลิตกรดอินทรียระเหยงายในปริมาณที่นอยคือ<br />

10.69 และ 24.32 mM ตามลําดับ โดยจะเห็นไดวาปริมาณของกรดอินทรียระเหยงายที่พบนั้นเปนไปในทาง<br />

154


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เดียวกันกับคา H 2 yield ที่ถูกผลิตขึ้นในระบบ ดังแสดงในรูปที่ 5 และ 6 ที่เปนเชนนี้เนื่องจากวา ในกระบวนการ<br />

ผลิตไฮโดรเจนโดยวิธีการหมักแบบไมใชแสงนั้นจะเกิดการผลิตกรดอินทรียระเหยงายขึ้นในระบบควบคูกันเสมอ<br />

โดยที่เมื่อมีการผลิตกรดอินทรียระเหยงายในปริมาณที่สูงก็จะมีการผลิตไฮโดรเจนไดสูงดวยเชนกัน ดังนั้น<br />

เชื้อจุลินทรียที่มาจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล (S3) จึงมีการผลิตกรดอินทรียระเหยงายสูงที่สุดพรอมทั้งมี่การ<br />

ผลิต H 2 yield สูงที่สุดเชนกัน จึงอาจกลาวไดวาเชื้อจุลินทรียจากแหลงนี้มีปริมาณของจุลินทรียที่ผลิตกาซไฮโดรเจน<br />

อยูมากที่สุด โดยในทางทฤษฏีนั้นเมื่อระบบที่ผลิตกรดอะซิติก และกรดบิวทีริก เปนผลิตผลหลักเพียงอยาเดียวจะ<br />

สรางไฮโดรเจน 4 และ 2 mol H 2 /mol glucose ตามลําดับ<br />

0.8<br />

H 2 yield (mol H 2 /mol glucose)<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

0.615<br />

0.230<br />

0.186 0.190<br />

0.083<br />

0.027<br />

S1 S2 S3 S4 S5 S6<br />

รูปที่ 5 H 2 yield ที่ถูกผลิตขึ้นโดยเชื้อจุลินทรียแตละแหลง<br />

120<br />

100<br />

VFAs (mM)<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

S1 S2 S3 S4 S5 S6<br />

HAc HBu Other VFAs<br />

รูปที่ 6 กรดอินทรียระเหยงายที่ถูกผลิตขึ้นโดยเชื้อจุลินทรียแตละแหลง<br />

155


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาการผลิตกาซไฮโดรเจนจากแหลงของจุลินทรียที่ผานการบําบัดขั้นตนดวยความรอนทั้ง 6 แหลง<br />

คือ ตะกอนจากถังยอยสลัดจแบบไรอากาศของโรงงานสกัดน้ํามันปาลมแหงที่1 และ2 ตะกอนจากโรงควบคุม<br />

คุณภาพน้ําหนองแขม ตะกอนจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล ดินจากการเพาะปลูก และมูลวัว โดยใชน้ําเสีย<br />

สังเคราะหที่เตรียมจากน้ําตาลกลูโคส เปนแหลงสารอาหารของจุลินทรีย และควบคุมคาpHของระบบที่ 5.5 โดยใช<br />

กระบวนการหมักแบบไมใชแสง พบวาเชื้อจุลินทรียที่มาจากโรงบําบัดน้ําเสียไบโอดีเซล(S3) นั้นมีศักยภาพในการ<br />

ผลิตกาซไฮโดรเจนไดดีที่สุดเนื่องจากมีความคุนชินกับน้ําเสียที่มีคาpH 5.5 ซึ่งเปนคาที่เหมาะสมตอการผลิตกาซ<br />

ไฮโดรเจน โดยเริ่มผลิตกาซไฮโดรเจนหลังจากใชระยะเวลาในการปรับตัว 23 ชั่วโมง ได hydrogen yield 0.615<br />

mol H 2 /mol glucose คาอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจนสูงสุด 0.570 mL H 2 / h สวนอัตราการผลิตกาซไฮโดรเจน<br />

จําเพาะสูงสุดเปน 2.080 mL H 2 /gMLVSS-h และมีประสิทธิภาพในการกําจัด sCOD ได 74 % ซึ่งมีคาสูงสุดเมื่อ<br />

เทียบกับทุกตัวอยาง โดยมีกรดอะซิติกและกรดบิวทีริก เปน VFAs หลักที่เกิดขึ้นในระบบ ในงานวิจัยนี้แสดงให<br />

เห็นวาแหลงของเชื้อจุลินทรียแตละชนิดนั้นมีความสามารถในการผลิตกาซไฮโดรเจนไดแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับ<br />

ชนิดและคุณสมบัติเฉพาะตัวของเชื้อจุลินทรียแตละชนิด อีกทั้งคาpH ก็เปนสวนสําคัญที่สงผลตอ hydrogen yield<br />

ชนิดของกรดอินทรียระเหยงายที่ผลิตขึ้น องคประกอบของกาซชีวภาพที่เกิด<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา สํานักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)<br />

ประจําปงบประมาณ 2552 และเครื่องมือวิเคราะหไดรับการสนับสนุนจาก ศูนยความเปนเลิศดานการจัดการ<br />

สิ่งแวดลอมและของเสียอันตราย ศูนยเครือขาย มจธ.<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- APHA, AWWA, WEF. (2005), Standard methods for the examination of water and<br />

wastewater. American Public Health Association., Washington, DC.<br />

- Chang, JS., Lee, KS. and Lin, PJ. (2002), Biohydrogen production with fixed-bed<br />

bioreactors. International Journal of Hydrogen Energy. 27: 1167-1174.<br />

- Das, D. and Veziroglu, TN. (2001), Hydrogen production by biological processes: a survey<br />

of literature. International Journal of Hydrogen Energy. 26: 13-28.<br />

- Fang, HHP. and Liu, H. (2002), Effect of pH on Hydrogen production from glucose by a<br />

mixed culture. Bioresource Technology. 82: 87-93.<br />

- Kapdan, IK. and Kargi, F. (2006), Bio-hydrogen production from waste materials.<br />

Enzyme and Microbial Technology. 38: 569-582.<br />

- Kawagoshi, Y., Hino, N., Fujimoto, A., Nakao, M., Fujita, Y., Sugimura, S. and Furukawa,<br />

K. (2005), Effect of inoculums conditioning on hydrogen fermentation and pH effect on<br />

bacterial community relevant to hydrogen production. Journal of Bioscience and<br />

Bioengineering. 100: 524-530.<br />

156


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Khanal, SK., Chen, WH., Li, L. and Sung, S. (2004), Biological hydrogen production<br />

:effects of pH and intermediate products. International Journal of Hydrogen Energy. 29:<br />

1123-1131.<br />

- Lay, JJ., Lee, YJ. and Noike, T. (1999), Feasibility of biological hydrogen production<br />

from organic fraction of municipal solid waste. Water Research. 33: 2579-2586.<br />

- Levin, DB., Pitt, L. and Love, M. (2004), Biohydrogen production: prospects and<br />

limitations to practical application. International Journal of Hydrogen Energy. 29: 173-185.<br />

- Logan, BE., Oh, SE., Kim, IS. and Ginkel, SV. (2002), Biological hydrogen production<br />

measured in batch anaerobic respirometer. Environmental science and Technology. 36:<br />

2530-2535.<br />

- Wang, J. and Wan, W. (2009), Factors influencing fermentative hydrogen production: A<br />

review. International Journal of Hydrogen Energy. 34: 799-811.<br />

- Vazquez, IV., Noyola, MT. and Varaldo, HM. (2008), Nutrients related to spore<br />

germination improve H 2 production from heat-shock-treated consortia. International<br />

Journal of Hydrogen Energy.<br />

157


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การนําลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวมาผลิตเชื้อเพลิงแข็งทดแทนการเผาถาน<br />

Import of Maize Stalk to Produce Solid Fuel Substitute Charcoal Production<br />

วรวุฒิ ถุงทรัพย, ณรงคพันธุ ฉุนรัมย และ วัฒนพงษ รักษวิเชียร<br />

สถาบันพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแหงเอเชีย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม<br />

อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300<br />

บทคัดยอ<br />

จุดประสงคในการศึกษาครั้งนี้เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรกลุมผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว นําวัสดุเหลือใชทาง<br />

การเกษตรมาผลิตเปนเชื้อเพลิงเพื่อลดการเผาถานในกลุมเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จากการศึกษาพื้นที่<br />

การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยตั้งแตป 2549 ถึง 2551 มีการใชพื้นที่ในการเพาะปลูกเฉลี่ยที่ 6,486,825<br />

ไร มีการผลิตลําตนขาวโพดเฉลี่ย 8,500 ตนตอไร เมื่อนําลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ปลอยทิ้งไว 2 สัปดาหมาชั ่งหา<br />

น้ําหนักเฉลี่ยพบวามีน้ําหนักเฉลี่ยตนละ 75 กรัม ดังนั้น ตั้งแตป 2549 ถึง 2551 ประเทศไทยมีลําตนขาวโพดเหลือ<br />

ทิ้งไวในแปลงปลูกเฉลี่ย 4,135,350 ตันตอป เมื่อนํามาคํานวณหาปริมาณอัตราการปลอยกาซเรือนกระจกตาม<br />

MODULE AGRICULTURE SUBMODULE FIELD BURNING OF AGRICULTURAL RESIDUES<br />

WORKSHEET 4-4 ของ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) พบวา ลําตนขาวโพดที่ปลอยทิ้ง<br />

ไวในแปลงปลูกจะผลิต มีเทน 7,012 ตัน และ ไนตรัส ออกไซด 0.0656 ตัน ตอป หรือเทียบเทากับกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดได 147,278.84 ตันตอป<br />

ผลจากการนําลําตนขาวโพดมาผลิตเปนเชื้อเพลิงอัดแทงของเกษตรกรในหมูที่ 6 ตําบลบานแยง อําเภอ<br />

นครไทย จังหวัดพิษณุโลก สามารถลดการใชถานหุงตมลงได ประมาณ 41.70 ตันตอป การจัดการและพัฒนาลํา<br />

ตนขาวโพดมาเปนเชื้อเพลิงอัดแทงแทนถานหุงตมจะชวยใหเกษตรกรลดการเผาถานซึ่งปลดปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ลงไดและสามารถนําลําตนขาวโพดมาใชประโยชนแทนการปลอยทิ้งไวในแปลงปลูก ทั้งยังลดรายจายดานพลังงาน<br />

ในครัวเรือนใหกับเกษตรกรไดอีกทางหนึ่งดวย<br />

คําสําคัญ : การจัดการวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

Abstract<br />

The purpose of this research for support agriculturist who grows up maize to take a stalk are<br />

agriculture waste to make fuel briquette for reduce burning charcoal in agriculturist. The finding is on 2006<br />

to 2008 in Thailand we have average area to planted maize at 6,486,825 Rai (1 Rai is 1,600 m 2 ). On<br />

proceed can be have maize stalk 8,500/Rai or we have maize stalk 4,135,350 Ton/year. Take this data<br />

follow up on MODULE AGRICULTURE SUBMODULE FIELD BURNING OF AGRICULTURAL RESIDUES<br />

WORKSHEET 4-4. Greenhouse emission gases from maize have 7,012 ton of Methane and 0.0656 ton<br />

of Nitrous oxide a year.<br />

158


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Agriculturist at Moo 6 Ban-yeang Nakhonthai Phitsanulok province can reduce burning charcoal<br />

41.648 ton/year this activity can be save energy cost in household and reduce greenhouse emission<br />

gases from charcoal burning.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเกษตรกรรมในประเทศไทยจัดวาเปนอันดับตนๆของโลกที่สามารถผลิต เพื่อเปนอาหารใหกับ<br />

ประชากรภายในประเทศและสงออกไปจําหนายยังตางประเทศ ทั้งในรูปของสินคาทางการเกษตรและการ แปรรูป<br />

จึงตองใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาจัดการในดานการผลิตเพื่อใหทันกับความตองการของตลาด ทําใหเกษตรกร<br />

ตองพึ่งพาพลังงานฟอสซิล (Fossil) ทั้งน้ํามัน กาซธรรมชาติ และผลิตภัณฑจากปโตเลี่ยมตามลําดับ บางครัวเรือน<br />

จึงมีรายจายทางดานพลังงานถึงรอยละ 60 การผลิตที่แขงขันกับเวลาดังกลาวทําใหเกษตรกรสนใจเพียงผลผลิตที่<br />

สามารถ นําไปขายได โดยไมไดสนใจ ที่จะพัฒนาวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่เปนผลพลอยไดที่มีอยูเปนจํานวน<br />

มาก ดังแผนภูมิแสดงความตองการใชพลังงานในสาขาบานอยูอาศัย<br />

รูปที่ 1. แผนภูมิแสดงความตองการใชพลังงานในสาขาบานอยูอาศัย [7]<br />

รูปที่ 2. แสดงปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

159


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รายงานจากของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ เรื่องสถิติการเกษตรใน<br />

ประเทศไทย [11] พบวาขาวมีพื้นที่ปลูกประมาณ 60 ลานไร จะมีผลผลิตทั้งสิ้น 42 ลานตัน มีชีวมวลแกลบ 8.82<br />

ลานตัน ฟางขาว 20.58 ลานตัน ออยมีพื้นที่ปลูกประมาณ 6 ลานไร มีชีวมวลชานออย 26.88 ลานตัน ยอดออยใบ<br />

ออย 16.32 ลานตัน ขาวโพดเลี้ยงสัตว มีพื้นที่ปลูกประมาณ 6 ลานไร มี ซังขาวโพดประมาณ 8.64 แสนตัน โดยที่<br />

ยังไมมีหนวยงานใดๆ ไดคํานวณหาปริมาณจํานวนลําตนขาวโพดที่ผลิตไดในแตละป ดังรูปที่แสดง<br />

จากแบบรายงานผลความกาวหนาการปลูกพืชฤดูผล ป 2552 ที่ตัดยอดเมื่อ เดือนสิงหาคม 2552 จาก<br />

สํานักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก [11] พบวาจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ทั้งหมด 284,359<br />

ไร เมื่อนําขอมูลจากบริษัทเศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด [8] ที่ไดใหคําแนะนําเกษตรกรเกี่ยวกับการปลูก<br />

ขาวโพดวา การปลูกขาวโพดที่จะไดผลผลิตที่ดีนั้นจะตองมีระยะหางระหวางตน 75 x 75 เซนติเมตร โดยมีวิธีการ<br />

ปลูกคือ ใหหยอดเมล็ดพันธขาวโพด 3 เมล็ดตอหนึ่งหลุมและ ถอนออก 1 ตน จึงทําให 1 ไร มีตนขาวโพดอยู<br />

ประมาณ 8500 ตน เมื่อรวมกับพื้นที่ทั้งหมด ในการเพาะปลูกในจังหวัดพิษณุโลกจะมี ลําตนขาวโพดเหลือทิ้งในแต<br />

ละปจํานวนมากถึง 241.70 ลานตน นําลําตนขาวโพดมาชั่งน้ําหนักพบวา ลําตนขาวโพด หนึ่งตนมีน้ําหนัก 75 กรัม<br />

เมื่อนําไปคํานวณพบวา จํานวนลําตนขาวโพดที่ผลิตไดมี 181,278.86 ตัน จากอัตราสวนชีวมวลลําตนขาวโพดที่<br />

สามารถนํามาคํานวณไดในอัตรา รอยละ 82 [12] จะมีชีวมวลที่ไดจากลําตนขาวโพดถึงประมาณ 148,648.66 ตัน<br />

ซึ่งยังไมไดมีการศึกษาถึงความเปนไปได ในการที่จะนําลําตนขาวโพดมาใชประโยชนในดานพลังงานอยางแทจริง<br />

ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม ไดทําการสํารวจวัสดุเหลือใชจากการเกษตรใน<br />

โครงการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลเพื่อใชเปนพลังงานทดแทน (ระดับมหภาค) [9] จํานวน<br />

16 จังหวัดของ ภาคเหนือและภาคกลาง พบวา จํานวนลําตนขาวโพด หลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรแลว รอยละ<br />

100 ของลําตนขาวโพดไดถูกปลอยทิ้งไวใน แปลงเกษตรโดยที่เกษตรกรไมไดนํามาใชประโยชนอะไรเลย จะเห็น<br />

ไดวาวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่กลาวมาขางตนในพืชแตละชนิดสามารถนํากลับมาเปนเชื้อเพลิงชีวภาพใน<br />

รูปแบบที่แตกตางกันไปตามลักษณะของการนําไปใชงานและความหนาแนนในภูมิภาค มีเพียงแตลําตนขาวโพด<br />

เทานั้นที่ยังไมเคยมีรายงานวานําไปใชประโยชนใดๆเลยในดานพลังงาน จากรายงานของของสํานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณระหวางป 2549 ถึง 2551 ที่กลาวถึงจํานวนพื้นที่การปลูกขาวโพดเลี้ยง<br />

สัตวใน 40 จังหวัดมีพื้นที่การเพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ย 6,486,825 ไร มีความหนาแนนอยูในบริเวณภาคเหนือ ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงภาคกลางบางสวน เกษตรกรจะปลูกขาวโพดเพื่อนําเมล็ดขายเพียงอยางเดียว โดยเมื่อ<br />

เก็บเกี่ยวฝกขาวโพดแลวเกษตรกรปลอยใหลําตนขาวโพดแหงตายอยูในบริเวณแปลงเพาะปลูก รอจนถึงฤดูกาล<br />

เพาะปลูกใหมเกษตรกรจึงจะไถกลบตนขาวโพดนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งผลจากการปลอยลําตนขาวโพดทิ้งไวในแปลงปลูก<br />

จะทําใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจก อีกทั้งเกษตรกรในพื้นที่ที่ทําการศึกษาไดมีการเผาถานเพื่อใชเปนพลังงาน<br />

ในการประกอบอาหารในครัวเรือน ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้สามารถสรางแนวทางการลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากการเผาถานลงโดยการนําลําตนขาวโพดที่เปนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาใชเปนเชื้อเพลิงแทนถานหุงตมได<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อนําลําตนขาวโพดที่เหลือทิ ้งจากการเกษตรมาเปนเชื้อเพลิงทดแทนถาน<br />

2.2 เพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกการเผาถานในกลุมเกษตรกรผูปลูกขาวโพด<br />

160


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาการใชเชื้อเพลิงในชีวิตประจําของกลุมเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวใน<br />

หมูที่ 6 ต.บานแยง อ.นครไทย จ.พิษณุโลก การจากสํารวจการนําวัสดุเหลือใชทางการเกษตรไปใชงานพบวาพื้นที่<br />

อําเภอนครไทยมีปริมาณการปลูกขาวโพดมากที่สุดในจังหวัดพิษณุโลก และประชากรในพื้นที่ หมูที่ 6 ตําบลบาน<br />

แยง เกษตรกรนิยมเผาถานไวใชหุงตมในครัวเรือนเกือบทุกหลังคาเรือน จึงมีความเหมาะสมที่จะสงเสริมการนําลํา<br />

ตนขาวโพดที่เปนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาผลิตเปนเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงโดยใชแปงมัน และแปงเปยก เปนตัว<br />

ประสาน ในอัตราสวนที่ตางกันโดยกําหนดน้ําหนักของลําตนขาวโพดกับปริมาณน้ําเพื่อเพิ่มความชื้นของลําตน<br />

ขาวโพด หลังจากสับแลวอัดแทงดวยเครื่องอัดแทงเชื้อเพลิงภูมิปญญาชาวบาน จึงนําเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงที่ไดมา<br />

ทดสอบและวิเคราะหคุณสมบัติทางกล ทางกายภาพทางเชื้อเพลิง ประสิทธิภาพการใหความรอนผานเตาที่ใช<br />

ทดสอบเปรียบเทียบกับถานหุงตม ทั้งนี้ยังไดศึกษาถึงความสามารถในการลดปริมาณกาซเรือนกระจกเมื่อนํามา<br />

ผลิตเปนเชื้อเพลิงอัดแทง<br />

3.1 วิธีการสํารวจการใชเชื้อเพลิงและความตองการใชเชื้อเพลิงเขียวอัดแทง<br />

3.1.1 ตรวจสอบขอมูลรายชื่อผูขอขึ้นทะเบียนการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ผานการประชาคมและตรวจสอบ<br />

พื้นที่เรียบรอยแลวเพื่อกําหนดกลุมตัวอยาง<br />

3.1.2 กําหนดกลุมตัวอยาง โดยใชสูตร ยามาเน (Yamane) [37] ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ยอมใหเกิดความ<br />

คลาดเคลื่อนได รอยละ 5 ที่ระดับคาความเชื่อมั่น รอยละ 95 ดังสมการตอไปนี้<br />

n =<br />

N<br />

1+<br />

(Ne 2 ………………...…………………………(1)<br />

)<br />

เมื่อ<br />

n = ขนาดของกลุมตัวอยาง<br />

N = ขนาดของกลุมประชากร<br />

e = คาความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได<br />

3.1.3 ทําการสัมภาษณเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่หมูที่ 6 ต.บานแยง อ.นครไทย จ.<br />

พิษณุโลก โดยใชแบบสัมภาษณการใชเชื้อเพลิงในครัวเรือน<br />

3.1.4 ทําการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีแจกแจงความถี่คาเฉลี่ยและรอยละ<br />

3.2 ดําเนินการผลิตเชื้อเพลิงเขียวอัดแทง<br />

3.2.1 การเตรียมวัตถุดิบ<br />

3.2.1.1 ทําการเก็บตัวอยางลําตนขาวโพดที่เกษตรกรไดเก็บผลผลิตแลวน้ําหนักประมาณ 500<br />

กิโลกรัม โดยจะเก็บตัวอยางที่ถูกปลอยทิ้งไวในแปลงปลูกประมาณ 2 สัปดาห<br />

3.2.1.2 นําลําตนขาวโพดตัวอยางมาพักเก็บไวที่ วิทยาลัยพลังงานทดแทนเปนเวลา 1 สัปดาห เพื่อ<br />

เตรียมการสับยอย<br />

3.2.2 การสับยอย<br />

3.2.2.1 ทําการสับยอยลําตนขาวโพดดวยเครื่องสับเศษไม ที่มีมอเตอรขนาด 10 แรงมาเปนตัวตน<br />

กําลัง การสับยอยเพื่อจะทําใหขนาดของลําตนขาวโพดเล็กลงโดยมีขนาดประมาณ 2 เซนติเมตร เพราะจะทําใหการ<br />

อัดเปนเชื้อเพลิงไดสะดวกขึ้น<br />

161


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2.2.2 ชั่งน้ําหนักลําตนขาวโพดที่ทําการสับยอยแลว<br />

3.2.3 การหาอัตราสวนผสมของตัวประสาน<br />

การผลิตเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงจากลําตนขาวโพด โดยมีแปงมันและแปงเปยก เปน ตัวประสาน<br />

ผสมในเครื่องผสมดวยอัตราสวนผสมที่แตกตางกัน ของ ลําตนขาวโพด แปงมัน และแปงเปยก โดยในทุกอัตรา<br />

สวนผสมจะมีน้ ําผสมกับลําตนขาวโพด 2 ตอ 1 (โดยน้ําหนัก)<br />

ลําตนขาวโพดเปยก 1 กิโลกรัม : แปงมันรอยละ 5 10 15 และ 20 (โดยน้ําหนัก)<br />

ลําตนขาวโพดเปยก 1 กิโลกรัม : แปงเปยกรอยละ 5 10 15 และ 20 (โดยน้ําหนัก)<br />

3.2.4 การอัดเชื้อเพลิงเขียว<br />

ใชวิธีอัดเปยก ทําการอัดโดยเครื่องอัดแทงภูมิปญญาชาวบานที่สรางแรงอัดจาก แมแรงขนาด 1<br />

ตัน กระบอกอัดมีเสนผานศูนยกลาง 10.16 เซนติเมตร ยาว 35.56 เซนติเมตร มีแผนเหล็กบางกั้นเพื่อกําหนด<br />

ขนาดเชื้อเพลิง ทําใหการอัดหนึ่งครั้งสามารถผลิตแทงเชื้อเพลิงได 4 กอน โดยการอัดจะกําหนดน้ําหนักของ<br />

ตัวอยางใหมีน้ําหนัก 300 กรัมตอ 1 กอน ทําการชั่งน้ําหนักและวัดขนาดของกอนเชื้อเพลิงเขียว เพื่อนําไป<br />

คํานวณหาขนาดของกอนเชื้อเพลิงเขียวกอนนําไปตากแหง<br />

3.2.5 การตากแหง<br />

การตากแหงจะทําโดยการตากในเครื่องอบแหงพลังงานแสงอาทิตยแบบอุโมงคเปนเวลา 3 วัน ใน<br />

เวลากลางคืนจะนําแผนพลาสติกกั้นเพื่อกันน้ําคาง เมื่อครบ 3 วัน จึงนํามาชั่งน้ําหนักและวัดขนาดเปรียบเทียบกอน<br />

และหลังตากแหง เพื่อดูอัตราการคืนตัวของเชื้อเพลิงเขียว โดยที่กอนเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงที่ไดรับการเลือกไป<br />

ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี จะตองมีปริมาณความชื้นตามมาตรฐานเปยกไมเกินรอยละ 8 ตามมาตรฐานเชื้อเพลิงอัด<br />

แทง<br />

3.3 การวิเคราะหคุณสมบัติทางเคมีของเชื้อเพลิงเขียวอัดแทง<br />

3.3.1 การศึกษาปริมาณความชื ้นเชื้อเพลิงเขียว (Moisture Content) [1]<br />

การศึกษาปริมาณความชื้นเชื้อเพลิงเขียว มีวิธีการดังนี้<br />

3.2.6.1 เตรียมวัสดุทดลอง<br />

3.2.6.2 อบจาน (Plate) ที่อุณหภูมิ 103 องศาเซลเซียส 1 ชั่วโมง นําออกจากตูอบและ ทิ้งให<br />

เย็นลงในโถที่มีซิลิกาดูดความชื้น แลวนําจานออกมาชั่งน้ําหนัก โดยใชอุปกรณครีบจับจาน เพื ่อไมใหจานสัมผัสกับ<br />

รางกายผูทําการทดลอง<br />

3.2.6.3 นําเชื้อเพลิงเขียวที่เตรียมไวชั่งน้ําหนักและนําไปอบในตูอบที่อุณหภูมิ 103 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 72 ชั่วโมง<br />

3.2.6.4 นําตัวอยางออกจากตูอบและทิ้งใหเย็นลงในโถที่มีซิลิกาดูดความชื้น แลวจึงนําจานออกมา<br />

ชั่งน้ําหนัก<br />

3.2.6.5 คํานวณหาปริมาณความชื้นตามคามาตรฐานเปยก โดยใชสมการที่ 2 ในการคํานวณ<br />

3.3.2 การศึกษาปริมาณเถา (Ash Content, A) [2]<br />

การศึกษาปริมาณเถา มีวิธีการดําเนินการดังนี้<br />

3.3.2.1 เผาถวยกระเบื้องที่ อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที ทิ้งใหเย็น<br />

3.3.2.2 ชั่งถวยกระเบื้อง ใสตัวอยางประมาณ 1 กรัม<br />

3.3.2.3 เผาที่ อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส และ 750 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

3.3.2.4 ชั่งและบันทึกน้ําหนักที่ไดหลังเผา<br />

3.3.2.5 คํานวณหาปริมาณเถาโดยใชสูตร<br />

162


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

A<br />

(Ash) = (T −<br />

(U J) ×<br />

- J)<br />

100 …………………….…………….(2)<br />

เมื่อ A = รอยละของปริมาณเถา<br />

T = น้ําหนักของเถาพรอมถวยกระเบื้อง (กรัม)<br />

J = น้ําหนักของถวยกระเบื้อง (กรัม)<br />

U = น้ําหนักของถวยกระเบื้อง และตัวอยางกอนเผา (กรัม)<br />

3.4 การศึกษาปริมาณสารระเหย (Volatile Matter, VM) [3]<br />

การศึกษาปริมาณสารระเหย มีวิธีการดําเนินการดังนี้<br />

3.4.1 เผาถวยกระเบื้องที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที ทิ้งใหเย็น<br />

3.4.2 ชั่งถวยกระเบื้อง ใสตัวอยางประมาณ 1 กรัม<br />

3.4.3 เผาที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส เปนเวลา 7 นาที จากนั้นทิ้งใหเย็น<br />

3.4.4 ชั่งและบันทึกน้ําหนักที่ไดหลังเผา<br />

3.4.5 คํานวณหาปริมาณน้ําหนักที่สูญเสียโดยใชสูตร<br />

C = (P −<br />

100<br />

Q Q) × ……………………….………………..(3)<br />

เมื่อ C = รอยละน้ําหนักที่สูญเสีย<br />

P = หนักของตัวอยาง (กรัม)<br />

Q = น้ําหนักของตัวอยางหลังเผา (กรัม)<br />

3.4.6) คํานวณหาปริมาณสารระเหยโดยใชสูตร<br />

VM = C – M – A………………………………………………..(4)<br />

เมื่อ VM = รอยละปริมาณสารละเหย<br />

C = รอยละน้ําหนักที่สูญเสีย<br />

M = รอยละความชื้น<br />

A = รอยละเถา<br />

3.5 การศึกษาคาคารบอนคงตัว (Fixed Carbon, FC) [4]<br />

การหาคาคารบอนคงตัว สามารถหาไดจากสูตรดังตอไปนี้<br />

FC = 100 – (A + VM + M)…………………..…………………(5)<br />

เมื่อ FC = รอยละคารบอนคงตัว<br />

A = รอยละเถา<br />

VM = รอยละปริมาณสารระเหย<br />

M = รอยละความชื้น<br />

163


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.6 ทดสอบการใชงาน โดยวัดประสิทธิภาพจากเตาที่ใช [5]<br />

การทดสอบการใชงานเปรียบเทียบกับถาน โดยจะใชเตาแก็สพลังงานชุมชน และเตาอั้งโลที่มีขายตาม<br />

ทองตลาด ดวยวิธีการคํานวณจากประสิทธิภาพเตา การทดสอบมีดังนี้<br />

3.6.1 ชั่งน้ําหนักเชื้อเพลิงเขียวอัดแทง 500 กรัม<br />

3.6.2 ชั่งน้ําใหไดน้ําหนัก 1,000 กรัม ใสหมอตมน้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 เซนติเมตร โดยวัด<br />

อุณหภูมิกอนตม<br />

3.6.3 ใชเทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิของน้ําขณะตม โดยใชอุปกรณจับยึดใหเทอรโมมิเตอรอยูที่บริเวณ<br />

กลางหมอตม โดยไมใหเทอรโมมิเตอรสามารถสัมผัสกับหมอตมได<br />

3.6.4 นําเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงชุบน้ํามันเบนซิน 91 ประมาณ 50 ลูกบาศกเซนติเมตร (Starter) เพื่อ<br />

ประสิทธิภาพในการจุดติด จากนั้นนําไปบรรจุไวในเตาแก็สพลังงานชุมชน แลวจุดไฟ<br />

3.6.5 นําหมอตมที่เตรียมไวตั้งบนเตา บันทึกคาอุณหภูมิทุก 3 นาที พรอมสังเกต ลักษณะควันไฟ เถา<br />

เปลวไฟ และการติดไฟ<br />

3.6.6 เมื่อน้ําเดือดทําการบันทึกคาอุณหภูมิแลวเปลี่ยนหมอตมน้ําใหม จดอุณหภูมิทุก 3 นาที จน<br />

อุณหภูมิหมอตมน้ําสุดทายไมเพิ่มขึ้น<br />

3.6.7 บันทึกอุณหภูมิแวดลอมและความชื้นสัมพัทธในขณะทําการทดลอง<br />

3.6.8 คํานวณหาประสิทธิภาพเตา โดยใชสูตรคํานวณดังนี้<br />

η =<br />

n<br />

∑ m s(t<br />

2<br />

t<br />

1<br />

) ms(t<br />

3<br />

t<br />

i 1<br />

i<br />

− + −<br />

=<br />

Wq<br />

)<br />

1<br />

× 100 …………………….….….(6)<br />

เมื่อ η = ประสิทธิภาพการใหความรอนของเชื้อเพลิง<br />

W = น้ําหนักของเชื้อเพลิง (กิโลกรัม)<br />

q = คาความรอนของเชื้อเพลิง (กิโลจูลตอกิโลกรัม)<br />

m = น้ําหนักของน้ํา (กิโลกรัม)<br />

s = คาความรอนจําเพาะของน้ํา (กิโลจูลตอกิโลกรัม)<br />

t 1 = อุณหภูมิของน้ําเริ่มแรก (องศาเซลเซียส)<br />

t 2 = อุณหภูมิของน้ําเดือด (องศาเซลเซียส)<br />

t 3 = อุณหภูมิสุดทายของน้ําในหมอตมน้ําหลังสุด (องศาเซลเซียส)<br />

n = จํานวนครั้งที่น้ําเดือด<br />

164


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.7 ขั้นตอนการคํานวณหาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาตนขาวโพดในแปลงปลูก ตาม:<br />

Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC). (1996) [6] มีขั้นตอนการบันทึกดังตอไปนี้<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากการสํารวจจํานวนประชากรในพื้นที่ หมูที่ 6 ตําบลบานแยง อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก<br />

พบวามีประชากรทั้งหมด 115 หลังคาเรือน ในการตรวจสอบขอมูลรายชื่อผูขอขึ้นทะเบียนการปลูกขาวโพดเลี้ยง<br />

สัตว พบวามีวามีเกษตรกรในพื้นที่ปลูกขาวโพดทั้งหมด 51 ครัวเรือน<br />

รูปที่ 3 แสดงความถี่และระยะเวลาการใชเชื้อเพลิงตอวัน<br />

165


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.1 การผลิตเชื้อเพลิงอัดแทงจากลําตนขาวโพด<br />

4.1.1 การเตรียมวัตถุดิบ<br />

การจัดเก็บลําตนขาวโพด ไดจัดเก็บในเขตพื้นที่ตําบลบึงพระ เปนไรขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรได<br />

มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตไปแลวประมาณ 2 สัปดาห ซึ่งมีระยะทางหางจาก วิทยาลัยพลังงานทดแทน 15 กิโลเมตร<br />

ในการจัดเก็บไดใชแรงงาน จํานวน 4 คน ใชเวลาในการจัดเก็บ 3.30 ชั่วโมง การลําเลียงกลับมายังวิทยาลัย<br />

พลังงานทดแทนใชรถบรรทุกจํานวน 2 เที่ยว ไดลําตนขาวโพดประมาณ 500 กิโลกรัม เพื่อใชเปนวัตถุดิบในการ<br />

ทดลอง<br />

4.1.2 การสับยอย<br />

หลังจากนําลําตนขาวโพดมาพักไวที ่วิทยาลัยพลังงานทดแทนเปนเวลา 1 สัปดาห จึงไดนําลําตน<br />

ขาวโพดไปสับยอยที่ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยนเรศวร ในการสับยอยจะใชแรงงานจํานวน 4 คน และใชเวลา<br />

ดําเนินการสับยอยจํานวน 11 ชั่วโมง<br />

จากการสังเกตทางกายภาพของลําตนขาวโพดพบวาลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ทําการเก็บเกี่ยวภายหลัง<br />

จากเก็บเกี่ยวผลผลิต 2 สัปดาห ยังมีลักษณะของลําตนเขียวอยู และมีน้ําหนัก เมื่อทิ้งไวในที่รมหนึ่งสัปดาหกอน<br />

นําไปสับยอย สีของลําตนและใบจะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล กลิ่นคลายพืชหมัก น้ําหนักหลังสับยอยเหลือ 261.8<br />

กิโลกรัม หรือคิดเปนรอยละ 52.36 ของน้ําหนัก ลําตนขาวโพด 500 กิโลกรัม<br />

จากการสังเกตพบวา ลําตนขาวโพดมีการสูญเสียน้ําเร็วมาก จะมีราขึ้นในลําตนขาวโพดที่บรรจุไวใน<br />

ถุงพลาสติกรวมถึงไอน้ําที่เกาะอยูในถุงบรรจุ ดังนั้นการเก็บลําตนขาวโพดเพื่อที่จะนํามาใชเปนวัตถุดิบในการผลิต<br />

เชื้อเพลิงควรจะเก็บไวในบริเวณที่มีอากาศถายเท โดยวิธีกองไว กับพื้นไมควรเก็บลําตนขาวโพดไวในถุงที่อากาศ<br />

ไมสามารถถายเทไดเพราะจะทําใหเกิดเชื้อราที่ ลําตนขาวโพดได<br />

ตาราง 1 อัตราสวนผสมของ ลําตนขาวโพด แปงมัน แปงเปยก และน้ํา (โดยน้ําหนัก)<br />

ตัวอยาง<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 10<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 15<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 20<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 10<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 15<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 20<br />

ลําตนขาวโพด<br />

(กรัม)<br />

340<br />

340<br />

340<br />

340<br />

340<br />

340<br />

340<br />

340<br />

แปงมัน<br />

(กรัม)<br />

50<br />

100<br />

150<br />

200<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

แปงเปยก<br />

(กรัม)<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

50<br />

100<br />

150<br />

200<br />

น้ํา<br />

(กรัม)<br />

660<br />

660<br />

660<br />

660<br />

660<br />

660<br />

660<br />

660<br />

จากตารางลําตนขาวโพดที่ปลอยทิ้งไว 3 สัปดาหแลวนํามาสับยอยจะมีความชื้นรอยละ 11.20 ตาม<br />

มาตรฐานเปยก เมื่อนํามาผสมน้ําในอัตรารอยละ 66 ของลําตนขาวโพดเปยก ดังนั้นความชื้นของลําตนขาวโพดที่ใช<br />

ในการทดลองครั้งนี้อยูที่ รอยละ 77.20 โดยมี ตัวประสานแปงเปยกและแปงมันในสัดสวน รอยละ 5 10 15 และ 20<br />

โดยน้ําหนัก<br />

166


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตาราง 2 ลักษณะทางกายภาพของเชื้อเพลิงเขียวเมื่อผานการอัด<br />

ตัวอยาง<br />

เสนผาน<br />

ศูนยกลาง<br />

(ม.)<br />

ความสูง<br />

(ม.)<br />

น้ําหนัก<br />

(กก.)<br />

ปริมาตร<br />

(ลบ.ม)<br />

ความ<br />

หนาแนน<br />

(กก./ลบ.ม)<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 10<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 15<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 20<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ10<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ15<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 20<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.03<br />

0.1433<br />

0.1500<br />

0.1600<br />

0.1633<br />

0.1333<br />

0.1367<br />

0.1433<br />

0.1467<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

0.000943<br />

152.02<br />

159.09<br />

169.70<br />

173.29<br />

141.41<br />

144.95<br />

152.02<br />

155.56<br />

จากตารางพบวา กอนเชื้อเพลิงในทุกอัตราสวนผสมมีเสนผานศูนยกลางเทากัน คือ 10 เซนติเมตร มี<br />

ความสูง 3 เซนติเมตร น้ําหนักของกอนเชื้อเพลิงในทุกอัตราสวนจะอยูระหวาง 140 ถึง 160 กรัม ปริมาตรและ<br />

ความหนาแนนของกอนเชื้อเพลิง จึงมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากความสัมพันธของกันของกอน<br />

เชื้อเพลิง<br />

จากการสังเกตตาราง จะเห็นไดวาเครื่องอัดแบบภูมิปญญาชาวบานไดมีแรงอัดที่กระจายไดสม่ําเสมอ<br />

เนื่องจากความสูงของกอนเชื้อเพลิงมีขนาดเทากันทุกกอน น้ําหนักของกอนเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นตามสัดสวนของอัตรา<br />

สวนผสมแปงมันและแปงเปยก กอนเชื้อเพลิงที่มีตัวประสานแปงมันจะมีน้ําหนักนอยกวากอนเชื้อเพลิงที่มีตัว<br />

ประสานแปงเปยก เนื่องจากในขบวนการอัดแทงเชื้อเพลิง เมื่อเกิดแรงอัดที่วัสดุปริมาณของตัวประสานจํานวนหนึ่ง<br />

จะไหลออกมากับน้ําซึ่งแปงมันจะไหลออกมาไดมากกวาแปงเปยก จึงทําใหน้ําหนักของกอนเชื้อเพลิงแตกตางกัน<br />

4.1.3 การตากแหง<br />

เมื่อนํากอนเชื้อเพลิงเขียวตากแหง ณ วิทยาลัยพลังงานทดแทน โดยใชเครื่องอบแหงพลังงาน<br />

แสงอาทิตยแบบอุโมงค เปนเวลา 3 วัน จึงนํากอนเชื้อเพลิงเขียวมา วัดขนาด ชั่งน้ําหนัก เพื่อศึกษาความ<br />

เปลี่ยนแปลงของกอนเชื้อเพลิงเขียว กอนและหลังการตากแหง ดังผล<br />

ตาราง 3 ลักษณะทางกายภาพของเชื้อเพลิงเขียวเมื่อผานการตากแหง<br />

ตัวอยาง<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 10<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 15<br />

อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 20<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 5<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 10<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 15<br />

อัดโดยผสมแปงมันรอยละ 20<br />

เสนผาน<br />

ศูนยกลาง<br />

(ม.)<br />

0.1109<br />

0.1063<br />

0.1084<br />

0.1077<br />

0.1072<br />

0.1069<br />

0.1058<br />

0.1072<br />

ความสูง<br />

(ม.)<br />

0.0509<br />

0.0414<br />

0.0405<br />

0.0376<br />

0.0499<br />

0.0445<br />

0.0387<br />

0.0371<br />

น้ําหนัก<br />

(กก.)<br />

0.0968<br />

0.0820<br />

0.0888<br />

0.0913<br />

0.0977<br />

0.1061<br />

0.1014<br />

0.1097<br />

ปริมาตร<br />

(ลบ.ม)<br />

0.001995<br />

0.001469<br />

0.001496<br />

0.001370<br />

0.001800<br />

0.001598<br />

0.001362<br />

0.001338<br />

ความ<br />

หนาแนน<br />

(กก./ลบ.ม)<br />

51.08<br />

55.80<br />

59.36<br />

66.66<br />

52.27<br />

66.40<br />

74.43<br />

81.99<br />

167


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากตารางพบวาอัตราสวนผสมทั้งแปงมันและแปงเปยกเมื่อปลอยทิ้งไว กอนเชื้อเพลิงจะคืนตัวซึ่งการ<br />

คืนตัวของกอนเชื้อเพลิงจะคืนตัวในดานความหนาอยางเห็นไดชัด อัตราสวนผสมที่อัดโดยผสมแปงเปยกรอยละ 5<br />

จะมีการคืนตัวอยูที่ 2.09 เซนติเมตร<br />

การระเหยออกของน้ําและการคืนตัวในกอนเชื ้อเพลิงเขียว มีความสัมพันธกันกับปริมาตรและความ<br />

หนาแนน เนื่องจากเมื่อกอนเชื้อเพลิงมีการคืนตัวทําใหขนาดและความสูงเปลี่ยนไป เมื่อนํามาหาปริมาตรของกอน<br />

เชื้อเพลิงจึงทําใหปริมาตรของกอนเชื้อเพลิงไมเทากัน ซึ่งสงผลทําใหคาความหนาแนนของเชื้อเพลิงเปลี่ยนแปลงไป<br />

ดวย<br />

ตาราง 4 รายละเอียดคุณสมบัติทางเคมีและคาความรอนของเชื้อเพลิงอัดแทงจากลําตนขาวโพดที่ผลิตได<br />

คุณสมบัติของเชื้อเพลิงที่ผลิตได<br />

ปริมาณเถาโดยเฉลี่ยรอยละ 11.03<br />

ปริมาณคาคารบอนคงตัวโดยเฉลี่ยรอยละ 9.96<br />

ปริมาณสารระเหยโดยเฉลี่ยรอยละ 71.30<br />

ปริมาณความชื้นโดยเฉลี่ยรอยละ (M w ) 7.71<br />

คาความรอนสูง (กิโลจูลตอกิโลกรัม) 16,891<br />

คาความรอนต่ํา (กิโลจูลตอกิโลกรัม)<br />

ประสิทธิภาพเชื้อเพลิง (รอยละ)<br />

15,831<br />

20.56<br />

4.2 ผลการคํานวณปริมาณ การปลอยกาซ (Emission Gas) จากการเผาลําตนขาวโพดเลี้ยงสัตวเหลือทิ้ง<br />

ในพื้นที่ หมูที่ 6 ต.บานแยง อ.นครไทย จ.พิษณุโลก<br />

ในพื้นที่หมูที่ 6 ตําบลบานแยง ไดลดการใชถานหุงตมปละ 40 ตัน ทําใหปริมาณลําตนขาวโพดไมได<br />

โดนเผาในแปลงปลูกมีจํานวน 40 ตัน ซึ่งไดนํามาผลิตเปนเชื้อเพลิงเขียวอัดแทง เมื่อนําปริมาณลําตนขาวโพดที่<br />

ไมไดโดนเผาในแปลงปลูกมาคํานวณหาปริมาณการปลดปลอยกาซตาม Worksheet 4-4 Field Burning of<br />

Agriculture Residues ดังปรากฏผลตามแผนภูมิ<br />

ตัน<br />

CH 4 CO N 2 O NO x<br />

รูปที่ 4 การลดการปลอยกาซเนื่องจากการเผาไรขาวโพดในพื้นที่ หมูที่ 6<br />

168


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การนําลําตนขาวโพดมาผลิตเปนเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงสามารถลดปริมาณกาซคารบอนมอนออกไซดได<br />

ถึง 4.5 ตัน กาซไนโตรเจนออกไซด ปริมาณ 0.51ตัน กาซมีเทน 0.07 ตัน และสามารถลดปริมาณของกาซไนตรัส<br />

ออกไซดที่ปลอยออกมามีปริมาณ 0.0032 ตัน หรือสามารถลดจํานวนคารบอนไดออกไซดไดถึง 2.462 ตัน<br />

ในการคํานวณหาการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกสามารถคํานวณหาไดจาก<br />

GHG Emission Reduction = Baseline emission - (Project emission+Leakage) ดังนั้น<br />

= (865.56 – 863.1) = 2.46 ตันตอป<br />

ในดานมหภาค จากการศึกษาปริมาณการผลิตลําตนขาวโพดระหวางป2551 พบวาประเทศไทยมี<br />

ปริมาณลําตนขาวโพดเหลือทิ้งทั้งหมดประมาณ 4,000,000 ตัน เมื่อนํามาคํานวณหาปริมารการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกพบวา จากแผนภูมิพบวาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาลําตนขาวโพดในแปลงปลูกของ<br />

ประเทศไทยมีปริมาณกาซเรือนกระจกประกอบดวย กาซมีเทน 6,783 ตัน และไนตรัสออกไซด 0.066 ตัน จาก<br />

ตารางที่ 2 ถาเรามีการบริหารจัดการนําลําตนขาวโพดเหลือทิ้งมาผลิตเปนเชื้อเพลิงเขียวอัดแทงไดทั้งหมด เรา<br />

สามารถลดปริมาณการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดไดถึง 142,471.31 ตัน<br />

ในการศึกษาการเผาถานจากถังน้ํามัน 200 ลิตรของเกษตรกร พบวาเกษตรกรจะใชฟนประมาณ 80<br />

กิโลกรัม ตอการเผาถาน 1 ครั้ง จะสามารถผลิตถานได 30 กิโลกรัมดังนั้นคิดเปนรอยละ 37.5 เมื่อนํามาคํานวณหา<br />

ปริมาณไมฟนที่จะใชในการเผาถานในหมูที่ 6 ต.บานแยง อ.นครไทย จ.พิษณุโลก พบวาจะตองใชไมฟนถึง 111.2<br />

ตันตอป ซึ่การผลิตเชื้อเพลิงแข็งจากลําตนขาวโพดสามารถลดปริมาณการตัดไมมาทําฟนและสามารถลดการเผา<br />

ถานในกลุมเกษตรกรลงไดอีกทางหนึ่งดวย<br />

ตัน<br />

CH 4 CO N 2 O NO x<br />

รูปที่ 5 การลดการปลอยกาซเนื่องจากการเผาไรขาวโพดทั้งประเทศ<br />

169


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ลําตนขาวโพดที่นํามาผลิตเปนเชื้อเพลิงแข็งมีคุณสมบัติทางเคมีคือปริมาณเถาโดย<br />

เฉลี่ยรอยละ 11.03 ปริมาณคาคารบอนคงตัวโดยเฉลี่ยรอยละ 9.96 ปริมาณสารระเหยโดยเฉลี่ยรอยละ 71.30<br />

ปริมาณความชื้นโดยเฉลี่ยรอยละ (M w ) 7.71 คาความรอนสูง (กิโลจูลตอกิโลกรัม) 16,891 คาความรอนต่ํา (กิโลจูล<br />

ตอกิโลกรัม) 15,831 ประสิทธิภาพเชื้อเพลิง (รอยละ) 20.56 โดยที่ถาเกษตรกรนําเชื้อเพลิงแข็งมาใชงานใน<br />

ครัวเรือนจะสามารถลดขบวนการเผาถานลงได ซึ่งจะรวมถึงลดการใชไมฟนลงจํานวน 111.20 ตันตอปและสามารถ<br />

ลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาถานไดทั้งหมดในกลุมเกษตรกรผูปลูกขาวโพด<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

[1] American Standard of testing Material. Standard test method for moisture in Activated<br />

Carbon ASTM D 2866-95. 1996.<br />

[2] American Standard of testing Material. Standard test method for total ash content of<br />

Activated Carbon ASTM D 2866-95. 1996.<br />

[3] American Standard of testing Material. Standard test method for Volatile Matter Content of<br />

Activated Carbon ASTM D 2866-94. 1996.<br />

[4] American Standard of testing Material. Standard test method for fixed carbon content of<br />

Activated Carbon ASTM D 5832-95. 1996.<br />

[5] Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC). (1996). Guide lines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories.<br />

[6] Yamane, Taro.(1973). Statistics: An Introductory Analysis.2 rd ed. New York: Harper and<br />

Row.<br />

[7] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานในบานอยูอาศัยจําแนกตามชนิด<br />

พลังงาน. สืบคนเมื่อ วันที่ 10 กรกฎาคม 2552. จาก<br />

http://www.dede.go.th/dede/index.php?id=938.<br />

[8] บริษัทเศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด. (2549). คําแนะนําการปลูกขาวโพด. กรุงเทพฯ:<br />

[9] พิสิษฏ มณีโชติ และคณะ. (2551). รายงานความกาวหนาโครงการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ<br />

เชื้อเพลิงชีวมวลเพื่อใชเปนพลังงานทดแทน (ระดับมหภาค).<br />

[10] สํานักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก. (2552). รายงานการการปลูกขาวโพดในจังหวัดพิษณุโลก<br />

กระทรวงเกษตร และสหกรณ. พิษณุโลก:<br />

[11] สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2550). สถิติการเกษตรในประเทศไทย. กระทรวงเกษตรและ<br />

สหกรณ. กรุงเทพฯ:<br />

[12] ศูนยสงเสริมพลังงานชีวมวล. ( 2549). ชีวมวล. มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: หนา<br />

56. สํานักพิมพ คิว พริ้นท แมเนจเมนท จํากัด.<br />

170


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: ปาไม<br />

(Session II Greenhouse Gas Mitigation: Forestry Sector)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเก็บกักคารบอนของแปลงปลูกไมโตเร็ว<br />

Carbon Sequestration of Fast Growing Tree<br />

ภูกิจ พันธเกษม 1 ธํารง เปรมปรีดิ์2 สงวน ปทมธรรมกุล 2 ณัฐวุฒิ ธานี3 4<br />

และ ธิติ วิสารัตน<br />

1 นักศึกษาปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล<br />

2 อาจารย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล<br />

3 อาจารย สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

4 สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการเก็บกักคารบอนของไมโตเร็ว ในแปลงทดลอง กระทําในแปลงปลูกไมโตเร็ว 3 ชนิด คือ<br />

ตนตะกู ตนยูคาลิปตัส และตนกระถินยักษ บริเวณบานซับ หมู 4 ตําบลเสิงสาง อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา<br />

พื้นที่แปลงตัวอยางมีขนาดแปลงละ 20 x 75 ตารางเมตร และมีระยะปลูก 2.5 เมตร x 2.5 เมตร การประมาณหา<br />

มวลชีวภาพที่อายุ 1 ป กระทําโดยวิธี stratified clip technique และทําการวิเคราะหหาคาคารบอนในสวนตาง ๆ<br />

ของตนไม ดวยเครื่อง CHNS-932 จากการศึกษาพบวา ไมโตเร็วที่อายุ 1 ป ปริมาณมวลชีวภาพของ ตนตะกู ใน<br />

สวนของลําตน กิ่ง ใบ ราก และรวมทั้งหมดเทากับ 0.397, 0.040, 0.116, 0.105 และ 0.658 ตัน/ไร ตามลําดับ<br />

ตนยูคาลิปตัส ในสวนของลําตน กิ่ง ใบ ราก และรวมทั้งหมดเทากับ 0.547, 0.126, 0.219, 0.256 และ 1.148 ตัน/<br />

ไร ตามลําดับ และตนกระถินยักษ ในสวนของลําตน กิ่ง ใบ ราก และรวมทั้งหมดเทากับ 0.120, 0.016, 0.036,<br />

0.038 และ 0.211 ตัน/ไร ตามลําดับ และปริมาณความเขมขนคารบอนของ ตนตะกู ในสวนของลําตน กิ่ง ใบ ราก<br />

เฉลี่ยเทากับ 48.51, 43.24, 47.90 และ 46.78 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ตนยูคาลิปตัส ในสวนของลําตน กิ่ง ใบ ราก<br />

เฉลี่ยเทากับ 48.86, 53.95, 52.29 และ 46.93 เปอรเซ็นต ตามลําดับ และตนกระถินยักษ ในสวนของลําตน กิ่ง ใบ<br />

ราก เฉลี่ยเทากับ 49.80, 45.34, 51.03 และ 45.09 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อทดสอบทางสถิติพบวาคาเฉลี่ยของ<br />

ทั้งสี่สวนนี้ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Carbon sequestration of fast growing tree which include Anthocephalus Chinensis, Eucalyptus<br />

and Leucaena Leucocephala at 1 years ages was carried out in 20 m x 75 m sample plot at 2.5 m x 2.5<br />

m spacing in Soeng Sang district, Nakhon Ratchasima province. Tree dimensions were measured in the<br />

sample plot to estimate stem, branch, leaf and biomass using stratified clip technique. Total carbon<br />

concentration of each part was analyzed by CHNS-932 machine. The results showed that the stem,<br />

branch, leaf, root and total biomass of 1 years old Anthocephalus Chinensis were 0.397, 0.040, 0.116,<br />

0.105, 0.658 ton/rai . The stem, branch, leaf, root and total biomass of 1 years old Eucalyptus were<br />

0.547, 0.126, 0.219, 0.256, 1.148 ton/rai. The stem, branch, leaf, root and total biomass of 1 years old<br />

Leucaena Leucocephala were 0.120, 0.016, 0.036, 0.038, 0.211 ton/rai. Mean carbon concentration of<br />

stem, branch, leaf, root and total of Anthocephalus Chinensis were 48.51, 43.24, 47.90 and 46.78<br />

percents. Mean carbon concentration of stem, branch, leaf, root and total of Eucalyptus were 48.86,<br />

53.95, 52.29 and 45.09 percents. Mean carbon concentration of stem, branch, leaf, root and total of<br />

Leucaena Leucocephala were 49.80, 45.34, 51.03 and 45.09 percents. Statistical inference indicated that<br />

these mean values were highly significant difference (p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เนื่องจากตนไมสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดผานขบวนการสังเคราะหแสง และเก็บสะสมคารบอนไวใน<br />

สวนตาง ๆ ของตนไม เปนการชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศลง ลดภาวะโลกรอน เปน<br />

แรงผลักดันสําคัญที่ทําใหนานาประเทศหันมารวมกันปองกันและแกไข พรอมทั้งเสริมสรางศักยภาพในการรองรับ<br />

การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ ดังนั้นจึงมีการจัดตั้งอนุสัญญาสหประชาชาติวา<br />

ดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ขึ้น เพื่อกําหนดพันธกรณีใหประเทศ<br />

ตาง ๆ หันมารวมมือ และดําเนินการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกลง (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2551)<br />

การเปลี่ยนแปลงปริมาณคารบอนในระบบนิเวศปาไม นับวามีบทบาทสําคัญยิ่งตอการเปลี่ยนแปลงคารบอน<br />

ในบรรยากาศ ประสิทธิภาพในการดูดซับคารบอนไดออกไซดของระบบนิเวศปาไม แตละประเภทมีความผันแปร<br />

คอนขางสูง จากการศึกษาพบวาตนยูคาลิปตัส ยูโรฟลลาที่อายุ 1 ป มีปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินทั้งหมด<br />

เทากับ 1.88 ตัน/ไร (ปรับปรุงจาก ชลธิดา เชิญขุนทด และ ธิติ วิสารัตน, 2550) ขึ้นอยูกับลักษณะของสังคมพืช<br />

และประสิทธิภาพในการดูดซับคารบอนไดออกไซดของพันธุไมที่เปนองคประกอบของสังคมพืชนั้น ๆ นอกจากนี้<br />

ประสิทธิภาพในการดูดซับคารบอนไดออกไซดของตนไม ยังขึ้นอยูกับปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่มีผลทั้งทางตรง<br />

และทางออม ตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช และการเจริญเติบโตของพืช<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อหาปริมาณการเก็บกักคารบอนในสวนของมวลชีวภาพในแปลงปลูกไมโตเร็ว 3 ชนิด คือตนตะกู ยูคา<br />

ลิปตัส และกระถินยักษ ขอมูลที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้สามารถนําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานและเชื่อมโยงกับขอมูลพื้น<br />

ฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับวัฏจักรคารบอน จะนําไปสูการประมาณคาผลผลิตคารบอนสุทธิและคาคารบอนเครดิต<br />

ของระบบนิเวศปาไมตาง ๆ ของประเทศไทยตอไป<br />

3. วิธีการการศึกษา<br />

3.1 การเลือกพื้นที่และการวางแปลงตัวอยาง<br />

การศึกษานี้กระทําในพื้นที่ของแปลงทดลอง อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา โดยวางแปลงตัวอยาง<br />

ไมโตเร็วทั้ง 3 ชนิด แตละชนิดมีขนาดพื้นที่ 20 เมตร x 25 เมตร จํานวน 3 แปลง (แปลง A แปลง B แปลง C)<br />

ในแปลงไมโตเร็วทั้ง 3 ชนิด มีระยะปลูก 2.50 เมตร x 2.50 เมตร ลักษณะทั่วไปของแปลงปลูกตนตะกู ยูคาลิปตัส<br />

และกระถินยักษ เปนดังแสดงภาพที่ 1 และภาพที่ 2, 3, 4<br />

ตนตะกู กลุม A ยูคาลิปตัส กลุม A กระถินยักษ กลุม A<br />

ตนตะกู กลุม B ยูคาลิปตัส กลุม B กระถินยักษ กลุม B<br />

ตนตะกู กลุม C ยูคาลิปตัส กลุม C กระถินยักษ กลุม C<br />

ภาพที่ 1 ลักษณะของแปลงปลูกตนตะกู ยูคาลิปตัส และกระถินยักษ<br />

174


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 2 ลักษณะของแปลงปลูกตนตะกู (อายุ 1 ป)<br />

ภาพที่ 3 ลักษณะของแปลงปลูกตนยูคาลิปตัส (อายุ 1 ป)<br />

175


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 4 ลักษณะของแปลงปลูกตนกระถินยักษ (อายุ 1 ป)<br />

3.2 การเก็บขอมูล<br />

ทําการประมาณคาน้ําหนักแหง (มวลชีวภาพ : Biomass) โดยการประมาณหามวลชีวภาพของไมตะกู ยูคา<br />

ลิปตัส และกระถินยักษ ที่อายุ 1 ป ใชวิธี stratified clip technique โดยใหทําการแบงตนไมออกเปนชั้นตามความ<br />

สูงชั้นละ 1 เมตร วัดขนาดเสนผาศูนยกลางที่ระดับชิดดิน (Do) ที่ระดับความสูง 0.30 เมตร (D.30) ที่ระดับความสูง<br />

1.30 เมตร (DBH) และความสูง (H) ของไมโตเร็ว ทุก ๆ ตน ที่อยูในแปลง นําขอมูลมาทําการกระจายของความถี่<br />

ตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอก (1.30 เมตร) แลวหามวลชีวภาพของตนไม ตัดฟนตนไมตัวอยาง ดังแสดง<br />

ภาพที่ 5 โดยจํานวนตนไมตัวอยางนี้ จะตองเปนสัดสวนกับความถี่ชั้นขนาดเสนผาศูนยกลางที่ระดับความสูง 1.30<br />

เมตร (DBH) นั้น ๆ เลือกตัดตนไมบริเวณขอบแปลงที่มีขนาดเสน ผาศูนยกลางที่ระดับชิดดินใกลเคียงกับคาเฉลี่ย<br />

ของขนาดเสนผาศูนยกลางที่ระดับชิดดินในแตละชั้นขนาดเสน ผาศูนยกลางที่ระดับความสูง 1.30 เมตร (DBH)<br />

ของตนไม ทําการตัดไมและขุดรากตนไมตัวอยางที่อายุ 1 ป จํานวน 6 ตน/แปลง ทําการวัดไมตัวอยางแตละตน<br />

วัดขนาดเสนผาศูนยกลางที่ระดับชิดดิน (Do) ที่ระดับความสูง 0.30 เมตร (D.30) ที่ระดับความสูง 1 ใน 10 ของ<br />

ความสูงทั้งหมด (D0.1) ที่ระดับความสูง 1.30 เมตร (DBH) และยาวขึ้นไปทุก ๆ 1 เมตร จนถึงปลายยอด และ<br />

ความสูงทั้งหมด (HT) จากนั้นตัดทอนลําตนออกเปนทอน ๆ ตั้งแตระดับ 30 เซนติเมตรจากโคน และตัดทอนไม<br />

ยาว ทอนละ 1 เมตร จนตลอดความยาวของลําตน นําทอนไมแตละทอน มาชั่งน้ําหนักสดของสวนตาง ๆ คือ<br />

ลําตน กิ่ง ใบ และราก ดังแสดงภาพที่ 6 จากนั้นนําตัวอยางของสวนตาง ๆ มาอบแหง ในตูอบที่อุณหภูมิ 80 องศา<br />

เซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง หรือจนตัวอยางแหงสนิท นําชิ้นสวนจากเตาอบไปชั่งหาน้ําหนักแหงและบันทึกน้ําหนัก<br />

แหงของตัวอยางทั้งหมด ดังแสดงภาพที่ 7 (ทศพร วัชรางกูร, ชิงชัย วิริยะบัญชา และกันตินันท ผิวสะอาด, 2548)<br />

176


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 5 ลักษณะของตัดฟนตนไมตัวอยาง<br />

ภาพที่ 6 ลักษณะของการตัดทอนลําตน กิ่ง ใบ และราก ของไมตัวอยาง<br />

177


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 7 ลักษณะของการอบไมตัวอยาง<br />

3.3 การวิเคราะหคารบอนในสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว<br />

การวิเคราะหคารบอนในสวนของ ลําตน กิ่ง ใบ และราก ใชวิธีนําตัวอยางไมโตเร็วจากแปลงปลูกไมโตเร็ว<br />

ทั้ง 3 แปลง มาอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง แลวบดใหเปนผงละเอียดขนาดที่ผานตะแกรง<br />

40 เมซ และกอนการวิเคราะหนําตัวอยางพืชอบอีกครั้งหนึ่งที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นาน 4 ชั่วโมง และทิ้งไว<br />

ใหเย็นใน Desiccators ดังแสดงภาพที่ 8 จากนั้นนํามาวิเคราะหหาคารบอนทั้งหมดดวยเครื่อง CHNS-932 จะได<br />

ปริมาณคารบอนในสวนตางๆ ของไมโตเร็ว (ปรับปรุงจาก ทศพร วัชรางกูร, ชิงชัย วิริยะบัญชา และกันตินันท<br />

ผิวสะอาด, 2548)<br />

ภาพที่ 8 ลักษณะของการเก็บไมตัวอยาง เพื่อวิเคราะหคารบอนในสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว<br />

178


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.4 การวิเคราะหขอมูล<br />

3.4.1 การคํานวณหาคาน้ําหนักแหงของสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว<br />

นําขอมูลน้ําหนักสดและน้ําหนักอบแหงของ แตละตัวอยาง มาคํานวณหาเปอรเซ็นตความชื้น จากสมการ<br />

1 และ 2 (ชลธิดา เชิญขุนทด และ ธิติ วิสารัตน, 2550)<br />

% ความชื้น = (น้ําหนักสด - น้ําหนักแหง) x 100 ………………………….(1)<br />

น้ําหนักแหง<br />

จากนั้นคํานวณหาน้ําหนักแหงของแตละสวนของทอนนั้น ๆ ของตนไมตัวอยางทั้งหมด<br />

น้ําหนักแหง = น้ําหนักสด x 100 ………………………………..….(2)<br />

เปอรเซ็นต ความชื้น + 100<br />

เมื่อทําการแปลงคาแตละสวนในแตละทอนของตนไมตัวอยางแตละตน ใหเปนน้ําหนักแหงแลว ทําการ<br />

คํานวณหาผลรวมของน้ําหนักแหง ในแตละสวนของตนไมตัวอยางแตละตน ซึ่งไดแก น้ําหนักแหง (มวลชีวภาพ)<br />

ของลําตน (Ws) กิ่ง (WB) ใบ (WL) ราก (WR) และสวนที่อยูเหนือพื้นดิน (WA) ของตนไมตัวอยางทุกตน<br />

3.4.2 การประมาณหามวลชีวภาพของไมโตเร็ว จากแปลงปลูกไมโตเร็ว ทั้ง 3 แปลง<br />

ทําการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ (Do, D3o, D) กับคาตัวแปรตาม (Ws , WB , WL,<br />

WR และ WA) ในรูปของ Power Equation เนื่องจากวาในการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางมิติตาง ๆ กับ<br />

มวลชีวภาพของสวนตางๆ ของตนไมในรูปของ Allometric relation (Ogawa et al., 1965b) โดยมิติของตนไมใน<br />

รูปของขนาดเสนผาศูนยกลางที่ระดับตาง ๆ ไดแก ที่ระดับชิดดิน (Do) ที่ระดับความสูง 30 เซนติเมตรเหนือพื้นดิน<br />

(D30) ที่ระดับความสูงเพียงอก (D) จะมีความสัมพันธกับมวลชีวภาพในสวนตาง ๆ ของตนไม เชนมวลชีวภาพของ<br />

สวนของลําตน (Ws) กิ่ง (WB) ใบ (WL) และราก (WR) เปนรูปเสนโคงแบบสมการยกกําลัง สมการที่ใชประมาณ<br />

มวลชีวภาพของไมโตเร็ว หาไดจากจากสมการความสัมพันธในรูปเอกซโปเนนเชียล (ปรับปรุงจาก ชลธิดา<br />

เชิญขุนทด และ ธิติ วิสารัตน, 2550) ดังสูตร<br />

y = ax h …………………………………….…………...…(5)<br />

เมื่อ y คือ มวลชีวภาพของสวนตางๆ ของตนไม (Ws , WB , WL , WR และ WA (กิโลกรัม))<br />

x คือ มิติตาง ๆ ที่วัดไดจากตนไม ไดแก Do, D3o, D, DB (เซนติเมตร)<br />

a และ h คือ คาคงที่ของสมการ<br />

โดยใหทําการวิเคราะหหาคาคงที่ a และ h จากสูตรที่พัฒนามาตามวิธีการ Least square method เลือก<br />

สมการความสัมพันธระหวางขนาดกับมวลชีวภาพของสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว ที่ใหคา r 2 (Coefficient of<br />

Determination) สูงสุด และตัวแปรอิสระที่สะดวกตอการปฏิบัติงาน แสดงวาตัวแปรอิสระนั้นมีอิทธิพลตอตัวแปร<br />

ตามมากกวาและเลือกใชสมการที่เหมาะสมเพื่อประมาณมวลชีวภาพของสวนตาง ๆ และปริมาตรของลําตนของ<br />

ตนไมและหมูไมตอพื้นที่<br />

179


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การหาคามวลชีวภาพของสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว กระทําโดยแทนคาขนาดเสนผาศูนยกลางที่ความสูง<br />

0.00 เมตร 0.30 เมตร และความสูง ของไมโตเร็วทุกตนในแปลงลงในสมการที่เลือก<br />

3.4.3 การประเมินหาปริมาณคารบอนที่เก็บกักอยูในไมโตเร็ว<br />

ปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนไม คํานวณจากการนําคาความเขมขนของคารบอนในสวนตาง ๆ ของ<br />

พืช คูณดวยมวลชีวภาพในแตละสวนของตนไม แลวนําคาที่ไดในแตสวนมารวมกัน คํานวณใหเปนปริมาณการเก็บ<br />

กักคารบอน ซึ่งมีหนวยเปน ตันตอเฮกแตร<br />

3.4.4 การทดสอบทางสถิติ<br />

ทดสอบคาความแตกตางทางสถิติของความเขมขนของคารบอนในสวนของลําตน กิ่ง ใบ และราก ของไม<br />

โตเร็ว และความเขมขนของคารบอนในสวนที่เปนลําตน กิ่ง ใบ และราก โดยวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of<br />

Variance) ถาหากมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ทําการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s<br />

New Multiple Range Test (ปรับปรุงจาก ชลธิดา เชิญขุนทด และ ธิติ วิสารัตน, 2550)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ปริมาณมวลชีวภาพของไมโตเร็ว<br />

จากการศึกษาเลือกสมการความสัมพันธระหวางขนาดกับมวลชีวภาพของสวนตาง ๆ ของไมโตเร็ว ที่อายุ<br />

1 ป เปนดังนี้<br />

มวล<br />

ชีวภาพ<br />

ตะกู ยูคาลิปตัส กระถินยักษ<br />

WS 0.0099(D 0 2 H) 0.9939 r 2 =<br />

0.9894 0.0481(D 2 H) 0.8369 r 2 =<br />

0.9874 0.1087(D 2 ) 0.9803 r 2 =<br />

0.9971<br />

WB 0.0001(D 0 2 ) 2.0168 r 2 =<br />

0.9476<br />

r 2 =<br />

WL 0.0074(D 2 30 ) 1.2332 0.9594<br />

r 2 =<br />

WR 0.0025(D 2 30 H) 1.0834 0.9902<br />

0.0030(D 30 2 H) 1.0265 r 2 =<br />

0.9823<br />

r 2 =<br />

0.0342(D 2 H) 0.7122 0.9936<br />

r 2 =<br />

0.0213(D 2 H) 0.8484 0.9775<br />

r 2 =<br />

0.0051(D 2 30 H) 0.8058 0.8459<br />

r 2 =<br />

0.0190(D 2 30 H) 0.6442 0.8521<br />

r 2 =<br />

0.0232(D 2 30 H) 0.6043 0.9186<br />

เมื่อ WS = มวลชีวภาพของลําตน (กิโลกรัม)<br />

WB = มวลชีวภาพของกิ่ง (กิโลกรัม)<br />

WL = มวลชีวภาพของใบ (กิโลกรัม)<br />

WR = มวลชีวภาพของราก (กิโลกรัม)<br />

H = ความสูง (เมตร)<br />

r 2 = คาสัมประสิทธิ์ของตัวกําหนด<br />

D 0 = เสนผาศูนยกลางที่ความสูง 0.00 เมตร<br />

180


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

D 30 = เสนผาศูนยกลางที่ความสูง 0.30 เมตร<br />

D = เสนผาศูนยกลางที่ความสูง 1.30 เมตร<br />

พบวาที่อายุ 1 ป ของไมตะกู ยูคาลิปตัส และกระถินยักษ มีมวลชีวภาพเฉลี่ยเทากับ (2.57, 4.48, 0.82)<br />

กิโลกรัม/ตน แบงเปนสวนของลําตน (1.55, 2.14, 0.47) กิ่ง (0.16, 0.49, 0.06) ใบ (0.45, 0.86, 0.14) และราก<br />

(0.41, 1.00, 0.15) กิโลกรัม/ตน ตามลําดับ มีมวลชีวภาพทั้งหมดเทากับ (0.658, 1.148, 0.211) ตัน/ไร (ไมรวม<br />

กิ่งใบที่รวงหลน) แบงเปนในสวนของลําตน (0.397, 0.547, 0.120) กิ่ง (0.040, 0.126, 0.016) ใบ (0.116, 0.219,<br />

0.036) ราก (0.105, 0.256, 0.038 ) ตัน/ไร ตามลําดับ<br />

4.2 ปริมาณความเขมขนของคารบอนในไมโตเร็ว<br />

จากการวิเคราะหปริมาณคารบอนในไมโตเร็ว ไดคาความเขมขนของคารบอนที่เก็บกักอยูในสวนตาง ๆ ของ<br />

ไมโตเร็ว ดวยเครื่อง CHNS-932 จากการศึกษาพบวาไมตะกู ยูคาลิปตัส และกระถินยักษ ที่อายุ 1 ป มีปริมาณ<br />

ความเขมขนของคารบอนในสวนของลําตน เฉลี่ยเทากับ (48.51, 48.86, 49.80) กิ่ง (43.24, 53.95, 45.34) ใบ<br />

(47.90, 52.29, 51.03) และราก (46.78, 46.93, 45.09) เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อทดสอบทางสถิติพบวาคาเฉลี่ย<br />

ของทั้งสี่สวนนี้มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเก็บกักคารบอนจะเปนสัดสวนโดยตรงกับปริมาณมวลชีวภาพ การเก็บกักมวลสารและคารบอนในแตละ<br />

สวนของไมโตเร็ว ที่อายุ 1 ป ขึ้นอยูกับวาเปนสวนใดของตน มีคามากที่สุดที่ลําตน แตมีคานอยที่สุดที่กิ่ง<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Ogawa,H.,K.Yoda,K. Ogion and T.Kira. (1965), Comparative ecological study on three<br />

main types of forest vegetative in Thailand.II . lant biomass. In nature and life in<br />

Southest Asia, edited by Kira, T. and K.Iwata, 1965. Fauna and flora research society,<br />

Kyoto,Japan. Vol 4 : 49-80.<br />

- ชลธิดา เชิญขุนทด และ ธิติ วิสารัตน. (2550). การศึกษาการเก็บกักคารบอนในมวลชีวภาพ<br />

เหนือพื้นดินของยูคาลิปตัส ยูโรฟลลา แตละชวงอายุ. [online]. สืบคนเมื่อ 31 กรกฎาคม 2551.<br />

จากhttp://kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC4509016.pdf, 2007.<br />

- ทศพร วัชรางกูร, ชิงชัย วิริยะบัญชา และกันตินันท ผิวสะอาด. 2548. การประมาณปริมาณ<br />

การสะสมของคารบอนในตนไมในสวนปาเพื่อการอุตสาหกรรมในประเทศไทย, หนา 137-157.<br />

ในรายงานการประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทางดานปาไม “ศักยภาพของปาไมใน<br />

การสนับสนุนพิธีสารเกียวโต” วันที่ 4 – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวป<br />

าและพันธุพืชและกรมปาไม, กรุงเทพฯ.<br />

- กรมอุตุนิยมวิทยา. (2551). ปรากฏการณโลกรอน (Global -Warming). [online]. สืบคนเมื่อ 24<br />

กรกฎาคม 2551, จาก http://www.tmd.go.th.<br />

182


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัส<br />

บริเวณสวนปามัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน<br />

Carbon Sequestration in Dry Dipterocarp Forest and Eucalypt Plantation<br />

at Mancha Khiri Plantation, Khon Kaen Province<br />

วสันต จันทรแดง, ลดาวัลย พวงจิตร และ สาพิศ ดิลกสัมพันธ<br />

ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัส บริเวณสวนปามัญจาคิรี จังหวัด<br />

ขอนแกน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพในการกักเก็บคารบอนในไมยืนตนและในดิน ตลอดจนผลผลิตขั้นปฐม<br />

ภูมิสุทธิ ของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัสอายุ 1-4 ป โดยทําการวางแปลงตัวอยางถาวรขนาด 40 เมตร x 40<br />

เมตร จํานวน 4 แปลงในปาเต็งรัง และจํานวน 1 แปลงในสวนปายูคาลิปตัสแตละชั้นอายุ ทําการเก็บขอมูลการ<br />

เติบโตทางเสนผานศูนยกลางเพียงอกและความสูงในระยะเวลา 1 ป นอกจากนั้น ยังทําการเก็บขอมูลการรวงหลน<br />

ของซาก และปริมาณคารบอนในดินดวย<br />

ผลการศึกษาพบวา การสะสมคารบอนในไมยืนตนมีคาสูงที่สุดในสวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป เทากับ<br />

66.85 ตันตอเฮกแตร รองลงมาไดแก สวนปายูคาลิปตัสอายุ 4 ป ปาเต็งรัง สวนปายูคาลิปตัสอายุ 2 ป และ 1 ป<br />

เทากับ 46.56, 42.29, 25.45 และ 9.93 ตันตอเฮกแตร ตามลําดับ ความแตกตางของการสะสมคารบอนในสวนปายู<br />

คาลิปตัสเปนผลมาจากความแตกตางของอายุและสายตน สําหรับการสะสมคารบอนในดิน พบวา สวนปายูคาลิปตัส<br />

อายุ 1 ป มีคาสูงที่สุด เทากับ 43.62 ตันตอเฮกแตร รองลงมาไดแก สวนปายูคาลิปตัสอายุ 2 ป สวนปายูคาลิปตัส<br />

อายุ 4 ป ปาเต็งรัง และ สวนปายูคาลิปตัสอายุ 3 ป เทากับ 42.08, 37.60, 36.19 และ 31.95 ตัน/เฮกแตร<br />

ตามลําดับ เมื่อพิจารณาการสะสมคารบอนรวมในไมยืนตนและในดิน พบวา มีทิศทางไปในทางเดียวกับการสะสม<br />

คารบอนในไมยืนตน สําหรับผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธินั้น ปาเต็งรังมีคาต่ํากวาสวนปายูคาลิปตัสทุกชั้นอายุ เมื่อคิด<br />

เปนอัตราการดูดซับ กาซคารบอนไดออกไซด มีคาเทากับ 8.50, 33.35, 51.61 และ 30.73 ตัน CO 2 ตอเฮกแตรตอ<br />

ป ในปาเต็งรัง และสวนปายูคาลิปตัสอายุ 2-4 ป ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ : มวลชีวภาพ การกักเก็บคารบอน ปาเต็งรัง สวนปายูคาลิปตัส สวนปามัญจาคีรี<br />

Abstract<br />

The study of carbon sequestration in dry dipterocarp forest and eucalypt plantation was carried<br />

out at Mancha Khiri plantation, Khon Kaen Province. The objectives of the study were to determine<br />

carbon storage in trees and soil, as well as net primary production (NPP) of dry dipterocarp forest and 1-4<br />

year-old eucalypt plantation. Four 40 m x 40 m permanent sample plots were laid out in dry dipterocarp<br />

183


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

forest, while in eucalypt plantation; four permanent sample plots were distributed to one under each age.<br />

Diameter and height of all trees were measured in one year period. Litter fall and soil carbon content<br />

were also gathered.<br />

The result showed that carbon storage in trees was highest in 3 year-old eucalypt plantation with<br />

the amount of 66.85 tones/hectares, followed by the amount of 46.56, 42.29, 25.45 and 9.93<br />

tonnes/hectares in 4 year-old eucalypt plantation, dry dipterocarp forest, 2- and 1- year-old eucalypt<br />

plantation, respectively. Difference in carbon storage of eucalypt plantation was due to age and clones.<br />

Considering carbon storage in soil, the result revealed that the highest carbon storage was in 1 year-old<br />

eucalypt plantation with the amount of 43.62 tonnes/hectares, followed by the amount of 42.08, 37.60,<br />

36.19 and 31.95 tonnes/hectares in 2 year-old eucalypt plantation, 4 year-old eucalypt plantation, dry<br />

dipterocarp forest and 3- year-old eucalypt plantation, respectively. The total carbon storage followed the<br />

same trend as tree biomass. NPP of dry dipterocarp forest was lower than eucalypt plantation in all<br />

ages. The amount of carbon was equivalent to CO 2 uptake of 8.50, 33.35, 51.61 and 30.73<br />

tonnes/hectares/year in dry dipterocarp forest and 2-4 year old eucalypt plantation, respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) เปนกาซเรือนกระจกที่มีปริมาณมากที่สุดในชั้นบรรยากาศ จากการ<br />

ประมาณการเพิ่มขึ้นของกาซคารบอนไดออกไซดโดย IPCC (2009) พบวา กาซคารบอนไดออกไซดมีแนวโนม<br />

เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต การเปลี่ยนแปลงของวัฎจักรคารบอนในพื้นที่ปาไมนับเปนปจจัยสําคัญที่สุดปจจัย<br />

หนึ่ง ที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณกาซเรือนกระจกในบรรยากาศ ทั้งในดานการปลดปลอยและการดูดซับกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ โดยระบบนิเวศปาไมเปนแหลงดูดซับคารบอนที่สําคัญ ทั้งนี้เนื่องจากปาไม<br />

สามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศ (carbon sequestration) ผานกระบวนการสังเคราะหแสง<br />

(photosynthesis) โดยที่พืชสีเขียวจะเปลี่ยนแปลงพลังงานจากดวงอาทิตยมาเปนพลังงานทางชีวเคมีเพื่อสราง<br />

เนื้อเยื่อ และนํามากักเก็บไวในรูปของมวลชีวภาพ (biomass) ทั้งในสวนเหนือดินและใตดิน ซึ่งเนื้อเยื่อของพืชที่ได<br />

จากกระบวนการนี้ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เรียกวา ผลผลิตขั้นปฐมภูมิ (primary production)<br />

กิจกรรมทางดานปาไมจึงนับเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ IPCC (2007) ไดประเมินวาการเพิ่มขึ้นของปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดใน<br />

บรรยากาศประมาณรอยละ 20 เกิดจากการสูญเสียคารบอนที่กักเก็บในรูปเนื้อไมและการสูญเสียคารบอนจากการ<br />

ตัดไมทําลายปาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ดังนั้นการดูแลรักษาปา การปลูกตนไมเพื่อเพิ่มพื้นที่ปา<br />

หรือการปลูกปาในพื้นที่ปาเสื่อมโทรมรวมถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เกษตรกรรมมาปลูกไมยืนตนแบบเกษตร<br />

ผสมผสานหรือระบบวนเกษตร หรือการปลูกสรางสวนปาไมวาจะเปนการปลูกปาในพื้นที่ที่ไมเคยเปนปามากอน<br />

(afforestation) หรือในพื้นที่ที่เคยเปนปามากอน (reforestation) จึงเปนกิจกรรมทางดานปาไมที่จะชวยเพิ่มการกัก<br />

เก็บคารบอน หรือชวยชลอการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศอีกทางหนึ่ง ซึ่งจะชวยเพิ่มความ<br />

สมดุลของวัฏจักรคารบอน ที่จะสงผลตอระบบภูมิอากาศของโลกตอไป<br />

อยางไรก็ตาม ปริมาณคารบอนที่สะสมในพื้นที่ปาไมมีความผันแปรโดยขึ้นอยูกับ ชนิดปา ชนิดพรรณไมที่<br />

เปนองคประกอบของปา ความหนาแนนของปา สภาพภูมิประเทศ และปจจัยสิ่งแวดลอม ในขณะที่การกักเก็บ<br />

คารบอนในสวนปาขึ้นอยูกับชนิดตนไม อายุ ระยะปลูก และสภาพของทองที่ ตลอดจนวนวัฒนวิธีที่ใชในการจัดการ<br />

ซึ่งปจจุบันการประเมินปริมาณการเปลี่ยนแปลงกาซเรือนกระจกทางภาคปาไมยังมีความถูกตองนอย ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

184


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ยังขาดขอมูลพื้นฐานที่สามารถใชประเมินไดโดยตรงและขอมูลมีความผันแปรไปตามสภาพพื้นที่และเวลา ดังนั้น<br />

การศึกษาและติดตามการเปลี่ยนแปลงของคารบอนในระบบนิเวศปาไมแตละชนิด นาจะนํามาซึ่งขอมูลพื้นฐานของ<br />

การปลดปลอยกาซเรือนกระจกทางภาคปาไมที่มีความชัดเจนมากขึ้น และยังมีสวนชวยเสริมสรางความรูและความ<br />

เขาใจถึงองคประกอบและปจจัยตางๆ ที่มีผลกระทบตอศักยภาพของระบบนิเวศปาไมตางๆ ในฐานะที่เปนแหลงดูด<br />

ซับคารบอน (carbon sinks) โดยการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังซึ่ง<br />

เปนปาที่มักถูกบุกรุก นําไปปลูกพืชเกษตร เมื่อหมดความสมบูรณ มักถูกปลอยทิ้งรกราง เนื่องจากปาเต็งรังเปนปา<br />

ที่คอนขางแหงแลง แตเปนปาชนิดหนึ่งที่จะมีความสําคัญเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อสภาพภูมิอากาศ<br />

เปลี่ยนแปลง Boonpragop and Santisirisomboon (2004) คาดการณวาพื้นที่ปาแลงจะเพิ่มขึ้นในประเทศไทย<br />

ในขณะที่สวนปายูคาลิปตัส เปนพรรณไมที่ปลูกเปนสวนปาเพื่ออุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศไทย เนื่องจากเปน<br />

ไมที่มีรอบตัดฟนสั้น ใหผลผลิตสูง และสามารถใชประโยชนไดอยางกวางขวาง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการกัก<br />

เก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัสซึ่งเปนปาธรรมชาติและสวนปาซึ่งอยูในพื้นที่ที่ใกลเคียงกันนั้น จะ<br />

เปนรากฐานในการจัดการปาเพื่อการกักเก็บคารบอนอยางยั่งยืน การศึกษาการกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและ<br />

สวนปาจะทําใหไดขอมูลที่เกี่ยวกับความผันแปรของประสิทธิภาพในการกักเก็บคารบอนและการดูดซับกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดของปาธรรมชาติและสวนปาเพื่อเปนแนวทางในการจัดการปาไมเพื่อการกักเก็บคารบอนและ<br />

บรรเทาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของไมยืนตนในปาเต็งรัง และสวนปายูคาลิปตัส บริเวณ<br />

สวนปามัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน<br />

2.2 เพื่อศึกษาศักยภาพในการกักเก็บคารบอนในดินของปาเต็งรัง และสวนปายูคาลิปตัส บริเวณสวนปา<br />

มัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน<br />

2.3 เพื่อศึกษาผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัส บริเวณสวนปามัญจาคีรี จังหวัด<br />

ขอนแกน<br />

2.4 เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับนําไปประยุกตในการดําเนินงานทางวิชาการ ในระบบนิเวศปาธรรมชาติ<br />

หรือสวนปา เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเปนแหลงดูดซับคารบอน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา<br />

สวนปามัญจาคีรี อยูในเขตปาสงวนแหงชาติโคกหลวง สํานักงานตั้งอยูที่บานหวยหินเกิ้ง หมูที่ 11 ตําบล<br />

โพนเพ็ก อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน พิกัด UTM 48Q ละติจูด 1794642 N ลองติจูด 0242846 ขนาดพื้นที่<br />

10,443 ไร พื้นที่สวนใหญของสวนปามัญจาคีรี เปนพื้นที่ราบสลับกับปาเต็งรัง ลักษณะภูมิอากาศ มีลักษณะรอน<br />

และแหงแลง ในชวงฤดูแลงระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศรอนจัดถึงแหงแลงเนื่องจากตนไม<br />

ผลัดใบ โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27.07 องศาเซลเซียส สวนฤดูฝนมีลักษณะเปนฝนทิ้งชวงไมตกตองตามฤดูกาลและมี<br />

ปริมาณนอยอีกทั้งดินไมอุมน้ํา ฤดูฝนอยูในชวงเดือนมีนาคมถึงเดือนตุลาคม มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,301.71<br />

มิลลิเมตรตอป ปริมาณความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยรายเดือน 72.1 % สวนลักษณะดินเปนดินเหนียวปนทราย (sandy<br />

loam) ผสมกับดินลูกรังและชั้นดินดาน ดินชั้นลางเปนดินลูกรัง ดินมีแรธาตุอาหารของพืชนอย เปนดินที่ขาดความ<br />

อุดมสมบูรณ<br />

185


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2 การวางแปลงตัวอยาง<br />

ในปาเต็งรังทําการวางแปลงตัวอยางถาวรรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาด 40×40 เมตร จํานวน 4 แปลง ทําการ<br />

ติดเบอรลงบนตนไม ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอก ตั้งแต 4.50 เซนติเมตร ขึ้นไปทุกตน โดยใชแถบ<br />

อะลูมิเนียมที่มีตัวเลขเรียงกันไปเปนลําดับ การติดเบอรจะติดตรงที่ความสูงเพียงอก (1.30 เมตรจากพื้นดิน) ตนไม<br />

ที่แตกนางต่ํากวา 1.30 เมตร ถือวาเปนตนไมจํานวนเทากับนางที่แตกออกมา สําหรับสวนปายูคาลิปตัสวางแปลง<br />

ตัวอยางถาวรรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาด 40×40 เมตร จํานวนชั้นอายุละ 1 แปลง ในสวนปายูคาลิปตัสอายุ 1-4 ป<br />

3.3 การเก็บขอมูลในแปลงตัวอยาง<br />

การเก็บขอมูลแบงออกเปน 5 ลักษณะไดแก<br />

3.3.1 ศึกษาองคประกอบของชนิดพรรณไมโดยการศึกษาลักษณะเชิงปริมาณ (quantitative<br />

characteristics) หาไดโดยการเก็บขอมูลการเติบโตของตนไมในพื้นที่แปลงตัวอยางทั้งหมดทุกตน โดยทําการเก็บ<br />

ขอมูลตอไปนี้<br />

1) ขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอก สําหรับไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอก ตั้งแต 4.50<br />

เซนติเมตร ขึ้นไปทุกตน วัดโดยใช diameter tape หรือ caliper ทําการวัด 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม<br />

พ.ศ. 2551 และครั้งที่ 2 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 รวมระยะเวลา 1 ป<br />

2) ความสูงทั้งหมดของตนไม วัดโดยใช Haga hypsometer ทําการวัดเชนเดียวกับการวัดเสน<br />

ผานศูนยกลางเพียงอก<br />

3.3.2 การสรางสมการประมาณหามวลชีวภาพ ดําเนินการเฉพาะในสวนปายูคาลิปตัส โดยทําการจัดชั้น<br />

ขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอกของไมยูคาลิปตัสออกเปน 5 ชั้น หาตนไมตัวอยางเพื่อเปนตัวแทนของชั้นเสนผ<br />

านศูนยกลางเพียงอกแตละชั้น จํานวนชั้นละ 4 ตน ตัดตนไมที่คัดเลือกในแตละชั้น โดยการตัดชิดดินและวัดไม<br />

ตัวอยางแตละตน ดังนี้ วัดขนาดเสนผานศูนยกลางที่ระดับชิดดิน (D 0 ) ที่ระดับความสูง 0.30 เมตร (D 30 ) ที่ระดับ<br />

ความสูง 1.30 เมตร (DBH) และทุกๆ 1 เมตร จนถึงปลายยอด และความสูงทั้งหมด (H) จากนั้นตัดทอนลําตน<br />

ออกเปนทอนๆ ตั้งแตระดับ 0.30 เมตร จากโคน และตัดทอนไมยาวทอนละ 1 เมตร จนตลอดความยาวของลําตน<br />

สวนที่อยูเหนือพื้นดินในแตละทอน แยกเปนสวนตางๆ คือ ลําตน กิ่ง และใบ แลวนําไปชั่งน้ําหนักสด รวมทั้งสุม<br />

ตัวอยางของแตละสวนเพื่อนํามาอบแหง เพื่อชั่งหาน้ําหนักแหงในหองปฏิบัติการ<br />

สําหรับสวนของรากตนยูคาลิปตัสนั้น ทําโดยการขุดรากทั้งหมดของตนไมตัวอยางแตละตนที่ได<br />

เลือกไว แลวนํารากของแตละตนไมไปลางทําความสะอาด จากนั้นนํารากที่ลางเสร็จแลวไปผึ่งแดดใหแหง แลว<br />

นําไปชั่งน้ําหนักสด รวมทั้งสุมตัวอยางของรากมาอบแหง เพื่อชั่งหาน้ําหนักแหง<br />

นําตัวอยางที่สุมไวทั้งหมดมายังหองปฏิบัติการ นําไปอบแหงในตูอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส<br />

นาน 24-48 ชั่วโมง หรือจนน้ําหนักคงที่ หลังจากนั้นนําตัวอยางมาชั่งหาน้ําหนักแหง เพื่อคํานวณหาปริมาณ<br />

ความชื้นในรูปรอยละจากน้ําหนักสดและน้ําหนักแหง จากสูตรขางลางเพื่อนําไปคํานวณน้ําหนักแหงทั้งหมดของ<br />

ตนไมตอไป<br />

เปอรเซ็นตความชื้น =<br />

(น้ําหนักสด-น้ําหนักแหง)<br />

น้ําหนักแหง<br />

× 100<br />

น้ําหนักสด<br />

น้ําหนักแหง = × 100<br />

(เปอรเซ็นตความชื้น+100)<br />

186


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สุมตัวอยางแตละสวนเพื่อนําไปวิเคราะหหาความเขมขนของคารบอน (carbon content) ใน<br />

หองปฏิบัติการโดยวิธี Dumus หรือ dry combustion method ดวยเครื่อง CN Analyzer รุน CN CORDER MT-<br />

700<br />

สรางสมการที่ใชประมาณมวลชีวภาพของไมแตละชนิดจากความสัมพันธในรูปแอลโลเมตรี ของ<br />

Kira and Shidei (1967) ดังสูตร<br />

Y = aX b<br />

เมื่อ Y คือ ปริมาณมวลชีวภาพของสวนตางๆของตนไม<br />

X คือ คาตัวแปรอิสระในรูป parabolic volume (D 2 H)<br />

a และ b คือ คาคงที่ของสมการ<br />

เลือกสมการความสัมพันธระหวางขนาดกับมวลชีวภาพของสวนตางๆ ที่ใหคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด<br />

(coefficient of determination, R 2 ) สูง และมีตัวแปรอิสระ (ขนาดเสนผานศูนยกลาง) ที่งายและสะดวกตอการ<br />

ปฏิบัติงาน เชน DBH 2 H เปนตน<br />

3.3.3 ศึกษาปริมาณการรวงหลนของซากพืช ทําการวางกระบะรองรับซากพืช (litter trap) ขนาด 1×1<br />

เมตร ดานลางบุดวยตาขายไนลอน สวนดานบนเปดโลงไวเพื่อรองรับซากพืชที่รวงหลน และยกกระบะใหสูงจาก<br />

พื้นดินประมาณ 1 เมตร ในการศึกษาครั้งนี้ใชกระบะทั้งหมดจํานวน 32 กระบะ โดยแบงเปนแปลงตัวอยางละ 4<br />

กระบะ วางกระจายทั่วทั้งพื้นที่ ทําการเก็บเศษซากพืชที่รวงหลนในกระบะรองรับซากพืช ในทุกๆ วันสุดทายของ<br />

เดือนเปนเวลา 1 ป แลวทําการแยกชิ้นสวนของซากพืชออกเปนสวนของใบ กิ่ง สวนสืบพันธุ (ดอก ผล และเมล็ด)<br />

และสวนอื่นๆ (ซากพืชชนิดอื่นๆ เชน ไมพื้นลางหรือซากพืชที่ปลิวมาจากแหลงอื่นๆ และซากแมลงรวมถึงขี้แมลง<br />

ตางๆ) นําไปอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-48 ชั่วโมง หรือจนน้ําหนักคงที่ แลวนําไปชั่งน้ําหนัก<br />

แหง เพื่อแสดงปริมาณการรวงหลนของแตละสวนและของซากพืชรวมทั้งหมดในรูปของน้ําหนักแหง ทําการ<br />

วิเคราะหหาปริมาณคารบอนของตัวอยางของซากพืชในแตละสวน โดยใชวิธี Dumus หรือ dry combustion ดวย<br />

เครื่อง CN Analyzer รุน CN CORDER MT-700<br />

3.3.4 ทําการเก็บตัวอยางดินในปแรกที่ทําการวัดการเติบโตของตนไม (พ.ศ. 2551) โดยในแตละแปลง<br />

ตัวอยางจะทําการเก็บตัวอยางดิน จํานวน 3 หลุม ในแตละหลุมเก็บตัวอยางดินลึก 3 ระดับ คือ 0-20, 20-40 และ<br />

40-60 เซนติเมตร ตามลําดับ เก็บตัวอยางดินดวยวิธี core method โดยเก็บตัวอยางดินที่ไมถูกรบกวนโครงสราง<br />

(undisturbance sample) เพื่อวิเคราะหความหนาแนนรวม (bulk density) และตัวอยางดินที่ถูกรบกวนโครงสราง<br />

(disturbance sample) เพื่อวิเคราะหปริมาณคารบอนในดิน<br />

3.4 การคํานวณและวิเคราะหขอมูล<br />

1) การศึกษาโครงสรางทางนิเวศวิทยา (ecological structure) ของปาเต็งรังบริเวณสวนปามัญจาคีรี<br />

ดวยการคํานวณหาคาดัชนีความสําคัญของพรรณไมในพื้นที่ (importance value index, IVI) โดยใชการวิเคราะห<br />

ดังนี้<br />

ความหนาแนน (Density, D) คือ จํานวนตนไมทั้งหมดของแตละชนิดที่ปรากฏในแปลงตัวอยางตอ<br />

หนวยพื้นที่ที่ทําการสํารวจ<br />

187


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

D =<br />

ความหนาแนนสัมพัทธของชนิดไม (Relative density, RD) คือ สัดสวนของความหนาแนนของ<br />

ชนิดไมแตละชนิดตอคาความหนาแนนทั้งหมดของตนไมทุกชนิดในสังคม<br />

RD A =<br />

ความเดน (Dominance, Do) ใชความเดนดานพื้นที่หนาตัด (Basal Area, BA) ของตนไมที่ได<br />

จากการวัดที่ระดับความสูง 1.30 เมตร ตอหนวยพื้นที่ที่ทําการสํารวจ ดังนี้<br />

D OA =<br />

ความความเดนสัมพัทธ (relative dominance, RD OA ) คือ คาสัดสวนของความเดนของชนิดไม<br />

แตละชนิดตอคาความเดนทั้งหมดของไมทุกชนิดในสังคม<br />

RD OA =<br />

จํานวนตนไมทั้งหมดของแตละชนิดที่ปรากฎในแปลงตัวอยาง<br />

พื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอยาง<br />

ความหนาแนนของตนไมชนิด A<br />

ความหนาแนนตนไมทุกชนิดในสังคม<br />

พื้นที่หนาตัดของตนไม<br />

พื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอยาง<br />

ความเดนของตนไมชนิด A<br />

ความเดนตนไมทุกชนิดในสังคม<br />

คํานวณ หาคาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance value index, IVI) ซึ่งมีคาเทากับ<br />

ผลรวมของคาความหนาแนนสัมพัทธ ความเดนสัมพัทธ และความถี่สัมพัทธ (relative frequency, RF) ของชนิดไม<br />

นั้นๆ ในสังคมพืช โดยมีคาอยูระหวาง 0-300 แตในการศึกษาครั้งนี้ไมไดทําการศึกษาความถี่สัมพัทธ เนื่องจากมี<br />

จํานวนแปลงตัวอยางนอย เพราะเปนพื้นที่ขนาดเล็ก ดังนั้นคาดัชนีความสําคัญจึงคํานวณเฉพาะคาความหนาแนน<br />

สัมพัทธและความเดนสัมพัทธ ซึ่งหาไดจากสูตร<br />

IVI A =RD A +RD OA<br />

โดย คาดัชนีความสําคัญของไมแตละชนิดในการศึกษาครั้งนี้มีคาระหวาง 0-200<br />

2) การประมาณคามวลชีวภาพของตนไม<br />

มวลชีวภาพของตนไมในปาเต็งรังแตละชนิดหาไดจากการแทนคาความสูงและเสนผานศูนยกลาง<br />

เพียงอก โดยใชสมการแอลโลเมตรีของ Ogawa et al. (1961) ซึ่งไดทําการศึกษามวลชีวภาพของปาเต็งรังที่ปงโคง<br />

จ. เชียงใหม ประเทศไทย โดยมีสมการดังนี้<br />

มวลชีวภาพลําตน (W S ) = 0.0396(D 2 H) 0.9326<br />

มวลชีวภาพกิ่ง (W B ) = 0.003487(D 2 H) 1.027<br />

มวลชีวภาพใบ (W L ) = 22.5/W S +0.025<br />

มวลชีวภาพราก (W R ) = 0.0264(D 2 H) 0.775<br />

เมื่อ W S คือ มวลชีวภาพของสวนที่เปนลําตน มีหนวยเปนกิโลกรัม<br />

× 100<br />

× 100<br />

× 100<br />

188


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

W B คือ มวลชีวภาพของสวนที่เปนกิ่ง มีหนวยเปนกิโลกรัม<br />

W L คือ มวลชีวภาพของสวนที่เปนใบ มีหนวยเปนกิโลกรัม<br />

W R คือ มวลชีวภาพของสวนที่เปนราก มีหนวยเปนกิโลกรัม<br />

D คือ เสนผานศูนยกลางเพียงอก มีหนวยเปนเซนติเมตร<br />

H คือ ความสูงทั้งหมดของตนไม มีหนวยเปนเมตร<br />

การคํานวณปริมาณการเพิ่มพูนมวลชีวภาพรายป สามารถคํานวณไดจากความแตกตางของมวล<br />

ชีวภาพรายตน ในการวัดครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 (∆W) แลวจึงหาผลรวมของตนไมทุกตนในแปลงตัวอยาง ดังนี้<br />

∆Y=∑∆W n<br />

เมื่อ ∆Y คือ ปริมาณการเพิ่มพูนของมวลชีวภาพของตนไมทุกตนในแปลง<br />

∆W n คือ ปริมาณการเพิ่มพูนของมวลชีวภาพของตนไมแตละตน<br />

3) การคํานวณการกักเก็บคารบอนในพืช<br />

ปริมาณการกักเก็บคารบอนในพืช สามารถคํานวณไดจากการนําความเขมขนของคารบอนในสวน<br />

ตางๆ ของพืชคูณดวยมวลชีวภาพในแตละสวนของพืช และคํานวนปริมาณการกักเก็บคารบอนของตนไมแตละตน<br />

จากผลรวมของปริมาณการกักเก็บคารบอนในแตละสวนของตนไม<br />

4) การคํานวณปริมาณการรวงหลนและคารบอนในซากพืช<br />

คํานวณปริมาณคารบอนที่ไดจากปริมาณการรวงหลนลงสูดินของซากพืชในแตละแปลงตัวอยาง ได<br />

จากสูตร<br />

ปริมาณคารบอนในซากพืช =<br />

ผลผลิตซากพืช × ความเขมขนคารบอน<br />

100<br />

5) การประเมินผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิ (net primary production)<br />

การประเมินผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิ (net primary production, NPP) ประเมินจากสมการของ<br />

Koizumi et al. (2006) ดังนี้<br />

NPP = ΔB + L + G<br />

เมื่อ ΔB คือ การเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพเหนือดินและใตพื้นดินตอหนวยเวลา (ป)<br />

มีหนวยเปนตันตอเฮกแตรตอป<br />

L คือ ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช มีหนวยเปนตันตอเฮกแตรตอป<br />

G คือ ปริมาณมวลชีวภาพที่สูญเสียไปเนื่องจากการกัดกินของแมลงหรือสัตวอื่น<br />

ซึ่งในที่นี้ตั้งสมมติฐานวามีคาเปนศูนย<br />

6) การคํานวณการกักเก็บคารบอนในดิน<br />

คํานวณไดจากการนําความเขมขนของคารบอนในแตละชั้นของหนาตัดดินที่วิเคราะหไดใน<br />

หองปฏิบัติการคูณกับคาความหนาแนนรวม (bulk density) และความหนาของดินแตละชั้นหนาตัดดิน แลวนําคาที่<br />

ไดในแตละชั้นดินมารวมกันก็จะไดปริมาณการกักเก็บคารบอนจนถึงที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร จากผิวดิน<br />

189


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 โครงสรางสังคมพืชปาเต็งรัง บริเวณสวนปามัญจาคีรี<br />

ปาเต็งรังในพื้นที่สวนปามัญจาคีรี มีพรรณไมที่มีเสนผานศูนยกลางเพียงอก 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป จํานวน<br />

ทั้งหมด 20 ชนิด โดยมีความหนาแนนเทากับ 783 ตนตอเฮกแตร และมีพื้นที่หนาตัดคิดเปนรอยละ 0.114 ของ<br />

พื้นที่แปลงตัวอยาง รูปแบบการกระจายของขนาดตนไมในพื้นที่ที่ทําการศึกษาเปนรูป L-shape กลาวคือ ตนไมที่มี<br />

ขนาดเล็กมีปริมาณมากและจํานวนตนไมก็จะลดลงเมื่อมีขนาดใหญขึ้น โดยขนาดของตนไมที่พบมากที่สุดคือขนาด<br />

ตั้งแต 4.5-10 เซนติเมตร (Figure 1) เนื่องจากปาเต็งรังในพื้นที่ศึกษาเคยผานการถูกรบกวนโดยการแผวถางและ<br />

ไฟปา ดังนั้นปจจุบันจึงอยูในชวงการฟนฟู สภาพปาจึงโปรงและมีแสงสองผานลงมายังพื้นปาไดมาก จึงเอื้ออํานวย<br />

ตอการเกิดและการเติบโตของตนไมขนาดเล็ก<br />

Figure 1 Tree density in different size classes of dry dipterocarp forest at Muncha Khiri Plantation.<br />

จากการศึกษาความสําคัญของพรรณไมในปาชนิดนี้ โดยพิจารณาตามคาดัชนีความสําคัญของพรรณไม<br />

พบวาชนิดไมที่มีความเดนมากที่สุดคือ แดง (Xylia xylocarpa Taub.) รองลงมาคือ กุก (Lannea coromandelica<br />

(Houtt.) Merr.) เสี้ยวเครือ (Bauhinia glauca Wall. ex Benth Benth.) ประดูปา (Pterocarpus macrocarpus<br />

Kurz) และเต็ง (Shorea obtusa Wall.ex Blume) โดยมีคาดัชนีความสําคัญเทากับ 85.50, 48.06, 23.87, 14.58<br />

และ 7.66 ตามลําดับ<br />

4.2 มวลชีวภาพและการเพิ่มพูนมวลชีวภาพ<br />

จากการวิเคราะหสมการแอลโลเมตรีเพื่อประเมินมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสโดยใชความสัมพันธระหว<br />

างมวลชีวภาพของสวนตางๆ (ลําตน กิ่ง ใบ และราก) และตัวแปรอิสระ parabolic volume ในรูปแบบตางๆ คือ<br />

ขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงยกกําลังสองคูณดวยความสูงทั้งหมดของตนไม (D 2 H) โดยในที่นี้เลือกใชสมการแอล<br />

โลเมตรีที่ใชตัวแปรอิสระที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอกรวมดวย คือ DBH 2 H เนื่องจากใหคาสัมประสิทธิ์<br />

ตัวกําหนดสูงใกลเคียงกับตัวแปรอิสระที่ใชขนาดเสนผานศูนยกลางอื่นๆ แตมีความสะดวกในการวัดมากกวา<br />

สําหรับสมการแอลโลเมตรีที่ใชประมาณคามวลชีวภาพของสวนตางๆ ของยูคาลิปตัส ดังแสดงใน Table 1<br />

190


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 1 Biomass equations estimated for eucalypt plantation at Muncha Khiri Plantation.<br />

Stem<br />

Branch<br />

Leaf<br />

Root<br />

R 2 =0.995<br />

Equations R 2<br />

W S = 0.26827(D 2 H) 0.973647<br />

W R = 0.01378(D 2 H) 0.87935 R 2 =0.996<br />

W B = 0.00045(D 2 H) 1.26077<br />

R 2 =0.945<br />

W L = 0.10114(D 2 H) 0.46007<br />

R 2 =0.929<br />

Remarks W S = Stem biomass (kg) W B = Branch biomass (kg)<br />

W L = Leaf biomass (kg)<br />

W R = Root biomass (kg)<br />

R 2 = coefficient of determination H = Height (m)<br />

D = diameter at breast height (cm)<br />

จากการศึกษามวลชีวภาพของยูคาลิปตัสพบวา ยูคาลิปตัส อายุ 3 ป มีมวลชีวภาพรวมมากที่สุด เทากับ<br />

66.85 ตันตอเฮกแตร แบงเปนมวลชีวภาพเหนือดินเทากับ 55.17 ตันตอเฮกแตร และมวลชีวภาพใตดินเทากับ<br />

11.68 ตันตอเฮกแตร (คิดเปนรอยละ 21 ของมวลชีวภาพสวนที่อยูเหนือพื้นดิน) รองลงมาคือยูคาลิปตัส อายุ 4 ป<br />

มีมวลชีวภาพรวม เทากับ 46.56 ตันตอเฮกแตร แบงเปนมวลชีวภาพเหนือดินเทากับ 38.33 ตันตอเฮกแตร และ<br />

มวลชีวภาพใตดินเทากับ 8.23 ตันตอเฮกแตร (คิดเปนรอยละ 21 ของมวลชีวภาพสวนที่อยูเหนือพื้นดิน) ยูคาลิปตัส<br />

อายุ 2 ป มีมวลชีวภาพรวมทั้งหมดเทากับ 25.45 ตันตอเฮกแตร แบงเปนมวลชีวภาพเหนือดินเทากับ 20.76 ตัน<br />

ตอเฮกแตร และมวลชีวภาพใตดินเทากับ 4.69 ตันตอเฮกแตร (คิดเปนรอยละ 23 ของมวลชีวภาพสวนที่อยูเหนือ<br />

พื้นดิน) และนอยที่สุดคือ ยูคาลิปตัส อายุ 1 ป ที่มีมวลชีวภาพเทากับ 9.93 ตันตอเฮกแตร แบงเปนมวลชีวภาพ<br />

เหนือดินเทากับ 8.41 ตันตอเฮกแตร และมวลชีวภาพใตดินเทากับ 1.52 ตันตอเฮกแตร (คิดเปนรอยละ 18 ของ<br />

มวลชีวภาพสวนที่อยูเหนือพื้นดิน) ตามลําดับ (Table 2) จากผลการศึกษาจะเห็นไดวาไมยูคาลิปตัสอายุ 3 ป ซึ่ง<br />

เปนสายตน 236 มีปริมาณมวลชีวภาพมากที่สุด แสดงใหเห็นวานอกจากอายุของตนไมแลว สายพันธุของยูคา<br />

ลิปตัสก็มีผลตอมวลชีวภาพของสวนปายูคาลิปตัส ในขณะที่มวลชีวภาพของปาเต็งรังในพื้นที่สวนปามัญจาคีรี มีคา<br />

เทากับ 42.29 ตันตอเฮกแตร โดยแบงเปนมวลชีวภาพเหนือดินเทากับ 36.68 ตันตอเฮกแตร และมวลชีวภาพใตดิน<br />

เทากับ 5.61 ตันตอเฮกแตร (คิดเปนรอยละ 15 ของมวลชีวภาพสวนที่อยูเหนือพื้นดิน) จากผลการศึกษาแสดงให<br />

เห็นวาปาเต็งรังในพื้นที่ศึกษา มีมวลชีวภาพต่ํามากเมื่อเทียบกับปาเต็งรังในพื้นที่ที่อื่นๆ เชน Ogawa et al. (1961)<br />

ไดทําการศึกษามวลชีวภาพของปาเต็งรังในประเทศไทยโดยวิธีการตัดฟนและชั่งหาน้ําหนักแหงเพื่อหามวลชีวภาพ<br />

โดยตรงรายงานวา ปาเต็งรัง บริเวณ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม และปาเต็งรังบริเวณแมหอย ดอยอินทนนท<br />

จังหวัดเชียงใหม มีมวลชีวภาพเทากับ 76 และ 82 ตันตอเฮกแตร ตามลําดับ ทั้งนี้เนื่องจากปาเต็งรังแหงนี้เปนปา<br />

ชั้นที่สอง (secondary forest ) คลายปาเต็งรังแคระ และมีความหนาแนนของของตนไมนอยมากเมื่อเทียบกับพื้นที่<br />

อื่นๆ และสวนปายูคาลิปตัส เนื่องจากมีการบุกรุกพื้นที่ปา รวมไปถึงการเก็บหาของปาอยางมากในพื้นที่ จึงทําให<br />

ปจจุบันปาเต็งรังในพื้นที่ศึกษามีความเสื่อมโทรมมาก เปนเหตุใหมีการเติบโตและมวลชีวภาพที่ต่ํากวาพื้นที่อื่นๆ<br />

รวมทั้งสวนปายูคาลิปตัส<br />

191


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 2 Biomass of dry dipterocarp forest and eucalypt plantation at Muncha Khiri Plantation.<br />

Plot<br />

Biomass (tonnes/ha)<br />

root/shoot<br />

Stem Leaf Branch Root Total ratio<br />

Dry dipterocarp forest 29.60 5.64 1.44 5.61 42.29 0.15<br />

1-yr old eucalypt plantation 4.09 1.32 3.00 1.52 9.93 0.18<br />

2-yr old eucalypt plantation 16.48 1.66 2.62 4.69 25.45 0.23<br />

3-yr old eucalypt plantation 44.91 6.03 4.23 11.68 66.85 0.21<br />

4-yr old eucalypt plantation 31.11 3.97 3.25 8.23 46.56 0.21<br />

จากวิเคราะหความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปของมวลชีวภาพรวมของตนไมที่ทําการศึกษา พบวาสวนปายูคา<br />

ลิปตัส อายุ 3 ป มีความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปสูงที่สุด เทากับ 21.97 ตันตอเฮกแตรตอป รองลงมาคือสวนปายูคา<br />

ลิปตัส อายุ 2 ป มีความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายป เทากับ 15.25 ตันตอเฮกแตรตอป สวนปายูคาลิปตัส อายุ 4 ป มีความ<br />

เพิ่มพูนเฉลี่ยรายป เทากับ 11.83 ตันตอเฮกแตรตอป และสวนปายูคาลิปตัสอายุ 1 ป มีความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายป<br />

เทากับ 8.48 ตันตอเฮกแตรตอป สําหรับปาเต็งรังมีความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปต่ําที่สุด เทากับ 2.53 ตันตอเฮกแตรตอ<br />

ป ซึ่งปริมาณการเพิ่มพูนมวลชีวภาพของปาเต็งรังนั้นนอยกวาในสวนปายูคาลิปตัสทุกชั้นอายุ เนื่องจากปาเต็งรัง<br />

นั้นมีตนไมที่มีการเติบโตชาและมีรอบหมุนเวียนที่ยาว ซึ่งแตกตางจากไมยูคาลิปตัสซึ่งเปนไมโตเร็วและมีรอบ<br />

หมุนเวียนที่สั้นกวา อีกทั้งกลาไมที่นํามาปลูกก็ไดมีการคัดเลือกจากแหลงเมล็ดคุณภาพดี และหรือ ผานการ<br />

ปรับปรุงพันธุ ทําใหมีการเติบโตเร็วและปรับตัวเขากับพื้นที่ปลูกไดดี<br />

4.3 การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ<br />

จากการประเมินการกักเก็บคารบอน พบวา การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ มีแนวโนมเชนเดียวกับ<br />

มวลชีวภาพ โดยสวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป มีปริมาณการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพสูงที่สุด รองลงมาคือ สวน<br />

ปายูคาลิปตัส อายุ 4 ป ปาเต็งรัง สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป และสวนปายูคาลิปตัส อายุ 1 ป ตามลําดับ โดยสวน<br />

ปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป มีการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเทากับ 32.72 ตันตอเฮกแตร สวนปายูคาลิปตัส อายุ 4<br />

ป มีการกักเก็บคารบอนรวมเทากับ 22.79 ตันตอเฮกแตร ปาเต็งรังมีการกักเก็บคารบอนรวมเทากับ 21.28 ตันตอ<br />

เฮกแตร สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป มีการกักเก็บคารบอนรวมเทากับ 12.46 ตันตอเฮกแตร และสวนปายูคาลิปตัส<br />

อายุ 1 ป มีการกักเก็บคารบอนรวมเทากับ 4.86 ตามลําดับ (Table 3) จะเห็นไดวาการกักเก็บคารบอนของตนไม<br />

นั้นขึ้นอยูกับปริมาณมวลชีวภาพของตนไมนั้นๆ มากกวาความเขมขนของคารบอนที่อยูในมวลชีวภาพ กลาวคือ ถา<br />

ตนไมไมมีมวลชีวภาพมากก็สามารถกักเก็บคารบอนไดในปริมาณมากเชนกัน ดังนั้นยูคาลิปตัส ซึ่งเปนสวนปาไมโต<br />

เร็ว และมีการจัดการทางวนวัฒนวิธีที่เหมาะสม จึงสามารถกักเก็บคารบอนไดในปริมาณที่มาก เมื่อเทียบกับไมอื่น<br />

ในระยะเวลาปลูกที่เทากัน สําหรับปาเต็งรังในพื้นที่ศึกษาครั้งนี้อาจเพิ่มศักยภาพในการกักเก็บคารบอนดวยวิธีการ<br />

ปลูกเสริมปาธรรมชาติ หรือใหปามีความหนาแนนของตนไมมากขึ ้น<br />

192


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 3 Carbon storage in biomass of dry dipterocarp forest and eucalypt plantation at Muncha Khiri<br />

Plantation.<br />

Plot<br />

Carbon storage (tones/ha)<br />

Stem Leaf Branch Root Total<br />

Dry dipterocarp forest 14.97 2.85 0.73 2.83 21.28<br />

1-yr old eucalypt plantation 2.00 0.65 1.47 0.74 4.86<br />

2-yr old eucalypt plantation 8.07 0.81 1.28 2.30 12.46<br />

3-yr old eucalypt plantation 21.98 2.95 2.07 5.72 32.72<br />

4-yr old eucalypt plantation 15.23 1.94 1.59 4.03 22.79<br />

4.4 ปริมาณการรวงหลนของซากพืชและการกักเก็บคารบอน<br />

ปริมาณการรวงหลนของซากพืชในการศึกษาครั้งนี้พบวา สวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป มีปริมาณการรวง<br />

หลนของซากพืชสูงที่สุดเทากับ 6.59 ตันตอเฮกแตรตอป หรือคิดเปนปริมาณคารบอนเทากับ 3.43 ตันตอเฮกแตร<br />

ตอป ซึ่งคิดเปนรอยละ 12.70 ของปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพเหนือดิน รองลงมาคือ สวนปายูคาลิปตัส อายุ 4<br />

ป เทากับ 5.28 ตันตอเฮกแตรตอป หรือคิดเปนปริมาณคารบอนเทากับ 2.75 ตันตอเฮกแตรตอป ซึ่งคิดเปนรอยละ<br />

14.65 ของปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพเหนือดิน สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป เทากับ 3.32 ตันตอเฮกแตรตอป<br />

หรือคิดเปนปริมาณคารบอนเทากับ 1.75 ตันตอเฮกแตรตอป ซึ่งคิดเปนรอยละ 17.22 ของปริมาณคารบอนในมวล<br />

ชีวภาพเหนือดิน และปาเต็งรัง มีคาต่ําที่สุดเทากับ 2.05 ตันตอเฮกแตรตอป หรือคิดเปนปริมาณคารบอนเทากับ<br />

1.01 ตันตอเฮกแตรตอป ซึ่งคิดเปนรอยละ 5.47 ของปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพเหนือดิน สําหรับสวนปายูคา<br />

ลิปตัสอายุ 1 ป ไมไดทําการศึกษาปริมาณการรวงหลน เนื่องจากตนไมยังมีขนาดเล็กมาก<br />

4.5 ผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิ<br />

จากการประมาณหาผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิ พบวา มีแนวโนมเชนเดียวกับความเพิ่มพูนของมวลชีวภาพ<br />

โดยที่สวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป มีปริมาณผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิสูงที่สุด รองลงมาคือ สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2<br />

ป สวนปายูคาลิปตัส อายุ 4 ป และปาเต็งรังมีปริมาณผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิต่ําที่สุด โดยมีคาเทากับ 28.56,<br />

18.57, 17.11 และ 4.58 ตันตอเฮกแตรตอป ตามลําดับ (Table 4) ซึ่งสาเหตุหนึ่งที่ทําใหสวนปายูคาลิปตัส มี<br />

ผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิมากกวาปาเต็งรังคือ จํานวนตนตอพื้นที่ที่มากกวา อีกทั้งยังเปนไมที่อยูในวัยเติบโตที่มี<br />

ขนาดสม่ําเสมอกันดวย ตางจากปาเต็งรังที่มีตนไมขนาดเล็กและขนาดใหญปะปนกัน และการพัฒนาสายพันธุของยู<br />

คาลิปตัสที่นํามาปลูกในสวนปา จึงทําใหมีการเติบโตที่ดี ดังนั้นปจจัยที่ทําใหผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิของปาเต็งรังซึ่ง<br />

เปนปาธรรมชาตินั้น นอยกวาสวนปายูคาลิปตัส จึงนาจะเปนอายุของหมูไมและลักษณะโครงสรางอันซับซอนที่<br />

เกี่ยวของไปถึงกระบวนการผลิตดวย<br />

193


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 4 Net primary production of dry dipterocarp forest and eucalypt plantation at Muncha Khiri<br />

Plantation.<br />

Plot<br />

Biomass increment Litter falls NPP<br />

(ton/ha/yr) (ton/ha/yr) (ton/ha/yr)<br />

Dry dipterocarp forest 2.53 2.05 4.58<br />

2-yr old eucalypt plantation 15.25 3.32 18.57<br />

3-yr old eucalypt plantation 21.97 6.59 28.56<br />

4-yr old eucalypt plantation 11.83 5.28 17.11<br />

4.6 การกักเก็บคารบอนในดิน<br />

ปริมาณการกักเก็บคารบอนในดินของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัส จากผิวดินจนถึงที่ระดับความลึก 60<br />

เซนติเมตร พบวา สวนปายูคาลิปตัส อายุ 1 ป มีการกักเก็บคารบอนในดินไดมากที่สุด คือ 43.62 ตันตอเฮกแตร<br />

รองลงมาไดแก สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป สวนปายูคาลิปตัส อายุ 4 ป ปาเต็งรัง และสวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป<br />

ซึ่งมีคาเทากับ 42.08, 37.60, 36.19 และ 31.95 ตันตอเฮกแตร ตามลําดับ (Table 5) โดยปริมาณการกักเก็บ<br />

คารบอนในดินมากที่สุดที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร และปริมาณการกักเก็บคารบอนในดินนอยที่สุดที่ระดับ<br />

ความลึก 40-60 เซนติเมตร ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ สิริรัตน และคณะ (2547); รุงเรือง (2548); Ogawa<br />

et al. (1961) นอกจากนี้ยังมีผลเนื่องมาจากพืชพรรณที่ขึ้นอยู สภาวะภูมิอากาศ และการใชประโยชนที่ดินที่<br />

แตกตางกันที่มีผลอยางมากตอปริมาณคารบอนที่เก็บสะสมไวในดิน (อํานาจ และ ณัฐพล, 2548)<br />

Table 5 Soil organic carbon at different depth in dry dipterocarp forest and eucalypt plantation at Mancha<br />

Khiri plantation, Khon Kaen Province<br />

Plot<br />

Carbon storage (tones/ha)<br />

Total<br />

0-20 cm 20-40 cm 40-60 cm (tonnes/ha)<br />

Dry dipterocarp forest 14.93 11.67 9.59 36.19<br />

1-yr old eucalypt plantation 14.88 14.57 14.17 43.62<br />

2-yr old eucalypt plantation 16.61 14.79 10.68 42.08<br />

3-yr old eucalypt plantation 9.97 11.21 10.77 31.95<br />

4-yr old eucalypt plantation 13.04 12.15 12.41 37.60<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

5.1 โครงสรางสังคมพืชปาเต็งรัง บริเวณสวนปามัญจาคีรี<br />

ปาเต็งรังในพื้นที่สวนปามัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน มีจํานวนพรรณไมทั้งหมด 20 ชนิด โดยมีความ<br />

หนาแนนเฉลี่ย 783 ตนตอเฮกแตร และมีพื้นที่หนาตัดเทากับรอยละ 0.114 ของพื้นที่แปลง โดยไมที่มีคาดัชนี<br />

ความสําคัญมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ แดง กุก เสี้ยวเครือ ประดู และเต็ง รูปแบบการกระจายของขนาดตนไมใน<br />

194


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พื้นที่ที่ทําศึกษาเปนรูป L-shape กลาวคือตนไมที่มีขนาดเล็กมีปริมาณมากและจํานวนตนไมก็จะลดลงเมื่อมีขนาด<br />

ใหญขึ้น<br />

5.2 ศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาเต็งรังและสวนปายูคาลิปตัส<br />

จากการศึกษาปริมาณคารบอนสะสมซึ่งประเมินจากผลรวมของคารบอนที่สะสมอยูในมวลชีวภาพและ<br />

คารบอนที่สะสมอยูในดินถึงระดับความลึก 60 เซนติเมตร ของแตละแปลงตัวอยาง (Figure 3) พบวาปาเต็งรังมี<br />

ปริมาณคารบอนสะสมทั้งหมดเทากับ 57.47 ตันคารบอนตอเฮกแตร โดยมีผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิเทากับ 2.32 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตรตอป ในขณะที่สวนปายูคาลิปตัส อายุ 1 ป มีปริมาณคารบอนสะสมทั้งหมดเทากับ 48.21 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตร สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป มีปริมาณคารบอนสะสมทั้งหมดเทากับ 54.54 ตันคารบอนตอเฮก<br />

แตร โดยมีผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิเทากับ 9.09 ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป โดยแบงเปนปริมาณการเพิ่มพูนมวล<br />

ชีวภาพและปริมาณการรวงหลนซากพืชเทากับ 7.46 และ 1.63 ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป ตามลําดับ สวนปายูคา<br />

ลิปตัส อายุ 3 ป มีปริมาณคารบอนสะสมทั้งหมดเทากับ 64.67 ตันคารบอนตอเฮกแตร โดยมีผลผลิตขั้นปฐมภูมิ<br />

สุทธิเทากับ 14.07 ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป และสวนปายูคาลิปตัส อายุ 4 ป มีปริมาณคารบอนสะสมทั้งหมด<br />

เทากับ 60.39 ตันคารบอนตอเฮกแตร โดยมีผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิเทากับ 8.38 ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป หรือ<br />

อาจกลาวไดวาการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด (ผลผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิ) จากบรรยากาศมาใชในกระบวนการ<br />

สังเคราะหแสง ของปาเต็งรัง สวนปายูคาลิปตัส อายุ 2 ป สวนปายูคาลิปตัส อายุ 3 ป และสวนปายูคาลิปตัส อายุ 4<br />

ป มีคาเทากับ 8.50, 33.35, 51.61 และ 30.73 ตัน CO 2 ตอเฮกแตรตอป<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ จะเห็นไดวาปาเต็งรังมีศักยภาพในการดูดกาซคารบอนไดออกไซดนอยกวาสวนปายู<br />

คาลิปตัส เนื่องมาจากตนไมสวนใหญเปนไมโตชา มีอายุมากและมีการผลัดใบในชวงฤดูแลง ความหนาแนนของ<br />

ตนไมในปาเต็งรังนอยกวาสวนปายูคาลิปตัส ซึ่งปลูกดวยความหนาแนน 2,500 ตนตอเฮกแตร อยางไรก็ตามใน<br />

การศึกษาครั้งนี้ ไมไดทําการศึกษามวลชีวภาพของพรรณไมพื้นลางและตนไมที่มีขนาดเล็กกวา 4.5 เซนติเมตร ซึ่ง<br />

ในปาเต็งรังจะมีมากกวาสวนปายูคาลิปตัส สําหรับปาเต็งรังในบริเวณสวนปามํญจาคีรียังสามารถเพิ่มศักยภาพใน<br />

การกักเก็บคารบอนไดดวยการปลูกเสริมปาใหมีความหนาแนนของตนไมเพิ่มขึ้น และความแตกตางของศักยภาพ<br />

ในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดนั้นจะขึ้นอยูกับมวลชีวภาพเปนสําคัญ กลาวคือเมื่อสังคมพืชใดมีมวลชีวภาพ<br />

ที่มีคามาก สังคมพืชเหลานั้นก็จะมีศักยภาพในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดมากตามไปดวย<br />

195


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 3 Carbon storage of dry dipterocarp forest and eucalypt plantation at Mancha Khiri<br />

plantation, Khon Kaen Province. Abbreviations: NPP, net primary production; ∆B, biomass<br />

increment; ∆B A , above-ground biomass increment; ∆B B , below-ground biomass increment;<br />

L, litter production; S, soil carbon.<br />

196


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Boonpragob, K. and J. Santisirisomboon. 2004. Modeling potential changes of forest<br />

area in Thailand under climate change. In Proceedings of the Conference on Climate<br />

Change in Forest Sector. Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation,<br />

Bangkok.<br />

- IPCC. 2007. Climate Change 2007: The Physical Science Basis. IPCC Fourth<br />

Assessment Report. Cambridge University Press, Cambridge.<br />

- Kira, T. and T. Shidei. 1967. Primary production and turnover of organic matter in<br />

different forest ecosystem of the Western Pacific. Jap. J. Ecol, 17, pp.70-87.<br />

- Koizumi, H., H. Muraoka and S. Mariko. 2006. Measurement of carbon flux with<br />

ecological method, pp. 13-14. In AsiaFlux Short Training Course Sub Workgroup:<br />

Practice of Flux Observation in Terrestrial Ecosystems. 12-23 August 2006, Tsukuba,<br />

Japan.<br />

- Ogawa, H, K. Yoda, K. Ogino and T. Kira. 1961. Comparative ecological studies on<br />

three main types of forest vegetation in Thailand. II. Plant Biomass. Nature and Life in<br />

Southeast Asia,4, pp.49-80.<br />

- Olson, J. S. 1963. Enegy storage and the balance of producers and decomposer in<br />

ecological system. Ecol, 44, pp.322-332<br />

- รุงเรือง พูลศิริ. 2548. คารบอนและไนโตรเจนในดินของสวนปาไมตางถิ่นบนดินที่สูงทาง<br />

ภาคเหนือของไทย, น. 107-115. ใน รายงานการประชุม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

ทางดานปาไม: ศักยภาพของปาไมในการสนับสนุนพิธีสารเกียวโต. กรมอุทยานแหงชาติ สัตว<br />

ปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ<br />

- สิริรัตน จันทรมหเสถียร และคนอื่นๆ. 2547. การศึกษาปริมาณคารบอนในดินของระบบนิเวศ<br />

ปาดิบแลงและปาเบญจพรรณ, น. 321-343. ใน รายงานการประชุม การเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศทางดานปาไม: ศักยภาพของปาไมในการสนับสนุนพิธีสารเกียวโต. กรมอุทยาน<br />

แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ.<br />

- อํานาจ ชิดไธสง และ ณัฐพล ลิไชยกุล. 2548. การกักเก็บและปลดปลอยคารบอนในดินปาดิบ<br />

แลง ดินปาปลูก และดินทําการเกษตร, น. 95-105. ใน รายงานการประชุม การเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศทางดานปาไม: ศักยภาพของปาไมในการสนับสนุนพิธีสารเกียวโต. กรม<br />

อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ.<br />

197


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชตางๆ<br />

Carbon Storage in Biomass of a Mangrove Forest of Different Stand Compositions<br />

สาพิศ ดิลกสัมพันธ, ดํารงค ศรีพระราม, ลดาวัลย พวงจิตร, จงรัก วัชรินทรรัตน, สคาร ทีจันทึก,<br />

ออ พรานไชย, ธีระพงษ ชุมแสงศรี และนิคม แหลมสัก<br />

คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลขที่ 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

บทคัดยอ<br />

การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาไมมีการแปรผันขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน ชนิดปา องคประกอบ<br />

ของสังคมพืช และสภาพพื้นที่ ในการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของ<br />

ปาชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชที่แตกตางกันในทองที่ 11 จังหวัด ของประเทศไทย ทําการศึกษาโดยการ<br />

วางแปลงตัวอยางขนาด 20 x 50 เมตร จํานวนแนวสํารวจละ 3 แปลง จังหวัดละ 2 แนวสํารวจ ทําการสํารวจและ<br />

วัดการเติบโตของไมยืนตน (trees) ไมรุน (saplings) และกลาไม (seedlings) วิเคราะหองคประกอบของสังคมพืช<br />

และประเมินมวลชีวภาพและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพ ตลอดจนจําแนกกลุมสังคมพืชดวยวิธี cluster<br />

analysis โดยอาศัยความแตกตางขององคประกอบของพรรณไมและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ ผล<br />

การศึกษาใน 11 จังหวัด พบวามีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนทั้งสิ้น 22 ชนิด (species) 12 สกุล<br />

(genus) จาก 10 วงศ (family) จําแนกเปนไมยืนตน 22 ชนิด ไมรุน 17 ชนิด และกลาไม 14 ชนิด มวลชีวภาพรวม<br />

และการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมมีการแปรผันระหวางพื ้นที่ แนวสํารวจ และ/หรือ แปลงตัวอยาง โดยมี<br />

คาเฉลี่ยระหวาง 11.57-43.86 และ 5.44-20.62 ตัน/ไร สามารถจําแนกกลุมของสังคมพืชออกเปน 5 กลุม โดยกลุม<br />

สังคมพืชปาชายเลนที่มีโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) เปนไมเดน มีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวม<br />

สูงที่สุด รองลงมาไดแก กลุมสังคมพืชปาชายเลนที่มีโกงกางใบใหญ (R. mucronata) แสมขาว (Avicennia alba)<br />

แสมทะเล (A. marina) และโปรงแดง (Ceriops tagal) เปนพรรณไมเดน ตามลําดับ ในภาพรวมอาจสรุปไดวา การ<br />

สะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนมีการแปรผันขึ้นอยูกับชนิด ความหนาแนน และมวลชีวภาพของพรรณ<br />

ไมที่เปนองคประกอบหลักของสังคมพืช<br />

คําสําคัญ: ปาชายเลน การสะสมคารบอน มวลชีวภาพ องคประกอบของหมูไม<br />

Abstract<br />

Carbon storage in a forest biomass varies considerably depending on forest type, forest<br />

composition and structure and site. The objectives of this study were to investigate the carbon storage in<br />

total biomass of a mangrove forest located in 11 provinces of Thailand. In each province, measurements<br />

were made randomly in two transects of three 20 x 50 m plots. Trees, saplings and seedlings were<br />

identified and their growth measurement was undertaken subsequently. Forest composition, growth,<br />

biomass and carbon stored in the biomass were analyzed. In addition, the forest composition, based on<br />

198


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

species composition and the contribution of carbon stored in total biomass, was indentified using a cluster<br />

analysis. The occurrence of total 22 species in 12 genera and 10 families was observed, consisting of 22,<br />

17 and 12 species of trees, saplings and seedlings, respectively. The total biomass and the carbon stored<br />

in biomass varied remarkably among sites, between transects within site and/or among plots within<br />

transect, having the mean values of 72.31-274.12 and 34.00-128.87 t/ha, respectively. The interpretation<br />

of a cluster analysis allowed five forest communities to be identified, where the forest community<br />

dominated mainly by Rhizophora apiculata achieved the greatest carbon storage in the total biomass,<br />

followed by that dominated mainly by R. Mucronata, Avicennia alba, A. marina and Ceriops tagal,<br />

respectively. In conclusion, the biomass production and carbon stored in the biomass of the mangrove<br />

forest studied depended primarily on tree species, density and biomass of the dominant species.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปาชายเลนมีทั้งประโยชนทางตรง ไดแก ผลผลิตเนื้อไม และของปา (เชน ใบจาก น้ําผึ้ง และสมุนไพร เปน<br />

ตน) และประโยชนทางออม หรือบริการทางนิเวศวิทยา (ecological services) อีกหลายประการ เชน เปนแหลง<br />

ความหลากหลายของพืชและสัตว เปนแหลงผลิตและหมุนเวียนธาตุอาหาร ทําหนาที่ในการกําบังคลื่นลม ปองกัน<br />

ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และการปองกันการกัดเซาะชายฝง เปนตน นอกจากนี้ยังเปนแหลงสะสมคารบอนที่<br />

มีความสําคัญตอการบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) ที่ทั่วโลกกําลังใหความสําคัญอยู<br />

ในขณะนี้ ทั้งนี้ ปาชายเลนมีบทบาทสําคัญในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) โดยกระบวนการสังเคราะห<br />

แสงของใบ (leaf photosynthesis) เพื่อสรางอินทรียสารซึ่งมีคารบอนเปนองคประกอบ นํามาสะสมในมวลชีวภาพ<br />

(biomass) สวนตางๆ ของตนไม ทั้งมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (ลําตน กิ่ง และใบ) และมวลชีวภาพใตดิน (ราก)<br />

โดยทั่วไปความแตกตางของการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาไมขึ้นอยูกับความแตกตางของมวลชีวภาพ<br />

มากกวาปริมาณคารบอนที่สะสม (สาพิศ, 2550) โดยแหลงสะสมคารบอนของปาไม (forest carbon pool)<br />

ประกอบดวย คารบอนที่สะสมในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (living-aboveground biomass) มวลชีวภาพใตดิน<br />

(living-belowground biomass) ไมที่ตายแลว (dead organic matter in wood) ซากพืช (dead organic matter in<br />

litter) และอินทรียวัตถุในดิน (soil organic matter) ตลอดจนผลิตภัณฑไม (harvested wood product) (Watson,<br />

2009) ทั้งนี้ ในการประเมินศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาไมสวนใหญนิยมเปรียบ<br />

เทียบเฉพาะการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพ<br />

การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาไมมีการแปรผันตามประเภทของปา ปาดงดิบมีการสะสมคารบอน<br />

ในมวลชีวภาพมากที่สุด ในขณะที่ปาชายเลนมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพในระดับปานกลางเมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับปาประเภทอื่นๆ (Tangtham and Tantasirin, 1997) แตการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาประเภท<br />

เดียวกันก็มีการแปรผันสูงมาก ขึ้นกับความสมบูรณของปาและสภาพพื้นที่ (คณะวนศาสตร, 2550; 2552) ใน<br />

ทํานองเดียวกันความแตกตางของมวลชีวภาพของปาชายเลนขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ไดแก ชนิดของ<br />

พรรณไมเดน และความหนาแนนของพรรณไม ตลอดจนสภาพพื้นที่ จากการศึกษาการกักเก็บคารบอนในมวล<br />

ชีวภาพในพื้นที่ปาชายเลนจังหวัดชุมพรและระนอง พบวา ปาชายเลนปฐมภูมิ (primary forest) ซึ ่งมีความสมบูรณ<br />

มากกวาปาชายเลนทุติยภูมิ (secondary forest) มีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพมากกวา และยังพบวาปาชาย<br />

เลนในจังหวัดชุมพรมีการกักเก็บคารบอนมากกวาปาชายเลนในจังหวัดระนอง (คณะวนศาสตร, 2550) นอกจากนี้<br />

มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน มวลชีวภาพรวม หรือ มวลชีวภาพใตดินของปาชายเลนยังมีการแปรผันตามองคประกอบ<br />

ของหมูไม (Komiyama et al., 1987; Alongi and Dixon, 2000; Komiyama et al., 2000) แตยังขาดการวิเคราะห<br />

199


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เชื่อมโยงถึงศักยภาพในการกักเก็บคารบอน ดังนั้น การวิเคราะหองคประกอบของสังคมพืชเพื่อจําแนกลักษณะของ<br />

สังคมพืชที่มีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนที่แตกตางกันนาจะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการจัดการปาชาย<br />

เลนใหมีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนไดมากขึ้นตอไป ในการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะ<br />

โครงสรางของสังคมพืชและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนในพื้นที่ 11 จังหวัดของประเทศไทย<br />

และเพื่อจําแนกกลุมของสังคมพืชตามองคประกอบของสังคมพืชและศักยภาพในการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ<br />

ของปาชายเลนขางตน<br />

2. อุปกรณและวิธีการ<br />

พื้นที่ศึกษาและการวางแปลงตัวอยาง<br />

ทําการศึกษาการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนโดยการสํารวจสังคมพืชของปาชายเลนในพื้นที่ 11<br />

จังหวัด ไดแก สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ จันทบุรี ชุมพร สุราษฎรธานี<br />

นครศรีธรรมราช ระนอง และพังงา โดยในแตละจังหวัดวางแนวสํารวจ 2 แนว แตละแนวสํารวจใหอยูในสภาพพื้นที่<br />

ที่แตกตางกัน วางแปลงตัวอยางชั่วคราว (temporary plot) โดยใชแปลงขนาด 20 x 50 เมตร จํานวน 3 แปลงตอ<br />

แนวสํารวจ โดยเลือกวางแปลงตัวอยางในพื้นที่ที่มีความแตกตางทางความสูงจากระดับน้ําทะเล 3 ระดับ คือ ความ<br />

สูงจากระดับน้ําทะเลต่ําสุด (พื้นที่ปาชายเลนชิดชายฝง) ปานกลาง (พื้นที่ปาชายเลนกึ่งกลางชายฝงกับแผนดิน)<br />

และสูงที่สุดของพื้นที่ (พื้นที่ปาชายเลนชิดแผนดิน) ดังแสดงในภาพที่ 1 รวมเปนจํานวนแนวสํารวจทั้งสิ้น 22 แนว<br />

สํารวจ และ 65 แปลงตัวอยาง (ยกเวนในจังหวัดประจวบคีรีขันธในแนวที่สองมีแปลงตัวอยางเพียง 2 แปลง) ใน<br />

แปลงตัวอยางขนาด 20 x 50 เมตร ทําการแบงเปนแปลงยอยขนาด 10 x 10 เมตร, 4 x 4 เมตร และ 1 x 1 เมตร<br />

แนวสํารวจที่ 1<br />

แปลง XX11 แปลง XX12 แปลง XX13<br />

ชายฝงทะเล<br />

แนวสํารวจที่ 2<br />

แปลง XX21 แปลง XX22 แปลง XX23<br />

10 ม.<br />

20<br />

50 ม.<br />

4 ม<br />

1 ม.<br />

1 ม.<br />

4 ม<br />

10 ม<br />

ภาพที่ 1 การวางแปลงตัวอยางเพื่อศึกษาสังคมพืชปาชายเลน<br />

การเก็บขอมูลพรรณไม<br />

สํารวจจําแนกตนไมที่มีอยูในแปลงยอย โดยจําแนกชั้นความโตของตนไมออกเปนชั้นตางๆ ดังนี้<br />

200


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

• ไมยืนตน (tree) หมายถึงตนไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางที่ความสูงเหนือคอราก 20 เซนติเมตร<br />

(สําหรับไมโกงกาง) หรือเปนไมที่มีเสนผานศูนยกลางเพียงอก (1.30 เมตร) (สําหรับไมชนิดอื่นๆ)<br />

มากกวา 4.5 เซนติเมตร ขึ้นไป<br />

• ไมรุน (sapling) ตนไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางที่ความสูงเหนือคอราก 20 เซนติเมตร (สําหรับไม<br />

โกงกาง) หรือเปนไมที่มีเสนผานศูนยกลางเพียงอก (1.30 เมตร) (สําหรับไมชนิดอื่นๆ) นอยกวาหรือ<br />

เทากับ 4.5 เมตร และมีความสูงมากกวา 1.30 เมตร<br />

• กลาไม (seedling) หมายถึงตนไมที่มีขนาดความสูงไมเกิน 1.30 เมตร<br />

ทําการสํารวจจําแนกและวัดการเติบโตของตนไมในแปลงตัวอยาง แปลงยอยขนาด 10 x 10 เมตร ใชเพื่อ<br />

สํารวจชนิดและวัดการเติบโตทางเสนผานศูนยกลางและความสูงของไมยืนตนทั้งหมด แปลงตัวอยางขนาด 4 x 4<br />

เมตร สํารวจชนิดและวัดการเติบโตทางเสนผานศูนยกลางและความสูงของไมรุนทั้งหมด และแปลงตัวอยางขนาด 1<br />

x 1 เมตร ใชเพื่อสํารวจชนิดและจํานวนของกลาไม<br />

การวิเคราะหสังคมพืช<br />

ความหนาแนน (density, D) คือ จํานวนตนไมทั้งหมดที่ปรากฏในแปลงตัวอยางตอหนวยพื้นที่ที่ทําการ<br />

สํารวจ สําหรับการศึกษาครั้งนี้ใชคาความหนาแนนสัมพัทธ (relative density, RD) ซึ่งหมายถึงสัดสวนของความ<br />

หนาแนนของพรรณไมชนิดใดๆ ตอคาความหนาแนนทั้งหมดของพรรณไมทุกชนิดในสังคมพืช มีหนวยเปนรอยละ<br />

สามารถคํานวณไดดังนี้<br />

RD =<br />

ความหนาแนนของพรรณไมชนิดใดๆ x 100<br />

ความหนาแนนของพรรณไมทุกชนิดในแปลงตัวอยาง<br />

ความเดน (dominance, Do) เปนคาที่ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของพืชชนิดใดๆ ตอสังคมพืชที่ขึ้นอยู ตัว<br />

แปรที่นิยมใชศึกษาคาความเดนคือพื้นที่หนาตัด (basal area, BA) ของตนไม และคํานวณเปรียบเทียบเปนความ<br />

ความเดนสัมพัทธ (relative dominance, RDo) ซึ่งหมายถึง คาสัดสวนของพื้นที่หนาตัดของพรรณไมชนิดใดๆ ตอ<br />

คาพื้นที่หนาตัดทั้งหมดของพรรณไมทุกชนิดในแปลงตัวอยาง สามารถคํานวณไดดังนี้<br />

RDo =<br />

พื้นที่หนาตัดของพรรณไมชนิดใดๆ x 100<br />

พื้นที่หนาตัดของพรรณไมทุกชนิดในแปลงตัวอยาง<br />

คาดัชนีความสําคัญ (importance value index, IVI) โดยทั่วไปเปนผลรวมของคาความหนาแนนสัมพัทธ<br />

ความเดนสัมพัทธ และความถี่สัมพัทธ (relative frequency, RF) ของพรรณไมชนิดใดๆ ในสังคมพืช มีคาอยู<br />

ระหวาง 0-300 สําหรับในการศึกษาครั้งนี้ไมไดนําเอาคาความถี่สัมพัทธมาใชเนื่องจากเปนการวางแปลงตัวอยางที่มี<br />

ลักษณะเปนแถบขนาดเล็ก ดังนั้นคาดัชนีความสําคัญจึงคํานวณจากคาความหนาแนนสัมพัทธและความเดน<br />

สัมพัทธ และมีคาระหวาง 0-200<br />

ดัชนีความหลากหลาย (diversity index) เปนคาที่บงชี้ความหลากชนิดของพรรณไมในสังคมพืชหนึ่งๆ<br />

สามารถวิเคราะหโดยใชดัชนีความหลากหลายตางๆ สําหรับการศึกษาครั้งนี้เลือกใชดัชนีความหลากหลาย<br />

Shanon-Wiener Index (Ludwig and Reynold, 1988) ซึ่งเปนดัชนีบงชี้ความหลากชนิดของพรรณไมที่ปรากฎและ<br />

ความสม่ําเสมอของการปรากฏ โดยมีสมการคํานวณ ดังนี้<br />

201


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อ H ’ คือ คาดัชนีความหลากหลายของสังคมพืช<br />

P i คือ สัดสวนของจํานวนชนิดไม i ตอผลรวมของจํานวนทั้งหมดในสังคม (n)<br />

s คือ คือ จํานวนชนิดไมทั้งหมดในพื้นที่<br />

การวิเคราะหการเติบโตและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ<br />

วิเคราะหคาเฉลี่ยของการเติบโต ไดแก ขนาดเสนผานศูนยกลาง ความสูง และพื้นที่หนาตัดของไมยืนตน<br />

และไมรุนทุกชนิดในแปลง และวิเคราะหจํานวนเฉลี่ยของกลาไมทุกชนิดในแปลง<br />

วิเคราะหมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (above ground biomass) เฉลี่ยของไมยืนตนและไมรุนทุกชนิดใน<br />

แปลง และผลรวมของมวลชีวภาพทั้งหมดในแตละแปลง โดยคํานวณมวลชีวภาพจาก allometric equations ดังนี้<br />

เมื่อ W T คือ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (above ground biomass)<br />

W s คือ มวลชีวภาพของลําตน (stem biomass)<br />

W b คือ มวลชีวภาพของกิ่ง (branch biomass)<br />

W l คือ มวลชีวภาพของใบ (leaf biomass)<br />

D คือ เสนผานศูนยกลางที่ความสูงเหนือคอราก 20 เซนติเมตร (สําหรับโกงกาง)<br />

หรือเสนผานศูนยกลางเพียงอก (1.30 เมตร) (สําหรับชนิดอื่นๆ)<br />

โดยใชคาสัมประสิทธิ์ในการคํานวณตามการศึกษาของ Komiyama et al. (1987) ดังนี้<br />

โกงกาง ชนิดอื่นๆ<br />

ลําตน a = 0.05466 b = 0.94500 ลําตน a = 0.04490 b = 0.95490<br />

กิ่ง a = 0.01579 b = 0.91240 กิ่ง a = 0.02412 b = 0.86490<br />

ใบ a = 0.06780 b = 0.58060 ใบ a = 0.09422 b = 0.54390<br />

คํานวณมวลชีวภาพใตดินจากอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน เทากับ<br />

0.37 ซึ่งเปน default value ของพรรณไมปาไมผลัดใบในเขตรอน (IPCC, 2006) โดยอัตราสวนดังกลาวใกลเคียง<br />

กับคาเฉลี่ยของอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพรรณไมปาชายเลนในประเทศ<br />

ไทยซึ่งมีคาแปรผันระหวาง 0.19-0.58 (Komiyama et al., 1987)<br />

วิเคราะหการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวม (เหนือพื้นดินและใตดิน) ของพรรณไมปาชายเลน จาก<br />

ขอมูลปริมาณคารบอนของพรรณไมปาชายเลนคูณดวยมวลชีวภาพรวม โดยใชปริมาณคารบอนเฉลี่ยของพรรณไม<br />

ปาชายเลนเทากับรอยละ 47 ของน้ําหนักแหง (คณะวนศาสตร, 2553)<br />

202


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิเคราะหและจัดกลุมสังคมพืช<br />

วิเคราะหและจัดกลุมสังคมพืชโดยการนําขอมูลชนิดของพรรณไมปาชายเลนและการกักเก็บคารบอนใน<br />

มวลชีวภาพรวมมาวิเคราะหจําแนกสังคมพืชออกเปนกลุมๆ ดวยวิธีการ cluster analysis และทําการวิเคราะห<br />

ความแตกตางของคาเฉลี่ยของตัวแปรตางๆ ในแตละกลุมสังคมพืชตามวิธีการ Duncan New Multiple Range test<br />

ดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ<br />

3. ผลและวิจารณ<br />

ความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลน<br />

จากการศึกษาโครงสรางของสังคมพืชปาชายเลนทั้งหมด 65 แปลงตัวอยาง ใน 11 จังหวัด ของประเทศ<br />

ไทย พบวามีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนทั้งสิ้น 22 ชนิด (species) 12 สกุล (genera) จาก 10 วงศ<br />

(family) สามารถจําแนกเปนไมยืนตน (tree) จํานวน 22 ชนิด ไมรุน (sapling) 17 ชนิด และกลาไม (seedling) 14<br />

ชนิด (ตารางที่ 1) มีพรรณไมสวนใหญ (14 ชนิด คิดเปนรอยละ 63.6) พบทั้งไมยืนตน ไมรุน และกลาไม แตมี<br />

พรรณไมเพียง 3 ชนิด (คิดเปนเพียงรอยละ 13.6) ไดแก แสมดํา (Avicennia officinallis) ตะบูนดํา (Xylocarpus<br />

moluccensis) และตาตุมทะเล (Excoecaria agallocha) ที่ไมพบกลาไม และมีพรรณไมอีก 5 ชนิด (คิดเปนเพียงรอยละ<br />

22.7) ไดแก หลุมพอทะเล (Intsia palembanica) โพทะเล (Thespesia populnea) ชาเลือด (Premna obtusifolia) ลําพู<br />

(Sonneratia caseolaris) และหงอนไกทะเล (Heritiara littoralis) ที่ไมพบทั้งไมรุนและกลาไม แสดงใหเห็นวาพรรณไม<br />

ทั้ง 8 ชนิดนี้มีศักยภาพในการเจริญทดแทนตามธรรมชาติ (natural regeneration) ที่คอนขางต่ํา ในขณะที่พรรณไม<br />

ทั้งหมดจํานวน 22 ชนิด เปนพรรณไมในวงศไมโกงกาง (Rhizophoraceae) จํานวน 8 ชนิด เชน โกงกางใบเล็ก<br />

(Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ (R. mucronata) โปรงแดง (Ceriops tagal) พังกาหัวสุมดอกแดง<br />

(Bruguiera gymnorrhiza) ถั่วขาว (B. cylindrical) เปนตน และเปนพรรณไมที ่พบทั้งไมยืนตน ไมรุน และกลาไม<br />

แสดงวาพรรณไมในวงศไมโกงกางมีการเจริญทดแทนตามธรรมชาติไดดีในพื้นที่ที่ทําการศึกษาในครั้งนี้ โดยทั่วไป<br />

ระบบนิเวศปาชายเลนเปนระบบนิเวศกึ่งปด และมีสภาพแวดลอมเฉพาะ ทําใหพืชที่ขึ้นในปาชายเลนมีลักษณะทาง<br />

สรีรวิทยาและการปรับโครงสรางเพื่อใหสามารถดํารงอยูในสภาพแวดลอมนั้นได พรรณไมที่พบสวนใหญเปนสกุล<br />

โกงกาง และสกุลอื่นๆ อีกมากกวา 15 สกุล แตความหลากชนิดของพรรณไมขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่ ขนาด และการ<br />

วางแปลงสํารวจ ในการศึกษาครั้งนี้มีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนโดยรวมคอนขางนอยเนื่องจากในแต<br />

ละพื้นที่วางแปลงตัวอยางคอนขางนอย จากการศึกษาความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนอาวพังงาซึ่งเปนการ<br />

สํารวจโดยการวางแปลงตัวอยางจํานวนมากและกระจายทั่วพื้นที่ พบพรรณไมปาชายเลนทั้งสิ้น 21 ชนิด โดยพบที่<br />

จังหวัดภูเก็ต 10 ชนิด จังหวัดกระบี่ 18 ชนิด และจังหวัดพังงา 19 ชนิด (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง,<br />

2551) ในขณะที่การศึกษาครั้งนี้ พบพรรณไมปาชายเลนในจังหวัดพังงาเพียง 10 ชนิด อยางไรก็ตามเมื่อ<br />

เปรียบเทียบในบางพื้นที่พบวามีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนใกลเคียงกัน เชน จากการศึกษาของ ดาว<br />

รุง และทนุวงศ (ม.ป.ป) พบวา พื้นที่ปาชายเลนจังหวัดตราดมีพรรณไมปาชายเลนทั้งสิ้น 16 ชนิด ในขณะที่ปาชาย<br />

เลนจังหวัดจันทบุรีซึ่งอยูในภูมิภาคเดียวกันมีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนถึง 15 ชนิด เชนกัน<br />

นอกจากนี้จากการศึกษาของคณะวนศาสตร (2550) ในพื้นที่จังหวัดชุมพร และระนอง พบวามีความหลากชนิดของ<br />

พรรณไมปาชายเลน 11 และ 13 ชนิด ตามลําดับ ซึ่งใกลเคียงกับการศึกษาครั้งนี้เชนกัน<br />

203


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 รายชื่อพรรณไมปาชายเลนที่พบในพื้นที่ศึกษา 11 จังหวัด<br />

ลําดับ<br />

สถานภาพ<br />

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ<br />

ที่<br />

T SP S<br />

1 แสมขาว Avicennia alba Bl.<br />

<br />

2 แสมทะเล Avicennia marina<br />

<br />

AVICENNIACEAE<br />

(Forsk.) Vierh.<br />

3 แสมดํา Avicennia officinallis L. <br />

4 หลุมพอ Intsia palembanica Miq. CAESALPINIOIDEA <br />

E<br />

5 ฝาดดอกแดง Lumnitzera littorea Voigt<br />

<br />

COMBRETACEAE<br />

6 ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd. <br />

7 ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha L. EUPHORBIACEAE <br />

8 โพทะเล Thespesia populnea<br />

<br />

MALVACEAE<br />

(L.) Soland. ex Correa<br />

9 ตะบูนขาว Xylocarpus granatum Koen.<br />

<br />

10 ตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis MELIACEAE <br />

Roem.<br />

11 ชาเลือด Premna obtusifolia R. Br. LABIATAE <br />

12 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica BI.<br />

<br />

13 พังกาหัวสุม Bruguiera gymnorrhiza (L.)<br />

<br />

ดอกแดง Savigny<br />

14 ถั่วดํา Bruguiera parviflora<br />

<br />

Wight & Arn. ex Griff.<br />

15 พังกาหัวสุม Bruguiera sexangula Poir. <br />

RHIZOPHORACEAE<br />

ดอกขาว<br />

16 โปรงขาว Ceriops decandra Ding Hou <br />

17 โปรงแดง Ceriops tagal (Perr.) C. B.<br />

<br />

Rob.<br />

18 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Bl. <br />

19 โกงกางใบใหญ Rhizophora mucronata Poir. <br />

20 ลําแพน Sonneratia ovata Back SONNERATIACEAE <br />

21 ลําพู Sonneratia caseolaris (L.)<br />

<br />

Engl.<br />

22 หงอนไกทะเล Heritiera littoralis Ait. STERCULIACEAE <br />

หมายเหตุ: T- tree (ไมยืนตน) SP- sapling (ไมรุน) S- seedling (กลาไม) พบ ไมพบ<br />

204


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลักษณะของสังคมพืชปาชายเลน<br />

สมุทรปราการ เปนจังหวัดในภาคกลาง พบปาชายเลนขึ้นอยูรอบบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ในป พ.ศ.<br />

2552 มีพื้นที่ปาชายเลนเพียง 18,296 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนในจังหวัดสมุทรปราการมีความ<br />

แตกตางระหวางแปลงตัวอยางคอนขางสูง โดยพบพรรณไมทั้งหมด 8 ชนิด พรรณไมที่พบสวนใหญจะเปนสกุลแสม<br />

(Avicennia) คือ แสมขาว (A. alba) และแสมทะเล (A. marina) ซึ่งองคประกอบของชนิดพรรณไมใกลเคียงกับปา<br />

ชายเลนอื่นๆ ที่พบในบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา (สงา และคณะ, 2530) โดยมีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ย<br />

คอนขางต่ําเพียง 0.326 ไมยืนตนมีความหนาแนนเฉลี่ยคอนขางสูง (234 ตน/ไร) ในขณะที่มีความหนาแนนของไม<br />

รุนและกลาไมเฉลี่ย 56 และ 70 ตน/ไร ตามลําดับ แสดงวาการเจริญทดแทนตามธรรมชาติประสบผลสําเร็จปาน<br />

กลาง ทั้งนี้มีมวลชีวภาพรวมและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมคอนขางต่ํา มีคาเฉลี่ยเพียง 19.09 และ<br />

8.97 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2)<br />

สมุทรสาคร เปนจังหวัดขนาดเล็กในภาคกลางบริเวณอาวไทย พื้นที่ปาชายเลนในป พ.ศ. 2552 มีเพียง<br />

22,017 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ซึ่งสวนใหญถูกบุกรุกทําลายและถูกกัดเซาะชายฝง ปาชายเลนที่ศึกษามีความ<br />

หลากชนิดของพรรณไมนอย สวนใหญเปนสกุลแสม (Avicennia) โดยองคประกอบของชนิดพรรณไมใกลเคียงปา<br />

ชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการที่ศึกษาในครั้งนี้ และจังหวัดอื่นๆ ที่พบในบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา (สงา และ<br />

คณะ, 2530) พรรณไมสวนใหญมีขนาดปานกลาง และมีคาดัชนีความหลากหลายแปรผันมากตั้งแต 0 ถึง 0.959<br />

(เฉลี่ยเทากับ 0.388) มีความหนาแนนของไมรุนและกลาไมเฉลี่ย 50 และ 36 ตน/ไร ตามลําดับ ในขณะที่ไมยืนตนมี<br />

ความหนาแนนเฉลี่ย 243 ตน/ไร แสดงวาการเจริญทดแทนตามธรรมชาติประสบความสําเร็จนอย โดยมีมวลชีวภาพ<br />

รวมและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมในระดับต่ํา ซึ่งมีคาเฉลี่ยเพียง 14.66 และ 6.89 ตัน/ไร ตามลําดับ<br />

(ตารางที่ 2)<br />

สมุทรสงคราม เปนจังหวัดในภาคกลางบริเวณอาวไทยและมีพื้นที่ปาชายเลนไมมากเชนกัน โดยป พ.ศ.<br />

2552 มีพื้นที่เพียง 14,112 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนที่ศึกษามีการแปรผันระหวางแปลงคอนขางสูง มี<br />

ความหลากหลายของชนิดพรรณไมคอนขางนอย โดยพบพรรณไมเพียง 5 ชนิด และในแตละแปลงตัวอยางพบ<br />

พรรณไมมากที่สุดเพียง 3 ชนิด พรรณไมที่พบสวนใหญเปนแสมขาว (A. alba) และโกงกางใบเล็ก<br />

(R. apiculata) องคประกอบของชนิดพรรณไมใกลเคียงปาชายเลนอื่นๆ ที่พบในบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา (สงา<br />

และคณะ, 2530) โดยมีความแตกตางของความหนาแนนระหวางพื้นที่สูง บางพื้นที่มีความหนาแนนของไมยืนตนสูง<br />

ถึง 600 ตน/ไร และต่ําที่สุดเพียง 18 ตน/ไร โดยมีความหนาแนนของไมยืนตน ไมรุน และกลาไมเฉลี่ย 173, 57<br />

และ 103 ตน/ไร ตามลําดับ มีคาดัชนีความหลากหลายคอนขางต่ําเฉลี่ยเพียง 0.147 มีมวลชีวภาพรวมและการกัก<br />

เก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยใกลเคียงกับปาชายเลนในจังหวัดสมุทรปราการ (ตารางที่ 2)<br />

เพชรบุรี เปนจังหวัดในภาคกลางบริเวณอาวไทย ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชายเลนเพียง 13,932 ไร<br />

และตําแหนงที่ตั้งมีความเสี่ยงตอการถูกกัดเซาะชายฝง (คณะวนศาสตร, 2553) ลักษณะสังคมพืชปาชายเลนมีการ<br />

แปรผันระหวางพื้นที่คอนขางสูง มีความหลากหลายของชนิดพรรณไมคอนขางนอย โดยพบพรรณไมเพียง 5 ชนิด<br />

สวนใหญเปนพรรณไมสกุลแสม (Avicennia) และโกงกาง (Rhizophora) มีความหนาแนนของไมยืนตนคอนขางสูง<br />

(เฉลี่ย 279 ตน/ไร) มีคาดัชนีความหลากหลายต่ํามากเพียง 0.232 และมีมวลชีวภาพรวมและการกักเก็บคารบอนใน<br />

มวลชีวภาพรวมคอนขางต่ําใกลเคียงกับปาชายเลนในจังหวัดสมุทรสาคร (ตารางที่ 2)<br />

ประจวบคีรีขันธ เปนจังหวัดในภาคกลางที่มีชายฝ งทะเลติดดานอาวไทย แมวาจะเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ที่<br />

ติดชายทะเลเปนแนวยาวตลอดแนวจังหวัด แตกลับมีพื้นที่ปาชายเลนไมมากนัก เนื่องจากพื้นที่สวนใหญเปน<br />

ชายหาด ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชายเลนเพียง 2,706 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนที ่ศึกษามีความ<br />

แตกตางระหวางพื้นที่สูงทั้งชนิดของพรรณไมที่ปรากฏ ความหนาแนน การเติบโตและมวลชีวภาพ แตสวนใหญ<br />

205


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 สรุปการวิเคราะหลักษณะโครงสรางของสังคมพืชปาชายเลนในพื้นที่ 11 จังหวัด<br />

ความหนาแนน<br />

ความโตเฉลี่ย ความสูงเฉลี่ย มวลชีวภาพรวม การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวม มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน<br />

จํานวนชนิด<br />

ดัชนีความ<br />

จังหวัด<br />

(ตน/ไร)<br />

(ซม.) (ม.) (ตัน/ไร) (ตัน/ไร) (ตัน/เฮกแตร)<br />

(ตัน/ไร)<br />

หลากหลาย<br />

T SP S T SP S T SP T SP T SP รวม T SP รวม T SP รวม T SP รวม<br />

สมุทรปราการ 3 2 1 234 56 70 0.326 10.85 2.70 7.97 3.06 19.00 0.10 19.09 8.93 0.05 8.97 55.80 0.29 56.09 13.87 0.07 13.94<br />

สมุทรสาคร 3 2 1 243 50 36 0.388 9.01 1.95 8.36 3.38 14.56 0.10 14.66 6.84 0.05 6.89 42.77 0.31 43.08 10.63 0.08 10.70<br />

สมุทรสงคราม 2 2 2 218 57 103 0.147 10.73 2.27 9.26 3.13 20.78 0.16 20.94 9.77 0.07 9.84 61.05 0.47 61.52 15.17 0.12 15.29<br />

เพชรบุรี 2 2 2 279 101 91 0.232 8.46 2.17 8.37 2.81 15.49 0.27 15.76 7.28 0.13 7.41 45.51 0.78 46.29 11.31 0.19 11.50<br />

ประจวบคีรีขันธ 3 3 1 285 177 76 0.277 7.55 2.38 6.05 3.18 13.37 0.30 13.66 6.28 0.14 6.42 39.27 0.87 40.14 9.76 0.22 9.97<br />

จันทบุรี 6 4 2 161 44 73 0.895 7.28 2.86 7.61 3.70 11.40 0.17 11.57 5.36 0.08 5.44 33.49 0.51 33.99 8.32 0.13 8.45<br />

ชุมพร 5 1 1 363 33 19 0.475 8.47 1.70 10.30 2.88 27.92 0.16 28.07 13.12 0.07 13.20 82.00 0.47 82.47 20.38 0.12 20.49<br />

สุราษฎรธานี 4 3 2 329 86 38 0.637 7.18 1.20 10.25 2.12 23.56 0.33 23.89 11.07 0.16 11.23 69.20 0.97 70.17 17.20 0.24 17.44<br />

นครศรีธรรมราช 4 2 2 180 25 34 0.528 12.47 1.65 13.18 2.91 27.74 0.04 27.79 13.04 0.02 13.06 81.49 0.13 81.62 20.25 0.03 20.28<br />

ระนอง 5 4 2 313 30 114 0.889 11.68 2.40 11.15 3.13 43.80 0.07 43.86 20.59 0.03 20.62 128.66 0.19 128.85 31.97 0.05 32.02<br />

พังงา 8 5 3 371 96 20 1.300 9.69 2.46 9.19 3.20 28.76 0.14 28.90 13.52 0.06 13.58 84.49 0.40 84.89 20.99 0.10 21.09<br />

หมายเหตุ: T- tree (ไมยืนตน) SP- sapling (ไมรุน) S- seedling (กลาไม)<br />

206


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนปาชายเลนที่มีความหลากชนิดของพรรณไมในแตละแปลงต่ํา มีความหนาแนนของไมยืนตน ไมรุน และกลาไม<br />

เฉลี่ย 285, 177 และ 78 ตน/ไร ตามลําดับ ตนไมในแปลงสวนใหญมีขนาดเล็ก เชนเดียวกับมวลชีวภาพรวมและ<br />

การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมซึ่งมีคาเฉลี่ยต่ํากวาปาชายเลนในจังหวัดภาคกลางอื่นๆ (ตารางที่ 2)<br />

จันทบุรี เปนจังหวัดในภาคตะวันออกและมีชายฝงทะเลทางดานอาวไทย ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชาย<br />

เลนทั้งสิ้น 67,698 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนที่ศึกษามีความแตกตางระหวางพื้นที่สูงเชนกัน<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งชนิดของพรรณไมที่ปรากฏซึ่งพบทั้งสิ้น 15 ชนิด และมีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยถึง 0.895<br />

โดยมีโกงกาง (Rhizophora) เปนพรรณไมที่มีความสําคัญทางนิเวศวิทยา แตมีการเติบโตและผลผลิตคอนขางต่ํา<br />

จึงทําใหมีมวลชีวภาพรวมและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมต่ํากวาปาชายเลนในจังหวัดอื่นๆ มีคาเฉลี่ย<br />

เพียง 11.66 และ 6.89 ตัน/ไร ตามลําดับ มีจํานวนไมรุนและกลาไมเทากับ 45 และ 73 ตน/ไร แสดงวามีการเจริญ<br />

ทดแทนตามธรรมชาติอยูในระดับปานกลาง (ตารางที่ 2)<br />

ชุมพร เปนจังหวัดที่อยูทางภาคใตมีชายฝงดานตะวันออกติดอาวไทย ปาชายเลนถูกบุกรุกเพื่อทํานากุง<br />

ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชายเลนอยู 29,705 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนในจังหวัดชุมพรมีความ<br />

แตกตางอยางชัดเจนระหวางแนวสํารวจ โดยในแนวสํารวจแรกเปนปาปลูกมีจํานวนชนิดของพรรณไมนอยแตมี<br />

ความหนาแนนสูงมาก (336-515 ตน/ไร) มีโกงกาง (Rhizophora) เปนพรรณไมที่มีความสําคัญในพื้นที่ และมี<br />

ภาวะการเจริญทดแทนตามธรรมชาติต่ํามาก ในขณะที่แนวสํารวจที่สองเปนปาธรรมชาติมีความแตกตางระหวาง<br />

แปลงตัวอยางขึ้นอยูกับระยะหางจากชายฝง โดยแปลงที่อยูติดชายฝงมีจํานวนชนิดของพรรณไมเพียงชนิดเดียว<br />

และมีความหนาแนนนอย (190 ตน/ไร) สวนแปลงที่อยูถัดเขามามีความหลากชนิดของพรรณไมมากถึง 13 ชนิด<br />

และมีความหนาแนนมากกวา (262-459 ตน/ไร) สวนใหญมีภาวะการเจริญทดแทนตามธรรมชาติอยูในระดับปาน<br />

กลาง ทําใหปาชายเลนในภาพรวมของจังหวัด มีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยเพียง 0.475 แตมีมวลชีวภาพรวม<br />

และการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมโดยเฉลี่ยคอนขางสูงเทากับ 28.07 และ 13.20 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตาราง<br />

ที่ 2)<br />

สุราษฎรธานี เปนจังหวัดที่อยูทางภาคใตมีชายฝงทะเลดานตะวันออกติดอาวไทย มีพื้นที่ปาชายเลนถูก<br />

บุกรุกเพื่อทํานากุง ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชายเลนทั้งสิ้น 26,932 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนที่<br />

ศึกษามีความแตกตางระหวางแนวสํารวจมากเชนเดียวกับในจังหวัดชุมพร โดยในแนวสํารวจแรกเปนปาปลูกมี<br />

โกงกางใบใหญ (R. mucronata) เกือบทั้งหมด และมีความหนาแนนตอพื้นที่มาก (410-438 ตน/ไร) จึงเกือบไมมี<br />

การเจริญทดแทนตามธรรมชาติ ในขณะที่ในแนวสํารวจที่สองมีความหลากชนิดของพรรณไมมาก (6-8 ชนิด/แปลง)<br />

แตมีความหนาแนนตอพื้นที่นอยกวา (206-262 ตน/ไร) ทําใหแปลงตัวอยางในแนวสํารวจแรกมีมวลชีวภาพรวมและ<br />

การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมสูงมากกวา 42 และ 20 ตัน/ไร ตามลําดับ ในขณะที่ในแนวที ่สองมีเพียง 3.67-<br />

6.12 และ 1.72-2.88 ตัน/ไร ตามลําดับ ทั้งนี้ ปาชายเลนในภาพรวมของจังหวัดมีมวลชีวภาพรวมและการสะสม<br />

คารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยเทากับ 23.89 และ 11.23 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2)<br />

นครศรีธรรมราช เปนจังหวัดที่อยูทางภาคใตมีชายฝงทะเลดานตะวันออกติดอาวไทย สวนใหญเปน<br />

พื้นที่ปาชายเลนสลับกับหาดทราย ในป พ.ศ. 2552 มีพื้นที่ปาชายเลนทั้งสิ้น 63,707 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปา<br />

ชายเลนสวนใหญมีความหลากชนิดคอนขางมาก (3-6 ชนิด/แปลง) มีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยเทากับ 0.532<br />

สวนใหญมีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมเดน แตความหนาแนนของไมยืนตนมีความแตกตางอยาง<br />

ชัดเจนระหวางแนวสํารวจ ในแนวสํารวจแรกมีความหนาแนนของตนไมนอยแตตนไมมีขนาดใหญกวาในแนวสํารวจ<br />

ที่สอง โดยมีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยเทากับ 27.79 และ 13.06 ตัน/ไร<br />

ตามลําดับ (ตารางที่ 2)<br />

207


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ระนอง เปนจังหวัดที่อยูชายฝงอันดามันที่มีพื้นที่ปาชายเลนคอนขางมาก ในปจจุบัน (พ.ศ. 2552) มีพื้นที่<br />

ปาชายเลนทั้งสิ้น 149,086 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) ปาชายเลนบริเวณชายฝงอันดามันสวนใหญยังมีสภาพ<br />

คอนขางสมบูรณทั้งในดานความหลากหลายและผลผลิต ปาชายเลนที่ศึกษาในจังหวัดระนองมีความหลากชนิดของ<br />

พรรณไมคอนขางสูง (4-6 ชนิด/แปลง) โดยมีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยถึง 0.889 สวนใหญมีโกงกางใบเล็ก<br />

(R. apiculata) และโกงกางใบใหญ (R. mucronata) เปนพรรณไมเดน ไมยืนตนมีความหนาแนนสูง (เฉลี่ยเทากับ<br />

313 ตน/ไร) และมีขนาดใหญ ทําใหมีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยสูงกวาปาชาย<br />

เลนในจังหวัดอื่นๆ โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 43.86 และ 20.62 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2) แตจํานวนไมรุนและกลา<br />

ไมคอนขางนอยแสดงใหเห็นวาการเจริญทดแทนตามธรรมชาติมีนอยและกลาไมไมสามารถพัฒนาเปนไมรุนได<br />

พังงา เปนอีกจังหวัดหนึ่งที่อยูชายฝงทะเลอันดามันซึ่งมีพื ้นที่ปาชายเลนมากที่สุด ปจจุบัน (พ.ศ. 2552) มี<br />

พื้นที่ปาชายเลนทั้งสิ้น 257,439 ไร (คณะวนศาสตร, 2553) และปาชายเลนสวนใหญยังมีสภาพสมบูรณในแงของ<br />

ความหลากชนิดของพรรณไมและผลผลิต โดยปาชายเลนที่ศึกษามีความหลากชนิดของพรรณไมมากกวาปาชาย<br />

เลนของจังหวัดตางๆ ในภาคกลาง และภาคใตฝงอาวไทย รวมทั้งในจังหวัดระนองซึ่งอยูในฝงอันดามันเชนเดียวกัน<br />

พบชนิดพรรณไมยืนตนสูงสุดถึง 10 ชนิด โดยดัชนีความหลากหลายมีคาเฉลี่ยสูงถึง 1.300 และมีพรรณไมโกงกาง<br />

(Rhizophora) เปนพรรณไมที่มีความสําคัญในพื้นที่ มีความหนาแนนของไมยืนตนเฉลี่ยมากถึง 371 ตน/ไร และมี<br />

ขนาดคอนขางใหญ มีความหนาแนนของไมรุนมากกวาที่จังหวัดระนอง แตมีความหนาแนนของกลาไมคอนขาง<br />

นอย แสดงถึงภาวะในการเจริญทดแทนตามธรรมชาติต่ํา ทั้งนี้ปาชายเลนที่ศึกษาในจังหวัดพังงามีมวลชีวภาพรวม<br />

และการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยคอนขางสูง เทากับ 28.76 และ 13.58 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่<br />

2)<br />

การจําแนกกลุมสังคมพืช<br />

จากการวิเคราะหจัดกลุมสังคมพืชปาชายเลนในแปลงตัวอยางทั้ง 65 แปลง สามารถจําแนกกลุมสังคมพืช<br />

ปาชายเลนที่กระจายอยูในประเทศไทยที่มีลักษณะที่แตกตางกันอยางชัดเจนคือ องคประกอบของชนิดพรรณไมที่<br />

ปรากฏและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมไดเปน 5 กลุม ดังแสดงในภาพที่ 2 โดยมีรายละเอียดในแตละ<br />

กลุมสังคมพืช ดังนี้<br />

กลุมที่ 1 สังคมพืชปาชายเลนที่มีแสมทะเล (A. marina) เปนพรรณไมเดน ปรากฏอยูในบริเวณชายฝง<br />

ทะเลอาวไทยในพื้นที่บางสวนของจังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ ลักษณะของ<br />

สังคมพืชที่ปรากฏอยูในกลุมนี้มีความหลากชนิดของพรรณไมนอยกวากลุมสังคมพืชกลุมอื่นๆ โดยมีแสมทะเล<br />

(A. marina) เปนชนิดหลัก มีชนิดไมอื่นๆ ปะปนอยูบาง เชน แสมขาว (A. alba) โพทะเล (T. populnea) และ<br />

โกงกางใบใหญ (R. mucronata) บางพื้นที่เปนสังคมพืชที่ขึ้นอยูเองตามธรรมชาติ แตบางพื้นที่เปนสังคมพืชที่เกิด<br />

จากการปลูกฟนฟูขึ้นมาใหม โดยเฉลี่ยมีความหนาแนนของไมยืนตนอยูในระดับคอนขางสูง (260 ตน/ไร) และ<br />

ตนไมมีขนาดคอนขางเล็ก จึงทําใหสังคมพืชในกลุมนี้มีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมอยู<br />

ในระดับที่คอนขางต่ํา โดยมีคาเทากับ 12.92 และ 6.07 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3)<br />

208


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 2 Dendrogram ของการจําแนกสังคมพืชปาชายเลน 65 แปลงตัวอยาง ในพื้นที่ศึกษา 11 จังหวัด<br />

แนวตั้งเปนพรรณไมปาชายเลนทั้ง 22 ชนิด และแนวนอนเปนหมายเลขแปลง<br />

209


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กลุมที่ 2 สังคมพืชปาชายเลนที่มีแสมขาว (A. alba) เปนพรรณไมเดน ปรากฏอยูในบริเวณชายฝงทะเล<br />

อาวไทยเชนเดียวกัน เชน จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และบางพื้นที่ของจังหวัดเพชรบุรี<br />

ลักษณะของสังคมพืชที่ปรากฏอยูในกลุมนี้มีความหลากชนิดของพรรณไมคอนขางนอย โดยมีแสมขาว (A. alba)<br />

เปนชนิดหลัก มีชนิดไมอื่นๆ ปะปนอยูบางในปริมาณไมมากนัก เชน แสมทะเล (A. marina) ลําพู (S. caseolaris)<br />

โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ (R. mucronata) บางพื้นที่เปนสภาพสังคมพืชที่ขึ้นเองตาม<br />

ธรรมชาติ แตบางพื้นที่เปนสังคมพืชที่เกิดจากการปลูกฟนฟูขึ้นมาใหม สวนมากไมแสมขาวมีขนาดคอนขางใหญ<br />

และแตกเปนพุมขนาดใหญทําใหความหนาแนนของไมยืนตนและไมรุนนอย โดยมีคาเฉลี่ยเพียง 147 และ 48 ตน/<br />

ไร ตามลําดับ จึงทําใหสังคมพืชในกลุมนี้มีการเจริญทดแทนตามธรรมชาติไดดี โดยมีความหนาแนนของกลาไม<br />

มากกวา 100 ตน/ไร แตกลาไมดังกลาวพัฒนาเปนไมรุนและไมยืนตนไดคอนขางนอย อยางไรก็ตาม สังคมพืชใน<br />

กลุมนี้มีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมอยูในระดับที่คอนขางสูง โดยมีคาเทากับ 22.01<br />

และ 10.35 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2)<br />

กลุมที่ 3 สังคมพืชปาชายเลนที่มีโกงกางใบใหญ (R. mucronata) เปนพรรณไมเดน พบกระจายอยูใน<br />

บริเวณชายฝงทะเลอาวไทยในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี จันทบุรี ชุมพร และสุราษฎรธานี เปนตน สังคมพืชกลุมนี้สวน<br />

ใหญเกิดจากการปลูกฟนฟูขึ้นมาใหม มีความหลากชนิดของพรรณไมนอยและขนาดของตนไมแตกตางกันไปตาม<br />

อายุ ลักษณะโครงสรางสังคมพืชคอนขางแนนทึบเนื่องจากการปลูกดวยระยะปลูกที่แคบ มีความหนาแนนของไมยืน<br />

ตนโดยเฉลี่ยมากถึง 334 ตน/ไร ทําใหการเจริญทดแทนตามธรรมชาติมีนอยมาก โดยมีจํานวนไมรุนและกลาไม<br />

เฉลี ่ยเพียง 32 และ 27 ตน/ไร ตามลําดับ พรรณไมที่ขึ้นกระจายรวมอยูบาง เชน โกงกางใบเล็ก (R. apiculata)<br />

ตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) แสมขาว (A. alba) ลําพู (S. caseolaris) เปนตน สังคมพืชในกลุมนี้มีขนาด<br />

ความโตและความสูงคอนขางมาก จึงทําใหสังคมพืชในกลุมนี้มีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวล<br />

ชีวภาพรวมมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 28.42 และ 13.36 ตัน/ไร ตามลําดับ<br />

กลุมที่ 4 สังคมพืชที่มีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมเดน พบกระจายอยูทั่วไปในพื้นที่ปา<br />

ชายเลนของประเทศไทยทั้งทางชายฝงอาวไทยและชายฝงอันดามัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริเวณที่มีปจจัย<br />

สิ่งแวดลอมที่เปนสภาพปาชายเลนที่สมบูรณแบบ คือมีน้ําขึ้นน้ําลงอยางสม่ําเสมอ และดินมีสภาพเปนดินเลน สังคม<br />

พืชปาชายเลนกลุมนี้มีความหลากชนิดของพรรณไมคอนขางมาก บางพื้นที่พบพรรณไมปาชายเลนถึง 10 ชนิด (คา<br />

ดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยเทากับ 0.841) โดยมีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมเดน พบทั้งที่เกิดขึ้น<br />

เองตามสภาพธรรมชาติดั้งเดิมหรือการเจริญทดแทนตามธรรมชาติขึ้นมาใหม ตลอดจนที่เกิดขึ้นจากการปลูกปา<br />

สังคมพืชกลุมนี้สามารถจําแนกไดเปน 2 กลุมยอย ตามชนิดของพรรณไมที่ขึ้นปะปน เชน ถั่วขาว<br />

(B. cylindrica) โปรงแดง (Ceriops tagal) แสมขาว (A. alba) ตะบูนขาว (X. granatum) เปนตน ลักษณะสังคมพืช<br />

ในกลุมยอยที่ 1 สวนใหญพบในบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ จันทบุรี และพังงา ในขณะที่ลักษณะสังคมพืชในกลุม<br />

ยอยที่ 2 สวนใหญพบในบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และระนอง โดยลักษณะองคประกอบทางสังคมพืชมีความ<br />

แตกตางกันไปตามการพัฒนาของสังคมพืชและปจจัยสิ่งแวดลอม หากสังคมพืชที่มีระยะเวลาในการพัฒนานอยจะมี<br />

โกงกางใบเล็กโดดเดน แตถามีระยะเวลาในการพัฒนายาวนานมากขึ้นจะพบพรรณไมชนิดอื่นๆ ปรากฏเพิ่มมากขึ้น<br />

ลักษณะเดนของสังคมพืชกลุมนี้คือมีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมเฉลี่ยในปริมาณที่สูง<br />

กวาสังคมพืชปาชายเลนในกลุมอื่นๆ โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 30.55 และ 14.36 ตัน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3)<br />

210


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 สรุปการวิเคราะหกลุมสังคมพืชปาชายเลนในพื้นที่ 11 จังหวัด<br />

จํานวน<br />

ความหนาแนน ดัชนี ความโตเฉลี่ย ความสูงเฉลี่ย มวลชีวภาพรวม การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวม<br />

จํานวนชนิดเฉลี่ย<br />

กลุมสังคมพืช แปลง<br />

(ตน/ไร) ความ (ซม.) (ม.) (ตัน/ไร) (ตัน/ไร) (ตัน/เฮกแตร)<br />

ตัวอยาง T SP S T SP S หลากห T SP T SP T SP รวม T SP รวม T SP รวม<br />

1<br />

(แสมทะเล)*<br />

2<br />

(แสมขาว)*<br />

3<br />

(โกงกางใบใหญ)*<br />

4<br />

(โกงกางใบเล็ก)*<br />

5<br />

(โปรงแดง)*<br />

p-value<br />

12 2 a 2 a 1 a 260 ab 67 a 51 0.166 a 8.07 a 2.57 b 7.45 ab 3.48 b 12.77 a 0.15 a 12.92 a 6.00 a 0.07 a 6.07 a 37.52 a 0.44 a 37.96 a<br />

10 3 a 2 a 1 a 147 a 48 a 102 0.346 a 12.18 b 2.04 a 9.28 ab 2.47 ab 21.95 ab 0.07 a 22.02 ab 10.32 ab 0.03 a 10.35 ab 64.47 ab 0.20 a 64.67 ab<br />

12 3 a 1 a 1 a 334 b 32 a 27 0.324 a 8.43 a 1.52 a 10.90 b 2.15 a 28.30 b 0.12 a 28.42 b 13.30 b 0.06 a 13.36 b 83.13 b 0.35 a 83.48 b<br />

22 5 b 3 b 2 b 295 ab 54 a 60 0.841 b 10.64 b 2.23 ab 10.72 b 3.22 ab 30.44 b 0.11 a 30.55 b 14.31 b 0.05 a 14.36 b 89.41 b 0.33 a 89.74 b<br />

9 6 b 4 b 2 b 230 ab 170 b 84 0.960 b 6.53 a 2.38 b 6.13 a 3.85 b 9.42 a 0.49 a 9.91 a 4.43 a 0.23 b 4.66 a 27.68 a 1.43 b 29.11 a<br />


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กลุมที่ 5 สังคมพืชที่มีโปรงแดง (C. tagal) เปนพรรณไมเดน ปรากฏอยูในพื้นที่ปาชายเลนบริเวณชายฝง<br />

ทะเลอาวไทยในพื้นที่ขาดความสมบูรณตามสภาพของระบบนิเวศปาชายเลน โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่<br />

ที่ดินมีลักษณะเนื้อดินเปนดินทราย และมีการขึ้นลงของน้ําทะเลที่ไมตอเนื่อง หรือเปนปาทุติยภูมิ<br />

(secondary forest) ที่เกิดจากการเจริญทดแทนตามธรรมชาติ เชน บางพื้นที่ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ<br />

จันทบุรี ชุมพร และสุราษฎรธานี ไมยืนตนในสังคมพืชกลุมนี้มีความหนาแนนปานกลาง (230 ตน/ไร) แต<br />

ตนไมมีขนาดเล็กกวาสังคมพืชกลุมอื่นๆ เนื่องจากขอจํากัดทางดานความสมบูรณของปริมาณสารอาหาร<br />

ในดิน จึงทําใหสังคมพืชในกลุมนี้มีมวลชีวภาพรวมและการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมอยูในระดับ<br />

ต่ํากวากลุมอื่นๆ มีคาโดยเฉลี่ยเพียง 9.91 และ 4.66 ตัน/ไร ตามลําดับ แตสิ่งที่ถือวาเปนจุดเดนของสังคม<br />

พืชในกลุมนี้คือ มีความหลากชนิดของพรรณไมปาชายเลนสูงกวาสังคมพืชกลุมอื่นๆ บางพื้นที่มีพรรณไม<br />

ปาชายเลนปรากฏมากกวา 10 ชนิด โดยมีคาดัชนีความหลากหลายเฉลี่ยถึง 0.960 นอกจากโปรงแดง<br />

(C. tagal) ที่เปนพรรณไมชนิดสําคัญของสังคมพืชแลวยังมีพรรณไมที่ขึ้นกระจายอยูรวมกับโปรงแดง เชน<br />

โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) โกงกางใบใหญ (R. mucronata) แสมขาว (A. alba) ถั่วขาว (B. cylindrical)<br />

ตะบูนขาว (X. granatum) เปนตน<br />

จากการวิเคราะหเปรียบเทียบศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนที่มีลักษณะโครงสรางของ<br />

สังคมพืชแตกตางกันทั้ง 5 กลุม โดยอาศัยการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวม พบวา สังคมพืชในกลุมที่ 4 เปน<br />

กลุมสังคมพืชที่มีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนสูงที่สุด ซึ่งเปนกลุมสังคมพืชที่ความหลากชนิดของพรรณไมสูง<br />

และมีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมเดน สวนใหญเปนปาธรรมชาติ (จังหวัดจันทบุรี นครศรีธรรมราช<br />

ระนอง และพังงา) แตมีบางพื้นที่เปนปาชายเลนที่ปลูกฟนฟูและมีการเจริญทดแทนตามธรรมชาติดี (จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ) รองลงมาไดแก สังคมพืชกลุมที่ 3 ซึ่งสวนใหญเปนปาที่เกิดจากการปลูกฟนฟูโดยใชโกงกางใบ<br />

ใหญ (R. mucronata) เปนพรรณไมหลัก ในขณะที่สังคมพืชในกลุมที่ 5 (สังคมพืชที่มีโปรงแดง (C. tagal) เปน<br />

พรรณไมเดน) และสังคมพืชกลุมที่ 1 (สังคมพืชที ่มีแสมทะเล (A. marina) เปนพรรณไมเดน) มีศักยภาพในการกัก<br />

เก็บคารบอนต่ําที่สุด ตามลําดับ โดยคาเฉลี่ยของการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพรวมของสังคมพืชในกลุมที่ 3 และ<br />

4 มีความแตกตางจากของสังคมพืชในกลุมที่ 5 และ 1 อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สกุลลําแพน (Sonneratia zone) โดยมีคาเทากับ 43.7, 17.0 และ 10.9 ตัน/ไร ตามลําดับ (Komiyama et al.,<br />

1987)<br />

4. สรุปและขอเสนอแนะ<br />

ปาชายเลนในพื้นที่ตางๆ ของประเทศไทยมีการแปรผันในหลายๆ ลักษณะ เชน องคประกอบของพรรณ<br />

ไม ความหนาแนน การเติบโต และผลผลิตของไมที่เปนองคประกอบหลักของสังคมพืช ตลอดจนสภาพพื้นที่ ซึ่ง<br />

ความแตกตางดังกลาวนี้เปนปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลน ทั้งนี้ สังคม<br />

พืชที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโกงกางใบเล็กเปนพรรณไมเดนมีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนสูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก สังคมพืชที่เกิดจากการฟนฟูและมีโกงกางใบใหญและแสมทะเล (A. marina) เปนพรรณไมเดน<br />

ในขณะที่สังคมพืชปาชายเลนที่มีแสมขาว (A. alba) และโปรงแดง (C. tagal) เปนพรรณไมเดนเปนสังคมพืชที่มี<br />

ศักยภาพในการกักเก็บคารบอนต่ําที่สุด ตามลําดับ ดังนั้น ในพื้นที่ปาชายเลนที ่ถูกทําลาย และ/หรือ มีศักยภาพใน<br />

การกักเก็บคารบอนต่ํา การฟนฟูปาดวยไมสกุลโกงกาง ไดแก โกงกางใบเล็ก และโกงกางใบใหญ นาจะเปน<br />

แนวทางหนึ่งในการเพิ่มความสมบูรณของปาในเชิงผลผลิต และการเพิ่มศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชาย<br />

เลน อยางไรก็ตาม สังคมพืชปาชายเลนในแตละกลุมอาจมีอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดที่แตกตางกัน<br />

ซึ่งสามารถเปรียบเทียบจากอัตราการเติบโต และ/หรือ อัตราความเพิ่มพูนของมวลชีวภาพในแตละป ซึ่งจําเปนตอง<br />

มีการศึกษาในแปลงตัวอยางถาวรอยางตอเนื่อง เพื่อนําผลการศึกษาที่ไดมาเปนขอเสนอแนะแนวทางการจัดการ<br />

เพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของปาชายเลนในพื้นที่ตางๆ ตอไป<br />

5. เอกสารอางอิง<br />

- Alongi, D. M. and P. Dixon. 2000. Mangrove primary production and above- and<br />

below-round biomass in Sawi Bay, Southern Thailand. Phuket Marine Bilogical<br />

Center Special Publication 22: 31-38.<br />

- IPCC. 2006. IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories.<br />

International Panel on Climate Change. IGES, Japan.<br />

- Komiyama, A., J.E. Ong and S. Poungparn. 2008. Allowmetry, biomass, and<br />

productivity of mangrove forest: A review. Aquatic Botany 89: 128-137.<br />

- Komiyama, A., K. Ogino, S. Aksornkoae and S. Sabhasri. 1987. Root biomass of a<br />

mangrove forest in southern Thailand. 1. Estimation by the trench method and the<br />

zonal structure of root biomass. Journal of Tropical Ecology 3: 97–108.<br />

- Komiyama, A., S. Havanond, W. Srisawatt, Y. Mochida, K. Fujimoto and T. Ohnishi.<br />

2000. Top/root biomass ratio of a secondary mangrove (Ceriops tagal (Perr.) C.B.<br />

Rob.) forest. Forest Ecology Management 139: 127-134<br />

- Ludwig, J. A. and Reynolds, J. F. 1988. Statistical Ecology: A Primer in Methods<br />

and Computing.. John Wiley & Son Inc., San Francisco.<br />

- Tangtham, N. and C. Tantasirin. 1997. An assessment of policies to reduce carbon<br />

emissions in the Thai forestry sector with emphasis on forest protection and<br />

reforestation for conservation, pp. 100-121. In:<br />

213


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- C. Khemnark, B. Thaiutsa, L. Puangchit and S. Thammincha (eds.), Tropical<br />

Forestry in the 21 st Century Volume 2: Global Changes in the Tropical Contexts.<br />

Proceedings of FORTROP’96 International Conference, 25-28 November 1996,<br />

Bangkok.<br />

- Watson, C. 2009. Forest Carbon Accounting: Overview & Principles. UNDP: CDM<br />

Capacity Development in Eastern and Southern Africa. Available Source:<br />

http://www.undp.org/climatechange/carbon-finance/Docs/Forest%20Carbon%<br />

20Accounting%20-%20Overview%20&%20Principles.pdf, 15 February 2010.<br />

- กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. 2551. ความหลากหลายทางชีวภาพในปาชายเลน อาว<br />

พังงา. สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, กรุงเทพฯ.<br />

- คณะวนศาสตร. 2550. การประเมินมูลคาและการพึ่งพิงทรัพยากรปาชายเลน. รายงานฉบับ<br />

สมบูรณ. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, กรุงเทพฯ.<br />

- คณะวนศาสตร. 2552. แผนแมบทดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. รายงานฉบับ<br />

สมบูรณ. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ.<br />

- คณะวนศาสตร. 2553. การพัฒนาหลักเกณฑการพิจารณาโครงการกลไกการพัฒนาที่<br />

สะอาดภาคปาไมและแนวทางในการจัดทํารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม<br />

เบื้องตนสําหรับโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดภาคปาไม. รายงานฉบับสมบูรณ. องคการ<br />

บริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), กรุงเทพฯ.<br />

- ดาวรุง ทับทิม และ ทนุวงศ แสงเทียน. ม.ป.ป. โครงสรางคารบอนและไนโตรเจนสะสมของ<br />

ปาชายเลน บริเวณอาวเมืองตราด. แหลงที่มา: http://www.dmcr.go.th/pdf/c2.pdf, 7<br />

กรกฎาคม 2550.<br />

- สงา สรรพศรี, สนิท อักษรแกว, จิตต คงแสงไชย, ประจบ สุกสีเหลือง, เพ็ญ ธรรมโชติ,<br />

โสภณ หะวานนท และนริศ ธรรมโชติ. 2530. รายงานการวิจัยการศึกษาสังคมพืชปาชาย<br />

เลนในประเทศไทย โดยวิธีการจัดหมวดหมูและการวิเคราะหศักยภาพ. รายงานฉบับ<br />

สมบูรณ. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ.<br />

- สาพิศ ดิลกสัมพันธ. 2550. การกักเก็บคารบอนของปาไมกับสภาวะโลกรอน. วารสาร<br />

อนุรักษดินและน้ํา 22: 40-49.<br />

214


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและการตอบสนองทางสรีรวิทยาของไมยืนตนในเมือง<br />

Carbon Dioxide Absorption and Physiological Responses of Urban Trees<br />

ระวี เจียรวิภา 1 มนตรี แกวดวง 2 และ วิทยธวัช กิ้มทอง 1<br />

1 ภาควิชาพืชศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ. สงขลา 90112<br />

2 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย จ. ปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

มลภาวะในอากาศจากการจราจรเปนสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่กอใหเกิดสภาวะโลกรอน จึงศึกษาการ<br />

ตอบสนองทางสรีรวิทยาในรอบวันของไมยืนตนในเมือง 3 ชนิด ไดแก พืชในกลุมเสลา ประดูและหมากนวล บริเวณ<br />

เกาะกลางถนนกาญจนวนิชย อ.หาดใหญ จ.สงขลา พบวา บริเวณดังกลาวมีความเขมขนกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ในอากาศตลอดวันเฉลี่ย 387.29 μmol mol -1 จากจํานวนรถยนตและจักรยานยนตในถนนเฉลี่ย 3,761.67 คัน สวน<br />

คาการตอบสนองทางสรีรวิทยาในรอบวัน พบวา พืชในกลุมเสลามีความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซดใน<br />

เซลล (38.67 μmol mol -1 ) ความดันไอน้ํา (16.77 mbar) อัตราการคายน้ํา (5.29 mol m -2 s -1 ) การชักนําการเปด<br />

ปากใบ (0.26 cm s -1 ) และอัตราการสังเคราะหแสง (13.21 μmol m -2 s -1 ) แตกตางทางสถิติกับตนประดูและหมาก<br />

นวล แมประสิทธิภาพในการสังเคราะหแสงของคลอโรฟลลไมมีความแตกตางกันทางสถิติ จึงแสดงใหเห็นวา พืชใน<br />

กลุมเสลาเปนไมยืนตนในเมืองชนิดหนึ่ง ที่ควรใชเปนพืชทางเลือกเพื่อแกปญหาปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด<br />

จากการจราจรในเมือง<br />

คําสําคัญ: สภาวะโลกรอน การตอบสนองทางสรีรวิทยา มลภาวะในอากาศ ไมยืนตนในเมือง<br />

Abstract<br />

Traffic air pollution affects global warming both directly and indirectly. The diurnal variation of<br />

physiological responses caused by traffic conditions were studied in 3 different types of urban trees on a<br />

traffic island, Kanchanawanich Rd., Hat Yai, Songkhla. The types were Crape myrtle (Lagerstroemia<br />

spp.), Padauk (Pterocarpus indicus Willd.) and Manila palm (Veitchia merrillii (Becc.) H.E. Moore). The<br />

number of vehicles on the road (3,761.67) and ambient CO 2 concentration remained stable throughout<br />

most of the day (387.29 μmol mol -1 ). Compared with the treatment, the Crape myrtle (Lagerstroemia spp.)<br />

resulted in a significantly higher intercellular CO 2 concentration (38.67 μmol mol -1 ), leaf-to-air vapor<br />

pressure (16.77 mbar), transpiration rate (5.29 mol m -2 s -1 ), stomatal conductance (0.26 cm s -1 ) and<br />

photosynthesis rate (13.21 mol m -2 s -1 ). However, there was no significant difference in chlorophyll<br />

fluorescence between those treatments. Results suggest that Crape myrtle (Lagerstroemia spp.) is wellsuited<br />

for urban tree planting which needs to be considered alongside improving traffic-related air quality<br />

problems in urban areas.<br />

215


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

มลภาวะในอากาศ (air pollution) จากการจราจรเปนสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่กอใหเกิดสภาวะโลกรอน<br />

(Raes, 2006) เนื่องจากมีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของสภาวะโลกรอนจากการ<br />

เผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนต (Menon et al., 2002) ในเขตชุมชนหรือเมืองขนาดใหญจึงนิยมปลูกไมยืนตน<br />

(urban tree) เพื่อลดผลกระทบดังกลาว (Nowak et al., 1998) เนื่องจากสามารถลดปริมาณกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ โดยเก็บกักไวในสวนตางๆ ของพืช เชน ใบ กิ่ง ลําตน และราก (McPherson<br />

and Simpson, 1999) นอกจากนี้ ยังใชประโยชนเพื่อเปนพืชใหรมเงาชวยลดความรอนของอุณหภูมิอากาศ<br />

(Simpson, 1998; McPherson, 2007) และเพื่อความสวยงามของสภาพภูมิทัศนในเมือง (urban landscape) (Jim,<br />

2004) โดยเฉพาะพืชในกลุมเสลา และประดู ที่ไดรับความนิยมปลูกเพื่อใหรมเงาและมีดอกสวยงาม (ยุธนา, 2536)<br />

ปจจุบัน ในเขตพื้นที่เมืองตางๆ ในตางประเทศไดใหความสําคัญกับการใชตนไมเพื่อชวยลดปญหาสภาวะโลกรอน<br />

และยังสามารถซื้อขายเปนคารบอนเครดิตในตลาดสินคาลวงหนาได (Escobedo et al., 2009) อยางไรก็ตาม ไมยืน<br />

ตนแตละชนิดมีความสามารถในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด และปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมบริเวณที่มี<br />

การจราจรหนาแนนหรือมีมลภาวะอากาศตางกัน (Nowak et al., 2002) ดังนั้น จึงไดศึกษาชนิดของไมยืนตนบริเวณ<br />

เกาะกลางถนนในชวงที่มีการจราจรหนาแนน รวมกับขอมูลการตอบสนองทางสรีรวิทยา ในการประเมินการดูดซับ<br />

กาซคารบอนไดออกไซดของตนพืช<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการสังเคราะหแสงของไมยืนตนบริเวณเกาะกลางถนน และเปนแนวทางในการ<br />

เลือกปลูกไมยืนตนในเมืองที่สามารถชวยลดสาเหตุของสภาวะโลกรอนไดอยางเหมาะสมตอไป<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

เปรียบเทียบการตอบสนองทางสรีรวิทยาในไมยืนตน 3 ชนิด ชนิดละ 3 ตน และสุมตัวอยางใบระยะ<br />

เพสลาดจํานวน 4 ใบ/ตน ในเดือนกรกฎาคม 2552 บริเวณเกาะกลางถนน ถ. กาญจนวนิชย ต. คอหงส อ.<br />

หาดใหญ จ. สงขลา คือ พืชในกลุมเสลา (Lagerstroemia spp.) ประดู (Pterocarpus indicus Willd.) และหมากนวล<br />

(Veitchia merrillii (Becc.) H.E. Moore) (ยุธนา, 2536) (เสนผานศูนยกลางลําตนเฉลี่ย 44.30 46.80 และ 53.15<br />

ซม. ตามลําดับ) ในชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน คือ 8.00-10.00 น. 12.00-14.00 น. และ 16.00-18.00 น.<br />

บันทึกขอมูลความเขมขนกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศ (ambient CO 2 concentration, μmol mol -1 ) และการ<br />

ตอบสนองทางสรีรวิทยา ไดแก ความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซดในเซลล (intercellular CO 2<br />

concentration, μmol mol -1 ) ความดันไอน้ํา (water vapor pressure, mbar) อัตราการคายน้ํา (transpiration rate,<br />

mol m -2 s -1 ) การชักนําการเปดปากใบ (stomatal conductance, cm s -1 ) และอัตราการสังเคราะหแสง<br />

(photosynthesis rate, μmol m -2 s -1 ) ดวย LCi Poratable Photosynthesis (ADC BioScience Ltd.) วัดคา<br />

ประสิทธิภาพในการสังเคราะหแสงของคลอโรฟลล (Chlorophyll fluorescence (F v /F m )) ดวย Portable Plant<br />

Efficiency Analyzer (PEA, Hansatech) และวัดความเขมแสง (photosynthetically active radiation (PAR), μmol<br />

m -2 s -1 ) ดวย light meter (LI-250A, LI-COR) พรอมกับบันทึกจํานวนรถจักรยานยนตและรถยนตในชวงเวลา<br />

ดังกลาว วิเคราะหขอมูลทางสถิติตามแผนการทดลองแบบสุมในบล็อคสมบูรณ (Randomized Complete Block<br />

216


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Design, RCBD) เพื่อเปรียบเทียบการตอบสนองทางสรีรวิทยาของพืชแตละชนิดโดยวิธี Least Significant<br />

Difference ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (LSD 0.05 )<br />

4. ผลการศึกษา<br />

1. สภาพการจราจร<br />

การจราจรในชวงเวลา 8.00-10.00 น. 12.00-14.00 น. และ 16.00-18.00 น. มีจํานวนรถยนตเทากับ<br />

2,738 2,484 และ 2,207 คัน หรือโดยเฉลี่ยเทากับ 2,476.33 คัน สวนรถจักรยานยนตมีจํานวนเทากับ 1,125<br />

1,480 และ 1,251 คัน หรือโดยเฉลี่ยเทากับ 1,285.33 คัน สําหรับชวงเวลาที่มีจํานวนรถมากที่สุด คือ 12.00-14.00<br />

น. เทากับ 3,964 คัน รองลงมา คือ 8.00-10.00 น. และ 16.00-18.00 น. เทากับ 3,864 และ 3,458 คัน หรือโดย<br />

เฉลี่ยเทากับ 3761.67 คัน/วัน โดยทําใหมีปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศบริเวณถนนเทากับ 397.06<br />

385.33 และ 379.41 μmol mol -1 ตามลําดับ หรือโดยเฉลี่ยเทากับ 387.29 μmol mol -1 (รูปที่ 1ก)<br />

2. การตอบสนองทางสรีรวิทยาของไมยืนตน<br />

ความเขมแสงบริเวณเกาะกลางถนนในชวง 8.00-10.00 น. 12.00-14.00 น. และ 16.00-18.00 น. เทากับ<br />

1,169.67 1,383.80 และ 571.33 μmol m -2 s -1 (รูปที่ 1ข) สําหรับการตอบสนองทางสรีรวิทยาของไมยืนตนทั้ง 3<br />

ชนิด พบวา สวนใหญผันแปรตามแนวโนมของปริมาณความเขมแสง ทั้งนี้ มีการตอบสนองทางสรีรวิทยาสูงที่สุดใน<br />

พืชกลุมเสลา ซึ่งมีความแตกตางทางสถิติกับตนประดูและหมากนวลตลอดชวงเวลา 8.00-18.00 น. โดยคาการ<br />

ตอบสนองทางสรีรวิทยาสูงที่สุดในไมยืนตนแตละชนิดมีดังนี้ คือ ความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซดในเซลล<br />

สูงที่สุดเทากับ 38.67 22.67 และ 24.56 μmol mol -1 ความดันไอน้ําสูงที่สุดเทากับ 16.77 9.94 และ 9.03 mbar<br />

อัตราการคายน้ําสูงที่สุดเทากับ 5.29 2.95 และ 3.08 mol m -2 s -1 การชักนําการเปดปากใบสูงที่สุดเทากับ 0.26 0.13<br />

และ 0.14 cm s -1 และอัตราการสังเคราะหแสงสูงที่สุดเทากับ 13.21 8.29 และ 7.72 mol m -2 s -1 ในพืชกลุมเสลา<br />

ประดู และหมากนวล ตามลําดับ (รูปที่ 1ค-ช) ขณะที่ประสิทธิภาพการสังเคราะหแสงของคลอโรฟลล พบวา ไมมี<br />

ความแตกตางทางสถิติ แตมีคาสูงที่สุดในพืชกลุมเสลา คือ 0.84 (รูปที่ 1ซ)<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่วัดไดจากบริเวณเกาะกลางถนน มีคาสูงขึ้นตามจํานวนรถยนต ซึ่ง<br />

สามารถปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดมากกวารถจักรยานยนต ขณะเดียวกัน ไมยืนตนทั้ง 3 ชนิด สามารถดูด<br />

ซับกาซคารบอนไดออกไซดไดแตกตางกันตามระยะเวลาในรอบวัน สอดคลองกับการผันแปรของปริมาณความเขม<br />

แสงที่ไดรับ และคาการตอบสนองทางสรีรวิทยาในรอบวัน เชน การชักนําการเปดปากใบ ความดันไอน้ํา อัตราการ<br />

คายน้ํา และอัตราการสังเคราะหแสง ที่มีคาสูงสุดในชวงเวลา 12.00-14.00 น. ปริมาณความเขมแสงในรอบวันจึงมี<br />

ผลตอการเปดปากใบเพื่อดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและสังเคราะหแสงไดตางกัน (Baroli et al., 2008) สวน<br />

การตอบสนองทางสรีรวิทยาในไมยืนตนแตละชนิด หากพิจารณาจากปริมาณความเขมขนของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในเซลลและอัตราการสังเคราะหแสงในรอบวัน พบวา พืชในกลุมเสลามีประสิทธิภาพในการลด<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดไดดีกวาตนประดูและหมากนวล และมีคาการตอบสนองทางสรีรวิทยาในรอบวันสูง<br />

กวาอยางมีนัยสําคัญ แมวาคาประสิทธิภาพการสังเคราะหแสงของคลอโรฟลลใกลเคียงกันทั้ง 3 ชนิด ทั้งนี้ การที่<br />

พืชในกลุมเสลามีคาการตอบสนองทางสรีรวิทยาดังกลาวสูง และเจริญไดดีในสภาพแสงแดดจัดหรือสภาพแลง (ยุธ<br />

นา, 2536; Andreu et al., 2009) จึงสามารถปรับตัวตอสภาวะแวดลอมตางๆ ที่ไมเหมาะสมในเขตพื้นที่เมือง<br />

(Nowak et al., 2002; Gilman and Watson, 2007) และสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดไดดี อยางไรก็ตาม<br />

การคัดเลือกชนิดพืชสําหรับการปลูกในเขตพื้นที่เมืองนั้น ควรใหความสําคัญกับปจจัยสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม<br />

ตอการเจริญเติบโตดวย เชน สภาวะจํากัดราก สภาวะขาดน้ํา สภาพอุณหภูมิสูง แสงแดดจัด ความเขมของกาซ<br />

217


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คารบอนไดออกไซดสูง และความเขมของฝุนละออง เนื่องจากสภาวะเหลานี้มีผลใหการตอบสนองทางสรีรวิทยา<br />

ตางๆ ลดลง และอาจสงผลใหชะงักการเจริญเติบโตหรืออายุสั้นลงกวาปกติ (Duryea and Malavasi, 2009) รวมถึง<br />

การคํานึงถึงความสะดวกในการดูแลรักษา ความสวยงามของสภาพภูมิทัศนในเมือง (Jim, 2004) และความสามารถ<br />

ในการเก็บกักคารบอน (carbon sequestration) ในสวนตางๆ ของตน (Escobedo et al., 2009) เพื่อเปนการ<br />

คัดเลือกชนิดไมยืนตนในเมือง ที่สามารถลดปญหาผลกระทบตอสภาวะโลกรอนไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ไมยืนตนบริเวณเกาะกลางถนนทั้ง 3 ชนิด สามารถดูดซับปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดไดแตกตางกัน<br />

ซึ่งผันแปรตามปริมาณความเขมแสงในรอบวัน โดยพืชในกลุมเสลาสามารถตอบสนองทางสรีรวิทยาไดดีที่สุด คือ<br />

ความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซดในเซลล ความดันไอน้ํา อัตราการคายน้ํา การชักนําการเปดปากใบ และ<br />

อัตราการสังเคราะหแสง ขณะที่ตนประดูและหมากนวลมีคาการตอบสนองทางสรีรวิทยาใกลเคียงกัน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Andreu, M.G. et al. (2009), FOR 205: Important species in Tampa's urban forest. IFAS<br />

Extension, University of Florida, pp. 1-4.<br />

- Baroli, I. et al. (2008), The contribution of photosynthesis to the red light response of stomatal<br />

conductance. Plant Physiology, 146, pp. 737-747.<br />

- Duryea, M.L. and Malavasi, M.M. (2009), CIR1093: How trees grow in the urban environment.<br />

IFAS Extension, University of Florida, pp. 1-10.<br />

- Escobedo, F. et al. (2009), FOR210: Carbon sequestration and storage by Gainesville's urban<br />

forest. IFAS Extension, University of Florida, pp. 1-3.<br />

- Gilman, E.F. and Watson, D.G. (2007), ENH-501: Lagerstroemia indica: Crapemyrtle. IFAS<br />

Extension, University of Florida, pp. 1-4.<br />

- Jim, C.Y. (2004), Spatial differentiation and landscape-ecological assessment of heritage<br />

trees in urban Guangzhou (China). Landscape and Urban Planning, 69, pp. 51-68.<br />

- McPherson, E.G. (2007), Urban tree planting and greenhouse gas reductions. Arborist News,<br />

pp. 32-34.<br />

- McPherson, E.G. and Simpson, J.R. (1999), Carbon Dioxide Reduction Through Urban<br />

Forestry: Guidelines for Professional and Volunteer Tree Planters. Pacific Southwest Research<br />

Station, Forest Service, U.S. Department of Agriculture, California.<br />

- Menon, S. et al. (2002), Climate effects of black carbon aerosols in China and India. Science,<br />

297, pp. 250-253.<br />

- Nowak, D.J. et al. (1998), Modeling the effects of urban vegetation on air pollution, In<br />

Gryning, S. and Chaumerliac, N. (eds.), Air Pollution Modeling and Its Application XII. Plenum<br />

Press, New York, pp. 399-407.<br />

- Nowak, D.J. et al. (2002), Effects of urban tree management and species selection on<br />

atmospheric carbon dioxide. Journal of Arboric, 28, pp. 113-122.<br />

218


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Raes, F. (2006), Climate change and air pollution - research and policy. Global Change News<br />

Letter, 65, pp. 19-21.<br />

- Simpson, J.R. (1998), Urban forest impacts on regional cooling and heating energy use:<br />

Sacramento County case study. Journal of Arboric, 24, pp. 201-214.<br />

- ยุธนา คําดี. ไมดอกไมประดับเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ,<br />

กรุงเทพฯ: ดานสุทธา การพิมพ, 2536.<br />

219


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การยอยสลายเศษซากใบพืชและการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) จากดินปาเต็งรัง<br />

จังหวัดราชบุรี<br />

Leaf Litter Decomposition and CO 2 Emission from Dry Dipterocarp Forest Soil,<br />

Ratchaburi Province<br />

พงษเทพ หาญพัฒนากิจ 1 , อํานาจ ชิดไธสง 1,2 1,2<br />

, และ มนตรี แสนวังสี<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

การยอยสลายเศษซากพืชมีความสําคัญตอการปลอยกาซ CO 2 จากระบบนิเวศปาสูบรรยากาศ และตอ<br />

การหมุนเวียนของธาตุอาหารในระบบนิเวศของปา โดยธาตุอาหารที่ถูกสรางและสะสมในสวนตางๆ ของพืชผาน<br />

กระบวนการสังเคราะหแสงจะหมุนเวียนเขาสูพื้นปาโดยการยอยสลายจากจุลินทรียในดิน การสลายตัวของซากพืช<br />

จะเร็วหรือชาจะสะทอนถึงปริมาณกาซ CO 2 ที่จะถูกปลอยสูบรรยากาศ ทั้งนี้ อัตราการยอยสลายขึ้นอยูกับสภาพ<br />

ภูมิอากาศและกิจกรรมของจุลินทรียตางๆ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอัตราการยอยสลายในรอบปและ<br />

คาคงที่ของการยอยสลาย (k) ของซากใบพืชของไมยืนตนเดน 4 ชนิด ไดแก มะคา (Afzelia xylocarpa), เต็ง<br />

(Barringtonia acutangula), ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius), พลวง (Dipterocarpus tuberculatns) ในปา<br />

เต็งรัง จังหวัดราชบุรี (13 o 35’ 13.3’’ N, 99 o 30’ 3.9’’ E) โดยวิธีการใชถุงซากพืช (Litter bag method) ทั้งนี้ ไดมี<br />

การศึกษาการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดิน (soil respiration, R b ) โดยทําการวัดดวยวิธี automated<br />

chamber ผลการศึกษาพบวา อัตราการปลอยกาซ CO 2 จากดินปาเต็งรังมีความสัมพันธกับการยอยสลายซากพืช<br />

โดยพบวาชวงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม อัตราการปลอยกาซ CO 2 จากผิวดินคอนขางสูง ซึ่งมีความสัมพันธกับ<br />

อัตราการยอยสลายที่สูงเชนเดียวกัน ทั้งนี้ คาคงการยอยสลายเฉลี่ย (K) ของซากพืชสวนใบของพืชทั้ง 4 ชนิด<br />

เทากับ 0.093 โดยใบมะคามีคาอัตราการยอยสลายของซากพืชสวนใบมากที่สุด และ ใบพลวงมีคาอัตราการยอย<br />

สลายของซากพืชสวนใบต่ําที่สุด สวนปริมาณการรวงหลนทั้งปของซากพืชในสวนใบในปาเต็งรังเทากับ 5.68 ton<br />

ha -1 year -1 ซึ่งคิดเปนประมาณ 85% ของซากพืชที่รวงหลนทั้งหมด จากปริมาณการลวงหลนของใบและคาคงที่การ<br />

ยอยสลาย สามารถประมาณไดวา 82.46% ของปริมาณใบที่ลวงหลนทั้งหมดถูกยอยสลายภายในหนึ่งป หรือ มีการ<br />

ปลอยกาซ CO 2 ออกมาเทากับ 9.45 tonCO 2 ha -1 year -1 ซึ่งเมื่อเทียบกับการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดิน<br />

สูบรรยากาศในปาเต็งรังทั้งหมด (30.68 tonCO 2 ha -1 year -1 ) มีสัดสวนเปน 30%<br />

คําสําคัญ: การยอยสลาย ซากพืชสวนใบ การหายใจผิวดิน ปาเต็งรัง<br />

220


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Litter decomposition is one of the important processes that determine the magnitude of CO 2<br />

release to the atmosphere and the nutrient inputs into the forest ecosystem. Plant nutrients produced<br />

through photosynthesis and accumulated in different plant parts are returned to forest floor through<br />

microbial decomposition in soil. The decomposition rate depend environmental parameters and the<br />

activities of microbes. The objective of this study is to determine the annual decomposition rate and the<br />

decomposition constant (k) of 4 dominant tree species leaf litter; Afzelia xylocarpa, Barringtonia<br />

acutangula, Dipterocarpus obtusifolius, and Dipterocarpus tuberculatns in dry dipterocarp forest (13 o 35’<br />

13.3’’ N, 99 o 30’ 3.9’’ E) by using litter bag method. Moreover, CO 2 emission from soil respiration using<br />

automated chamber method was also studied. The results indicate that CO 2 emission rate is related with<br />

leaf litter decomposition. For example, during May-July the high emission rates were accompanied with<br />

high leaf decomposition rates. The averaged decomposition rate constant (k) of leafs of 4-main species<br />

was 0.093. The leaf of Afzelia xylocarpa shows the highest and leaf of Dipterocarpus tuberculatns the<br />

lowest decomposition rate constant. The annual litter fall of leaf in dry dipterocarp forest is 5.68 ton ha -1<br />

year -1 , equal to 85% of all litters. From the total leaf litter fall and the decomposition rate constant, about<br />

82.46% of leaf is decomposed within one year, resulting in the emission of CO 2 of 9.45 tonCO 2 ha -1 year -1 .<br />

When this is compared with total CO 2 emission from soil respiration at this site (30.68 tonCO 2 ha -1 year -1 ),<br />

leaf decomposition contributes about 30%.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปาไมมีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและปริมาณคารบอนในบรรยากาศ เนื่องจาก<br />

เปนแหลงดูดซับกาซ CO 2 จากบรรยากาศ (carbon sequestration) ผานกระบวนการสังเคราะหแสง<br />

(photosynthesis) เพื่อนํามาเก็บกับไวในรูปของมวลชีวภาพ (biomass) ในขณะเดียวกันปาไมก็ปลอยกาซ CO 2 สู<br />

บรรยากาศโดยกระบวนการหายใจของพืช (autotrophic respiration หรือ plant respiration) ไดแก การหายใจของ<br />

สวนใบ ราก ลําตน และการปลอยกาซ CO 2 จากกิจกรรมของจุลินทรีย (heterotrophic respiration หรือ soil<br />

respiration) ผานกระบวนการยอยซากพืชและสัตวของจุลินทรียในดินและการหายใจของสัตวในดิน ซึ่งขบวนการ<br />

ดังกลาว มีความสําคัญตอการหมุนเวียนของธาตุอาหารในปาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยจะเริ่มจากการที่ใบ กิ่ง<br />

ดอก ผล และสวนอื่น ๆ ของพืชรวงหลนลงสูดิน จากนั้นก็จะคอย ๆ สลายตัวเปนอนุภาคขนาดเล็กโดยขบวนการ<br />

ทางฟสิกส เคมี และชีววิทยา ซึ่งกระบวนการสลายตัวจะเร็วหรือชา ขึ้นอยูกับสภาพสิ่งแวดลอม กิจกรรมของ<br />

จุลินทรีย และปริมาณผลผลิตของซากพืช ตามลักษณะของปาในแตละบริเวณ และเมื่อซากพืชสลายตัวจะปลอยธาตุ<br />

อาหารรูปตาง ๆ ออกไปสะสมอยูตามบริเวณผิวดิน จนกระทั้งมีฝนตกธาตุอาหารดังกลาวจะถูกนําพาไปกับน้ําที่ซึม<br />

ลงไป จากนั้นรากของพืชก็จะดูดเอาธาตุอาหารไปใชเพื่อการเจริญเติบโตตอไป และสวนที่เหลือจะถูกสะสม<br />

กลายเปนอินทรียวัตถุในดิน<br />

ผลผลิตซากพืชและกระบวนการยอยสลายของซากพืชของสิ่งมีชีวิตของปาแตละประเภทมีความแตกตาง<br />

กันขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศ ฤดูกาล ลักษณะภูมิประเทศ และการกระจายของพันธุไม (ภาณุมาศ, 2549)<br />

นอกจากนี้ Singh และ Gupta (1977) ไดสรุปปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายของซากพืช ไดแก สารประกอบเคมีใน<br />

ซากพืช สภาพแวดลอม สิ่งมีชีวิต และจุลินทรียในดิน ซึ่งกระบวนการหมุนเวียนของธาตุอาหารในปาจะสอดคลอง<br />

221


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กับปริมาณการปลอยกาซ CO 2 กลับสูชั้นบรรยากาศจากกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต ในปจจุบันการเพิ่มขึ้น<br />

ของกาซเรือนกระจกโดยเฉพาะอยางยิ่งกาซ CO 2 ทําใหอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้น สงผลใหสภาพภูมิอากาศมี<br />

ความแปรปรวน ฉะนั้นความรูความเขาใจเกี่ยวกับการหมุนเวียนคารบอน และการปฏิสัมพันธกับปจจัยสิ่งแวดลอม<br />

จึงเปนเรื่องสําคัญในการที่จะชวยใหสามารถคาดการณผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอระบบ<br />

นิเวศนปาไม รวมถึงผลกระทบตอเนื่องที่มีตอสังคมมนุษยดวย อยางไรก็ตาม ความรูในเชิงลึกเกี่ยวกับหัวขอ<br />

ดังกลาวของประเทศไทยยังมีคอนขางจํากัด ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษากระบวนการที่<br />

เกี่ยวของกับการหมุนเวียนคารบอนในปาเต็งรัง ตั้งแตการรวงหลนของซากพืช การยอยสลาย และการปลอยกาซ<br />

CO 2 จากการหายใจผิวดิน รวมถึงปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของตอการหมุนเวียนคารบอนในปา<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาความสัมพันธของกระบวนการที่เกี่ยวของกับการหมุนเวียนคารบอนในปาเต็งรัง จาก<br />

ขบวนการยอยสลายซากพืชสวนใบของพรรณไมเดน และ อัตราการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดิน รวมถึง<br />

ปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของตอการหมุนเวียนคารบอนในปา<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การศึกษาการปลอย CO 2 จากการหายใจผิวดิน (soil respiration) ในปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี มีการ<br />

ดําเนินการดวยวิธี automated chamber โดยเริ่มเก็บผลการทดลองตั้งแตเดือน กุมภาพันธ 2551 – มกราคม 2552<br />

และการศึกษากระบวนการยอยสลายซากพืชในสวนของใบของพรรณไมเดน 4 ชนิดในปาเต็งรัง ประกอบดวย<br />

มะคา (Afzelia xylocarpa), เต็ง (Barringtonia acutangula), ยางเหียง (Dipterocarpus Obtusifolius), พลวง<br />

(Dipterocarpus tuberculatns) ไดทําการศึกษาตั้งแตเดือน พฤษภาคม 2552 – เมษายน 2553 เปนระยะเวลารวม<br />

ทั้งสิ้น 1 ป ซึ่งมีขั้นตอนตามรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา<br />

การศึกษาอัตราการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจของรากและจุลินทรียในดินปาเต็งรังไดดําเนิน<br />

การศึกษาบริเวณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี ตั้งอยู ณ ตําบลรางบัว อําเภอ<br />

จอมบึง จังหวัดราชบุรี โดยมีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 118 เมตร มีพื้นที่ปาเต็งรังโดยรวมประมาณ<br />

187.2 เฮกเตอร โดยลักษณะพื้นที่ปาดังกลาว มีอายุมากกวา 50 ป เปนปาเสื่อมโทรม ซึ่งเกิดจากชาวบานบริเวณ<br />

ใกลเคียงไดมีการตัดไมเพื่อใชในการอุปโภค เชน ทําที่อยูอาศัย เผาถาน เปนตน ผูดําเนินการวิจัย ไดทําการสํารวจ<br />

ความสูงและเสนผาศูนยกลางของตนไมเมื่อเดือน พฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 พบวา มีความสูงเฉลี่ย<br />

4.57 เมตร และเสนรอบวงเฉลี่ย 15.97 เซนติเมตร ตามลําดับ ซึ่งชนิดของตนไมที่พบบริเวณพื้นที่ดังกลาว มี<br />

ทั้งหมด 77 ชนิด (มนัญญา และคณะ, 2551) โดยตนไมที่พบสวนใหญไดแก ยางกราด (Dipterocarpus intricatus)<br />

เหียง (D. obtusifolius) พลวง (D. tuberculatus) เต็ง (Shorea obtuse) และ รัง (S. siamensis). ลักษณะของเนื้อ<br />

ดินในปาเต็งรังนี้เปนดินรวนปนทราย (loamy sand) ที่มีความสมบูรณคอนขางต่ํา โดยคา Organic Carbon ในดินที่<br />

ปาเต็งรังนี้อยูที่ประมาณรอยละ 0.5 (Hanpattanakit, 2008) อยางไรก็ตาม ปริมาณคารบอนที่สะสมในปาธรรมชาติ<br />

ชนิดตาง ๆ มีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ลักษณะภูมิอากาศ และลักษณะภูมิประเทศ<br />

จากการประมาณคาเบื้องตน พบวาปาดงดิบมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพมากที่สุด รองลงมาคือปา<br />

เบญจพรรณ ในขณะที่ปาเต็งรังมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพต่ําที่สุด (Tangtham and Tantasirin, 1996)<br />

222


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ทั้งนี้ ไดทําการเก็บขอมูลปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิอากาศ และความชื้นในดิน ณ. แปลงวิจัยฯ ชวงที่ศึกษา ระหวาง<br />

เดือน พฤษภาคม 2552 ถึง เมษายน 2553 มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป 102.47 มิลลิเมตรตอเดือน ความชื้นในดิน<br />

เฉลี่ยรายป 7.33 Volumetric Water Content (%VWC) และอุณหภูมิดินเฉลี่ยรายป 28.50 องศาเซลเซียส โดยชวง<br />

ฤดูฝน (พฤษภาคม ถึง ตุลาคม) ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 194.62 มิลลิเมตร ความชื ้นในดิน 10.47 %VWC และ<br />

อุณหภูมิอากาศ 27.38 องศาเซลเซียส สําหรับชวงฤดูแลง (พฤศจิกายน ถึง เมษายน) ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 10.32<br />

มิลลิเมตร ความชื้นในดิน 4.14 %VWC และอุณหภูมิอากาศ 29.62 องศาเซลเซียส<br />

3.2 การศึกษาการหายใจจากผิวดิน<br />

สําหรับการวัดการปลอยกาซ CO 2 จากการหายในผิวดิน (Soil respiration, R s ) นั้น ทางผูวิจัยใชวิธี<br />

automated chamber เชื่อมตอกับเครื่องวัดระดับ CO 2 (Licor 820, Licor Corporation, Lincoln, Nebraska, USA)<br />

ซึ่งจะวิเคราะหความเขมขนของกาซ CO 2 และจะเก็บขอมูลที่วิเคราะหไดใน datalogger (CR10X, Campbell<br />

Scientific, Logan, Utah, USA) โดย Chamber ทําจาก Acrylic สีดํา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกวาง x ยาว x สูง เปน<br />

30 x 30 x 30 เซนติเมตร มีปริมาตรรวมประมาณ 27 ลิตร โดย Chamber จะตั้งอยูบนฐานที่ทํามาจากสแตนเลส<br />

การเปดและปด chamber ดวยระบบไฮโดรลิคปม โดยผานคําสั่งในการทํางานของระบบมาจากโปรแกรมใน<br />

datalogger CR10x ดังแสดงในรูปที่ 1 ขอมูลการตรวจวัดการหายใจจากผิวดิน คิดเปนคาเฉลี่ยรายชั่วโมง จาก<br />

จํานวน 3 chamber ซึ่งการวัดไดดําเนินการตอเนื่องตลอดเวลาทุกวัน ตลอดระยะเวลาที่ทําการศึกษา นอกจากนี้<br />

ไดมีการเก็บขอมูลทางดานปจจัยสิ่งแวดลอมประกอบดวย เชน อุณหภูมิดินและอากาศ ความชื้นในดิน เปนตน<br />

รูปที่ 1 ระบบการทํางานของการวัดการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจของดินดวยวิธี Automated<br />

chamber<br />

สําหรับการคํานวณหาอัตราการปลอย CO 2 ตอหนวยพื้นที่ คํานวณไดจากอัตราการเปลี่ยนแปลงความ<br />

เขมขนของ CO 2 ใน Chamber ตอหนวยเวลาและพื้นที่ ดังแสดงในสมการ (1) ในการคํานวณจะใชขอมูลที่มีคา<br />

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ มีนัยทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นสูงกวาหรือเทากับ 95%<br />

dci<br />

V<br />

F = (1)<br />

dt A<br />

223


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยที่<br />

F = อัตราการปลดปลอย CO 2 (mg CO 2 m -2 hr -1 )<br />

V = ปริมาตรของ Chamber (m 3 )<br />

A = พื้นที่ฐานของ Chamber (m 2 )<br />

dc i<br />

= อัตราการเพิ่มขึ้นของมวล CO 2 ภายใน chamber ตอหนวยเวลา (mg CO 2 m -3 hr -1 )<br />

dt<br />

3.3 การศึกษาปริมาณเศษซากพืช<br />

ดําเนินการวางแปลงตัวอยางขนาดพื้นที่ 50 x 50 ตารางเมตร จํานวน 1 แปลง และแบงเปนแปลงยอย<br />

ขนาดพื้นที่ 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 25 แปลง จากนั้นสุมเลือกพื้นที่เพื่อวางกระบะรองรับซากพืชโดยกระบะมี<br />

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 x 1 ตารางเมตร ใชตาขายไนลอนสีฟาเย็บติดกับโครงกระบะ มีความลึกประมาณ 30<br />

เซนติเมตร ฐานของโครงกระบะสูงประมาณ 1 เมตร และเริ่มวางกระบะในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 โดยการ<br />

วางกระบะตาขายรองรับซากพืชในแปลงตัวอยางวางเปนระบบจํานวน 13 กระบะ ตามชองที่แรเงาสีเทา ตามรูปที่ 2<br />

จากนั้นทําการเก็บปริมาณซากพืชที่หลนในกระบะในวันที่ 10-12 ของทุก ๆ เดือน ครั้งแรกเริ่มเก็บในวันที่ 12<br />

มิถุนายน พ.ศ. 2552<br />

รูปที่ 2. แสดงตําแหนงการศึกษาการรวงหลนของซากพืช (ตําแหนงชองสี่เหลี่ยมที่แรเงา) และตําแหนงที่<br />

วาง Litter bag เพื่อศึกษาคาคงที่อัตราการยอยสลายเฉลี ่ยสวนใบของพรรณไมเดน 4 ชนิดของปาเต็งรัง<br />

(ระบุตามสัญลักษณใตภาพ)<br />

ซากพืชแตละกระบะ นํามาชั่งและบันทึกน้ําหนักสดหลังจากนั้น นําไปอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 48 ชั่งโมง หรืออบจนกระทั่งน้ําหนักคงที่ และนําตัวอยางที่อบไปชั่งและบันทึกน้ําหนักแหง เพื่อนําไป<br />

คํานวณหาเปอรเซ็นตความชื้นแลวนําคาดังกลาวไปคํานวณหาน้ําหนักแหงของซากพืชแตละสวนของพรรณไมแต<br />

ละชนิด ตามสมการที่ 2 และ 3 ดานลางนี้<br />

224


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(2)<br />

(3)<br />

เมื่อไดน้ําหนักแหงของซากพืชของแตละกระบะแลว นํามารวมกันจะทําใหทราบปริมาณน้ําหนักแหงราย<br />

เดือนและรายป<br />

3.4 การศึกษาการยอยสลายซากพืชสวนใบ<br />

นําซากพืชสวนใบไมแหงที่หลนบนพื้นของไมเดน 4 ชนิดของปาเต็งรัง ไดแก มะคา เต็ง พลวงและยาง<br />

เหียง นํามาบรรจุในถุงซากพืช (litter bag) ที่ทําจากตาขายไนลอนสีฟาที่ชองตาขายขนาด 1 x 1 มิลลิเมตร ขนาด<br />

ถุง 30 x 30 เซนติเมตร และเย็บปากดวยเชือกไนลอน โดยแตละถุงซากพืชจะมีใบพืชที่มีน้ําหนัก ประมาณ 100<br />

กรัมตอถุงและแตละชนิดมีจํานวน 41 ถุง ประกอบดวย 36 ถุงเพื่อศึกษาการยอยสลายและ 5 ถุงเพื่อศึกษา<br />

เปอรเซ็นตความชื้นเริ่มตน เพื่อหาน้ําหนักแหงเริ่มตนของใบของตนไมแตละชนิด จากนั้นนําถุงซากพืชวางบน<br />

พื้นดิน โดยซากพืชแตละชนิดจะถูกแยกออกเปน 3 จุด ๆ ละ 12 ถุง ตามที่แสดงไวในภาพที ่ 2 ซึ่งไดดําเนินการ<br />

ในชวงตนเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 โดยจะเก็บถุงซากพืชทุกเดือน เดือนละ 1 ถุงตอจุด โดยเริ่มเก็บเดือนแรกใน<br />

เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 และสิ้นสุดในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งการเก็บซากพืชในแตละเดือน จะทําการ<br />

คัดแยกใบที่เหลืออยูในถุงซากพืช ทําความสะอาดดินและสิ่งเจอปนอื่น ๆ ใหเหลือแตซากพืช และนําเขาตูอบที่<br />

อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 48 ชั่วโมง หรือจนน้ําหนักคงที่ ชั่งน้ําหนักแหงของใบที่เหลืออยูในแตละถุง<br />

เพื่อนําไปคํานวณอัตราการยอยสลายของใบแตละชนิด ตามสมการคํานวณคาคงที่ของการยอยสลาย (k) จาก<br />

สมการ Exponential decay model (Olsen, 1963) ตามสมการที่ 4<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ln Y t = ln Y o – kt (4)<br />

เมื่อ Y t : น้ําหนักแหงของซากพืชที่เหลือจากการยอยสลายในชวงเวลา t (กรัม)<br />

Y o : น้ําหนักแหงของซากพืชชวงเริ่มตน (กรัม)<br />

k : คาคงที่อัตราการยอยสลายเอ็กโพเนนเชี่ยล<br />

t : ชวงเวลาที่แตกตางระหวาง X t และ X o<br />

4.1 ผลผลิตซากพืชและอัตราการยอยสลายเฉลี่ยของซากพืชสวนใบ<br />

ปริมาณซากพืชที่รวงหลนในรอบป ณ ปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี ในครั้งนี้มีคาเทากับ 6.42 ตันตอเฮกตาร<br />

ตอป หรือเทากับ 3.21 ตันคารบอนตอเฮกตารตอป ซึ่งประกอบดวย ซากใบ ซากกิ่ง และพืชสวนอื่น ๆ (ผล เปลือก<br />

ไม และดอก) มีคาเทากับ 5.68, 0.89, และ 0.12 ตันตอเฮกตารตอป ตามลําดับ และเมื่อเปรียบเทียบกับปาบริเวณ<br />

อื่นในประเทศไทย พบวามีปริมาณนอยกวา โดยปาเบญจพรรณ ณ สถานีวิจัยลุมน้ําแมกลอง จังหวัดกาญจนบุรี มี<br />

225


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คาเทากับ 8.54 ตันตอเฮกตารตอป (ภาณุมาศ, 2549) ปาดิบแลงที่สแกราช 2 สังคม ไดแก สังคมเคี่ยมคะนอง<br />

(Shorea henryana) และสังคมตะเคียงหิน (Hopea ferrea) ที่มีปริมาณซากพืชเฉลี่ย 6.8 และ 6.4 ตันตอเฮกตารตอ<br />

ป (ศิริวัฒน, 2519) ปาพรุโตะแดง ที่มีปริมาณซากพืชเฉลี่ย 6.7 ตันตอเฮกตารตอป (สรายุทธ และ ธนิตย, 2536)<br />

ปาผสมผลัดใบและสักซึ่งไมมีไผ จังหวัดลําปาง มีปริมาณซากพืชเทากับ 7.9 ตันตอเฮกตารตอป (บุญวงศและคณะ,<br />

2512) และการศึกษาปริมาณซากพืช ณ ปาเบญจพรรณ ปาดงดิบแลง และปาดิบเขา ณ. จังหวัดเพชรบุรี มีคา<br />

เทากับ 7.54, 9.94 และ 6.46 ตันตอเฮกตารตอป ตามลําดับ (สนธยา, 2547) ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้<br />

เปนปาเต็งรังที่เสื่อมโทรม ซึ่งเกิดจากการใชประโยชนของชาวบานในพื้นที่ สงผลใหอายุของตนไมที่เจริญเติบโต<br />

ขึ้นมาใหมมีอายุอยูที่ประมาณ 5-8 ป ทําใหขนาดความสูงและลําตนของตนไมมีคาไมสูงนัก เมื่อเทียบกับตนไมของ<br />

ปาชนิดอื่นที่ไดรับการอนุรักษในประเทศไทย ซึ่งปริมาณซากพืชที่รวงหลนจะสัมพันธกับอายุและชนิดของพรรณไม<br />

(Thaiusa et al., 1978) ทั้งนี้รูปแบบการรวงหลนของซากพืชในรอบป และ ซากพืชมีการรวงหลนมากที่สุดในชวง<br />

ฤดูแลง ประมาณเดือนธันวาคม - มีนาคม และในเดือนมกราคม มีการรวงหลนของซากพืชมากที่สุด เทากับ 2.36<br />

ตันตอเฮกตารหรือประมาณ 45% ของซากพืชที่รวงหลนตลอดทั้งป ซึ่งเปนลักษณะปกติที่สามารถพบไดในปาเขต<br />

รอน (สรายุทธ และ ธนิตย, 2536) ซึ่งเกิดจากภาวะขาดน้ํา และพันธุไมจึงผลัดใบในชวงฤดูแลงเพื่อลดการคายน้ํา<br />

(อุทิศ, 2542)<br />

สําหรับการศึกษาการยอยสลายซากพืชสวนใบของพรรณไมเดน 4 ชนิด พบวา เปอรเซ็นตการยอย<br />

สลายเศษซากพืชสวนใบมีคาเทากับ 76.46-88.39 % แสดงในตารางที่ 1 โดยซากพืชสวนใบของตนมะคามีคาการ<br />

ยอยสลายสูงสุดและตนพลวงมีคาต่ําสุด สวนอัตราการยอยสลายเฉลี่ยของซากพืชสวนใบ (k) พบวา ตนมะคามี<br />

อัตราการยอยสลายตอปมากที่สุด (0.132) และตนพลวงมีอัตราการยอยสลายตอปต่ําที่สุด (0.048) คาคงที่อัตราการ<br />

ยอยสลายซากพืชสวนใบเฉลี่ยของพืชทั้ง 4 ชนิดเทากับ 0.093 ซึ่งสูงกวาอัตราการยอยสลายซากพืชเฉลี่ยของปา<br />

ดงดิบเขา จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีคาอยูระหวาง 0.038-0.046 (สนธยา, 2547) ทั้งนี้ การยอยสลายของซากพืชใน<br />

ระบบนิเวศปาไมขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ที่สําคัญ ไดแก สภาพภูมิอากาศ สารประกอบเคมีในซากพืช และสิ่งมีชีวิต<br />

ในดิน (Gonzalea and Seastedt, 2000) แตสําหรับอัตราการยอยสลายของพรรณไมตางชนิดในระบบนิเวศปา<br />

บริเวณเดียวกัน ปจจัยที่สําคัญ ไดแก อัตราสวนระหวางคารบอนและไนโตรเจน (C:N ratio) องคประกอบของ<br />

สารอาหารในซากพืช (nutrient content) และลักษณะทางสรีวิทยาของซากพืช (anatomy of litter) (Remezov,<br />

1964) ทั้งนี้ ภาณุมาศและสําเริง (2549) ไดทําการศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราการยอยสลายซากพืชสวนใบ<br />

และคา C:N ratio ของไมยื่นตนเดน 5 ชนิด ไดแก ประดูปา (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa)<br />

ตะครอ (Schleichera oleosa) โมกหลวง (Holarrhena pubescens) เลียงมัน (Berrya albociliata) และไมไผเดน 2<br />

ชนิด ไดแก ไผบงดํา (Bambusa tulda) และไผไร (Gigantochloa albociliata) ในปาเบญจพรรณ สถานีวิจัยลุมน้ํา<br />

แมกลอง จังหวัดกาญจนบุรี โดยวิธีการใชถุงซากพืช (litter bag method) จากการศึกษาพบวาอัตราสวนระหวาง<br />

ปริมาณคารบอนและไนโตรเจนของซากพืชสวนใบ มีคาระหวาง 14.38-32.60 โดยพบวาตะครอมีคา C:N สูงที่สุด<br />

แตมีคาอัตราการยอยสลายเฉลี่ยนอยที่สุด ซึ่ง Taylor et al. (1989) กลาววา อัตราสวนระหวาง C:N สามารถใช<br />

บงชี้อัตราการยอยสลาย โดยอัตราสวนมากจะมีอัตราการยอยสลายมาก แตอยางไรก็ตาม อัตราการยอยสลายยัง<br />

ขึ ้นอยูกับปจจัยอื่น ๆ เชน ปริมาณลิกนิน (lignin) ซึ่งสามารถเปนตัวบงชี้อัตราการยอยสลายของซากพืชภายในป<br />

แรก (Prescott et al., 2004) ดังนั้น จึงจําเปนตองทําการศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราการยอยสลายและปจจัย<br />

ทางกายภาพ ชีวภาพและฟสิกส ตอไป<br />

226


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 แสดงเปอรเซ็นตของน้ําหนักที่ถูกยอยสลายและคาคงที่การยอยสลายเฉลี่ย (k) ของซากพืชใน<br />

สวนใบ ของพรรณไมเดน 4 ชนิด ของปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี<br />

Species Scientific name Mass loss (%) k<br />

(Mean ±SD)<br />

มะคา Afzelia xylocarpa 88.39 ±2.11 0.132<br />

เต็ง Barringtonia acutangula 86.39 ±4.74 0.096<br />

ยางเหียง Dipterocarpus Obtusifolius 78.60 ±8.63 0.096<br />

พลวง Dipterocarpus tuberculatns 76.46 ±0.92 0.048<br />

คาเฉลี่ย 82.46 ±5.82 0.093<br />

การยอยสลายเศษซากพืชในชวงเดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ประมาณ 20-50<br />

เปอรเซ็นต โดยเฉพาะอยางยิ่งจะมีการยอยสลายอยางรวดเร็วสําหรับซากใบตนเต็งและตนมะคา (รูปที่ 3) ทั้งนี้ จะ<br />

เห็นไดวาการยอยสลายจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในชวงเริ่มตน ระหวางเดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม ซึ่งอยูในชวงฤดู<br />

ฝน และในชวงฤดูแลง ระหวางเดือนพฤศจิกายน ถึง เมษายน เปอรเซ็นตการยอยสลายจะต่ํา ซึ่งใบตนมะคามีการ<br />

ยอยสลายหมดตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ทั้งนี้อาจเปนเพราะปจจัยที่สําคัญ 2 ประการ ประการแรก คือ องคประกอบ<br />

ของเศษซากพืชและประการที่สองคือสภาพภูมิอากาศมีความเหมาะสมกับการยอยสลาย และเมื่อหาความสัมพันธ<br />

ระหวางอัตราการยอยสลายและความชื้นในดิน พบวา ซากใบตนมะคาและเต็ง มีความสัมพันธแบบเอ็กโปแนนเชียล<br />

โดยมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.009, R 2 = 0.91และ p< 0.04, R 2 = 0.70 ตามลําดับ) สําหรับ<br />

ซากใบตนพลวง มีความสัมพันธแบบเสนตรง โดยมีความสําคัญอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.04, R 2 = 0.60)<br />

สําหรับตนยางเหียงไมมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางการยอยสลายกับความชื้นในดิน (รูปที่ 4)<br />

แตมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญกับอุณหภูมิดินแบบเสนตรง (p< 0.02, R 2 = 0.88) อยางไรก็ตาม การยอยสลาย<br />

ของซากใบตนมะคา เต็งและพลวง ไมมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางการยอยสลายกับอุณหภูมิ<br />

Mass lose (%)<br />

100.00<br />

90.00<br />

80.00<br />

70.00<br />

60.00<br />

50.00<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

-<br />

ฤดูฝน<br />

ฤดูแลง<br />

มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม ธันวาคม กุมภาพันธ เดือน<br />

พลวง ยางเหี่ยง มะคา เต็ง<br />

รูปที่ 3 กราฟแสดงเปอรเซ็นตการยอยสลายของเศษซากพืชสวนใบของพรรณไมเดน 4 ชนิดของปาเต็งรัง<br />

ระหวางเดือน มิถุนายน 2552 – เมษายน 2553<br />

227


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Mass loss (%)<br />

50<br />

45<br />

40<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

y = 2.209e 0.1437x<br />

R 2 = 0.9103<br />

y = 0.7215x - 0.8189<br />

R 2 = 0.5959<br />

y = 1.2268e 0.1185x<br />

R 2 = 0.6998<br />

6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22<br />

Soil moisture (% VWC)<br />

มะคา เต็ง พลวง Expon. (เต็ง) Expon. (มะคา) Linear (พลวง)<br />

รูปที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของความชื้นในดิน ที่ระดับความลึก 10 ซ.ม. และ %<br />

น้ําหนักที่ถูกยอยสลายซากพืชสวนใบทุก ๆ เดือน<br />

4.2 ความสัมพันธระหวางการยอยสลายซากพืชและการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจของดิน<br />

จากขอมูลอัตราการปลอยกาซ CO 2 จากดินเฉลี่ยในแตละเดือน ตั้งแตเดือน กุมภาพันธ 2551 ถึงเดือน<br />

มกราคม 2552 ของดินปาเต็งรัง แสดงในรูปที่ 5 พบวาอัตราปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดินในปาเต็งรัง ใน<br />

ระยะเวลา 1 ป มีคาเทากับ 8.36 tC ha -1 year -1 หรือ 30.68 tonCO 2 ha -1 year -1 โดยการปลอยกาซ CO 2 จากการ<br />

หายใจผิวดินจะเกิดขึ้นมากในชวงฤดูฝน ระหวางเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม เนื่องจากมีปริมาณซากพืชที่รวงหลน<br />

บนพื้นจํานวนมากและสะสมบนผิวดินในชวงฤดูแลง และเมื่อมีความชื้นมากขึ้นในชวงฤดูฝน สงผลใหกิจกรรมตาง<br />

ๆ ของสิ่งมีชีวิตในดินและพืชเริ่มตนขึ้นอีกครั้ง ซึ ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Borken et al. (1999) ที่รายงานวา<br />

การเพิ่มขึ้นของความชื้นในดินสงผลใหอัตราการปลอยกาซ CO 2 จากดินเพิ่มขึ้นและความชื้นในดินยังชวยให<br />

จุลินทรียในดินที่อยูในสภาพพักตัวเนื่องจากอยูในสภาพดินที่แหงสามารถทํากิจกรรมของจุลินทรียไดเพิ่มขึ้น ซึ่งได<br />

สอดคลองกับอัตราการยอยสลายของซากพืชที่เกิดขึ้นมากในชวงเวลาเดียวกัน (รูปที่ 3) การปลอยกาซ CO 2 จาก<br />

การยอยสลายเฉลี่ยของซากพืชสวนใบในปาเต็งรัง คํานวณจากปริมาณการรวงหลนของซากใบพืชและคาคงที่การ<br />

ยอยสลาย มีคาเทากับ 9.45 tonCO 2 ha -1 year -1 ซึ่งเมื่อเทียบกับการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดินสู<br />

บรรยากาศที่มีคาเทากับ 30.68 tonCO 2 ha -1 -1<br />

year พบวามีคาประมาณรอยละ 30 ของการปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดจากการหายใจผิวดินทั้งหมด สวนที่เหลืออีก 70% อาจมาจากการปลอยกาซ CO 2 จากการ<br />

หายใจของผิวดินในสวนอื่น ไดแก การหายใจของราก และสัตวขนาดเล็กในดิน หรือการยอยสลายซากพืชในสวน<br />

อื่น เชน กิ่ง ผล ลําตน เปนตน<br />

228


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

CO 2<br />

flux (mgCO 2<br />

m -2 h -1 )<br />

700<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

February<br />

March<br />

April<br />

May<br />

June<br />

July<br />

August<br />

September<br />

October<br />

November<br />

December<br />

January<br />

Months<br />

Soil respiration Root respiration Soil temperature 5 cm<br />

Chamber temperature<br />

Soil moisture<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

Temperature ( o C) and soil<br />

moisture (%WFPS)<br />

รูปที่ 5 คาเฉลี่ยในแตละเดือนของ CO 2 flux จากการหายใจของผิวดิน อุณหภูมิอากาศและดิน ความชื้นในดิน<br />

(% water-filled pore space) ในปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี ตั้งแตเดือน กุมภาพันธ 2551 ถึง เดือน มกราคม 2552<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การยอยสลายซากพืชในปามีความสําคัญตอการหมุนเวียนคารบอนและการเพิ่มธาตุอาหารลงในดิน ดังนั้น<br />

การศึกษาการยอยสลายซากพืชและการปลอยกาซ CO 2 จากการหายใจผิวดิน จะทําใหเราทราบถึงการหมุนเวียน<br />

ของคารบอนในระบบนิเวศปาไม ซึ่งอัตราการยอยสลายเฉลี่ย (k) ของซากพืชสวนใบในปาเต็งรังจังหวัดราชบุรีมีคา<br />

ระหวาง 0.05 – 0.13 และ คาคงที่อัตราการยอยสลายซากพืชสวนใบเฉลี่ยของปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี มีคาเทากับ<br />

0.093 โดยการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการหายใจผิวดินสูบรรยากาศในปาเต็งรัง จังหวัดราชบุรี มีคา<br />

เทากับ 30.68 tonCO 2 ha -1 year -1 ซึ่งการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการยอยสลายซากพืชในสวนของใบมี<br />

คาเทากับ 9.45 tonCO 2 ha -1 year -1 หรือประมาณรอยละ 30 ของการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการหายใจ<br />

ผิวดิน ทั้งนี้ อัตราการยอยสลายซากพืชสวนใบและการหายใจผิวดิน มีความสัมพันธกับปจจัยสิ่งแวดลอม ทั้ง<br />

อุณหภูมิและความชื้นในดิน<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ ไดรับการสนับสนุนและความเอื้อเฟอสถานที่ทําการทดลองจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี โครงการ Earth System Science Research Development Center-KMUTT<br />

และไดรับทุนสนับสนุนจากบัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม รวมถึงสํานักงานกองทุนวิจัย<br />

มหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายใตโครงการความแปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศ (Climate Change) ประจําป 2550 และ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สํานักงานกองทุน<br />

สนับสนุนการวิจัย รุนที่ 12<br />

229


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Borken , W. et al. (1999), A climate change scenario for carbon dioxide and dissolved organic<br />

carbon fluxes from a temperate forest soil. Soil Science Society of America Journal, 63, pp. 1848-<br />

1855.<br />

- Gonzalez, G. and Seastedt, T. R. (2000), Soil fauna and plant litter decomposition in tropical and<br />

subalpine forests. Ecology, 82, pp. 955-964.<br />

- Hanpattanakit, P. (2008), In situ measurement of CO 2 emission from root and soil respiration in<br />

dry diptercarp forest, M. Sc. Dissertation, The Joint Graduate School of Energy and Environment,<br />

King’s Mongkut University of Technology Thonburi, Bangkok, Thailand. 66 pp.<br />

- Hanpattanakit, P. et al. (2009), Temperature and moisture controls of soil respiration in a dry<br />

dipterocarp forest, Ratchaburi province. Kasetsart Journal, 43, pp. 650-661.<br />

- Olsen, J.S. (1963), Energy storage and balance of producers and decomposers in ecological<br />

systems. Ecology, 44, pp. 1-36.<br />

- Prexcott, C.E. et al. (2004), Influence of initial chemistry on decomposition of foliar litter in<br />

contrasting forest type in British Columbia. Canadian Journal of Forest Research, 34, 1714-1729.<br />

- Remezov, N.P. (1964), Decomposition of forest litter and the cycle of elements in an oak forest.<br />

Soviet Soil Science, 7, pp. 703-711.<br />

- Singh, J.S., and Gupta, S. R. (1977), Plant decomposition and soil respiration in terrestrial<br />

ecosystem. The Botanical Review, 43, pp. 449-528.<br />

- Tangtham, N. and Tantasirin, C. An assessment of policies to reduce carbon emissions in the<br />

Thai forestry sector with emphasis on forest protection and reforestation for conservation”,<br />

Proceedings of FORTROP’96 International Conference, 25-28 November 1996, Bangkok,<br />

Thailand.<br />

- Taylor, B. et al. (1989), Nitrogen and lignin content as predictors of litter decay rates : A<br />

microcosm test. Ecology.<br />

- Thaiusa, B. et al. (1978), Production and chemical composition of forest litter in Thailand.<br />

Forestry Research Bulletin: Faculty of forestry, Kasetsart University, 52, pp. 97-104.<br />

- บุญวงศ ไทยอุตสาห และคนอื่น ๆ. ผลผลิตและองคประกอบทางเคมีของซากพืชในปาของประเทศไทย.<br />

รายงานวนศาสตรวิจัย เลมที่ 52. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ, 2512.<br />

- ภาณุมาศ ลาดปาละ. ผลผลิตซากพืชของปาเบญจพรรณ สถานีวิจัยลุมน้ําแมกลอง, รวมผลงานวิจัย<br />

การศึกษาวัฎจักรคารบอนในปาดิบแลงสะแกราชและปาเบญจพรรณลุมน้ําแมกลอง, กรุงเทพมหานคร:<br />

สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, 2549.<br />

- ภาณุมาศ ลาดปาละ และ สําเริง ปานอุทัย. การยอยสลายของซากพืชสวนใบในปาเบญจพรรณ สถานีวิจัย<br />

ลุมน้ําแมกลอง จังหวัดกาญจบุรี, รวมผลงานวิจัยการศึกษาวัฎจักรคารบอนในปาดิบแลงสะแกราชและปา<br />

เบญจพรรณลุมน้ําแมกลอง, กรุงเทพมหานคร: สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยาน<br />

แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, 2549.<br />

- มนัญญา เพียรเจริญ และคนอื่น ๆ. คูมือพรรณไมปาเต็งรัง, พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร, 2551.<br />

230


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ศิริวัฒน เผาวงศา. (2519), การรวงหลนและปริมาณธาตุอาหารของซากพืชในปาเต็งรัง. วิทยานิพนธ<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- สนทยา จําปานิล. (2547), การเปรียบเทียบผลผลิตและการยอยสลายของเศษซากพืช เพื่อประเมินการ<br />

สะสมคารบอนในระบบนิเวศปาในเขตอุทยานแหงชาติแกงกระจาน ประเทศไทย. วิทยานิพนธหลักสูตร<br />

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.<br />

- สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน และธนิตย หนูยิ้ม. (2536), ผลผลิตซากพืช และปริมาณธาตุอาหารในซากพืช<br />

ของปาพรุโตะแดง จังหวัดนราธิวาส. วารสารวนศาสตร, 15, pp. 37-47.<br />

- อุทิศ กุฏอินทร. (2542), นิเวศวิทยาปาไม พื้นฐานทางดานปาไม. คณะวนศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

231


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดในปาเต็งรังภายใตสภาพ<br />

อากาศเย็น-แลง และรอน-ชื้น<br />

Characteristics of CO 2 Exchange During Cool-Dry and Hot-Wet Periods in a Dry<br />

Dipterocarp Forest<br />

มนตรี แสนวังสี<br />

1,2 , พงษเทพ หาญพัฒนากิจ 2 และ อํานาจ ชิดไธสง 1,2<br />

1 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) เปนกาซเรือนกระจกซึ่งทําใหเกิดภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศ ระดับความเขมขนของ CO 2 ในบรรยากาศจะถูกควบคุมโดยกิจกรรมและกลไกตางๆ บนผิวโลก<br />

ซึ่งปาไมเปนระบบนิเวศหนึ่งที่สําคัญในการควบคุมความเขมขนของ CO 2 ดังกลาว กลไกการควบคุมการปลอยและ<br />

กักเก็บ CO 2 ของปาทําไดโดยผานกระบวนการหลักสองกระบวนการคือ การสังเคราะหแสงและการหายใจ อยางไร<br />

ก็ตามเมื่อสภาพแวดลอมเปลี่ยนไป ศักยภาพในการควบคุมสมดุลดังกลาวก็เปลี่ยนไป และสงผลใหบทบาทที่เปน<br />

แหลงกักเก็บหรือแหลงปลดปลอยคารบอนในระบบนิเวศปานั้นๆ เปลี่ยนไปดวยเชนกัน<br />

ระบบนิเวศปาเต็งรัง (Dry dipterocarp forest) เปนระบบนิเวศปาไมที่มีพื้นครอบคลุมมากเปนลําดับที่สาม<br />

ของประเทศ และเปนลําดับที่ 1 หรือประมาณ 80% ของพื้นที่ปาทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ<br />

ไทย ถือเปนระบบนิเวศปาไมที่มีความสําคัญตอการกักเก็บคารบอน ดังนั้นการทําความเขาใจในบทบาทของระบบ<br />

นิเวศปาเต็งรังในฐานะเปนแหลงกักเก็บคารบอนจึงมีความสําคัญ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคหลักเพื่อศึกษาอิทธิพล<br />

ของสภาพอากาศตอการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในระบบนิเวศปาเต็งรังดังกลาว โดยการศึกษาไดประยุกตใชวิธี<br />

Eddy covariance ในพื้นที่ปาเต็งรังในสถานีวิจัยการแลกเปลี่ยนกาซและสมดุลพลังงานในระบบนิเวศปาเต็งรัง<br />

ราชบุรี (Dry Dipterocarp Forest Flux Ratchaburi, DDFR) ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ผล<br />

การศึกษาพบวาผลผลิตคารบอนสุทธิของระบบนิเวศ (Net Ecosystem Production, NEP) ใน DDFR มีคาต่ํา<br />

(คารบอนออกไปจากระบบสุทธิ) ในชวงสภาพอากาศที่คอนขางเย็นและแลง คือเริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2551<br />

ถึงมีนาคม 2552 และคา NEP จะมีคาเพิ่มขึ้น (คารบอนเขามาในระบบสุทธิ) หลังจากการเริ่มตนของชวงฤดูฝน<br />

ในชวงที่อากาศคอนขางเย็นและแลงระบบนิเวศปาเต็งรังนี้มีการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 คอนขางต่ํา (-0.40 μmol m -2<br />

s -1 เฉลี่ยระหวางเดือนธันวาคม 2551 ถึงมีนาคม 2552) เนื่องจากปามีการผลัดใบ มีคาความชื้นในดินคอนขางต่ํา<br />

(นอยกวา 5% VWC) ปริมาณของแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงต่ําและระยะเวลากลางวันที่สั้น ในขณะที่ในฤดู<br />

ฝนที่สภาพอากาศรอน-ชื้น อัตราการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 จะคอนขางสูง (-1.75 μmol m -2 s -1 เฉลี่ยระหวางเดือน<br />

ตุลาคม 2551 และเดือนเมษายนถึงตุลาคม 2552) ประกอบกับไดรับแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงไดนานกวา<br />

และอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการสังเคราะหแสงมากกวาฤดูหนาว เมื่อเปรียบเทียบอัตราการแลกเปลี่ยน CO 2 ใน<br />

เดือนตุลาคมป 2551 และป 2552 พบวาคา NEP มีความแตกตางกันดวย (-4.42 μmol m -2 s -1 และ -2.40 μmol m -<br />

232


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2 s -1 ตามลําดับ) อันเนื่องมาปริมาณฝนและความชื้นในดินตางกัน สวนคา NEP เฉลี่ยทั้งป (ตุลาคม 2551 ถึง<br />

ตุลาคม 2552) เทากับ -1.15 μmol m -2 s -1 หรือคิดเปน 4.3 tC ha -1 yr -1 ซึ่งแสดงถึงการดูดซับสุทธิหรือปาเต็งรังนี้<br />

เปน Net carbon sink<br />

คําสําคัญ: การแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 Eddy covariance ปาเต็งรัง<br />

Abstract<br />

CO 2 is the most important greenhouse gas (GHG) contributing to global warming and climate<br />

change. The forest ecosystem is one of the major regulators of atmospheric CO 2 concentrations. Such<br />

regulation is mediated by two main processes; photosynthesis and respiration. However, under the<br />

changing environmental conditions, the balance between photosynthesis and respiration will likely shift.<br />

As a consequence, this will affect the source and sink capacity of the forest ecosystem.<br />

On the area basis, dry dipterocarp forest ranks the 3 rd of total forest area in Thailand and covers<br />

about 80% of the forest area in Northeast region. It is therefore the important ecosystem that stores<br />

significant amount of carbon. Understanding of CO 2 exchange in the dry dipterocarp forests ecosystem<br />

under different weather/climate conditions can also help identify the magnitude of its sink and source in<br />

response to future climate change. This study aims mainly to measure CO 2 exchange between<br />

atmosphere and biosphere (dry dipterocrap forest ecosystem) under different and contrasting weather<br />

conditions; cool-dry and hot-wet conditions by using eddy covariance method. The study site is within the<br />

Dry Dipterocarp Forest Flux Ratchaburi (DDFR), King Mongkut’s University of Technology Thonburi,<br />

Ratchaburi Campus (KMUTT-Ratchaburi Campus), Rang Bour Subdistric, Chom Bueng Distric,<br />

Ratchaburi Province, western of Thailand. It was found that the monthly net ecosystem production (NEP)<br />

was low during the cool-dry period (-0.40 μmol m -2 s -1 averaged from November in 2008 until March in<br />

2009), because of leaf shedding and low soil water content (< 5% VWC). During such period<br />

photosynthetically active radiation (PAR) was also low, accompanying with a short daytime. In the other<br />

hand, NEP under hot-wet conditions was increased after rainy season started (-1.75 μmol m -2 s -1<br />

averaged during October 2008 – April 2009), because of higher PAR and longer daytime. However,<br />

when comparing the patterns of CO 2 exchange in the same month but different year (e.g. between<br />

October 2008 and October 2009), the NEP was also different (-4.42 μmol m -2 s -1 for October 2008 versus<br />

-2.40 μmol m -2 s -1 for October 2009). This can be explained by the difference in rainfall amount. The<br />

annual NEP in DDFR (October 2008 - October 2009) shows the net carbon sink of -1.15 μmol m -2 s -1 (4.3<br />

tC ha -1 yr -1 ).<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในปจจุบัน กาซเรือนกระจก (greenhouse gas) ในบรรยากาศมีปริมาณเพิ่มขึ้นมากจากยุคอุตสาหกรรม<br />

การดูดซับพลังงานความรอนมีมากขึ้น มีผลทําใหอุณหภูมิของบรรยากาศโลกสูงขึ้น เกิดปรากฎการณที่เรียกวาการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) หรือภาวะโลกรอน (global warming) กาซเรือนกระจกที่สําคัญ<br />

233


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) มีเทน (CH 4 ) ไนตรัสออกไซด (N 2 O) และกลุมสารฮาโลคารบอนตางๆ<br />

แหลงที่มาของกาซเรือนกระจกดังกลาวมาจากทั้งธรรมชาติ และกิจกรรมตางๆ ของมนุษย เชน การเผาไหม<br />

เชื้อเพลิงจากถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ และกระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม รวมทั้งการตัดไมทําลายปา<br />

กระบวนการตางๆ เหลานี้ลวนก็ใหเกิดกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศโลก เพิ่มขึ้นทั้งสิ้นโดยเฉพาะกาซ CO 2 ที่<br />

ปจจุบันมีมากกวา 300 ppm (IPCC, 2007) อยางไรก็ตาม ยังมีกลไกตามธรรมชาติกลไกหนึ่งที่ยังชวยชะลอการ<br />

สะสมของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศไมใหสูงมากจนเกินไป คือกลไกการดูดกลับ CO 2 ของระบบนิเวศปาไม<br />

ซึ่งเปนกลไกที่พยายามรักษาสมดุลกาซ CO 2 ระหวางชั้นบรรยากาศโลก (atmosphere) กับระบบชีมวล<br />

(biosphere) โดยผานกระบวนการหลัก 2 กระบวนการ คือ กระบวนการสังเคราะหแสง (photosynthesis) และ<br />

กระบวนการหายใจ (respiration) ของพืช ซึ่งกระบวนการสังเคราะหแสงนี้เองจะมีการสะสมคารบอนใหอยูในรูปของ<br />

ลําตน กิ่ง ราก และใบ ตราบใดที่พืชยังสามารถเจริญเติบอยูนั้น แสดงวาพืชยังสามารถทําหนาที่เปนผูชวยลดกาซ<br />

เรือนกระจก หรืออีกนัยหนึ่ง คือระบบนิเวศปาไมนั้นๆ ยังถือเปนแหลงกักเก็บคารบอน (sink) ใหกับพื้นโลกนั้นเอง<br />

ระบบนิเวศปาไมบริเวณเสนศูนยสูตรถือวามีบทบาทสําคัญอยางมากในการรักษาสมดุลคารบอนระหวาง<br />

atmosphere และ biosphere เนื่องจากปาไมสวนใหญในเขตนี้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงและยังถือเปน<br />

แหลงที่มีปาไมอยูถึง 50% ของปาไมทั้งโลก (FAO, 2006) โดยเฉพาะปาไมเขตรอน (tropical forest) ในเขต<br />

อเมซอล และเอเชียตะออกเฉียงใต ในขณะเดียวกันในเขตดังกลาวก็มีอัตราการสูญเสียพื้นที่ปาไมในชวงป ค.ศ.<br />

2000-2005 คอนขางสูงหรือคิดเปน 0.50% ตอป (FAO, 2006) จึงถือไดวาสถานการณนาเปนหวงอยางยิ่งตอการ<br />

ทําหนาที่เปนแหลงกักเก็บคารบอน สําหรับในประเทศไทยมีการศึกษาสมดุลคารบอนในระบบนิเวศปาพบวา ระบบ<br />

นิเวศปาดิบแลงสะแกราชมีผลผลิตคารบอนสุทธิเทากับ 7.53 tCO 2 ha -1 yr -1 ในขณะที่ระบบนิเวศปาเบญจพรรณ<br />

ลุมน้ําแมกลอง มีผลผลิตคารบอนสุทธิเทากับ 3.51 tCO 2 ha -1 yr -1 ซึ่งทั้งสองพื้นที่คิดเปนปริมาณคารบอนเทากับ<br />

2.04 และ 0.96 tC ha -1 yr -1 ตามลําดับ (สาพิศ และคณะ, 2549) มีนักวิทยาศาสตรบางทานไดศึกษาการสะสมของ<br />

คารบอนในปาแตละประเภทพบวา ปาดงดิบมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพมากที่สุด รองลงมาคือปาเบญจ<br />

พรรณ ในขณะที่ปาเต็งรังมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพต่ําสุด (Tangtham and Tantasirin, 1997) อยางไรก็<br />

ตามปริมาณคารบอนที่สะสมในปาธรรมชาติชนิดตางๆ ยังมีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับปจจัยทางสิ่งแวดลอม<br />

องคประกอบของสังคมพืช และลักษณะทางภูมิศาสตร โดยเฉพาะในระบบนิเวศปาเต็งรัง ที่นอกจากจะมีความแหง<br />

แลงเปนปจจัยหลักในการความคุมประชากร ยังมีไฟปาที่ถือวาเปนตัวกําหนดลักษณะเฉพาะของระบบนิเวศปา<br />

ดังกลาว ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมเปนลําดับที่ 1 หรือประมาณ 80% ของพื้นที่ปาทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ของประเทศไทย (ธวัชชัย, 2549) ซึ่งในประเทศไทยยังมีการศึกษานอยมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุงเนนที่จะศึกษา<br />

อิทธิพลของสภาพอากาศตอการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในระบบนิเวศปาเต็งรัง โดยการศึกษาไดประยุกตใชวิธี Eddy<br />

covariance และทําใหทราบถึงความสามารถในการกักเก็บคารบอนของระบบนิเวศปาเต็งรังในประเทศไทยตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาอิทธิพลของสภาพอากาศตอการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในระบบนิเวศปาเต็งรัง<br />

2. เพื่อประเมินผลผลิตคารบอนสุทธิของระบบนิเวศปาเต็งรัง<br />

234


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา<br />

พื้นที่ศึกษาอยูในสถานีวิจัยการแลกเปลี่ยนกาซและสมดุลพลังงานในระบบนิเวศปาเต็งรังราชบุรี (Dry<br />

Dipterocarp Forest Flux Ratchaburi, DDFR) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี<br />

(KMUTT-Ratchaburi Campus) ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ( 13°35´13.3´´ E และ 99°30´9.3´´ N)<br />

(รูปที่1 และ 2) มีความสูงจากระดับน้ําทะเล 118 เมตร มีพื้นที่ 1,500 ไร และพื้นที่สวนใหญยังเปนปาไมแบบพลัด<br />

ใบ (deciduous Forest) ประเภทปาเต็งรัง (dry dipterocarp forest) บริเวณที่ทําการตรวจวัดการแลกเปลี่ยนกาซ<br />

ครอบครุมเนื้อที่ประมาณ 555.625 ไร (88.9 ha) ชนิดของพืชหลักคือตนยางกราด (Dipterocarpus intricatus), ตน<br />

ยางเหียง (D. obtusifolius), ตนยางพลวง (D. tuberculatus), ตนเต็ง (Shorea obtuse, และ ตนรัง (S. siamensis)<br />

(ธวัชชัย, 2549 และPhiancharoen, 2008) มีปริมาณน้ําฝนในป 2552 อยูที่ 1188.8 มิลลิเมตร และอุณหภูมิสูงสุด<br />

ต่ําสุดในปเดียวกันนี้ เทากับ 39.8 °C และ 10.4 °C ตามลําดับ อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปอยู ที่ 26.6 °C ซึ่งจัดอยูในเขต<br />

tropical monsoon forests (Tanaka et al., 2008) ทําการติดตั้งหอคอยตรวจวัดสูง 11 เมตร ติดตั้งอุปกรณตรวจวัด<br />

ณ ความสูง 8 เมตรจากพื้นดิน ซึ่งอยูเหนือเรือนยอดตนไม (เรือนยอดตนไม 5-7 เมตรจากพื้นดิน) โดยประยุกตใช<br />

วิธีที่เรียกวา Eddy Covariance Method<br />

Thailand<br />

Ratchaburi Province<br />

KMUTT Ratchaburi<br />

Campus, Chom Bueng<br />

รูปที่1 พื้นที่ศึกษาที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี ตําบลรางบัว<br />

อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

235


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Tower station, Latitude: 13º 35' 13.3" N, Longitude: 99º 30' 3.9" E<br />

Boundary area of dry dipterocarp forest for CO2 monitoring, 88.9 ha (555.625 rai)<br />

Area of KMUTT Ratchaburi campus, 240 ha (1,500 rai)<br />

รูปที่2 ตําแหนงที่ตั้งหอคอยตรวจวัดการแลกเปลี่ยนกาซและสมดุลพลังงานในระบบนิเวศปาเต็งรัง ใน<br />

สถานี DDFR (13°35´13.3´´ E และ 99°30´9.3´´ N) มีเนื้อที่ครอบคลุม 555.625 ไร (88.9 ha) กรอบเสนสีแดง<br />

แสดงขอบเขตพื้นที่ปาเต็งรังทั้งหมด<br />

3.2 วัสดุอุปกรณ<br />

การวัดการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ระหวางบรรยากาศเหนือเรือนยอดกับพื้นที่ปาเต็งรังทําที่ระดับความสูง 8<br />

เมตรจากระดับพื้นดิน ซึ่งสามารถวัดไดโดยตรงแบบ real time ผานเทคนิค Infrared absorption spectroscopy<br />

(Kato et al., 2004 and Saigusa et al., 2008) ดวยเครื่อง CO 2 /H 2 O analyzer (Li-COR model Li-7500) รวมกับ<br />

การวัดทิศทางลมในแนวตั้ง (vertical velocity) ดวยเครื่อง Sonic Anemometer (Campbell Scientific, model<br />

CSAT3) ซึ่งรวมเปนวิธีที่เรียกวา eddy covariance method ทําการวัดทุก 4 Hz (0.25 วินาที) ตลอด 24 ชั่วโมง<br />

และมีการเก็บขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ ความชื้น และปริมาณของแสงที่พืชสามารถ<br />

สังเคราะหแสง (photosynthetically active radiation, PAR)<br />

3.3 การคํานวณอัตราการแลกเปลี่ยน CO 2 เหนือเรือนยอดโดยวิธี Eddy Covariance<br />

การวัดอัตราการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เหนือเรือนยอด ใชหลักการวัดความแปรปรวนรวม (covariance)<br />

ระหวางความเขมขนของกาซ CO 2 และ ความเร็วลมในแนว vertical velocity ซึ่งคาอัตราการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2<br />

(CO 2 flux, Fc มีหนวยเปน μmol m -2 s -1 ) สามารถคํานวณจากสมการที่ 1 สวน w 'c'<br />

คือคา Covariance ที่วัดไดมี<br />

หนวยเปน m s -1 μmol C mol -1 .<br />

w'<br />

c'<br />

FCO2 = Eq. 1<br />

V<br />

การคํานวณคา Fc สามาถทําไดเมื่อทราบความหนาแนนของอากาศ<br />

Fc = f ' cw'<br />

z<br />

Eq. 2<br />

236


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Fc = เปนคาของ carbon dioxide flux มีหนวยเปน μmolCO 2 m -2 s -1<br />

f ' c =<br />

เปนคาเฉลี่ยความหนาแนนของกาซ carbon dioxide ณ ชวงเวลานั้นๆ ซึ่งคํานวณไดจากคาที่วัดโดย<br />

เครื่องมือ LiCor-7500<br />

'<br />

wz= เปนคาเฉลี่ยความเร็วลมในทิศทางในแนวตั้ง ณ ชวงเวลานั้นๆ (m s -1 ) ที่วัดไดจากเครื่องมือ CSAT3<br />

4. ผลการศึกษา และวิจารณ<br />

4.1 อุณหภูมิ ความชื้นในบรรยากาศ ความชื้นในดิน และปริมาณน้ําฝน<br />

จากการศึกษาพบวาอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยอยูที่ 28.56 °C ในเดือนเมษายน 2552 และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย<br />

อยูที่ 22.79 °C ในเดือนพฤษจิกายน 2552 อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งหมด (ป 2551-2552) เทากับ 26.51 °C สวนปริมาณ<br />

น้ําฝนที่ตกทั้งหมดในพื้นที่ DDRF ในป 2552 เทากับ 1188.8 มิลลิเมตร ซึ่งจะเริ่มตั้งแตเดือนมีนาคมไปจนถึงเดือน<br />

ตุลาคมแลวลดลงตามลําดับ ซึ่งในเดือนพฤษภาคมพบวามีปริมาณน้ําฝนตกสูงสุดถึง 595.30 มิลลิเมตร (ดูตารางที่<br />

1) ความชื้นสัมพัทธในบรรยากาศเฉลี่ยเทากับ 68.60% (ป 2551-2552) สําหรับความชื้นในดินเปนไปตามลักษณะ<br />

ของปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในพื้นที่ และพบวาชวงอากาศเย็นและแลงซึ่งเริ่มตั้งแตเดือน พฤษจิกายน 2551 จนถึง<br />

เดือนมีนาคม 2552 คาความชื้นในดินคอนขางต่ํา โดยคาเฉลี่ยนอยกวา 5 %VWC (% volumetric water content)<br />

และจะเริ่มมีความชื้นในดินเพิ่มมากขึ้นในชวงตนฤดูฝน (ดูรูปที่ 3)<br />

ตารางที่1 แสดงอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ความชื้นในดิน และปริมาณน้ําฝนใน DDFR<br />

Year Month Air Temperature<br />

( ° C)<br />

Relative<br />

Humidity (%)<br />

Soil Water<br />

Content (%VWC)<br />

Rainfall<br />

(mm.)<br />

2008 May 27.91 70.00 8.80 nd<br />

Jun 27.75 72.15 6.18 nd<br />

Jul 27.68 69.79 4.09 nd<br />

Aug 27.62 67.40 3.70 nd<br />

Sep 26.61 74.64 8.97 nd<br />

Oct 26.84 78.59 9.44 nd<br />

Nov 22.79 58.55 4.94 nd<br />

Dec 23.48 62.91 3.00 nd<br />

mean1 26.34±2 69.25±6 6.14±3<br />

2009 Jan 23.33 56.60 2.46 nd<br />

Feb 26.47 58.55 2.22 nd<br />

Mar 28.23 62.98 5.17 nd<br />

Apr 28.56 66.20 9.06 nd<br />

May 27.61 73.24 12.08 595.30<br />

Jun * * 14.60 55.20<br />

Jul 27.11 71.54 6.17 62.70<br />

Aug 27.65 72.33 8.45 132.40<br />

Sep 26.82 74.40 8.67 104.70<br />

Oct 26.67 78.10 13.13 217.40<br />

Nov 25.33 69.84 7.68 21.10<br />

Dec 25.20 65.61 3.52 0.00<br />

mean2 26.64±2 68.13±7 7.77±4<br />

mean1+2 26.51±2 68.60±6 7.12±4 Total 1188.8<br />

nd = no data *Data missing<br />

237


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Rainfall (mm.)<br />

700<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

Rainfall and Soil Water Content in DDFR<br />

Rainfall<br />

Soil Water<br />

May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec<br />

Monthly (2008-2009)<br />

20.0<br />

15.0<br />

10.0<br />

5.0<br />

0.0<br />

VWC (%)<br />

รูปที่ 3 แสดงปริมาณน้ําฝนและความชื้นในดินเฉลี่ยในพื้นที่ DDFR ในชวงป 2551 ถึง 2552<br />

4.2 ปริมาณแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงได (photosynthetically active radiation, PAR)<br />

ลักษณะของปริมาณแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงไดในพื้นที่ DDFR มีคาคอนขางต่ําในชวงฤดูหนาว<br />

และมีคาสูงสุดในชวงฤดูรอน ปริมาณแสงสูงสุดเฉลี่ยในแตละรอบวันมีคาตั้งแต 318 ถึง 2081 μmol s -1 m -2<br />

(มกราคม ถึง ธันวาคม 2552) และพบวาเดือนกุมภาพันธมีคาเฉลี่ยต่ําสุด 599 μmol s -1 m -2 ในขณะที่เดือน<br />

กันยายน มีคาเฉลี่ยสูงสุด 1557 μmol s -1 m -2 และลักษณะของแสงที่วัดไดในแตละรอบวันแสดงดังรูปที่ 4<br />

Photosynthetically Active Radiation (PAR) in DDFR<br />

u mol s -1 m -2<br />

1800<br />

1600<br />

1400<br />

1200<br />

1000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

May Jun Jul Aug Sep<br />

Monthly (2009)<br />

รูปที่ 4 ลักษณะปริมาณของแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงไดใน DDRF ในชวงเดือนพฤษภาคม<br />

ถึง ตนเดือนกันยายน ในป 2552<br />

238


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 ความเขมขนของกาซ CO 2 ที่ตรวจวัดไดจากหอคอย<br />

คาความเขมขนของกาซ CO 2 ในพื้นที่ DDFR อยูที่ประมาณ 13.80 – 20.12 mmol m -3 หรือคิดเปน<br />

ประมาณ 310-460 ppm ซึ่งลักษณะที่พบเปนไปตามรูปที่ 5<br />

CO 2 Concentration in DDFR<br />

mmol/m 3<br />

21<br />

20<br />

19<br />

18<br />

17<br />

16<br />

15<br />

14<br />

13<br />

12<br />

11<br />

10<br />

1<br />

12<br />

24<br />

35<br />

66<br />

77<br />

89<br />

114<br />

126<br />

137<br />

187<br />

199<br />

Day of 2009<br />

210<br />

222<br />

233<br />

245<br />

266<br />

277<br />

289<br />

300<br />

312<br />

323<br />

335<br />

346<br />

358<br />

รูปที่ 5 แสดงคาความเขมขนของกาซ CO 2 ที่วัดไดจากเครื่อง CO 2 /H 2 O analyzer (Li-COR model Li-7500)<br />

เหนือเรือนยอดที่ระดับ 8 เมตรจากพื้นดิน ในพื้นที่ DDRF ในป 2552<br />

4.4 ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ภายใตสภาพอากาศที่แตกตางกัน<br />

4.4.1 การแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในสภาพอากาศเย็น-แลง<br />

การทดลองนี้ไดกําหนดตัวแทนสภาพอากาศเย็น-แลง ที่อุณหภูมิเฉลี่ยต่ํากวาอุณหภูมิหอง (


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.00<br />

a<br />

2.00<br />

u mol m -2 s -1<br />

0.00<br />

-2.00<br />

-4.00<br />

-6.00<br />

-8.00<br />

-10.00<br />

0.00 4.00 8.00 12.00 16.00 20.00 24.00<br />

Local time (hours) in January 2009<br />

800<br />

b<br />

700<br />

600<br />

u mol s -1 m -2<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

0.00 4.00 8.00 12.00 16.00 20.00 24.00<br />

Local time (hours) January 2009<br />

CO2 Flux (u mol m -2 s -1 )<br />

4.0<br />

2.0<br />

0.0<br />

-2.0<br />

-4.0<br />

-6.0<br />

-8.0<br />

c<br />

y = 3E-05x 2 - 0.0286x + 1.31<br />

R 2 = 0.909<br />

-10.0<br />

0 100 200 300 400 500 600 700 800<br />

PAR (u mol s -1 m -2 )<br />

รูปที่ 6 แสดงลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 กับปจจัยทางสิ่งแวดลอมในพื้นที่ DDFR รูปที่ 6a แสดง<br />

ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เฉลี่ยในรอบหนึ่งวัน, 6b ปริมาณของแสงที่พืชสามารถใชในการ<br />

สังเคราะหแสงได (PAR) เฉลี่ยในรอบหนึ่งวัน และ 6c แสดงถึงความสัมพันธระหวางการแลกเปลี่ยนกาซ<br />

CO 2 กับ PAR ในชวงที่มีสภาพอากาศเย็น-แลง ในเดือนมกราคม 2552<br />

240


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

CO2 Flux (u mol m -2 s -1 )<br />

4.00<br />

2.00<br />

0.00<br />

-2.00<br />

-4.00<br />

-6.00<br />

-8.00<br />

y = -0.5732x + 12.102<br />

R 2 = 0.3761<br />

-10.00<br />

15.00 17.00 19.00 21.00 23.00 25.00 27.00 29.00 31.00<br />

Temp ( o C)<br />

รูปที่ 7 แสดงความสัมพันธระหวางการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เฉลี่ยกับอุณหภูมิตามชวงเวลาในรอบหนึ่งวัน<br />

ที่มีสภาพอากาศเย็น-แลง ในเดือนมกราคม 2552<br />

อยางไรก็ตามพบวาในชวงสภาพอากาศดังกลาว ความสัมพันธระหวางการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 กับ<br />

อุณหภูมิกลับใหผลไมชัดเจนมากนัก (r 2 =0.38 ดูรูปที่ 7) ทั้งนี้เนื่องจากในพื้นที่ปาเต็งรังชวงสภาพอากาศดังกลาว<br />

พบวาความชื้นกับปริมาณของแสงเปนปจจัยจํากัดมากกวาอุณหภูมิ ประกอบกับการทิ้งใบของพืชในชวงนี้พอดี ซึ่ง<br />

ก็อาจเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ทําใหพืชลดกระบวนการสังเคราะหแสงลง และมีกระบวนการหายใจเพิ่มมากขึ้น เพื่อ<br />

รักษาสมดุลของระบบในตัวพืชเอง<br />

4.4.2 การแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในสภาพอากาศรอน-ชื้น<br />

การทดลองนี้ไดกําหนดตัวแทนสภาพอากาศรอน-ชื้น ที่อุณหภูมิเฉลี่ยสูงกวาอุณหภูมิหอง (>25 °C)<br />

ความชื้นสัมพัทธในบรรยากาศเฉลี่ยมากกวา 65% และมีความชื้นในดินเฉลี่ยมากกวา 5%VWC ซึ่งพบวาการ<br />

แลกเปลี่ยนกาซ CO 2 ในชวงอากาศรอน-ชื้น โดยเริ่มตั้งแตเดือน เมษายน ถึงตุลาคม มีคาเฉลี่ยเทากับ -1.75 μmol<br />

m -2 s -1 ซึ่งมีคาเฉลี่ยมากกวาในสภาพอากาศเย็น-แลง ทั้งนี้เนื่องจากมีคาความชื้นในดิน (soil water content<br />

>5%VWC) อุณหภูมิ และปริมาณของแสงที่พืชสามารถสังเคราะหแสงได (PAR) อยางเหมาะสมมาก เมื่อพิจารณา<br />

ในรายเดือนโดยเฉพาะในเดือนกันยายน 2552 ที่ถือวามีคาเฉลี่ยของ PAR สูงที่สุด (มีคาสูงสุดเฉลี่ยในรอบวัน<br />

1557 μmol s -1 m -2 ) และมีคาสูงที่สุดในวันที่ 24 กันยายน ซึ่งสูงถึง 2081 μmol s -1 m -2 พบวาการแลกเปลี่ยนกาซ<br />

CO 2 คอนขางสูงซึ่งมีคาตั้งแต 5 ถึง -15 μmol m -2 s -1 (ดูรูปที่ 8a, 8b แล 8c) และไดรับ PAR เปนเวลานานเฉลี่ย<br />

ถึง 11 ชั่วโมงตอวัน (เริ่มตั้งแตเวลา 7.00-18.00 น.) ประกอบกับมีความสัมพันธที่คอนขางชัดเจนกับ อุณหภูมิ (มี<br />

คา r 2 = 0.71 ดูรูปที่ 9) ที่มีผลโดยตรงตอกระบวนการสังเคราะหแสง ซึงมีสวนชวยในการกําหนดการเปดหรือปด<br />

ปากใบพืชเพื่อแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 และน้ํา แลวทําใหกระบวนการดังกลาวในปาเต็งรังนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับชวงสภาพอากาศเย็นและแลงที่พืชมีการทิ้งใบ จึงสงผลตอการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เฉลี่ยระหวาง<br />

บรรยากาศเหนือเรือนยอด กับระบบปาไมโดยรวมในชวงสภาพอากาศรอน-ชื้น มีการแลกเปลี่ยนกาซคอนขางสูง<br />

241


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

10.00<br />

a<br />

5.00<br />

u mol m -2 s -1<br />

0.00<br />

-5.00<br />

-10.00<br />

-15.00<br />

-20.00<br />

0.00 4.00 8.00 12.00 16.00 20.00 24.00<br />

Local time (hours) September 2009<br />

1200<br />

b<br />

1000<br />

u mol s -1 m -2<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

0.00 4.00 8.00 12.00 16.00 20.00 24.00<br />

Local time (hours) September 2009<br />

10.0<br />

c<br />

CO2 Flux (u mol m -2 s -1 )<br />

5.0<br />

0.0<br />

-5.0<br />

-10.0<br />

-15.0<br />

-20.0<br />

y = 2E-05x 2 - 0.0412x + 4.1232<br />

R 2 = 0.9485<br />

0 200 400 600 800 1000 1200<br />

PAR (u mol s -1 m -2 )<br />

รูปที่ 8 แสดงลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 กับปจจัยทางสิ่งแวดลอมในพื้นที่ DDFR รูปที่ 8a แสดง<br />

ลักษณะการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เฉลี่ยในรอบหนึ่งวัน, 8b ปริมาณของแสงที่พืชสามารถใชในการ<br />

สังเคราะหแสงได (PAR) เฉลี่ย ในรอบหนึ่งวัน และ 8c แสดงถึงความสัมพันธระหวางการแลกเปลี่ยนกาซ<br />

CO 2 กับ PAR ในชวงที่มีสภาพอากาศรอน-ชื้น ในเดือนกันยายน 2552<br />

242


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

CO2 Flux (u mol m -2 s -1 )<br />

10.00<br />

5.00<br />

0.00<br />

-5.00<br />

-10.00<br />

-15.00<br />

y = -2.9936x + 78.307<br />

R 2 = 0.7105<br />

-20.00<br />

22.00 23.00 24.00 25.00 26.00 27.00 28.00 29.00 30.00 31.00<br />

Temp ( o C)<br />

รูปที่ 9 แสดงความสัมพันธระหวางการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 เฉลี่ยกับอุณหภูมิตามชวงเวลาในรอบหนึ่งวัน<br />

ที่มีสภาพอากาศรอนคอนขางชื้นในเดือนกันยายน 2552<br />

นอกจากนี้ยังพบวาแมในสภาพอากาศที่รอนชื้นเหมือนกัน ชวงเดือนเดียวกันแตคนละป ยังใหผล<br />

การศึกษาที่แตกตางกัน เชน ในเดือนตุลาคมป 2551 และตุลาคมป 2552 ใหคาการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 หรือ<br />

ผลผลิตคารบอนสุทธิของระบบนิเวศ (net ecosystem production, NEP) เทากับ -4.42 และ -2.40 μmol m -2 s -1<br />

ตามลําดับ ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาพปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันในแตละป<br />

5. สรุปผลการศึกษา และเสนอแนะ<br />

ผลผลิตคารบอนสุทธิของระบบนิเวศ (Net Ecosystem Production, NEP) ในระบบนิเวศปาเต็งรังในพื้นที่<br />

DDFR เปนไปในทิศทางบวก (คารบอนออกไปจากระบบสุทธิ) ในชวงสภาพอากาศที่คอนขางเย็นและแลง และคา<br />

NEP จะมีคาเปนลบ (คารบอนเขามาในระบบสุทธิ) หลังจากการเริ่มตนของชวงฤดูฝน ในชวงที่อากาศคอนขางเย็น<br />

และแลงระบบนิเวศปาเต็งรังนี้มีการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2 คอนขางต่ําซึ่งเทากับ -0.40 μmol m -2 s -1 (เฉลี่ยระหวาง<br />

เดือนธันวาคม 2551 ถึงมีนาคม 2552) ในขณะที่ในฤดูฝนที่สภาพอากาศรอน-ชื้น อัตราการแลกเปลี่ยนกาซ CO 2<br />

จะคอนขางสูงซึ่งเทากับ -1.75 μmol m -2 s -1 (เฉลี่ยระหวางเดือนตุลาคม 2551 และเดือนเมษายนถึงตุลาคม 2552)<br />

และเมื่อคิดคา NEP เฉลี่ยทั้งป (ตุลาคม 2551 ถึง ตุลาคม 2552) เทากับ -1.15 μmol m -2 s -1 หรือคิดเปน 4.3 tC<br />

ha -1 yr -1 ซึ่งแสดงซึ่งแสดงใหเห็นวาปาเต็งรังในพื้นที่ DDRF ยังสามารถดูดซับคารบอนใหกับระบบ หรืออีกนัยหนึ่ง<br />

ถือวาเปน Net carbon sink นั้นเอง อยางไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้ยังพบวาแมแตในชวงสภาพอากาศที่เหมือนกัน<br />

ก็ยังใหคา NEP ที่มีความแตกตางกัน ทั้งเนื่องจากปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน โดยเฉพาะความชื้นในดิน<br />

ความเขมแสง และอุณหภูมิ ซึ่งถือวาเปนปจจัยสิ่งแวดลอมที่สําคัญตอการเกิดกระบวนการสังเคราะหแสง และ<br />

กระบวนการหายใจของพืช และควรมีการศึกษาในระยะยาวที่ครอบคลุมทั้งฤดูกาล เพื่อนําขอมูลที่ไดไปสูการสราง<br />

โมเดลที่เหมาะสมสําหรับประเมินผลผลิตคารบอนสุทธิและความสามารถในการเปนแหลงกักเก็บคารบอนภายใต<br />

สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศปาเต็งรังในประเทศไทยตอไป<br />

243


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก<br />

(Earth System Science Research and Development Center, ESS), บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและ<br />

สิ่งแวดลอม (JGSEE) และ ทุน “เพชรพระจอมเกลา’’ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมถึงไดรับการ<br />

เอื้อเฟอสถานที่ทําการศึกษาวิจัยจาก สถานีวิจัยการแลกเปลี่ยนกาซและสมดุลพลังงานในระบบนิเวศปาเต็งรัง<br />

ราชบุรี (Dry Dipterocarp Forest Flux Ratchaburi, DDFR) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขต<br />

ราชบุรี<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- FAO. (2006), “The world’s forests”. Available online: http://www.fao.org/forestry/fra/41256/en/<br />

- IPCC. (2007), Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working<br />

Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change.<br />

Cambridge University Press, Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA, 996 pp.<br />

- Kato, T., Tang, Y., Gu, S., Cui, X., Hirota, M., Du, M., Li, Y., Zhao, X. and Oikawa, T. (2004),<br />

Carbon dioxide exchange between the atmosphere and an alpine meadow ecosystem on the<br />

Qinghai-Tibetan Plateau, China. Agricultural Forest Meteorology. 124, (1-2), p. 121-134.<br />

- Phianchroen, M., Duangphakdee, O., Chanchae, P., Longkonthean, T., Sawatdee, R.,<br />

Sawatpon, P., Boonnak, P., Rugiait, S., Junchalam, S, Nakme, W., Rodim, P. and<br />

Phangsanga, M. (2008), Instruction of plant in dry dipterocarp forest at King Mongkut’s<br />

university of technology thonburi at Ratchaburi campus. King Mongkut’s university of<br />

technology thonburi. Thailand.<br />

- Saigusa, N., Yamamoto, S., Hirata, R., Ohtani, Y., Ide, R., Asanuma, J., Gano, M., Hirano, T.,<br />

Kondo, H., Kosugi, Y., Li, SG., Nakai, Y., Takagi, K., Tani, M. and Wang, H. (2008), Temporal<br />

and spatial variations in the seasonal patterns of CO2 flux in boreal, temperate, and tropical<br />

forests in East Asia. Agricultural and Forest Meteorology, 148, (5), pp. 700-713.<br />

- Tangtham, N. and Tantasirin, C. (1997), An assessment of policies to reduce carbon emissions<br />

in the Thai forestry sector with emphasis on forest protection and reforestation for<br />

conservation, pp. 100-121. in: C. Khemnark, B. Thaiutsa, L. Puangchit and S. Thammincha<br />

(eds.), Tropical Forestry in the 21 st Century Volume 2: Global Changes in the Tropical<br />

Contexts. Proceedings of FORTROP’96 International Conference, 25-28 November 1996,<br />

Bangkok.<br />

- Tanaka, N., Kume, T., Yoshifuji, N., Tanaka, K., Takizawa, H., Shiraki, K., Tantasirin, C.,<br />

Tangtham, N. and Suzuki M. (2008), A review of evapotranspiration estimates from tropical<br />

forest in Thailand and adjiacent regions. Agricultural and Forest Meteorology, 148, (5), pp.<br />

807-819.<br />

- สาพิศ ดิลกสัมพันธ, ภานุมาศ ลาดปาละ, ธิติ วิสารัตน, สิริรัตน จันทรมหเสถียร, สําเริง ปานอุทัย และ<br />

ศุภรัตน สําราญ. 2549. วัฏจักรคารบอนในปาดิบแลงสะแกราชและปาเบญจพรรณลุมน้ําแมกลอง. รวม<br />

244


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลงานวิจัยการศึกษาวัฏจักรคารบอนในปาดิบแลงสะแกราช และปาเบญจพรรณลุมน้ําแมกลอง.<br />

สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. หนา 257-275.<br />

- ธวัชชัย สันติสุข. 2549. ปาของประเทศไทย. สํานักหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ<br />

พืช.บริษัท ประชาชน จํากัด, กรุงเทพฯ. 120 หนา.<br />

245


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: ภาคของเสีย และ<br />

อุตสาหกรรม<br />

(Session II Greenhouse Gas Mitigation:Waste and<br />

Industry Sector)<br />

246


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การศึกษาศักยภาพการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากการฝงกลบแบบกึ่งใชออกซิเจน<br />

Study of Greenhouse Gas Reduction Potential from Semi-Aerobic Landfill<br />

Komsilp Wangyao 1, 2, * , Masato Yamada 2 , Kazuto Endo 2 , Tomonori Ishigaki 2<br />

Chart Chiemchaisri 3 , Noppharit Sutthasil 3 and Sirintornthep Towprayoon 1<br />

1 The Joint Graduate School of Energy and Environment,<br />

King Mongkut's University of Technology Thonburi,<br />

126 Prachauthit Rd., Bangmod, Tungkru, Bangkok, Thailand 10140<br />

2 Research Center for Material Cycles and Waste Management,<br />

National Institute for Environmental Studies (NIES),<br />

16-2 Onogawa, Tsukuba, Ibaraki, Japan 305-8506<br />

3 Faculty of Engineering, Kasetsart University,<br />

50 Phahon Yothin Rd., Ladyao, Chatuchak, Bangkok, Thailand 10900<br />

บทคัดยอ<br />

การดําเนินการฝงกลบมูลฝอยแบบยั่งยืนถือวามีความสําคัญในการลดมลพิษทั้งในระดับทองถิ่นและระดับ<br />

โลกได ซึ่งมลพิษดังกลาวจะออกมาในรูปของการปลดปลอยกาซและน้ําชะมูลฝอย ปจจุบันการฝงกลบอยางถูกหลัก<br />

สุขาภิบาลถือเปนวิธีการที่ยอมรับและใชกันอยางแพรหลายในประเทศที่กําลังพัฒนา แตเนื่องจากการยอยสลายของ<br />

ขยะมูลฝอยแบบไมใชออกซิเจนจะทําใหเกิดกาซชีวภาพขึ้น โดยจะมีมีเทนและคารบอนไดออกไซดเปน<br />

องคประกอบหลัก ประมาณรอยละ 50-60 และรอยละ 40-50 ตามลําดับ ซึ่งกาซทั้งสองชนิดถือวาเปนกาซ<br />

เรือนกระจกที่สําคัญ และสงผลตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะมีเทน ดังนั้นเพื่อเปนการลดปญหา<br />

มลพิษตางๆเหลานี้ การดําเนินการฝงกลบโดยวิธีที่เหมาะสมจึงควรนํามาใชแทน ในการศึกษาครั้งนี้ไดนําวิธีการฝง<br />

กลบแบบกึ่งใชออกซิเจนเขามาศึกษาเปรียบเทียบกับการฝงกลบแบบไมใชออกซิเจนที่ใชกันทั่วไปในแปลงฝงกลบ<br />

ทดลอง ณ สถานที่ฝงกลบมูลฝอยของเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ซึ่งแปลงทดสอบทั้งสองวิธีมีขนาด<br />

และรูปรางเปนสี่เหลี่ยนขนมเปยกปูน (42 X 46 ม.) เหมือนกัน ขยะมูลฝอยของเทศบาลตําบลแหลมฉบังไดถูกฝง<br />

กลบและมีความสูง 3.5 ม. จากนั้นใชดินรวนปนทรายกลบทับอีก 0.5 ม. ในแปลงทดลองทั้งสอง การวัดการ<br />

ปลดปลอยกาซแบบ closed flux chamber ไดทําขึ้นทุกเดือน หลังจากฝงกลบไปได 7 เดือน พบวาการปลดปลอย<br />

มีเทนที่เกิดจากแปลงทดสอบแบบกึ่งใชออกซิเจนเทากับ 110.78 กรัม/ตารางเมตร/วัน ตางจากแปลงทดสอบแบบไร<br />

ออกซิเจนที่มีการปลดปลอยมีเทนออกมาเทากับ 523.70 กรัม/ตารางเมตร/วัน ซึ่งมากกวาการปลดปลอยจากแปลง<br />

ทดสอบแบบกึ่งใชออกซิเจนถึงประมาณ 5 เทา จากแนวโนมการปลดปลอยมีเทนที่ไดในเบื้องตน ทําใหสามารถคาด<br />

วาระบบฝงกลบแบบกึ่งใชออกซิเจนเปนระบบที่สามารถลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกไดอยางมาก และเปน<br />

วิธีการที่เหมาะสมกับประเทศกําลังพัฒนาเปนอยางยิ่ง การปรับและเพิ่มเติมในรายละเอียดการออกแบบบอฝงกลบ<br />

ที่ใชกันอยูในปจจุบัน และเพิ่มงบประมาณกอสรางเพียงเล็กนอยจะทําใหสามารถลดปญหาดานมลพิษเปนอยางมาก<br />

และยังสามารถลดคาใชจายที่จะเกิดขึ้นกับการดูแลหลังใชงานระบบไดอีกมากดวย<br />

247


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Implementation of sustainable landfill concept is necessary for reducing local and global pollution<br />

in terms of gas and leachate emissions. Recently, sanitary landfill method is the one of acceptable waste<br />

treatment systems in developing countries. However, the degradation of waste under anaerobic conditions<br />

will generate landfill gas (LFG) that contains about 50-60% of methane (CH 4 ) and 40-50% of carbon<br />

dioxide (CO 2 ). Both of these gases are greenhouse gases that impact the global climate change<br />

especially for CH 4 . Therefore, to reduce theses pollutants, the new appropriate final treatment method in<br />

landfill should be conducted. In this study, the semi-aerobic concept is that air moves naturally by<br />

convection mechanism and waste can be degraded by aerobic conditions that have been established at<br />

Laemchabang landfill, Chonburi, Thailand. The test cells in this site include anaerobic and semi-aerobic<br />

cells that both of them were constructed in parallelogram shape (42 x 46 m.). The municipal solid waste<br />

was filled with 3.5 m. in height and covered by 0.5 m. of sandy loam at the both cells. The CH 4 emission<br />

measurements was conducted by using closed flux chamber technique after 7 months that waste was<br />

placed. It was found that the total CH 4 that emitted from the landfill surface was 110.78 g/m 2 /d in case of<br />

semi-aerobic cell. However, in anaerobic cell, the total CH 4 that was emitted from the landfill surface was<br />

523.70 g/m 2 /d. When calculated the potential of CH 4 emission, it was found that the CH 4 emission<br />

potential at the anaerobic cell was higher than at semi-aerobic cell about 5 times. From these preliminary<br />

results, it can expected that a semi-aerobic method can significantly reduce greenhouse gas emissions.<br />

Moreover, this method is a proper and practicable method for developing countries. Little modification of<br />

traditional landfill design can easily maximize the environmental benefits and minimize the after-care cost.<br />

Keywords: semi-aerobic landfill, municipal solid waste, Fukuoka method, landfill gas emission<br />

1. Introduction<br />

Thailand, a developing country in the Asian region, still increases with urbanization, economic<br />

development and rapid growth of population. The following problems of this impact are municipal solid<br />

waste (MSW) management and disposal handling (Thailand Environment Monitor, 2003). Many cities and<br />

towns face serious environmental impact and health risks. The country’s MSW generation showed an<br />

increasing trend parallel to the development (Visvanathan et al., 2004). The increasing MSW generation<br />

along with the high fraction of organic waste and a common disposal of open dumping is the current<br />

scenario in many areas which lack any precautionary environmental and health measures (Chiemchaisri<br />

et al., 2007). As response to this problem, nowadays, the country’s Pollution Control Department (PCD)<br />

aim to replace open dumping to a sanitary landfill, which reduces negative environmental impacts.<br />

However, the methane (CH 4 ) gas generation potential due to biological degradation of the<br />

organic waste fraction within anaerobic conditions in sanitary landfills is higher than in open dump sites<br />

(IPCC, 2006). The CH 4 recovery and utilization as renewable energy source have great options in waste<br />

management while it is also reducing the global warming impact. However, the CH 4 gas recovery can be<br />

performed after the operation phase at landfill site is already close. With this anaerobic type landfill, the<br />

CH 4 management during tipping operation cannot be implementing. Most of CH 4 gas emits through the<br />

atmosphere.<br />

248


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Now, “sustainable sanitary landfill concept” must be implemented in the near future, which can<br />

overcome local technological and financial constraints. Implementation of sustainable sanitary landfill is<br />

necessary for reducing local and global pollution in term of CH 4 and leachate emissions. The landfill site<br />

should play a role not only as a dumping site but also as a purifying site to quickly stabilize the waste<br />

(Matsufuji et al., 1997). One of a good candidate sanitary landfill concept is semi-aerobic type landfill<br />

(Fukuoka method) which had been developed more than 20 years ago at Fukuoka University. It is proven<br />

technology practically tested in many places in Japan and in a few developing countries such as<br />

Malaysia, Iran and China but it is not widely known to many countries around the world (Chong et al.,<br />

2005).<br />

The semi-aerobic landfill type is a very practical system in which the perforated pipes that used<br />

for leachate collection system covered with crushed stones are laid out the bottom of the landfill for biocrock<br />

prevention. The horizontal part of the system comprises of a main pipe with branch pipes laid on<br />

either side at a certain interval. The main pipe ends are an open leachate collection pond built outside the<br />

waste cell. The pipes are designed and laid so that only one-third of the section is filled with leachate,<br />

leaving area free for air to flow. At each intersection of the branch pipes with the main pipe, and at the<br />

end of each branch pipe, are installed perforated vertical pipes. The distance between the ventilation<br />

pipes is about 20 – 40 m. By this concept, the large diameter collection pipes remove leachate from the<br />

landfill quickly and fresh air goes inside the landfill through the pipes with convection effect and creates<br />

aerobic condition inside. The decomposition speed in aerobic landfill type is two to three times as fast as<br />

anaerobic landfill so that the amount of pollutants produced by the decomposition of waste are little and<br />

the stabilization of landfill is quite fast. Moreover, this system also minimizes leachate percolation into the<br />

ground. The schematic of this system is shown in Figure 1. So the semi-aerobic landfill type is a simple<br />

design in terms of structure, maintenance and management (Matsufuji et al., 1997).<br />

Figure 1 Concept of semi-aerobic landfill<br />

249


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Many studies have showed that the semi-aerobic method does not only accelerate the landfill<br />

stabilization process, reduces concentration of organic contaminants in leachate and reduces the quantity<br />

of LFG, but also could reduce ammonia concentration in leachate (Huang et al., 2005 and Matsufuji,<br />

2005). It was found that the leachate from semi-aerobic system has slightly lower organic contaminants<br />

compared with an anaerobic landfill in terms of BOD and COD. The biodegradation can be enhanced<br />

more than the anaerobic one, especially for the initial 5 years. CO 2 is the main production in semi-aerobic<br />

landfill but the biodegradation in anaerobic is mainly acid fermentation and gasification with a slight CH 4<br />

domination. The results that obtained for 10 years showed that cumulative amount of leached organic<br />

pollutant and gases generation of the semi-aerobic type are 13.6% and 60% of the initial biodegradation<br />

organic waste but cumulative amount of leached organic pollutant and gases generation 26.3% and<br />

35.1% in anaerobic type (Matsufuji, 2005). These results suggest that the semi-aerobic landfill type gives<br />

great advantages for environmental protection in terms of fast leachate treatment, low leachate seepage<br />

as well as low CH 4 emissions. Moreover, the methane correction factor (MCF) in the IPCC Waste Model<br />

accounts for the fact that different waste disposal practice will emit different amounts of CH 4 . It is<br />

suggested that CH 4 emission in semi-aerobic landfill type was a half of that emitted from anaerobic landfill<br />

type (IPCC, 2006).<br />

2. Objective<br />

Despite of its wide application in developed countries like in Japan with a successful outcome.<br />

Many questions still remain, if semi-aerobic landfill will be applied in developing countries. Some variables<br />

must be evaluated to ensure the advantages of the system over traditional methods and its applicability<br />

under local environmental conditions. This is an essential step if this technology will be accepted and<br />

widely practiced in other developing countries as the waste characteristics and climate conditions are<br />

quite different. Therefore, the research and development of appropriate landfill operation for Thailand has<br />

been established at Laemchabang landfill, Chonburi, Thailand.<br />

3. Methodology<br />

3.1 Construction of test cells<br />

The test cells in this site include anaerobic and semi-aerobic cells that both of them were<br />

constructed in parallelogram shape (42 x 46 m.) as shown in figure 2. In the semi-aerobic cell (SM), the<br />

design and construction had been followed by the Japanese standard. Two ventilation pipes and leachate<br />

collection pipes that covered by crushed stone were constructed. However, in the anaerobic cell (AN), the<br />

design was followed traditional landfill concept. The municipal solid waste was filled from October 2010 to<br />

November 2010 with 3.5 m. in height of waste and covered by 0.5 m. of sandy loam. Total waste in place<br />

is 3,942 and 4,098 tons in SM and AN. The sensors and sampling ports were installed at two levels<br />

(+2.00 and +3.00 m. from ground) including 18 temperature probes, 8 moisture sensors, 4 gas sampling<br />

250


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ports, and 4 leachate extraction pans in each test cell. The figure 3 shows the cross section of waste<br />

filling and sensor installation.<br />

Figure 2. Plan of test cells<br />

Figure 3. Cross section of semi-aerobic cells<br />

3.2 CH 4 emission measurement<br />

CH 4 emission rates from the landfill site surface in this study were determined using the static<br />

chamber technique. CH 4 and CO 2 fluxes were determined by the following equation: <br />

= V/A (dc/dt) (1)<br />

where: = flux density of the gas (g/m 2 /d), V = flux box volume (m 3 ), A = flux box footprint (m 2 ),<br />

dc/dt = rate of change of gas concentration in the chamber with time (g/m 3 /d). CH 4 concentration in the<br />

chamber was measured by a Laser Methane Detector (LMD) - Anritsu SA3C15A (Anritsu Corporation) in<br />

1 second interval for 5 minute. The chambers used in this study were constructed with 0.20 m PVC<br />

251


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

pipe, 1.00 m. in height and with an acrylic cap at the top of the chamber. To protect against air intrusion,<br />

the chambers were sealed to the ground by placing wet soil around the outside. The methane flux was<br />

determined follow equation 1. Numerous samples were collected across the cell surfaces on a regular<br />

grid pattern at 5m intervals.<br />

3.3 Measurement of landfill gas beneath cover soil<br />

Gas composition measurement were performed via the stainless tube that inserted to the landfill<br />

surface by using boring bar with 1m.-depth for hole making. At the top of cover soil, rubber and soil were<br />

used to seal against air intrusion. The landfill gas at the grid points were analyzed using gas analyzer<br />

(GA2000PLUS - Geotechnical Instruments (UK) Ltd.) after stainless tube had been installed for 10<br />

minutes.<br />

3.4 Geospatial distribution<br />

Due to the large areal extent of landfill surfaces and the heterogeneous nature of landfill gas<br />

fluxes, a large number of chamber samples must be collected (Mosher et al., 1999). However, in order for<br />

the geospatial analysis to be of value, proper interpolation methodology must be applied. Geospatial<br />

distributions of the methane emissions in this study were estimated by Kriging method. Kriging refers to<br />

the process of using the spatial dependency to predict the value of a property at unknown locations from<br />

the relationship observed at the sampling location. The weight for the Kriging analysis was decided by<br />

semivariogram (Spokas et al., 2003). The Surfer software (Golden Software, Inc.) was used to analyze<br />

the geospatial distribution in this study. The Kriging model was applied to map the results, and the<br />

volumetric value of the contour map was estimated by volume and area integration algorithms in Surfer.<br />

4. Results<br />

4.1 Methane emissions<br />

One month after waste was placed; the sampling and investigation had been started including<br />

layered gas, ventilated gas, moisture content, temperature, surface gas emissions and leachate. For the<br />

CH 4 emissions, the results from closed flux measurements showed that CH 4 emissions had very high<br />

spatial variation which varied from not detected (N.D.) to 1,400.24 and N.D. to 2,351.66 g/m 2 /d at SM and<br />

AN. The arithmetic mean, minimum and maximum of CH 4 emissions from December 2009 to June 2010<br />

are showed in table 1. The average spatial CH 4 emissions as shown in figure 4 illustrates that CH 4 can<br />

be found since the waste was placed only one month at both of AN and SM. In every investigation, the<br />

results show that the CH 4 emissions at AN are higher than SM about 4-7 times according to the principal<br />

concept of semi-aerobic method. Significant of CH 4 reduction can obtains obviously. From this preliminary<br />

results, it can imply that the semi-aerobic method works well in a tropical climate and high organic matter<br />

in the waste stream conditions which these conditions are normally located in developing countries.<br />

In this study, the waste tipping finished at the beginning of dry season, the trend of CH 4<br />

generation increases from December 2009 to January 2010, and then drops in February 2010. The<br />

252


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

decreasing might of come from the inadequate moisture content in waste body which it can retard the<br />

degradation activity in the waste body both at SM and AN. However, there were some out of season of<br />

rain falls during March and April 2010. The results confirmed that increasing moisture content by<br />

precipitation is a key parameter to boost the biological reactions. The CH 4 emissions were increased<br />

again about 3 times in April 2010 when compared to February 2010 and about 4 times in June 2010<br />

when compared to April 2010<br />

.<br />

Table 1 The arithmetic mean, minimum and maximum of CH 4 emissions from December 2009 to<br />

June 2010.<br />

Dec-09 Jan-10 Feb-10 Apr-10 Jun-10<br />

AN SM AN SM AN SM AN SM AN SM<br />

mean 123.63 31.71 198.18 37.42 42.24 9.36 25.26 25.26 538.86 130.72<br />

min N.D. N.D. N.D. N.D. N.D. N.D. N.D. N.D. N.D. N.D.<br />

max 893.93 531.35 1,555.10 273.37 403.01 168.74 160.37 1,021.90 2,351.66 1,400.24<br />

N.D. = Not Detected<br />

Figure 4 The average spatial CH 4 emissions from December 2009 to June 2010<br />

253


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 Composition of landfill gas<br />

The results showed that the concentration of layered gases in the both cells included CH4 and<br />

CO2 about 52% and 44% followed with O 2 and N 2 about 1% and 3%. The ventilated gas at SM from<br />

ventilation pipe and lechate collection manhole had CH 4 and CO 2 about 0.3 and 0.6%. The main<br />

compositions were nitrogen and oxygen. This showed that air could move freely between ventilation pipe<br />

and main leachate drainage pipe that ends in an opened leachate collection manhole. The semi-aerobic<br />

degradation can be expected to occur in some part of waste by exchanging of air.<br />

For the landfill gas beneath cover soil, it was found that the amount of CH4 in landfill gas<br />

increased after waste was placed but there were quite different for the started value. In case of AN, the<br />

percentage of CH 4 started from 33% and then increased to 52%. Contrast to SM, the percentage of CH 4<br />

started from only 5% and then increased to 44%. As mentioned above that there were some out of<br />

season of rain fall during March and April 2010, it was found that after waste got some rain, the amount<br />

of CH 4 increased about 1.5 times. Before rain fall (February 2010) in AN, the CH 4 was only 28% but after<br />

that CH 4 increased to 45% in April 2010. This phenomenon was also the same as in SM that CH 4 was<br />

only 19% in February 2010 but after some rain, the CH 4 significantly increased to 33%. The figure 5<br />

shows the average of landfill gas composition beneath the soil cover.<br />

Figure 5. Average landfill gas composition beneath the cover soil<br />

4.3 Waste temperature<br />

For the temperature, in AN, it was found that upper layer (or 2 nd layer) always gave higher a<br />

temperature than the lower layer (1 st layer) at both cells as shown in figure 6. The amount of different<br />

temperatures decreased from 4.6 o C to 0.3 o C after waste was placed for 7 months. These might be<br />

related to the leachate height or moisture content conditions that most of leachate drained and located at<br />

the bottom of cell. However, after 7 months, the temperature between the upper layer and the lower layer<br />

are not quite different. Contrast to SM, significant difference of temperatures could be found only two<br />

254


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

months after waste was placed. The last results in June 2010 showed that the temperature of AN and SM<br />

were 43.6 and 42.0 o C.<br />

Figure 6 Average temperature in waste body<br />

4.4 Moisture content<br />

For the moisture content in waste layer, it was found that upper layer had lower moisture content<br />

than lower layer in both SM. In June 2010, the upper layer had the moisture content about 44%. Contrast<br />

to the lower layer, the moisture content was about 60%. However, in AN, the moisture at the upper and<br />

lower layers was 52%. The distribution of moisture content showed that the drainage of leachate in waste<br />

body at SM was better than AN that most of leachate could be drained easily. The moisture content of<br />

waste in the test cells are shown in figure 7.<br />

Figure 7 Moisture content in waste body<br />

5. Conclusions<br />

255


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

From these preliminary results, it can expected that the semi-aerobic method can reduce<br />

significant greenhouse gas emissions over the period of operating and after-using compared to the<br />

anaerobic method. Methane can be significantly reduced about 4-7 times since the beginning. Even in the<br />

wet season which rain can stimulate biodegradation in the waste body, but methane emissions from the<br />

semi-aerobic landfill were also lower than the anaerobic landfill. Low methane emissions also added a<br />

significant meaning to the problem of global warming. In this study, it was found that rain was the main<br />

factor that effected to the gas generation. Methane can be increased about 3-4 times after the landfill got<br />

some rain fall. It can suggest that this method can be applied to the new small and medium scale landfills<br />

where landfill gas utilization is not feasible. Moreover, this method is a proper and practicable method for<br />

developing countries. Little cost and modification over the traditional landfill design can easily maximize<br />

the environmental benefits and minimize the after-care cost. However, to ensure that the semi-aerobic<br />

landfill concept is operated and maintained efficiently in developing countries, the proper development,<br />

operation and closure care must be implemented by following the standard guideline or code of practice.<br />

6. References<br />

- Chiemchaisri, C., Juanga, J.P., Visvanathan, C. (2007) Municipal solid waste management in<br />

Thailand and disposal emission inventory. Environmental Monitoring and Assessment, 135,<br />

pp. 13-20.<br />

- Chong, T.L., Matsufuji, Y., Hassan, M.N. (2005) Implementation of the semi-aerobic landfill<br />

system (Fukuoka method) in developing countries: A Malaysia cost analysis, Waste<br />

Management, 25, pp. 702-711.<br />

- Huang, Q.F., Wang, Q., Yang, Y., Dong, L. (2005) Influence of landfill structure on leachate<br />

characteristics. Proceedings Sardinia 2005, Tenth International Waste Management and<br />

Landfill Symposium, S. Margherita di Pula, Cagliari, Italy; 3-7 October 2007.<br />

- IPCC 2006 (2006) IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories, Prepared by<br />

the National Greenhouse Gas Inventories Programme, Eggleston H.S., Buendia L., Miwa K.,<br />

Ngara T. and Tanabe K. (eds). Published: IGES, Japan.<br />

- Matsufuji, Y., Tachifuji, A., Matsugu, H. (2005) Biodegradation process of municipal solid<br />

waste by semiaerobic landfill type. Proceedings Sardinia 2005, Tenth International Waste<br />

Management and Landfill Symposium, S. Margherita di Pula, Cagliari, Italy; 3-7 October<br />

2007.<br />

- Matsufuji, Y., Tanaka, A., Hanashima, M., Matsugu, H. (1997) Purification mechanism by<br />

activated cover soil and a new landfill system. Proceedings Sardinia 97, Sixth International<br />

Landfill Symposium S. Margherita di Pula, Cagliari, Italy; 13-17 October 1997.<br />

- Mosher, B. W., Czepiel, P. M., Harriss, R. C., Shorter, J. H., Kolb, C. E., McManus, J. B.,<br />

Allwine, E., Lamb, B. K. (1999) Methane Emissions at Nine Landfill Sites in the Northeastern<br />

United States, Environmental Science & Technology, 33 (12), 2088 -2094.<br />

256


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Spokas, K., Graff, C., Morcet, M., and Aran, C. (2003) Implications of the spatial variability of<br />

landfill emission rates on geospatial analyses. Waste Management, 23, 599–607.<br />

- Thailand Environment Monitor (2003) A joint publication of the Pollution Control Department<br />

(PCD) of Thailand’s Ministry of Natural Resources and Environment (MoNRE), the World<br />

Bank, the United States-Asia Environmental Partnership (USAEP), and Japan Bank for<br />

International cooperation (JBIC). Retrieved June 30, 2006 from<br />

http://www.worldbank.or.th/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/EASTASIAPACIFICEXT/THAIL<br />

ANDEXTN/0,,contentMDK:20206649~menuPK:333323~pagePK:141137~piPK:217854~theSit<br />

ePK:333296,00.html.<br />

- Visvanathan, C., Trankler, J., Joseph, K., Chiemchaisri, C., Basnayake, B. F. A., &<br />

Gongming, Z. (2004). Municipal solid waste management in Asia. Asian Regional Research<br />

Program on Environmental Technology (ARRPET). Asian Institute of Technology<br />

publications. ISBN: 974-417-258-1.<br />

257


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การฝงกลบมูลฝอยแบบกึ่งใชออกซิเจนเพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากมูลฝอย<br />

Semi-Aerobic Landfill for Reducing Greenhouse Gas Emission from Solid Wastes<br />

นพฤทธิ์ สุทธศิลป 1 , ชาติ เจียมไชยศรี 1 , วิไล เจียมไชยศรี 1 ,<br />

คมศิลป วังยาว 2 , คาซุโตะ เอนโด 2 และ มาซาโตะ ยามาดะ 2<br />

1 ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสียอันตรายคณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลขที่ 50 ถ.พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

2 Research Center for Material Cycles and Waste Management, National Institute for Environmental<br />

Studies16-2 Onogawa, Tsukuba, Ibaraki, Japan<br />

โทรศัพท : 0-2942-8555 โทรสาร : 0-2579-0730<br />

e-mail : g5065141@ku.ac.th, fengccc@ku.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยนี้ทําการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบการเกิดกาซชีวภาพและน้ําชะมูลฝอยระหวางการฝงกลบมูลฝอย<br />

ระบบกึ่งใชออกซิเจนกับระบบไรออกซิเจน และประเมินการลดอัตราการแพรระบายกาซมีเทนซึ่งเปนกาซเรือน<br />

กระจก รวมถึงหาคาปรับแกการเกิดกาซมีเทนสําหรับการฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนในประเทศไทย ศึกษา<br />

ทดลองโดยใชแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยจํานวน 4 ชุดแบบจําลอง ไดแก การฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจนที่มีการ<br />

บดอัดมูลฝอยความหนาแนนต่ําและบดอัดมูลฝอยความหนาแนนสูง และการฝงกลบระบบไรออกซิเจนที่มีการขังน้ํา<br />

ครึ่งหนึ่งและเต็มความลึกของชั้นมูลฝอยในแบบจําลองฝงกลบมูลฝอย ทําการวิเคราะหน้ําชะมูลฝอยและกาซจาก<br />

บริเวณชั้นมูลฝอยและการแพรระบายกาซมีเทนบริเวณผิวหนาหลุมฝงกลบมูลฝอย ผลการศึกษาพบวา อัตราการ<br />

แพรระบายกาซมีเทนจากการฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนมีคาเฉลี่ย 4.18x10 -4 กรัมตอตารางเมตรตอ<br />

กิโลกรัมมูลฝอยเปยกตอวัน ซึ่งต่ํากวาการฝงกลบระบบไรออกซิเจน (44.47 กรัมตอตารางเมตรตอกิโลกรัมมูลฝอย<br />

เปยกตอวัน) การฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนรวมกับการบดอัดมูลฝอยความหนาแนนต่ํา สามารถลดบีโอดี<br />

และทีโอซีไดรอยละ 90 ภายในเวลา 60 วัน เร็วกวาการฝงกลบมูลฝอยระบบไรออกซิเจน ซึ่งใชเวลา 180 วัน<br />

นอกจากนี้คาความเขมขนของไนโตรเจนในน้ําชะมูลฝอยจากการฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจนลดลงถึงรอยละ 90<br />

ภายในเวลา 180 วันซึ่งมีอัตราลดลงมากกวาการฝงกลบระบบไรออกซิเจนที่มีการลดลงของไนโตรเจนนอยมาก คา<br />

ปรับแกการเกิดกาซมีเทนของการฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจนและระบบไรออกซิเจนมีคาเทากับ 0.52 และ 0.99<br />

ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: กาซเรือนกระจก การแพรระบายกาซ แบบจําลองฝงกลบมูลฝอย กึ่งใชออกซิเจน น้ําชะมูลฝอย<br />

Abstract<br />

This research was conducted to compare gas and leachate production in semi-aerobic and<br />

anaerobic landfills. Methane correction factor (MCF) of semi-aerobic landfill and their potential for<br />

258


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

reducing greenhouse gas emission from solid wastes under actual operating condition in Thailand was<br />

then determined. The experiment was conducted using 4 lysimeters. Two lysimeters were operated under<br />

semi-aerobic condition, one with low compaction and the other with high compaction of solid wastes<br />

respectively. Two anaerobic lysimeters were operated with leachate storage at 50% and 100% of waste<br />

layer height. From the experiment, Semi-aerobic landfill had much lower methane emission rate of<br />

4.18x10 -4 g/m 2 /kg.wet wt./d as compared to anaerobic landfill (44.47 g/m 2 /kg.wet wt./d). BOD and TOC in<br />

leachate from semi-aerobic lysimeters were reduced by 90% within 60 days, comparable shorter than<br />

those in anaerobic lysimeters (180 days). Nitrogen concentration in leachate from semi-aerobic lysimeter<br />

was also eliminated by 90%, higher than anaerobic lysimeters which had no significant removal. Methane<br />

correction factor for semi-aerobic and anaerobic landfills was found to be 0.52 and 0.99 respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในปจจุบันการพัฒนาเมืองอันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ และสังคมที่เกิดขึ้นอยาง<br />

รวดเร็ว ประชากรมีอัตราการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ตลอดจนมีการรับเอาเทคโนโลยี<br />

การผลิตใหมๆ มาใชในชีวิตประจําวันมากขึ้น จึงทําใหมีวัสดุเหลือจากการอุปโภค บริโภค เกิดปญหาการเพิ่มขึ้น<br />

ของมูลฝอย สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เกิดปญหามลพิษ ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น การฝงกลบมูลฝอยเปนหนึ่ง<br />

ในวิธีที่ใชในการกําจัดมูลฝอยที่นิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ในประเทศไทยโดยสวนใหญเปนการฝงกลบในระบบ<br />

ไรออกซิเจน (Anaerobic Landfill) ซึ่งกอใหเกิดกาซมีเทนและคารบอนไดออกไซดเปนจํานวนมากจากการทํางาน<br />

ของจุลินทรียประเภทไมใชออกซิเจน(กาซมีเทนสงผลตอภาวะโลกรอนมากกวากาซคารบอนไดออกไซดถึง 21 เทา)<br />

โดยกาซเหลานี้เปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) รวมถึงใชระยะเวลานานในการ<br />

ปรับเสถียรความเปนมลพิษของมูลฝอยและน้ําชะมูลฝอย แตกตางกับระบบการฝงกลบระบบใชออกซิเจน (Aerobic<br />

Landfill) ซึ่งเปนระบบที่อาศัยการทํางานของจุลินทรียประเภทที่ตองใชออกซิเจนในการดํารงชีวิต ซึ่งใชระยะเวลาใน<br />

การปรับเสถียรสั้นกวา และเกิดกาซคารบอนไดออกไซดมากกวากาซมีเทน แตการฝงกลบระบบใชออกซิเจน กลับมี<br />

ปญหาในดานงบประมาณการดําเนินการ เพราะตองมีการวางทอและระบบเติมอากาศเพื่อใหออกซิเจนเขาไปสูชั้น<br />

มูลฝอยอยางทั่วถึง ซึ่งใชงบประมาณเปนจํานวนมาก ดังนั้นการฝงกลบในระบบกึ่งใชออกซิเจน (Semi-Aerobic<br />

Landfill) ซึ่งถูกคิดคนขึ้นโดย มหาวิทยาลัยฟูกุโอกะ ประเทศญี่ปุน จึงถูกนํามาพิจารณาเปนทางออกหนึ่งของปญหา<br />

เนื่องจากระบบการฝงกลบแบบกึ่งใชออกซิเจนนี้ มีความแตกตางจากระบบอื่น ๆ หลายประการ โดยจะไดรับ<br />

อิทธิพลจากการฝงกลบมูลฝอยโดยใชออกซิเจน ที่สามารถทําใหเกิดอัตราการยอยสลายไดเร็ววาการฝงกลบระบบ<br />

ไมใชออกซิเจน รวมถึงการปรับเสถียร และการบําบัดความสกปรกของน้ําชะมูลฝอยทําไดดีกวา นอกจากนี้<br />

งบประมาณในการดําเนินการนอยกวาการฝงกลบมูลฝอยในระบบอื่นดวย และที่สําคัญจากการศึกษาพบวาการฝง<br />

กลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนนี้ยังสามารถลดการเกิดกาซเรือนกระจกจากการฝงกลบแบบไรออกซิเจนไดถึง<br />

รอยละ 54<br />

IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) ไดกําหนดตัวแปรหนึ่งขึ้นมา สําหรับปรับแก<br />

อัตราการเกิดกาซมีเทนที่จะเกิดขึ้นในหลุมฝงกลบใด ๆ หรือที่เรียกวา “คาปรับแกการเกิดกาซมีเทน (Methane<br />

Correction Factor, MCF)” โดยในหลุมฝงกลบแตละระบบไดมีการกําหนดคา MCF มาตรฐาน ดังตารางที่ 1 ดังนี้<br />

259


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 คาการปรับแกกาซมีเทนในหลุมฝงกลบมูลฝอยชนิดตางๆ<br />

Type of Site<br />

Methane Correction Factor (MCF)<br />

Default Values<br />

Managed – Anaerobic 1.0<br />

Managed - Semi-Aerobic 0.5<br />

Unmanaged – Deep (>5 m deep) and/or high water<br />

0.4<br />

Table<br />

Unmanaged – Shallow (


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Symbol Sm I Sm II An I An II<br />

Operating Condition Semi-aerobic Semi-aerobic Anaerobic Anaerobic<br />

compaction Low compacted High compacted compacted compacted<br />

Density (kg/m 3 ) 638 770 728 716<br />

Leachate Storage - - 50% of waste 100% of waste<br />

รูปที่ 1 แบบจําลองฝงกลบมูลฝอย<br />

แบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 1 (Sm I) ทําการเจาะชองรองรับน้ําชะมูลฝอยเสนผานศูนยกลางขนาด<br />

2.5 เซนติเมตร โดยติดตั้งวาลวเชื่อมออกจากแบบจําลอง เหนือขึ้นไปจากทอรองรับน้ําชะมูลฝอยดานในถังติดตั้งทอ<br />

เสนผานศูนยกลาง 10 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 90 เซนติเมตร เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 เซนติเมตร<br />

รอบสวนบนของทอสําหรับเปนทางใหอากาศไหลเขาไป พรอมทั้งบรรจุกรวดทั้งดานบนและดานลางของทอระบาย<br />

น้ําชะมูลฝอยและทออากาศ<br />

แบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 2 (Sm II) ทําการติดตั้งเหมือนกับแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 1<br />

แบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 3 (An I) ติดตั้งทอขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 เซนติเมตรเพื่อเปนทอ<br />

รองรับน้ําชะมูลฝอย ตอทอขึ้นไปในแนวดิ่งสูง 125 เซนติเมตร เพื่อเก็บกักน้ําชะมูลฝอยใหอยูในระดับความสูงรอย<br />

ละ 50 ของชั้นมูลฝอย<br />

แบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 4 (An II) ทําการติดตั้งเหมือนแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยที่ 3 ยกเวนการ<br />

ตอทอในแนวดิ่งสูง 216 เซนติเมตร เพื่อเก็บกักน้ําชะมูลฝอยใหอยูในระดับความสูงของชั้นมูลฝอย<br />

เนื่องจากแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยทั้ง 4 ถังอยูในที่รม จึงทําการจําลองปริมาณการรองรับน้ําฝนตาม<br />

ธรรมชาติโดยการสราง ถาดรองรับน้ําฝน เสนผานศูนยกลาง 63 เซนติเมตร(คิดเปนรอยละ 70 ของพื้นที่ปากถัง)<br />

สูง 5 เซนติเมตร ตอทอลงในแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยทั้งสี่ พรอมติดตั้งหัวระบายน้ําใหระบายน้ําฝนลงสูผิวหนา<br />

มูลฝอยอยางทั่วถึง<br />

การวิเคราะหกาซชีวภาพและน้ําชะมูลฝอย<br />

ทําการวิเคราะหองคประกอบของกาซที่เกิดขึ้นจากการยอยสลายภายในชั้นมูลฝอย ไดแก CH 4 CO 2<br />

O 2 และ N 2 ดวยวิธี Gas Chromatography ทําการเก็บตัวอยางเก็บตัวอยางวันละ1 ครั้งในชวง 2 สัปดาหแรก<br />

261


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หลังจากนั้นจะเก็บอาทิตยละครั้ง การแพรระบายของกาซบริเวณผิวหนาหลุมฝงกลบทําการวิเคราะหโดยวิธี Close<br />

Flux Chamber เดือนละครั้ง วิธีคํานวณหาคา MCF ไดจากสมการที่ (1)<br />

MCF = ratio of CH 4 /(CH 4 + CO 2 ) (1)<br />

โดย หาก ratio of CH 4 /(CH 4 + CO 2 ) มีคามากกวาหรือเทากับ 0.6 คา MCF = 1<br />

หาก ratio of CH 4 /(CH 4 + CO 2 ) มีคานอยกวา 0.6 คา MCF = ratio/0.6<br />

น้ําชะมูลฝอยทําการเก็บตัวอยางเพื่อวิเคราะหลักษณะสมบัติของน้ําชะมูลฝอยโดยพารามิเตอรที่<br />

วิเคราะหไดแก ปริมาณการเกิดน้ําชะมูลฝอยตลอดระยะเวลาการวิจัย คาพีเอช (pH) คาความนําไฟฟา (Electrical<br />

Conductivity, EC) คาโออารพี (Oxidation Reduction Potential) คาบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand,<br />

BOD) ปริมาณคารบอนอินทรียรวม (Total Organic Carbon, TOC) ปริมาณของแข็งละลาย (Total Dissolved<br />

Solids, TDS) ปริมาณของแข็งตกตะกอน (Suspended Solids, SS) ไนโตรเจนรวม (Total Kjeldahl Nitrogen,<br />

TKN) แอมโมเนีย (Ammonia, NH 3 ) ฟอสเฟตรวม (Total Phosphate, P) และซัลเฟต (SO 4 2- ) ความถี่ในการเก็บ<br />

ตัวอยางเหมือนการเก็บตัวอยางกาซชีวภาพ<br />

4. ผลการศึกษา<br />

การเปลี่ยนแปลงในแบบจําลองฝงกลบมูลฝอย<br />

การศึกษาศึกษาโดยใชแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยดําเนินการเปนระยะเวลารวม 480 วัน จากการ<br />

ตรวจวัดปริมาณฝนที่ตกตอวัน ปริมาณน้ําฝนสะสม และปริมาณน้ําชะมูลฝอยสะสมในแบบจําลองฝงกลบมูลฝอย<br />

ตลอดระยะเวลาทําการศึกษา พบวาปริมาณน้ําฝนแปรผันตามฤดูกาล ซึ่งปริมาณน้ําชะมูลฝอยไดรับอิทธิพลจาก<br />

ปริมาณน้ําฝนในแตละชวง โดยมีปริมาณน้ําชะมูลฝอยเปรียบเทียบกับปริมาณน้ําฝนในถัง Sm I Sm II An I และ<br />

An II เทากับรอยละ 30.1 30.78 29.82 และ 26.58 ตามลําดับ ดังแสดงในรูปที่ 2<br />

Daily rainfall (L)<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

Cumulative rainfall<br />

and leachate (L)<br />

1,200<br />

1,000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Rain fall<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

rainfall Sm I Sm II An I An II<br />

a) b)<br />

รูปที่ 2 a) ปริมาณน้ําฝนรายวัน b) ปริมาณน้ําฝนและน้ําชะมูลฝอยสะสม<br />

การเกิดกาซชีวภาพในถังจําลองฝงกลบมูลฝอย<br />

262


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การตรวจวัดองคประกอบของกาซในชั้นมูลฝอยของถังจําลองการฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจนและไร<br />

ออกซิเจน แสดงในรูปที่ 3 a ) และ b) ใชการเปลี่ยนแปลงองคประกอบกาซชีวภาพในระดับความสูง 155 ซม.จาก<br />

ระดับพื้นถัง เปนตัวแทนของแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยทั้งสามถัง ไดแกถัง Sm I Sm II และ An I พบวา กาซ<br />

ชีวภาพในถัง An I มีองคประกอบของกาซมีเทนเพิ่มขึ้นสูงถึง 60 %(v/v) หลังจากผานไป 120 วันและมีคาคงที่<br />

จนถึงวันที่ 450 ของการศึกษา จึงเริ่มลดลง สวนความเขมขนของกาซมีเทนในถัง Sm I และ Sm II เริ่มมีแนวโนม<br />

เพิ่มขึ้นพรอมกันหลังจากทําการทดลอง 150 วัน แตกาซมีเทนในถัง Sm I เพิ่มขึ้นสูงสุดเพียง 50 %(v/v) และลดลง<br />

จนมีคาต่ํากวา 10 %(v/v) หลังจากผานไป 240 วัน สวนความเขมขนของกาซมีเทนในถัง Sm II เมื่อเพิ่มขึ้นถึง<br />

ระดับ 60 %(v/v) จะมีคาคงที่และเริ่มลดลงในชวงเวลาเดียวกับในถัง An I การเพิ่มขึ้นของกาซมีเทนในแบบจําลอง<br />

ฝงกลบมูลฝอย มีความสัมพันธกับปริมาณน้ําฝนที่ตกลงสูถัง โดยเฉพาะในถัง Sm I ในชวงที่กาซมีเทนในถัง Sm I<br />

เพิ่มขึ้นเปนชวงที่มีฝนตกมากและตอเนื่อง หลังจากนั้นความเขมขนกาซมีเทนจึงลดต่ําลง เมื่อปริมาณฝนขาดชวง<br />

สวนกาซคารบอนไดออกไซดในถังจําลองการฝงกลบมูลฝอย Sm I Sm II มีคาสวนใหญอยูระหวาง 20-35 %(v/v)<br />

ตลอดระยะเวลาทําการศึกษา แตกาซคารบอนไดออกไซดในถัง An I ในชวง 90 วันแรกของการศึกษา มีความ<br />

เขมขนสูงในชวง 40-60 %(v/v) จากนั้นจึงเริ่มลดลงตามระยะเวลา จนมีความเขมขนในชวงเดียวกับถัง Sm I และ<br />

Sm II<br />

ผลการตรวจวัดอัตราการแพรระบายกาซมีเทนบริเวณผิวหนาหลุมฝงกลบมูลฝอย แสดงในรูปที่ 4 a)<br />

และ b) พบวาอัตราการแพรระบายกาซมีเทนในชวง 5 เดือนแรกมีคาต่ํา เนื่องจากยังอยูในชวงของการยอยสลาย<br />

แบบ Hydrolysis และ Acidogenesis จากนั้นเมื่อผานไป 180 วัน อัตราการแพรระบายจึงเพิ่มขึ้นโดยมีคาสูงสุด<br />

เทากับ 252.47 g/m 2 /d ในถัง An I ซึ่งเปนชวงเวลาเดียวกับมีฝนตกหนักและคาความเขมขนของสารอินทรีย (BOD<br />

และ TOC) ในน้ําชะมูลฝอยมีแนวโนมลดลงอยางรวดเร็ว ซึ่งแสดงใหเห็นวาเขาสู Methanogenesis จากนั้นอัตรา<br />

การแพรระบายกาซแปรผันตามเวลา โดยอัตราการแพรระบายกาซสะสมในถัง An I และ An II (รูปที่ 5 a)) มีคา<br />

ใกลเคียงกันเทากับ 37,001.4 และ 36,480.7 g/m 2 ตามลําดับ หรือเฉลี่ยตอวันเทากับ 43.90 และ 44.47<br />

g/m 2 /kg.wet wt./d ตามลําดับ ในขณะที่ Sm II มีอัตราการแพรระบายสะสม 3,382.7 g/m 2 (7.82x10 -3 g/m 2 /kg.wet<br />

wt./d) นอยการกวาแพรระบายกาซมีเทนจากการฝงกลบระบบไรออกซิเจน 11.4 เทา สวนถัง Sm I มีอัตราการแพร<br />

ระบายสะสม 148.8 g/m 2 (4.18x10 -4 g/m 2 /kg.wet wt./d) นอยกวาการแพรระบายกาซมีเทนจากการฝงกลบแบบไร<br />

ออกซิเจนถึง 214 เทา<br />

คาความเขมขนของกาซมีเทนในชั้นมูลฝอยของถัง Sm II มีคาสูงใกลเคียงกับถังไรออกซิเจน แตอัตรา<br />

การแพรระบายกาซในบริเวณผิวหนาหลุมฝงกลบมีความแตกตางกันถึงรอยละ 90 อันเนื่องมาจากอิทธิพลของการ<br />

ยอยสลายแบบใชออกซิเจนบริเวณดานลางของถังรวมกับการใชทรายเปนวัสดุกลบทับ และปฏิกิริยามีเทนออกซิ<br />

เดชั่นเกิดจากการทํางานของจุลินทรียจําพวก methanotrophic ในบริเวณวัสดุกลบทับ รวมถึงความชื้นที่ระเหยไป<br />

พรอมอากาศที่แทรกซึมผานชั้นมูลฝอย จึงสามารถลดอัตราการแพรกระจายกาซมีเทนไดโดยตรง สวนถังไรอากาศ<br />

ทั้งสองมีการกักน้ําไวในชั้นมูลฝอยซึ่งเปนตัวเรงใหเกิดการยอยสลายแบบไรออกซิเจนโดยเฉพาะในถัง An II ที่กัก<br />

น้ําไวเต็มถังทําใหอัตราการแพรระบายสูงที่สุด<br />

263


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

70<br />

70<br />

60<br />

60<br />

CH4 (%v/v)<br />

50<br />

40<br />

30<br />

CO2 (%v/v)<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

20<br />

10<br />

10<br />

0<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I<br />

Sm I Sm II An I<br />

a) b)<br />

รูปที่ 3 a) การเปลี่ยนแปลงกาซมีเทน b) การเปลี่ยนแปลงกาซคารบอนไดออกไซด<br />

300<br />

700<br />

CH4 Emission (g/ m 2 /d)<br />

250<br />

200<br />

150<br />

100<br />

50<br />

CO2 Emission (g/ m 2 /d)<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

0 30 60 90 120 150 180 210 240 270 300 330 360 390 420 450 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

0<br />

0 30 60 90 120 150 180 210 240 270 300 330 360 390 420 450 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

a) b)<br />

รูปที่ 4 a) อัตราการแพรระบายกาซมีเทน b) อัตราการแพรระบายกาซคารบอนไดออกไซด<br />

Cumulative CH 4 Emission (g/m2)<br />

60,000<br />

45,000<br />

30,000<br />

15,000<br />

Cumulative CO2 Emission (g/ m 2 )<br />

120,000<br />

90,000<br />

60,000<br />

30,000<br />

0<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

a) b)<br />

รูปที่ 5 a) อัตราการแพรระบายกาซมีเทนสะสม b) อัตราการแพรระบายกาซคารบอนไดออกไซดสะสม<br />

264


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัติของน้ําชะมูลฝอย<br />

จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัติของน้ําชะมูลฝอยในแบบจําลอง รูปที่ 6 a) พบวาน้ําชะ<br />

มูลฝอยจากแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยระบบไรออกซิเจนมีสภาพความเปนกรดมากกวาแบบจําลองแบบกึ่งใช<br />

ออกซิเจนโดยเฉพาะในชวง150 วันแรก ในขณะที่แบบจําลองฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนที่มีความ<br />

หนาแนนสูง (Sm II) มีสภาพความเปนกรดใกลเคียงกับสภาวะไรออกซิเจน สวนแบบจําลองฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่ง<br />

ใชออกซิเจนที่ความหนาแนนต่ํา (Sm I) มีสภาพความเปนกลางตลอดเวลาการศึกษา หลังจาก 180 วัน ถัง Sm II<br />

An I และ An II มีแนวโนมเพิ่มขึ้นและคงที่โดยมีคา pH อยูระหวาง 7-8 รูปที่ 6 b) แสดงคา BOD ที่มีแนวโนมลดลง<br />

ตามเวลา โดยถัง Sm I ลดลงอยางรวดเร็วจาก 44,000 mg/l เหลือ 5,000 mg/l ซึ่งคิดเปนรอยละ 90 ของความ<br />

เขมขนเริ่มตนในระยะเวลา 60 วัน สวนคา BOD ในถัง Sm II An I และ An II ลดลงมากกวารอยละ 90 หลังจาก<br />

ผานไป 180-210 วัน เชนเดียวกับคา TOC (รูปที่ 6 c)) ในน้ําชะมูลฝอย ซึ่งมีแนวโนมเหมือนกับ BOD สวนคา<br />

ไนโตรเจนในน้ําชะมูลฝอยไดแกคา TKN และ NH 3 (รูปที่ 7) มีแนวโนมเหมือนกันโดยคา TKN ในถัง Sm I และ Sm<br />

II มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในชวง 60 วันแรก (Hydrolysis Phase) หลังจากนั้นจึงมีคาลดลงตามเวลา จากชวง 2,000-<br />

2,500 mg/l เหลือ 200-500 mg/l สวน An I และ An II เมื่อผาน 60 วันแรกไปแลว คา TKN คอนขางคงที่โดยอยู<br />

ในชวง 1,000-1,500 mg/l ซึ่งแสดงใหเห็นวาระบบกึ่งใชออกซิเจนสามารถกอใหเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่น ซึ่งเปน<br />

การยืนยั้นถึงการไหลของอากาศจากภายนอกเขาสูชั้นมูลฝอย ตามหลักการของการฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจน<br />

แตการฝงกลบมูลฝอยระบบไรออกซิเจนไมกอใหเกิดปฏิกิริยาดังกลาว<br />

9<br />

8<br />

pH<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

a)<br />

80,000<br />

30,000<br />

BOD (mg/ l)<br />

70,000<br />

60,000<br />

50,000<br />

40,000<br />

30,000<br />

20,000<br />

10,000<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

TOC (mg/ l)<br />

25,000<br />

20,000<br />

15,000<br />

10,000<br />

5,000<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

b) c)<br />

รูปที่ 6 a) คา pH b) คา BOD และ C) คา TOC<br />

265


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3,500<br />

3,500<br />

3,000<br />

3,000<br />

2,500<br />

2,500<br />

TKN (mg/ l)<br />

2,000<br />

1,500<br />

NH3 (mg/l)<br />

2,000<br />

1,500<br />

1,000<br />

1,000<br />

500<br />

500<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

0<br />

0 60 120 180 240 300 360 420 480<br />

Time (Days)<br />

Sm I Sm II An I An II<br />

a) b)<br />

รูปที่ 7 a) คา TKN b) คา NH 3<br />

การประเมิน Methane Correction Factor (MCF)<br />

เมื่อพิจารณาอัตราการเกิดกาซมีเทนในการฝงกลบระบบไรออกซิเจนที่สมบูรณซึ่งมีคา MCF เทากับ 1<br />

พบวาในถัง Sm I Sm II และ An I มีคา MCF เทากับ 0.52 0.80 และ 0.99 ตามลําดับ ซึ่งคา MCF ที่แตกตางกัน<br />

ของถัง Sm I และ Sm II แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของความหนาแนนมูลฝอย ที่สงผลตออัตราการเกิดกาซมีเทน และ<br />

ความแตกตางของคา MCF จากถัง Sm I กับ An I แสดงใหเห็นถึงสภาวะของการยอยสลายมูลฝอยในถังจําลองที่<br />

แตกตางกัน นั่นคือมีสภาวะการยอยสลายแบบใชออกซิเจนและแบบไรออกซิเจน ตามลําดับ คา MCF ที่คํานวณได<br />

จากการวิจัยครั้งนี้มีคาใกลเคียงกับคา MCF ที่ IPCC (2006) กําหนดมาเปนมาตรฐาน ทั้งนี้ คา MCF จะแปรผันไป<br />

ตามความชื้นของมูลฝอย ระยะเวลาการฝงกลบ และการจัดการในพื้นที่หลุมฝงกลบดวย<br />

นอกจากนี้ ในการพิจารณาถึงอัตราการเกิดกาซมีเทนที่สมบูรณควรคํานึงถึง delay time หรือ<br />

ระยะเวลาที่ทําใหเกิดกาซมีเทนสูงสุด โดยในการศึกษาครั้งนี้ การฝงกลบมูลฝอยระบบกึ่งใชออกซิเจนมี delay time<br />

เทากับ 7 เดือน ในขณะที่การฝงกลบมูลฝอยระบบไรออกซิเจนมี delay time เทากับ 2 เดือน<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การฝงกลบมูลฝอยในสภาวะกึ่งใชออกซิเจนทั้งแบบที่มีความหนาแนนมูลฝอยต่ําและความหนาแนนมูล<br />

ฝอยสูงสามารถลดอัตราการแพรระบายกาซมีเทนในบริเวณพื้นผิวหลุมฝงกลบไดมากกวารอยละ 99 และ 90<br />

ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับการฝงกลบมูลฝอยแบบไรออกซิเจน ถึงแมปริมาณความเขมขนของกาซมีเทนในชั้น<br />

มูลฝอย จะยังคงมีคาสูงก็ตาม (60%v/v) นอกจากนี ้การฝงกลบมูลฝอยในสภาวะกึ่งใชออกซิเจนยังสามารถลด<br />

ปริมาณและความเขมขนของสารมลพิษในน้ําชะมูลฝอยลงไดมากกวาการฝงกลบในสภาวะไรออกซิเจน โดย<br />

สารอินทรียในน้ําชะมูลฝอยลงรอยละ 90 ภายในเวลา 60 วัน เปรียบเทียบกับ 180 วันในสภาวะไรออกซิเจน<br />

นอกจากนี้น้ําชะมูลฝอยจากสภาวะกึ่งใชออกซิเจนยังมีความเขมขนของไนโตรเจนลดลงถึงรอยละ 90 ในขณะที่การ<br />

ฝงกลบแบบไรออกซิเจนมีระดับคอนขางคงที่ สาเหตุเนื่องจากเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นในการฝงกลบระบบกึ่งใช<br />

ออกซิเจน คาปรับแกการเกิดกาซมีเทน (MCF) ของการฝงกลบในสภาวะกึ่งใชออกซิเจนแบบความหนาแนนมูล<br />

ฝอยต่ํา แบบความหนาแนนมูลฝอยสูง และแบบไรออกซิเจนมีคาเทากับ 0.52 และ 0.80 และ 0.99 ตามลําดับ<br />

266


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลจากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะน้ําชะมูลฝอยและการเกิดกาซชีวภาพ จากการฝงกลบมูลฝอยดวย<br />

วิธีฝงกลบระบบกึ่งใชออกซิเจน แสดงใหเห็นถึงแนวทางในการลดการเกิดมลพิษของน้ําชะขยะอยางไดผล รวมถึง<br />

เปนการลดการเกิดกาซมีเทนซึ่งเปนกาซเรือนกระจก และสามารถนํามาประยุกตใชไดกับการฝงกลบในเมืองไทย<br />

เนื่องจากมูลฝอยของประเทศไทยเปนมูลฝอยอินทรียเปนสวนใหญซึ่งกอนใหเกิดกาซมีเทนในปริมาณสูง นอกจากนี้<br />

ยังประหยัดงบประมาณกวาการฝงกลบแบบเติมอากาศเนื่องจากไมจําเปนตองติดตั้งอุปกรณเติมอากาศและไม<br />

จําเปนตองเสียคาดําเนินการเพิ่มแตอยางใดเพียงแคกอสรางทอน้ําชะมูลฝอยขนาดใหญกวาเดิมใหอากาศสามารถ<br />

ไหลผานและเพิ่มหินกรวดลงไปบริเวณรอบทอน้ําชะ จึงเหมาะสมที่จะนํามาใชกับประเทศกําลังพัฒนาอยางประเทศ<br />

ไทย อยางไรก็ตาม จําเปนตองควบคุมความหนาแนนของมูลฝอยในการฝงกลบแบบกึ่งใชออกซิเจนมิใหสูงเกินไป<br />

และสมควรจะทําการศึกษาความสัมพันธของความหนาแนนมูลฝอยในการฝงกลบมูลฝอยแบบกึ่งใชออกซิเจนตอ<br />

อัตราการเกิดกาซมีเทนตอไป<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Hanashima, M. 1999. Pollution control and stabilization process by semi-aerobic landfill type: the<br />

fukuoka method. Proceeding Sardinia 1999, seventh International Waste Management and<br />

Landfill Symposium. At S.Magherita di Pula, Cagliari, Italy on 4-8 October 1999.<br />

- IPCC 2006, 2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories, Prepared by the<br />

National Greenhouse Gas Inventories Programme, Eggleston H.S., Buendia L., Miwa K., Ngara<br />

T. and Tanabe K. (eds). Published: IGES, Japan<br />

- Matsufuji, Y., Thachifuji, A. and Matsugu, H. 2005. Biodegradation process of municipal solid<br />

waste by semi-aerobic landfill type. Proceeding Sardinia 2005, Tenth International Waste<br />

Management and Landfill Symposium. At S.Magherita di Pula, Cagliari, Italy on 3-7 October<br />

2005.<br />

- Theng, L.C., Matsufuji. Y. and Nasir, H., Mhd. Implementation of the semi-aerobic landfill system<br />

(Fukuoka method) in developing countries: A Malaysia cost analysis. Waste Management.<br />

25(2005): 702-711.<br />

- ชาติ เจียมไชยศรี วิไล เจียมไชยศรี อุบลวรรณ นนทพันธุ อรนุช เสาวรส และนวพรรณ ลักณานุรักษ.<br />

2005. การประเมินศักยภาพและอัตราการแพรระบายกาซมีเทนจากพื้นที่ฝงกลบมูลฝอยและกองมูลฝอย<br />

กลางแจงในประเทศไทย. วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย. ปที่ 18 ฉบับที่ 2 หนา 81-91.<br />

- สมใจ กาญจนวงศและเสนีย กาญจนวงศ. 2537. การกําจัดขยะดวยวิธีการกลบฝงดินแบบไรออกซิเจนและ<br />

กึ่งออกซิเจน. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม, คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

267


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกตอผลิตภัณฑน้ําตาลและผลของการใชพลังงานจากวัสดุชีวมวล<br />

ตอการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในโรงงานน้ําตาล<br />

Greenhouse Gas Emission Intensity of Sugar and the Contribution of Bioenergy from<br />

Sugarcane Residues<br />

มณฑิรา ยุติธรรม และ อํานาจ ชิดไธสง<br />

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ออยเปนพืชอาหารและพืชพลังงานที่สําคัญของไทย โดยไทยสามารถผลิตออยเปนลําดับที่สี่ของโลกและ<br />

สามารถสงออกน้ําตาลเปนลําดับที่สองของโลก นอกจากนี้เศษวัสดุเหลือใชในกระบวนการผลิตน้ําตาลสามารถนําไป<br />

ผลิตพลังงานไฟฟาใชภายในโรงงานซึ่งสามารถทดแทนการใชพลังงานฟอสซิล ที่เปนสาเหตุสําคัญของสภาวะโลก<br />

รอนได ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกตอผลิตภัณฑน้ําตาลและประเมิน<br />

ศักยภาพในการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตน้ําตาลจากการใชเศษชีวมวลเปรียบเทียบ<br />

ระหวางปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานไฟฟาที่มีการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ และการใช<br />

พลังงานไฟฟาจากพลังงานชีวมวล โดยครอบคลุมตั้งแตการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตน้ําตาลและ<br />

จากกระบวนการบําบัดน้ําเสีย จนถึงการไดมาซึ่งผลิตภัณฑที่เปนน้ําตาลที่ยังไมบรรจุถุง ซึ่งไดรวบรวมขอมูลจาก<br />

โรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกจํานวน 4 โรงงานจากทั้งหมด 5 โรงงานในป 2546-2551 อางอิงวิธีการประเมินการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกและคาการปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ตาง ๆ จากวิธีการของ IPCC (2006)<br />

ผลการศึกษาพบวา โรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกมีการใชไฟฟาตั้งแต 205-389 กิโลวัตตชั่วโมง/ตัน<br />

น้ําตาล ผลผลิตออยรวมทั้งหมดสี่โรงงาน คือ 1,813,362 ตันออยตอป ใชพลังงานในการผลิตน้ําตาลทั้งหมด<br />

50,991,938 กิโลวัตตชั่วโมงตอป จําแนกเปนการใชพลังงานจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซธรรมชาติเปน<br />

เชื้อเพลิง 689,852 กิโลวัตตชั่วโมง และจากชีวมวล 50,303,088 กิโลวัตตชั ่วโมง การปลอยกาซเรือนกระจกใน<br />

กระบวนการผลิตน้ําตาลในโรงงานในกรณีที่ไฟฟานั้นผลิตมาจากกาซธรรมชาติเทากับ 92-106 กรัม CO 2<br />

เทียบเทา/กก. น้ําตาล และในกรณีที่ใชพลังงานไฟฟาจากชีวมวล มีการปลอยกาซเรือนกระจกเทากับ 53 กรัม CO 2<br />

เทียบเทา/กก. น้ําตาล ดังนั้นการใชพลังงานชีวมวลสามารถชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดประมาณรอยละ<br />

49 ของกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากการใชพลังงานไฟฟาที่มีกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง นอกจากนี้เมื่อประเมินคา<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานทั้งสองรูปแบบจากผลผลิตในภาคตะวันออกทั้งหมด 3,187,391 ตัน<br />

ออยตอป พบวามีการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง เทากับ 17,849 ตัน CO 2<br />

เทียบเทาตอป และจากการใชพลังงานไฟฟาชีวมวลเทากับ 21,446 ตัน CO 2 เทียบเทาตอป หรือสามารถชวยลด<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกไดถึง 16,989 ตัน CO 2 เทียบเทาตอป<br />

คําสําคัญ: กาซเรือนกระจก โรงงานน้ําตาล การใชพลังงานในโรงงานน้ําตาล การปลอยกาซเรือนกระจกตอ<br />

ผลิตภัณฑน้ําตาล<br />

268


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Sugarcane is the important food and energy crop for Thailand. Thailand is ranked the 4 th of the<br />

world for sugarcane production amount and the 2 nd for sugar export volume in 2007/08 (5 million tons of<br />

sugar exported). In addition to contributing to sugar manufacture, sugarcane residues are also the<br />

valuable resources for renewable energy and thus reducing greenhouse gas emission and global<br />

warming. The objectives of this study are to evaluate the carbon emission intensity of sugar produced in<br />

the case study of Eastern Thailand, and to evaluate the potential of greenhouse gas mitigation by using<br />

sugarcane residues to substitute the use of fossil fuels. The scope of the study includes the estimate of<br />

greenhouse gases emissions from wastewater treatment and energy utilization in sugar mill process and<br />

ends when the unpacked sugar is produced. The data were obtained from 4 of the total 5 sugar mills in<br />

Eastern Thailand during 2003-2008. The methodology and emission factors from IPCC 2006 Guideline<br />

were used. There are two energy scenarios that were compared; the fossil fuel scenario that is based on<br />

the assumption that 100% of electricity was supplied from grid mainly generated from natural gas<br />

combustion (FS), and the bioenergy scenario where the sugar mill factory uses the electricity supplied<br />

both from grid and that is produced from the bagasse (BS).<br />

The study results show that sugar milling consumes 205-389 kWh/ton sugar produced. From the<br />

4 sugar mills with the sugarcane production of 1,813,362 ton cane/year, about 50,911,938 kWh/year of<br />

electricity were consumed. These were divided into 68,852 kWh/year from use of fossil fuels and<br />

50,303,088 kWh/year from sugar residues. Different sugar mills give different greenhouse gas emission<br />

intensity, depending on sugar mill management. The ranges of greenhouse gas emission intensity is 53-<br />

54 g CO 2 -eg/kg sugar produced. In the FS scenario, the average of 4 sugar mills for greenhouse gases<br />

emission intensity is 92-106 g CO 2 -eq/ kg sugar. In the BS scenario, this is 53 g CO 2 -eq/ kg. Thus,<br />

energy production from sugarcane residues cloud helps avoid CO 2 emission about 49%. In addition, the<br />

estimated greenhouse gases emissions for the whole area of Eastern region with the sugarcane<br />

production of 3,187,391 ton cane/year were 17,849 ton CO 2 -eq/year for FS scenario and 21,446 ton CO 2 -<br />

eq/year for BS scenario, or about 16,989 ton CO 2 -eq/year emission avoided.<br />

1. ความสําคัญ<br />

เนื่องจากการเกิดปญหาสภาวะโลกรอนจากกิจกรรมของมนุษย และการขาดแคลนพลังงานของโลก โดย<br />

จากกอนปฏิวัติอุตสาหกรรมจนถึงปจจุบันอุณหภูมิของโลกไดรอนขึ้นรวมทั้งการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจก<br />

โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซคที่มีบทบาทมากที่สุดที่เพิ่มขึ้นจาก 280 ppmv ในป 2293 จนถึง 381 ppmv ในป<br />

2548 มีอัตราการเพิ่มขึ้นถึง 1.5 ppmv/year (Kirstin and Thomas, 2007) ดวยเหตุผลดังกลาวนี้หลาย ๆ ประเทศ<br />

ไดวางนโยบายรวมกันเพื่อชวยลดปญหาดังกลาว ประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศที่ตองรวมแกไขปญหา แนวทาง<br />

หนึ่งที่มีสวนชวยลดปญหาภูมิอากาศโลกรอนได คือ การใชพลังงานทดแทนที่ผลิตจากชีวมวลทดแทนการใช<br />

พลังงานจากฟอสซิล รวมทั้งประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ในภาคการเกษตรมีการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

คิดเปน 21% ในป 2543 หรือคิดเปน 51 Mt CO 2 เทียบเทา (JGSEE, 2009) ดังนั้นในภาคการเกษตรจึงมีบทบาท<br />

สําคัญตอการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมการเกษตรและมีศักยภาพในการชวยลดปญหาดังกลาว ออยเปน<br />

269


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พืชอาหารและพืชพลังงานที่สําคัญของไทย โดยไทยสามารถผลิตออยเปนลําดับที่สี่ของโลกและสามารถสงออก<br />

น้ําตาลเปนลําดับที่สองของโลก (International sugar statistics, 2008) นอกจากนี้เศษวัสดุเหลือใชในกระบวนการ<br />

ผลิตน้ําตาลสามารถนําไปผลิตพลังงานไฟฟาใชภายในโรงงานซึ่งสามารถทดแทนการใชพลังงานฟอสซิล ที่เปน<br />

สาเหตุของสภาวะโลกรอนได จากการศึกษาที่ผานมาพบวา ประมาณ 4 % ของพลังงานทดแทนทั้งโลกสามารถ<br />

ชวยลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก จําแนกเปน พลังงานชีวมวล (39 GW) พลังงานลม (48 GW) พลังงานน้ํา<br />

ขนาดเล็ก ( 61 GW) พลังงานความรอน (8.9 GW) พลังงานแสงอาทิตย ( 4 GW) และพลังงานคลื่น (0.3 GW)<br />

(Kirstin and Thomas, 2007) ในสวนของพลังงานชีวมวลจากโรงงานน้ําตาล สามารถผลิตพลังงานทดแทนไดถึง<br />

103 TWh (Seungdo and Bruce, 2004) และยังมีการศึกษาของประเทศอื่น ๆ แสดงถึงศักยภาพในการใชเศษ<br />

ชีวมวลในโรงงานน้ําตาลเพื่อผลิตพลังงานทดแทนสามารถชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

(Beeharry, 2001)<br />

ดังนั้นในการศึกษานี้จึงใหความสนใจในกระบวนการและขอมูลของกาซเรือนกระจกที่เปนสาเหตุดังกลาว<br />

ในโรงงานน้ําตาล ทายที่สุดผลของการศึกษาจะไดขอมูลของประเทศไทยที่เปนประโยชนได และสามารถนําขอมูล<br />

ใชวางแผนหรือหาแนวทางจัดการลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในอนาคตได<br />

2. วัตถุประสงค<br />

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกตอผลิตภัณฑน้ําตาลและประเมิน<br />

ศักยภาพในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตน้ําตาลจากการใชเศษชีวมวลเปรียบเทียบ<br />

ระหวางปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่มีการผลิตไฟฟา<br />

จากกาซธรรมชาติ และการใชพลังงานไฟฟาจากพลังงานชีวมวล<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การศึกษานี้ไดทําการประเมินปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในโรงงานน้ําตาลสี่โรงงานจากทั้งหมดหา<br />

โรงงานในภาคตะวันออก (รูปที่ 1) โดยทําการเก็บรวมรวมขอมูลในปการผลิต 2546/47 -2550/2551 และอางอิง<br />

วิธีการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกและคาการปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ตางๆ จากวิธีการ<br />

ของ IPCC (2006) และเปรียบเทียบระหวางปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในโรงงานที่มีการใชพลังงานไฟฟา<br />

จากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่มีการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ และโรงงานน้ําตาลที่มีการใชพลังงานไฟฟาจาก<br />

พลังงานชีวมวล ซึ่งองคประกอบสําคัญที่ใชในการคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจก ไดแก ขอมูลกิจกรรม (Activity<br />

data) และคาการปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ซึ่งจะแตกตางกันไปตามลักษณะกิจกรรมที่ทําใหเกิด<br />

กาซเรือนกระจก ในสวนของโรงงานน้ําตาลประกอบดวย การใชพลังงาน และการเกิดน้ําเสีย ที่มาของขอมูล<br />

กิจกรรมในการศึกษานี้ ไดจากการเก็บขอมูลโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกโดยแบบสอบถาม ซึ่งรายละเอียดของ<br />

วิธีการศึกษามีดังนี้<br />

3.1 พื้นที่ปลูกออยและโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออก<br />

พื้นที่ปลูกออยในภาคตะวันออกครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด ไดแก จังหวัดชลบุรี ระยอง สระแกว จันทบุรี<br />

ฉะเชิงเทราและปราจีนบุรี ซึ่งพื้นที่ปลูกออยในภาคตะวันออกเฉลี่ยจากปการเพาะปลูก 2546/47-2550/2551<br />

ประมาณ 66,573 เฮกแตร และผลผลิตออย ประมาณ 3,187,391 ตัน คิดเปนรอยละ 6.34 ของพื้นที่ปลูกออย<br />

ทั้งหมดในประเทศไทย (รูปที่ 1) การกระจายตัวของพื้นที่ปลูกออยในภาคตะวันออกเปนดังนี้ จังหวัดชลบุรี (รอยละ<br />

270


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 พื้นที่ปลูกออยและตําแหนงที่ตั้งของโรงงานน้ําตาลในประเทศไทยและในภาคตะวันออก<br />

37.66 ครอบคลุมพื้นที่ 26,093 เฮกแตร) สระแกว (รอยละ 32.98 ครอบคลุมพื้นที่ 23,112 เฮกแตร) ฉะเชิงเทรา<br />

(รอยละ 16.41 ครอบคลุมพื้นที่ 11,501 เฮกแตร) จันทบุรี (รอยละ 5.56 ครอบคลุมพื้นที่ 26,093 เฮกแตร)<br />

ปราจีนบุรี (รอยละ 3.93 ครอบคลุมพื้นที่ 2,753 เฮกแตร) และระยอง (รอยละ 3.88 ครอบคลุมพื้นที่ 2,716 เฮก<br />

แตร) (OSCB, 2005a, 2005b, 2008)<br />

ปจจุบันประเทศไทยมีโรงงานน้ําตาลรวมทั้งสิ้น 46 โรงงาน ตั้งอยูในภาคตาง ๆ ทั่วประเทศ คือ ภาคเหนือ<br />

จํานวน 9 โรงงาน ภาคกลาง จํานวน 17 โรงงาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 15 โรงงาน และภาค<br />

ตะวันออกมีโรงงานจํานวน 5 โรงงาน ไดแก จังหวัดชลบุรีมี 4 โรงงาน คือ โรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลชลบุรี<br />

โรงงานน้ําตาลนิวกวางสุนหลี โรงงานน้ําตาลสหการน้ําตาลชลบุรี และโรงงานน้ําตาลระยอง และจังหวัดสระแกวมี<br />

1 โรงงาน คือ โรงงานน้ําตาลตะวันออก (OSCB, 2008)<br />

3.2 การเก็บรวบรวมขอมูลและขอบเขตการศึกษา<br />

การศึกษานี้ไดทําการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตน้ําตาล โดยครอบคลุมกาซ<br />

เรือนกระจกที่เกิดจากการใชพลังงานในกระบวนการผลิตจนไดผลิตภัณฑน้ําตาลทรายที่ยังไมบรรจุถุงและจากน้ํา<br />

เสียภายในโรงงาน ขอมูลที่ใชในการศึกษาไดรับความอนุเคราะหจากโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออก โดยขอมูลที่<br />

ใชจากโรงงานน้ําตาลทั้งหมดสี่โรงงานในภาคตะวันออก มีขอมูลทั้งหมด 15 ชุดขอมูล จากปการผลิต 2546/47 ถึง<br />

2550/2551 ประกอบดวยขอมูลผลผลิต ปริมาณการใชไฟฟา ปริมาณน้ําเสีย และปริมาณผลผลิตน้ําตาล กาก<br />

ตะกอน กากน้ําตาล และชานออย โดยขอมูลที่ไดสามารถนําไปประเมินปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกใน<br />

โรงงานน้ําตาลได<br />

ในสวนของการใชไฟฟาในโรงงานน้ําตาลนั้นไดมีการเปรียบเทียบการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใช<br />

ไฟฟาเปนสองรูปแบบคือ รูปแบบที่หนึ่ง การใชไฟฟาทั้งหมดจากการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยมีสมมุติฐานวาการ<br />

ผลิตไฟฟานี้ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง เนื่องจากโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกไดใชไฟฟาจากโรงไฟฟาบาง<br />

ประกง ซึ่งสวนใหญผลิตจากกาซธรรมชาติ (EGAT, 2005) สวนรูปแบบที่สอง คือ การใชไฟฟาจากพลังงานชีวมวล<br />

271


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ที่ผลิตจากชานออยใชภายในโรงงานและพลังงานไฟฟาบางสวนจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่มีการผลิตจากกาซ<br />

ธรรมชาติ<br />

3.3 สมการที่ใชในการคํานวณ<br />

3.3.1 การผลิตไฟฟาและการใชไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

วิธีการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชไฟฟามาจากสมการที่ 1<br />

เมื่อ:<br />

Emissions<br />

GHG , fuel<br />

Fuel Consumption fuel * Emission FactorGHG<br />

, fuel<br />

Emissions GHG, fuel = emission of a given GHG by type of fuel (kg GHG)<br />

Fuel Consumption = the amount of fuel combusted (TJ)<br />

Emission factor GHG, fuel = default emission factor of a given GHG by type of fuel (kg gas/TJ)<br />

(1)<br />

คาการปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ที่เกิดจากการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ มีคาเทากับ<br />

0.0564 kg CO 2 /MJ, 1 kg CH 4 /TJ และ 0.1 kg N 2 O/TJ (IPCC, 2006)<br />

คาการปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ที่เกิดจากการผลิตไฟฟาจากเศษชีวมวล มีคาเทากับ 30<br />

kg CH 4 /MJ, 4 kg N 2 O/TJ (IPCC, 2006) สวนกาซคารบอนไดออกไซคไมนับรวม เนื่องจากกาซคารบอนไดออก<br />

ไซคสามารถดูดกลับดวยกระบวนการสังเคราะหแสงของพืชเมื่อพืชเจริญเติบโต<br />

คาศักยภาพในการดูดกลืนความรอน (Global Warming Potential: GWP) เมื่อเทียบกับกาซคารบอนได<br />

ออกไซค กาซมีเทนมีคาเทากับ 21 และ กาซไนตรัสออกไซคมีคาเทากับ 310 เทาของกาซคารบอนไดออกไซค<br />

3.3.2 การปลอยกาซเรือนกระจกจากการจัดการน้ําเสีย<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากการจัดการน้ําเสียมีการปลอยกาซมีเทนจากน้ําเสียในโรงงานน้ําตาลซึ่ง<br />

สามารถคํานวณจากสมการที่ 2 โดยใชวิธีการของ IPCC (2006) โดยการปลอยกาซมีเทนหาไดจากผลคูณระหวาง<br />

ปริมาณสารอินทรียทั้งหมดในน้ําเสียและคาการปลอยหักลบปริมาณกาซที่นํากลับมาใช<br />

CH 4 Emissions = Σ i [(TOW i − S i ) EF i −R i ] (2)<br />

เมื่อ:<br />

CH 4 Emissions =Total CH 4 emissions from wastewater (kg CH 4 /yr)<br />

TOWi = Total organically degradable material in wastewater from type i (kg COD/yr)<br />

i = industrial sector<br />

S i = organic component removed as sludge in inventory year, kg COD/yr<br />

EF i = emission factor for type i, kg CH 4 /kg COD for treatment/discharge pathway or system (s)<br />

used in inventory year<br />

R i = the amount of CH 4 recovered in inventory year (kg CH 4 /yr)<br />

คาการปลอยกาซมีเทน (Emission factor) คํานวณไดจากผลคูณระหวางคา Maximum Methane<br />

Producing Capacity (Bo) กับคา Methane Conversion Factor (MCF) ซึ่งมีคาแตกตางกันไปตามเทคโนโลยีที่ใช<br />

272


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในการบําบัดน้ําเสีย ในการศึกษานี้ไดใชคาการปลอยกาซมีเทนในแบบของระบบบําบัดน้ําเสียแบบ Stabilization<br />

pond และ Oxidation pond สืบเนื่องจากระบบบําบัดน้ําเสียในโรงงานน้ําตาลในพื้นที่ศึกษาเปนระบบบําบัดน้ําเสีย<br />

ดังกลาวขางตน โดยสมการแสดงการคํานวณคาการปลอยแสดงดังสมการที่ 3<br />

เมื่อ:<br />

EFj = Bo • MCFj (3)<br />

EFj = emission factor for wastewater treatment (kg CH 4 /kg COD) (Table 6.8, IPCC 2006)<br />

j = each treatment/discharge pathway or system<br />

Bo = maximum CH 4 producing capacity, kg CH 4 /kg COD; 0.25 kg CH 4 /kg COD (IPCC, 1996)<br />

MCF j = methane correction factor (fraction); 0.80 (Table 6.8, IPCC 2006)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ขอมูลพื้นฐานของโรงงานน้ําตาล การผลิตน้ําตาล ปริมาณผลิตภัณฑ และการใชพลังงานไฟฟา<br />

ตารางที่ 1 แสดงขอมูลพื้นฐานของโรงงานที่ใชในการศึกษานี้ทั้งสี่โรงงานในภาคตะวันออกในปการผลิตที่<br />

2546/47 ถึง 2550/51 ซึ่งจําแนกเปนปริมาณผลผลิตออยที่สงเขาสูกระบวนการผลิตน้ําตาล ปริมาณการใชไฟฟาทั้ง<br />

จากการไฟฟาสวนภูมิภาคที ่ผลิตจากกาซธรรมชาติและจากชานออย ปริมาณน้ําตาล ปริมาณชานออย รวมทั้ง<br />

คาประมาณการจากการใชไฟฟาตอตันออยที่เขาหีบและตอตันน้ําตาลที่ผลิต<br />

โดยพบวาโรงงานน้ําตาลแตละแหงมีขอมูลการผลิตและการใชพลังงานไฟฟาที่แตกตางกันไปขึ้นอยูกับการ<br />

จัดการของโรงงานน้ําตาลนั้น ๆ ในสวนของการใชพลังงานไฟฟาของโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกมีการใช<br />

พลังงานไฟฟาทั้งจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ผลิตจากกาซธรรมชาติและไฟฟาที่ผลิตจากชีวมวลที่เกิดขึ้นภายใน<br />

โรงงาน ปริมาณการใชไฟฟามีคาระหวาง 20.79 – 34.37 กิโลวัตตชั่วโมง/ตันออย หรือ 205.06-389.43 กิโลวัตต<br />

ชั่วโมง/ตันน้ําตาล สวนปริมาณการผลิตน้ําตาลอยูระหวาง 25,221-53,461 ตัน และการผลิตชานออยอยูระหวาง<br />

81,202- 152,339 ตัน (ตารางที่ 1)<br />

4.2 การปลอยกาซเรือนกระจก<br />

4.2.1 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากระบบบําบัดน้ําเสียในโรงงานน้ําตาล<br />

ระบบบําบัดน้ําเสียในโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกเปนระบบ Oxidation pond และ Stabilization pond<br />

system โรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกเลือกระบบบําบัดน้ําเสียสองแบบนี้เนื่องจากวาประหยัดคาใชจาย รวมทั้ง<br />

โรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกสวนใหญมีพื้นที่กวางสามารถสรางระบบแบบที่ใชพื้นที่เยอะๆ ได สวนการจัดการ<br />

น้ําเสียในโรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกมีสองแบบเชนกันคือ น้ําเสียที่ผานการบําบัด โรงงานสงไปยังแปลงออย<br />

ใกลเคียง หรือระบายสูคลองสาธารณะ หรือบางสวนสงกลับสูระบบหลอเย็นของโรงงาน ในสวนนี้ คิดเปนรอยละสิบ<br />

ของน้ ําเสียทั้งหมด<br />

น้ําเสียจากโรงงานน้ําตาลมีสารอินทรียปนเปอนอยูสูง โดยคุณสมบัติของน้ําเสีย กอนบําบัด มีคา<br />

สารอินทรียปนเปอน (COD) ประมาณ 4,700 mg COD/l มีปริมาณน้ําเสียประมาณ 144,000 ลบ.ม./ป คิดเปนการ<br />

ปลอยกาซมีเทนเทากับ 0.246 กก. CH 4 /ตันออย หรือ คิดเปน 5.12 กก. CO 2 เทียบเทา/ตันออย (ตารางที่ 2)<br />

273


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของโรงงานน้ําตาล 4 โรงงานในภาคตะวันออก<br />

ขอมูลการผลิต โรงงาน 1 โรงงาน 2 โรงงาน 3 โรงงาน 4<br />

กําลังการผลิต (ตันออย/วัน) 6,000 5,000 6,747 5,560<br />

จํานวนวันที่เดินเครื่องหีบออย (วัน) 87 95 96 105<br />

ปริมาณออยเขาหีบทั้งหมด (ตัน) 521,761 293,127 549,920 448,854<br />

ออยสด (ตัน) 156,528 199,978 175,965 167,134<br />

ออยไฟไหม (ตัน) 356,233 93,149 373,964 281,720<br />

ปริมาณไฟฟาที่ใชทั้งหมดเฉพาะฤดูหีบ<br />

ออย (กิโลวัตตชั่วโมง)<br />

ปริมาณไฟฟาจากกริด<br />

(กิโลวัตตชั่วโมง)<br />

10,848,628 6,360,540 18,355,768 15,427,002<br />

305,753 265,472<br />

~ 1,000<br />

(กรณี T.G.<br />

ขัดของ)<br />

118,627<br />

ปริมาณไฟฟาที่ผลิตจากชานออย<br />

(กิโลวัตตชั่วโมง)<br />

10,542,875 6,095,067 18,355,768 15,308,378<br />

ปริมาณการใชไฟฟา<br />

(กิโลวัตตชั่วโมง/ตันออย)<br />

20.79 21.70 33.38 34.37<br />

ปริมาณการใชไฟฟา<br />

(กิโลวัตตชั่วโมง/ตันน้ําตาล)<br />

205.06 252.19 343.35 389.43<br />

น้ําตาล (ตัน) 52,904 25,221 53,461 39,614<br />

ชานออย (ตัน) 144,538 81,202 152,339 124,342<br />

ผลผลิตน้ําตาลตอตันออย<br />

(กก.น้ําตาล/ตันออย)<br />

101.39 86.04 97.22 88.26<br />

หมายเหตุ: T.G. คือ อุปกรณที่เกี่ยวของกับการผลิตพลังงานไฟฟาจากเศษชีวมวล<br />

ตารางที่ 2 คุณสมบัติ ปริมาณของน้ําเสีย และปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากระบบบําบัดน้ําเสียใน<br />

โรงงานน้ําตาล<br />

คุณสมบัติ หนวย ปริมาณ<br />

ผลผลิตออย ตัน 549,930<br />

ปริมาณน้ําเสีย ลบ.ม./ป 144,000<br />

COD ในน้ําเสีย kg/l 4.7<br />

CH 4 emission กก. CH 4 /ตันออย 0.246<br />

CH 4 emission , equivalent to CO 2 emission กก. CO 2 เทียบเทา/ตันออย 5.12<br />

274


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณการใชไฟฟา การปลอยกาซเรือนกระจกคิดเทียบตอปริมาณผลผลิตและผลิตภัณฑ<br />

การปลอยกาซเรือนกระจก รูปแบบ รายละเอียด<br />

โรงงาน โรงงาน โรงงาน โรงงาน<br />

1 2 3 4<br />

Grid ไฟฟาสวนภูมิภาค (kWh/ตันออย) 20.79 21.7 33.38 34.37<br />

ปริมาณการใชไฟฟา<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาค (kWh/ตันออย) 0.59 0.91 0 0.26<br />

Bioenergy ชานออย (kWh/ตันออย) 20.21 20.79 33.38 34.11<br />

รวม 20.80 21.70 33.38 34.37<br />

Grid ไฟฟาสวนภูมิภาค (kg CO 2 /ตันออย) 4.23 4.41 6.78 6.98<br />

การปลอยกาซเรือนกระจก<br />

Grid (kg CO 2 /ตันออย) 0.12 0.18 0 0.05<br />

จากการใชไฟฟา Bioenergy ชานออย (kg CO 2 /ตันออย) 0.14 0.14 0.22 0.23<br />

รวม 0.26 0.32 0.22 0.28<br />

Grid ไฟฟาสวนภูมิภาค (kg CO 2 /ตันออย) 9.35 9.53 11.9 12.1<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาค (kg CO 2 /ตันออย) 0.12 0.18 0 0.05<br />

การปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ชานออย (kg CO 2 /ตันออย) 0.14 0.14 0.22 0.23<br />

Bioenergy<br />

จากการใชไฟฟาและน้ําเสีย<br />

น้ําเสีย (kg CO 2 /ตันออย) 5.12 5.12 5.12 5.12<br />

รวม 5.38 5.44 5.34 5.4<br />

Avoiding CO 2 (kg CO 2 /ตันออย) 3.97 4.09 6.56 6.7<br />

Grid<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

(kg CO 2 /kg sugar)<br />

0.092 0.094 0.117 0.119<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกคิด<br />

(kg CO 2 /kg sugar)<br />

0.0012 0.0018 0 0.0005<br />

ตอปริมาณผลิตภัณฑ Bioenergy ชานออย (kg CO 2 /kg sugar) 0.0014 0.0014 0.0022 0.0023<br />

น้ําเสีย (kg CO 2 /kg sugar) 0.05 0.05 0.05 0.05<br />

รวม 0.053 0.054 0.053 0.053<br />

Avoiding CO 2 (kg CO 2 /kg sugar) 0.039 0.040 0.065 0.066<br />

Grid ไฟฟาสวนภูมิภาค (ton CO 2 ) 13483 14056 21611 22248<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาค (ton CO 2 ) 382 574 0 159<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกใน<br />

Bioenergy ชานออย (ton CO 2 ) 446 446 701 733<br />

ภาคตะวันออก<br />

รวม 829 1020 701 892<br />

Avoiding CO 2 (ton CO 2 ) 12654 13036 20909 21356<br />

หมายเหตุ: Grid หมายถึง รูปแบบการใชไฟฟาแบบที่หนึ่งที่มีการใชไฟฟาที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง สวน<br />

Bioenergy หมายถึง รูปแบบการใชไฟฟาชนิดที่สองที่มีการใชไฟฟาผสมระหวางการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซ<br />

ธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง และไฟฟาที่ผลิตจากชีวมวล<br />

4.2.2 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชไฟฟา<br />

ผลการศึกษาในสวนนี้ไดประเมินศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟาจากชีวมวลและประเมินการลดการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชไฟฟาชีวมวลเมื่อเปรียบเทียบกับการใชไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซ<br />

ธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง ซึ่งไดทําการเปรียบเทียบในสวนของการใชไฟฟาจากทั้งสองสวนดังกลาว โดยพิจารณาการ<br />

ใชไฟฟาในฤดูการหีบออยซึ่งจะเริ่มตั้งแตเดือนธันวาคมจนถึงเดือนมีนาคมในปถัดไป โดยสวนใหญโรงงานน้ําตาล<br />

ในภาคตะวันออกไดใชชานออยในการผลิตไฟฟาเฉพาะในฤดูการหีบออยเทานั้น ประมาณรอยละ 80 ของปริมาณ<br />

275


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ชานออยที่ผลิตไดนํามาผลิตไฟฟา ซึ่งไฟฟาสวนนี้ใชไดเฉพาะในโรงงานเทานั้น ไมมีสวนที่เหลือใชขายสูการไฟฟา<br />

สวนภูมิภาค<br />

ผลการศึกษาของการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชไฟฟาทั้งสองรูปแบบเปนดังนี้<br />

รูปแบบที่ 1 การใชไฟฟาทั้งหมดจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ผลิตจากกาซธรรมชาติ มีคาการใชไฟฟาอยู<br />

ระหวาง 20.79-34.37 กิโลวัตตชั่วโมง มีคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปน กาซคารบอนไดออกไซคเทียบเทาจาก<br />

การใชไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง อยูระหวาง 4.23-6.98 กก.คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/<br />

ตันออย เมื่อคิดรวมคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนกาซคารบอนไดออกไซคเทียบเทารวมจากการใชไฟฟาและ<br />

การปลอยจากระบบบําบัดน้ําเสียมีคาอยูระหวาง 9.35-12.1 กก. คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/ตันออย หรือคิดเปน<br />

0.09 -0.12 กก. คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/กก. น้ําตาล (ตารางที่ 3)<br />

รูปแบบที่ 2 การไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง รวมกับการใชไฟฟาจากชีวมวล มี<br />

ปริมาณการใชไฟฟาอยูระหวาง 20.79-34.37 กิโลวัตตชั่วโมง มีคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชไฟฟาอยู<br />

ระหวาง 0.26-0.28 กก.คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/ตันออย เมื่อคิดรวมคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนกาซ<br />

คารบอนไดออกไซคเทียบเทารวมจากการใชไฟฟาและการปลอยจากระบบบําบัดน้ําเสียมีคาอยูระหวาง 5.26-5.35<br />

กก. คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/ตันออย หรือคิดเปน 0.052 - 0.0.53 กก. คารบอนไดออกไซคเทียบเทา/กก.<br />

น้ําตาล (ตารางที่ 3)<br />

เมื่อคิดคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากขอมูลการผลิตออยทั้งภาคตะวันออก (3,187,391 ตันออยตอป)<br />

พบวา ในกรณีที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง จะปลอยกาซเรือนกระจก 13,483-22,248 ตันคารบอนไดออกไซค<br />

เทียบเทาตอป และกรณีที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงรวมกับการใชไฟฟาชีวมวล จะปลอยกาซเรือนกระจกเปน<br />

829-892 ตันคารบอนไดออกไซคเทียบเทาตอป เมื่อคิดคาลดการปลอยกาซเรือนกระจกพบวาการใชพลังงาน<br />

ชีวมวลสามารถชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานฟอสซิลไดถึง 12,654-21,356 ตันคารบอนได<br />

ออกไซคเทียบเทาตอป<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาพบวา โรงงานน้ําตาลในภาคตะวันออกมีการใชไฟฟาตั้งแต 205-389 กิโลวัตตชั่วโมง/ตัน<br />

น้ําตาล ผลผลิตออยรวมทั้งหมดสี่โรงงาน คือ 1,813,362 ตันออยตอป ใชพลังงานในการผลิตน้ําตาล ทั้งหมด<br />

50,991,938 กิโลวัตตชั่วโมงตอป จําแนกเปนใชพลังงานจากการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง<br />

689,852 กิโลวัตตชั่วโมง และจากชีวมวล 50,303,088 กิโลวัตตชั ่วโมง การใชพลังงานไฟฟาในโรงงานแตละ<br />

โรงงานมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณผลผลิตออยที่สงเขาโรงงานและสัดสวนของการใชพลังงานจากการ<br />

ไฟฟาสวนภูมิภาคและการใชพลังงานชีวมวล การปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตน้ําตาลในโรงงานใน<br />

กรณีที่ไฟฟานั้นผลิตมาจากกาซธรรมชาติ เทากับ 0.106 กก. CO 2 เทียบเทา/กก. น้ําตาล และในกรณีที่ใชพลังงาน<br />

ไฟฟาจากชีวมวล มีการปลอยกาซเรือนกระจกเทากับ 0.053 กก. CO 2 เทียบเทา/กก. น้ําตาล ในจํานวนนี้ไดรวม<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการยอยสลายสิ่งสกปรกในระบบบําบัดน้ําเสียแลว ดังนั้นการใชพลังงาน<br />

ชีวมวลสามารถชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดประมาณรอยละ 49 ของกาซเรือนกระจกที่ปลอยจากการใช<br />

พลังงานไฟฟาที่มีกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง นอกจากนี้ เมื่อประเมินคาปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงาน<br />

ทั้งสองแบบจากผลผลิตในภาคตะวันออกทั้งหมด 3,187,391 ตันออยตอป พบวามีการปลอยกาซเรือนกระจกจาก<br />

การใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง เทากับ 17,849 ตัน CO 2 เทียบเทาตอป และจากการใชพลังงานไฟฟาชีวมวล<br />

เทากับ 21,446 ตัน CO 2 เทียบเทาตอป หรือสามารถชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดถึง 16,989 ตัน CO 2<br />

เทียบเทาตอป ซึ่งปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกแตละโรงงานมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณผลผลิตออย<br />

276


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ที่เขาสูโรงงาน รวมทั้งอัตราสวนในการใชพลังงานไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาคและพลังงานไฟฟาจากชีวมวล<br />

ดังกลาว ดังนั้นหากจะวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละโรงงานก็สามารถ<br />

ทําไดโดยการเพิ่มการใชพลังงานไฟฟาชีวมวลและการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชพลังงานตอมวลผลิตภัณฑที่ผลิต<br />

ได<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย<br />

และบัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Beeharry, R.P. (2001), Carbon balance of sugarcane bioenergy systems. Biomass and<br />

Bioenergy, 20, pp. 361-370.<br />

- EGAT, (2005), Bang Pakong Power Plant, Electricity Generating Authority of Thailand,<br />

Available online: http://www.ega.co.th.<br />

- International sugar statistics, (2008), The international sugar season runs from<br />

September to August, ED & F Man - 2007/08, Oct/Sep basis, Available online:<br />

http://www.illovosugar.com/worldofsugar/internationalSugarStats.htm.<br />

- IPCC, (2006), IPCC Guidelines for NATIONAL Greenhouse Gas Inventories Volume 1-5.<br />

- JGSEE, (2009), Thailand greenhouse gas inventory research project. Available online:<br />

http://www.jgsee.kmutt.ac.th/snc/.<br />

- Kirstin, D., Thomas, E. D. (2007), The Atlas of Climate Change. Brighton, UK.<br />

- Office of the Cane and Sugar Board, (2005 a), Thai Sugar Mill. pp. 1-60.<br />

- Office of the Cane and Sugar Board, (2005 b), Report for Sugarcane area by using<br />

Satellite Image LANDSAT-5 (TM) Imagery for Sugarcane Area Survey and Mapping<br />

(2540/41). Ministry of Industry Thailand, pp. 1-110.<br />

- Office of the Cane and Sugar Board, (2007), Report for Sugarcane area by using<br />

Satellite Image LANDSAT-5 (TM) Imagery for Sugarcane Area Survey and Mapping<br />

(2549/50). Ministry of Industry Thailand, pp. 1-16.<br />

- Office of the Cane and Sugar Board, (2008), Annual Report for Sugarcane Area in<br />

2007/08 Production Year. pp. 1-64.<br />

- Seungdo, K., Bruce, E.D. (2004), Global bioethanol production from waste crops and<br />

crop residues. Biomass and Bioenergy, 26, pp. 361-375.<br />

277


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยใชใบและยอดออยในการผลิตไฟฟา<br />

GHG Emission Reduction Option from Sugarcane Tops and Leaves Using as Fuel for<br />

Power Generation<br />

สลักใจ เจนจริยโกศล 1 1<br />

, สาวิตรี การีเวทย และ Shabbir H. Geewala 1<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

บทความนี้นําเสนอการศึกษาการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชใบและยอดออยเปนเชื้อเพลิง<br />

เพื่อผลิตไฟฟาทดแทนถานหินและลิกไนต และยังทําใหสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาใบและ<br />

ยอดออยในที่โลง ในการศึกษานี้จะวิเคราะหศักยภาพของใบและยอดออย สัดสวนใบและยอดออยที่สามารถนํามาใช<br />

เปนเชื้อเพลิงโดยนํามาผลิตไฟฟาดวยเทคโนโลยีการเผาตรง (direct combustion) และไดใชวิธีประเมินวัฏจักรชีวิต<br />

(Life cycle assessment) โดยพิจารณาการผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออย ตั้งแตการจัดเก็บใบและยอดออย การ<br />

ขนสง การเตรียมเชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟา จากผลการศึกษาพบวาสัดสวนใบและยอดออยที่ถูกเผาเพื่อตัดออย<br />

ใหทันสงโรงงานน้ําตาลปดหีบเปน 58 เปอรเซ็นต โดยเฉลี่ยของใบและยอดออยทั้งหมด ซึ่งในรอบปเพาะปลูก<br />

ปจจุบัน ป 2552/53 มีปริมาณประมาณ 11.995 ลานตัน หรือคิดเปน 67.26 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ และจาก<br />

ปริมาณดังกลาวนํามาผลิตไฟฟาทดแทนถานหินและลิกไนตได 10,129.86 กิกะวัตตชั่วโมง โดยกระบวนการการ<br />

ผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออยสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟาและการเผาใบและยอดออย<br />

ทิ้งของเกษตรกรไดประมาณ 12,018.51 พันตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา หรือคิดเปน 1.19 กิโลกรัม<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอ 1 กิโลวัตตชั่วโมง หรือ 1 กิโลกรัมของใบและยอดออยสามารถลดการปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกได 1.0 กิโลกรัมคารบอนไดออกไซดเทียบเทา ซึ่งจากการทดแทนเชื้อเพลิงถานหินและลิกไนตดวยใบ<br />

และยอดออยจะทําใหลดการใชถานหินและลิกไนตไดประมาณ 1.1 ลานตัน และจากปริมาณไฟฟาที่ผลิตได<br />

สามารถสนับสนุนแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป (ป2551-2565) ของกระทรวงพลังงานได 1,279.02 เมกะวัตต<br />

หรือคิดเปน 22.81 เปอรเซ็นต<br />

คําสําคัญ: ชีวมวล คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอย เทคโนโลยีการเผาตรง วิธีประเมินวัฏจักรชีวิต<br />

278


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

This study presents the option of greenhouse gas (GHG) emission reduction from power<br />

generation using sugarcane top and leaves as fuel replacing with the power generation from coal/lignite<br />

and that also reducing the open burning of sugarcane top and leaves. Therefore, this study will assess<br />

greenhouse gas (GHG) emissions of each activity related sugarcane top and leaves preparing processes<br />

i.e. collection, transportation, pre-treatment and power generation (cradle to grave) by the life cycle<br />

assessment method. The sugarcane production in year 2009/10 is used as the representative amount for<br />

estimating sugarcane top and leaves generation. The proportion of burned sugarcane by farmer as 58%<br />

is also used to estimate the amount of sugarcane top and leaves that can be applied to the feedstock for<br />

power generation replacing coal/lignite. In additions, this study focuses on the proven direct combustion<br />

technology especially fixed bed combustion for power generation and thus the electricity efficiency is<br />

approximately as about 20%. Afterwards, the amount of sugarcane top and leaves estimated for power<br />

generation is 11.995 million ton or 67.26 thousand ton oil equivalent. The power generation from<br />

sugarcane top and leaves using as fuel is about 10,129.86 GWh and that life cycle process mitigate GHG<br />

emission not only from replacing the power generation with coal/lignite but also reducing the open burning<br />

of sugarcane top and leaves as about 12,018.51 CO 2 equivalents or 1.19 kgCO 2 equivalent per 1 kWh or<br />

1.0 kgCO 2 equivalent per 1 ton of sugarcane top and leaves. Moreover, coal/lignite fuel can be saved as<br />

about 1.1 million ton. Afterwards, the electricity production contributes 22.81% or 1,279.02 MWh of the 15<br />

years-renewable energy development of the Ministry of Energy.<br />

1. ความสําคัญ<br />

จากความตองการไฟฟาของประเทศไทยที่สูงขึ้นเรื่อยๆ พบวาเพิ่มขึ้น 53.62 เปอรเซ็นต ในป 2552 จาก<br />

ป 2542 หรือ 134,792.89 กิกะวัตตชั่วโมง ซึ่งสัดสวนไฟฟาที่ผลิตโดยใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ และถานหินและ<br />

ลิกไนตในการผลิตไฟฟา 71.40 เปอรเซ็นต และ 20.9 เปอรเซ็นต และจากการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงฟอสซิล<br />

ทําใหเกิดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดประมาณ 83 ลานตัน ซึ่งปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้น<br />

ทั้งหมดในป 2552 สามารถคิดเปนสัดสวนที่เกิดขึ้นจากการผลิตไฟฟาดวยเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ และถานหินและ<br />

ลิกไนตถึง 62.34 เปอรเซ็นต และ 36.42 เปอรเซ็นต จากสาเหตุดังกลาว กลาวคือปริมาณความตองการไฟฟาที่<br />

สูงขึ้นนี้กับการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนเชื้อเพลิงหลักทําใหกระทรวงพลังงานไดตระหนักและจัดทําแผนพัฒนา<br />

พลังงานทดแทน 15 ป (ป2551-2565) โดยแผนนี้ไดเรงใหมีการพัฒนาพลังงานเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและ<br />

กําหนดใหมีกําลังการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนใหได 5,608 เมกะวัตต ในป 2565 (กระทรวงพลังงาน, 2553)<br />

เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมสงผลใหมีผลพลอยไดหรือเศษวัสดุทางการเกษตรที่เกิดขึ้น<br />

ในปริมาณมาก และไดมีการนํามาใชประโยชนแลวในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรคือ ขาวและน้ําตาล ที่มีแกลบ<br />

และกากออยเปนเศษวัสดุของเหลือไดถูกนํามาใชประโยชนเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาและพลังงานความรอนไวใชใน<br />

โรงงาน โดยโรงงานที่มีศักยภาพเหลือพอผลิตพลังไฟฟาสงขายในโครงการผูผลิตไฟฟาขนาดเล็ก Small power<br />

producers และผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก Very small power producers และในป 2551 ขอมูล ณ วันที่ 24<br />

มีนาคม 2553 มีผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กจํานวน 53 ราย ปริมาณพลังไฟฟาสงขาย 2,305.8 เมกะวัตต และผูผลิต<br />

ไฟฟาขนาดเล็กมาก 161 ราย ปริมาณพลังไฟฟาสงขาย 356.29 เมกะวัตต ซึ่งปริมาณเศษวัสดุทางการเกษตรที่ได<br />

279


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในกระบวนการผลิตดังกลาวทั้งแกลบ และกากออย รวมถึงชีวมวลในเกษตรอุตสาหกรรมอื่นๆ ไดมีการใชเกือบเต็ม<br />

ศักยภาพแลว ดังนั้นเศษวัสดุทางการเกษตรที่ถูกทิ้งไวในไรจํานวนมาก เชน ฟางขาว และใบและยอดออย เปน<br />

ชีวมวลที่มีศักยภาพในการนํามาใชประโยชนตอไป แตปจจุบันฟางขาวไดมีการนํามาใชประโยชนเพื่อเปนอาหาร<br />

สัตวกันอยางแพรหลายโดยเฉพาะในภาคกลางของประเทศ สวนใบและยอดออยยังคงถูกทิ้งไวในไรออยเพื่อคลุม<br />

ดินหรือเผาทิ้งทั้งกอนปลูกออยใหม และถูกเผาเพื่อนําออยเขาโรงงานน้ําตาล จากสถิติของออยที่ถูกเผากอนเขา<br />

โรงงานน้ําตาลคิดเปน 58 เปอรเซ็นต จากประมาณออยที่จัดสงทั้งหมดโดยเฉลี่ย (สํานักงานคณะกรรมออยและ<br />

น้ําตาลทราย, 2553) สงผลใหเกิดมลพิษทางอากาศมากมายโดยเฉพาะการปลอยกาซเรือนกระจกในที่โลงจํานวน<br />

มาก<br />

2. วัตถุประสงค<br />

การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อทําการประเมินศักยภาพของใบและยอดออยที่เกิดขึ้นและสามารถนํามาใช<br />

เปนเชื้อเพลิงทดแทนการผลิตไฟฟาจากถานหินและลิกไนตได และประเมินประมาณกาซเรือนกระจกที่สามารถลด<br />

ไดจากการนําใบและยอดออยมาใชในกิจกรรมดังกลาว นอกจากนั้นยังสามารถลดปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดจาก<br />

ใบและยอดออยที่จะตองถูกเผาในที่โลงได<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ระเบียบวิจัยของการศึกษานี้ไดใชหลักการศึกษาแบบการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life cycle<br />

assessment) รวมทั้งอางอิงสมการการคํานวณ คาความรอนของเชื้อเพลิง คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยมลพิษ<br />

(emission factor) และศักยภาพในการดูดกลืนความรอนของกาซเรือนกระจก (Global warming potential: GWP)<br />

ตาม IPCC Guideline และขั้นตอนการดําเนินการศึกษาการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟา<br />

ดวยใบและยอดออยสามารถสรุปไดดังภาพที่ 1 หลังจากนั้นจะทําการประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลงได<br />

จากการผลิตไฟฟาดวยเชื้อเพลิงใบและยอดออยทดแทนการใชถานหินและลิกไนต รวมทั้งลดปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกจากการเผาใบและยอดออยในที่โลง<br />

3.1 ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออย<br />

หลักการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life cycle assessment) เปนการดําเนินขั้นตอนการประเมินวัฏจักร<br />

ชีวิตในอนุกรมมาตรฐาน ISO 14040 (Azapagic A. 1999, Burgess A.A. and Brennann D.J. 2001) ซึ่งประกอบ<br />

ไปดวย 4 ขั้นตอน คือ 1. กําหนดเปาหมายและขอบเขต (Goal and Scope Definition) ของการศึกษา 2. การ<br />

วิเคราะหบัญชีรายการ (Inventory Analysis) 3. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Life cycle Impact<br />

Assessment: LCIA) และ 4. การตีความ (Interpretation) ซึ่งการศึกษานี้จะทําการกําหนดเปาหมายและขอบเขต<br />

และการวิเคราะหบัญชีรายการของการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละขั้นตอนตั้งแตการเก็บ ขนสงและสับใบและ<br />

ยอดออยเพื่อเตรียมเชื้อเพลิงและการผลิตไฟฟาไมรวมการกําจัดขี้เถาของใบและยอดออย ซึ่งเปนการศึกษาการเกิด<br />

ภาวะโลกรอนของกาซเรือนกระจกที่ปลดปลอยออกมาจากวัฏจักรเพียงกลุมผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเดียว<br />

280


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ออย 68.485 ลานตัน<br />

ใบและยอดออยที่ถูกทิ้งไวในไร<br />

11.995 ลานตัน<br />

การจัดเก็บดวยการอัด<br />

กอนดวยเครื่องจักร<br />

ใบและยอดออยที่ถูกอัดกอน<br />

11.995 ลานตัน<br />

การขนสงดวยรถบรรทุก ใบและยอดออยที่ถูกอัดกอน<br />

สารขาเขา: พลังงานที่ใช<br />

540.57 เทราจูล<br />

11.995 ลานตัน<br />

สารขาออก: กาซเรือนกระจกที่<br />

ปลดปลอย 40,056.46 ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

จํานวนเที่ยวในการขนสง: 2.73<br />

ลานเที่ยว<br />

สารขาออก: กาซเรือนกระจกที่<br />

ปลดปลอย 604,085.39 ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

การเตรียมเชื้อเพลิง<br />

จากการสับใบและยอด<br />

สารขาเขา: ปริมาณไฟฟาที่ใช<br />

984.38 กิกะวัตตชั่วโมง<br />

สารขาออก: กาซเรือนกระจกที่<br />

ปลดปลอย 570,941.75 ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

ใบและยอดออยใบและยอดออย<br />

ที่สามารถเปนเชื้อเพลิง<br />

11.396 ลานตัน<br />

โรงไฟฟา<br />

สารขาเขา: น้ํามันหลอลื่น6,000<br />

ลิตรตอป ตอโรงไฟฟาขนาด<br />

40 เมกะวัตต<br />

สารขาออก: กาซเรือนกระจกที่<br />

ปลดปลอย 340,971.04 ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

ไฟฟา<br />

ขี้เถา<br />

รูปที่ 1 แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาและขอบเขตของระบบที่ศึกษา<br />

3.1.1 การกําหนดเปาหมายและขอบเขต (Goal and Scope Definition)<br />

ประเมินผลกระทบของภาวะโลกรอนของกาซเรือนกระจกตลอดวัฏจักรตั้งแตการเก็บใบและยอดออย<br />

จากไร การขนสง จัดเตรียมใบและยอดออยโดยการสับเพื่อเปนเชื้อเพลิงและการผลิตไฟฟาในโรงไฟฟา ขอบเขต<br />

ของระบบที่ศึกษา แสดงในภาพที่ 1 โดยที่เทียบการปลอยกาซเรือนกระจกตลอดทั้งวัฏจักรตอผลิตไฟฟา 1<br />

กิโลวัตตชั่วโมง<br />

3.1.2 การตั้งสมมติฐานและขอจํากัดในงานวิจัย (Limitation and Assumption)<br />

281


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เนื่องจากการประเมินวัฏจักรชีวิตมีความจําเปนที่จะตองใชฐานขอมูลการผลิตวัตถุดิบเปนจํานวนมาก<br />

โดยเฉพาะการศึกษานี้ ไดพิจารณาปริมาณเชื้อเพลิงที่จําเปนตองใชและกาซเรือนกระจกที่ปลดปลอยในแตละ<br />

ขั้นตอนตั้งแตการเก็บรวบรวม การขนสง การเตรียมเชื้อเพลิงใบและยอดออย การผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออย<br />

รวมทั้งตองพิจารณาศักยภาพของใบและยอดออยที่สามารถนํามาใชประโยชนเปนพลังงานทดแทนในการผลิต<br />

ไฟฟา และเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาดวยชีวมวลที่เปนไปไดในปจจุบันของประเทศไทย จึงมีความจําเปนตองใช<br />

ฐานขอมูลทุติยภูมิ และขอมูลปริทัศนจากในประเทศ และตางประเทศเทาที่จําเปน<br />

3.1.2.1 ศักยภาพของใบและยอดออยเพื่อเปนพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟา<br />

ดําเนินการประมาณศักยภาพใบและยอดออยเพื่อนํามาใชประโยชนในการผลิตไฟฟา ซึ่งในการศึกษา<br />

นี้พิจารณาจากสัดสวนใบและยอดออยตอปริมาณออยที่ผลิตได (Residue to product ratio: RPR) (Sajjakulnukit<br />

et al, 2005) และสัดสวนออยที่ถูกเผากอนนําสงโรงงานน้ําตาลมีคาประมาณ 58 เปอรเซ็นตโดยเฉลี่ย (สํานักงาน<br />

คณะกรรมการออยและน้ําตาล, 2553) รวมทั้งปริมาณผลผลิตออยที่เกิดขึ้นในแตละป (สํานักงานคณะกรรมการออย<br />

และน้ําตาล, 2553) ซึ่งคํานวณไดตามสมการที่ (1) และจากสถิติการปลูกออยในแตละปมีปริมาณที่อยูในระดับ<br />

ลดลงที่คงตัวแตไมต่ํากวา 6 ลานไร ซึ่งในป 2552/53 พบวามีปริมาณผลผลิตตอไร 11 ตัน หรือมีปริมาณเพิ่มขึ้น<br />

31.83 เปอรเซ็นต จากในรอบ 5 ปที่ผานมา และเมื่อพิจารณาปริมาณใบและยอดออยที่เกิดขึ้นในรอบ 3 ปที่ผานมา<br />

มีปริมาณไมต่ํากวา 20 ลานตัน ดังนั้น ปริมาณใบและยอดออยในปเพาะปลูก 2552/53 ซึ่งมีประมาณ 20.68 ลาน<br />

จะนํามาเปนตัวแทนในการศึกษา<br />

ปริมาณใบและยอดออยที่ใชผลิตไฟฟา = ปริมาณออยในป 2552/53 x RPR x สัดสวนที่นํามาใชประโยชน (1)<br />

โดย ปริมาณออยในป 2552/53 = 68.485 ลานตัน (สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาล, 2553)<br />

RPR = 0.302 (Sajjakulnukit et al, 2005)<br />

สัดสวนที่นํามาใชประโยชน หรือ สัดสวนที่ใบและยอดออยถูกเผาเฉลี่ยในแตละป<br />

= 0.58 (สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาล, 2553)<br />

3.1.2.2 เทคโนโลยีการเผาไหมเพื่อผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงชีวมวลในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยใชเทคโนโลยีการเผาตรง (Direct combustion) กันอยางแพรหลายเพื่อผลิตไฟฟาโดยใช<br />

ชีวมวลเปนเชื้อเพลิง ซึ่งหองเผาไหมที่ใชเทคโนโลยีเผาตรงที่หมอไอน้ําจะเผาเชื้อเพลิงเพื่อตมน้ําใหเปนไอน้ํา ไป<br />

ขับกังหันไอน้ําของเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตกระแสไฟฟา โดยโครงสรางหองเผาไหมหมอไอน้ํามีหลากหลาย<br />

แบบขึ้นกับประเภทของเชื้อเพลิง และสามารถจําแนกได 2 ประเภทใหญๆ คือ Fixed bed combustion และ<br />

Fluidized bed combustion โดยสวนใหญประเทศไทยใชเทคโนโลยีแบบ Fixed bed combustion (มูลนิธิพลังงาน<br />

เพื่อสิ่งแวดลอม 2552) และเทคโนโลยีเผาตรงนี้มีมีประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงชีวมวลประมาณ<br />

5 เปอรเซ็นต ที่ความดันต่ําไมเกิน 20 บาร สวนทีความดันระหวาง 20-40 บารจะมีประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟา<br />

ประมาณ 20-23 เปอรเซ็นต และที่ความดันสูงกวา 60 บารขึ้นไป จะมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาประมาณ 25-28<br />

เปอรเซ็นต (มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม, 2548) ขึ้นอยูกับเทคโนโลยีการออกแบบของโรงไฟฟา ประสิทธิภาพ<br />

ของอุปกรณและเชื้อเพลิง และความตองการพลังงานใดเปนพลังงานหลัก โรงไฟฟาชีวมวลสวนใหญจะใชความดัน<br />

อยู ระหวาง 20-40 บาร ดังนั้นประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาสวนใหญจะอยูที่ 20-23 เปอรเซ็นต เชนโรงงาน<br />

น้ําตาลที่มีความตองการพลังไอน้ําเปนหลักเพื่อใชในโรงงานผลิตน้ําตาลและผลิตไฟฟาใชเองในโรงงานอาจจะใช<br />

เทคโนโลยีเผาตรงเพื่อผลิตไอน้ํา ไปขับกังหันไอน้ําแบบ back pressure turbine ซึ่งจะสงผลใหการผลิตไฟฟาจะมี<br />

282


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประสิทธิภาพต่ํา ดังนั้นโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงชีวมวลในปจจุบันจึงไดพัฒนาการผลิตไฟฟาโดยใชกังหันไอน้ําแบบ<br />

extracting pressure turbine เพื่อผลิตไฟฟาเปนหลัก และสงไอน้ําบางสวนจากกระบวนการเพื่อใชในการผลิต<br />

ผลิตภัณฑตอไป ดังนั้นประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟาเพื่อใชในการศึกษานี้คือ 20 เปอรเซ็นต ซึ่งเปนคาที่ของ<br />

โรงไฟฟาชีวมวลสวนใหญ<br />

3.1.3 การวิเคราะหบัญชีรายการ (Inventory Analysis)<br />

เปนการเก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมจากกระบวนการตางๆ ตามที่กําหนดไวใน<br />

เปาหมายและขอบเขต โดยรวบรวมการใชพลังงาน (Inputs) และปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้น (Outputs) ของ<br />

แตละขั้นตอนหรือกิจกรรม (activities) ซึ่งขั้นตอนการจัดเก็บ และจัดเตรียมเชื้อเพลิงใบและยอดออยจะเปนการใช<br />

เครื่องจักรทุนแรงเพื่ออัดกอนและจัดเก็บออกจากไร และใชเครื่องสับเพื่อเตรียมเชื้อเพลิงซึ่งไดมีการศึกษาใน<br />

ประเทศบราซิล เครื่องจักรจัดเก็บใบและยอดออยจะมีคราดและทําการอัดกอนโดยใชเชื้อเพลิง 1.6 ลิตรตอตันของ<br />

ใบและยอดออยแหง และสามารถอัดกอนได 9.8 ตันตอชั่วโมง สวนการขนสงใบและยอดออยจะใชรถ 10 ลอ<br />

บรรทุกไดประมาณ 4.4 ตันของใบและยอดออยอัดกอนตอเที่ยว (Junginger, M., Faaij, A., Broek, van den R.,<br />

Koopmans, A., Hulscher, W., 2001) โดยประมาณการระยะทางการขนสงที่ 100 กิโลเมตรตอเที่ยวซึ่งเปน<br />

ระยะทางที่คอนขางไกลของชาวไรออยที่จะขนสงออยไปโรงงานน้ําตาล หรือเปน 2 เทาของคาประมาณในโครงการ<br />

Clean Development Mechanism: CDM project เชน โรงไฟฟาดานชาง บริษัท ดานชางไบโอเอ็นเนอรยี่ จํากัด ฯ<br />

(UNFCCC, 2008) นอกจากนั้นประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาดวยเชื้อเพลิงชีวมวลในที่นี้จะใชคา 20 เปอรเซ็นต<br />

ที่มีการใชน้ํามันหลอลื่นประมาณ 6,000 ลิตรตอโรงไฟฟาขนาด 40 เมกกะวัตต ที่ชั่วโมงทํางานปละ 7,290 ชั่วโมง<br />

(โรงไฟฟาภูเขียว, 2551) ซึ่งขอมูลอางอิงทั้งหมดที่เกี่ยวของไดแสดงในตารางที่ 1 และใชสมการที่ 2 ในการ<br />

คํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอนตาม IPCC Guideline 2006<br />

Emission GHG = Fuel consumption x Emission factor (2)<br />

โดย<br />

Emission GHG = ปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอน (ตันคารบอนไดออกไซด<br />

เทียบเทา)<br />

Fuel Consumption = ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใชในการสันดาป (เทราจูล)<br />

Emission factor = คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยมลพิษ (กิโลกรัมตอเทราจูลของเชื้อเพลิง)<br />

ตารางที่ 1 ขอมูลอางอิงและที่มาของขอมูลในแตละขั้นตอน<br />

ขั้นตอนตลอดวัฏจักร ขอมูลอางอิง ที่มาของขอมูล<br />

จัดเก็บดวยเครื่องจักรและอัด<br />

กอน<br />

- ปริมาณเชื้อเพลิงดีเซล 1.6 ลิตร ตอตันใบและ<br />

ยอดออยแหงจากออยในไร<br />

- น้ําหนักแหงของใบและยอดออยจะมีคา<br />

ความชื้นประมาณ 13 เปอรเซ็นต<br />

- คาความรอน และ emission factor ของน้ํามัน<br />

ดีเซลที่ใชในกระบวนการเก็บ<br />

- คาความชื้นของใบและยอดออย 50 เปอรเซ็นต<br />

- Hassuani J. S., Leal V. L. R.<br />

M., Macedo C. d. I., 2005<br />

- Hassuani J. S., Leal V. L. R.<br />

M., Macedo C. d. I., 2005<br />

- IPCC, 2006<br />

- Sajjakulnukit et al, 2005<br />

283


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การขนสงดวยรถบรรทุก - ระยะทาง 100 กิโลเมตร<br />

- รถบรรทุกขนสงได 4.4 ตัน ตอเที่ยว<br />

- emission factor ตอกิโลเมตร<br />

สับใบและยอดออย - สับ 1 ตันใบและยอดออยอัดกอนตอชั่วโมง ดวย<br />

อัตรากําลัง 110 hp (82.06 กิโลวัตตชั่วโมงตอใบ<br />

และยอดออยอัดกอน 1 ตัน)<br />

-การปลอยคารบอนไดออกไซดของการผลิต<br />

ไฟฟาในประเทศไทย 0.58 กิโลกรัมคารบอนไดซ<br />

ออกไซดตอ กิโลวัตตชั่วโมง (emission factor)<br />

ผลิตไฟฟา<br />

- ประสิทธิภาพของโรงไฟฟา 20 เปอรเซ็นต<br />

- จํานวนชั่วโมงทํางาน 7,920 ชั่วโมงตอป<br />

- น้ํามันหลอลื่นที่ใชในการผลิตไฟฟา 6,000 ลิตร<br />

ตอป ตอโรงไฟฟาขนาด 40 เมกกะวัตน<br />

-คาความรอนใบและยอดออย 16 เมกะจูลตอ<br />

กิโลกรัม<br />

-5% สูญเสียจากการขนสงและสับใบและยอดออย<br />

- คาประมาณ<br />

-Junginger M. et al 2001<br />

- Revised IPCC 1996<br />

- Hassuani J. S., Leal V. L. R.<br />

M., Macedo C. d. I., 2005<br />

- EGAT, 2008<br />

- Loo V.S., Koppejan J., 2003<br />

- โรงไฟฟาภูเขียว, 2551<br />

- โรงไฟฟาภูเขียว, 2551<br />

- Junginger, M., Faaij, A.,<br />

Broek, van den R., Koopmans,<br />

A., Hulscher, W., 2001<br />

-คาประมาณ<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลดปลอยจากขั้นตอนตั้งแตจัดเก็บ จนผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงใบและยอด จําแนก<br />

ตามขั้นตอนแสดงดังตาราง ที่ 2<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอนของการผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออย<br />

ขั้นตอน กาซเรือนกระจก (ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา)<br />

คิดเปน<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

จัดเก็บดวยเครื่องจักรและอัดกอน 44,896.29 2.88<br />

การขนสง 604,085.39 38.70<br />

สับใบและยอดออย 570,941.75 36.58<br />

ผลิตไฟฟา 340,971.04 21.84<br />

รวม 1,560,894.17 100.00<br />

พบวาขั้นตอนที่ปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุดคือการขนสงโดยรถบรรทุก รองลงมาคือการสับใบและยอดออย คิด<br />

เปน 38.70 เปอรเซ็นต และ 36.58 เปอรเซ็นต<br />

3.2 ประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงถานหินและลิกไนต และจากการ<br />

เผาใบและยอดออยในที่โลง<br />

3.2.1 ประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงถานหินและลิกไนต<br />

284


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ซึ่งในการศึกษานี้จะทําการประเมินกาซเรือนกระจกที่เกิดจากการผลิตไฟฟาดวยใบและยอดออยตลอด<br />

ทั้งวัฏจักร เทียบกับกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นที่โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงถานหินและลิกไนตดวยปริมาณไฟฟาที่ผลิต<br />

ไดเทากัน จากศักยภาพการผลิตไฟฟาปจจุบันประเทศไทยไดใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนกาซธรรมชาติ ถานหินและ<br />

ลิกไนตเปนเชื้อเพลิงหลักคิดเปนสัดสวน 70.5 เปอรเซ็นต และ 20.7 เปอรเซ็นตทําใหปลดปลอยกาซเรือนกระจก<br />

โดยประมาณ 61 เปอรเซ็นต และ 30.6 เปอรเซ็นต (สํานักงานนโยบายแผนและพลังงาน, 2553) หรือ 0.569<br />

กิโลกรัมคารบอนไดออกไซดตอกิโลกรัมวัตตชั่วโมง (kCO 2 /kWh) และ 0.127 kCO 2 /kWh (Lohsomboon, P. and<br />

Jirajariyavech, A., 2003) ดังนั้นประมาณไฟฟาที่ผลิตไดโดยใชเชื้อเพลิงใบและยอดออยสามารถคํานวณเปนกาซ<br />

เรือนกระจกที่ใชเชื้อเพลิงถานหินและลิกไนต 12,860.06 พันตันคารบอนไดออกไซด<br />

3.2.2 ประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกจากการเผาใบและยอดออยในที่โลง<br />

กาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการเผาใบและยอดออยในที่โลงสามารถประมาณปริมาณที่เกิดขึ้นตาม<br />

สมการและคาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจาก IPCC Guideline 2006<br />

E = M × A × CF × EF × 10 -3 (3)<br />

ซึ่ง E = ปริมาณกาซเรือนกระจกที่เผาใบและยอดออยในที่โลง<br />

M = ความหนาแนน (ตันตอไร) ของใบและยอดออยในไร<br />

A = พื้นที่ไรที่ใบและยอดออยถูกเผา<br />

M x A = น้ําหนัก (ตัน) ใบและยอดออยทั้งหมดที่ถูกเผา<br />

CF = คาประสิทธิภาพการเผาไหม (combustion factor) คือ 39% (Garivait S., 2006)<br />

EF = คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยมลพิษ กิโลกรัมตอตันชีวมวลแหง<br />

E = (11.996 x 10 6 x 0.39 x 6.1 x10 -3 x0.50x 21) +<br />

(11.996 x 10 6 x 0.39 x 0.06 x10 -3 x0.50x 310)<br />

= 708.99 พันตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดจากการผลิตไฟฟาดวยเชื้อเพลิงใบและยอดออยตั้งแตจัดเก็บ ขนสง<br />

เตรียมเชื้อเพลิงและใชผลิตไฟฟาประมาณ 1,550,533.75 ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา และสามารถผลิตไฟฟา<br />

ไดประมาณ 10,129.86 กิกะวัตตชั่วโมง หรือคิดเปน 0.15 kCO 2 /kWh ซึ่งการปลอยกาซเรือนกระจกเกิดจากใช<br />

พลังงานสิ้นเปลืองในการขนสง และการสับใบและยอดออยเพื่อเตรียมเชื้อเพลิง คิดเปน 38.96% และ 36.82%<br />

ตามลําดับ นอกจากนั้นประมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในการผลิตไฟฟาที่โรงไฟฟาดวยถานหินและลิกไนต<br />

12,860.06 พันตันคารบอนไดออกไซด และการเผาใบและยอดออยในไรไดประมาณ 708.99 พันตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา ทําใหเมื่อใชใบและยอดออยในปริมาณที่ถูกเผาโดยเฉลี่ยตอปนํามาเปนเชื้อเพลิง<br />

ทดแทนการผลิตไฟฟาดวยถานหินและลิกไนตทําใหลดกาซเรือนกระจกได 12,018.51 พันตันคารบอนไดออกไซด<br />

เทียบเทา หรือคิดเปน 1.19 kCO 2 /kWh หรือคิดเปน 1.00 kCO 2 ตอกิโลกรัมของใบและยอดออย และแบงตามภาค<br />

ของประเทศไทยไดดังนี้<br />

285


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณพลังไฟฟาและกาซเรือนกระจกที่สามารถลดไดจากการผลิตไฟฟาดวยเชื้อเพลิงใบและ<br />

ยอดออยทดแทนถานหิน/ลิกไนต และลดการเผาใบและยอดออยในที่โลง จําแนกตามรายภาค<br />

ภาค<br />

จํานวน<br />

จังหวัด<br />

ปริมาณใบและยอด<br />

ออยที่ใชผลิตไฟฟา<br />

(ตัน)<br />

ปริมาณพลังไฟฟา<br />

(เมกะวัตต)<br />

ปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกที่ลดได (พันตัน<br />

คารบอนไดออกไซด<br />

เทียบเทา)<br />

เหนือ 12 3,357,476.43 357.98 3,363.81<br />

กลาง 12 3,849,168.27 410.41 3,856.43<br />

ตะวันออก 6 620,286.72 66.14 621.46<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 17 4,168,953.70 444.50 4,176.82<br />

รวม 47 11,995,885.12 1,279.02 12,018.51<br />

ปริมาณไฟฟาถาผลิตพรอมขายไดตามปริมาณดังตารางขางตนจะพบวาคิดเปน 22.81 เปอรเซ็นต<br />

ของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป ของกระทรวงพลังงาน (5,608 เมกะวัตต) และยังทําใหลดการใชถานหินและ<br />

ลิกไนตเพื่อผลิตไฟฟาไดประมาณ 1.1 ลานตัน (สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, 2553)<br />

6. สรุปผลการศึกษา<br />

ศักยภาพของใบและยอดออยที่ถูกทิ้งที่ไรออยยังมีเหลืออยูจํานวนมากและถูกเผาในที่โลงกอมลภาวะทาง<br />

อากาศพรอมสรางอันตรายกับไฟลามไปติดไรออย หรือบาน สิ่งของดานขางได โดยออยที่ถูกเผากอนสงโรงงาน<br />

น้ําตาลคิดเปน 58 เปอรเซ็นต ของออยที่ผลิตไดโดยเฉลี่ย หรือคิดเปนพื ้นที่ได 3.58 ลานไร (สํานักเศรษฐกิจ<br />

การเกษตร,2553) ดังนั้นถาในปริมาณดังกลาวนํามาใชผลิตไฟฟาจะทําใหไดปริมาณพลังไฟฟา 1,279.02 เมกะวัตต<br />

หรือสามารถสนับสนุนแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปของกระทรวงพลังงานได 22.81 เปอรเซ็นต ยังสามารถลด<br />

การใชถานหินและลิกไนตไดประมาณ 1.1 ลานตัน หรือ 5.12 เปอรเซ็นต รวมทั้งสรางรายไดใหชาวไรทั่วประเทศได<br />

ประมาณ 598 ลาน บาท ที่ราคาขายตันละ 500 บาท (มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม, 2553) แตปริมาณใบและยอด<br />

ออยจะสามารถจัดเก็บไดในชวงปลายเดือนพฤศจิกายน และเมษายน ประมาณ 4-5 เดือน เทานั้นทําใหถาจําเปน<br />

จะตองใชเปนเชื้อเพลิงหลักจะตองบริหารการใชเชื้อเพลิงใหเพียงพอกับการจัดพื้นที่เพื่อจัดเก็บเชื้อเพลิงดังกลาว<br />

รวมทั้งมีคาใชจายในการขนสงจากไรมายังโรงไฟฟาดวย นอกจากนั้นยังจําเปนตองสับใบและยอดออยเพื่อเตรียม<br />

เชื้อเพลิงกอนนํามาใชทําใหตองเกิดคาใชจายจากสวนนี้ดวยเชนกัน แตจากตัวอยางที่โรงงานไฟฟาดานชาง<br />

(โรงไฟฟาดานชาง, 2551) สงเสริมชาวไรออยดวยการรับซื้อใบและยอดออยเพื่อเปนเชื้อเพลิงเสริมนอกจากชาวไร<br />

จะไดรายไดยังเปนการที่จะชวยกาซเรือนกระจกจากการเผาใบและยอดออย ไดพลังงานไฟฟาและลดการใช<br />

เชื้อเพลิงสิ้นเปลืองจากกระบวนการดังกลาว ดังนั้นรัฐควรสนับสนุนใหชาวไรออยไดมีแรงจูงใจในการนําใบและยอด<br />

ออยมาขายหรือใชประโยชนดังตัวอยางขางตนตอไป<br />

286


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัยดานพลังงานและสิ่งแวดลอม และกลุมงานวิจัยดาน Aerosol from Biomass<br />

Burning to the Atmosphere (ABBA) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

8. เอกสารอางอิง<br />

- Azapagic A. (1999), Life cycle assessment and its application to process selection design and<br />

optimization, Chemical Engineering Journal, 73, 1-21.<br />

- Burgess A.A. and Brennann D.J. (2001), Application of life cycle assessment to chemical<br />

processes, Chemical Engineering Journal, 56, 2589-2604.<br />

- COGEN, The EC-ASEAN Programme (1998), Evaluation of Conditions for Electricity Production<br />

Based on Biomass: Final Report for RAMBOLL. Bangkok, Thailand, August.<br />

- Garivait S. (2006), Emission from Biomass Open Burning in the Mekong River Basin Sub-<br />

Region, TF HTAP on Emission Inventories and Projections. China.<br />

- Hassuani J.S., Leal V. L. R. M., Macedo C. I. (2005), Biomass Power Generation Sugar cane<br />

Bagasse and Trash. 1 st ed., CTC-Centro de Technolgia Canavieira, Brazil.<br />

- Junginger, M., Faaij, A., Broek, van den R., Koopmans, A., Hulscher, W. (2001), Fuel Supply<br />

Strategies for Large-scale Bio-energy Projects in Developing Countries. Electricity Generation<br />

from Agricultural and Forest Residues in Northeastern Thailand, Biomass and Bioenergy, 21, pp.<br />

259-275.<br />

- Lohsomboon, P. and Jirajariyavech, A. (2003), Thailand: Final Report for the Project on Life<br />

Cycle Assessment for Asian Countries-Phase III. Thailand Environment Institute.<br />

- Loo, V. S., Koppejan J. (2003), Hand Book of Biomass Combustion and Co-firing. Twente<br />

Unitversty Press, Enschede<br />

Sajjakulnuikt, B., Yingyuada, R, Meneekhao V., Pongnarintasuta, V., Bhattacharya,S.C. (2005),<br />

Assessment of sustainable energy potential of non-plantation biomass resources in Thailand.<br />

Biomass and Bioenergy, 29, pp. 214-224.<br />

- The Intergovernmental Panel on Climate Change (2007), “Revised 1996 IPCC Guidelines for<br />

National Greenhouse Gas Inventories” Available online: http://www.ipccnggip.iges.or.jp/public/gl/invs1.html<br />

- The Intergovernmental Panel on Climate Change (2007), “2006 IPCC Guidelines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories” Available online: http://www.ipccnggip.iges.or.jp/public/2006gl/index.html<br />

- United Nations Framework Convention on Climate Change (2008), “CDM Projects” Available<br />

online: http://cdm.unifcc.int<br />

- กระทรวงพลังงาน. “แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป พ.ศ.2551-2565”.http://www.dede.go.th/dede<br />

/fileadmin/upload/nov50/mar52/REDP_present.pdf, 2553.<br />

287


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. รายงานสิ่งแวดลอม 2550,<br />

http://www.egat.co.th/images/stories/env/environmental_report_2550.pdf, 2553.<br />

- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. “Newsletter Issue 5-11”.<br />

http://www.efe.or.th/home.php?ds=search_result&b_search=Newsletter&search_section=&date_fr<br />

om=&date_to=&page=3, 2549.<br />

- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. “ราคาชีวมวล”. http://www.efe.or.th/print_preview.php?mid<br />

=kXEJgr98UudVzBvf&doc=aSXsrMvTkLNF<br />

- โรงไฟฟาดานชาง บริษัท ดานชาง ไบโอ-เอ็นเนอรยี จํากัด 109 หมู 10 ตําบลหนองมะคาโมง อําเภอดาน<br />

ชาง จังหวัดสุพรรณบุรี 72180, ธันวาคม 2551.<br />

- โรงไฟฟาภูเขียว บริษัท ภูเขียว ไบโอ-เอ็นเนอรยี จํากัด 99 หมู 10 ตําบลโคกสะอาด อําเภอภูเขียว<br />

จังหวัดชัยภูมิ, สัมภาษณ, 17 กันยายน 2551.<br />

- สํานักเศรษฐกิจการเกษตร. “สถิติการเกษตรของประเทศไทย ป 2550”. www2.oae.go.th, 2553.<br />

- สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน. “SPP and VSPP data”. www.eppo.go.th/power/data/index.html,<br />

2553.<br />

- สํานักงานคณะกรรมออยและน้ําตาลทราย. “รายงานการผลิตออยและน้ําตาลทราย ประจําปการผลิต<br />

2543/44-2552/53 (ฉบับปดหีบ)”. www.ocsb.go.th/uploads/contents/13/attachfiles, 2553.<br />

288


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเพิ่มมูลคามูลโคนมดวยการนําไปผลิตเปนกาซชีวภาพ<br />

สําหรับสหกรณโคนมในประเทศไทย<br />

The Value Added of Cow Manure by Biogas Production<br />

for Dairy Cooperative in Thailand<br />

วรรัตน ปตรประกร 1 , รักพงศ สายแกว 1 และ พรระพีพัฒน ภาสบุตร 2<br />

1 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต<br />

เลขที่ 99 หมูที่ 18 ถนนพหลโยธิน คลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

2 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต<br />

เลขที่ 99 หมูที่ 18 ถนนพหลโยธิน คลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้นําเสนอแนวคิดในการบริหารเชิงบูรณาการสําหรับฟารมโคนมภายใตแนวคิดการจัดการเชิง<br />

เศรษฐศาสตร และการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อเพิ่มโอกาสทางดานธุรกิจพรอมไปกับการใหความสําคัญทางดาน<br />

สิ่งแวดลอม จากการดําเนินการในรูปแบบสหกรณซึ่งเปนรูปแบบที่ประสบความสําเร็จทั้งในดานสังคม และดาน<br />

ธุรกิจสําหรับสหกรณโคนมในประเทศไทย ทําใหมีการเพิ่มขึ้นของจํานวนสหกรณโคนมในประเทศไทยอยางตอเนื่อง<br />

จนเกือบ 120 แหงเปนสิ่งที่ยืนยันไดวาระบบการดําเนินภายใตสหกรณเปนกลไกที่ไดรับการยอมรับ นอกจากนี้<br />

จํานวนโคนมที่มีการดําเนินการภายใตสหกรณโคนมประมาณ 370,000 ตัว เมื่อมีการจัดการที่เหมาะสมตลอดวัฎ<br />

จักรการเลี้ยงโคนม สามารถนํามาผลิตกาซชีวภาพเพื่อนําไปใชประโยชนในสหกรณ ระบบการจัดการเชิงบูรณาการ<br />

เปนหลักการที่สําคัญในภาคธุรกิจอยางไรก็ตามจะตองมีการศึกษาโดยละเอียดเปนกรณีไป ในงานวิจัยนี้ไดพิจารณา<br />

การเพิ่มมูลคาใหกับสหกรณโคนมโดยอาศัยหลักการการจัดการเชิงบูรณาการทั้ง ในดานเศรษฐศาสตร สังคม<br />

พลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่งจากการสรางโรงไฟฟากาซชีวภาพจากมูลโคนมจะชวยลดการปลอยกาซคารบอน-<br />

ไดออกไซดเทียบเทาสูบรรยากาศไดประมาณ 468,697 ตันตอป และสามารถผลิตไฟฟาได 328,271 กิโลวัตต-<br />

ชั่วโมงตอวัน ทายที่สุดการจัดการเชิงบูรณาการสําหรับสหกรณโคนมมีศักยภาพสูงในการพัฒนา เพื่อเปนแนวทาง<br />

ในการนําไปประยุกตใชซึ่งจะตองมีการศึกษาอยางตอเนื่องตอไป<br />

คําสําคัญ : สหกรณโคนม กาซชีวภาพ กาซมีเทน<br />

Abstract<br />

The concept of integrated economic and environmental management from dairy farms is<br />

proposed to enhance the business opportunity with environmental concern. First of all, the cooperative is<br />

the key point to success in both social and business points of view for dairy farm in Thailand. The number<br />

of dairy cooperatives is raised up to almost 120 cooperatives which guarantee the excellent mechanism of<br />

289


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

collaborative members. Furthermore, 370,000 of dairy cows under dairy cooperative generate biogas for<br />

cooperatives’ utilization with the optimum management of dairy cows cycle. Secondly, the integrated<br />

management system (IMS) is the rule of thumb for many business activities. However, the suitable study<br />

needs to specify the criteria case by case. In this paper, the study results of value added for dairy<br />

cooperative in Thailand by considering IMS concept are shown in term of economic, social, energy and<br />

environment point of view. In addition, biogas power plant from cow manure can reduce carbon dioxide<br />

emission about 468,697 ton/yr and generate electricity 328,271 kW-hr/day. Finally, IMS for dairy<br />

cooperative has the high potential to develop the guideline for the practical implementation in the further<br />

study.<br />

1. ปริมาณโคนมในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยไดใหความสําคัญกับอาชีพการเลี้ยงโคนมอยางจริงจัง ทั้งนี้มีเปาหมายเพื่อทดแทนการนําเขา<br />

นมและผลิตภัณฑนม ซึ่งถือเปนยุทธศาสตรที่สําคัญในการพัฒนาประเทศที่กอใหเกิดการสรางงาน สรางรายได<br />

ใหกับเกษตรกรไทย โดยไดกําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 และ 5 จนทําใหกิจการ<br />

เลี้ยงโคนมมีความเจริญกาวหนา และไดรับความสนใจจากเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น และตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 -2534) เปนตนมา รัฐบาลไดเรงรัดการสงเสริมการเลี้ยงโคนมอยางเต็มที่<br />

ประกอบกับปริมาณน้ํานมดิบที่ผลิตไดในประเทศยังไมเพียงพอกับความตองการบริโภค จึงเกิดแรงจูงใจให<br />

เกษตรกรและภาคเอกชนหันมาประกอบอาชีพการเลี้ยงโคนมเพิ่มขึ้น เพราะเห็นโอกาสที่จะทําใหมีงานทําและมี<br />

รายไดตลอดทั้งป ทําใหพันธุโคนมในประเทศขาดแคลน ตองมีการนําพันธุโคนมจากตางประเทศเขามาเลี้ยงเปน<br />

จํานวนมากปละกวา 4,000 ตัว การเลี้ยงโคนมในประเทศไทยมีการพัฒนา เจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง ทําใหเกิด<br />

การสรางงาน สรางรายไดแกเกษตรกรประมาณ 23,000 ครัวเรือน หรือมากกวา 130,000 คน และผูประกอบการใน<br />

ธุรกิจที่เกี่ยวของมากมายตลอดทั้งป คิดเปนมูลคาประมาณ 30,000 ลานบาท [กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและ<br />

สหกรณ] เพราะมีการผลิตและการบริโภคนมและผลิตภัณฑจากโคนมทุกวัน ซึ่งแตกตางจากอาชีพเกษตรกรรมดาน<br />

อื่น ๆ เชน การทํานา ทําสวน และทําไร ที่มีรายไดเปนชวง ๆ ตามฤดูกาลเพาะปลูก ไมไดผลผลิตตลอดทั้งป<br />

จากสถิติการเลี้ยงโคนมในประเทศไทยตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. 2542 ถึงป พ.ศ. 2551 ดังในรูปที่ 1 จะพบวา<br />

การเลี้ยงโคนมมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้น โดยอาจมีการชะลอตัวบางในชวงเศรษฐกิจผันผวน หรือมีโรคระบาด และเมื่อ<br />

แยกพิจารณาตามรายภาคในป พ.ศ. 2551 (รูปที่2) จะพบวาภาคกลางมีการเลี้ยงมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก<br />

ความอุดมสมบูรณและความเหมาะสมในสภาพพื้นที่ ปริมาณความตองการและใกลสถานประกอบการที่จะแปรรูป<br />

น้ํานมดิบ<br />

290


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ที่มา: กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

รูปที่ 1 สถิติจํานวนโคนมในประเทศไทย ระหวางป พ.ศ.2542-2551<br />

ที่มา: กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

รูปที่ 2 สถิติจํานวนโคนมแบงตามภูมิภาค ระหวางป พ.ศ. 2542-2551<br />

291


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อยางไรก็ตามการเลี้ยงโคนมจะมีคาใชจายเริ่มแรกที่คอนขางสูง ดังนั้นจะมีฟารมโคนมขนาดเล็กเปน<br />

จํานวนมาก ซึ่งทําใหขาดอํานาจในการตอรอง และกระจัดกระจายอยูตามพื้นที่ตางๆ [วรรัตนและพรระพีพัฒน,<br />

2552] เพื่อเพิ่มกําลังการตอรองของเกษตรกรจะมีการรวมกลุมกันเพื่อดําเนินกิจการรวมกันในรูปสหกรณ จากคํา<br />

นิยามของสหกรณเปนการรวมกลุมกันของสมาชิกดวยความสมัครใจ เพื่อดําเนินการทางธุรกิจโดยมีระบบการ<br />

บริหารจัดการตามหลักการของสหกรณเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมรวมกัน<br />

ประเทศไทยไดกําหนดประเภทสหกรณไว 6 ประเภท ตามประกาศกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2516<br />

ประกอบดวยสหกรณการเกษตร สหกรณนิคม สหกรณประมง สหกรณออมทรัพย สหกรณรานคา และสหกรณ<br />

บริการ ซึ่งตั้งแตไดมีการจัดตั้งสหกรณขึ้นในประเทศไทยจนถึงปจจุบัน ผลการดําเนินงานของสหกรณในธุรกิจตางๆ<br />

สรางความนาเชื่อถือเปนที่ไววางใจของสมาชิกจนทําใหจํานวนสหกรณ จํานวนสมาชิก ปริมาณเงินทุน และผลกําไร<br />

ของสหกรณ เพิ่มขึ้นทุกป ปจจุบันมีสหกรณทั่วประเทศ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ประมาณ 6,868 สหกรณ และ<br />

สมาชิก 10,104,104 คน [กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ] การสหกรณในประเทศไทยจึงมี<br />

ความสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะตอประชาชนที่ยากจน สหกรณจะเปนสถาบันทางเศรษฐกิจและ<br />

สังคมที่ชวยแกไขปญหาในการประกอบอาชีพ และชวยยกระดับความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น<br />

2. สหกรณโคนมในประเทศไทย<br />

จากการรวมกลุมกันของเกษตรผูเลี้ยงโคนมในรูปของสหกรณโคนมทําใหมีขอดีในมิติดานตางๆ<br />

ตลอดวัฎจักรการเลี้ยงโคนม (รูปที่ 3) ซึ่งพอสรุปขอดีทั้ง 4 มิติดังนี้<br />

มิติดานเศรษฐศาสตร<br />

- มีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและราคาน้ํานมดิบ ซึ่งสงผลใหเกิดกลไกการตลาดที่ยุติธรรม<br />

ระหวางผูผลิต ผูแปรรูปและผูบริโภค<br />

- มีทุนหมุนเวียนใหกับสมาชิกของสหกรณโคนม ทําใหลดภาระในการกูยืมของเกษตรกรที่ประสบ<br />

ปญหาดานสภาพคลอง<br />

- มีการสงเสริมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงโคนม เชน อุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว<br />

อุตสาหกรรมการแปรรูปน้ํานมดิบ เปนตน<br />

- มีการสงเสริมใหสมาชิกทุกคนพึงตระหนักวาบทบาทที่สําคัญของตนคือ การที่ตองเปนทั้งเจาของ<br />

และลูกคาในคนเดียวกัน จึงตองทําหนาที่เปนผูสมทบทุน ผูควบคุม และผูอุดหนุน หรือผูใชบริการ<br />

ของสหกรณ มิใชมาเปนสมาชิกเพียงเพื่อมุงหวังไดรับประโยชนจากสหกรณ<br />

- มีการจัดสรรกําไรสุทธิเพื่อความเปนธรรมแกสมาชิก สวนหนึ่งตองกันไวเปนทุนสํารอง ซึ่งจะนําไป<br />

แบงกันมิได แตเปนทุนเพื่อพัฒนาสหกรณของพวกเขาเอง ถือวาเปนทุนทางสังคม นอกนั้นอาจ<br />

แบงเปนเงินปนผลในอัตราจํากัด และเปนเงินเฉลี่ยคืน ตามสวนแหงธุรกิจ<br />

มิติดานสังคม<br />

- มีการดําเนินกิจกรรมรวมกันภายในชุมชนหรือทองถิ่น<br />

- มีการถายทอดความรูระหวางกลุมเกษตรกรเพื่อใหเกิดการพัฒนาการเลี ้ยงโคนมอยางเปนระบบและ<br />

มีประสิทธิภาพ<br />

- มีการสงเสริมสมาชิกทุกคนพึงระลึกถึงหนาที่ที่จะตองรวมแรงกายแรงใจ และสติปญญาในการ<br />

ดําเนินการและควบคุมดูแลการดําเนินงานของสหกรณตามวิถีทางประชาธิปไตย เพื่อใหบรรลุ<br />

วัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผานชองทางหรือองคกรตางๆ เชน<br />

คณะกรรมการดําเนินการ ผูตรวจสอบกิจการและที่ประชุมใหญ<br />

292


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- มีการสงเสริมใหสมาชิกสหกรณมีสวนชวยเหลือในการพัฒนาชุมชน<br />

มิติดานพลังงาน<br />

- มีการใชทรัพยากรรวมกันในกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระหวางตลอดวัฎจักรการเลี้ยงโคนม สงผลให<br />

สามารถลดการใชพลังงานจากกิจกรรมดังกลาวได<br />

- มีการสงเสริมในรูปของการใหความรูเพื่อพัฒนาแหลงพลังงานชุมชนเพื่อลดการพึ่งพาพลังงานจาก<br />

ภายนอกชุมชน ทั้งในรูปของพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน<br />

มิติดานสิ่งแวดลอม<br />

- มีการสงเสริมการเกษตรแผนใหมซึ่งใชสารเคมีนอยลง แผนการปรับปรุงดินและจัดระบบการสงน้ําที่<br />

มีประสิทธิภาพใหกับสมาชิก<br />

- มีการลดกิจกรรมที่เกิดขึ้นในตลอดวัฎจักรการเลี้ยงโคนม ทําใหผลกระทบดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น<br />

สามารถลดลงไดอยางมีนัยสําคัญ<br />

- มีการปลูกจิตสํานึกใหการดําเนินงานของสหกรณตองเปนไปเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนนั้นๆ<br />

ซึ่งหมายความวาเปนการพัฒนา ที่ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ หรือ<br />

เปนการพัฒนาที่สนองความตองการและความใฝฝนของคนรุนปจจุบัน โดยไมทําลายโอกาส<br />

ความสามารถ และอนาคตของคนรุนหลัง<br />

รูปที่ 3 วัฎจักรการเลี้ยงโคนม<br />

จากประโยชนในดานตางๆสงผลใหมีสหกรณเกิดขึ้นจํานวนมากในประเทศไทย เพื่อบริหารจัดการน้ํานม<br />

ดิบอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาจํานวนโคนมที่มีการเลี้ยงทั้งหมดในประเทศไทยโดยเปรียบ<br />

เทียบขอมูลจากกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ กับจํานวนโคนมที่มีการเลี้ยงผานระบบสหกรณโคนม<br />

293


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขอมูลจากกรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ พบวาประมาณรอยละ 90 ของจํานวนโคเปนการ<br />

ดําเนินงานในรูปสหกรณ (รูปที่ 4) เมื่อพิจารณาขอมูลของสหกรณโคนมแยกตามภาค ดังตารางที่1 และรูปที่ 5 จะ<br />

พบวาภาคกลางจะมีจํานวนสหกรณ จํานวนโคนม และจํานวนสมาชิกสหกรณโคนมมากเปนอันดับหนึ่ง รองลงมา<br />

คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ตามลําดับ โดยจะพบวาจํานวนโคนมเฉลี่ยที่เลี้ยงตอฟารมโคนมมี<br />

จํานวนไมมากนักอยูระหวาง 10-15 ตัวตอฟารมเทานั้น<br />

ตารางที่ 1 จํานวนสหกรณโคนม ฟารมโคนมและโคนม<br />

ภาค จํานวน<br />

สหกรณ<br />

จํานวนฟารม จํานวนฟารม<br />

ตอสหกรณ<br />

จํานวนโค จํานวนโค<br />

ตอฟารม<br />

จํานวนโคตอ<br />

สหกรณ<br />

กลาง 48 17,518 365 262,808 15 5,475<br />

เหนือ<br />

26 2,089 80 29,281 14 1,126<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 39 5,658 145 67,767 12 1,738<br />

ใต 5 492 98 4.892 10 978<br />

ทั้งประเทศ 118 25,757 218 364,745 14 3,091<br />

ที่มา: กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

ที่มา: กรมสงเสริมสหกรณ และกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

รูปที่ 4 ปริมาณโคนมทั้งหมดเทียบกับปริมาณโคนมที่ดําเนินการภายใตสหกรณโคนม<br />

294


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ที่มา: กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

รูปที่ 5 รอยละของจํานวนสหกรณ จํานวนเกษตรกร และจํานวนโคนม แบงแยกตามภาคในประเทศไทย<br />

เมื่อทําการเรียงลําดับขนาดของสหกรณโคนมดวยจํานวนโคนมจะพบวาสหกรณโคนมหนองโพ จํากัดเปน<br />

สหกรณที่มีจํานวนสมาชิกและจํานวนโคนมมากที่สุด ลําดับรองลงมาไดแก สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด สหกรณ<br />

โคนมมวกเหล็ก จํากัด สหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด และสหกรณโคนมพัฒนานิคม จํากัด<br />

ตามลําดับ โดยภาพรวมสหกรณโคนมสิบอันดับแรกคลอบคลุมจํานวนโคนมมากกวารอยละ 50 ของจํานวนโคนมที่<br />

ดําเนินการภายใตสหกรณทั้งหมด ดังนั้นถาจะทําการเพิ่มมูลคาการดําเนินการของสหกรณโคนมสามารถพิจารณา<br />

จากสหกรณขนาดใหญที่มีศักยภาพเปนอันดับแรก<br />

การดําเนินงานของสหกรณโคนมกับการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

เมื่อพิจารณาจากการดําเนินงานของสหกรณที่สมาชิกจะตองรวมกลุมกันเพื่อประโยชนรวมกัน ดังนั้น<br />

จะตองมีการบริหารจัดการทรัพยากรรวมกัน เชน การจัดใหมีการดูแลโคนมอยางเปนระบบ มีการทําการผลิตอาหาร<br />

สัตวเพื่อใหเหมาะสมกับโคนม การบริหารการจัดจําหนายน้ํานมดิบใหเพียงพอและเหมาะสม กอปรกับจากหลักการ<br />

แนวคิดพื้นฐาน 7 ประการของสหกรณจะเห็นไดวามุงเนนการพัฒนาองคกรภายใตการเจริญเติบโตอยางยั่งยืนของ<br />

ชุมชน ทั้งนี้การปลอยกาซเรือนกระจกสามารถลดลงไดจากสิ่งที่กลาวมาขางตน ดังตัวอยางเชน การบริหารจัดการ<br />

การขนสงน้ํานมดิบดวยหลักการโลจิสติกส ที่มีการจัดลําดับและเสนทางในการรับน้ํานมดิบอยางเหมาะสมทําให<br />

สามารถลดการใชน้ํามันเชื้อเพลิงไดอยางมีนัย เปนตน<br />

295


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 สหกรณโคนมที่มีจํานวนโคนมมากสิบอันดับแรกของประเทศไทย<br />

ลําดับ สหกรณ จังหวัด<br />

จํานวน จํานวน<br />

เกษตรกร โคนม<br />

1 สหกรณโคนมหนองโพ จํากัด (ในพระราชูปถัมภ( ราชบุรี 4,505 71,952<br />

2 สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด สระแกว 1,687 29,551<br />

3 สหกรณโคนมมวกเหล็ก จํากัด สระบุรี 1,262 27,456<br />

4 สหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด สระบุรี 958 14,121<br />

5 สหกรณโคนมพัฒนานิคม จํากัด ลพบุรี 729 11,325<br />

6 สหกรณโคนมปากชอง จํากัด นครราชสีมา 1,046 11,250<br />

7 สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด (อาวนอย) ประจวบคีรีขันธ 387 8,443<br />

8 สหกรณโคนมกําแพงแสน จํากัด นครปฐม 614 7,256<br />

9 สหกรณโคนมนครปฐม จํากัด นครปฐม 345 6,536<br />

10 สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด (พัฒนานิคม) ลพบุรี 377 5,799<br />

ที่มา: กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

3. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาระบบโครงสรางการเลี้ยงโคนม การบริหารจัดการ รวมถึงการกระจายตัวของเกษตรกรผูเลี้ยง<br />

โคนมในประเทศไทย<br />

เพื่อศึกษาประโยชนของการรวมกลุมของเกษตรกรผูเลี้ยงโคนมภายใตการดําเนินงานของรูปสหกรณใน 4<br />

มิติ ไดแกมิติทางเศรษฐศาสตร สังคม พลังงานและสิ่งแวดลอม<br />

เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการเพิ่มมูลคาของมูลโคนมโดยการนําไปผลิตเปนกาซชีวภาพสําหรับสหกรณ<br />

โคนมในประเทศไทย<br />

เพื่อศึกษากรณีตัวอยางของการเพิ่มมูลคาของมูลโคนมผานสหกรณตัวอยางในการใชเปนแนวทางสําหรับ<br />

ประยุกตใชกับสหกรณโคนมในประเทศไทย<br />

4. เทคโนโลยีในการผลิตกาซชีวภาพ<br />

ในการผลิตกาซชีวภาพ เทคโนโลยีที่นิยมนํามาใชในการผลิตกาซชีวภาพ มี 5 เทคโนโลยี ดังนี้<br />

1. ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบการไหลขึ้น<br />

2. ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบปดคลุมบอ<br />

3. ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบถังกวนสมบูรณ<br />

4. ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบตรึงฟลมจุลินทรีย<br />

5. ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบผสมเทคโนโลยี<br />

รายละเอียดระบบรวมถึงขอดีขอเสียของแตละเทคโนโลยีไดแสดงไวในตารางที่3 [ชาตรี, 2553] แตอยางไร<br />

ก็ตามราคาของแตละเทคโนโลยีแตกตางกันไป ขึ้นกับประสิทธิภาพและองคประกอบแวดลอม เชน พื้นที่ที่ตองใช<br />

สําหรับบอหมัก ความยุงยากในดูแลระบบ ปริมาณองคประกอบของอินทรียวัตถุที่เขาสูระบบ ความคงที่ของปริมาณ<br />

ที่เขาและความตองการการใชงานของกาซชีวภาพที่ผลิตได เปนตน<br />

296


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 เทคโนโลยีที่ใชในการผลิตกาซชีวภาพ<br />

เทคโนโลยี ภาพ คําอธิบาย ขอดี ขอเสีย<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบ<br />

อาศัยการทํางานจุลินทรียแบบแขวนลอย ใชพลังงานต่ํา ตองเลี้ยงแบคทีเรียใหจับตัวเปนเม็ด<br />

การไหลขึ้น<br />

เปนเม็ดตะกอน ซึ่งการกวนผสมในถังเกิด ไมตองมีการกวน<br />

ตองพยายามรักษาตะกอนแบคทีเรีย<br />

จากการไหลเขาของน้ําเสียจากดานลางขึ้นสู<br />

เกิดตะกอนแบคทีเรียสวนเกินนอย ใหอยูในระดับที่เหมาะสม<br />

ดานบนผสมกับฟองอากาศที่เกิดจากการ<br />

สามารถรับภาระสารอินทรียไดสูง ใชเวลาเริ่มระบบนาน 3-6 เดือน<br />

ยอยสลาย<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบ<br />

ปดคลุมบอ<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบ<br />

ถังกวนสมบูรณ<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบ<br />

ตรึงฟลมจุลินทรีย<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพแบบ<br />

ผสมเทคโนโลยี<br />

พัฒนาจากระบบบําบัดน้ําเสียแบบบอเปด<br />

โดยการปดคลุมบอดวยพลาสติกเพื่อน้ํากาซ<br />

ชีวภาพที่เกิดขึ้นไปใชงาน<br />

นําระบบถังปฏิกรณแบบถังกวนสมบูรณมา<br />

ประยุกตใช โดยทําใหความเขมขนของสาร<br />

เทากันทุกจุด<br />

มีการบรรจุวัสดุตัวอยางอยางเปนระเบียบ<br />

ทําใหจุลินทรียเจริญเติมโตบนผิววัสดุ<br />

ตัวกลางหรือระหวางชองวางของวัสดุ<br />

ตัวกลาง<br />

การผสมรวมเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพ เชน ระบบกวนสมบูรณผสม<br />

กับระบบการไหลขึ้น<br />

กอสรางงายและราคาถูก การควบคุมระบบยากเนื่องจากการไม<br />

ไมตองมีอุปกรณเพิ่มเติมในบอ<br />

มีการกวนผสมและมีการไหลลัดทาง<br />

ระบบทนตอการเปลี่ยนแปลงสภาวะไดดี ตองการพื้นที่มาก<br />

ตองการการดูแลรักษานอย อาจมีการั่วซึมและน้ําทวมขังบน<br />

พลาสติก<br />

รับน้ําเสียที่มีสารแขวนลอยไดสูงและมี ใชพลังงานในการกวนผสม<br />

ประสิทธิภาพดี<br />

ความเขมขนของสารอินทรียที่ขาออกมี<br />

การผสมกันของสารอินทรียทั่วถึง คาสูง ถากวนผสมมากเกินไปอาจทํา<br />

ใหมีการสูญเสียจุลินทรีย<br />

รับน้ําเสียที่มีสารแขวนลอยไดสูง ราคาสูงเนื่องจากระบบขนาดใหญและ<br />

ระบบทนตอการเปลี่ยนแปลงสภาวะอยาง ราคาคาวัสดุตัวกลาง<br />

กะทันหันไดดี<br />

ตองใชผูมีความชํานาญในการติดตั้ง<br />

ทนตอสารพิษไดดี<br />

มิฉะนั้นอาจเกิดปญหาการอุดตัน และ<br />

เริ่มระบบใหมไดเร็ว<br />

การไหลไมสม่ําเสมอ<br />

มีประสิทธิภาพในการผลิตกาซชีวภาพสูง ตนทุนของระบบสูงกวาเทคโนโลยีแบบ<br />

อื่น<br />

ตองเลือกใหเหมาะสมกับการนําไปใช<br />

งานจริง รวมทั้งทราบปญหาของแตละ<br />

เทคโนโลยี<br />

297


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. วิธีการศึกษา<br />

รวบรวมขอมูลสหกรณโคนมและจํานวนโคนมจากทั่วทุกภาคเพื่อนํามาหาศักยภาพในการผลิตกาซ<br />

ชีวภาพ<br />

จัดอันดับความสําคัญของสหกรณโคนมที่มีศักยภาพและประเมินความคุมคาในเบื้องตน<br />

นํากรณีศึกษามาพิจารณาโครงการเพิ่มมูลคามูลโคนมจากการนํามาผลิตเปนกาซชีวภาพ<br />

6. ผลการศึกษาสหกรณโคนมกับการประยุกตใชกาซชีวภาพ<br />

การที่สหกรณโคนมพิจารณานํามูลโคนมมาผลิตเปนกาซชีวภาพจะเปนการชวยเพิ่มผลประโยชนของ<br />

สมาชิก ทั้งนี้เมื่อพิจารณาในมิติตางๆ แลวสามารถสรุปไดดังนี้<br />

มิติดานเศรษฐศาสตร<br />

กาซชีวภาพที่ผลิตไดสามารถนําไปผลิตเปนพลังงานความรอนทดแทนการใชเชื้อเพลิงจากกาซหุงตมใน<br />

ครัวเรือน เปนการลดคาใชจายใหกับผูเลี้ยงโคนม ในกรณีที่ความตองการพลังงานความรอนเกินกวาความตองการ<br />

ของผูเลี้ยงโคนม ทางสหกรณโคนมสามารถพิจารณาลงทุนเพื่อนํากาซชีวภาพมาผลิตเปนไฟฟาจากพลังงาน<br />

หมุนเวียนเพื่อใชเองภายในสหกรณ และ/หรือจายเขาระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาคซึ่งถือเปนการเพิ่มรายได<br />

ใหกับสหกรณ รวมไปถึงสมาชิกสหกรณผูเลี้ยงโคนมตอไป นอกจากนี้กากตะกอนจากระบบผลิตกาซชีวภาพ<br />

สามารถนําไปทําเปนปุยคุณภาพดีใชในฟารมหรือขายไดดวย จากการประเมินมูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการได<br />

พิจารณารายรับจากการขายไฟฟา ปุย ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดได สําหรับรายจายพิจารณาจากคากอสราง<br />

ระบบ คาดําเนินการและดูแลรักษาระบบ และคาขนสงมูลโคนมมายังระบบผลิตกาซชีวภาพ โดยสรุปไดดังในตาราง<br />

ที่ 4 ซึ่งจะพบวามูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการผลิตกาซชีวภาพจากมูลโคนมมีคาเปนบวกทุกสหกรณโคนม แสดง<br />

ใหเห็นวามีความเปนไปไดในการดําเนินโครงการ ทั้งนี้มูลคาปจจุบันสุทธิของการผลิตกาซชีวภาพจากมูลโคนม<br />

อาศัยขอมูลจากกรณีศึกษาในสหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด [Saikaew et al., 2010] ภายใต<br />

เงื่อนไขการพิจารณาอางอิงจากปจจัยที่สงผลตอการเพิ่มมูลคามูลโคนมของสหกรณตัวอยาง<br />

ตารางที่ 4 มูลคาปจจุบันสุทธิของการผลิตกาซชีวภาพจากมูลโคนมสําหรับสหกรณโคนมสิบอันดับแรก<br />

สหกรณ จังหวัด NPV (บาท)<br />

สหกรณโคนมหนองโพ จํากัด (ในพระราชูปถัมภ) ราชบุรี 188,046,552<br />

สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด สระแกว 77,231,539<br />

สหกรณโคนมมวกเหล็ก จํากัด สระบุรี 71,756,256<br />

สหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด สระบุรี 36,905,234<br />

สหกรณโคนมพัฒนานิคม จํากัด ลพบุรี 29,597,888<br />

สหกรณโคนมปากชอง จํากัด นครราชสีมา 29,401,875<br />

สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด (อาวนอย) ประจวบคีรีขันธ 22,065,781<br />

สหกรณโคนมกําแพงแสน จํากัด นครปฐม 18,963,556<br />

สหกรณโคนมนครปฐม จํากัด นครปฐม 17,081,836<br />

สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด (พัฒนานิคม) ลพบุรี 15,155,687<br />

298


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

มิติดานสังคม<br />

ทําใหสมาชิกมีความเปนอยูที่ดีขึ้นจากการที่สามารถลดคาใชจาย รวมไปถึงการที่มีรายไดเพิ่มเติมในกรณี<br />

ที่กาซชีวภาพที่เหลือใชอาจขายเปนไฟฟาเขากับระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค ประกอบกับเปนการเพิ่มความ<br />

มั่นคงตอคาครองชีพจากกรณีที่มีรายไดจากการขายน้ํานมดิบอยางเดียว ยังมีผลประโยชนจากกาซชีวภาพที่ผลิต<br />

ได มีพลังงานใชในชุมชน ทําใหลดผลกระทบจากราคาน้ํานมที่ผันผวน<br />

มิติดานพลังงาน<br />

เปนการนําพลังงานหมุนเวียนมาใชประโยชน ซึ่งมาจากการเลี้ยงปศุสัตวเปนอาชีพหนึ่งของเกษตรกรที่<br />

สําคัญในประเทศไทย ลดการนําเขาเชื้อเพลิงฟอสซิส ชวยเพิ่มความมั่นคงทางดานพลังงานใหกับชุมชนรวมไปถึง<br />

ระดับประเทศ จากการประเมินปริมาณการผลิตกาซชีวภาพโดยใชระบบผลิตกาซชีวภาพแบบบอปดคลุม มีปริมาณ<br />

กาซชีวภาพที่ผลิตไดแยกตามภูมิภาคดังแสดงในตารางที่ 5 และในแตละสหกรณโคนมสิบอันดับแรก ดังตารางที่ 6<br />

ตารางที่ 5 ศักยภาพของพลังงานในรูปแบบตางๆ ในแตละภาคของประเทศไทย<br />

ภาค<br />

ปริมาณกาซ เทียบเทาน้ํามัน เทียบเทาLPG เทียบเทาไฟฟา<br />

ชีวภาพ ดีเซล<br />

0.75<br />

ลบ.ม/วัน<br />

0.59<br />

ลิตร/วัน<br />

0.46<br />

กก./วัน<br />

1.2 กิโลวัตต-ชม.<br />

/วัน<br />

กลาง 197,104 116,291 197,104 236,525<br />

เหนือ 21,961 12,957 21,961 26,353<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 50,825 29,987 50,826 60,990<br />

ใต 3,669 2,165 3,669 4,403<br />

รวม 273,559 161,400 273,561 328,271<br />

* โคหนึ่งตัวสามารถผลิตกาซชีวภาพได 0.75 ลบ.ม.ตอวัน<br />

ใชสมการในการคํานวณจากเอกศักดิ์, 2553<br />

ตารางที่ 6 ศักยภาพของพลังงานจากสหกรณสิบอันดับแรกของประเทศไทย<br />

สหกรณ<br />

กาซชีวภาพ<br />

(ลบ.ม.)<br />

พลังงานความรอนเทียบเทา<br />

LPG (เมกกะจูล/วัน)<br />

สหกรณโคนมหนองโพ จํากัด (ในพระราชูปถัมภ) 53964 1,202,656<br />

สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด 22163 493,936<br />

สหกรณโคนมมวกเหล็ก จํากัด 20592 458,919<br />

สหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด 10591 236,028<br />

สหกรณโคนมพัฒนานิคม จํากัด 8494 189,294<br />

สหกรณโคนมปากชอง จํากัด 8438 188,040<br />

สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด. (อาวนอย) 6332 141,122<br />

สหกรณโคนมกําแพงแสน จํากัด 5442 121,282<br />

สหกรณโคนมนครปฐม จํากัด 4902 109,247<br />

สหกรณโคนมไทย-เดนมารค จํากัด. (พัฒนานิคม) 4349 96,929<br />

299


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ใชสมการในการคํานวณจากเอกศักดิ์, 2553<br />

มิติดานสิ่งแวดลอม<br />

ทดแทนการใชเชื้อเพลิงจากกาซหุงตมในครัวเรือนซึ่งจะชวยลดเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งจะสงผลตอการลด<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด รวมถึงลดผลกระทบจากกาซมีเทนที่เกิดจากปฏิกิริยาการยอยสลายมูลโคตาม<br />

ธรรมชาติ ซึ่งในสวนนี้ชวยลดผลกระทบตอกาซเรือนกระจกไดมากกวากาซคารบอนไดออกไซดถึง 21 เทา อีกทั้ง<br />

พลังงานดังกลาวยังเปนพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย โดยศักยภาพการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

แสดงดังในตารางที่ 7<br />

ตารางที ่ 7 ศักยภาพของการปลอย CO 2 ในแตละภาคของประเทศไทย<br />

ภาค<br />

การปลอย CO 2 Emission (ตัน CO 2 /ป)<br />

กลาง 337,704<br />

เหนือ 37,626<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 87,081<br />

ใต 6,286<br />

รวม 468,697<br />

ใชสมการในการคํานวณจาก Pattaraprakorn, 2010<br />

จากผลการศึกษาที่กลาวขางตน จะเห็นวามีความเปนไปไดในการเพิ่มมูลคามูลโคนมจากสหกรณโคนมใน<br />

ประเทศไทย แตอยางไรก็ตามจะตองมีการศึกษาในรายละเอียดของการกระจายตัวฟารมโคนม ปริมาณโคนมของ<br />

แตละสหกรณ ขอจํากัดในการเลือกสถานที่ติดตั้งระบบผลิตกาซชีวภาพ ทั้งนี้ไดยกตัวอยางการดําเนินการพิจารณา<br />

ในสหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด ซึ่งจะตองระบุตําแหนงฟารมโคนมทั้งหมดของสหกรณ<br />

จากนั้นหาตําแหนงที่เหมาะสมของระบบผลิตกาซชีวภาพโดยพิจารณาทั้งดานเศรษฐศาสตร เชน คาขนสงมูลโคนม<br />

ที่นอยที่สุด ดานสิ่งแวดลอม เชน ไมอยูในพื้นที่ปาไม หางจากสถานที่สําคัญ เชน วัด โรงเรียน เปนตน ดังแสดง<br />

ตัวอยางรายละเอียดการกระจายตัวของฟารมโคนม และตําแหนงที่มีความเปนไปไดในการติดตั้งระบบผลิตกาซ<br />

ชีวภาพ (รูปที่ 6) และตัวอยางการหาระยะทางที่สั้นที่สุดในการขนสงมูลโคนมเพื่อใหการขนสงเปนไปอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ (รูปที่ 7) นอกจากนี้การจัดการกาซชีวภาพที่ผลิตไดสามารถพิจารณาไดหลากหลายกรณี เชน ใช<br />

เปนพลังงานความรอนทดแทนกาซหุงตม นําไปผลิตเปนไฟฟาขายใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือนํามาใชเองใน<br />

สหกรณ เปนตน<br />

300


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 6 การกระจายตัวของฟารมโคนมและตําแหนงที่มีความเปนไปไดในการติดตั้งระบบผลิตกาซชีวภาพ<br />

[ชาตรี, 2553]<br />

รูปที่ 7 การหาระยะทางที่สั้นที่สุดในการขนสงมูลโคนม [ชาตรี, 2553]<br />

301


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. สรุปผลการศึกษา<br />

การบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณสําหรับเกษตรกรผูเลี้ยงโคนมในประเทศไทย สงผลใหเกิดประโยชน<br />

อยางเปนรูปธรรม ในมิติดานเศรษฐศาสตร สังคม พลังงาน และสิ่งแวดลอม จากกรณีศึกษา ในสหกรณโคนมใน<br />

เขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง จํากัด พบวา มีความเปนไปไดในการเพิ่มมูลคามูลโคนมจากการผลิตกาซชีวภาพ<br />

อยางไรก็ตาม ตองมีการคํานึงถึงปจจัยที่สงผลตอการพิจารณาซึ่งไดแก ตําแหนงที่เหมาะสมในการติดตั้งระบบผลิต<br />

กาซชีวภาพ การจัดการการขนสง เทคโนโลยีในการผลิตกาซชีวภาพ รวมถึงการบริหารจัดการที่เหมาะสมของ<br />

ระบบผลิตกาซชีวภาพ ทั้งนี้เมื่อนําผลจากสหกรณตัวอยางไปประเมินศักยภาพในการเพิ่มมูลคามูลโคนม แสดงให<br />

เห็นถึงศักยภาพในการพัฒนาดานพลังงานและสิ่งแวดลอมเชิงบูรณาการภายใตความเหมาะสมทางเศรษฐศาสตรที่<br />

สงผลกระทบเชิงบวกตอชุมชน ทายที่สุด แนวทางในการพัฒนารูปแบบมาตรฐานสําหรับสหกรณโคนมในประเทศ<br />

ไทย จะถูกทําการศึกษาตอไปโดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผูเลี้ยงโคนม สหกรณโค<br />

นม และผูบริโภค ภายใตแนวคิดหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน<br />

8. เอกสารอางอิง<br />

- Pattaraprakorn, W. et al. (2010), Feasible study of biogas energy for Thai Dairy<br />

Cooperative from daircow manure: The Potential and Economic Analysis. PEA-AIT<br />

International Conference on Energy and Sustainable Development, Thailand, 2-4 June<br />

- Saikaew, R. et al. (2010), GIS Approach for the Feasible Study of Biogas Plant from Cow<br />

Manure of Lumphayakang Dairy Cooperative in Thailand. GMSARN International Journal,<br />

4, pp.49-56.<br />

- กรมปศุสัตว, กระทรวงเกษตรและสหกรณ Website: www.dld.go.th<br />

- กรมสงเสริมสหกรณ, กระทรวงเกษตรและสหกรณ Website: www.cpd.go.th<br />

- ชาตรี วัฒนศิลป. การศึกษาความเปนไปไดของตําแหนงและขนาดของโรงไฟฟาที่อาศัยกาซชีวภาพ<br />

จากมูลโคนมโดยพิจารณาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

สาขาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2553<br />

- วรรัตน ปตรประกร และพรระพีพัฒน ภาสบุตร. การจัดการมูลโคนมเพื่อการพัฒนาพลังงานทดแทน<br />

ภายใตแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยครั้งที่<br />

10 เมษายน 2552<br />

- เอกศักดิ์ ขวัญเมือง. การจัดการพลังงานไฟฟาสําหรับสหกรณโคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลําพญากลาง<br />

โดยการใชกาซชีวภาพจากมูลโคนม: วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัด<br />

การพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2553<br />

302


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Quantification of Greenhouse Gas Emissions from<br />

Primary Rubber Industries in Thailand<br />

Warit Jawjit 1, 4* , Carolien Kroeze 2,3 and Suwat Rattanapan 1<br />

1 Faculty of Science and Technology (Saiyai), Rajamangala University of Technology Srivijaya, Thung<br />

Song, Nakhon si thammarat 80110, Thailand<br />

2 Environmental Systems Analysis Group, Wageningen University, P.O. Box 47, 6700 AA, Wageningen,<br />

The Netherlands<br />

3 School of Science, Open University, The Netherlands<br />

4<br />

National Excellence Center for Environmental and Hazardous Waste<br />

Management-Satellite Center at Prince of Songkla University, Thailand<br />

5 Faculty of Allied Science and Public Health, Walailak University, Tasala, Nakhon si thammarat,<br />

Thailand<br />

e-mail: jwarit@gmail.com<br />

Abstract<br />

Thailand is currently the world’s largest natural rubber producer. In this study emissions of<br />

greenhouse gases associated with the production of fresh latex, and three primary rubber products, including<br />

concentrated latex, block rubber (STR 20), and ribbed smoked sheet (RSS) in Thailand, were presented. Both<br />

industrial activities in the rubber mills and the agricultural activities in rubber tree plantation are taken into<br />

account. For the case that rubber plantations have been located on cultivated lands for more than 60 years,<br />

the overall emissions from the production of concentrated latex, STR 20, and RSS amount to 0.54, 0.70, and<br />

0.64 ton CO 2 -eq/ ton product, respectively. Such emissions are largely associated with energy use and the<br />

use of synthetic fertilizers. For the case that tropical forests have been converted to rubber plantations, the<br />

emissions are much higher because of carbon loss from land conversion: 13, 13, and 21 ton CO 2 -eq/ ton<br />

product for concentrated latex, STR 20, and RSS, respectively. Discussions on the implications of the results<br />

for strategies to reduce greenhouse gas emissions from rubber production are also presented.<br />

Keywords: Greenhouse gases, Rubber, Latex, Concentrated latex, Block rubber, STR 20, Ribbed smoked<br />

sheet, Thailand<br />

303


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. INTRODUCTION<br />

Thailand is an important rubber producing country. About 35% of the latex produced worldwide is<br />

from Thailand (OAE, 2007). Para rubber (Hevea brasiliensis) was introduced to Thailand around the year<br />

1910. Since then, rubber plantations and rubber-related industries have been expanding rapidly. Rubber<br />

industry in Thailand is of economic and social importance because of its production value, the revenues from<br />

export and the employment in this sector. About six million people are involved in rubber plantation (TRA,<br />

2009), whereas about 0.6 million people work in rubber industries (MOL, 2008). Since 2003, Thailand has<br />

become the world’s largest natural rubber (NR) producer (RRI, 2008). In 2008, the fresh latex production in<br />

Thailand was about 3 million ton with an average yield of 5.64 ton fresh latex per hectare (OAE, 2007). The<br />

worldwide demand for natural rubber product is growing, especially in China and India, and this will lead to<br />

additional rubber plantations and productions. Most rubber plantation sites (70%) are at the south of Thailand<br />

(MOL, 2008). Since the rubber plantation area in the south becomes limited, new plantations have been<br />

developed in eastern and northeastern Thailand in the past decade (Hammecker et al., 2006).<br />

The economic lifetime of rubber plantations in Thailand is around 20-25 years. During the first seven<br />

years the trees grow without possibilities to tap latex. This period is followed by 13-18 productive years (Allen,<br />

2004). Fresh latex is extracted by tapping from the rubber trees. The fresh latex is collected as a liquid. The<br />

fresh latex can then be processed to primary rubber products, which are subsequently processed to different<br />

final rubber products (Fig. 1). The most important primary (intermediate) rubber products include concentrated<br />

latex (raw material for dipped products such as medical gloves and condoms), block rubber (raw material for<br />

high viscosity products such as soles and belts), and ribbed smoked sheet rubber (raw material for vehicle<br />

tires and industrial rubber parts) (Korwuttikulrungsee, 2002).<br />

Since natural rubber products are being exported to the international market, it has been challenging<br />

for Thai rubber entrepreneurs to seek for appropriate environmental measures to produce environmentally<br />

friendly rubber products. Traditionally, environmental management in rubber mills focused on pollution<br />

reduction, especially through wastewater treatment and air pollution control (Rakkoed et al., 1999; Nguyen,<br />

1999). Thailand has signed the Kyoto protocol in 1998, and is currently implementing a strategic climate plan<br />

for the period 2008 – 2012. This plan consists of six important strategies, including building capacity to adapt<br />

to climate impact, promoting greenhouse gas mitigation, and creating awareness (Thammakul, 2009).<br />

According to Thailand’s initial national communication (ONEP, 2000), Total Thai greenhouse gas emissions<br />

were 286 Tg CO2-equivalents in the mid-nineties, of which about 75 Tg are from land use change and<br />

forestry, about 60 Tg from agriculture, and about 15 from industry. Global warming has been gaining attention<br />

from the industrial sector during the last decade. As a result, several studies were carried out to identify<br />

measures to reduce fuel use and energy consumption in the production of rubber products (DIW, 2001; PCD,<br />

2005; STO, 2005). The Thai Rubber Association has recently been considering the opportunity to apply for a<br />

Clean Development Mechanism (CDM) project under the Kyoto Protocol, and also the possibility to start a<br />

“Carbon Label” for rubber products (TRA, 2008). This, however, requires information on greenhouse gas<br />

emissions from the rubber industry. However, such information is, to our knowledge, not available.<br />

304


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

The objective of this study is, therefore, to quantify emissions of greenhouse gas emissions<br />

associated with the production of fresh latex and primary rubber products in Thailand, and to discuss options<br />

to reduce these emissions.<br />

2. GOAL AND SCOPE DEFINITION<br />

2.1 Goal definition<br />

Emissions of greenhouse gas emissions associated with the production of fresh latex, and three<br />

primary rubber products (including concentrated latex, block rubber, and ribbed smoked sheet) produced in<br />

Thailand were quantified. Besides industrial activities in the rubber mills, the agricultural activities in rubber<br />

tree plantations are taken into account. Potential options for reducing greenhouse gas emissions from rubber<br />

production are discussed.<br />

2.2 System boundary<br />

The rubber products considered in this study include fresh latex, concentrated latex, block rubber,<br />

and ribbed smoke sheet. Fresh latex refers to latex that is collected from rubber trees by farmers, and then<br />

transported to rubber processing mills. Ammonia may be added to the latex to prevent coagulation before<br />

reaching the mill (Nambiar et al., 1981). Concentrated latex refers to the latex which is processed by<br />

centrifuging, and has a Dry Rubber Content (DRC) of at least 60%. Block rubber in this study refers to STR<br />

20 block rubber (STR = Standard Thai Rubber). STR 20 has the largest share (80%) in all block rubber. It is<br />

produced from dried rubber in the form of cup lumps, tree laces, bark scrap and earth scrap (Leong et al.,<br />

2003). Blackened STR 20 is usually used as raw material for vehicle tires, belts and rubber parts in for<br />

industry. STR 20 will be refered as block rubber in the rest of this paper. Ribbed smoked sheet (RSS) refers<br />

to rubber sheets that are transformed from liquid fresh latex to solid rubber sheets by adding formic acid, and<br />

consecutive smoke drying at 50-60 o C in order to preserve the quality of the rubber (Tekasakul and Promtong,<br />

2008). Smoked sheets are categorized to different grades (RSS1- RSS5) based on their quality, color and<br />

contaminations.<br />

Two main systems in our study were distinguished, including rubber plantations (i.e. the production of<br />

fresh latex), and rubber mills (i.e. the production of concentrated latex, block STR 20, and RSS). As shown in<br />

Fig. 2, each system includes the production of raw materials which are used in agricultural and industrial<br />

activities, and the activities associated with the production of fresh latex and the three primary rubber<br />

products. The activities in the rubber plantations include the production of N and P fertilizer, the production of<br />

diesel (used in tillage and fresh latex transportation), land conversion, N fertilizer use, diesel use in tillage,<br />

and diesel use in fresh latex transportation. Activities in the rubber mills include the production of electricity,<br />

the production of diesel, the production of LPG (Liquefied Petroleum Gas), the production of ammonia, diesel<br />

use, LPG use, and wood use. Chemical use in the production of concentrated latex is dominated by<br />

ammonia. In the production of STR 20, and RSS chemical use is rare, and can be considered negligible.<br />

Transport of N and P fertilizers, ammonia, diesel and LPG is not considered. Wastewater treatment may be a<br />

305


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

source of greenhouse gases, in particular when anaerobic treatment is applied (which could result in CH 4<br />

emissions). Most wastewater treatment at rubber mills in Thailand are, however, aerobic systems (mainly<br />

oxidation ponds). We, therefore, assume that the associated greenhouse gas emissions are minor, and<br />

excluded these from the study.<br />

Rubber Trees<br />

Primary rubber<br />

Fresh latex<br />

Concentrated latex<br />

Block Rubber (STR)<br />

Ribbed Smoked Sheet (RSS)<br />

Medical gloves<br />

Condoms<br />

etc.<br />

Belts<br />

Soles<br />

etc.<br />

Vehicle tires<br />

Industrial rubber parts<br />

etc.<br />

Final rubber products<br />

Figure 1 Schematic diagram of production of primary<br />

2.3 Functional unit<br />

Emissions of the greenhouse gases CO 2 , CH 4 and N 2 O were calculated. The emissions associated<br />

with rubber products are first calculated in term of kg CO 2 (CH 4 , N 2 O) per ton of rubber product (fresh latex,<br />

concentrated latex, STR 20, RSS), and then converted to CO 2 -equivalents using Global Warming Potentials<br />

(GWP). The GWPs are 21 and 310 for CH 4 and N 2 O, respectively (IPCC, 2006).<br />

3. METHOD FOR QUANTIFYING EMISSIONS<br />

3.1 Calculation of Greenhouse Gas Emissions<br />

Most emissions of greenhouse gases associated with the production of fresh latex, and primary<br />

rubber products are quantified as a function of activities (shown in Table 1) and emission factors (shown in<br />

Table 2), using the following equation:<br />

E x , i, j = SUM i, j (A i, j x EF x, i ,j x GWP x ) 1)<br />

where E x , i, j are emissions of greenhouse gas x (index for type of greenhouse gases: CO 2 , CH 4 , N 2 O)<br />

associated with activities i (index for type of activities as shown in Table 1) in the production of product j<br />

(index for type of products: fresh latex, concentrated latex, STR, RSS) (kg CO 2 -eq/ ton product). A i,j is the<br />

306


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

level of activity i in the production of product j , and EF x, i ,j is the emission factor for greenhouse gas x due to<br />

activity i in production of product j . GWP x is the global warming potential of greenhouse gas x as described<br />

in section 2. The emissions are calculated as annual total emissions per ton or rubber product in Thailand for<br />

the year 2008.<br />

Greenhouse gas emissions were estimated largely following the IPCC 2006 Guidelines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories (IPCC, 2006), unless local information provides better estimates. Most activity<br />

data that we use are from local sources, as discussed below. We consider this approach to be the most<br />

appropriate for our purpose. Good quality local information is preferred, but when not available, the IPCC<br />

Guidelines provide an internationally accepted alternative. Emission factors are largely from IPCC (IPCC,<br />

2006). Most emission factors for CO 2 and CH 4 are readily available from the IPCC Guidelines. For N 2 O<br />

emissions some additional assumptions needed to be made. For the industrial production of synthetic<br />

fertilizers, we assume that there is no abatement of N 2 O emissions. The fertilizers used in Thailand are mainly<br />

produced by a mix of technologies. Following the IPCC Guidelines, we use an emission factor of 7 kg<br />

N 2 O/ton nitric acid (0.022 kg N 2 O/ kg synthetic fertilizer-N produced), which is within the range for existing<br />

technologies (5-9 kg N 2 O/ton nitric acid).<br />

N 2 O can also be emitted from soils, because of bacterial processes such as nitrification and<br />

denitrification that are part of the natural nitrogen cycle (Mosier et al., 1998). Rubber production may increase<br />

these natural emissions in several ways. First, there are so-called direct emissions, caused by fertilization or<br />

enhanced N mineralization as a result of land use. Second, there are indirect emissions. These are emissions<br />

of N 2 O that are induced by fertilizer use, but taking place elsewhere after nitrogen losses from the fertilized<br />

fields. These losses include N leaching and runoff, and emissions of fertilizer N as nitrogen oxides (NO x ) or<br />

ammonia (NH 3 ). In this study, we assume that there is no animal manure used in rubber industry, and that<br />

the emissions as a result of crop residues are negligible. For all soil emissions, we use emission factors from<br />

IPCC (IPCC, 2006) (Table 2). We furthermore assume that rubber is produced on mineral soils.<br />

Conversion of natural forests to agriculture in the humid tropics leads to a reduction in ecosystem<br />

carbon storage due to the immediate removal of aboveground biomass and a gradual subsequent reduction in<br />

soil organic carbon [17]. Rubber plantations in Thailand are located on lands that have been converted<br />

natural forest, crop cultivation sites, rice paddy fields, and other types of land use. In general, the type of land<br />

conversion largely affects the overall greenhouse gas emissions from cultivated soils (Murdiyarso et al.,<br />

2002). The current area of rubber plantation in Thailand is 2.46 million ha. Most of rubber plantation sites<br />

(70%) are in the south of Thailand, and have been planted with rubber trees for 60- 80 years. Other regions<br />

have been developed for rubber plantations during the last two decades. To quantify emissions from land<br />

conversion, we distinguish between two cases: one is typical for the south and the other for eastern and<br />

southern regions of Thailand. We assume that there is no change in carbon stock in rubber plantation sites in<br />

the south (1.78 million ha). This is following the IPCC Good Practice Guidelines for Greenhouse Gas<br />

Inventories, indicating that after 20 years carbon stocks approach to a new equilibrium (IPCC, 2004). We<br />

realize that the actual length of this transition period is country-specific, and depends on natural and<br />

ecological circumstances.<br />

307


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

Production of<br />

di l<br />

Logistic<br />

Production of N<br />

& P Fertilizer<br />

Rubber Plantations<br />

(Production of fresh<br />

Land conversion<br />

Diesel use in<br />

till<br />

N fertilizer use<br />

Diesel use in<br />

fresh latex<br />

CO 2 ,<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

N 2 O<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

Production of electricity<br />

Production of<br />

Production of LPG<br />

Production of<br />

Rubber mills<br />

(Production of primary rubber<br />

Logistic<br />

Electricity use<br />

Diesel use<br />

LPG use<br />

Wood use<br />

Ammonia use<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

CO 2 ,CH 4 ,<br />

CH 4 ,<br />

Figure 2 Schematic overview of the production of fresh latex and primary rubber products<br />

(concentrated latex, STR 20 and RSS) and associated emissions of greenhouse gases. Solid lines<br />

indicated that the activities or processes are considered in this study, while dotted lines indicate that<br />

the activities or processes are not considered.<br />

However, for Thailand no detailed information exists to specify this period in more detail (ONEP,<br />

2000). Therefore, using the IPCC default of 20 years seems appropriate. For other regions Thailand (i.e. not<br />

in the south), we assume that rubber plantations (0.68 million ha) are on lands that have been converted from<br />

tropical forest. In this case, large changes in biomass carbon stocks occur during the land conversion, since<br />

primary forests store more carbon than rubber plantations (Reijnders and Huijbregt, 2006; Gnanavelrajah et<br />

al., 2008).<br />

3.2 Activity Data<br />

The activity data used in this study are both from primary and secondary sources (Table 1). Rubber<br />

plantation sites were visited several times to interview 33 Thai farmers about their practices on, for instance,<br />

308


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

land preparation for planting rubber trees, diesel use in tillage, fertilizer use, number of tapping days in a year,<br />

distance over which fresh latex is transported to rubber mills. In addition, questionnaires were sent to 8 Thai<br />

rubber mills (3 concentrated latex mills, 3 STR mills, 2 RSS mills) including questions on the production<br />

capacity, production process, electricity and fuel use, chemicals use, and pollution abatement practices. Four<br />

rubber mills were visited (2 concentrated latex mills, 1 STR mill, and 1 RSS mill) to obtain more detailed<br />

information on energy and environmental issues from local technicians.<br />

Secondary data is used for completion, comparison and validation. Activities data on rubber<br />

plantation practices and fertilizer use were taken from the Thailand Rubber Research Institute (RRI, 2009)<br />

and Korwuttikulrungsee (2002). Electricity use, fuel consumption, and chemical use in rubber processing mills<br />

were taken from studies performed by the Department of Industrial Work (DIW, 2001), the Pollution Control<br />

Department (PCD, 2005), and the Safety Technology Office (STO, 2005). The results from our surveys and<br />

questionnaires are generally in line with the literature. All activity data used in this study are presented in<br />

Table 1.<br />

Table 1 Activity data (A i, j ) used for the calculation of greenhouse gas emissions from the production of<br />

fresh latex, and primary rubber products (as used in equation 1)<br />

Activity data value Unit 1) Source 2)<br />

Diesel use in tillage 0.78 liter/ha/year Farmer interviews and field visits<br />

N Fertilizer use<br />

70 kg-N/ha/year<br />

P fertilizer use 35 kg-P/ha/year Farmer interviews and RRI (2009)<br />

Diesel use for fresh latex transportation 5 Liter/trip 3) Farmer interviews<br />

Ammonia use in concentrated latex mills 17 kg/ton conc. latex<br />

Electricity use<br />

kWh/ton conc.<br />

- in concentrated latex mills 100 latex<br />

- in block rubber (STR) mills 220 kWh/ton STR<br />

- in ribbed smoked sheet (RSS) mills 10 kWh/ton RSS<br />

Diesel use<br />

- in concentrated latex mills 300 MJ/ton conc. latex<br />

- in block rubber (STR) mills 1000 MJ/ton STR<br />

- in ribbed smoked sheet (RSS) mills 150 MJ/ton RSS<br />

Questionnaires, technicians<br />

interviews, mill visits; DIW (2001);<br />

PCD (2005); STO (2005)<br />

LPG use in block rubber (STR) mills 1252 MJ/ton STR<br />

Wood use in ribbed smoked sheet (RSS)<br />

mills<br />

900 MJ/ton RSS<br />

1) The emissions per hectare are converted to ton CO 2 -equivalents/ton of fresh latex, assuming a yield of 5.64 ton fresh latex<br />

per hectare/year<br />

2) See text for details on interviews and site visits<br />

3) The average distance from rubber plantation sites to rubber mills is about 30 km (round trip 60 km)<br />

309


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 2 Emission factors 1) (EF x, i ,j ) used for calculation of greenhouse gases emissions from<br />

production of fresh latex, and primary rubber products (as used in equation (1) )<br />

Activity Gas Emission factor Unit<br />

Diesel use in tractors for tillage CO 2 73 g/MJ<br />

CH 4 0.004 g/MJ<br />

N 2 O 0.03 g/MJ<br />

Production of N- Fertilizer: energy related a) CO 2 2.5 kg/kg N<br />

CH 4 2.70E-05 kg/kg N<br />

N 2 O 3.80E-05 kg/kg N<br />

Production of N- Fertilizer: process related N 2 O 0.022 kg/kg N<br />

N 2 O direct emissions from fertilizer use N 2 O 0.01 kg N 2 O-N/kg N<br />

N 2 O direct emission from cultivation of mineral<br />

forest soil<br />

N 2 O 0.01 kg N 2 O-N/kg N mineralized from<br />

mineral soil<br />

N 2 O indirect emission after N leaching and runoff N 2 O 0.00225 kg N 2 O-N/ kg N use<br />

N 2 O indirect emission after emission of fertilizer N N 2 O 0.001 kg N 2 O-N/ kg N use<br />

as NO x and NH 3<br />

Production of P-fertilizer: energy related a) CO 2 0.705 kg/kg P<br />

CH 4 7.60E-06 kg/kg P<br />

N 2 O 1.06E-06 kg/kg P<br />

Production of ammonia CO 2 3.3 ton/ ton NH 3<br />

Production of Electricity b) CO 2 0.624 ton/MWh<br />

CH 4 0.02 kg/MWh<br />

N 2 O 0.005 kg/MWh<br />

CO 2 74,100 kg/TJ<br />

Diesel use in latex transportation by pick-up cars CH 4 3.9 kg/TJ<br />

N 2 O 3.9 kg/TJ<br />

Production of Diesel c) CO 2 7 ton/TJ<br />

CH 4 15.7 kg/TJ<br />

N 2 O<br />

Diesel use in rubber mills CO 2 74.1 ton/TJ<br />

CH 4 3 kg/TJ<br />

N 2 O 0.6 kg/TJ<br />

Production of LPG c) CO 2 6 ton/TJ<br />

CH 4 16 kg/TJ<br />

LPG use in rubber mills CO 2 63.1 ton/TJ<br />

CH 4 1 kg/TJ<br />

N 2 O 0.1 kg/TJ<br />

Wood use in rubber mills CO 2 110 ton/TJ<br />

CH 4 30 kg/TJ<br />

N 2 O 4 kg/TJ<br />

310


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1) All emission factors are from IPCC (2006), except a) from Pluimers (2001); b) from EGAT (2008); c) from<br />

Lewis (1997).<br />

4. RESULTS<br />

4.1 Emissions from Rubber Plantations (Fresh Latex Production)<br />

Emissions from rubber plantations include carbon and nitrous oxide emissions (I) due to land<br />

conversion, (II) from the production of raw materials used in rubber plantations, and (III) from the rubber<br />

plantations (Table 3). Emissions from land conversion presented in Table 3 are for the case that tropical<br />

forest is converted to rubber plantations. Replacing tropical forest by plantation results in a net loss of carbon<br />

to the atmosphere, since the above-ground biomass carbon, below-ground biomass carbon, and soil carbon<br />

in tropical forests is higher than in rubber plantations. Carbon in above-ground biomass, below-ground<br />

biomass, and soils in tropical forests are 235, 87, and 57 ton C/ ha, respectively (IPCC, 2006; Reijnders and<br />

Huijbregt, 2006), whereas for rubber plantations these values are 103, 57, and 40 ton C/ha, respectively<br />

(Gnanavelrajah et al., 2008). Following equation 2, we calculate the overall loss of carbon from the aboveground,<br />

below-ground, and soil carbon to be 132, 30, and 26 ton C/ha, respectively, and the annualized<br />

emissions 6.6, 1.5, and 1.3 ton C/ha/ year, respectively. The emissions are then converted to ton CO 2 -<br />

equivalents/ton of fresh latex, assuming a yield of 5.64 ton fresh latex / ha/year (Table 3).<br />

Annual greenhouse gas emissions from rubber plantations are about 6.4 ton CO 2 -eq/ ton fresh latex/<br />

year, but only 0.2 ton CO 2 -eq/ton fresh latex/ year when emissions from land conversion are excluded. In<br />

case the rubber is planted on forested land, carbon loss from ecosystems account for 97% (over 6 ton CO 2 -<br />

eq / ton fresh latex) of the total greenhouse gas emission from rubber plantations. The large contribution of C<br />

loss due to land conversion that we estimate for those rubber plantations is in line with earlier studies for<br />

palm oil plantations (Reijnders and Huijbregt, 2006), indicating that C losses from converting forests to palm<br />

oil plantations account for 60-80% of the total greenhouse gas emissions, and 90% in case oil palm is planted<br />

on peaty soils. We assume that all forest clearance for rubber plantations is done by logging, but in fact<br />

forests are also cleared by burning. Forest burning also releases CH 4 , N 2 O and CO, which we ignore here. As<br />

a result, we may be underestimating total greenhouse gas emissions to some extent (see for instance,<br />

Danielsen et al.(2009)).<br />

As indicated above, most Thai rubber plantations were first planted about 60-80 years ago. For these<br />

plantations we consider no change in soil carbon stock, assuming that it takes about 20 years to reach a new<br />

equilibrium. The resulting greenhouse gas emissions are then 0.2 ton CO 2 -eq/ton fresh latex, of which 60%<br />

(117 kg CO 2 -eq / ton fresh latex) from the production of raw materials, and 40% (82 kg CO 2 -eq / ton fresh<br />

latex) from the plantations. These emissions are largely associated with the production and use of synthetic<br />

nitrogen fertilizers. Although emissions from the production of N-fertilizer (process related) and the use of N-<br />

fertilizer may seem low (0.3 and 0.2 kg N 2 O/ ton fresh latex), they are dominant in terms of CO 2 -equivalents.<br />

We may have overestimated these emissions to some extent, since the actual amount of fertilizers used by<br />

311


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

farmers may be lower than as recommended by the Thailand Rubber Research Institute, from which we<br />

acquired the information. Production of diesel and its uses for tillage and transportation of latex are found to<br />

be minor contributors to greenhouse gas emissions.<br />

Table 3 Greenhouse gas emissions from fresh latex production in rubber plantations<br />

Activities<br />

Emission (kg/ton fresh latex)<br />

CO 2 CH 4 N 2 O CO 2 -eq<br />

I. Land conversion from forests to rubber plantations 1)<br />

C above-ground loss 4,288 0 0 4,288<br />

C below-ground loss 975 0 0 975<br />

Soil carbon loss 834 0 0 834<br />

N 2 O direct emission from cultivation of mineral<br />

forest soil 0 0 0.24 74<br />

Total 6,097 0 0.24 6,171<br />

II. Production of raw materials used in rubber plantations<br />

Production of N- Fertilizer: energy related 30 < 0.001 0.001 30<br />

Production of N- Fertilizer: process related 0 0 0.26 82<br />

Production of P-fertilizer: energy related 4 < 0.001 < 0.001 4<br />

Production of diesel use for tillage 0.17 < 0.001 0 0.17<br />

Production of diesel use for latex transportation 0.67 < 0.001 0 0.67<br />

Total 35 < 0.001 0.26 118<br />

III. Emissions from plantations<br />

N 2 Odirect emission from N -Fertilizer use 0 0 0.19 59<br />

N 2 O indirect emission after N leaching and runoff 0 0 0.04 13<br />

N 2 O indirect emission after emission of fertilizer<br />

N as NO x and NH 3 0 0 0.02 6<br />

Diesel use in tractor for tillage 0.4 < 0.001 < 0.001 0.4<br />

Diesel use in latex transportation by pick-up car 7 < 0.001 < 0.001 7<br />

Total 7.4 < 0.001 0.25 85<br />

1) These estimates refer to the case that tropical forest has been converted to rubber plantations; for relatively old rubber<br />

plantations (> 60 years) on cultivated land, typical for the south of Thailand we assume these emissions to be zero.<br />

4.2 Emission from Rubber Mills<br />

Greenhouse gas emissions from rubber mills are presented in Table 4. We distinguish between<br />

emissions from the production of raw materials used in rubber mills, and emission from the industrial<br />

312


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

production of the three primary rubber products: concentrated latex, STR 20 and RSS. Electricity and fuel use<br />

are important sources of greenhouse gas emissions for all three rubber products. The emissions associated<br />

with the production of STR 20 (307 kg CO 2 -eq/ ton STR 20) are higher than of concentrated latex, and RSS.<br />

This is because the STR 20 production is mainly a mechanical process and relatively energy intensive.<br />

Electricity is used for driving machines, including crepers, shredders, slab cutters, pre-breakers, rotary cutters,<br />

and packaging machines (Korwuttikulrungsee, 2002). Diesel and LPG are used in the drying process. In the<br />

past only diesel was used. LPG, giving rise to lower greenhouse gas emissions, has been introduced in block<br />

rubber production a few years ago, in response to rising diesel prices. For concentrated latex emissions from<br />

electricity production have the largest share. Electricity is mainly used in the centrifugation process, which<br />

separates latex from water and other substances in order increase the dry rubber content (Nguyen, 1999).<br />

However, the production of ammonia is another major source, accounting for 40% (57 kg CO 2 - eq/ton<br />

concentrated latex) of total greenhouse gas emissions. Ammonia is used to prevent latex coagulation. We<br />

estimate greenhouse gas emissions from RSS to be relatively low: 20 kg CO 2 -eq/ ton RSS. This is excluding<br />

CO 2 from biomass combustion (~ 100 kg CO 2 -eq/ ton RSS), because the wood used as fuel for drying and<br />

smoking the rubber sheet is from trees that are likely replante<br />

4.3 Overall Emissions<br />

So far, we presented greenhouse gas emissions during the production of fresh latex in rubber<br />

plantations (section 4.1) and the consecutive processing to primary rubber products in rubber mills (section<br />

4.2) separately. Here we combine these estimates in order to present the overall emissions associated with<br />

the production of concentrated latex, STR 20, and RSS.<br />

The results are presented for two cases; 1) relatively young (< 20 years) rubber plantations on<br />

converted forest land, and 2) relatively old (> 60 years) rubber plantations on cultivated land (Table 5).<br />

Case 1 is typical for rubber products derived from latex produced in eastern and north-eastern<br />

Thailand (30% of the rubber plantations). For case 1 the greenhouse gas emissions from the production of<br />

concentrated latex, STR 20, and RSS are 13, 13, and 21 ton CO 2 -eq/ ton product, respectively. This case<br />

assumes that rubber trees were planted on forest land. Emission associated with carbon stock loss from<br />

ecosystem account for more than 92% of the total emission. For case 2 the emissions are much lower, since<br />

it considers carbon loss due to land conversion negligible. The resulting emissions from the production of<br />

concentrated latex, STR 20, and RSS are 0.54, 0.7, and 0.66 ton CO 2 -eq/ ton product/year, respectively for<br />

case 2. This large difference between case 1 and case 2 illustrates the large impact on the environment of<br />

converting tropical forests to rubber plantations.<br />

Case 2 is typical for most (70%) of the rubber plantations in Thailand, located in the southern part of the<br />

country. We therefore further analyze the results of this case in more detail. It is clear that emissions from<br />

rubber plantations exceed emissions from rubber mills, for concentrated latex and RSS (Fig. 3). The relative<br />

shares of rubber plantations in overall greenhouse gas emissions are 70% and 95%, while rubber mills<br />

313


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 4 Greenhouse gas emissions from rubber mills (in kg CO 2 -eq/ ton product)<br />

Concentrated Latex Block Rubber (STR 20) Ribbed Smoked Sheet (RSS)<br />

CO 2 CH 4 N 2 O CO 2 -eq CO 2 CH 4 N 2 O CO 2 -eq CO 2 CH 4 N 2 O CO 2 -eq<br />

I. Production of raw materials used in rubber mills<br />

Production of electricity : 62 0.1 0.2 63 137 0.1 0.3 138 6 0.01 0.02 6<br />

Production of diesel : 2 0.1 0 2 7 0.4 0 7 1 0.1 0 1<br />

Production of LPG 0 0 0 0 8 0.5 0 8 0 0 0 0<br />

Production of ammonia 57 0 0 57 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

II. Emissions from rubber mills<br />

Diesel use 22 0.02 0.1 22 74 0.08 0.2 74 11 0.01 0.03 11<br />

LPG use 0 0 0 0 79 0.03 0.04 79 0 0 0 0<br />

Fuel wood use 0 0 0 0 0 0 0 0 99 1) 0.7 1 2<br />

Total 143 0.2 0.2 144 305 1 1 306 18 1 1 20<br />

1) Emissions of CO 2 from fuel wood use are not included in total emissions, since this fuel wood is derived from the rubber trees that are replanted.<br />

Table 5 Comparison of overall greenhouse gas emissions (in ton CO 2 -eq/ ton product) associated with the production of primary rubber products for the two<br />

cases.<br />

Product<br />

Case 1: produced from latex<br />

from relatively young<br />

plantations on deforested land<br />

Concentrated latex 13 0.54<br />

Block rubber (STR 20) 13 0.70<br />

Ribbed smoked sheet (RSS) 21 0.66<br />

Case 2: produced from latex<br />

from relatively old plantations<br />

on cultivated land<br />

314


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

account for 30% and 5% of the overall emissions of conc. latex and RSS, respectively. In case of STR 20<br />

energy related emissions have a large share in emissions (44%) from rubber mills. The production and<br />

use of synthetic N fertilizers is the most important source of greenhouse gases for all three products. The<br />

industrial production of fertilizers accounts for about 30-50% of total emissions. The biogenic emissions<br />

from fertilized soils account for another 20-30% to total emission. Emissions from electricity and fuel uses<br />

contribute by about 20%, 44%, and 3% to the emissions for concentrated latex, STR 20, and RSS,<br />

respectively. Even though emissions from rubber mills are lowest for RSS production (Table 4), the<br />

overall emissions are relatively high for RSS (Fig. 3). This is because for each ton of RSS, 3.3 tons fresh<br />

latex is needed. For the other two products the ration of fresh latex to primary product is lower.<br />

Figure 3 may help in prioritizing options to reduce greenhouse gas emissions from rubber production<br />

in southern Thailand. First priorities may be options to reduce emissions from the use and production of<br />

synthetic fertilizers. To a lesser extent, emissions from the use of electricity and fuels may be of interest.<br />

In the next section, we will discuss cleaner technology options for these sources of greenhouse gases in<br />

some more detail.<br />

800<br />

700<br />

emission (kg CO2-eq/ ton product)<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

Other emissions *<br />

LPG production & use in mill<br />

Diesel production & use in mill<br />

Electricity production<br />

Ammonia production<br />

N fertilizer use<br />

N fertilizer production<br />

0<br />

Concentrated<br />

latex<br />

STR 20<br />

RSS<br />

* Other emissions include emissions from P fertilizer production, diesel production and use for tillage and latex<br />

transportation, and indirect N 2 O emission.<br />

Fig. 3 Greenhouse gas emissions from the production of concentrated latex, STR 20 and RSS for<br />

Case 1 (assuming that rubber trees are not planted on recently deforested land). Emissions from<br />

plantations and rubber mills are included.<br />

315


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

It should be noted, that all our estimates are surrounded with uncertainties. There are a few<br />

sources of uncertainties. First of all, we aimed at using local information, but that was often not available.<br />

In those cases we used internationally accepted methods such as the IPCC Guidelines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories. These include default emission factor approaches that are considered<br />

generally applicable to world countries. Despite the wide acceptance of these Guidelines as best practice<br />

approach for estimating national emissions, it is in many cases better to use local information. But even if<br />

local information was available, there are uncertainties involved. Almost all emission estimates required<br />

up or downscaling to the national level of Thailand. And finally, we had to make many assumptions on the<br />

two cases presented here. Despite all these uncertainties, we are convinced that our study present the<br />

best estimate possible at present, using the most appropriate mix of local and international databases.<br />

5. REDUCING GREENHOUSE GAS EMISSIONS FROM RUBBER INDUSTRIES<br />

5.1 Site selection on rubber plantation<br />

In the previous section, we quantified emissions of greenhouse gases per ton of primary rubber<br />

product, and showed that the overall emissions first of all depend on the history of the rubber plantations.<br />

Annual emissions are 13-21 ton CO 2 -equivalents per ton of rubber in case a forest was cut recently to<br />

start the rubber plantation. In case the plantations are located on cultivated land, the emissions per ton of<br />

rubber product are 0.7 ton CO 2 equivalents/ton product or less.<br />

A very effective way to avoid future greenhouse gas emissions from the rubber industry is to<br />

prevent that more forests are converted into rubber plantations. This is in line with other<br />

recommendations to avoid deforestation for other types of plantations in Southeast Asia, such as for palm<br />

oil (Reijnders and Huijbregt, 2006; Philips et al., 2006). Forest conversion to rubber or palm oil plantations<br />

not only results in carbon stock loss, but also poses a threat to biodiversity (Murdiyarso et al., 2002;<br />

Aratrakorn et al., 2006). These, and other considerations, need to be taken into account when expanding<br />

rubber plantation sites in forested areas in eastern and northeastern areas of Thailand. A better<br />

alternative may be to plant rubber trees on land where crops have been cultivated with a lower biomass<br />

carbon stock than rubber (200 ton C/ha), such as cassava (30 ton C/ha), eucalyptus (80 ton C/ha), or<br />

sugarcane (38 ton C/ ha) [29]. This could in fact result in a carbon may become less favourable for<br />

rubber plantations. Already today rubber plantations seem to be moving northwards because of increased<br />

rainfall which may, or may not be caused by climate change. These trends pose a realistic threat to<br />

tropical forests. It should be noted, that also the rubber plantations on cultivated lands in the south are<br />

probably located on lands that were at some point forested. However, we decided to not assign these<br />

historical emissions to the rubber products, because in the case of Thailand, this deforestation took place<br />

more than 60 years ago, and often not because of rubber production, but for other reasons. This is in<br />

line with the IPCC Guidelines on Greenhouse Gas Emission Inventories (IPCC, 2006). However, we<br />

realize that this is a matter of discussion, and that one could argue that also historical emissions need to<br />

be accounted for. We, however, chose not to do so, because including historical emissions would make<br />

316


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

the calculations not only overly complex, but also make the results less suitable for a discussion on<br />

minimizing emissions in the future.<br />

5.2 Energy use efficiency in rubber mills<br />

There are several ways to improve the energy efficiency of rubber production. In the production<br />

of concentrated latex, 90% of the electricity is used in the centrifugation process (STO, 2005). A study by<br />

the Thai Department of Industrial Work suggests that installation of inverters to centrifugal machines could<br />

improve the energy efficiency (DIW, 2001). Moreover, if old centrifugal machines (clutch and gear<br />

systems) are replaced by new machines (variable pulleys), a 20% reduction of electricity use could be<br />

achieved (DIW, 2001). In case of STR 20, DIW (2001) suggests that use of high efficiency motors and<br />

regular maintenance of cutters and shredder machines could reduce electricity use by about one-third. It<br />

should be noted that the emission factor for electricity production will change over time and may be lower<br />

when more renewable sources of energy are implemented in Thailand.<br />

Diesel and LPG are used for drying during the production of STR 20. Most STR 20 mills in<br />

Thailand can improve their energy efficiencies. Complete combustion is not current practice, and drying<br />

times can be optimized. A typical problem is that the capacity of drying chambers is smaller than that of<br />

the cleaning process. As a result, drying chambers are used more than needed. Energy efficiency<br />

improvement through, for instance, improved controlling of rubber moisture and combustion conditions,<br />

may reduce fuel use by about 15% (DIW, 2001). Kongchana et al. (2007) suggested that drying rubber<br />

for 40 minutes at 130 o C, followed by 180 minutes drying at 110 o C has a better quality, and lower<br />

specific energy consumption as compared to current practice in many mills.<br />

In RSS production the size and position of gas supply ducts and ventilating lids are often not<br />

optimal in smoking rooms (Promtong and Tekasakul, 2007). This significantly affects the circulation in the<br />

room. This non-uniform flow and the resulting large temperature variations in smoking rooms leads to<br />

inefficient use of energy (Tekasakul and Promtong, 2008). The energy requirement can be reduced by<br />

installation of insulators in drying chambers, moisture control of the rubber fuel wood, and the installation<br />

of fans to improve air circulation in smoking rooms (PCD, 2005). Installation of insulators may reduce the<br />

use of fuel wood by 770 kg/ year (PCD, 2005). Optimal design of smoking rooms, with appropriate<br />

temperatures (60 o C) and heat supply (11 kW) may reduce energy use by more than 30% (Tekasakul and<br />

Promtong, 2008).<br />

In addition to energy savings and energy efficiency improvement, mills may switch to renewable<br />

sources of energy. Dutchaneekul et al. (2008) and Leong et al. (2003) for instance indicate that instead of<br />

diesel and LPG, renewable sources such as biogas from wastewater treatment may be used in mills<br />

producing STR 20. This would reduce greenhouse gas emissions. Also the electricity currently used is<br />

largely fossil based, and replacing this by electricity from solar panels, wind mills or hydropower would<br />

reduce emissions effectively. To what extent these are feasible options for rubber mills in Thailand needs<br />

to be investigated.<br />

317


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

We may assume that it is technically possible to reduce greenhouse gas emissions from rubber<br />

mills by at least one-third, and probably more. Since mills account for 10-20% of the total greenhouse gas<br />

emissions from primary rubber products (case 2; Figure 3), these measures may reduce overall<br />

greenhouse gas emissions from primary rubber products (case 2) by an estimated 5-10%.<br />

6. CONCLUSION<br />

Our study is the first to quantify greenhouse gas emissions from rubber industry in Thailand. We<br />

first quantified emissions from rubber plantations, and showed that greenhouse gas emissions from the<br />

rubber industry largely depend on the history of the plantation. In case rubber trees were recently (< 20<br />

years ago) planted on forest land, the emissions from land conversion are by far the most important<br />

source of greenhouse gases from rubber production. In that case, emissions from plantations amount to<br />

6.4 ton CO 2 -eq/ ton fresh latex/year. However, for older plantations on cultivated land, carbon losses from<br />

land conversion can be assumed to be zero, reducing emission associated with fresh latex production to<br />

0.2 ton CO 2 -eq/ ton fresh latex/year.<br />

Second, we quantified emissions from rubber mills, that process fresh latex into primary rubber<br />

products. The emissions associated with the production of concentrated latex, STR 20, and RSS amount<br />

to 0.14, 0.3, and 0.02 ton CO 2 -eq/ ton product, respectively.<br />

We then calculated the overall greenhouse gas emissions from primary rubber products as the<br />

sum of emissions from rubber plantations and rubber mills. We compare three primary rubber products,<br />

and conclude that greenhouse gas emissions from block rubber (STR 20) are higher than from<br />

concentrated latex and ribbed smoked sheet (RSS), because of intensive energy consumption in the STR<br />

20 mills. The overall emissions from RSS are high compared to emissions from mills, because more fresh<br />

latex is needed to produce RSS than to produce STR 20 or concentrated latex.<br />

The overall emissions associated with the production of concentrated latex, STR 20, and RSS<br />

amount to 0.54, 0.70, and 0.64 ton CO 2 -eq/ ton product, respectively. This is for the case that rubber<br />

plantations have been located on cultivated lands for more than 60 years. This is current practice in most<br />

of Thailand. Emissions are largely associated with energy use and the use of synthetic fertilizers. We also<br />

quantified emissions for the case that tropical forests have been converted to rubber plantations relatively<br />

recently, which is a recent trend in Thailand. In this case the emissions are much higher because of<br />

carbon loss from land conversion: 13, 13, and 21 ton CO 2 -eq/ ton product for concentrated latex, STR 20,<br />

and RSS, respectively. Although currently no greenhouse gas emission standard exists for rubber<br />

production, rubber entrepreneurs could use our results for benchmarking and/or improving their<br />

environmental performance.<br />

We identify a number of options to reduce greenhouse gas emissions from rubber production,<br />

including a shift from synthetic fertilizer to animal manure, and a shift from fossil-based energy to<br />

renewable, as well as energy and fertilizer efficiency improvement. These options could reduce<br />

greenhouse gas emissions per ton of rubber produced by at least one-third. Our study may serve as an<br />

318


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

example for other rubber producing countries. The options identified here are not specific for Thailand, but<br />

could be applied by rubber farmers and rubber mills in general.<br />

7. Acknowledgement<br />

We gratefully acknowledge the National Research Council of Thailand (NRCT), Rajamangala University of<br />

Technology Srivijaya (RMUTSV), and the Wageningen Institute for Environment and Climate Research<br />

(WIMEK) for financial support. We would also like to thank the Faculty of Science and Technology of<br />

RMUTSV, and the Environmental Systems Analysis group of Wageningen University for support. Our<br />

special thanks go to farmers, technicians and rubber entrepreneurs in Thailand for providing us with data<br />

used in this study.<br />

8. References<br />

- Allen P.W. 2004. Non-wood product: Rubber Tree. Encyclopedia of Forest Science.: 627-633.<br />

- Aratrakorn S, Thunhikorn S, and Donald P F. 2006. Changes in bird communities following<br />

conversion of lowland forest to oil palm and rubber plantations in southern Thailand. Bird<br />

Conservation International 16: 71-82.<br />

- Bates J. 1998. Options to reduce nitrous oxide emissions (Final Report). AEA Technology Report<br />

AEAT- 4180 Issue 3, Culham, United Kingdom<br />

- Brink C, van Ierland E, Hordijk L, Kroeze C. 2005. Cost_effective emission abatement in<br />

agriculture in the presence of interrelations: cases for the Netherlands and Europe. Ecological<br />

Economics 53: 59-74.<br />

- Danielsen F, Beukema H, Burgess N D, Parish F, Bruhl C A, Donald P F, Murdiyarso D, Phalan<br />

B, Reijnders L, Struebig M, and Fitzeherbert B. 2009. Biofuel Plantations on Forested Lands:<br />

Double Jeopardy for Biodiversity and Climate Conservation Biology 23(2): 348-358.<br />

- Datchaneekul K, Buasomboon P, Papong S, Chaiprapat S, Malakul P. 2008. Eco-Efficiency<br />

Evaluation of Rubber Smoked Sheet and STR 20 Industries: Case study of the south of<br />

Thailand. 34 th Congress on Science and Technology of Thailand. 31 October – 2 November<br />

2008, Bangkok, Thailand<br />

- DIW. 2001. Industrial Sector Codes of Practice for Pollution Prevention (Cleaner Technology)<br />

Concentrated latex and Blocked Rubber (STR 20). Department of Industrial Work, Ministry of<br />

Industry.<br />

- EGAT. 2008. Annual Environmental Report. Electricity Generation Authority of Thailand.<br />

- Gnanavelrajah N, Shrestha R P, Schmidt-Vogt D, Samarakoon L. 2008. Carbon stock<br />

assessment and soil carbon management in agricultural land-uses in Thailand. Land Degradation<br />

& Development 19(3): 242-256.<br />

- Hammecker C, Maeght J L, Siltchao S, Grünberger O. 2006. Environmental consequences of<br />

319


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

rubber tree plantation in northeast Thailand. International Natural Rubber Conference 2006 Ho<br />

Chi Minh City, November 13-14, 2006.<br />

- Hendriks C A, Bode J W. 2000.. Prioritising options to reduce non-CO 2 emissions through the<br />

Kyoto mechanisms in different countries. Report M758, ECOFYS, Utrecht, The Netherlands<br />

- IPCC. 2004. Good practice guidance for national greenhous gas inventories for land use, landuse<br />

change and forestry. Kanagawa, Japan, Intergovermental Panel on Climate Change.<br />

- IPCC. 2006. IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories, Prepared by the<br />

National Greenhouse Gas Inventories Programme, Eggleston H S, Buendia L, Miwa K, Nagara T<br />

and Tanabe K (eds). Kanagawa, Japan, Institute for Global Environmental Strategies. 2006.<br />

- Khongchana P, Tirawanichakul S, Tirawanichakul Y, Woravutthikhunchai S. 2007; Effect of<br />

Drying Strategies on Quality of STR 20 Block Rubber. Journal of Agricultural Technology, 3(2):<br />

157-171<br />

- Korwuttikulrungsee S. 2002.Natural Rubber Production. Prince of Songkhla University, Pattani<br />

Campus.<br />

- Leong S T, Muttamara S, Laortanakul P. 2003. Reutilization of wastewater in a rubber-based<br />

processing factory: a case study in Southern Thailand. Resources, Conservation and Recycling.<br />

37: 159-172.<br />

- Lewis C A. 1997. Fuel and Energy Production Emission Factors. MEET Project: Methodologies<br />

for Estimating Air Pollutant Emissions from Transport: 56.<br />

- MOL. 2008. Thailand Labour statistic. Ministry of Labour. www.mol.go.th. accessed December,<br />

2008.<br />

- Mosier A R, Duxbury J M, Freney J R, Heinemeyer O, Minami K. 1998. Assessing and mitigating<br />

N 2 O emissions from agricultural soils. Climatic Change 40: 7-38.<br />

- Mosier A, Kroeze C, Nevison C, Oenema O, Seitzinger S, van Cleemput O. 1998. Closing the<br />

global N 2 O budget: nitrous oxide emissions through the agricultural nitrogen cycle. Nutrient<br />

Cycling in Agroecosystems; 52: 225-248.<br />

- Murdiyarso D, Van Noordwijk M, Wasrin U R, Tomich T P, Gillison A N. 2002. Environmental<br />

benefits and sustainable land-use options in the Jambi transect, Sumatra. Journal of Vegetation<br />

Science 13(3): 429-438.<br />

- Nambiar J M, Ludo F, Gelders L, Van Waesenhove N. 1981. A large scale location-allocation<br />

problem in the natural rubber industry. European Journal of Operational Research;6: 183-189.<br />

- Nguyen T V. 1999. Sustainable treatment of rubber latex processing wastewater. Ph.D. Thesis,<br />

Wageningen Agricultural University, Wageningen, The Netherland.<br />

- OAE. 2007. Thailand Agriculture Statistics. Office of Agricultural Economics, Ministry of<br />

Agriculture and Cooperative.<br />

- ONEP. 2000. Thailand’s initial national communication under the United Nation framework<br />

convention on climate change. Ministry of Science, Technology, and Environment, Bangkok,<br />

Thailand.<br />

320


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Oonk H, Kroeze C. 1998. Nitrous oxide emissions and control. In: Meyers R A (Ed.),<br />

Environmental Analysis and Remediation. John Wiley & Sons 3035– 3053<br />

- PCD. 2005. Good Practices on Pollution Prevention and Reduction - Smoked Sheet Rubber<br />

Industry. Pollution Control Department, Ministry of Natural Resource and Environment.<br />

- Philips E, Kho L K, Nik A R. 2006. Carbon Stock in Planted Forest in Malaysia. National Seminar<br />

on Forestry CDM, Forest Research Institute Malaysia. 19 September 2006, Kualalumpur,<br />

Malaysia<br />

- Pluimers JC. 2001. An environmental systems analysis of greenhouse horticulture in the<br />

Netherlands: the tomato case. PhD thesis. Wageningen University, Wageningen, The<br />

Netherlands,<br />

- Promtong M, Tekasakul P. 2007. CFD study of flow in natural rubber smoking-room:<br />

I. Validation with the present smoking-room. Applied Thermal Engineering 27: 2113-2121.<br />

- Rakkoed A, Danteravanich S, Puetpaiboon U. 1999. Nitrogen removal in attached growth waste<br />

stabilization ponds of wastewater from a rubber factory. Water Science Technology 40(1): 45–<br />

52.<br />

- Reijnders L, Huijbregt M A J. 2006. Palm oil and the emission of carbon-based greenhouse<br />

gases. Journal of Cleaner Production 16(4): 477-482.<br />

- RRI. 2008. Thailand Rubber Statistic. Thailand Rubber Research Institute, Department of<br />

Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperative. 37(3): 5-13.<br />

- RRI. 2009. Rubber research report. Rubber Research Institute of Thailand, Ministry of<br />

Agriculture and Cooperative. www.rubberthai.com/rubberthai Accessed April, 2009.<br />

- STO. 2005. Handbook of Energy Conservation in Industrial Mill: Rubber Products. Safety<br />

Technology Office, Department of Industrial Work, Ministry of Industry.<br />

- Tekasakul P, Promtong M. 2008. Energy efficiency enhancement of natural rubber smoking<br />

process by improvement using a CFD technique. Applied Energy 85: 878-895.<br />

- Thammakul K. 2009. Low carbon and climate change actions: National programs and<br />

measures. In “Toward a low carbon development path for Asia and Pacific: Challenge and<br />

opportunites to the energy sector”. 17-18 June 2009, Beijing, China.<br />

- TRA. 2008. The Importance of Rubber Impacts on Global Warming: TRA President View.<br />

www.thainr.com/en/message_detail.php?MID=74. accessed December, 2008.<br />

- TRA. 2009. Support for rubber-smallholders' life quality: TRA President View.<br />

www.thainr.com/en/message_detail.php?MID=62. accessed April, 2009.<br />

321


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลกระทบของสิ่งปนเปอนที่มีตอการสังเคราะหน้ํามันเชื้อเพลิง<br />

โดยกระบวนการไพโรไลซิสของขยะพลาสติก<br />

The Effect of Contaminants to the Pyrolysis of Plastic Waste<br />

เกื้อกูล การเจน 1 , ทิพบุษฎ เอกแสงศรี<br />

1 และ วรรัตน ปตรประกร 1<br />

1 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

ขยะพลาสติก จัดวาเปนปญหาที่สําคัญในปจจุบัน นับวันยิ่งเพิ่มจํานวนมากขึ้น วิธีการที่จะเปลี่ยนขยะ<br />

เหลานี้ใหเปนพลังงานแปรรูปที่มีคาความรอนที่สูงกวาตัวอยางเชนกาซเชื้อเพลิงและน้ํามัน คือกระบวนการไพโรไล<br />

ซิส ในการศึกษานี้ไดศึกษาผลของการเปลี่ยนขยะพลาสติกเปนน้ํามันโดยกระบวนการไพโรไลซิสที่ใชคาโอลิน<br />

(Kaolin) เปนตัวเรงปฏิกิริยา โดยทดสอบกับถุงขยะพลาสติกที่ทําจากโพลีโพรพิลีน (PP) และศึกษาผลของสิ่ง<br />

ปนเปอนในถุงขยะพลาสติก ทั้งนี้เนื่องจากขยะชุมชนมักปนเปอนดวยเศษอาหาร ดังนั้นตัวแทนของสิ่งปนเปอน<br />

ประกอบดวยน้ํา น้ํามันถั่วเหลือง น้ํากะทิ น้ํานมถั่วเหลือง รวมถึงสิ่งปนเปอนมากกวาหนึ่งชนิด จากการศึกษา<br />

องคประกอบของของเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสโดยใชเครื่อง Thermo Gravimetric Analyzer (TGA)<br />

พบวาองคประกอบหลักของผลิตภัณฑของเหลวอยูในชวงน้ํามันดีเซลและเบนซิน และเมื่อสิ่งปนเปอนมากขึ้นทําให<br />

ปริมาณผลิตภัณฑของเหลวลดลง โดยองคประกอบที่ไดแตกตางกันขึ้นกับชนิดของสิ่งปนเปอน และเมื่อวิเคราะห<br />

การเปลี่ยนถุงขยะพลาสติกเปนน้ํามันของถุงขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน พบวาถุงขยะพลาสติกที่<br />

ถูกทิ้งเอาไวนานขึ้น มีผลทําใหปริมาณผลิตภัณฑของเหลวลดลง แตเมื่อนําถุงพลาสติกมาลางทําความสะอาดกอน<br />

ทําใหปริมาณผลิตภัณฑของเหลวเพิ่มขึ้น และเมื่อวิเคราะหองคประกอบของผลิตภัณฑของเหลวพบวาปริมาณ<br />

น้ํามันดีเซลเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่น้ํามันเบนซินลดลง<br />

คําสําคัญ : กระบวนการไพโรไลซิส ถุงขยะพลาสติก สิ่งปนเปอน น้ํามันเชื้อเพลิงเหลว โพลีโพรพิลีน<br />

Abstract<br />

Plastic waste has a potential source for transformation to be fuel oils by pyrolysis process but<br />

contaminants are reverse effects. Normally, food grade plastic bags are combined with compostable<br />

wastes in household and disposed to municipal landfill. Most of the plastic bags remain with stained<br />

water, vegetable oil, coconut milk and soy milk. In this paper, the effects of contaminations to the<br />

pyrolysis process are evaluated in terms of liquid fuel produced. The compositions of liquid products from<br />

the pyrolysis are analyzed by Thermo Gravimetric Analyzer (TGA). The results show that the<br />

contaminants increase, the liquid fuels decrease. The plastic bags with soy milk transform to be liquid<br />

fuels less than those with other contaminants. The major compositions of liquid fuels are diesel and<br />

gasoline range respectively. The different compositions of liquid fuels depend on the individual of<br />

322


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

contaminants. When the collecting time of discarded plastic bags (before landfill procedure) are longer,<br />

the liquid fuels continuously decrease. On the other hand, the cleaning of discarded plastic bags before<br />

pyrolysis enhances the amount of liquid fuel produced. And the diesel increases while gasoline<br />

decreases.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปจจุบันพลาสติกเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น ซึ่งสงผลใหปริมาณขยะพลาสติกที่<br />

ถูกทิ้งในสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น เปนปญหาของสังคมตามมา แมวาจะมีการนําเอาขยะพลาสติกเหลานี้กลับมาใชใหม<br />

แตเมื ่อนํากลับมาใชหลายๆ ครั้ง คุณภาพของพลาสติกก็ยอมเสื่อมลง สวนการกําจัดพลาสติกที่สะดวกอยางการฝง<br />

กลบ การเผาทําลาย ก็มีผลเสียกับสภาพแวดลอม เปนมลภาวะ และเปนอันตรายอยางมาก ตามสถิติการสํารวจของ<br />

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พบวาในป พ.ศ.2550 ประเทศไทยมีปริมาณขยะ<br />

ทั่วประเทศ 14 ลานตัน โดยเปนขยะพลาสติกมากถึง 2.4 ลานตันตอป มีเพียง 0.16 ลานตันเทานั้นที่สามารถนํา<br />

กลับไปใชใหมได การแปรรูปขยะพลาสติกเปนน้ํามัน นอกจากจะลดปริมาณขยะพลาสติกที่กําจัดยากแลวยังชวยลด<br />

ความยุงยากในการหาหลุมทิ้งขยะแหงใหม และขอขัดแยงกับชุมชนที่อยูใกลบริเวณหลุมฝงกลบ<br />

กระบวนการเปลี่ยนขยะพลาสติกเปนน้ํามันโดยทั่วไปในปจจุบันมีกระบวนการแปรรูปขยะพลาสติก เปน<br />

พลังงานมีอยูหลายรูปแบบ แตการแปรรูปขยะพลาสติกเปนน้ํามันที่มีการทดลองวิจัย และดําเนินการจริงในประเทศ<br />

ไทยมีอยู 2 วิธีคือ กระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis) เปนการเปลี่ยนโมเลกุลของพลาสติกใหเล็กลงดวยความรอน<br />

300-500 องศาเซลเซียส ในสภาวะไรออกซิเจน โดยไมกอใหเกิดมลพิษออกมาภายนอก ผลผลิตที่ไดสามารถแบง<br />

ออกเปนแกส น้ํามันและของแข็ง โดยแกสและน้ํามันสามารถนําไปเปนเชื้อเพลิงได และอีกกระบวนการคือ<br />

กระบวนการ thermal depolymerization หรือ TDP เปนกระบวนการเปลี่ยนรูปสารอินทรียใหเปนเชื้อเพลิงภายใต<br />

ความรอนและแรงดันสูงที่จะทําใหไฮโดรคารบอนโมเลกุลใหญแตกตัวเปนโมเลกุลสั้นๆ ซึ่งเปนสวนประกอบหลัก<br />

ของน้ํามันเชื้อเพลิง [8]<br />

มีงานวิจัยหลายงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการไพโรไลซิสขยะพลาสติก เชน การศึกษานําพลาสติก<br />

และขยะพลาสติกมาไพโรไลซิสแบบใชและไมใชตัวเรงปฏิกิริยา โดยพลาสติกและขยะพลาสติกที่นํามาศึกษาไดแก<br />

PP, LDPE, HDPE, ถุงบรรจุอาหาร และพลาสติกในกลองนม สําหรับกระบวนการไพโรไลซิสแบบไมใชตัวเรง<br />

ปฏิกิริยา พบวาพลาสติกชนิด PP จะใหน้ํามันมากที่สุด แตพลาสติกและขยะพลาสติกชนิดอื่นจะใหน้ํามันและสารกึ่ง<br />

แข็งในปริมาณที่สูง ทั้งนี้เมื่อใชตัวเรงปฏิกิริยาจะทําใหไดน้ํามันมากขึ้น [6] การศึกษาคุณสมบัติของผลิตภัณฑ<br />

(End Product) ที่ไดจากการนําขยะพลาสติกไปผานกระบวนการไพโรไลซิส พบวาคุณสมบัติของผลิตภัณฑที่ได<br />

ขึ้นอยูกับองคประกอบของขยะพลาสติก โพลีเอธิลีนจะทําใหมีสารประกอบอัลเคนมากขึ้น ขณะที่โพลีสไตรีนทําให<br />

เกิดสารอะโรเมติกมากขึ้น [7] การศึกษากระบวนการไพโรไลซิสแบบการแตกสลายโมเลกุลดวยความรอนกับขยะ<br />

พลาสติกซึ่งรวมถึง PVC เมื่อขยะพลาสติกมีสารจําพวกคลอรีนและโลหะหนัก พบวาสารเหลานั้นจะไปอยูในสวน<br />

ผลิตภัณฑของแข็งจําพวกคารบอน ซึ่งสามารถกําจัดออกไดอยางงายดาย และไมลดประสิทธิภาพของเชื้อเพลิง<br />

ของเหลวที่ผานกระบวนการไพโรไลซิสออกมาได [4] แตการศึกษาที่ผานมาเปนการศึกษาถึงเม็ดพลาสติกหรือขยะ<br />

พลาสติกที่ไมมีสิ่งปนเปอน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงไดทําการศึกษาผลกระทบของสิ่งปนเปอนในถุงขยะพลาสติกและถุง<br />

ขยะพลาสติกสดที่ถูกทิ้งไวในระยะเวลาตางกันโดยไมผานการฝงกลบที่มีตอปริมาณและองคประกอบของผลิตภัณฑ<br />

ที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส เนื่องจากขยะพลาสติกทั่วไปมีหลายประเภท สามารถนํามาผลิตน้ํามันได แตอาจ<br />

ใหผลผลิต และปริมาณที่ตางกัน การที่ขยะถูกฝงกลบรวมกัน พลาสติกประเภทขวดมักไดรับการแยกออกไปกอน<br />

จึงเหลือเพียงถุงหูหิ้ว และถุงใสอาหารเปนหลัก ซึ่งถุงขยะเหลานี้จะมีสิ่งปนเปอนติดมาดวย การแปรรูปถุงขยะ<br />

323


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พลาสติกเหลานี้ใหกลายเปนน้ํามันเชื้อเพลิง จะตองผานกระบวนการลางทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกเหลานี้<br />

กอนนําไปเขาเครื่องปฏิกรณ ทําใหมีคาใชจายในการแยกขยะและลางทําความสะอาดเกิดขึ้น ดังนั้นหากสามารถนํา<br />

ถุงขยะพลาสติกเหลานั้นมาแปรรูปไดเลยโดยไมตองลางทําความสะอาดกอน จะสามารถลดตนทุนในการผลิตน้ํามัน<br />

เชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกลงได พรอมทั้งชวยลดปญหาในการหาพื้นที่ทิ้งขยะ<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อวิเคราะหปริมาณและองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงพลาสติกประเภทโพลีโพรพิลีนที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํา น้ํามันถั่วเหลือง น้ํากะทิ และน้ํานมถั่วเหลือง<br />

2.2 เพื่อวิเคราะหปริมาณและองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะ<br />

พลาสติกสด (ถุงรอนบรรจุอาหารที่เปนขยะจากชุมชนโดยยังไมผานการฝงกลบ) ที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 วัสดุ<br />

วัสดุที่นํามาศึกษาในงานวิจัยนี้ ประกอบดวยถุงพลาสติกโพลีโพรพิลีน (ถุงรอนบรรจุอาหาร) โดยมีน้ํา<br />

น้ํามันถั่วเหลือง น้ํากะทิ และนมถั่วเหลืองเปนสิ่งปนเปอน และถุงขยะพลาสติกสด (ถุงรอนบรรจุอาหารที่เปนขยะ<br />

จากชุมชนโดยยังไมผานการฝงกลบ) ที่มีสิ่งปนเปอนเปนคราบอาหารประเภทแกงและตมจืด ตัวเรงปฏิกิริยาที่ใชคือ<br />

คาโอลิน (Kaolin Clay) และกาซไนโตรเจน 99.99% เปนบรรยากาศที่ใชในการเผาไหมในกระบวนการไพโรไลซิส<br />

3.2 วิธีการ<br />

การทดลองเพื่อหาปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสขยะพลาสติกดวย<br />

เครื่องปฏิกรณ Autoclave ชนิด MMJ-100 (100 ml) โดยนําถุงขยะพลาสติก สิ่งปนเปอน และตัวเรงปฏิกิริยา ใสใน<br />

เครื่องปฏิกรณ จากนั้นปลอยกาซไนโตรเจนเขาไปเพื่อทําใหภายในเครื่องปฏิกรณเปนสภาวะไรออกซิเจน แลวเริ่ม<br />

เปดเครื่องใหเครื่องปฏิกรณทํางาน โดยใหความรอนจากอุณหภูมิหองจนถึง 450 °C ดวยอัตรา 28°C ตอนาที และ<br />

คงที่ไวที่ 450°C เปนเวลา 15 นาที แลวเพิ่มอุณหภูมิดวยอัตรา 10°C ตอนาทีจนถึง 500°C เพื่อใหแนใจวาขยะ<br />

พลาสติกสลายตัวหมด แลวลดอุณหภูมิลงจนถึงอุณหภูมิหอง มีงานวิจัยที ่ศึกษาผลกระทบของอุณหภูมิที่มีผลตอ<br />

สวนประกอบผลิตภัณฑจากกระบวนการไพโรไลซิสขยะพลาสติกประเภทโพลีโพรพิลีน พบวาขยะพลาสติกโพลีโพ<br />

รพิลีนมีชวงการสลายตัวหมดสิ้นในชวง 447-487 °C [3] หลังจากนั้นนําน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดมาวิเคราะห<br />

องคประกอบดวยเครื่อง Thermo Gravimetric Analyzer (TGA)<br />

รูปที่ 1 Autoclave Reactor ชนิด MMJ-100 (100 ml)<br />

324


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ศึกษาปริมาณและองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงพลาสติก การทดลองแตละกรณีใชถุงพลาสติกและตัวเรงปฏิกิริยาในปริมาณที่เทากัน<br />

4.1.1 กรณีมีสิ่งปนเปอนเปนน้ํา<br />

รูปที่ 2 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ําในปริมาณที่ตางกัน<br />

รูปที่ 3 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ําในปริมาณที่ตางกัน<br />

จากรูปที่ 2 และ 3 พบวาเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํามากขึ้นสงผลใหผลิตภัณฑของเหลวที่ไดลดลง และเมื่อ<br />

วิเคราะหหาเปอรเซ็นตองคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดยเปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละ<br />

องคประกอบ พบวาในผลิตภัณฑของเหลวเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํามีปริมาณมากขึ้น สัดสวนปริมาณของดีเซลจะ<br />

325


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

มากขึ้น ในขณะที่สัดสวนปริมาณของเบนซิน น้ํามันเตาและ Top C5 จะลดลง และองคประกอบที่มีปริมาณมากสุด<br />

คือดีเซล<br />

4.1.2 กรณีมีสิ่งปนเปอนเปนน้ํามันถั่วเหลือง<br />

รูปที่ 4 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํามันถั่วเหลืองในปริมาณที่ตางกัน<br />

รูปที่ 5 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํามันถั่วเหลืองในปริมาณที่ตางกัน<br />

จากรูปที่ 4 และ 5 พบวาเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํามันถั่วเหลืองมากขึ้น สงผลใหผลิตภัณฑที่ไดลดลง และ<br />

เมื่อวิเคราะหหาเปอรเซ็นตองคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดยเปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละ<br />

326


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

องคประกอบ พบวาในผลิตภัณฑของเหลวเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํามันถั่วเหลืองมีปริมาณมากขึ้น ปริมาณของดีเซล<br />

และน้ํามันเตาจะลดลง ปริมาณของเบนซินและ Top C5 จะเพิ่มขึ้นและองคประกอบที่มีปริมาณมากสุดคือดีเซล<br />

4.1.3 กรณีมีสิ่งปนเปอนเปนน้ํากะทิ<br />

รูปที่ 6 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํากะทิในปริมาณที่ตางกัน<br />

รูปที่ 7 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํากะทิในปริมาณที่ตางกัน<br />

จากรูปที่ 6 และ 7 เมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํากะทิมากขึ้น สงผลใหผลิตภัณฑที่ไดลดลง และเมื่อวิเคราะหหา<br />

เปอรเซ็นตองคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดยเปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละองคประกอบ พบวา<br />

327


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในผลิตภัณฑของเหลวเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํากะทิมีปริมาณมากขึ้น ปริมาณของดีเซลจะลดลง ปริมาณของเบนซิน<br />

จะเพิ่มขึ้น สําหรับน้ํามันเตาและ Top C5 มีปริมาณเพียงเล็กนอยและไมคอยมีความแตกตางกัน และองคประกอบที่<br />

มีปริมาณมากสุดคือดีเซล<br />

4.1.4 กรณีมีสิ่งปนเปอนเปนน้ํานมถั่วเหลือง<br />

รูปที่ 8 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํานมถั่วเหลืองในปริมาณที่ตางกัน<br />

รูปที่ 9 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํานมถั่วเหลืองในปริมาณที่ตางกัน<br />

328


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากรูปที่ 8 และ 9 เมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํานมถั่วเหลืองมากขึ้น สงผลใหผลิตภัณฑที่ไดลดลง และเมื่อ<br />

วิเคราะหหาเปอรเซ็นตองคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดยเปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละ<br />

องคประกอบ พบวาในผลิตภัณฑของเหลวเมื่อสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํานมถั่วเหลืองมีปริมาณมากขึ้น ปริมาณของดีเซล<br />

เพิ่มขึ้น ปริมาณของเบนซินลดลง น้ํามันเตาและ Top C5 มีปริมาณเพียงเล็กนอยและไมคอยมีความแตกตางกัน<br />

4.1.5 กรณีเปรียบเทียบสิ่งปนเปอนแตละชนิดในปริมาณที่เทากัน<br />

รูปที่ 10 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนแตละชนิดในปริมาณที่เทากัน<br />

จากรูปที่ 10 เปนการเปรียบเทียบเมื่อสิ่งปนเปอนเปนน้ํา น้ํามันถั่วเหลือง น้ํากะทิ และน้ํานมถั่วเหลืองที่มี<br />

ปริมาณเทากันคือ 10 มิลลิลิตร พบวาเมื่อมีสิ ่งปนเปอนเปนน้ํา น้ํามันถั่วเหลือง น้ํากะทิ และน้ํานมถั่วเหลืองจะทําให<br />

เปอรเซ็นตของผลิตภัณฑมีคาลดลงจากไมมีสิ่งปนเปอนใดเลยคือลดลงจาก 67 เปอรเซ็นต เปน 60.98 เปอรเซ็นต<br />

43.58 เปอรเซ็นต 24.67 เปอรเซ็นต และ 20.11 เปอรเซ็นต ตามลําดับ หมายความวาสิ่งปนเปอนทั้ง 4 ชนิดมีผล<br />

ทําใหผลิตภัณฑของเหลวมีคาลดลง โดยที่น้ํานมถั่วเหลืองเปนสิ่งปนเปอนที่ทําใหเกิดผลกระทบมากที่สุด<br />

มีงานวิจัยที่ไดศึกษากระบวนไพโรไลซิสพลาสติกและขยะพลาสติกประเภท LDPE HDPE และ PP พบวา<br />

ขยะพลาสติกประเภท LDPE ใหผลิตภัณฑที่เปนของเหลวมากที่สุดคือ 72.1% รองลงมาคือพลาสติกประเภท PP<br />

ใหผลิตภัณฑของเหลว 67.3% [1]<br />

4.1.6 กรณีเปรียบเทียบสิ่งปนเปอนที่เปนน้ําผสมน้ํามันถั่วเหลืองในสัดสวนที่ตางกัน<br />

329


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 11 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํามันถั่วเหลืองผสมน้ําในสัดสวนที่ตางกัน<br />

รูปที่ 12 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกที่มีสิ่งปนเปอนเปนน้ํามันถั่วเหลืองผสมน้ําในสัดสวนที่ตางกัน<br />

จากรูปที่ 11 และ 12 พบวาเมื่ออัตราสวนของสิ่งปนเปอนผสมระหวางน้ํามันถั่วเหลืองกับน้ําเปน 1:9, 3:7,<br />

5:5, 7:3 และ 9:1 ตามลําดับ จะมีเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑเปน 49.82 เปอรเซ็นต, 39.87 เปอรเซ็นต, 32.28<br />

เปอรเซ็นต, 31.50 เปอรเซ็นตและ 29.35 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่ออัตราสวนสิ่งปนเปอนของน้ํามากกวาน้ํามันถั่ว<br />

เหลืองจะมีเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑมากกวาเมื่ออัตราสวนสิ่งปนเปอนของน้ํามันถั่วเหลืองมากกวาน้ํา หมายความ<br />

วาเมื่อเพิ่มน้ํามันถั่วเหลือง สงผลทําใหเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ไดมีคานอยลง เมื่อวิเคราะหหาเปอรเซ็นต<br />

องคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดยเปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละองคประกอบ พบวาเมื่อมีสิ่ง<br />

ปนเปอนผสมกันระหวางน้ํามันถั่วเหลืองกับน้ําในอัตราสวนตางๆ จะพบวาแนวโนมของสัดสวนองคประกอบของ<br />

ผลิตภัณฑไมชัดเจน อาจเนื่องจากผลของสิ่งปนเปอนที่มีตอตัวเรงปฏิกิริยาแตกตางกัน<br />

4.2 ศึกษาปริมาณและองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะ<br />

พลาสติกสดที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

330


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 7 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะ<br />

พลาสติกสดที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

ระยะเวลา<br />

คาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ได<br />

PP + soup + cat. PP + soup + cat. (ลางถุง) PP + curry + cat. PP + curry + cat. (ลางถุง)<br />

ทิ้งไว 1 วัน 40.89 46.46 42.45 49.70<br />

ทิ้งไว 2 วัน 38.43 43.70 40.56 48.25<br />

ทิ้งไว 3 วัน 37.28 41.98 40.23 47.34<br />

ทิ้งไว 4 วัน 35.87 40.79 40.07 46.15<br />

ทิ้งไว 5 วัน 34.61 39.88 39.96 45.34<br />

ทิ้งไว 10 วัน 32.97 36.67 39.27 42.11<br />

ทิ้งไว 15 วัน 32.55 34.89 38.72 40.89<br />

รูปที่ 13 แสดงคาเฉลี่ย % Yield ของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกสดที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

จากรูปที่ 13 แสดงการเปรียบเทียบเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ไดจากถุงขยะพลาสติกสดที่ทําการทดลอง<br />

ทั้ง 2 ประเภทคือถุงขยะที่มีสิ่งปนเปอนประเภทตมจืด (Soup) และแกง (Curry) เมื่อทิ้งไวในเวลาที่ตางกัน แลว<br />

นํามาผานกระบวนการไพโรไลซิส โดยไมลางทําความสะอาดเทียบกับลางทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกสด พบวา<br />

ยิ่งทิ้งไวในเวลานานขึ้น ทําใหเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ไดนอยลงในทุกกรณี สําหรับถุงขยะพลาสติกสดที่มีสิ่ง<br />

ปนเปอนประเภทแกงมีเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ไดมากกวาถุงขยะพลาสติกสดที่มีสิ่งปนเปอนประเภทตมจืด และ<br />

เมื่อทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกสดกอน พบวาทําใหเปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ไดมีคามากขึ้น<br />

331


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 14 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะพลาสติกสด<br />

(สิ่งปนเปอนประเภทแกง) ที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

รูปที่ 15 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะพลาสติกสด<br />

(สิ่งปนเปอนประเภทแกง) ที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน โดยทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกกอน<br />

รูปที่ 16 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงขยะพลาสติกสด (สิ่งปนเปอนประเภทตมจืด) ที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน<br />

332


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 17 แสดงองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะพลาสติกสด<br />

(สิ่งปนเปอนประเภทตมจืด) ที่ทิ้งไวในระยะเวลาที่ตางกัน โดยทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกกอน<br />

จากรูปที่ 14-17 พบวาเมื่อวิเคราะหหาเปอรเซ็นตองคประกอบของผลิตภัณฑดวยเครื่อง TGA โดย<br />

เปรียบเทียบกับจุดเดือดของแตละองคประกอบ พบวาในผลิตภัณฑของเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิส<br />

ถุงพลาสติกสดทั้ง 4 กรณีเมื่อถูกทิ้งไวนานขึ้น สงผลทําใหปริมาณดีเซลเพิ่มขึ้น ปริมาณเบนซินลดลง น้ํามันเตาและ<br />

Top C5 มีปริมาณเพียงเล็กนอยและไมคอยมีความแตกตางกัน และองคประกอบที่มีปริมาณมากสุดคือดีเซล<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

5.1 ผลการทดลองปริมาณของเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงบรรจุอาหารประเภทโพลีโพรพิลีน<br />

(ถุงรอน) พบวาเมื่อปริมาณของสิ่งปนเปอนมากขึ้นจะทําใหคา % Yield มีคานอยลง และสิ่งปนเปอนที่เปนน้ํานมถั่ว<br />

เหลืองมีผลกระทบทําใหผลิตภัณฑของเหลวที่ได (คา % Yield) มีคานอยที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งปนเปอนประเภทอื่นๆ<br />

สิ่งปนเปอนสงผลทําใหปริมาณของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดนอยลง เนื่องจากอนุภาคของสารประกอบในสิ่ง<br />

ปนเปอนเขาไปขัดขวางการทํางานของตัวเรงปฏิกิริยา เพราะตัวเรงปฏิกิริยามีผลตอสารตั้งตนและปฏิกิริยาที่ตางกัน<br />

มีงานวิจัยที่ศึกษาผลของตัวเรงปฏิกิริยาที่มีตอขยะพลาสติก HDPE และถานหินโดยใช high-pressure<br />

thermogravimetry GC/MS พบวาตัวเรงปฏิกิริยาที่ตางกันสงผลตอปริมาณและองคประกอบที่ไดจากกระบวนการ<br />

ยอยสลายดวยความรอนของขยะพลาสติก HDPE และถานหินที่ตางกัน [5]<br />

5.2 จากการวิเคราะหหาองคประกอบของน้ํามันที่ผานกระบวนการเปลี่ยนขยะพลาสติก โดยใชเครื่อง<br />

Thermal Gravimetric Analyzer (TGA) พบวาไดองคประกอบที่เปนน้ํามันดีเซลเปนปริมาณมากที่สุด และรองลงมา<br />

คือน้ํามันเบนซิน<br />

5.3 จากผลการทดลองปริมาณของเหลวที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซิสถุงขยะพลาสติกสดบรรจุอาหาร<br />

ประเภทโพลีโพรพิลีน (ถุงรอน) พบวาระยะเวลาที่ถุงขยะพลาสติกสดถูกทิ้งเอาไวมีผลตอคา % Yield ยิ่งทิ้งไวเปน<br />

เวลานาน ยิ่งทําใหคา % Yield นอยลง แตการลางทําความสะอาดถุงขยะพลาสติกสดกอน จะทําใหคา % Yield<br />

มากกวาไมไดลางทําความสะอาด และเมื่อวิเคราะหองคประกอบของน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวที่ไดพบวาถุงพลาสติกสด<br />

ที่ถูกทิ้งไวนานขึ้นจะทําใหปริมาณน้ํามันดีเซลเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ปริมาณน้ํามันเบนซินลดลง และมีน้ํามันดีเซลเปน<br />

องคประกอบมากที่สุด รองมาคือน้ํามันเบนซิน สําหรับน้ํามันเตาและ Top C5 มีเพียงเล็กนอยเทานั้น ดังนั้นในการ<br />

333


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปลี่ยนถุงขยะพลาสติกจากชุมชนเปนน้ํามันเชื้อเพลิงเหลวสามารถนําถุงขยะพลาสติกนั้นมาใชไดเลย ซึ่งจะเปน<br />

ผลดีในการชวยลดปญหาการหาพื้นที่ในการฝงกลบขยะพลาสติกเหลานี้<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Achilias D.S., Roupakias C., Megalikonomos P., Lappas A.A., Antonakou E.V., (2007).<br />

Chemical recycling of plastic wastes made from polyethylene (LDPE and HDPE) and<br />

polypropylene (PP). Journal of Hazardous Materials, pp. 536–542.<br />

- Achyut K. Panda, R.K. Singh, D.K. Mishra., (2009). Thermolysis of waste plastics to<br />

liquid fuel a suitable method for plastic waste management and production of value<br />

added products-A world prospective. Renewable and Sustainable Energy, Vol. 14, Issue<br />

1, pp. 233-248.<br />

- Ayhan Demirbas, (2004). Pyrolysis of municipal plastic wastes for recovery of gasolinerange<br />

hydrocarbons. Journal of Analytical and Applied Pyrolysis, Vol. 72, pp.97-102.<br />

- Kaminsky W., Schlesselmann B., Simon C.M., (1996). Thermal degradation of mixed<br />

plastic waste to aromatics and gas. Polymer Degradation and Stability, pp. 189-197.<br />

- Liu K., Henk L.C. Meuzelaar, (1996). Catalytic reactions in waste plastics, HDPE and<br />

coal studied by high-pressure thermogravimetry with on-line GC/MS. Fuel Process<br />

Technology, pp. 1-15.<br />

- Pattaraprakorn W., Chongterdtoonskul A. and Imai K., (2008). Degradation of Wastes to<br />

Liquid Fuel, The 1 st Thammasat University Intentional Conference on Chemical,<br />

Environmental and Energy Management, TU, Bangkok, Thailand, Mar. 4.<br />

- Pinto F., Costa P., Gulyurtlu I., Cabrita I., (1998). Pyrolysis of plastic wastes. 1. Effect of<br />

plastic waste composition on product yield. Journal of Analytical and Applied Pyrolysis,<br />

pp. 39-55.<br />

- ศิริรัตน จิตการคา. จากขยะสูน้ํามัน: เทคโนโลยีทางเลือกที่ดูแลสิ่งแวดลอม, กรุงเทพมหานคร:<br />

สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.<br />

334


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หมวดที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: สังคมคารบอนต่ํา<br />

และกลไกการพัฒนาที่สะอาด<br />

(Sector II Greenhouse Gas Mitigation: Low Carbon<br />

Society & Clean Development Mechanism)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Thailand’s Low-Carbon Society Vision 2030<br />

Bundit Limmeechokchai 1 and Pornphimol Winyuchakrit 2<br />

Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University, Pathumthani, Thailand 12120<br />

E-mail: 1 bundit@siit.tu.ac.th, 2 winyuchakrit@yahoo.com<br />

Abstract<br />

This Thailand’s low carbon society (LCS) scenario is one of the joint researches among<br />

Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT) Thammasat University, the National Institute for<br />

Environmental Studies (NIES) Japan, and Kyoto University. According to the proposed development, the<br />

amount of GHG emissions increase is estimated on the basis of (i) 2030 BAU (business-as-usual) without<br />

mitigation measures, and (ii) 2030 with counter mitigation measures (CM) to reduce GHG emissions by<br />

low-carbon measures. Only selected GHG mitigation options, which found to be cost effective, are<br />

included in the 2030 CM scenario. The main findings from the ExSS model are as follows: 1) The annual<br />

GHG emissions of Thailand in the base year of 2005 are approximately 185,983 kt-CO 2 , 2) Under the<br />

2030 BAU scenario, the GHG emissions will increase to 547,727 kt-CO 2 or 2.95 times higher than the<br />

based year 2005, 3) By adopting the selected feasible GHG mitigation options, the GHG emissions can<br />

be decreased approximately 26.98%, and reduced to 399,938 kt-CO 2 . In order to mitigate the emission to<br />

lower level, several measures such as diffusion of low-carbon technologies in the residential sector,<br />

buildings, industry, and transport sectors are proposed. However, a comprehensive policy to accomplish<br />

the implementation of the GHG mitigation measures is also required. If those policies are planned from<br />

the early stage, Thailand will be able to develop not only as a premier growth centre but also as a model<br />

for LCS. This Thailand’s LCS scenario is aimed to communication among policy makers, administrators,<br />

academic researchers, and the public on climate change response. The research findings hope to<br />

contribute in sustainable energy and environment transition of Thailand, one of the fast growing<br />

economies in the south-east Asia, towards a Thailand’s low carbon society.<br />

Keywords: GHG emissions, Low carbon society, Energy efficiency, ExSS model, GHG mitigation<br />

336


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. Introduction<br />

A low-carbon society (LCS) or low-fossil-fuel economy is a concept that refers to an economy<br />

which has a minimal output of greenhouse gas (GHG) emissions into the biosphere. The overconcentration<br />

of these gases is producing global warming that affects long-term climate, with negative<br />

impacts on humanity in the foreseeable future. The society will adopt a lifestyle that makes more use of<br />

energy efficient devices and renewable energy technologies. Globally implemented LCS's therefore, are<br />

proposed as a means to avoid catastrophic climate change, and as a precursor to the more advanced,<br />

zero-carbon society and renewable-energy economy.<br />

Today Thailand faces challenges in energy-environment-economic development with limited<br />

resources availability, minimal externalities, and global climate change. One of the approaches to<br />

overcome this development paradox is through adoption of a sustainable development paradigm. Energyenvironment<br />

modeling results for Thailand show substantial increasing system cost to meet the GHG<br />

reduction targets. This higher cost would result in GDP loss that would be compensated through<br />

international transactions and mechanisms such as the Clean Development Mechanism (CDM).<br />

Therefore, the LCS framework should also look at opportunities of co-benefits apart from direct GHG<br />

reduction such as improved local air quality in Thailand. The objectives of this study are to prepare a<br />

summary of a quantitative scenario study on the establishment of a sustainable LCS in Thailand, and to<br />

create awareness among Thai authorities, government, stakeholders and the communities for urgent and<br />

decisive actions to be taken to realize a robust growth and low‐carbon Thailand.<br />

2. A Procedure to create a Thai LCS Scenario<br />

In order to create a local low-carbon society scenario, a method based on the idea of "back<br />

casting", which sets a desirable goal first, and then seeks a way to achieve it (Matsuoka, 2009), was<br />

developed. The back casting method is defined as “calculating back to the present from a specific target<br />

point in the future”. This is done “to determine the potential for future physical implementation of that<br />

target and the type of measures that will be needed to arrive at that point” (Robinson, 1990). Figure 1<br />

shows an overview of the method.<br />

337


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 1. Procedure to create LCS scenarios<br />

(1) Setting framework: The framework of the LCS scenarios consists of a target region, base year, target<br />

year, target activities, low-carbon targets, and number of scenarios (Gomi et al., 2009). In this study, the<br />

target year is 2030. As an environmental target, we targeted CO 2 in 2030 from energy use because it will<br />

be a main source of GHG emissions in Thailand.<br />

(2) Assumptions of socio-economic situation: Before conducting quantitative estimation, a qualitative<br />

future image should be written. It is an image of lifestyle, economy and industry, land use, and so on.<br />

(3) Quantification of socio-economic assumptions: To estimate a snapshot based on a future image of (2),<br />

values of exogenous variables and parameters are set. Using those inputs, the model calculates socioeconomic<br />

indices of the target year such as population, GDP, output by industry, transport demand, and<br />

so on.<br />

(4) Collection of low-carbon measures: Counter measures are used which are thought to be available in<br />

the target year, for example, high energy-efficiency devices, transport structure such as public transport,<br />

and use of renewable energy. In this research we employed the measures shown in preceding studies in<br />

Thailand on energy efficiency improvement and renewable energy utilization, and GHG mitigation.<br />

(5) Setting introduction of counter measures: Technological parameters related to energy demand and<br />

CO 2 emissions, in short energy efficiency, are defined. Since there can be various portfolios of the<br />

measures, one must choose appropriate criteria. Standards for determining the combination of direct<br />

measures might include cost minimization, ease of acceptance by stakeholders, technical achievability<br />

and so on (Utaka, 2009).<br />

(6) Estimation of GHG emission in the target year: Based on socio-economic indices and assumption of<br />

measures, GHG emissions are calculated.<br />

(7) Proposal of policies: A policy is set to introduce the measures defined. Available policies depend on<br />

the situation of the municipality or the country in which it belongs. The model can calculate emission<br />

reduction of each counter measure. Therefore, it can show reduction potential of countermeasures which<br />

especially need local policy. It can also identify measures which have high reduction potential and<br />

therefore are important.<br />

338


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. Extended Snapshot Tool (ExSS)<br />

The analysis tool used in this study is called “ExSS” tool, and is developed by Kyoto University.<br />

(Matsuoka, 2009, Shukla et. al., 2009) explained and overview of calculation system of the Extended<br />

Snapshot Tool (ExSS) comprised of seven blocks with input parameters, exogenous variables and<br />

variables between modules as shown in figure 2. ExSS is a system of simultaneous equations. Given a<br />

set of exogenous variables and parameters, solution is uniquely defined. In this simulation model, only<br />

CO 2 emission from energy consumption is calculated though ExSS can be used to estimate other GHG<br />

and environmental loads such as air quality. In many LCS scenarios, exogenously fixed population data<br />

are used. However, people migrate more easily, when the target region is relatively a smaller area such<br />

as a state, district, city or town. Population is decided by demand from outside of the region, labor<br />

participation ratio, demographic composition and relationship of commuting with the outside of the region.<br />

To determine output of industries, an input-output approach with “export-base approach” is combined in<br />

line with the theory of regional economics.<br />

Industries producing export goods are called "basic industry". Production of basic industries<br />

induces other industries i.e. non-basic industries, through demand of intermediate input and consumption<br />

of their employees. The number of workers must fulfill labor demand of those industries. Given<br />

assumptions of where those workers live and labor participation ratio, population living in the region is<br />

computed. This model enables us to consider viewpoints of regional economic development to estimate<br />

energy demand and CO 2 emissions. For future estimation, assumption of export value is especially<br />

important if the target region is thought to develop led by a particular industry, such as automotive<br />

manufacturing.<br />

339


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 2. Overview of calculation system of ExSS (Ref. Matsuoka, 2009)<br />

Passenger transport demand is estimated from the population and freight transport demand,<br />

whereby it is a function of output by manufacturing industries. Floor area of commerce is determined from<br />

output of tertiary industries. With driving force and activity level of each sector, energy demand by fuels is<br />

determined with three parameters. These parameters are energy service demand per driving force,<br />

energy efficiency and fuel share. Diffusion of counter measures changes the value of these parameters,<br />

and so changes the GHG emissions.<br />

4. Assumptions of LCS Scenario<br />

In energy demand modeling and GHG emissions in Thailand in 2030, several quantitative<br />

assumptions have to be provided (see Table 1). This study uses the 2005 input-output table from the<br />

National Economic and Social Development Board (NESDB) and socio-economic data from the National<br />

Statistical Office (NSO) with forecasted population and GDP in 2030 to estimate the output of economy in<br />

2030 (see Table 2).<br />

340


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 1: Quantitative assumptions of Thailand’s socio-economic indicators in 2030<br />

Average population growth<br />

Demographic composition<br />

Demographic composition<br />

Exports<br />

Private consumption<br />

Government consumption<br />

Modal share in transport<br />

0.49% p.a. increase (2005-2030)<br />

0-14: 21.00%, 15-64: 71.34%, 65+: 7.66%<br />

Primary industry: approximately 3.90% p.a. increase<br />

Secondary industry: approximately 5.13% p.a. increase<br />

Tertiary industry: approximately 6.44% p.a. increase<br />

3.17% p.a. increase<br />

8.44% p.a. increase<br />

3.17% p.a. increase<br />

[Railway] 0.20%, [Buses] 42.31%, [Motorcars] 30.97%, [Motorcycles] 14.61%,<br />

[Walking] 10.72%, [Bicycles] 0.76%, [Air] 0.38%<br />

This study develops scenarios for energy demand and GHG emissions in 2030 without and with<br />

GHG mitigation counter measures (CM). Scenarios include i) 2005 BAU scenario, ii) 2030 BAU scenario,<br />

and iii) 2030 CM scenario. The future socio-economic indicators in 2030 in Thailand are estimated by<br />

using a macroeconomic model. Modeling results based on a Thailand’s macroeconomic model show that<br />

GDP in 2030 is expected to be approximately 30,802,306 million Baht (3.84 times the performance in<br />

2005). An input-output analysis based on final demands in the macro economy is used to estimate the<br />

future industrial structure in Thailand. Results show that the share of the primary industry will decrease<br />

from 5.95% (2005) to 4.09% (2030). In addition, the share of the secondary industry will decrease from<br />

61.07% (2005) to 55.52% (2030). However, the share of the tertiary industry will increase from 32.98% in<br />

2005 to 40.39% in 2030.<br />

The number of households in Thailand will increase from 60.9 million (2005) to 68.8 million<br />

(2030), and the average household size in Thailand will decrease from 3.2 (2005) to 1.89 (2030). The<br />

total floor space of commercial buildings in Thailand will increase from 88 million square meters (2005) to<br />

394 million square meters (2030).<br />

Passenger transport demand in Thailand will slightly increase from 191,520 million passengerkilometers<br />

(2005) to 216,088 million passenger-kilometers (2030). Freight transport demand in Thailand<br />

will increase from 188,524 million ton-kilometers in 2005 to 589,859 million ton-kilometers in 2030 (see<br />

Table 2).<br />

341


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 2: Estimated Thailand’s socio-economic indicators in 2030<br />

2005 2030 2030/2005<br />

Population 60,991,000 68,815,004 1.13<br />

No. of households 19,016,784 36,265,390 1.91<br />

GDP (million Baht) 8,016,595 30,802,306 3.84<br />

GDP per capita (Baht/capita) 131,439 447,610 3.41<br />

Gross output (million Baht) 18,755,884 68,456,651 3.65<br />

Primary industry (million Baht) 1,116,621 2,801,864 2.51<br />

Secondary industry (million Baht) 11,453,496 38,008,931 3.32<br />

Tertiary industry (million Baht) 6,185,767 27,645,856 4.47<br />

Floor space for commercial (million m 2 ) 88 394 4.47<br />

Passenger transport demand (million p-km) 191,520 216,088 1.13<br />

Freight transport demand (million t-km) 188,524 589,859 3.13<br />

5. Roadmap to Thailand’s LCS 2030<br />

In the 2030 CM scenario, there are 7 actions of GHG mitigation measures in the residential,<br />

commercial, industrial, and transport sectors. The next step is the brief roadmap to achieve this GHG<br />

mitigation target in the 2030 CM scenario.<br />

Action 1: Energy efficiency improvement in households<br />

Action 1.1: (Electricity) In the residential sector, it is expected that efficient electric devices such as<br />

cooling devices, heating devices, lighting power, refrigerators, cooking stoves, and cooking appliances<br />

have efficiency improvement of 30% (TRF, 2007, EGAT, 2005, DEDE, 2003) by 2030 and it is expected<br />

that these efficient electric devices will have penetration rates up to 100% in 2030.<br />

Action 1.2: (Non-Electricity) In the residential sector, it is expected that efficient non electricity devices<br />

such as wood stoves have efficiency improvement of 30% (TRF, 2007, EGAT, 2005, DEDE, 2003) by<br />

2030 and LPG stoves have efficiency improvement of 5% (Chaosuangaroen, 2006). Moreover, It is<br />

expected that these efficient devices will have penetration rates up to 100% in 2030.<br />

Action 2: Energy efficiency improvement in buildings<br />

In buildings, it is expected that efficiency improvement of cooling devices, lighting power, and refrigerators<br />

will be 30% (TRF, 2007) and penetration rates will be 100% (The Government Gazette, 2007) in the 2030<br />

CM scenario. Moreover, it is expected that these efficient electric devices will have penetration rates up to<br />

100% in 2030.<br />

Action 3: Energy efficiency improvement in buildings (Building codes)<br />

In this action, building insulation and building envelope must comply with Thailand’s building codes 2010.<br />

New buildings must comply with these codes. In buildings, it is expected that efficiency improvement of<br />

cooling devices, lighting power, and refrigerators will be 30% (TRF, 2007) and penetration rates will be<br />

100% (The Government Gazette, 2007) in the 2030 CM scenario.<br />

Action 4: Energy efficiency improvement in industry<br />

342


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Action 4.1: (Non-electricity) This action assumes that the technologies in agriculture, mining, and<br />

construction sectors will not be changed while the technologies in textiles, food & beverage, chemical,<br />

others, metallic, and non metallic industries will be improved as presented in Table 3.<br />

Action 4.2: (Electricity) This action assumes that the technologies in agriculture, mining, and construction<br />

sub-sectors will not be changed while the technologies in textiles, food & beverage, chemical, others,<br />

metallic, and non metallic sub-sectors will be improved as shown in Table 4<br />

Table 3: Expected efficiency improvement of non-electric devices in industry<br />

Industry Device Fuel type Efficiency improvement (%) Penetration in 2030 CM (%)<br />

Textiles Boiler Oil<br />

Gas<br />

30<br />

30<br />

97.73<br />

2.27<br />

Food &<br />

beverage<br />

Boiler<br />

Coal<br />

Oil<br />

Gas<br />

Biomass<br />

Chemical Boiler Coal<br />

Oil<br />

Gas<br />

Biomass<br />

Others Boiler Coal<br />

Oil<br />

Biomass<br />

Metallic Furnace Coal<br />

Oil<br />

Electricity<br />

Non metallic Kiln Coal<br />

Oil<br />

Biomass<br />

Electricity<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

Table 4: Expected efficiency improvement of electric devices in industry<br />

30<br />

30<br />

30<br />

30<br />

0.50<br />

1.31<br />

1.51<br />

84.88<br />

41.36<br />

24.60<br />

23.98<br />

10.06<br />

29.51<br />

66.00<br />

4.49<br />

0.24<br />

3.58<br />

96.18<br />

68.31<br />

17.91<br />

5.92<br />

7.86<br />

Industry Device Efficiency improvement (%) Penetration in 2030 CM (%)<br />

Textiles<br />

Motor<br />

Lighting<br />

Others<br />

10<br />

30<br />

20<br />

100<br />

100<br />

100<br />

Food & beverage<br />

Chemical<br />

Others<br />

Motor<br />

Lighting<br />

Others<br />

Motor<br />

Lighting<br />

Others<br />

Motor<br />

Lighting<br />

Others<br />

10<br />

30<br />

20<br />

10<br />

30<br />

20<br />

10<br />

30<br />

20<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

343


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 5: Expected fuel switching of non-electric devices in industry<br />

Industry Device Fuel type Penetration in 2030 CM (%)<br />

Textiles Boiler Oil<br />

Gas<br />

48.86<br />

51.14<br />

Food & beverage Boiler Coal<br />

Oil<br />

Gas<br />

Biomass<br />

0.50<br />

13.10<br />

1.51<br />

84.89<br />

Chemical Boiler Coal<br />

Oil<br />

Gas<br />

Biomass<br />

Others Boiler Coal<br />

Oil<br />

Biomass<br />

Metallic Furnace Coal<br />

Oil<br />

Electricity<br />

Non metallic Kiln Coal<br />

Oil<br />

Biomass<br />

Electricity<br />

20.68<br />

12.30<br />

23.98<br />

43.04<br />

14.75<br />

33.00<br />

52.25<br />

0.24<br />

3.58<br />

96.18<br />

34.16<br />

8.96<br />

49.02<br />

7.86<br />

Action 5: Fuel switching in Industry<br />

This action assumes that the technologies in agriculture, mining, and construction sectors will not be<br />

changed while the technologies in textiles, food & beverage, chemical, others, metallic, and non metallic<br />

industries will be switched to lower carbon fuels (see Table 5).<br />

Action 6: Fuel economy improvement (FEI) in the transport<br />

Action 6.1: (Efficiency improvement) In this action, energy efficiency improvement in both the passenger<br />

and freight transports such as small vehicles, large vehicles, buses, and motorcycles increases up to 20%<br />

(Pongthanaisawan, 2007) in 2030 by using advanced automotive technologies. In addition, in this action<br />

eco-cars in Thailand will also be promoted with tax reduction and partial subsidy in investment. In<br />

addition, environmental performance standard of vehicles is needed.<br />

Action 6.2: (Travel demand management) In this action, comprehensive promotion of travel demand<br />

management (TDM) in the passenger transport is required. It is estimated that travel demand in small<br />

vehicles, large vehicles, buses, and motorcycles decreases by 7.38% in 2030 by using eco-driving, bus<br />

priority, and non-motorized transport (TRF, 2007). Several studies of Ministry of Energy show that this<br />

action does not require any capital investment except the incentives and promotion, and the TDM action<br />

is readily cost effective.<br />

344


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Action 7: Fuel switching in the transport sector (Natural gas vehicle & Hybrid vehicles)<br />

Action 7.1: (Natural gas vehicles) In this action, technology of both the passenger and freight transports<br />

such as small vehicles, large vehicles, and buses will switch from oil to compressed natural gas (CNG). In<br />

addition, the technology improvement in CNG engines will increase by 20% (Pongthanaisawan, 2007) in<br />

2030.<br />

Action 7.2: (Hybrid vehicles) In this action, hybrid and plug-in hybrid cars will substitute for conventional<br />

gasoline engines, resulting in energy savings of 30% (Kuwattanachai, 2009) when compared to the 2030<br />

BAU scenario.<br />

4. Results and Discussion<br />

The macro-economic model is used to estimate future energy demand and GHG emissions for<br />

the year 2030 based on the scenario quantification. The estimated results of energy demand and GHG<br />

emissions are presented in Figures 3 and 5. In the 2030 BAU scenario, final energy demand increases<br />

from 57,327 ktoe in 2005 to 157,416 ktoe in 2030. Final energy demand of the industrial sector is<br />

expected to be 81,189 ktoe and will maintain the largest share of 51.58%, followed by transport sector<br />

(42,918 ktoe; 27.26%), and residential and commercial sectors (33,309; 21.16%) in 2030 (see Figure 3).<br />

The primary energy demand in Thailand is projected to increase from 74,845 ktoe in 2005 to 215,882<br />

ktoe in 2030. There will be a total of 70,468 ktoe of natural gas consumed in 2030 in the BAU scenario.<br />

In 2030, the demand of natural gas will increase by 2.51 times when compared to 2005. Biomass, solar &<br />

wind, and hydro energy in the primary energy in 2030 countermeasure (CM) scenario will be 34,669 ktoe,<br />

and account for 20.05% of primary energy supply.<br />

157,416<br />

123,647<br />

57,327<br />

Figure 3. Final energy demand by economic sector<br />

Based on primary energy demand by energy sources, total GHG emissions in the BAU scenario<br />

are projected to increase from 185,983 kt-CO 2 in 2005 to 547,727 kt-CO 2 in 2030. The modeling results<br />

345


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

also show that GHG emissions from industry will be 276,045 kt-CO 2 in 2030, and account for 50.40% of<br />

total CO 2 emissions in 2030. In 2030, GHG emissions from passenger and freight transport are also<br />

found to be about 2.31 times of the amount in 2005, and the share will be 23.82% of total GHG<br />

emissions (see Figure 5). In the BAU scenario, GHG emissions per capita will increase from 3.05 tons of<br />

CO 2 per capita in 2005 to 7.26 tons of CO 2 per capita in 2030.<br />

In 2030, the model results estimate that total GHG emissions in Thailand is to be reduced from<br />

547,727 kt-CO 2 in the BAU scenario to 399,938 kt-CO 2 in the countermeasure (CM) scenario by adoption<br />

of countermeasures for mitigating GHG emissions, and account for 26.98% of total CO 2 reduction. Based<br />

on the model simulation, the reductions of GHG emissions by types of countermeasures are contributed<br />

by comprehensive measures.<br />

215,883<br />

172,884<br />

74,845<br />

Figure 4. Primary energy demand by sector<br />

547,727<br />

399,938<br />

185,983<br />

Figure 5. GHG emissions by sector<br />

In the 2030 CM scenario, among the measures, energy efficiency improvement in industry<br />

accounts for the largest proportion of 58.10% of the total CO 2 reductions, followed by efficiency<br />

improvement in the transportation sector (20.05%), efficiency improvement in the commercial sector<br />

(15.70%), and efficiency improvement in the residential sector (6.16%).<br />

346


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Among the categories of countermeasures, The Thai government should take effective measures<br />

in the industrial sector and the transport sector, and help with the penetration of renewable energy. In<br />

order to realize a low-carbon society, Thailand has to have new and strong policies to encourage and<br />

promote these countermeasures.<br />

4.1 GHG mitigation by sector<br />

Residential Sector<br />

The forecasted population of Thailand in 2030 is 68.8 million. The energy demand in the<br />

residential sector is determined based on GDP, number of households and population. In 2005, the<br />

average household size was 3.2 (3.2 members per household), and it is forecasted to be only 1.9 in<br />

2030. The number of households will increase from 19 million in 2005 to 36 million in 2030. In the 2030<br />

BAU scenario, energy consumption in households increase to 18,538 ktoe and GHG emissions increase<br />

to 39,835 kt-CO 2 , 1.91 times greater than 2005, respectively. The emissions can be mitigated in the 2030<br />

CM scenario, 22.84% lower than the BAU scenario. The mitigation in the residential sector is found to be<br />

9,098 kt-CO 2 , mainly in efficiency improvement of electric devices (see Figure 6).<br />

Commercial Sector<br />

Energy demand in the commercial sector is estimated based on the floor space of the buildings.<br />

Driven by growth of tertiary industry, in 2030, it will increase to 4.47 times greater than 2005 (see Figure<br />

6). In the 2030 BAU scenario, energy consumption in this sector increases to 14,771 ktoe and GHG<br />

emissions increase to 101,391 kt-CO 2 , compared with 2005. The emissions in this sector can be mitigated<br />

in the 2030 CM scenario, 23,203 kt-CO 2 or 22.88% lower than the BAU scenario. The mitigation<br />

measures in this sector are found in efficiency improvement and building insulation.<br />

Figure 6. Emission mitigation by measures<br />

Industrial Sector<br />

In this report, “industry sector” as an energy consuming sector means primary and secondary<br />

industries. Output of those industries will increase to 68,457 billion Baht in 2030 or 3.65 greater than<br />

347


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2005. Without energy efficiency improvement or the 2030 BAU scenario, energy demand and GHG<br />

emissions will increase to 3.15 times and 3.21 times from the base year 2005, respectively. In the 2030<br />

CM scenario, energy efficiency improvement and fuel shifting in this sector could reduce GHG emissions<br />

by 85,863 kt-CO 2 , and accounted for 31.10% of CO 2 reduction in industry (see Figures 6).<br />

To promote mitigation measures of industries, incentives to invest in energy efficiency<br />

improvement is essentially important. Taxes, subsidies and low interest loans will be central policies for<br />

this sector. Promotion of advanced technologies from abroad is also effective.<br />

Transport Sector<br />

In the passenger transport sector, the transport demand will increase from 191,520 million<br />

passenger-km in 2005 to 216,088 million passenger-km in 2030 or 1.13 times greater than 2005 due to<br />

population growth (see Figure 6). This results in an increase in energy demand in passenger transport<br />

from 7,548 ktoe in 2005 to 8,515 ktoe in 2030. Currently, small vehicles and motorcycles are the main<br />

mode of mobility in Thailand. If modal share does not change, GHG emissions from passenger<br />

transportation will increase from 22,933 to 25,875 kt-CO 2 in 2030. However in the countermeasure<br />

scenario, energy efficiency improvement, travel demand management, and fuel substitution can mitigate<br />

GHG emissions 6,893 kt-CO 2 or at around 26.64%.<br />

In the freight transport sector, due to the growth of output of the manufacturing industries, freight<br />

transport demand will increase from 188,524 million ton-km in 2005 to 589,859 million ton-km in 2030,<br />

resulting in increasing energy demand in freight transport to 34,402 ktoe or 3.13 times greater than 2005<br />

(see Figure 6). In the countermeasure scenario, energy efficiency improvement and fuel substitution can<br />

mitigate GHG emissions 22,732 kt-CO 2 or at around 21.74%.<br />

5. Conclusion<br />

This LCS scenario study is aimed at communication among policy makers, administrators,<br />

academic researchers, and the public on climate change response in Thailand. This study considers only<br />

selected feasible demand-side options for GHG mitigation. In order to mitigate the emission to a lower<br />

level, several comprehensive measures such as diffusion of low-carbon technologies in the residential<br />

sector, energy efficient buildings, energy efficient industry and fuel switching, and fuel substitution in the<br />

transport sector are proposed. In the 2030 BAU scenario, GHG emissions will increase to 547,727 kt-CO 2<br />

or 2.95 times higher than the base year 2005. By adopting selected GHG mitigation measures available<br />

by 2030, the GHG emissions can be decreased approximately 26.98%, and reduced to 399,938 kt-CO 2 .<br />

In 2005, the per capita emission for Thailand was about 3.05 t-CO 2 /year. In 2030, it will increase to 7.96<br />

t-CO 2 /year, and 5.81 t-CO 2 /year without and with GHG countermeasures, respectively. This figure is quite<br />

high when compared to some developed countries such as Japan. Therefore, the higher mitigation target<br />

could be achieved by a combination of initiatives on both supply and demand side. If those policies are<br />

planned from the early stage, Thailand will be able to develop not only as a premier growth centre but<br />

also serve as a model for LCS.<br />

348


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. Acknowledgements<br />

The authors would like to thank the National Institute for Environmental Studies (NIES) Japan,<br />

Kyoto University, and Mizuho Information and Research Institute Japan for the supports to this study.<br />

Authors are grateful to thank Prof. Ram M Shrestha for comments and discussion on low carbon<br />

scenarios in Thailand. Authors also would like to thank Prof. Yuzuru Matsuoka and his research team<br />

from Kyoto University for the guidance in LCS modeling. Finally, authors acknowledge the support by<br />

NIES for the access to the Asia-Pacific Integrated Model (AIM) and Database.<br />

7. References<br />

- Chaosuangaroen, P. (2006), An assessment of long term energy demand and energy<br />

efficiency improvement in Thailand. Thesis. pp. 42-46.<br />

- Department of Alternative Energy Development and Efficiency (DEDE). (2003), Energy<br />

consumption trend in residential sector, Ministry of Energy, Thailand.<br />

- Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). (2005), “Demand side management<br />

in Thailand”. < http://www2.egat.co.th/dsm/> [May 24, 2010]<br />

- Gomi, K., et al. (2009), A low-carbon scenario creation method for a local-scale<br />

economy and its application in Kyoto city. Energy Policy,<br />

doi:10.1016/j.enpol.2009.07.026<br />

- Kuwattanachai. N. (2009), Hybrid and Electric cars. TRF newsletter. 12<br />

- Matsuoka, Y., et al. (2009), Low-carbon city 2025 sustainable Iskandar Malysia, 24-25.<br />

- National Economic and Social Development Board (NESDB)<br />

< http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=97> [May 22, 2010]<br />

- National Statistical Office (NSO) < http://portal.nso.go.th> [May 22, 2010]<br />

- Pongthanaisawan, J. (2007), Road transport energy demand analysis and energy saving<br />

potentials in Thailand. Asian Journal of Energy and Environment. 8, 49-72.<br />

- Robinson, J.B. (1990), Futures under glass a recipe for people who hate to predict,<br />

Futures. 820-842.<br />

- Shukla, P.R., et al. (2009), Ahmedabad low carbon society vision 2030, 24-25.<br />

- Thailand Research Fund. (2007), Research Programme on Policy Research for<br />

Promoting the Development and Utilisation of Renewable Energy and the Improvement<br />

of Energy Efficiency in Thailand, Energy Planning and Policy Office, pp. 3-11–3-23.<br />

- The Government Gazette. (2007), Thailand. 124, pp.1-10.<br />

- Utaka, F., et al. (2009), A roadmap towards low carbon Kyoto, 21.<br />

349


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พลังงานแสงอาทิตย-ลดวิกฤติโลกรอน<br />

Low Carbon Society from High Solar Energy Usage<br />

ชาตรี ตั้งอมตะกุล และ มะลิ จันทรสุนทร<br />

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)<br />

เลขที่ 111 อุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทย ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

พลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานสะอาดที่ชวยลดภาวะโลกรอน ซึ่ง สวทช. ไดตระหนักถึงความสําคัญ<br />

ดังกลาว จึงไดสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยเพื่อผลิตไฟฟา จนไดผลผลิต<br />

เปนผลงานวิจัยในสามระดับ คือ 1) ระดับตนน้ํา เปนการวิจัยและพัฒนาวัสดุ ไดแก กระจกเคลือบขั้วโปรงแสงนํา<br />

ไฟฟา แผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงเพื่อหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย กลองรวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณ<br />

เชื่อมตอสําหรับแผงเซลลแสงอาทิตย 2) ระดับกลางน้ํา เปนการพัฒนาตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิด<br />

ไฮบริด ประกอบดวย เครื่องจักร PECVD (Plasma Enhanced Chemical Vapor Deposition) เครื่องจักร PVD<br />

(Physical Vapor Deposition) และเครื่องเจาะลายดวยแสงเลเซอร (Laser scriber)) และการเพิ่มประสิทธิภาพเซลล<br />

แสงอาทิตยชนิดไฮบริด โครงสรางไฮบริดที่เปนเซลลซอนระหวางอะมอรฟสซิลิคอนกับไมโครคริสตัลไลน บนพื้นที่<br />

กระจกขนาด 1 cm 2 และ 3) ระดับปลายน้ํา เปนการศึกษามาตรฐานเซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น และการติดตั้ง<br />

ใชงานจริงในพื้นที่ในที่นี้เสนอกรณีตัวอยางศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตามพระราชดําริสมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี จํานวน 36 แหง ในจังหวัดเชียงใหม ตาก และแมฮองสอน เปนระบบ<br />

ผลิตไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแบบ Stand alone ขนาดกําลังไฟฟาสูงสุด 480 วัตต ผลิตไฟฟาไดวันละประมาณ 1.5<br />

หนวย (กิโลวัตต.ชั่วโมง) ศักยภาพระบบ 480 วัตต ซึ่งการวิจัยและพัฒนาทั้งสามระดับเปนสวนที่แสดงถึงความ<br />

พยายามในการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนดวยการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนระบบในทุกขั้นตอนของการ<br />

ผลิตทําใหสามารถควบคุมการผลิตไมใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมตั้งแตกระบวนการผลิตวัสดุที่ผลิตขึ้นเอง<br />

ภายในประเทศ การใชเครื่องจักรที่ประดิษฐคิดคนโดยนักวิจัยไทย ตลอดจนสงเสริมใหมีการใชงานใหมีศักยภาพ<br />

และปริมาณมากขึ้น จะเปนสวนสําคัญที่ชวยในการลดภาวะโลกรอนจากการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชงาน<br />

ซึ่งมีอายุการใชงานยาวนาน ถึง 20 ป จากระบบฯ ที่ สวทช. นําไปติดตั้งทั้งหมด 57.1 kw ผลิตพลังงานไฟฟาได<br />

20,842 kw/year จะชวยลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 3.360 kg-CO 2 /kWp [1] สําหรับเทคโนโลยี<br />

การผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน นอกจากนั้นผลพลอยยังกอใหเกิดกระบวนการเรียนรูการ<br />

บริหารจัดการใชงานระบบฯ เกิดองคความรูดานพลังงานแสงอาทิตยใหกับกลุมเปาหมายที่ใชงานระบบผลิตไฟฟา<br />

ดังกลาว และหนวยงานที่เกี่ยวของไดมีโอกาสเรียนรูรวมกันในการทําใหระบบเกิดความยั่งยืน ซึ่งเปนการชวยลด<br />

ปญหามลพิษสิ่งแวดลอมทางตรงจากการผลิตไฟฟา และการใชงานระบบฯ อีกดวย<br />

คําสําคัญ : พลังงานแสงอาทิตย วิกฤติโลกรอน<br />

350


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Solar energy appears to be the cleanest energy for depleting global warming crisis. NSTDA also<br />

agrees therefore the research and development of Solar Cell Technology had been grant. The research<br />

result are separate for 3 steps 1) Upstream: ZnO coated glass, EVA (Ethylene Vinyl Acetate) for solar cell<br />

module, Junction box, wire, and connector. 2) Midstream : Hybrid solar cell production line such as PECVD,<br />

PVD and laser scriber and research to increasing efficiency of Hybrid Solar Cell, a:Si/µc structure (tandem<br />

cell) on 1 cm 2 glass substrate and 3) Downstream : Application of Solar Cell; such as the installation of 480<br />

Wp Stand Alone Systems of the Pilot Project Management for Photovoltaic (PV) System in Thai Phukao<br />

Learning Center of the Sirindhorn Royal Project. Typical electricity consumption of each school is 1.5<br />

kWh/day 36 sites in Chiangmai, Maehongsorn and Tak province.<br />

All of three steps shown expectation to use clean energy from solar energy in every processes<br />

from material development, machinery, processing, through support application, that research and<br />

development activities are very important to reduce environment pollutant by solar energy for long time<br />

about 20 years and CO 2 emission is 3.360 kg-CO 2 /kWh [1] for amorphous technology from NSTDA solar<br />

cell system installed for 57.1 kw. Moreover by product are made learning process, system management,<br />

solar energy knowledge for organization, researcher, and other from solar PV sustainable system.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปจจุบันพลังงานแสงอาทิตยไดถูกนํามาใชเปนเครื่องมือที่สําคัญในการผลิตพลังงาน โดยมุงหวังใหเปน<br />

พลังงานสะอาดที่ชวยลดภาวะโลกรอนจากกระบวนการผลิตพลังงานในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งพลังงานเหลานั้นมักสราง<br />

มลภาวะตั้งแตกระบวนการสรรหาทรัพยากร การผลิต และการนําไปใชงาน เกิดวิกฤติจนทําใหโลกรอนดังที่ปรากฏ<br />

ในปจจุบัน การนําแผงเซลลแสงอาทิตยมาใชเพื่อผลิตพลังงานไฟฟานั้น เปนสวนสําคัญในการลดภาวะโลกรอนดวย<br />

การนําพลังงานสะอาดจากธรรมชาติมาใชงาน และระหวางการใชงานยังไมกอใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมอีกดวย<br />

อีกทั้งยังมีอายุการใชงานยาวนานกวา 20 ป จากความสําคัญดังกลาว สวทช. ในฐานะหนวยงานวิจัยและสนับสนุน<br />

การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไดตระหนักถึงปญหานี้เปนอยางดี จึงไดศึกษาวิจัย<br />

เทคโนโลยีการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน ตั้งแตระดับตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา ไดแก การ<br />

พัฒนาวัสดุ เครื่องจักร กระบวนการผลิต และการใชงาน เปาหมายเพื่อใหไดเทคโนโลยีการผลิตแผงเซลล<br />

แสงอาทิตยของคนไทย แผงเซลลแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนองคความรูสําหรับพัฒนาบุคลากรวิจัย และ<br />

พัฒนาทักษะผูใชงาน ในบทความนี้จะนําเสนอกรณีตัวอยางการใชงานระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยสําหรับ<br />

ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่ 3 จังหวัด<br />

ไดแก แมฮองสอน เชียงใหม และตาก เพื่อเปนอีกตัวอยางหนึ่งของการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนเพื่อ<br />

ผลิตพลังงานไฟฟาสําหรับสนับสนุนการเรียนการสอนในโรงเรียนพื้นที่หางไกล และสนับสนุนแนวทางการลดปญหา<br />

มลพิษสิ่งแวดลอมทางตรงจากการผลิตพลังงานไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยอีกดวย<br />

351


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อนําเสนอผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน การผลิต<br />

วัสดุ เครื่องจักร การพัฒนากระบวนการผลิต และการนําไปใชงานในพื้นที่ โดยแผงเซลลแสงอาทิตยที่ผลิตขึ้นนี้เปน<br />

เทคโนโลยีของคนไทย ตั้งแตการประดิษฐคิดคนเครื่องจักรการผลิต การนําวัตถุดิบตางๆ ที่ไดผานการศึกษาวิจัยมา<br />

ผานกระบวนการผลิตที่ออกแบบ ผลิตออกมาเปนแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 0.8 ตารางเมตร ขนาดกําลังไฟฟา<br />

ประมาณ 40-45 วัตต ประสิทธิภาพแผงเซลลแสงอาทิตยในการแปลงพลังงานไฟฟาประมาณ 6.5% และนําไปใช<br />

งานในพื้นที่จริงโดยกรณีตัวอยาง ไดแก พื้นที่ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตามพระราชดําริสมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 36 แหง ในจังหวัดตาก เชียงใหม แมฮองสอน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ในบทความนี้ทําการศึกษาโดยการรวบรวมผลการศึกษาจากรายงานความกาวหนาผลงานวิจัย รายงาน<br />

ฉบับสมบูรณของโครงการวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ แลวนํามาวิเคราะหผลการศึกษาตางๆ ที่ดําเนินการโดยสํานักงาน<br />

พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ที่ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

ตั้งแตระดับตนน้ํา กลางน้ํา จนถึงปลายน้ํา ตลอดระยะเวลา 5 ป (2549-2553) ภายใตขอบเขตดังนี้<br />

3.1 งานวิจัยและพัฒนาระดับตนน้ํา<br />

เปนการวิจัยและพัฒนาวัสดุที่เกี่ยวเนื่องกับการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตย เพื่อลดตนทุนแผงเซลล<br />

แสงอาทิตยและลดการนําเขาจากตางประเทศ ประกอบดวย การวิจัยและพัฒนากระจกเคลือบขั้วโปรงแสงนําไฟฟา<br />

การวิจัยและพัฒนาแผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงเพื่อหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย และการวิจัยและพัฒนากลอง<br />

รวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอสําหรับแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

3.2 การวิจัยและพัฒนาระดับกลางน้ํา<br />

เปนการพัฒนากําลังการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยดวยเครื่องจักรที่พัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยไทย โดยเปนการ<br />

พัฒนาทั้งกําลังการผลิตและประสิทธิภาพแผงเซลลฯ ใหเทียบเทากับทองตลาด ประกอบดวย การวิจัยและพัฒนา<br />

ตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด และการวิจัยและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิด<br />

ไฮบริด<br />

3.3 การวิจัยและพัฒนาระดับปลายน้ํา<br />

ไดแก การศึกษามาตรฐานเซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น ในที่นี้จะนําเสนอกรณีตัวอยางการนําแผงเซลล<br />

แสงอาทิตยไปทําการติดตั้งใชงานในพื้นที่ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตามพระราชดําริสมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี จํานวน 36 แหง<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 งานวิจัยและพัฒนาระดับตนน้ํา<br />

4.1.1 การวิจัยและพัฒนากระจกเคลือบขั้วโปรงแสงนําไฟฟา<br />

352


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[2] สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช) ไดวิจัยและพัฒนากระจกเคลือบขั้วนํา<br />

ไฟฟาโปรงแสง หรือ Transparent Conductive Oxide glass (TCO) เปนสิ่งประดิษฐที่มีคุณสมบัติในการ<br />

สงผานแสงในชวง 400-1300 nm และสามารถนําไฟฟาไดดี จากคุณสมบัติขางตนทําใหกระจก TCO ถูกนําไปใช<br />

เปนฐานรองสําหรับเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบาง กระจก TCO สามารถสรางไดจากสารประกอบหลายชนิด เชน<br />

ดีบุกออกไซด (SnO 2 :F) และซิงคออกไซด (ZnO:B) กระจกเคลือบ SnO 2 :F มีคุณสมบัติการนําไฟฟาดีกวา ZnO:B<br />

และปจจุบันนิยมนํามาใชในการผลิตเซลลแสงอาทิตยเชิงพาณิชย แตมีราคาสูง อีกทั้งฟลม SnO 2 :F ยังมีความคงทน<br />

ตอการกัดกรอนของพลาสมาในสภาวะไฮโดรเจนปริมาณมาก (เงื่อนไขการสรางฟลมไมโครคริสตัลไลนซิลิคอน) ต่ํา<br />

กวาฟลม ZnO:B ซึ่งจะเปนปญหาในการพัฒนาประสิทธิภาพของเซลลแสงอาทิตยในอนาคต สวนของฟลม ZnO:B<br />

นั้น นอกจากราคาถูกและคงทนตอการกัดกรอนแลว ยังสามารถเตรียมไดจากเทคนิค Metal Organic Chemical<br />

Vapor Deposition (MOCVD) ซึ่งเทคนิคนี้สามารถเคลือบฟลมบนพื้นที่ขนาดใหญ ใชอุณหภูมิการสรางต่ํา (100 o C -<br />

200 o C) อีกทั้งยังสามารถควบคุมลักษณะพื้นผิว คุณสมบัติทางไฟฟาและทางแสงไดงายกวาเทคนิคแบบสปตเตอรริง<br />

ฟลมซิงคออกไซดเจือโบรอน (ZnO:B) ที่เคลือบบนกระจกใสขนาด 30x40 cm ดวยวิธี MOCVD สามารถ<br />

ควบคุมคุณสมบัติของฟลมจากเงื่อนไขการสราง เชน อุณหภูมิ ปริมาณสารเจือไดโบเรน อัตราสวนของกาซหลัก<br />

เปนตน ฟลมที่ไดจากการใชเงื่อนไขที่ดีที่สุดจะมีสภาพความตานทาน (resistivity) ต่ําสุดเทากับ 5.27 x 10 -3 Ωcm<br />

และการสงผานแสง (transmittance) 82% ที่ความยาวคลื่นมากกวา 450 nm จากการทดลองนําไปใชเปนฐานรอง<br />

ของเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน พบวาเซลลแสงอาทิตยที่ใชกระจกเคลือบซิงคออกไซดมีสมบัติโดยรวม<br />

ใกลเคียงกับกระจกเคลือบ SnO 2 :F เทียบเทามาตรฐานที่ใชในงานอุตสาหกรรม คือ คาความนําไฟฟาประมาณ<br />

10-3 - 10-4 Ωcm<br />

4.1.2 การวิจัยและพัฒนาแผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงเพื่อหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

[3] การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงสําหรับหอหุมเซลล<br />

แสงอาทิตยเพื่อใหมีคุณภาพเทียบเทาสากล โดยตอยอดจากการคิดคนสูตรผสมแผนฟลมบาง โพลิเมอรโปรงแสง<br />

สําหรับใชหอหุมเซลลแสงอาทิตยที่มีอยูในปจจุบันจากการศึกษา พบวา สามารถลดตนทุนราคาสารเคมีลงเหลือ<br />

61.57 THB/m 2 จากการประมาณการราคาตนทุนวัตถุดิบ ซึ่งประกอบดวย EVA, Peroxide, Co-agent, Silane,<br />

Antioxidant และ Peroxide decomposerและจากการทดลองผลิตฟลมดวยเครื่อง Extruder M/C No.2 ที่มีอยู<br />

สามารถปรับใหเขากับการฉีดฟลมได แตยังไมไดมาตรฐาน ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณทั้งหมดไมไดออกแบบใหใชผลิต<br />

ฟลมนิ่มประเภท EVA เนื่องจากเครื่อง Extruder M/C No.2 ไมไดถูกออกแบบสําหรับการอัดรีดพลาสติกฟลมบาง<br />

จึงทําใหเกิดการหดตัวเมื่อนําแผนฟลมฯ ไป Laminate กับแผงเซลลแสงอาทิตย และเครื่องไมมีลูกกลิ้งสําหรับ<br />

เขามวน การเขามวนจึงตองอาศัยแรงดึงจากคน เพื่อใหแผนฟลมฯ สามารถมวนได และสภาวะการผลิตที่ตอง<br />

ควบคุม ไดแก ฝุน ความชื้น และไฟฟาสถิตย แตสามารถผลิตใหมีคุณสมบัติเทียบเทาผลิตภัณฑนําเขาจากประเทศ<br />

ญี่ปุน (MITSUI) และมีคาทดสอบมาตรฐานทางสากลซึ่งเปนที่ยอมรับได เชนคา Density, Cure time, Gel content,<br />

Volume resistivity, Melting point เปนตน แผนฟลม EVA ที่ไดมีพื้นที่หนากวาง 870 mm หนา 0.59 mm<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานแผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงที่เหมาะสมกับการใชงานหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

ตามมาตรฐาน IEC61215 หรือ IEC61646 สําหรับแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดผลึก และชนิดอะมอรฟสซิลิกอน<br />

พบวา ยังไมเหมาะสมเพราะแผนฟลมฯ มีความหนามากเกินไป เปอรเซ็นตการสองผานของแสงต่ํากวา 90% เกิด<br />

กลิ่นฉุน เกิดการเหลืองของแผนฟลมฯ และเมื่อนําไป Laminate กับแผงเซลลแสงอาทิตย ปรากฏวาแผนฟลมฯ หด<br />

ตัวเขาไปในแผนกระจก และเกิดฟองอากาศขนาดใหญที่บริเวณตรงกลางของแผง<br />

4.1.3 การวิจัยและพัฒนากลองรวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอสําหรับแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

[4] เนื่องจากกลองรวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอ ที่ผลิตและจําหนายอยูในปจจุบันยังมีตนทุน<br />

การผลิตสูง มีขนาด รูปราง ตลอดจนลักษณะการติดตั้ง ที่ยังไมเหมาะสมตอการใชงานกับแผงเซลลแสงอาทิตยชนิด<br />

353


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ฟลมบางซิลิกอนเทาที่ควร จึงตองออกแบบและปรับปรุงอุปกรณดังกลาวใหมีความเหมาะสมตอการใชงานมาก<br />

ยิ่งขึ้น และสามารถผลิตไดในเชิงพาณิชย จึงไดนํามาออกแบบใหมโดยมุงเนนการนําไปใชกับแผงเซลลแสงอาทิตย<br />

ชนิดฟลมบางซิลิกอน และสามารถประยุกตใชกับผูประกอบการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดอื่นๆ วิธีการศึกษาจะ<br />

ทําการวิจัยตอยอดจากกลองรวม สายไฟ สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอที่มีอยูในปจจุบัน เพื่อประหยัดเวลาการ<br />

คิดคนวัสดุชนิดใหม โดยออกแบบลักษณะกลองรวมสายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอ ใหมีความเหมาะสมกับการใชงาน<br />

เทียบกับการนําเขาจากตางประเทศ ซึ่งจะนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุดังกลาวใหดดียิ่งขึ้น โดยดําเนินการ<br />

สํารวจและรวบรวมขอมูล ขนาด รูปราง ลักษณะการใชงานและการติดตั้งของกลองรวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณ<br />

เชื่อมตอที่มีอยูแลว รวมถึงไดออกแบบ ปรับปรุงรูปแบบของกลองรวมสายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอ โดยเนนลด<br />

ตนทุนการผลิตและมีความเหมาะสมตอการใชงานในรูปแบบตางๆ แตในกระบวนการผลิตระดับอุตสาหกรรม<br />

บริษัทเอกชนยังไมพรอมที่จะนําแบบดังกลาวไปสรางแมแบบ (Mold) สําหรับการฉีดกลองรวมสายไฟและอุปกรณ<br />

เชื่อมตอดังกลาว เนื่องจากประสบปญหาทางเศรษฐกิจ จึงขอยกเลิกความรวมมือในการผลิต งานวิจัยนี้จึงไดผล<br />

ลัพธ คือ แมแบบกลองรวมสายไฟที่มีลักษณะขนาดกะทัดรัดและน้ําหนักเบา สามารถประกอบหรือติดตั้งกับแผง<br />

เซลลแสงอาทิตยไดงายจึงทําใหประกอบแผงเซลลฯ ไดปริมาณมากขึ้น พื้นที่ภายในกลองรวม สายไฟขนาดเล็กลง<br />

ทําใหการใชปริมาณซิลิโคนชนิด Plotting และ Sealant นอยลง หนาแปลนของกลองรวมสายไฟออกแบบใหมีขนาด<br />

กวางขึ้น เพื่อเพิ่มพื้นที่การยึดติดกับแผงเซลลฯ สวนตัวกลองรวมสายไฟมีความหนามากขึ้น ซึ่งทําใหมีความ<br />

แข็งแรงขึ้น บริเวณสวนทายของกลองรวมสายไฟ ออกแบบใหรับกับขอตอสายไฟและสายนํากระแสไฟฟา เพื่อลด<br />

ความเสียหายของสายนํากระแสไฟฟาจากกลองรวมสายไฟซึ่งจะใชวิธีสวมอัดแทนการเชื่อมพลาสติก โดยสายนํา<br />

กระแสไฟฟาสามารถบิดตัวได โดยแบบดังกลาวสามารถนําไปผลิตในระดับอุตสาหกรรมได<br />

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของแผนฟลมบาง EVA (Ethylene Vinyl Acetate) ที่ทดลองผลิตกับ<br />

ทางการคา<br />

Properties<br />

* EVA-NSTDA<br />

(Prototype)<br />

Etimex<br />

(Germany)<br />

STR-Photocap<br />

(USA)<br />

Mitsui-Solar<br />

EVA (Japan)<br />

Thickness (mm) 0.59 0.3-1.0 0.46-1.52 0.45<br />

Width (mm) 905 400-1,650 1,320 810-1,100<br />

Cure Time (170°c) (min) 8 12-15 (150 °c) 11<br />

Density ;uncure (g/m 3 ) 0.957 0.96 0.92 0.96<br />

Gel content (%) 91 80-90 80 4 88<br />

Light Transmission (%) 70* 91-93 91 91<br />

Volume resistivity (ohm-cm) 8.6x10 13 N/A 4*10 14 2.5*10 14<br />

Melting Point (°C) 54 71 N/A 71<br />

Glass Temp. (°C) -40 -43 -43 N/A<br />

Tensile strength<br />

-MD ( MPa) 6.39 20-25 18.6 25 MPa<br />

-TD ( MPa) 5.84 20-25 N/A N/A MPa<br />

Elogation at break<br />

-MD 919 500-700 800-900 580 %<br />

-TD 981 500-700 N/A N/A %<br />

Yong's modulus ( MPa) 0.26 10-14 5.2 6 MPa<br />

354


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 การวิจัยและพัฒนาระดับกลางน้ํา<br />

4.2.1 การวิจัยและพัฒนาตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด<br />

[5] การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอนโครงสราง<br />

ไฮบริดโดยวิจัยใหมีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับประเทศไทย เปนการตอยอดจากเทคโนโลยีการผลิตจากเซลลขนาด<br />

เล็กที่พัฒนาไดในปจจุบันดวยการสรางเครื่องจักรเพิ่มเติมใหสามารถผลิตเซลลแสงอาทิตยฯ ที่มีตนทุนต่ํา<br />

ประสิทธิภาพที่สูงขึ้นและสามารถผลิตไดภายในประเทศ ดวยขนาด 0.8 m 2 เทากับขนาดที่มีอยูในตลาดปจจุบัน<br />

เครื่องจักรที่ทําการพัฒนา ไดแก<br />

(1) เครื่องจักร PECVD (Plasma Enhanced Chemical Vapor Deposition) ใชสําหรับเคลือบฟลมอะมอร<br />

ฟสซิลิคอน และฟลมไมโครคริสตัลไลนซิลิคอน ลงบนแผนกระจกขนาด 635 mm x 1,330 mm โดยใชเทคโนโลยีแบบ<br />

หองเคลือบเดี่ยว (Single chamber technology) ใชกาซเปนวัตถุดิบ ซึ่งมีจุดเดนคือ ตนทุนต่ําเนื่องจากใช chamber<br />

เพียง 1 ตัว โดยสามารถผลิตเซลลแสงอาทิตยไดครั้งละ 4 แผน ตอเครื่องกําเนิดสัญญาณความถี่สูง (VHF generator)<br />

1 เครื่อง ซึ่งมีความเหมาะสมในการผลิตเชิงพาณิชย แตเนื่องจาก chamber ที่ออกแบบเปนเพียงตัวตนแบบ จึง<br />

ออกแบบใหสามารถเคลือบฟลมได 20 แผน โดย chamber ตนแบบมีขนาดประมาณ 1,700 mm x 400 mm x 1,000<br />

mm ลักษณะการออกแบบที่สําคัญ คือ สามารถเคลือบฟลมลงบนกระจกได 4 แผน ตอ VHF generator 1 เครื่อง<br />

การเคลือบฟลม แนวทรงสูงเพื่อลดพื้นที่ที่ตองสูญเสียจากขอบดานลางของกระจก แผนขั้วสัญญาณแมเหล็กไฟฟา<br />

ที่ไดรับการปรับปรุงใหมเพื่อใหสามารถสรางฟลมไมโครคริลตัลไลนซิลิคอนที่มีคุณภาพดี และมี uniformity ที่ดี ขั้ว<br />

สงสัญญาณดานหนาเพื่อลดการสูญเสียพลังงาน และสะดวกในการติดตั้ง และแสดงผลและควบคุมการทํางานไดทั้ง<br />

แบบ manual และจากคอมพิวเตอร<br />

(2) เครื่องจักร PVD (Physical Vapor Deposition) เครื่องจักร PVD ใชสําหรับเคลือบฟลมขั้วนําไฟฟา<br />

โปรงแสง (ZnO และ ITO) และขั้วโลหะนําไฟฟา (Ag และ Al) โดยใชเทคโนโลยีแบบ Inline โดยใช ZnO, ITO, Ag<br />

หรือ Al target เปนวัตถุดิบในการสรางฟลมแตละชนิด เครื่องจักร PVD สําหรับงานอุตสาหกรรม จุดเดน คือ<br />

สามารถเคลือบฟลมไดเร็วและมีความตอเนื่อง เพื่อรองรับกับปริมาณเซลลแสงอาทิตยที่ไดจากเครื่องจักร PECVD<br />

สวนตนแบบเครื่องจักร PVD ที่ไดทําการออกแบบมุงเนนไปที่การลดตนทุน ระบบ PVD โดยสามารถเพิ่มจํานวน<br />

chamber และอุปกรณตางๆ เพื่อใหมีความสามารถเทียบเทากับเครื่องจักรในระบบอุตสาหกรรมได<br />

(3) เครื่องเจาะลายดวยแสงเลเซอร (Laser scriber) ใชสําหรับตัดฟลม TCO (Transparent conductive<br />

oxide) เชน ZnO หรือ ITO และฟลมอะมอรฟสซิลิกอน หรือไมโครคริสตัลไลนซิลิคอนที่เคลือบอยูบนกระจกใหได<br />

ขนาดและลวดลายตามที่ออกแบบไว โดยตองมีการแบงและเชื่อมตอเซลลแสงอาทิตยใหมีคุณสมบัติตามตองการ<br />

ในกระบวนการสรางเซลลแสงอาทิตยบนฐานรองกระจก จะใช Laser scriber 3 ครั้ง คือ ตัดฟลม TCO 1 ครั้ง<br />

ตัดฟลมซิลิกอน 2 ครั้ง ทําให เครื่อง Laser scriber ที่ใชในงานอุตสาหกรรม 1 ชุด ประกอบดวย Laser scriber 3<br />

เครื่อง แต สวทช. ไดออกแบบใหใช Laser scriber เพียง 1 เครื่อง ใน 1 เครื่องประกอบดวยไดโอดเลเซอร 2 แบบ<br />

ทําใหสามารถตัดฟลมทั้ง 2 ชนิดได<br />

เทคโนโลยีตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยฯ ที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถนํามาใชประโยชนในการผลิต<br />

แผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิคอนโครงสรางไฮบริดขนาด 0.80 m 2 โดยมีประสิทธิภาพสูงสุด<br />

ปจจุบัน ดังนี้<br />

1. แผงเซลลแสงอาทิตยชนิดเซลลซอน (Tandem Cell) โครงสราง a-Si/a-Si ประสิทธิภาพ 6.4-6.5%<br />

(power = 49-51 วัตต) degradation ratio 7-10%<br />

2. แผงเซลลแสงอาทิตยชนิดเซลลซอน (Tandem Cell) โครงสราง a-SiO/a-Si ประสิทธิภาพ 6.4-6.6%<br />

(power = 49-52วัตต) degradation ratio 7-10%<br />

3. แผงเซลลแสงอาทิตยชนิดเซลลซอน (Tandem Cell) โครงสราง a-Si/µc-Si (Tandem Cell)<br />

ประสิทธิภาพ 5.6-6.0% (power = 44-47วัตต) degradation ratio 10-15%<br />

355


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2.2 การวิจัยและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด<br />

[6] ปจจุบันประเทศไทยตองนําเขาเซลลแสงอาทิตยจากตางประเทศ ทําใหตองเลือกใชเซลลแสงอาทิตยที่<br />

เหมาะกับการใชงานในเขตรอนชื้น เนื่องจากประสิทธิภาพของเซลลแสงอาทิตยจะลดลงตามอุณหภูมิสวทช. ได<br />

ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอนโครงสรางไฮบริดที่เปนเซลลซอนระหวางอะมอรฟส<br />

ซิลิคอนกับไมโครคริสตัลไลน ใหมีประสิทธิภาพ 11% โดยการนํา top cell และ bottom cell มาทําเปน Tandem<br />

cell บนกระจกบนพื้นที่ขนาด 1 cm 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอนโครงสรางไฮบริด<br />

บนกระจก TCO (Transparent conductive oxide) เทคโนโลยีการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบาง ซิลิกอน<br />

โครงสรางไฮบริดนี้จะทําใหตนทุนการผลิตเซลลแสงอาทิตยต่ําลง นอกจากนั้นยังเปนการพัฒนาองคความรูทาง<br />

วิชาการของการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน เชน การพัฒนาชั้นไอของเซลลแสงอาทิตยชนิด<br />

ฟลมบางอะมอรฟสซิลิคอนออกไซด ผลของการเจือฟลมชั้นพีไมโครคริสตัลไลนซิลิคอนออกไซดดวยกาซ TMB<br />

และ B 2 H 6 เพื่อใชในการสรางเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิคอน และผลของชั้นรอยตอระหวางฟลมชั้นพีกับฟลม<br />

ชั้นไอในเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางซิลิกอน<br />

4.3 การวิจัยและพัฒนาระดับปลายน้ํา<br />

[7] การวิจัยระดับปลายน้ําเปนการนําผลงานวิจัยที่ไดในระดับตนน้ํา และกลางน้ํามาใชงานจริงเพื่อพิสูจน<br />

การใชงานแผงเซลลแสงอาทิตยที่ผลิตโดยเทคโนโลยีของคนไทยในสภาพการใชงานจริง จนสามารถประเมินผลการ<br />

ใชงานและนํามาปรับปรุงแผงเซลลฯ ตอไป และพัฒนาบุคลากรของประเทศสําหรับการรองรับอุตสาหกรรมการผลิต<br />

แผงเซลลแสงอาทิตย<br />

ตารางที่ 2 การนําผลการวิจัยแผงเซลลแสงอาทิตยของ สวทช. ไปใชประโยชนในการติดตั้งใชงาน<br />

(2550-2553) [8]<br />

โครงการ/กิจกรรม สถานที่/ผูใชประโยชน ปริมาณการติดตั้ง<br />

1. ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ศูนยการ<br />

เรียนชุมชนชาวไทยภูเขาโครงการตาม<br />

พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี<br />

ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา อําเภอทาสองยาง<br />

อําเภออุมผาง จังหวัดตาก อําเภอสบเมย จังหวัด<br />

แมฮองสอน และอําเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม<br />

จํานวน 36 แหง<br />

2. โครงการ M150 ideology 2008 “ปฏิบัติการสรางสรรค นวัตกรรมโซลารเซลล”<br />

17.3 kW<br />

2.1 ระบบโซลารเซลลเพื่อระบบน้ํา โรงเรียนเมืองที ตําบลเมืองที จังหวัดสุรินทร 1.8 kW<br />

2.2 ปฏิบัติการสรางสรรคนวัตกรรมโซลาร<br />

เซลล เพื่อกลุมสตรีปลาสม<br />

2.3 นวัตกรรมเซลลแสงอาทิตย เพือพัฒนา<br />

ระบบประปาชุมชน<br />

อาคารกลุมสตรีแปรรูปปลาสม บานหวยบง ตําบล<br />

โนนเมือง อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู<br />

วัดบานหนองไหล บานหนองเจริญ ตําบลโพธิทอง<br />

อําเภอศรีสมเด็จ จังหวัดรอยเอ็ด<br />

2.4 เครืองจายไฟพลังงานแสงอาทิตยเคลือนที องคการบริหารสวนตําบลหนองโบสถ อําเภอนางรอง<br />

จังหวัดบุรีรัมย<br />

2.5 ระบบบําบัดนําเชิงนิเวศน ลําหวยวะ องคการบริหารสวนตําบลผักไหม อําเภอ<br />

หวยทับทัน จังหวัด ศรีสะเกษ<br />

3. โครงการ M-150 Ideology 2009<br />

3.1ระบบพลังงานแสงอาทิตย สําหรับประปา หมูบานหวยนําใส หมูที 3 ต.วังตะแบก อ.พรานกระตาย<br />

ชนบทที่ใชหลักการเกาะจุดกําลังสูงสุดแบบ จ.กําแพงเพชร<br />

ไฮบริด<br />

1.8 kW<br />

1.8 kW<br />

1.8 kW<br />

1.8 kW<br />

2.7 kW<br />

356


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โครงการ/กิจกรรม สถานที่/ผูใชประโยชน ปริมาณการติดตั้ง<br />

3.2 กระชังปลาโซลารเซลล บานสบจาง ต.นาสัก อ.แมเมาะ จ.ลําปาง 2.7 kW<br />

3.3 โซลารเซลล แหลงพลังงานเพือชุมชน โรงเรียนบานหนองขอน หมูที 4 ต.ลุมสุม อ.ไทรโยค<br />

จ.กาญจนบุรี<br />

2.7 kW<br />

3.4 โซลารเซลลพัฒนาคุณภาพชีวิตเศรษฐกิจ<br />

พอเพียง<br />

หมูบานศิริพัฒนา หมู 10 ต.นําออม อ.คอวัง จ.ยโสธร 2.7 kW<br />

4. ระบบสูบนําและสถานีอนามัยรวมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)<br />

4.1สถานีอนามัยทีมีไฟฟาและไมมีไฟฟาใช สถานีอนามัยทีมีไฟฟาใช ไดแก ชัยภูมิ<br />

16 kW<br />

ขนาดกําลังผลิตไฟฟาสูงสุดประมาณ หนองบัวลําภู อุดรธานี สถานีอนามัยที่ไมมีไฟฟาใช<br />

1,000 วัตตตอแหง ใหกับสถานีอนามัย ไดแก กาญจนบุรี แมฮองสอน เชียงใหม และ<br />

จํานวน 16 แหง<br />

ประจวบคีรีขันธ<br />

4.2 สถานีสูบนําบานโนนสะอาดติดตังแผง<br />

เซลลแสงอาทิตย จํานวน 80 แผง<br />

สถานีสูบนําบานโนนสะอาด จ.ชัยภูมิ<br />

4 kW<br />

รวมพลังงานไฟฟาทีผลิตได (kW) 57.1<br />

คิดเปนปริมาณไฟฟาตอป (kW) 20,842<br />

คิดเปนมูลคาไฟฟาตอป (บาท) 72,945<br />

ตารางที่ 3 การคํานวณผลกระทบทางสังคมและสาธารณะจากแผงเซลลแสงอาทิตยของ สวทช.[7]<br />

รายละเอียด จํานวน หนวย<br />

1. พลังงานไฟฟาที่ผลิตไดตอป 20,842 kWh/Year<br />

2. มูลคากระแสไฟฟาที่ผลิตได* 72,945 บาทตอป<br />

3. ทดแทนการนําเขาแผงเซลลฯ 1,336 แผง<br />

4. มูลคาแผงเซลลฯ (7,000 บาท) 9,352,000 บาท<br />

รวมมูลคาที่ประหยัดได 9,424,945 บาท<br />

หมายเหตุ : *คํานวณจากอัตราคาไฟฟาหนวยละ 3.5 บาท<br />

4.3.1 การศึกษามาตรฐานเซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น<br />

[9] การศึกษามาตรฐานเซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น ประกอบดวย 1) การศึกษาคุณสมบัติของแผง<br />

เซลลแสงอาทิตยตางชนิดกันภายใตสภาวะภูมิอากาศเขตรอนชื้น และ 2) การเปรียบเทียบการวัดแผงเซลล<br />

แสงอาทิตยตางชนิดกันโดยใชเครื่องจําลองแสงอาทิตยตางกันทั้งชนิด Flash และ Pulse ที่มีใชอยูในหนวยงาน<br />

ตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การศึกษาในสวนแรกจะทําการวัดผลของแผงเซลลแสงอาทิตย 10 ชนิดที่มาจากผูผลิต<br />

7 รายจากประเทศญี่ปุนและ 3 รายจากประเทศไทย โดยชนิดของแผงเซลลที่ใชทดสอบประกอบดวย เซลลชนิด<br />

ผลึกโพลีซิลิคอน ฟลมบางซิลิคอนชนิด 1 ชั้น เซลลซอน 2 ชั้น และเซลลซอน 3 ชั้น รวมไปถึงเซลล ชนิด HIT และ<br />

CIS การทดสอบจะใชเครื่องมือวัดที่ประกอบดวยเครื่องมือวัดประสิทธิภาพแผงเซลล และวัดคาทางอุตุนิยมวิทยา<br />

และสเปคตรัมของแสงอาทิตย สําหรับการศึกษาในสวนที่สองจะเปนการเปรียบเทียบผลลัพธที่ไดจากเครื่องจําลอง<br />

แสงอาทิตยที่ใชในหนวยงานตางๆ เทียบกับผลที่วัดจาก AIST เปนเกณฑในการเปรียบเทียบผล การเปรียบเทียบ<br />

คากําลังไฟฟาสูงสุดของแผงเซลลทั้ง 10 ชนิดจากการติดตั้งทดสอบเวลา 3 ป พบวาเซลลชนิดอะมอรฟสซิลิคอนมี<br />

แนวโนมของการผลิตไฟฟาสูงสุด 3 อันดับแรก โดยมีเซลลชนิด HIT และ CIS อยูในอันดับ 4 และ 5 ตามลําดับ<br />

และเซลลกลุมหลัง 5 แผงที่มีคากําลังไฟฟาต่ํา จะเปนเซลลชนิดผลึกโพลีซิลิคอนและฟลมบางซิลิคอนจากผูผลิตบาง<br />

ราย และผลลัพธจากการศึกษาสวนที่สอง คือมีความแตกตางของการวัดเกิดขึ้นเมื่อมีการใชชนิดของเครื่องจําลอง<br />

357


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แสงอาทิตยไมสอดคลองกับชนิดของแผงเซลลแสงอาทิตยทําใหคาประสิทธิภาพที่วัดไดมีความแตกตางกัน<br />

คอนขางมาก และในบางกรณีเปนผลใหไมสามารถวัดคาประสิทธิภาพได<br />

สวนที่ 1 สรุปผลการวิเคราะหประสิทธิภาพแผงเซลลชนิดตางๆ จากผลลัพธที่ไดแสดงในตารางที่ 4 เมื่อได<br />

แทนคา X (Irradiance) ที่ 1,000 และคา Y (Module temperature) ที่ 25 จะไดคา %Pm ที่ทําการ Interpolate ไปยังคา<br />

Pmax, STC equivalent โดยเรียงจากคามากที่สุดมายังคานอยที่สุดตามตารางที่ 5<br />

ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบ Pmax, STC equivalent<br />

Module No. Z X Y Pmax, STC Cell Structure<br />

7 3.3 0.11 -0.066 111.529 a-Si 1 junction<br />

9 2.2 0.102 -0.03 103.767 a-Si 2 junctions<br />

5 3.75 0.101 -0.082 103.056 a-Si 3 junctions<br />

1 5.87 0.097 -0.117 99.777 HIT<br />

8 6.71 0.096 -0.157 98.933 CIS<br />

6 7.35 0.094 -0.018 96.926 Poly-Si<br />

3 1.21 0.096 -0.003 96.841 a-Si 1 junction<br />

2 8.27 0.09 -0.178 94.247 Poly-Si<br />

10 8.14 0.085 -0.02 93.066 a-Si 1 junction<br />

4 5.95 0.08 -0.117 83.067 Poly-Si<br />

ผลลัพธที่ไดโดยการเรียงลําดับ %Pmax, STC จะพบวาเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบางอะมอรฟสหมายเลข 7<br />

9 และ 5 ที่มีประสิทธิภาพของการผลิตกําลังไฟฟาสูงสุดเมื่อเทียบกับคา Pmax ที่ STC และประสิทธิภาพของที่มาเปน<br />

อันดับที่ 4 และ 5 จะเปนแผงเซลลแสงอาทิตยชนิด HIT และ CIS ตามลําดับ สวนแนวโนมของเซลลที่มีประสิทธิภาพ<br />

รองมาเปน 5 อันดับสุดทายจะเปนเซลลแสงอาทิตยชนิดโพลีซิลิคอน อยางไรก็ตามยังมีเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลมบาง<br />

อะมอรฟส 2 ชนิดที่มีโครงสราง 1 ชั้นหมายเลข 3 และ 10 ที่อยูในอันดับที่ 7 และ 9 ตามลําดับ<br />

อยางไรก็ตามการเปรียบเทียบสัดสวนเปอรเซ็นตกําลังไฟฟาสูงสุดดวยวิธีการนี้เปนการใชวิธีการทํา<br />

Curve Fitting จากขอมูลของแตละแผงจํานวนประมาณ 30,000 คาซึ่งอาจมีความคลาดเคลื่อนในการทํา Least<br />

Square เพื่อใชหาสมการและสัมประสิทธิ์ที่ใชในการคํานวณดังกลาว ดังนั้นเพื่อเปนการเปรียบเทียบผลลัพธใหมี<br />

ความชัดเจนยิ่งขึ้น จึงควรเปรียบเทียบผลลัพธ สําหรับการหาคาเปอรเซ็นตกําลังไฟฟาสูงสุดที่ไดทําการปรับคา<br />

ความเขมแสงและอุณหภูมิตามสมการและเมื่อทําการเปรียบเทียบคา % Pmax, outdoor corrected to STC พบวา<br />

ลําดับของเปอรเซ็นตที่เรียงจากมากไปนอยจะสรุปในตารางที่ 5<br />

358


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบ % Pmax, outdoor corrected to STC ในแตละป<br />

Y2006 Y2007 Y2008<br />

Order<br />

Module No. Cell Structure Module No. Cell Structure Module No. Cell Structure<br />

2 9 1 7 a-Si 1 junction 7 a-Si 1 junction<br />

3 5 a-Si 3 junctions 1 HIT 1 HIT<br />

4 1 HIT 6 Poly-Si 6 Poly-Si<br />

5 6 Poly-Si 5 a-Si 3 junctions 5 a-Si 3 junctions<br />

6 8 CIS 2 Poly-Si 2 Poly-Si<br />

7 2 Poly-Si 8 CIS 10 a-Si 1 junction<br />

8 10 a-Si 1 junction 10 a-Si 1 junction 8 CIS<br />

9 4 Poly-Si 4 Poly-Si 4 Poly-Si<br />

10 3 a-Si 1 junction 3 a-Si 1 junction 3 a-Si 1 junction<br />

จากตารางที่ 4 และ 5 สรุปไดวาเมื่อใชวิธีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเซลลดวยวิธีการทํา Curve<br />

Fitting และวิธีปรับคาความเขมแสงและอุณหภูมิดวย Power Coefficient จะไดผลลัพธที่แตกตางกันสําหรับการ<br />

เปรียบเทียบคาแตกตางที่เกิดขึ้นแตอยางไรก็ตามสําหรับแผงเซลลที่มีคาเปอรเซ็นตกําลังไฟฟาสูงสุดอยูที่คาสูง<br />

อยางเชน เซลลหมายเลข 7 และ หมายเลข 9 วิธีการทั้ง 2 วิธีจะใหคาที่มีลักษณะเดียวกัน ดังนั้น การใหไดความ<br />

แมนยําในการเปรียบเทียบเซลลจึงจําเปนตองพิจารณาจากขอมูลของแสงแดดที่มีแดดสม่ําเสมอประกอบกันดวย<br />

อาทิ นําขอมูล 12 มีนาคม 2549 มาพิจารณาประกอบ เนื่องจากวิธีการทั้ง 2 แบบ จะใชการเฉลี่ยทางสถิติ ซึ่งตอง<br />

ใชขอมูลเปนจํานวนมาก ดังนั้นอาจเกิดความผิดพลาดเกิดขึ้นไดทําใหมีความเบี่ยงเบนของผลลัพธออกไป<br />

สวนที่ 2 สรุปการเปรียบเทียบการวัดประสิทธิภาพแผงเซลลดวยเครื่องวัดชนิดตางๆ พบวา คา<br />

เปรียบเทียบผลลัพธจากการวัดแผงเซลลทั้งหมด 6 แผงโดยนําขอมูลจากหนวยงานทั้งหมดมาเปรียบเทียบ โดยใช<br />

ขอมูลที่วัดจาก AIST เปนเสนเทียบเพื่อใหทราบถึงลักษณะของความเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้น พบวาผลลัพธที่ไดยังคง<br />

ขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือวัดที่หนวยงานตางๆ ใชสําหรับวัดแผงที่ตนผลิตไดหรือทดสอบอยูเปนประจํา เชน<br />

เครื่องมือวัดที่เปนชนิด Flash สามารถวัดแผงอยางหนึ่งไดคาใกลเคียงกับมาตรฐาน แตไมสามารถนําไปวัดแผงอีก<br />

ชนิดหนึ่งไดหรือถาวัดไดจะไดคาที่คอนขางเบี่ยงเบนไปจากคา STC มาก<br />

ดังนั้น เพื่อใหผลของการวัดสามารถนํามาเปรียบเทียบกันไดอยางชัดเจน จึงจําเปนจะตองระบุถึงเครื่องมือ<br />

วัดและความสามารถที่จะสามารถวัดแผงชนิดใดไดเปนเกณฑแลวจึงแบงแผงออกตามความเหมาะสมกับเครื่องมือ<br />

เพื่อใหไดผลลัพธที่ถูกตองกอนทําการเปรียบเทียบอีกครั้งหนึ่ง<br />

4.3.2 ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา<br />

[10] จากการผลิตและพัฒนาแผงเซลลแสงอาทิตยของ สวทช. ตั้งแตระดับตนน้ําในการพัฒนาวัสดุ และ<br />

ระดับกลางน้ําในการพัฒนากระบวนการผลิตดวยการพัฒนาเครื่องจักรและประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตย จนถึง<br />

ระดับปลายน้ํา คือ การนําแผงเซลลแสงอาทิตยที่ผลิตไดไปทําการติดตั้งใชงานในพื้นที่จริง ในที่นี้จะนําเสนอกรณี<br />

ตัวอยางการนําแผงเซลลแสงอาทิตยไปทําการติดตั้งใชงานในพื้นที่ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตาม<br />

พระราชดําริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 36 แหง จังหวัดตาก เชียงใหม และแมฮองสอน<br />

359


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การใชงานระบบผลิตไฟฟาจากแผงเซลลแสงอาทิตย เพื่อใชในศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา<br />

ออกแบบรายละเอียดของระบบฯ เปนแบบอิสระจากระบบสายสงฯ (Stand alone) โดยจํากัดปริมาณการใชไฟฟาสูงสุด<br />

ของทุกระบบในชุมชนศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาพื้นที่ติดตั้ง คือ<br />

พลังงานไฟฟาสูงสุด 480 Wp<br />

แผงเซลลแสงอาทิตย (แผงละ 40 W) 12 แผง<br />

แบตเตอรี่ 12 V 130 Ahr 4 ลูก<br />

เครื่องแปลงกระแสไฟฟา DC – AC 1 ชุด<br />

เครื่องควบคุมการชารต 1 เครื่อง<br />

พื้นที่ติดตั้ง 10 ตารางเมตร<br />

ระบบผลิตไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแบบ Stand alone ขนาดกําลังไฟฟาสูงสุด 480 วัตต ในศูนยการเรียนชุมชนชาว<br />

ไทยภูเขา จํานวน 36 แหง โดยปริมาณไฟฟาของระบบพอเพียงสําหรับอุปกรณที่ใชในการเรียน การสอนในแตละ<br />

วันประมาณ 1.5 หนวย (กิโลวัตต.ชั่วโมง) ซึ่งมีรายละเอียดในตารางที่ 6<br />

(1) (2)<br />

ภาพที่ 1 (1) Balance of System (BOS) (2) ระบบตนแบบติดตั้งที่อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย<br />

ตารางที่ 6 รายการอุปกรณเครื่องใชไฟฟาของศูนยการเรียนรูชุมชนชาวไทยภูเขา ตอ 1 ระบบ<br />

ชนิดเครื่องใชไฟฟา<br />

กําลังไฟฟา จํานวน เวลาที่ใช /วัน ปริมาณการใชตอวัน<br />

(W) (ชุด)<br />

(Hr) (W.hr /day)<br />

หลอดไฟแสงสวาง 11 5 4 220<br />

หลอดไฟแสงสวาง 11 1 12 132<br />

ทีวี พรอมชุดรับสัญญาณดาวเทียม 160 1 3 480<br />

VCD 12 1 1 12<br />

วิทยุสื่อสาร 50 1 10 500<br />

เครื่องขยายเสียง 150 1 1 150<br />

ปริมาณการใชตอวัน 427 - 1,494<br />

360


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[11] ผลการดําเนินงานที่ผานมาจนถึงปจจุบัน โดยหองเรียนสาขาบานนุโพ อําเภออุมผาง จังหวัดตาก ได<br />

ติดตั้งและใชงานเปนระบบแรก รวมระยะเวลาการใชงานแลว 2 ป 3 เดือน และจากการรายงานผลการทํางานของ<br />

ระบบฯ ที่หองเรียนจัดสงมายัง สวทช. เปนประจําทุกเดือน พบวา กวารอยละ 31 การใชงานอุปกรณไฟฟาสวนมาก<br />

ใชหลอดไฟสองสวาง กวารอยละ 30 ใชไฟฟาจากระบบฯ นอยกวา 6 ชั่วโมงตอวัน แตไมเกิน 10 ชั่วโมงตอวัน<br />

กําลังไฟฟาที่ใชรอยละ 50 ใชนอยกวา 100 วัตต (จากศักยภาพระบบ 480 วัตต) โดยสรุปภาพรวมของทั้งโครงการ<br />

ระบบฯ สามารถใชงานไดดี รอยละ 70 ของระบบฯ ที่ทําการติดตั้งใชงานทั้งหมด<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากความคาดหวังวาจะนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชเปนเครื่องมือเพื่อการผลิตพลังงาน โดยมุงหวังใหเปน<br />

พลังงานสะอาดที่ชวยลดภาวะโลกรอนนั้น สวทช. ไดผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยเพื่อการผลิตไฟฟาตั้งแตระดับตนน้ํา<br />

กลางน้ํา จนถึงปลายน้ํา ไดแก<br />

5.1 งานวิจัยและพัฒนาระดับตนน้ํา<br />

ไดแก กระจกเคลือบขั้วโปรงแสงนําไฟฟามีสภาพความตานทาน (resistivity) ต่ําสุดเทากับ 5.27 x 10 -3<br />

Ωcm และการสงผานแสง (transmittance) 82% ที่ความยาวคลื่นมากกวา 450 nm แผนฟลมบางโพลิเมอรโปรง<br />

แสงเพื่อหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย แผนฟลม EVA ที่ไดมีพื้นที่หนากวาง 870 mm หนา 0.59 mm เมื่อเทียบกับ<br />

มาตรฐานตาม IEC61215 หรือ IEC61646 สําหรับแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดผลึก และชนิดอะมอรฟสซิลิกอน<br />

พบวา ยังไมเหมาะสมเพราะแผนฟลมฯ มีความหนามากเกินไป เปอรเซ็นตการสองผานของแสงต่ํากวา 90% เกิด<br />

กลิ่นฉุน เกิดการเหลืองของแผนฟลมฯ และเมื่อนําไป Laminate กับแผงเซลลแสงอาทิตย แผนฟลมฯ มีการหดตัว<br />

เขาไปในแผนกระจก และเกิดฟองอากาศขนาดใหญบริเวณตรงกลางแผง และการวิจัยและพัฒนากลองรวมสายไฟ<br />

สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอสําหรับแผงเซลลแสงอาทิตย ไดแมแบบกลองรวมสายไฟขนาดกะทัดรัดและน้ําหนัก<br />

เบา สามารถประกอบหรือติดตั้งกับแผงเซลลแสงอาทิตยไดงาย หนาแปลนมีขนาดกวางขึ้น ตัวกลองมีความหนา<br />

มากขึ้น สวนทาย ออกแบบใหรับกับขอตอสายไฟและสายนํากระแสไฟฟา เพื่อลดความเสียหายของสายนํา<br />

กระแสไฟฟาจากกลองรวมสายไฟ<br />

5.2 การวิจัยและพัฒนาระดับกลางน้ํา<br />

เปนการพัฒนาตนแบบสายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด ประกอบดวยเครื่องจักร PECVD<br />

(Plasma Enhanced Chemical Vapor Deposition) สําหรับเคลือบฟลมอะมอรฟสซิลิคอน และฟลมไมโคร<br />

คริสตัลไลนซิลิคอน ลงบนแผนกระจกขนาด 635 mm x 1,330 mm โดยใชเทคโนโลยีแบบหองเคลือบเดี่ยว (Single<br />

chamber technology) ผลิตเซลลแสงอาทิตยไดครั้งละ 4 แผน เครื่องจักร PVD (Physical Vapor Deposition) สําหรับ<br />

เคลือบฟลมขั้วนําไฟฟาโปรงแสง (ZnO และ ITO) และขั้วโลหะนําไฟฟา (Ag และ Al) ใชเทคโนโลยีแบบ Inline โดยใช<br />

ZnO, ITO, Ag หรือ Al target เปนวัตถุดิบในการสรางฟลม เครื่องเจาะลายดวยแสงเลเซอร (Laser scriber) ใชตัดฟลม<br />

TCO (Transparent conductive oxide) และการวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด โครงสรางไฮบริดที่<br />

เปนเซลลซอนระหวางอะมอรฟสซิลิคอนกับไมโครคริสตัลไลน ใหมีประสิทธิภาพ 11% โดยการนํา top cell และ bottom<br />

cell มาทําเปน Tandem cell บนกระจกบนพื้นที่ขนาด 1 cm 2 เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลม<br />

บางซิลิคอนโครงสรางไฮบริดบนกระจก TCO (Transparent conductive oxide)<br />

361


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.3 การวิจัยและพัฒนาระดับปลายน้ํา<br />

ไดแก การศึกษามาตรฐานเซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น พบวา เมื่อใชวิธีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ<br />

ของเซลลดวยวิธีการทํา Curve Fitting และวิธีปรับคาความเขมแสงและอุณหภูมิดวย Power Coefficient จะได<br />

ผลลัพธที่แตกตางกันสําหรับการเปรียบเทียบคาแตกตางที่เกิดขึ้น แตอยางไรก็ตามสําหรับแผงเซลลที่มีคา<br />

เปอรเซ็นตกําลังไฟฟาสูงสุดอยูที่คาสูง สรุปผลการวิเคราะหประสิทธิภาพแผงเซลลชนิดตางๆ และพบวา คา<br />

เปรียบเทียบผลลัพธจากการวัดแผงเซลลทั้งหมด 6 แผงโดยนําขอมูลจากหนวยงานทั้งหมดมาเปรียบเทียบ โดยใช<br />

ขอมูลที่วัดจาก AIST เปนเสนเทียบเพื่อใหทราบถึงลักษณะของความเบี่ยงเบนที่ เกิดขึ้น พบวาผลลัพธที่ไดยังคง<br />

ขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือวัดที่หนวยงานตางๆ ใชสําหรับวัดแผงที่ตนผลิตไดหรือทดสอบอยูเปนประจํา เชน<br />

เครื่องมือวัดที่เปนชนิด Flash สามารถวัดแผงอยางหนึ่งไดคาใกลเคียงกับมาตรฐาน แตไมสามารถนําไปวัดแผงอีก<br />

ชนิดหนึ่งไดหรือถาวัดไดจะไดคาที่คอนขางเบี่ยงเบนไปจากคา STC มาก<br />

กรณีตัวอยางการนําแผงเซลลแสงอาทิตยไปทําการติดตั้งใชงานในพื้นที่ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา<br />

โครงการตามพระราชดําริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ระบบผลิตไฟฟาเซลลแสงอาทิตยแบบ<br />

Stand alone ขนาดกําลังไฟฟาสูงสุด 480 วัตต ในศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โดยปริมาณไฟฟาของระบบ<br />

พอเพียงสําหรับอุปกรณที่ใชในการเรียน การสอนในแตละวันประมาณ 1.5 หนวย (กิโลวัตต.ชั่วโมง) ผลการใชงาน<br />

ในพื้นที่จริงเฉลี่ย 36 แหง กวารอยละ 31 การใชงานอุปกรณไฟฟาสวนมากใชหลอดไฟสองสวาง กวารอยละ 30 ใช<br />

ไฟฟาจากระบบฯ นอยกวา 6 ชั่วโมงตอวัน แตไมเกิน 10 ชั่วโมงตอวัน กําลังไฟฟาที่ใชรอยละ 50 ใชนอยกวา 100<br />

วัตต (จากศักยภาพระบบ 480 วัตต) โดยสรุปภาพรวมของทั้งโครงการระบบฯ สามารถใชงานไดดี รอยละ 70 ของ<br />

ระบบฯ ที่ทําการติดตั้งใชงานทั้งหมด<br />

ซึ่งจากผลการศึกษาดังขางตนทั้งสามระดับหากมีการผลิตภายในประเทศ ควบคุมการผลิตไมใหเกิด<br />

มลพิษสิ่งแวดลอม ตั้งแตการควบคุมกระบวนการผลิตวัสดุ การควบคุมการใชเครื่องจักร ตลอดจนสงเสริมใหมีการ<br />

ใชงาน ใหมีศักยภาพและปริมาณมากขึ้น เปนสวนที่สําคัญในการลดภาวะโลกรอนไดจากระบบฯ ที่ สวทช. นําไป<br />

ติดตั้งทั้งหมด 57.1 kw ผลิตพลังงานไฟฟาได 20,842 kw/year จะชวยลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

3.360 kg-CO 2 /kWp ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการนําพลังงานสะอาดจากธรรมชาติมาใชงาน โดยตลอดอายุการใชงานนาน<br />

ประมาณ 20 ป เปนตัวอยางจริงของการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนในการผลิตพลังงานไฟฟา และ<br />

ผลพลอยไดยังเปนการสรางกระบวนการเรียนรู และสรางบุคลากรวิจัยเพื่อเตรียมความพรอมในการองรับการผลิต<br />

ในภาคอุตสาหกรรม บุคลากรทางการศึกษา และการบริหารจัดการใชงานระบบฯ เกิดองคความรูดานพลังงาน<br />

แสงอาทิตยใหกับผูใชงาน เชน นักเรียน ครู และคนในพื้นที่ ตลอดจนหนวยงานที่เกี่ยวของไดมีโอกาสเรียนรูการ<br />

ติดตั้งใชงาน การดูแลรักษาระบบฯ ใหเกิดความยั่งยืน ซึ่งเปนการชวยลดปญหามลพิษสิ่งแวดลอมทางตรงจากการ<br />

ผลิตพลังงานไฟฟา รวมถึงการใชงานระบบฯ<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

[1] Schaefer H.Hagedorn G.Hidden energy and correlated environmental characteristics of P.V.<br />

power generation. Renewable Energy 199;2(2):159-66<br />

[2] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณโครงการวิจัยและพัฒนา<br />

กระจกเคลือบขั้วโปรงแสงนําไฟฟา. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ<br />

(สวทช.). 2552.<br />

362


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[3] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณโครงการวิจัยและพัฒนา<br />

แผนฟลมบางโพลิเมอรโปรงแสงเพื่อหอหุมแผงเซลลแสงอาทิตย. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนา<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2551.<br />

[4] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณการวิจัยและพัฒนากลอง<br />

รวมสายไฟ สายไฟ และอุปกรณเชื่อมตอสําหรับแผงเซลลแสงอาทิตย. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนา<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2552.<br />

[5] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานความกาวหนาการวิจัยและพัฒนาตนแบบ<br />

สายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด ครั้งที่ 9. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2553.<br />

[6] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานความกาวหนาการวิจัยและพัฒนาเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด ครั้งที่ 9. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2553.<br />

[7] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการโครงการนํา<br />

รองระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในสถานศึกษา ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการ<br />

ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 1/2553. ปทุมธานี.<br />

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2553.<br />

[8] ฝายบริหารจัดการคลัสเตอรและโปรแกรมวิจัย. เอกสารการวิเคราะหผลกระทบโครงการตนแบบ<br />

สายการผลิตเซลลแสงอาทิตยชนิดไฮบริด ปงบประมาณ 2553. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนา<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.). 2553.<br />

[9] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณโครงการศึกษามาตรฐาน<br />

เซลลแสงอาทิตยในเขตรอนชื้น . ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ<br />

(สวทช.). 2552.<br />

[10] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานประจําปโครงการระบบผลิตไฟฟาพลังงาน<br />

แสงอาทิตย ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา ศูนยการเรียน<br />

ชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี.<br />

ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2552.<br />

[11] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. รายงานความกาวหนาระบบผลิตไฟฟาพลังงาน<br />

แสงอาทิตย ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา โครงการตาม<br />

พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี. ปทุมธานี. สํานักงานพัฒนา<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.). 2552.<br />

363


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การจัดการพลังงานเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา<br />

Energy Management towards Low-Carbon Societies<br />

ประทีป ชวยเกิด<br />

สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อาคารสถาบัน 3 ชั้น 12 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

บทคัดยอ<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยโดยเฉพาะการปลอยกาซเรือนกระจก แหลงที่มาสําคัญ<br />

คือการใชพลังงาน จากการวิเคราะหรายงานการใชพลังงานของประเทศไทย ป พ.ศ. 2551 พบวาสาขา<br />

อุตสาหกรรมการผลิต สาขาขนสง และสาขาบานอยูอาศัยมีการใชพลังงานรวมคิดเปนรอยละ 86.9 ของการใช<br />

พลังงานรวม (สาขาอุตสาหกรรมการผลิตรอยละ 36.7 สาขาขนสงรอยละ 35.1 และสาขาบานอยูอาศัยรอยละ 15.1)<br />

การจัดการพลังงานของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมอโลหะในสาขาอุตสาหกรรม การบริหาร<br />

จัดการโลจิสติกสการขนสงทางบกในสาขาขนสง และการใชอุปกรณไฟฟาประหยัดพลังงานรวมถึงการใชพลังงาน<br />

ทดแทนในสาขาบานอยูอาศัยสามารถชวยลดความตองการใชพลังงานและลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศรวมถึงเปนการเตรียมพรอมสําหรับการมุงสูสังคมคารบอนต่ําของประเทศไทย<br />

คําสําคัญ : การจัดการพลังงาน (Energy management) สังคมคารบอนต่ํา (Low carbon society)<br />

Abstract<br />

Thailand climate change especially green house gas emissions, the main source is energy<br />

consumption. The analytical of Thailand energy situation in 2008 indicated that manufacturing sector,<br />

transportation sector and residential sector have energy consumption about 86.9 percent of total energy<br />

consumption (manufacturing sector 36.7%, transportation sector 35.1 and residential sector 15.1%).<br />

Energy management in manufacturing sector (by sub-sector food and beverages, non-metallic), logistic<br />

management of land transport in transportation sector and use high efficiency household electrical<br />

appliances include renewable energy can reduce energy demand and reduce climate impact and to get<br />

ready towards low carbon society of Thailand.<br />

364


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

จากสภาพปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Global climate change) ที่สงผลกระทบตอการ<br />

ดํารงชีวิตของคน การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ฤดูกาล และภัยพิบัติตางๆแกประชากรโลก ประเทศไทยใน<br />

ฐานะสมาชิกกรอบอนุสัญญาแหงสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations<br />

Framework Convention on Climate Change หรือยอเปน UNFCCC หรือ FCCC) แมสถานภาพของประเทศ<br />

ไทยจัดอยูในกลุมประเทศกําลังพัฒนาและไมมีพันธกรณีในการลดกาซเรือนกระจก (Non-Annex I) แตจากระบบ<br />

การคาเสรีในยุคโลกาภิวัฒนที่นําเงื่อนไขดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมาเปนเครื่องมือทางการคา<br />

ทําใหประเทศไทยแมจะอยูซึ่งอยูในกลุม Non-Annex I ก็ไดรับผลกระทบในทางการคาโดยเฉพาะการคากับ<br />

กลุมประเทศที่พัฒนาแลว หากประเทศไทยไมมีการศึกษาติดตามรวมถึงการเตรียมความพรอมในเรื่องดังกลาว<br />

ดูจะเปนผลเสียมากกวาผลดีสําหรับประเทศไทย โดยเฉพาะหากตองการคาขายกับกลุมประเทศที่พัฒนาแลว<br />

ซึ่งเปนตลาดสงออกสินคาแหลงใหญของประเทศไทย ดังนั้นประเทศไทยจึงมีความจําเปนตองเตรียมความพรอม<br />

ในทางโครงสรางสังคมเพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับประเทศไทยตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงไปสูสังคมและเศรษฐกิจ<br />

คารบอนต่ําในอนาคตเพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดเสรีได ประเทศไทยจึงควรใหความสําคัญกับปญหาการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการพัฒนาประเทศในดานตางๆ โดยวิเคราะหใหทราบถึงปญหาที่มาของการปลอย<br />

กาซเรือนกระจก จากการศึกษาพบวาสําหรับประเทศไทยสาขาพลังงานเปนสาขาที่มีสัดสวนในการปลดปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกสูงที่สุด คือรอยละ 66.4 เมื่อวิเคราะหในรายสาขายอยของสาขาพลังงานพบวาการใชพลังงานในสาขา<br />

อุตสาหกรรมการผลิต สาขาขนสง และสาขาบานอยูอาศัยมีการใชพลังงานรวมกันถึงรอยละ 86.9 ของปริมาณการ<br />

ใชพลังงานทั้งหมดของประเทศไทย รูปที่ 1.1 แสดงสัดสวนการใชพลังงานจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศไทย ป พ.ศ. 2551 ดังนั้นการบริหารจัดการพลังงานที่มีความเหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช<br />

พลังงานในทั้ง 3 สาขาที่มี การใชพลังงานสูงจะชวยลดความตองการใชพลังงานของประเทศและลดผลกระทบการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย รวมถึงในขณะเดียวกันจะเปนการเตรียมความพรอมของโครงสราง<br />

สังคมประเทศไทยตอการมุงสูสังคมคารบอนต่ําในอนาคตดวย<br />

5.20%0.20%<br />

35.10%<br />

36.70%<br />

Agriculture<br />

Mining<br />

7.50%<br />

15.10%<br />

0.20%<br />

Manufacturing<br />

Construction<br />

Residential<br />

Commercial<br />

Transportation<br />

รูปที่ 1.1 สัดสวนการใชพลังงานจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจของประเทศไทย ป พ.ศ. 2551<br />

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2551.<br />

365


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาใหทราบถึงแหลงที่มาสําคัญของการปลอยกาซเรือนกระจกในกรณีของประเทศไทย<br />

2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะหและสังเคราะหแนวทางการจัดการพลังงานในสาขาที่มีการใชพลังงานสูงเพื่อ ลดความ<br />

ตองการใชพลังงานและลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 รวบรวมขอมูลการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย<br />

3.2 วิเคราะหขอมูลจากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยเพื่อพิจารณาถึงประเภทและ<br />

แหลงที่มาสําคัญของการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

3.3 สังเคราะหขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหเพื่อเชื่อมโยงนํามาสูการบริหารจัดการพลังงานในรายสาขา ที่มีการปลอย<br />

กาซเรือนกระจกในเกณฑสูงเพื่อการประหยัดพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การศึกษาขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย<br />

จากวิเคราะหขอมูลการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยพบวากาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) มี<br />

ปริมาณสัดสวนการปลอยที่รอยละ 66.4 กาซมีเทน (CH 4 ) รอยละ 26.1 กาซไนตรัสออกไซด (N 2 O) รอยละ 6.9<br />

กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC) รอยละ 0.5 และกาซซัลเฟอรเฮกซาฟลูออไรด (SF 6 ) รอยละ 0.1 แสดงดังรูปที่<br />

4.1<br />

จากรูปที่ 4.1 แสดงใหเห็นวากาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) เปนแหลงที่มาของกาซเรือนกระจกที่มี<br />

ปริมาณมากที่สุดของประเทศไทย รองลงมาคือกาซมีเทน (CH 4 ) และกาซไนตรัสออกไซด (N 2 O) สวนที่เหลือไดแก<br />

กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC) และกาซซัลเฟอรเฮกซาฟลูออไรด (SF 6 ) มีปริมาณนอยมาก<br />

70.00<br />

66.40<br />

60.00<br />

MtCO 2 e [%]<br />

50.00<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

26.10<br />

CO2<br />

CH4<br />

N2O<br />

HFC<br />

SF6<br />

10.00<br />

0.00<br />

6.90<br />

0.50 0.10<br />

CO2 CH4 N2O HFC SF6<br />

รูปที่ 4.1 รอยละการปลอยกาซเรือนกระจกป พ.ศ. 2548 (รวมการใชที่ดิน)<br />

ที่มา : World Resource Institute 2005.<br />

366


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 การศึกษาขอมูลการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทย<br />

เมื่อทราบถึงประเภทของกาซเรือนกระจกที่สําคัญอันเปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ<br />

ประเทศไทยแลว จึงนํามาสูการวิเคราะหถึงแหลงที่มาของกาซเรือนกระจกในกรณีของกาซคารบอนไดออกไซด<br />

(CO 2 ) ที่มีปริมาณมากที่สุดสําหรับประเทศไทย ผลการศึกษาแสดงดังรูปที่ 4.2<br />

70<br />

66.40<br />

MtCO 2 e [%]<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

25.30<br />

10<br />

6.00<br />

2.20<br />

0<br />

Energy<br />

Induatrial<br />

Process<br />

Agriculture<br />

Waste<br />

รูปที่ 4.2 รอยละการปลอยกาซเรือนกระจกรายสาขาป พ.ศ. 2548<br />

ที่มา : World Resource Institute 2005.<br />

รูปที่ 4.2 แสดงใหเห็นวาในป พ.ศ. 2548 สาขาพลังงานเปนสาขาที่มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

(CO 2 ) ที่เปนสาเหตุของภาวะโลกรอนมากที่สุดสําหรับประเทศไทย รองลงมาคือสาขาเกษตร สาขาอุตสาหกรรมการ<br />

ผลิต และของเสีย ตามลําดับ<br />

4.3 การศึกษาการใชพลังงานขั้นสุดทายจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจ<br />

จากการที่สาขาพลังงานเปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจกที่มากที่สุดของประเทศไทย จึงนํามาสูการ<br />

วิเคราะหการใชพลังงานขั้นสุดทายจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจเพื่อเปรียบเทียบปริมาณการใชพลังงานในแตละสาขา<br />

เศรษฐกิจ ผลการวิเคราะหแสดงดังรูปที่ 4.3<br />

80000<br />

70000<br />

Transportations<br />

Commercial<br />

Residential<br />

Manufacturing<br />

Agriculture<br />

60000<br />

50000<br />

ktoe<br />

40000<br />

30000<br />

20000<br />

10000<br />

0<br />

2004 2005 2006 2007 2008<br />

Sector<br />

รูปที่ 4.3 การใชพลังงานขั้นสุดทายจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2551.<br />

367


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากการวิเคราะหการใชพลังงานขั้นสุดทายจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจพบวาสาขาอุตสาหกรรม การ<br />

ผลิต สาขาการขนสง มีการใชพลังงานขั้นสุดทายในสัดสวนที่สูงและมีปริมาณที่ใกลเคียงกัน รองลงมาไดแกสาขา<br />

บานอยูอาศัย สาขาธุรกิจการคา และสาขาเกษตรกรรมตามลําดับ ดังนั้นการศึกษาการใชพลังงานและ แนว<br />

ทางการจัดการพลังงานเพื่อลดความตองการการใชพลังงานรวมถึงลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )<br />

โดยเฉพาะในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต สาขาการขนสง และสาขาบานอยูอาศัย ที่มีการใชพลังงานอยูในเกณฑสูง<br />

จึงมีความเหมาะสมกับสภาพการใชพลังงานที่เกิดขึ้นจริงของประเทศไทยเพื่อลดความตองการใชพลังงาน และการ<br />

สรางความเตรียมพรอมกับการมุงสูสังคมคารบอนต่ําสําหรับประเทศไทยในอนาคต<br />

4.4 การศึกษาการใชพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต สาขาการขนสง และสาขาบานอยูอาศัย<br />

4.4.1 การศึกษาการใชพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing sector)<br />

การใชพลังงานในอุตสาหกรรมการผลิต (รวมอุตสาหกรรมเหมืองแร และกอสราง) ระหวางป พ.ศ. 2547<br />

ถึง พ.ศ. 2551 สามารถวิเคราะหในเชิงปริมาณการใชแยกตามสาขายอย โดยแบงปริมาณ การใชพลังงานออกเปน<br />

3 ระดับคือ มาก ใชสัญลักษณ () ปานกลาง ใชสัญลักษณ () และนอย ใชสัญลักษณ (∆) ผลการวิเคราะหแสดง<br />

ดังตารางที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.1 การใชพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิตระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

หนวย : รอยละ<br />

สาขายอย 2547 2548 2549 2550 2551 Subsector<br />

ปริมาณ<br />

การใช<br />

อาหารและ<br />

Food and<br />

29.0 28.0 28.9 30.3 30.1<br />

เครื่องดื่ม<br />

Beverages<br />

<br />

สิ่งทอ 5.1 4.6 4.0 5.1 4.2 Textiles ∆<br />

ไมและ<br />

Wood and<br />

0.8 0.8 0.8 0.9 0.8<br />

เครื่องเรือน<br />

funiture<br />

∆<br />

กระดาษ 3.7 3.7 3.5 5.7 8.6 Paper ∆<br />

เคมี 12.4 12.1 10.7 11.4 8.5 Chemical ∆<br />

อโลหะ 29.9 33.5 31.8 30.5 32.8 Non-metallic <br />

โลหะขั้น<br />

มูลฐาน<br />

5.5 4.6 5.5 4.0 4.2 Basic metal ∆<br />

ผลิตภัณฑ<br />

Fabricated<br />

7.0 6.6 6.6 7.0 6.6<br />

โลหะ<br />

metal<br />

∆<br />

อื่นๆ 6.6 6.0 8.1 5.2 4.2 Others ∆<br />

หมายเหตุ: มาก ปานกลาง ∆ นอย<br />

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2551.<br />

จากการวิเคราะหการใชพลังงานในอุตสาหกรรมการผลิตระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551 พบวาสาขา<br />

อาหารและเครื่องดื่ม และสาขาอโลหะ มีสัดสวนรอยละการใชพลังงานอยูในระดับที่ใกลเคียงกันและมีปริมาณการใช<br />

อยูในเกณฑสูง ขณะที่การใชพลังงานในสาขายอยของอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆอยูในเกณฑนอย<br />

4.4.2 การศึกษาการใชพลังงานในสาขาขนสง (Transportation sector)<br />

การใชพลังงานในสาขาขนสงจําแนกตามวิธีการขนสงระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551 เมื่อวิเคราะห<br />

ในเชิงปริมาณการใชแยกตามวิธีการขนสง ทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ ผลการวิเคราะห แสดงดังตารางที่ 4.2<br />

368


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 4.2 การใชพลังงานในสาขาการขนสงจําแนกตามวิธีการขนสงระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

หนวย : รอยละ<br />

วิธี 2547 2548 2549 2550 2551 Mode<br />

การขนสง<br />

ทางบก<br />

78.3 78.0 76.6 76.1 76.4<br />

การขนสง<br />

ทางน้ํา<br />

6.5 7.1 7.3 6.8 7.2<br />

การขนสง<br />

ทางอากาศ<br />

หมายเหตุ: มาก ปานกลาง ∆ นอย<br />

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2551.<br />

Land<br />

transport<br />

Water<br />

transport<br />

15.2 14.9 16.1 17.1 16.4 Air transport ∆<br />

ปริมาณ<br />

การใช<br />

จากการวิเคราะหการใชพลังงานในสาขาขนสงจําแนกตามวิธีการขนสงระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ.<br />

2551 พบวาวิธีการขนสงทางบกมีสัดสวนการใชพลังงานกวารอยละ 76 เมื่อเทียบกับวิธีการขนสงทางอื่น รองลงมา<br />

ไดแก วิธีการขนสงทางอากาศ และวิธีการขนสงทางน้ํา ตามลําดับ<br />

4.4.3 การศึกษาการใชพลังงานในสาขาบานอยูอาศัย (Residential sector)<br />

การใชพลังงานเชิงพาณิชยสาขาบานอยูอาศัยในเขตกรุงเทพและปริมณฑล (ประกอบดวย<br />

กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ) เขตเทศบาล และ นอกเขตเทศบาล ระหวาง ป พ.ศ. 2547<br />

ถึง พ.ศ. 2551 เมื่อวิเคราะหปริมาณการใชพลังงานไดผลแสดงดังตารางที่ 4.3<br />

ตารางที่ 4.3 การใชพลังงานเชิงพาณิชยในสาขาบานอยูอาศัยระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

หนวย : พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ<br />

<br />

∆<br />

เขต<br />

กรุงเทพและ<br />

ปริมณฑล<br />

เขตเทศบาล<br />

กาซ<br />

ปโตรเลียมเหลว<br />

(LPG)<br />

369<br />

(∆)<br />

320<br />

น้ํามันกาด<br />

Kerosene<br />

5<br />

(∆)<br />

(∆)<br />

นอกเขตเทศบาล 913<br />

0<br />

()<br />

หมายเหตุ: มาก ปานกลาง ∆ นอย<br />

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2551.<br />

0<br />

พลังงานเชิงพาณิชย Commercial energy<br />

ไฟฟา Electricity รวม Total ปริมาณการใช<br />

925<br />

()<br />

459<br />

()<br />

1,069<br />

()<br />

1,299 <br />

779 ∆<br />

1,982 <br />

จากการวิเคราะหการใชพลังงานเชิงพาณิชยสาขาบานอยูอาศัย ระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

พบวาการใชพลังงานเชิงพาณิชยสาขาบานอยูอาศัยในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และนอกเขตเทศบาล มีปริมาณ<br />

369


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การใชพลังงานอยูในเกณฑสูงเมื่อเทียบกับการใชพลังงานเชิงพาณิชยในเขตเทศบาล และพบวาการใชไฟฟา<br />

มีสัดสวนการใชสูงสุด รองลงมาคือกาซปโตรเลียมเหลว (Liquefied petroleum gas,LPG)<br />

เมื่อทําการศึกษาวิเคราะหเชิงลึกเพื่อศึกษาสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาแบบมีจุดเนน (Focus) สําหรับ<br />

อุปกรณเครื่องใชไฟฟาในสาขาบานอยูอาศัยในป พ.ศ. 2551 ไดผลการวิเคราะห แสดงดังรูปที่ 4.4<br />

28.23%<br />

1.80%<br />

0.10%<br />

41.44%<br />

28.43%<br />

Air-conditioner Lighting Refrigerator<br />

Fan<br />

Others<br />

รูปที่ 4.4 การใชพลังงานไฟฟาสําหรับอุปกรณเครื่องใชไฟฟาในสาขาบานอยูอาศัยของประเทศไทย<br />

ที่มา : Asia-Pacific Economic Cooperation, APEC 2010.<br />

จากรูปที่ 4.4 แสดงใหเห็นวาการใชพลังงานไฟฟาในสาขาบานอยูอาศัยของประเทศไทยสวนใหญ มา<br />

จากการใชเครื่องปรับอากาศ (Air-conditioner) รองลงมาไดแก การใชไฟฟาแสงสวาง (Lighting) และการใชตูเย็น<br />

(Refrigerator) ที่มีสัดสวนการใชพลังงานที่ใกลเคียงกัน สวนการใชพัดลมและอื่นๆ (Fan and others) มี<br />

สัดสวนการใชพลังงานในปริมาณที่นอย<br />

4.5 การจัดการพลังงานนสาขาอุตสาหกรรมการผลิต สาขาการขนสง และสาขาบานอยูอาศัย เพื่อลด<br />

ความตองการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากการที่สาขาพลังงานเปนสาขาที่มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนกาซเรือนกระจก แหลง<br />

สําคัญที่สุดของประเทศ เมื่อวิเคราะหลงในรายสาขาพบวาสาขาอุตสาหกรรมการผลิต สาขาการขนสง มีการใช<br />

พลังงานขั้นสุดทายในปริมาณที่ใกลเคียงกัน ขณะที่สาขาบานอยูอาศัยและธุรกิจการคามีการใชพลังงานขั้นสุดทาย<br />

รองลงมา ดังนั้นการบริหารจัดการพลังงานในทั้ง 3 สาขาเพื่อใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพอันจะเปนการ<br />

ลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย<br />

4.5.1 การจัดการพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต<br />

เนื่องการใชพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิตมีการใชพลังงานสูงในสาขาอาหาร และเครื่องดื่ม<br />

รวมถึงสาขาอโลหะ รวมกันคิดเปนรอยละ 36.7 แนวทางการจัดการพลังงานในทั้ง 2 สาขาดังกลาว จึงมีสวนชวย<br />

เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและยังสามารถลดการปลอยกาซเรื่อนกระจกดวย<br />

4.5.1.1 การจัดการพลังงานสาขาอาหารและเครื่องดื่ม (Food and berverages)<br />

เนื่องจากโดยสวนใหญอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีการใชพลังงานดานความรอนใน<br />

สัดสวนที่สูง ดังนั้นการบริหารจัดการพลังงานแบบมีจุดเนน (Focus) ไปไหนสวนของตนกําลัง ดานความรอนเพื่อใช<br />

370


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในกระบวนการผลิตที่สามารถลดความตองการใชพลังงานในกระบวนการผลิต และลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ออกสูสิ่งแวดลอมได ตัวอยางแนวทางการวิเคราะหเพื่อการจัดการพลังงานสําหรับสาขาอุตสาหกรรมอาหารและ<br />

เครื่องดื่ม แสดงดังตารางที่ 4.4<br />

ตารางที่ 4.4 ตัวอยางแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม<br />

ระบบ อุปกรณ การจัดการพลังงาน<br />

ความรอน<br />

ไฟฟา<br />

Boiler<br />

Steam Piping<br />

Power<br />

generation<br />

Recovery of waste heat from boilers<br />

(Preheat of water supply or preheat<br />

combustion air)<br />

Improvement in combustion air ratio in<br />

boiler<br />

Recovery of sensible heat from boiler<br />

blow water (preheated water supply)<br />

Hot-water recovery-type wort boiling<br />

equipment<br />

Management of steam traps in steam<br />

puping and drain water recovery<br />

Recovery of digestion gas and its use in<br />

power generation<br />

การประหยัด<br />

พลังงาน/ป<br />

Fuel oil 115.7<br />

kl/y<br />

Fuel oil 57.87<br />

kl/y<br />

Fuel oil 81<br />

kl/y<br />

Crude oil<br />

3,252 t/y<br />

Heavy oil<br />

38,919 kg/y<br />

Electric saving<br />

1,032,400<br />

baht/y<br />

ลดการปลอย<br />

CO 2 /ป<br />

347 tons<br />

CO 2 /y<br />

174 tons<br />

CO 2 /y<br />

0.8 ton CO 2 /y<br />

8,842 tons<br />

CO 2 /y<br />

117 tons<br />

CO 2 /y<br />

100 tons<br />

CO 2 /y<br />

4.5.1.2 การจัดการพลังงานสาขาอโลหะ (Non-metallic)<br />

ประเทศไทยมีการใชพลังงานในอุตสาหกรรมอโลหะสูงกวาอุตสาหกรรมโลหะมูลฐานและ<br />

อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะประมาณ 6 เทา การบริหารจัดการพลังงานเพื่อลดการใชเพลังงาน ใน<br />

อุตสาหกรรมอโลหะจะชวยลดภาระดานพลังงานใหกับประเทศไทยและเกิดผลดีตอการเปนอุตสาหกรรมที่เปนมิตร<br />

ตอสิ่งแวดลอม การวิเคราะหแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาอุตสาหกรรมอโลหะ แสดงดังตารางที่ 4.5<br />

ตารางที่ 4.5 ตัวอยางแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาอุตสาหกรรมอโลหะ<br />

ระบบ อุปกรณ การจัดการพลังงาน<br />

ไฟฟา<br />

คัดแยก<br />

เผาไหม<br />

Power<br />

generation<br />

Separator<br />

Burner<br />

Cement waste heat recovery power<br />

generation<br />

(Cement plant 3,000 tons/day)<br />

High-efficiency separator (cyclone)<br />

(Cement plant 3,000 tons/day)<br />

Oxygen burner combustion system for<br />

glass melting furnace<br />

(Glass manufacture and ceramic<br />

ประมาณ การ<br />

ประหยัดพลังงาน/<br />

ป<br />

Electric saving<br />

103 million<br />

baht/y<br />

Crude oil<br />

equivalent<br />

132 tons/y<br />

Reduce 60% fuel<br />

use in melting<br />

furnace<br />

ลดการปลอย<br />

CO 2 /ป<br />

370 Mtons<br />

CO 2 /y<br />

5,7064 tons<br />

CO 2 /y<br />

N/A<br />

371


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หลอม<br />

Furnace<br />

engineering)<br />

High efficiency melting furnace and<br />

molding system for glass<br />

Enegy saving<br />

75% in melting<br />

section<br />

N/A<br />

4.5.2 การจัดการพลังงานในสาขาขนสง<br />

จากขอมูลการใชพลังงานในสาขาขนสงจําแนกตามวิธีการขนสงระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551<br />

พบวาเฉพาะวิธีการขนสงทางบกมีสัดสวนสูงถึงกวารอยละ 76 ดังนั้นแนวทางบริหารจัดการเพื่อ ลดการใช<br />

พลังงานในสาขาขนสง จึงมีความสําคัญทั้งในสวนของการลดการใชพลังงานและลดปญหามลพิษทางอากาศ ซึ่ง<br />

รวมถึงการลดการปลอยกาซเรื่อนกระจกโดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ดวย ในงานศึกษานี้มุงเนน<br />

(Focus) ไปที่การขนสงในเขตกรุงเทพฯ เนื่องจากมีชวงวาง (Gap) ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานใน<br />

สาขาขนสงไดมาก สัดสวนการเดินทางตอวันของประชากรในกรุงเทพมหานครฯ ในป พ.ศ. 2551 แสดงดังตาราง<br />

ที่ 4.6<br />

ตารางที่ 4.6 สัดสวนการเดินทางตอวันของประชากร (Daily person trip) ในเขตกรุงเทพมหานครฯ ในป<br />

พ.ศ. 2551<br />

พื้นที่ รูปแบบ<br />

กรุงเทพมหานครฯ รถยนตสวนบุคคล รถยนตสาธารณะ ระบบขนสงมวลชน<br />

สัดสวนการเดินทางตอวันของประชากร<br />

(Daily person trip)<br />

หมายเหตุ: มาก ปานกลาง ∆ นอย<br />

ที่มา : Asia-Pacific Economic Cooperation, APEC 2010.<br />

<br />

(46%)<br />

<br />

(37%)<br />

จากสัดสวนรูปแบบการเดินทางของประชากร (Daily person trip) ในเขตกรุงเทพมหานครฯ ในป พ.ศ.<br />

2551 พบวารถยนตนั่งสวนบุคคลมีสัดสวนการใชสูงสุด รองลงมาไดแก รถยนตสาธารณะ และระบบขนสงมวลชน<br />

ดังนั้นการจัดการพลังงานในสาขาขนสงที่เนนไปที่การขนสงในเขตกรุงเทพมหานครฯ จึงมีความจําเปน ที่จะตอง<br />

ลดสัดสวนการเดินทางของประชากรโดยเฉพาะรถยนตนั่งสวนบุคคลลง และเพิ่มสัดสวนการเดินทางของประชากร<br />

ดวยระบบขนสงมวลชนและรถยนตสาธารณะใหสูงขึ้น ตัวอยางแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาขนสงใน<br />

เขตกรุงเทพมหานครฯ แสดงดังตารางที่ 4.7<br />

ตารางที่ 4.7 ตัวอยางแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาขนสง (ในเขตกรุงเทพมหานครฯ)<br />

∆<br />

(3%)<br />

ประเภท<br />

รูปการเดินทางที่ประหยัดพลังงาน<br />

แนวทางการจัดการพลังงาน<br />

Modal shift to public transportation service i.e. mass rapid transit<br />

(MRT), bus rapid transit (BRT), sky train, light railway transit (LRT)<br />

and railways.<br />

372


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นโยบาย<br />

โครงสรางพื้นฐาน<br />

การสรางคานิยม<br />

Set fuel economy programmes (Original equipment manufacturers,<br />

OEMs)<br />

Incentive low fuel consumption/low pollution automobile especially<br />

use biofuels<br />

Incentive biofuels price i.e. gasohol biodiesel<br />

Networking seamless logistics systems with supply-chain<br />

management<br />

Develope rail-based infrastructure (i.e. MRT, suburb commuter rail,<br />

inter-city railways)<br />

Use public transportation network<br />

4.5.3 การจัดการพลังงานในสาขาบานอยูอาศัย<br />

การใชพลังงานเชิงพาณิชยสาขาบานอยูอาศัย ระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2551 พบวาการใชพลังงาน<br />

เชิงพาณิชยในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และนอกเขตเทศบาล มีปริมาณการใชพลังงานอยูในระดับที่ใกลเคียงกัน<br />

โดยเฉพาะกรณีการใชไฟฟา ดังนั้นแนวทางการจัดการพลังงานเพื่อลดการใชไฟฟาในสาขาบานอยูอาศัยจึงมีผลตอ<br />

การประหยัดพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจก ตัวอยางแนวทางการ จัดการพลังงานในสาขา<br />

บานอยูอาศัย แสดงดังตารางที่ 4.8<br />

ตารางที่ 4.8 ตัวอยางแนวทางการจัดการพลังงานสําหรับสาขาบานอยูอาศัย<br />

ประเภท<br />

อุปกรณเครื่องใชไฟฟาประหยัดพลังงาน<br />

พลังงานทดแทน<br />

นโยบาย<br />

ระบบนิเวศน<br />

แนวทางการจัดการพลังงาน<br />

Efficient air conditioner, Efficient lights, Efficient refrigerator, Efficient<br />

gas cooking appliances<br />

Efficiently use of sunlight i.e. installation solar water heater for<br />

government and public building<br />

Developing mandatory labels for a variety of appliances and<br />

equipments<br />

Creating financing and incentive programmes for high efficiency<br />

appliances and equipments<br />

Promotion of planting tree on private space<br />

Promotion of planting tree on public space<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

แหลงปลอยกาซเรือนกระจกที่สําคัญของประเทศไทยมาจากภาคพลังงาน กาซเรือนกระจกที่มีปริมาณการ<br />

ปลอยออกสูสิ่งแวดลอมมากที่สุด คือ กาซคารบอนไดออกไซต (CO 2 ) เมื่อวิเคราะหลงในรายสาขายอยของ ภาค<br />

พลังงานพบวา สาขาอุตสาหกรรมการผลิตมีสัดสวนการใชพลังงานสูงที่สุด รองลงมา ไดแก สาขาการขนสง และ<br />

สาขาบานอยูอาศัย การจัดการพลังงานในทั้ง 3 สาขาดังกลาวขางตน สามารถลดความตองการใชพลังงาน ของ<br />

ประเทศไทยและในขณะเดียวกันสามารถลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะการลดการปลอยกาซ เรือน<br />

กระจกที่เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการพลังงานสามารถดําเนินการไดทั้งในระดับที่ไม<br />

ตองมีการลงทุนหรือลงทุนในระดับต่ํา รวมถึงการปรับเปลี่ยนอุปกรณ เครื่องจักร และการจัดใหมีโครงสราง<br />

สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ตองใชงบประมาณในการลงทุนในระดับสูงแตสงผลดีในระดับประเทศตอการลดความ<br />

373


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตองการใชพลังงานและลดปญหาการทําลายสภาพแวดลอมซึ่งเปนการเตรียมความพรอมใหกับประเทศไทยในการ<br />

มุงสูการเปนสังคมคารบอนต่ําในอนาคต<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Asia-Pacific Economic Cooperation (2010), Peer review on energy efficiency in Thailand :<br />

Policy measures sectoral analysis commercial and residential sector. Asia-Pacific Economic<br />

Cooperation Energy Working Group.<br />

- Asia-Pacific Economic Cooperation (2010), Peer review on energy efficiency in Thailand :<br />

Policy measures sectoral analysis transport sector. Asia-Pacific Economic Cooperation Energy<br />

Working Group.<br />

- National Institute for Environmental Studies (NIES), Kyoto University, Ritsumeikan University,<br />

and Mizuho Information and Research Institute (2008), Japan Scenarios and Actions towards<br />

Low-Carbon Societies (LCSs). National Institute for Environmental Studies, Ibaraki, Japan.<br />

- New Energy Industrial and Technology Development Organization (NEDO) Japan (2008),<br />

Global Warming Countermeasures Japanese Technologies for energy Saving/GHG Emissions<br />

Reduction. 2008 Revised Edition. Kyoto Mechanisms Promotion Department New Energy<br />

Industrial and Technology Development Organization, Kanagawa, Japan.<br />

- United States Environmental Protection Agency, The U.S. Inventory of Greenhouse Gas<br />

Emissions and Sinks: Reference Tables and Conversions [Online]. Office of Atmospheric<br />

Programs, United States Environmental Protection Agency 2007. Available from:<br />

http://www.epa.gov/climatechange/emissions/ downloads/2007GHGFastFacts.pdf [2010, June<br />

29].<br />

- World Resource Institute. Thailand Analysis Compare Gases Total GHG Emissions by Gas in<br />

2005 (includes land use change) [Online]. Climate Analysis Indicator Tools, World Resource<br />

Institute 2010. Available from: http://cait.wri.org/cait.php?page=gases [2010, June 29].<br />

- World Resource Institute. Thailand Analysis Compare Sectors GHG Emissions by Sector in<br />

2005 CO 2 , CH 4 , N 2 O, PFCs, HFCs, SF 6 (includes land use change) [Online]. Climate Analysis<br />

IndicatorTools,WorldResourceInstitute2010.Availablefrom:http://cait.wri.org/cait.php?page=sect<br />

ors [2010, June 29].<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานขั้นสุดทายจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจ<br />

รายงานพลังงานของประเทศไทย พ.ศ. 2551. ศูนยสารสนเทศขอมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษ<br />

พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551.<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิตจําแนก<br />

ตามสาขายอย รายงานพลังงานของประเทศไทย พ.ศ. 2551. ศูนยสารสนเทศขอมูลพลังงานทดแทน<br />

และอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551.<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานในสาขาการขนสงจําแนกตามวิธีการ<br />

ขนสง รายงานพลังงานของประเทศไทย พ.ศ. 2551. ศูนยสารสนเทศขอมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษ<br />

พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551.<br />

374


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานเชิงพาณิชยในสาขาบานอยูอาศัย<br />

รายงานพลังงานของประเทศไทย พ.ศ. 2551. ศูนยสารสนเทศขอมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษ<br />

พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551.<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. การใชพลังงานจําแนกตามสาขาเศรษฐกิจ รายงาน<br />

พลังงาน ของประเทศไทย พ.ศ. 2551. ศูนยสารสนเทศขอมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน<br />

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551.<br />

- มหาวิทยาลัยรามคําแหง. อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ [ออนไลน].<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2550. Available from: http://www.ru.ac.th/climatechange/<br />

coop.htm#UNFCCC [2010, June 29].<br />

375


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นโยบายการสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกที่สะอาดในการผลิตไฟฟา<br />

และลดการปลอย CO 2 ในประเทศไทย<br />

Policy on Promotion of Alternative Energy Technologies for Clean Power Generation<br />

and CO 2 Mitigation in Thailand<br />

บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย 1 และ อาทิตย พัฒนพงศชัย 2<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปทุมธานี ประเทศไทย 12120<br />

E-mail address: 1 bundit@siit.tu.ac.th 2 artite_p@m-industry.go.th<br />

บทคัดยอ<br />

ภาคพลังงานในประเทศไทยใชกาซธรรมชาติและถานหินเปนเชิ้อเพลิงหลัก ประเทศไทยมีเปาหมายที่จะใช<br />

พลังงานทางเลือกใหได 20.40% ของปริมาณการใชพลังงานทั้งหมดของประเทศเพื่อลดการปลดปลอยกาซ CO 2<br />

ภายในป 2565 เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวจึงใชความไดเปรียบของประเทศไทยในดานเกษตรกรรมในการ<br />

จัดหาพลังงานทดแทนในประเทศและการผลิตไฟฟาจากพลังงานสะอาด ในการศึกษานี้ไดพิจารณาแผนพัฒนา<br />

พลังงานทดแทน Renewable Energy Development Plan (REDP) โดยการเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาจาก<br />

พลังงานทดแทนใหได 2.40% ในป 2565 โดยใชการเพิ่มการอุดหนุนทางดานการเงินประมาณ 180 ลานเหรียญ<br />

ดอลลารสหรัฐระหวางป 2551-2558 ผลการศึกษาจากกรณีการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนนี้ถูกนําไป<br />

เปรียบเทียบกับการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ติดตั้งอุปกรณดักจับและกักเก็บคารบอน CCS (Carbon<br />

Capture and Storage) และจากผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรตามแผนการพัฒนาการผลิตไฟฟาในระยะยาว<br />

การศึกษานี้ใชแบบจําลอง MARKAL (MARKet ALlocation) สําหรับใชเปนเครื่องมือวิเคราะห โดยมีเปาหมายตาม<br />

แผน REDP เพื่อใหมีการปลดปลอย CO 2 ต่ําที่สุดในตนทุนต่ําสําหรับการวางแผนพลังงานในระยะยาวในภาค<br />

พลังงาน โดยมีเปาหมายของการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนรวม 5,608 MW ในป 2565 ผลการศึกษาจาก<br />

แบบจําลอง MARKAL ไดแสดงถึงมูลคาการลงทุนรวมต่ําสุดสําหรับอุปสงคในการผลิตไฟฟา (supply system cost)<br />

ความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรในการลด CO 2 การลดคาใชจายและผลประโยชนรวม (co-benefits) จากการลดกาซ<br />

เรือนกระจก เมื่อถูกนํามาเปรียบเทียบกับกรณีที่ไมมีการอุดหนุนทางดานการเงิน<br />

คําสําคัญ MARKAL การวางแผนแบบตนทุนต่ําสุด พลังงานทดแทน ราคาสวนเพิ่ม ความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตร การดัก<br />

จับและกักเก็บคารบอน<br />

Abstract<br />

The power sector in Thailand is heavily dependent on natural gas and coal. Thailand has a large<br />

target of achievement of 20.4% alternative energy share in total energy consumption by 2022 and CO 2<br />

mitigation. The obvious answer to this challenge is to take advantage of Thailand as an agriculture-based<br />

country especially in the domestic renewable energy and clean power generation. In this study, one of the<br />

376


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

numerous applications of Renewable Energy Development Plan (REDP) strategy is represented by<br />

increasing share of electricity generation from renewable energy up to 2.40% in 2022 with upper bound of<br />

total renewable energy adder subsidy of US$ 180 million during 2008-2015. This renewable electricity<br />

generation is compared to the role of future fossil-based power plant with carbon capture and storage (CCS)<br />

and nuclear power in the long term energy planning. This study uses MARKAL-based least-cost energy<br />

system as an analytical tool. The aim of this study is to identify the REDP scenario featuring minimum CO 2<br />

emission and least-cost for long term energy planning in the power sector. The target of total electricity<br />

generation from renewable energy is 5,608 MW in 2022. Results from MARKAL modeling are presented of<br />

total supply system cost, cost effectiveness of CO 2 mitigation, the marginal mitigation cost and the<br />

co-benefits of GHG mitigation when compared to the unsubsidized case.<br />

1. Introduction<br />

Thailand’s primary energy supply in 2009 comprised 72.72% natural gas, 20.01% coal, 3.77% hydro,<br />

1.48% renewable and 0.36% oil (Thavasi and Ramakrishna, 2009). However, Thailand has proposed a renewable<br />

energy development plan (REDP) aiming to promote renewable energy at a share of 20.4% of total primary<br />

energy supply in 2022 (DEDE, 2010). Consequently, the carbon dioxide (CO 2 ) emission and others will also be<br />

reduced. Thailand also promotes and supports utilization of renewable energy and the improvement of the energy<br />

efficiency in the power sector because of the role of power sector as a major CO 2 emitter. Despite its role in<br />

economic development, the power sector in Thailand emitted 83.3 million tons of CO 2 in 2008 and up to 83.41<br />

million tons of CO 2 in 2009. The CO 2 emission from the power sector increased from 38.92% of total CO 2<br />

emission in Thailand in 2002 to 43% and 42.22% in 2008 and 2009 respectively. It is equivalent to an Average<br />

Growth Rate (AGR) of 31.28% and 31.44% of total CO 2 emission from the power sector during 2002-2008 and<br />

2002-2009 respectively while the transport sector had an AGR of 7.86% in the same time period. Per capita<br />

electricity consumption in Thailand also increased from 122 kWh/capita in year 2002 to 161 kWh/capita in year<br />

2007, which is equivalent to AGR of 20.66% DEDE (2007a, 2007b, 2007c, 2009a, 2009b, 2009c, 2010). To<br />

mitigate CO 2 emissions from the power sector, supply-side technologies can be substituted and managed to<br />

reduce electricity generation and CO 2 emissions. Thailand is the first country in Southeast Asia having an official<br />

policy to encourage electricity generation from renewable energy under small power producer (SPP) and very<br />

small power producer (VSPP) policies. The financial incentive is remarkable in both the promotion of bio-fuels and<br />

electricity generation from renewable energy.<br />

The objective of this study is to optimize the long-term energy supply and demand in Thailand with<br />

REDP, CCS and nuclear power as CO 2 mitigation options. The explanation of REDP, CCS potential and future<br />

nuclear power scenarios in Thailand are presented in the next section. The third section explains the modeling<br />

approach for the future power plant technologies in Thailand. The long-term energy planning can be evaluated<br />

using MARKAL model. The scenario descriptions are described in the next section. Finally, findings from the base<br />

case and alternative cases are presented. The reference energy system which includes primary energy supply,<br />

energy process and transformation, useful energy, and demand technologies are analyzed in the MARKAL model.<br />

Results of co-benefits, total discounted system cost, and effectiveness of CO 2 mitigation are compared to the BAU<br />

377


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

scenario. Results from MARKAL model show that clean power generation is competitive with other electricity<br />

generation technologies.<br />

2. Electricity demand and clean power generation<br />

End-use demand technologies in Thailand are represented by eight annual time periods with two diurnal<br />

(day: 6:00 am – 22:00 pm & night: 22:00 pm – 6:00 am) and four seasons (winter, summer, fall & intermediate). It<br />

can be seen that MARKAL approximates the demand profile, although provides a good fit to total electricity demand.<br />

If any demand technologies use electricity, then the model algorithm calculates the electric capacity for each of these<br />

eight time periods by aggregated demand in each period. Total day and night-time electricity demands (MWh) are<br />

averaged to calculate the capacity demand (MW) of day and night-time. In 2007, the typical seasonal average<br />

electric demand profiles in Thailand have peak demand occurring during 10.00-11.30 am, 13.30-15.30 pm, and<br />

18.00-20.30 pm. The AGR demand profile in 2007 in winter, summer, intermediate and fall seasons are 15,850,<br />

16,535, 15,956 and 17,045 MW, respectively (EGAT, 2008) (Pattanapongchai and Limmeechokchai, 2010). The<br />

peak power demand of 2009 occurred on 24 April 2009 of which the maximum power generation of the country<br />

reached 22,315.4 MW which was 78.4 MW or 0.35% higher than 2008. As of December 2009, the total capacity<br />

was 29,212 MW comprising 14,328.1 MW (49.0%) of EGAT’s power plants, 14,243.9 MW (48.8%) of domestic<br />

private power producers (IPPs and SPPs), and 640 MW (2.2%) of neighboring country power purchase as creating<br />

the regional power grid. For renewable energy technology, the learning rates of some energy-related technologies<br />

are shown in Table 1. Solar photovoltaic (PV) has undergone significant improvement. In the last five years, the<br />

technology has been growing at an average decreasing of 17.5%. The rapidly growing business has recently<br />

received the interest of several project and research activities have been intensified. In the next twenty years the<br />

learning rate would decrease to 15% (2011-2020) and 10% (2021-2030) respectively (EGAT, 2010).<br />

Table 1. Learning rates for renewable energy technologies (OECD/IEA, 2008).<br />

Power plants<br />

Cost reduction in each period<br />

2006-2010 (%) 2011-2020 (%) 2021-2030 (%)<br />

Biomass (biogas, CHP, Waste incineration) 5 5 5<br />

Geothermal 5 5 5<br />

Hydro (all scale) 1 1 1<br />

Solar PV 17.5 15 10<br />

Wind - 6.5 5<br />

378


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 1. Renewable energy potentials in Thailand.<br />

2.1 Renewable energy development plan for electricity generation<br />

Thailand is an import dependent and fossil fuels intensive country. Crude oil is the primary energy source.<br />

Diversification of energy types and sources of supply is therefore a key concern in the country. Ministry of Energy<br />

has set six key objectives; i) efficient management of energy sector and establishment of regulatory framework, ii)<br />

self energy sufficiency and enhanced energy supply, iii) promotion of energy saving and energy efficiency, iv)<br />

promotion of renewable energy and alternative energy, v) reduction of imported energy and diversification of fuel<br />

types and sources, and vi) market-based pricing structure. The targets of renewable energy are 0.76%, 1.84%<br />

and 2.26% in 2008, 2011, and 2016 of total electricity generation, respectively, and grow up to 2.4% of the total<br />

energy consumption in 2022 as shown in Figure 1. To achieve the targets, feed in tariffs for the renewable<br />

electricity production are proposed.<br />

2.2 Nuclear power plant technologies<br />

Unlike many conventional technologies currently used in an electricity generation, the nuclear power<br />

technology claims low fuel use and cost. Nuclear power plants generate electricity by converting energy released<br />

from the fission reaction at the nucleus of an atom. The heat from the nuclear fission is removed by a cooling<br />

system, and transported to another area of the plant equipped with boilers. The hot coolant is a heat source for a<br />

boiler in generating steam driving steam turbines and electrical generators. A nuclear power reactor using water<br />

(H 2 O) as a coolant and a neutron moderator is known as light water reactor (LWR), which is further categorized<br />

into boiling water reactor (BWR) and pressurized water reactor (PWR). Similarly, a nuclear power reactor using<br />

heavy water (deuterium oxide, D 2 O) as a coolant and a neutron moderator is known as heavy water reactor<br />

(HWR). However, because of a much greater risk of nuclear proliferation when utilizing the HWR, most nuclear<br />

power plants currently in operation or under construction around the world are equipped with LWR (Olander,<br />

2009). Other than LWR and HWR, a number of new designs for nuclear power reactors—e.g. Generation IV<br />

reactor, Generation V reactor, gas-cooled fast reactor, molten-salt reactor, nuclear thermal rocket, and fusion<br />

reactor—are currently the subject of active research and may be used for practical power generation in the future.<br />

The development of new reactor designs typically aims for more efficiency, cleaner and safer, and/or less risk to<br />

379


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

the nuclear proliferation. Among many new design ideas, two designs, namely fast-breeder reactor (FBR) and<br />

advanced gas-cooled reactor (AGR), have been placed on the market and are expected to be popularly utilized in<br />

the 21 st century. The FBR was designed for a capability of sustaining a nuclear chain reaction, and the AGR was<br />

designed for a better thermal efficiency. However, the electricity production from a nuclear power plant is efficient<br />

only in large scale, so it is only suitable for supplying electricity to a national grid or a large city. Furthermore,<br />

regardless of its low fuel cost, a nuclear power plant has very high capital cost and commissioning cost, which<br />

together are approximately ten times the cost of a nuclear reactor (Hengyun M. et al., 2009). An idea of<br />

constructing a nuclear power plant also never satisfies the public concern in terms of its safety; especially the risk<br />

of storing the radiation waste. This public concern is a significant barrier to the growth of nuclear power<br />

implication.<br />

In Thailand, the National Energy Policy Council (NEPC) had agreed on the principle of PDP 2007 with<br />

total installed capacity 2,000MW introducing nuclear power plants as an alternative future supply. Thereafter,<br />

NEPC appointed the Nuclear Power Infrastructure Preparation Committee (NPIPC) and its subcommittees to carry<br />

out preparatory works for nuclear power program which were reported as Nuclear Power Infrastructure<br />

Establishment Plan (NPIEP). In 2007, the Nuclear Power Program Development Office (NPPDO) was established<br />

under the Ministry of Energy to coordinate the NPIEP implementation during 2008-2010 including work plan and<br />

budget for NPPDO. In PDP 2010, considering the capacity of nuclear power plants not higher than 10% of<br />

system’s capacity, due to applicable investment plan and implementation procedures, it is concluded that the<br />

appropriate unit size of 1,000 MW entering the system shall not be more than 1 unit each year. Their<br />

commissioning schedule of nuclear power plants is as follows: Unit #1: 1,000 MW in 2020, Unit #2: 1,000 MW in<br />

2021, Unit #3: 1,000 MW in 2024, Unit #4: 1,000 MW in 2025 and Unit #5: 1,000 MW in 2028 (EGAT, 2010).<br />

2.3 CCS technologies<br />

In CCS technology, there are 3 step processes: i) CO 2 capture from power plants, industrial sources, and<br />

natural gas wells with high CO 2 content; ii) transportation via pipeline to the storage site; and iii) geological storage in<br />

deep saline formations, depleted oil/gas fields, unmineable coal seams, and enhanced oil recovery (EOR) or<br />

enhanced gas recovery (EGR) sites. In combustion processes, CO 2 can be captured either in pre-combustion mode<br />

by fossil fuel treatment or in post-combustion mode from flue gas (IEA 2006). There are three technologies and<br />

practices that have been developed for CCS; EOR and EGR, deep saline aquifer (DSA) and afforestation (AFF). In<br />

CCS, each project should be designed to meet its site specific conditions. The oil and gas industry has produced,<br />

captured, transported, and injected CO 2 for EOR for over 35 years. The experience gained over this time will prove<br />

invaluable as CCS, a technical similar process, moves forward. The CO 2 EOR experiences of the oil and gas<br />

industry represent the largest collective base of technical information available on CO 2 injection and provide valuable<br />

information for development and implementation of CCS field projects (Ordorica-Garcia, G., et al., 2009). In order to<br />

increase oil production in many reservoirs, the injection of gas for EOR has been carried out in numerous projects.<br />

ZareNezhad and Hosseinpour (2009) studied an extractive distillation technique for producing CO 2 enriched injection<br />

gas in EOR fields. Sidiq and Amin (2009) investigated mathematical model for calculation of dispersion coefficient of<br />

super critical CO 2 from the results of laboratory experiment on EGR. A promising technology for reducing<br />

anthropogenic CO 2 emissions is called geological carbon sequestration (GCS). In CCS, CO 2 is captured at large<br />

380


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

sources like coal-burning power plants and stored away from the atmosphere in deep geologic reservoirs. In this<br />

study, reservoirs called deep saline aquifers is selected since they are widely distributed and have large storage<br />

capacities for CO 2 (Szulczewski and Juanes, 2009). Daniel W. M. et al. (2004) presented costs and benefits of wood<br />

production and carbon sequestration inclusive of an opportunity cost for agricultural production values, and then<br />

determine the price of carbon that would make AFF financially attractive. The cost of capturing CO 2 depends on the<br />

type of power plant used, its overall efficiency and the energy requirements of the capturing process. The additional<br />

investment cost for capture ranges from US$ 600 to 1,700/kW. Total cost is increased by around 50% to 100% of<br />

the plant cost without CCS. CO 2 capture from combustion processes is rather expensive and energy-consuming,<br />

while CO 2 separation from natural gas wells is easier and cheaper. In 2007, typical cost of CCS ranges from US $30<br />

to 90/ton of CO 2 , depending on technology, CO 2 purity, and site. This cost includes the capture cost of US$ 20-<br />

80/ton; transport cost of US$1-10/ton per 100 kilometer; storage and monitoring cost of US$ 2-5/ton. The impact on<br />

average electricity cost is only 2-3 US cents/kWh. With advanced technology and high power plant efficiency,<br />

projected CCS cost in 2030 is around US$ 25/ton of CO 2 with impact on electricity cost of 1-2 US cents/kWh. CO 2<br />

separation cost from natural gas wells is as low as $5-15/ton of CO 2 (IEA 2006).<br />

In Thailand, most large stationary CO 2 emission sources are within 300 km from the Gulf of Thailand<br />

basin. Storage opportunities are based on off-shore area in the Pattani basin where high-CO 2 gas reservoirs<br />

present a challenge for development. The CO 2 content increases to 25% and can be higher than 60% in some<br />

cases (Schut et al. 2003). The Pattani basin is an important producer of both oil and gas with nearly all of the oil<br />

production in the northern part of the basin and most of the gas production in the southern part. The basin<br />

contains sediments up to a maximum thickness of about 10,000 meters (UNOCAL 2005). The southern basin<br />

contains thicker sediments and produces mostly gas and condensate while the northern part produces much<br />

more oil. CO 2 can be collected from clusters of large power plants and transported to storage. The depth is<br />

sufficient to store CO 2 . For the potential of storage and transportation cost, total sink port availability in deep saline<br />

aquifers for this study is 1,500 million tons of CO 2 with the starting cost of mining of 3,000 US$/thousand tons of<br />

CO 2 . The investment cost for the sink port is US$ 5,000/thousand ton with O&M cost of US$ 350 /thousand tons<br />

of CO 2 per annum. Life time of this storage technology is about 10 years. For IGCC plants, coal is converted into<br />

a hydrogen-rich syngas that is cleaned and burned in a gas turbine. Gas exhaust from the gas turbine is then<br />

used to power a steam cycle. Deep gas cleaning is needed to protect the turbines and reduce pollutants<br />

emissions. If CCS is applied, the syngas is sent to a shift reactor to convert CO to CO 2 and further hydrogen (H 2 ).<br />

The process produces highly concentrated CO 2 that is readily removabled by physical absorbents with relatively<br />

low efficiency penalties and cost. Hydrogen is then burned in a gas turbine. An alternative process with postcombustion<br />

capture uses O 2 to burn the syngas in the turbine. The CO 2 can easily be separated from the<br />

resulting flue gas. This process is expected to be cheaper than using pre-combustion CO 2 removal and H 2<br />

turbines (IEA 2006). In CCGT plants with pre-combustion CO 2 capture, natural gas is converted into H 2 and CO 2 ,<br />

H 2 is used for power generation, and CO 2 is removed for storage. Post-combustion capture in NGCC plants is<br />

more difficult than in coal plants as the CO 2 concentration in the flue gas is low (3-4%). The plant efficiency would<br />

be in the range of 48-50% (IEA 2006).<br />

381


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. Methodology<br />

3.1 Modeling approach<br />

This study uses MARKAL (MARKet ALlocation) model, a long term least-cost energy system, as an<br />

analytical tool. The planning period starts from 2007 and ends in 2030. Each year is divided into 8 time-divisions<br />

accounting for 4 seasons and day-time/night-time periods. The MARKAL model is a flexible, multi-time period, and<br />

linear programming model of a generalized energy system. The MARKAL model was originally developed by Energy<br />

Technology Systems Analysis Programme (ETSAP) (Loulou et al., 2004) (Noble, 2007). The economic sectors<br />

based on MARKAL representing the dependent energy system of each demand, were formulated, hereafter called<br />

‘‘Thailand-MARKAL model’’ (Pattanapongchai and Limmeechokchai, 2009 and 2010). The Thailand-MARKAL model<br />

portrays the entire energy system from imports, exports, and domestic production of fuel resources through fuel<br />

processing and supply, explicit representation of infrastructures, conversion to secondary energy carriers, end-use<br />

technologies and energy service demands in the agricultural, residential, commercial, transport, and industrial sectors.<br />

This study considers CO 2 , NO x , and SO 2 emissions. The current existing, future power plants can be shown in Table<br />

2. The objective function of the integrated energy system model is to minimize the total discounted system cost of<br />

energy extraction, conversion and transmission. The constraints include capacity, energy carrier balance, cumulative<br />

reserve, electricity balance, process technology capacity utilization, production capacity and electricity peaking.<br />

4. Scenario descriptions<br />

In this study four scenarios are analyzed in the long term planning; the business-as-usual (BAU)<br />

scenario nuclear (NUC) scenario, promoting renewable energy (REW) scenario and CCS scenario. Details of<br />

each scenario and selected technology are expressed as Table 2.<br />

(i)<br />

BAU scenario<br />

This scenario investigates Thailand’s energy system in the context of current trend and projection to the<br />

future. The load forecast used was prepared by Thailand’s Load Forecast Committee (EGAT, 2008). The<br />

Thailand-MARKAL model is used as a tool in analysis with PDP2007 and PDP 2010 for development of an<br />

optimum plan in the next 24 years. In the BAU scenario, the GDP growth rate is provided by the National<br />

Economic Social Development Board (NESDB). The average GDP growth rate during 2007-2011 is 5.0%. The<br />

average GDP growth rate during 2012-2016 is 5.6%, and the average GDP growth rate during 2017-2020 is<br />

5.6%. Thereafter, it is assumed that the GDP will increase at rates of 5.80%, 5.75%, 5.65%, 5.55% and 5.50%<br />

per annum during 2020-2022, 2022-2024, 2024-2026, 2026-2028 and 2028-2030, respectively. In 2006,<br />

existing biogas digesters from municipal solid waste (MSW) had total capacity of 29 MW.<br />

In 2010, the target of REDP is set to 60 MW, and is considered as a candidate power plant in the<br />

BAU scenario. In the BAU scenario, the economies of each sector are projected to undergo a moderate<br />

economic development and market-oriented transformation during 2006-2030. The technologies considered in<br />

the transport sector include gasoline, diesel, liquefied petroleum gas (LPG), jet fuel, and kerosene technologies.<br />

The maximum available stocks of a non renewable energy resource, e.g., coal, lignite, oil and natural gas,<br />

382


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 2. Selected technologies in the study.<br />

Power plant technologies/fuels<br />

Conventional fossils (24,792.8 MW) and renewable energy (4,162 MW)<br />

-Total installed capacity 28,954.8 MW, starting year 2006<br />

New biomass (domestic biomass: paddy husk, bagasse and woodchip)<br />

-Installed capacity 111 MW, starting year 2010<br />

New gas-fired CCGT (Imported LNG)<br />

-Total installed capacity 4,200 MW<br />

-Starting year 2014 (1,400 MW) and 2020 (2,800 MW)<br />

New coal-fired IGCC (Imported and domestic coal and lignite)<br />

-Installed capacity 2,100 MW, starting year 2020 (2,100 MW)<br />

Supercritical (Imported and domestic coal and lignite)<br />

-Installed capacity 700 MW, starting year 2020 (2,100 MW)<br />

New nuclear power plant (selected PWR reactor technology)<br />

-Installed capacity 5,000 MW<br />

-Starting year 2020, 2021, 2024, 2025, 2028<br />

Scenarios<br />

BAU REW CCS NUC<br />

√ √ √ √<br />

√ √ √ √<br />

√ √ √ √<br />

√ √ √ √<br />

√ √ √ √<br />

× × × √<br />

were estimated by taking the sum of three quantities, i.e., proven reserve of the resource, 50% of its probable<br />

reserve and 25% of its possible reserve. The international prices of imported oil, gas and coal are estimated to<br />

increase during 2006-2030. A discount rate of 10% per year is used in this study. All cost figures discussed in<br />

this paper are expressed in 2006 constant prices. Basic assumptions driving the energy systems such as<br />

future energy demands, domestic resources availabilities, conversion technologies and their appliances stocks<br />

in the starting year and energy prices are collected from several sources, where as emission factors used to<br />

quantify the pollutants and emissions are based on the previous data from EGAT’s Environment Division from<br />

1970 to 2008. The planning horizon of the study is 2006-2030 with given the present adders to renewable<br />

energy during 2008-2015 except solar and wind (2008-2018) (DEDE, 2010).<br />

(ii) REW scenario<br />

In the REW scenario, the maximum level of electricity generation from renewable energy was<br />

extended to 2.4% of total electricity generation as required in the REDP from total renewable energy in 2022-<br />

2030 (DEDE, 2010). This study assumed that subsidy is given to adder for renewable energy for electricity<br />

generation at the level of 2010 adder during 2008-2015 with the total subsidy of 180 million US$. All other thing<br />

is the same as in the BAU scenario.<br />

(iii)<br />

NUC scenario<br />

This scenario focuses role of nuclear power development 2020 onward following PDP. From this PDP<br />

2007 and 2010 issue, Thailand will develop nuclear power plant with maximum installed capacity of 2,000 MW<br />

and 5,000 MW respectively. All other things are the same as in the BAU scenario.<br />

383


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(iv) CCS scenario<br />

In this scenario, the role of carbon capture and storage (CCS) by keeping in the deep saline aquifer at<br />

Pattani basin in the gulf of Thailand was investigated (Pattanapongchai and Limmeechokchai, 2010). The CCS<br />

technology will attach with the future new gas-fired power plant with IGCC, CCGT and supercritical for new gas<br />

and coal-fired power. All other thing is same with the BAU scenario.<br />

5. Optimization results<br />

5.1 BAU scenario<br />

5.1.1 Primary energy supply<br />

The results indicate that the total primary energy supply used in the BAU scenario increases from<br />

6,350.5 PJ in 2006 to 39,229.1 PJ in 2030, which is equivalent to 1 Average Annual Growth Rate (AAGR) of<br />

7.59% (see Figure 2). Total useful energy increases from 2,660.6 PJ to 8,524 PJ by 2030, which is equivalent<br />

to 4.85% AAGR. The percentage of total imported fossil fuel increases from 638.1 PJ to 4,026.0 PJ or 7.67%<br />

of AAGR. In the all economic sectors, i.e. the commercial, industrial, residential, transport, and agricultural<br />

sectors, the total fuel consumption increases with AAGR of 8.08%, 5.66%, 1.73%, 3.14%, and 3.72%,<br />

respectively. In the non-energy sector, the total fuel consumption has an AAGR of 5.28%. In the future,<br />

imported coal and lignite will increase at an AAGR of 9.83 %, from 220.7 PJ in 2006 to 2,338.0 PJ in 2030.<br />

This growth rate reflects the least cost energy demand and supply for Thailand in the period of 2006-2030.<br />

_______<br />

1 Average Annual Growth Rate (AAGR) is the average increase in the value of an individual investment or portfolio<br />

over the period of a year. It is calculated by taking the arithmetic mean of the growth rate over two annual periods as<br />

following:<br />

Yb<br />

ln( )<br />

Ya<br />

AAGR(%) = × 100%<br />

P<br />

When Ya<br />

is the value in the beginning year, Yb<br />

is the value in the end year, P is the period of a year.<br />

Figure 2. Primary energy supply and useful energy during 2006-2030.<br />

384


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.1.2 Final energy consumption and power generation mix<br />

The total final energy consumption (TFC) of Thailand would grow at an AAGR of 4.19% or from 4,355.5<br />

PJ in 2006 to 11,896.4 in 2030 during the planning horizon (see Figure 3). For electricity generation, natural<br />

gas is currently the major energy resource of supply, is expected to decrease from 222.71 TWh (73.14% share<br />

in TFC) in 2006 to 526.792 TWh (60.85 % share in TFC) in 2030. The share of renewable energy, excluding<br />

small and large hydro, in the TFC would decrease from 9.261 TWh (3.04% share in TFC) to 0.058 TWh in<br />

2030 (0.01 % share in TFC). On the other hand, the share of coal and lignite would increase from 21.639 TWh<br />

(7.11% share in TFC) to 97.90 TWh in 2030 (11.31% share in TFC).<br />

5.1.3 Environmental emissions<br />

This study considered three gases emissions: CO 2 , NO x , and SO 2 . CO 2 emission of the country<br />

(electricity generation, transportation, industrial, commercial, residential, agriculture) would grow at an AAGR of<br />

6.45% during 2006-2030 (see Figure 4). Electricity generation sector have grow from 62,728.63 to 181,691.34<br />

kt of CO 2 in 2030 with an AAGR of 4.43%. Most of CO 2 emissions would increase shares over the planning<br />

horizon. Increasing use of coal, lignite, diesel and fuel oil in the power plants would significantly increase CO 2<br />

emissions. The SO 2 emission would have an AAGR of 5.43% corresponding to increasing lignite and coal<br />

consumptions in the power generation. The NO x emission would grow at an AAGR of 1.58% during the<br />

planning horizon. By 2030, the power sector would contribute 32.82% share of total CO 2 emission, followed by<br />

industrial (28.41%) and transportation (28.06%) sectors, respectively (see Table 3). The cumulative NO x , and<br />

SO 2 emissions from the power sector during 2006-2030 are 7,205, and 57,053 thousand tons, respectively.<br />

These emissions come from combine cycle gas turbine (CCGT natural gas) and gas turbine (GT diesel), oilfired<br />

(fuel oil), and coal-fired (coal and lignite) power plants.<br />

Figure 3. Power generation mix from MARKAL model.<br />

385


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 4. Total CO 2 emission in Thailand during 2006-2030 from MARKAL model.<br />

Table 3. CO 2 emission in the economic sectors (thousand tons of CO 2 ).<br />

Sectors 2010 2014 2018 2022 2026 2030<br />

Agriculture 10,830.95 12,116.11 13,665.08 15,376.04 18,113.77 26,083.83<br />

Commercial 10,840.77 15,610.7 22,479.41 32,370.35 46,613.31 67,123.17<br />

Power 80,439.74 100,951.1 121,275.9 144,433.4 171,416.4 181,691.34<br />

Industrial 48,694.42 55,278.93 66,140.41 83,198.77 112,589.6 157,271.1<br />

Residential 1,274.72 1,542.42 1,866.32 2,258.25 2,786.07 4,840.98<br />

Transport 54,184.33 60,058.55 67,100.35 74,782.2 83,903.39 94,429.96<br />

5.2 Alternative cases<br />

5.2.1 REW scenario<br />

By promoted REDP during 2008-2030 and given adders of all renewable energy technologies for 7<br />

year during 2008-2015, the share of the total renewable electricity generating is increased. Compared with the<br />

BAU, CO 2 mitigation is 2,913.65 thousand tons with abatement cost of 603.37 US$/ton during 2008-2030 (see<br />

Figure 5. To promote the REDP, incentive is needed. The electricity generation from renewable energy is<br />

estimated to increase about 9.91%. The cumulative electricity output in REW scenario is 12.76 TWh. It means<br />

that the subsidy cost for REDP is effective for the 2010 adder. Total electricity output from renewable energy<br />

increases after 2008, and then decreases after 2015.<br />

Table 4. CO 2 emission and marginal abatement cost (Thousand tons).<br />

2006 2010 2014 2018 2022 2026 2030<br />

REW (cumulative<br />

=1,594.97 million tons)<br />

68,675.71 73,018.74 88,642.03 109,158.53 137,274.96 173,483.86 222,663.16<br />

BAU (cumulative<br />

=1,597.88 million tons)<br />

68,675.71 73,046.89 88,908.14 109,554.96 137,579.95 173,769.25 222,873.87<br />

CO 2 marginal mitigation cost: REW =603.37 US$/ton<br />

386


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.2.2 NUC and CCS scenarios<br />

When nuclear power plants are introduced, the total emission of CO 2 decreases (see Figure 5) as a<br />

result of reduction in coal and natural gas used in power production. In the CCS scenario, results of the study<br />

show that power generation from renewable energy is competitive to fossil-based plants. The CO 2 marginal<br />

mitigation cost of NUC and CCS scenarios are 479.80 and 312.04 US$/ton, respectively. In the cases of nuclear<br />

power and CCS, results show decreasing imported coal and decreasing lignite consumption. Figure 6 shows SO 2<br />

and NO x , from NUC and CCS scenarios. In 2014, CO 2 is largely mitigated in the CCS scenario. There will be<br />

255.6 PJ (with the decreasing rate per year of 17.7%) of coal decreasing during 2020-2030. In 2030, CO 2<br />

emission in the NUC scenario will be lower than the BAU scenario about 57,499.04 kt of CO 2 or decreasing at a<br />

rate of 5.72 % per year. In addition, the mitigation of NO x and SO 2 from NUC scenario is 1.50% and 6.99% per<br />

annum respectively. The first integrated CCS power plant will start in 2014 and can reduce CO 2 emission about<br />

43.49 kt of CO 2 and up to 143.19 thousand of CO 2 in 2020 for 4 installed CCS plants. Unlike fossil fuel fired<br />

power plants, nuclear power plants do not discharge greenhouse gases and other pollutions.<br />

Figure 5. CO 2 emission from electricity generation.<br />

Figure 6. SO 2 and NO x emission from electricity generation.<br />

387


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.2.3 Total supply cost<br />

Total supply cost (TC) refers to the discounted system cost including net taxes and subsidies,<br />

annualized investment cost of technologies, fixed and variable operation and maintenance cost of technologies,<br />

costs of domestic resource extraction/mining, costs of export/import fuel, and material delivery costs. The<br />

increasing TC (% increasing from BAU) for each alternative scenario can be shown in Table 5. As the marginal<br />

mitigation cost result, nuclear power is cost competitive with other forms of electricity generation but lower<br />

competitive for GHG mitigation cost than attachment CCS to new future fossil power plant (see marginal<br />

mitigation cost for REW, NUC and CCS scenarios in Table 4 and Figure 5).<br />

Table 5. The increasing TC from BAU for each alternative scenario (%).<br />

Cases 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022 2024 2026 2028 2030<br />

REW 0.96 0.03 0.98 0.03 0.03 0.86 0.04 0.02 0.01 0.01 0.01 0.01<br />

CCS - - - 0.03 0.06 0.05 0.17 0.13 0.10 0.08 0.06 0.04<br />

NUC - - - - - - 3.92 6.90 9.52 11.93 10.77 8.80<br />

5.3 Co-benefits of alternative energy for clean power generation<br />

Co-benefits are the benefits from policy options implemented for various reasons at the same time. The<br />

examples of co-benefits of greenhouse gas mitigation or energy efficiency program are health, emissions,<br />

waste, production, operation and maintenance, working environment and other. This study aims at investigation<br />

of benefits from GHG mitigation and revenue from Carbon Development Mechanism (CDM) program,<br />

increasing the potential of renewable energy, and improving public image to near community by cleaner fuel<br />

use in the power sector.<br />

5.3.1 GHG emission mitigation and revenue from CDM<br />

The strategies to meet the increasing share of renewable energy are likely to have effect on the total<br />

discounted cost, total emission level and energy security of the country. The present study shows that the least<br />

cost strategy to achieve renewable and CO 2 mitigation targets will also generate benefits in forms of lower<br />

cumulative SO 2 and NO x emissions during the planning horizon. According to the CDM for biogas project, the<br />

reduction of CO 2 emissions to the atmosphere is calculated by using IPCC 2004 guideline (CDM-Meth Panel,<br />

2004). When added more mitigation options by utilizing CDM program for REDP project, the cumulative<br />

revenue from CDM during 2008-2016 is about 14,307,720 US$ (@ the price of 16.8 US$/tCO 2 or 11.34 /ton<br />

of CO 2 ) . The CO 2 mitigation is estimated to be 106.46 thousand tons of CO 2 /annum.<br />

5.3.2 Increasing the potential of renewable energy<br />

The REDP project is support the strategy of Thailand’s renewable energy and its future energy for agroindustry<br />

which aims at 2.4% of the total nationwide energy usage with a sizeable population growth. Its electricity<br />

demand continuously increases. Therefore, alternative energy is a promising alternative to fulfill the country’s<br />

future electrical needs. To raise energy security, imported fossil fuels for power sector should be decrease.<br />

388


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.3.3 Cleaner fuel use in the power sector<br />

As a result of increasing share of renewable energy, the power sector efficiency would be improved and<br />

the fossil fuels use in the power sector would be decreased as compared to that in the base case. The power<br />

sector would contribute more renewable share, which would take place through the relatively smaller diesel and<br />

coal based power generation and increased natural gas, biomass, hydro, biogas, and biomass based power<br />

generation during 2006-2030. As a result of increasing share of renewable energy like bagasse from sugar mills,<br />

paddy husk from rice mills, woodchip from wood factories, and biogas from palm oil mill, power generation from<br />

biomass, biogas, small hydro, wind, geothermal solar, and MSW would also gradually increase during 2006–2030.<br />

Moreover co-benefits give the good image to the power plant as being the environmental conservation.<br />

Furthermore, the promotion of renewable energy by higher adders and subsidies would be introduced.<br />

6. Conclusions<br />

This study has developed Thailand-MARKAL model for least-cost energy planning with renewable<br />

energy, nuclear power and CCS technology. The purpose of this model is to investigate CO 2 mitigation,<br />

revenue and subsidy for power development plan. In this study, the REDP was introduced for electricity<br />

generation in Thailand from 2008 to 2015 by given adders. Alternative scenarios with feed in tariff, nuclear<br />

power in the electricity production system and CCS technology were introduced for CO 2 mitigation. Results<br />

show that adders have a very important role in CO 2 mitigation. The power production from renewable energy<br />

under SPP is the effective instrument in promoting renewable energy. This study also shows that renewable<br />

energy is competitive under present adders. Adder policy allow number of co-benefits to be achieved at the<br />

same time like strengthening energy security of the country by reducing imported fossil fuels and promoting<br />

indigenous renewable energy resources, competitive energy prices for sustained economic growth and<br />

reducing GHG. In terms of revenue from CDM, the renewable energy has numerous co-benefits more than<br />

nuclear and CCS projects which both cannot participate. The total subsidy is about $2,156.20 million by adders<br />

during 2008-2015. From this study, if the feed in tariff from REDP project continues, it requires $2,155.80<br />

million subsidy during 2016-2030. The target of 2.4% of electricity from renewable energy will meet the<br />

country’s target. It is recommended that costs of carbon credit for renewable energy should be reviewed and<br />

studied because the present prices of CERs are not effective for promoting renewable energy in Thailand.<br />

Finally, promotion of alternative energy for clean power generation must have financial incentives and<br />

mechanism.<br />

7. Acknowledgments<br />

The authors gratefully thank Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat<br />

University for providing facilities. Deep thanks are due to Federal Ministry for the Environment, Natural<br />

Conservation and Nuclear Safety, Germany for providing TREE (Transfer Renewable Energy & Efficiency).<br />

Numerous appreciations are due to ESTAP support team for MARKAL model. Many thanks also to the Joint<br />

389


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Graduate School of Energy and Environment (JGSEE), King Mongkut’s University of Technology Thonburi<br />

(KMUTT) for financial support.<br />

8. References<br />

- CDM–Meth Panel (2004), Approved baseline methodology AM00XX (Forced methane<br />

extraction from organic waste-water treatment plants for grid-connected electricity supply,<br />

UNFCCC/CCNUCC, Available from: http://cdm.unfccc.int/Panels/meth/meeting/04/Meth11_<br />

AM00XX_based_NM0039.pdf.<br />

- Daniel, W.M. et al. (2004), Cost estimates for carbon sequestration from fast growing poplar<br />

plantations in Canada, Forest Policy and Economics, 6(3-4), 345-358.<br />

- DEDE (2007a), Thailand Energy Situation 2006, Department of Alternative Energy<br />

Development and Efficiency, Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2007b), Electric situation in Thailand 2006, Department of Alternative Energy<br />

Development and Efficiency Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2007c), Oil situation in Thailand 2006, Department of Alternative Energy Development<br />

and Efficiency Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2009a), Thailand Energy Situation 2006, Department of Alternative Energy<br />

Development and Efficiency, Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2009b), Electric situation in Thailand 2006, Department of Alternative Energy<br />

Development and Efficiency Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2009c), Oil situation in Thailand 2006, Department of Alternative Energy Development<br />

and Efficiency Ministry of Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- DEDE (2010), Thailand’s Renewable Energy and its Energy Future: Opportunities and<br />

Challenges, Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Ministry of<br />

Energy, Bangkok, Thailand.<br />

- EGAT (2008), Thailand power development plan 2007 (Rev 2), System planning division,<br />

Electricity Generating Authority of Thailand Bangkok, Thailand.<br />

- EGAT (2010), Thailand power development plan 2010 (Draft), System planning division,<br />

Electricity Generating Authority of Thailand Bangkok, Thailand.<br />

- Hengyun, M. et al. (2009), Substitution possibilities and determinants of energy intensity for<br />

China, Energy Policy, In Press, Corrected Proof, Available online 26 February 2009.<br />

- IEA (2006), International Energy Agency, CO 2 capture and storage, Available from:<br />

https://www.iea.org/techno/essentials1.pdf [Accessed 24 May 2009].<br />

- Loulou, R., Goldstein, G. and Noble, K. (2004), Documentation for the MARKAL family of<br />

models, Paris, France: IEA/OECD.<br />

- Noble, K. (2007), ANSWER-MARKAL user manual, Noble-soft systems Pty Ltd, NSW,<br />

Australia.<br />

- OECD/IEA (2006), International Energy Agency, Power generation cost assumption, Available<br />

from:<br />

390


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

www.iea.org/weo/docs/weo2008/WEO_2008_Power_Generation_Cost_Assumptions.pdf [20<br />

May 2009].<br />

- Olander, D. (2009), Nuclear fuels–present and future, Journal of Nuclear Materials, In Press,<br />

Accepted Manuscript, Available online 29 January 2009.<br />

- Ordorica-Garcia, G., et al., 2009, Optimizing energy production with integrated CCS<br />

technology for CO 2 emissions mitigation in the Canadian oil sands industry, Energy<br />

Procedia, 1(1), 3985-3992.<br />

- Pattanapongchai, A. and Limmeechokchai, B. (2009), Comparison of the future power plants<br />

competitiveness in Thailand utilizing MARKAL model, In Proceedings of ICROS-SICE<br />

International Joint Conference 2009, 18-21 August 2009. Fukuoka. Japan. 4949-4954.<br />

- Pattanapongchai, A., Limmeechokchai, B. (2010), CO 2 mitigation model of future power<br />

plants with integrated carbon capture and storage in Thailand, Nuclear & Renewable Energy<br />

Conference (INREC), 2010 1st International, pp. 1-6.<br />

- Schut, P. et al. (2003), Marginal Oil Developed in a BIG Way-A Case Study of the<br />

Development of Oil Reserves in the Pattani Basin, SPE Asia Pacific Oil and Gas Conference<br />

and Exhibition, Jakarta, Indonesia.<br />

- Sidiq, H., and Amin, R. (2009), Mathematical model for calculating the dispersion coefficient<br />

of super critical CO 2 from the results of laboratory experiments on enhanced gas recovery,<br />

Journal of Natural Gas Science and Engineering, 1(6), 177-182.<br />

- Szulczewski, M. and Juanes, R. (2009), A simple but rigorous model for calculating CO 2<br />

storage capacity in deep saline aquifers at the basin scale, Energy Procedia, 1(1), 3307-<br />

3314.<br />

- Thavasi, V. and Ramakrishna, S. (2009), Asia energy mixes from socio-economic and<br />

environmental perspectives. Energy Policy 37, 4240-4250.<br />

- UNOCAL (2005), Asia: The future of natural gas, 2004 annual report,<br />

[printed on 22/08/2009].<br />

- ZareNezhad, B., and Hosseinpour, N. (2009), An extractive distillation technique for<br />

producing CO 2 enriched injection gas in enhanced oil recovery (EOR) fields, Energy<br />

Conversion and Management, 50(6), 1491-1496.<br />

391


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เทคโนโลยีพลังงานเพื่อโรงพยาบาลสีเขียว<br />

Green Energy for Green Hospital<br />

วิทยา ยงเจริญ 1 และ มะลิ จันทรสุนทร 2<br />

1 ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330<br />

2 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เลขที่ 111 อุทยานวิทยาศาสตร<br />

ประเทศไทย ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120<br />

บทคัดยอ<br />

จากภาวะวิกฤติพลังงานที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนื่อง สถานประกอบการทุกแหงยอมไดรับผลกระทบ<br />

และจําเปนตองตระหนักถึงปญหาดังกลาวรวมกัน โรงพยาบาลก็เปนหนึ่งในสถานประกอบการที่ไมสามารถหลีกเลี่ยง<br />

ผลกระทบนี้ได โรงพยาบาลแตละระดับมีอัตราการใชพลังงานที่แตกตางกัน ยิ่งหากเปนโรงพยาบาลขนาดใหญแลวยอม<br />

มีการใชพลังงานในอัตราที่สูงและหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่เปนสาเหตุของวิกฤติพลังงานและภาวะโลก<br />

รอน บทบาทสําคัญของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) คือ การพัฒนาวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยีใหเกิดประโยชนกับประเทศอยางสูงสุด และใหสามารถผลักดันเทคโนโลยีที่พัฒนาไดไปสูการใชงานไดอยาง<br />

กวางขวาง ทั้งในเชิงวิชาการ พาณิชย และสาธารณะประโยชน ซึ่งเทคโนโลยีที่ สวทช. รวมกับนักวิจัยใน<br />

สถาบันการศึกษาตางๆ ไดพัฒนาขึ้นจะนํามาใชสําหรับเปนตนแบบใหกับโรงพยาบาลตางๆ โดยเริ่มจาก<br />

โรงพยาบาลปทุมธานีเปนแหงแรก โดยเทคโนโลยีที่กลาวถึงประกอบดวย<br />

1.เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในกระบวนการผลิตดวยเทคโนโลยีการนําความรอน<br />

เหลือทิ้งจากเครื่องทําน้ําเย็นกลับมาใชใหมในโรงพยาบาล<br />

2.เทคโนโลยีการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานระบบไอน้ําดวยการติดตั้งอุปกรณอุนน้ําปอนดวย<br />

ความรอนปลอยทิ้งจากหมอไอน้ํา<br />

3. เทคโนโลยีการนําความรอนทิ้งกลับมาใชใหม โดยการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานของเตาเผา<br />

มูลฝอยติดเชื้อที่นําแกสปลอยทิ้งมาอุนอากาศเผาไหม<br />

4.เทคโนโลยีระบบผลิตความรอนพลังงานแสงอาทิตยดวยแผงทําน้ํารอนพลังงานแสงอาทิตยจากวัสดุโพลิ<br />

เมอรอุณหภูมิต่ํา เพื่ออุนน้ําปอนเขาหมอตมน้ําในโรงพยาบาล<br />

เปาหมายของเทคโนโลยีพลังงานดังกลาวจะทําใหไดตนแบบเทคโนโลยี สําหรับจัดการพลังงานใน<br />

โรงพยาบาล ใหเปนโรงพยาบาลสีเขียวที่มีการใชพลังงานอยางคุมคา ลดการปลอยกาซ CO 2 และสรางจิตสํานึก<br />

อีกทั้งจุดประกายการขยายผลใหกับโรงพยาบาลหรือสถานประกอบการอื่นๆ ไดตอไป<br />

คําสําคัญ : เทคโนโลยีพลังงาน โรงพยาบาลสีเขียว<br />

392


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

In the present time, energy crisis is sudden and continuous. Every establishment is got this<br />

impact which they could be concerned that problem together. Hospitals are the ones that cannot avoid<br />

this impact. Each of levels in every hospitals , the small and the large scales, have the different energy<br />

ratio, especially in the large scale, hospitals naturally use energy for high ratio and various activities,<br />

these are the important factors of energy crisis and global warming.<br />

National Science and Technology Development Agency (NSTDA) have the essential functions<br />

which are developing science and technology for more useful in order to expand around country,<br />

moreover, they should push the prototypes into academic, public and commercialized. The prototypes that<br />

the NSTDA or University researcher are developed can be used for every hospitals beginning from<br />

Pathumtani hospital, the first one, that technology is:<br />

1. Technology for energy increasing in product processes from technology recovering waste heat<br />

from a chiller for a hospital<br />

2. Technology improvement of energy efficiency in steam system by installing feed water<br />

preheating equipment (economizer)<br />

3. Improvement of energy efficiency in biomedical incinerators by pre-heating combustion air with<br />

exhaust gases.<br />

4. Polymeric solar collector prototype for boiler pre-heat application.<br />

Target of all about technologies above will be made prototypes for energy management in hospital<br />

in order to develop to green hospital to be worthwhile, reduce greenhouse gas, CO 2 , raise awareness,<br />

and extend results to other hospitals establishing from focus of interest to the point beyond.<br />

1. ความสําคัญ<br />

[1]<br />

ประเทศไทยและหลายประเทศทั่วโลก กําลังประสบปญหาวิกฤตพลังงานและปญหาสิ่งแวดลอม<br />

อันเนื่องมาจากการใชพลังงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศไทยตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ และมี<br />

การนําเขาพลังงานสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ในป 2550 ประเทศไทยนําเขาพลังงานมูลคาเกือบ 9 แสนลานบาท ซึ่ง<br />

สวนใหญเปนน้ํามันดิบกวา 7 แสนลานบาท กาซธรรมชาติ 7.89 หมื่นลานบาท ถานหิน 2.97 หมื่นลานบาท และ<br />

ไฟฟา 7.4 พันลานบาท คิดเปนมูลคาการนําเขาพลังงานตอมูลคาการนําเขาสินคารวม รอยละ 18 ดานการใช<br />

พลังงานของประเทศไทยในป 2550 พบวา มูลคาการใชพลังงานขั้นสุดทายของประเทศสูงถึง1.5 ลานลานบาท<br />

ขณะที่อัตราการเพิ่มของ GDP เทากับรอยละ 4.8 คิดเปนการใชพลังงานขั้นสุดทายตอ GDP เทากับ 15.6 ตัน<br />

เทียบเทาน้ํามันดิบตอลานบาท ซึ่งแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาพรวมของประเทศยังอยูใน<br />

ระดับต่ําเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว นอกจากนี้ ภาคพลังงานยังเปนสาเหตุสําคัญอันดับหนึ่งในการปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน ความเปนไปไดในการลดปริมาณกาซเรือนกระจกมี 2 วิธีหลัก คือ การ<br />

หลีกเลี่ยงการปลอยกาซเรือนกระจก ไดแก การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน การใชเชื้อเพลิงสะอาด เปนตน<br />

และการเพิ่มการดูดซับกาซเรือนกระจกในบรรยากาศ ในป 2565 ประเทศไทยมีนโนบายใชพลังงานทดแทนเปน<br />

รอยละ 20 ของการใชพลังงานขั้นสุดทาย ดังนั้นการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนเครื่องมือสําคัญในการ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน และการมุงเนนการนําและใชเชื้อเพลิงสะอาดในสัดสวนที่สูงขึ้นดังกลาวขางตน [2]<br />

393


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เทคโนโลยีพลังงานเพื่อโรงพยาบาลสีเขียวบทความนี้จึงประสงคจะนําเสนอเทคโนโลยีที่ครอบคลุมเกี่ยวกับความ<br />

รอนและความเย็น ซึ่งหมายถึง ศักยภาพการประหยัดพลังงาน จากความรอนปลอยทิ้งที่อุณหภูมิตางๆ การ<br />

ปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานของเตาเผามูลฝอยติดเชื้อโดยการนําแกสปลอยทิ้งมาอุนอากาศเผาไหม การ<br />

ใชพลังงานระบบไอน้ําดวยการติดตั้งอุปกรณอุนน้ําปอนดวยความรอนปลอยทิ้งจากหมอไอน้ํา และระบบผลิตน้ํา<br />

รอนพลังงานแสงอาทิตย ทุกเทคโนโลยีขางตนไดทําการศึกษาวิจัยในโรงพยาบาลปทุมธานี ซึ่งเปนหนวยงานที่มี<br />

ความตระหนักในการลดการใชพลังงาน และการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในโรงพยาบาลที่มีการใชพลังงานอยาง<br />

คุมคา และเปาหมายของเทคโนโลยีพลังงานดังกลาวจะทําใหไดตนแบบเทคโนโลยี สําหรับจัดการพลังงานใน<br />

โรงพยาบาลใหเปนโรงพยาบาลสีเขียวที่มีการใชพลังงานอยางคุมคา ลดการปลอยกาซ CO 2 และสรางจิตสํานึกอีก<br />

ทั้งจุดประกายการขยายผลใหกับโรงพยาบาลหรือสถานประกอบการอื่นๆ ไดตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อนําเสนอผลการศึกษาวิจัยดานเทคโนโลยีพลังงานของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

แหงชาติ ในการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อตอบโจทยดานการแกไขปญหาพลังงานดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

ขอบเขตการนําเสนอเฉพาะโรงพยาบาลปทุมธานี โดยเปนการรวบรวมเทคโนโลยีพลังงานสําหรับจัดการพลังงาน<br />

ในโรงพยาบาลใหเปนโรงพยาบาลสีเขียวที่มีการใชพลังงานอยางคุมคาลดการปลอยกาซ CO 2 และสรางจิตสํานึก<br />

อีกทั้งจุดประกายการขยายผลใหกับโรงพยาบาลหรือสถานประกอบการอื่นๆ ไดตอไป<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

บทความนี้ศึกษาโดยการรวบรวมการวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีพลังงานที่มีการศึกษาวิจัยในโรงพยาบาล<br />

ปทุมธานี ที่สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ใหการสนับสนุน โดยนําผลการศึกษา<br />

จากเอกสารตางๆที่เกี่ยวของ มาสรุปภาพรวมของการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในการจัดการพลังงาน<br />

ของโรงพยาบาลอยางเปนระบบ<br />

4. ผลการศึกษา [3]<br />

1) ขอมูลทั่วไปของโรงพยาบาลปทุมธานี<br />

จัดไดวาเปนโรงพยาบาลขนาดใหญ มีเตียงผูปวยจํานวน 377 เตียง มีพื้นที่ทั้งหมด 25 ไร ผูปวยนอก<br />

เฉลี่ยวันละ 1,326 คน และผูปวยในเฉลี่ยเดือนละ 2,183 คน มีพื้นที่ใชสอย ประกอบดวย อาคารรักษาพยาบาล<br />

จํานวน 7 อาคาร มีพื้นที่รวม 20,667 ตร.ม อาคารสนับสนุนงานบริการ จํานวน 6 อาคาร มีพื้นที่รวม 2,809 ตร.ม<br />

2) ขอมูลดานการใชพลังงานของจังหวัดปทุมธานี<br />

พบวามีหมอแปลงไฟฟา ขนาด 1,000 KVA, 500 KVA และ 160 KVA จํานวนอยางละ 1 เครื่อง และ<br />

ขนาด 800 KVA จํานวน 2 เครื่อง และมีเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบเครื่องยนตดีเซล ขนาด 125 Kw, 250 Kw, 500<br />

Kw จํานวนอยางละ 1 เครื่อง<br />

2.1) คาดัชนีการใชไฟฟา<br />

- คาดัชนีการใชไฟฟา 510.428 MJ/เตียง-วัน<br />

- คาดัชนีการใชพลังงานความรอน 1.208 MJ/เตียง-วัน<br />

- คาดัชนีการใชพลังงานรวม 511.636 MJ/เตียง-วัน<br />

394


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2.2) ปริมาณการใชไฟฟาจําแนกรายอาคาร ป 2550-2551 และป 2551-2552 แสดงในรูปที่ 1 และ 2<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

เตาเผาขยะ<br />

บําบัดน้ําเสีย<br />

เภสัชกรรม<br />

หองประชุมอาคารเภสัชกรรม<br />

เฉลิมพระเกียรติ<br />

บุณฑริก<br />

100 ป<br />

อาคาร 4<br />

50<br />

50<br />

50<br />

50<br />

50<br />

50<br />

รูปที่ 1 ปริมาณการใชไฟฟาจําแนกรายอาคาร ป 2550<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

- ก.ก.ป 2550ป02550<br />

มค. กพ. มีค. เมย.<br />

ข. ป<br />

พค.<br />

2551<br />

มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.<br />

รูปที่ 1 ปริมาณการใชไฟฟาจําแนกรายอาคาร ป 2550-2551<br />

รูปที่ 2 ปริมาณการใชไฟฟาจําแนกรายอาคาร ป 2551<br />

เตาเผาขยะ<br />

บําบัดน้ําเสีย<br />

เภสัชกรรม<br />

หองประชุมอาคารเภสัชกรรม<br />

เฉลิมพระเกียรติ<br />

บุณฑริก<br />

100 ป<br />

อาคาร 4<br />

2.3) ปริมาณการใชน้ําในโรงพยาบาล<br />

(1) ปริมาณความตองการน้ําดื่มของโรงพยาบาลปทุมธานีแสดงในตารางที่ 1และ2<br />

จากขอมูลดานการความตองการน้ําดื่มของโรงพยาบาลปทุมธานี พบวา โดยรวมมีความตองการน้ําดื่ม<br />

1,271 ลิตรตอวัน โดยเฉพาะอาคารเวชศาสตรฟนฟูตองการน้ําดื่มมากที่สุด ประมาณ 48.78% ของทุกๆ อาคารใน<br />

โรงพยาบาลฯ รองลงมาคือ อาคารพิเศษ 4 และอาคารบุณฑริก ตามลําดับ<br />

(2) ปริมาณความตองการน้ําใชของโรงพยาบาลปทุมธานี<br />

ความตองการน้ําใชสําหรับกิจกรรมในโรงพยาบาลปทุมธานี พบวา ปริมาณน้ําใชโดยรวม 68,397 ลิตรตอวัน<br />

โดยอาคารเวชศาสตรฟนฟูมีความตองการน้ําใชมากที่สุด คือ วันละ 67,550 ลิตร หรือคิดเปน 98.76% ของอาคารอื่นๆ<br />

ที่มีความตองการน้ําใช รองลงมาเปนอาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีนครินทร และอาคารพิเศษ 4 ตามลําดับ<br />

395


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3) ผลการศึกษาเทคโนโลยีพลังงานในโรงพยาบาลปทุมธานี<br />

3.1) เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในกระบวนการผลิตดวยเทคโนโลยีการนําความรอน<br />

เหลือทิ้งจากเครื่องทําน้ําเย็นกลับมาใชในโรงพยาบาล [4]<br />

ความรอนของระบบทําความเย็นจะทําการศึกษาจากขอมูลบางสวนจากการเก็บขอมูลและตรวจวัด<br />

ภาคสนามจากโรงพยาบาลตนแบบ จากนั้นจะทําการออกแบบระบบนําความรอนเหลือทิ้งที่จะนําไปใชกับระบบหมอ<br />

ไอน้ําหรือใชเปนระบบผลิตน้ํารอนโดยตรง และศึกษาผลกระทบของระบบนําความรอนเหลือทิ้งที่มีตอแบบจําลองที่<br />

สรางขึ้นเพื่อนําผลดังกลาวกลับไปปรับปรุงการออกแบบระบบนําความรอนเหลือทิ้งอีกครั้ง ผลลัพธที่ไดก็จะสามารถ<br />

นําระบบนําความรอนเหลือทิ้งดังกลาวไปประยุกตใชจริงกับโรงพยาบาลตนแบบตอไป นอกจากนี้แลวยังสามารถนํา<br />

แบบจําลองดังกลาวไปขยายผลเพื่อนําไปใชกับโรงพยาบาลแหงอื่นเพื่อเปนแนวทางในการออกแบบและตัดสินใจ<br />

กอนการติดตั้งเพื่อใชงานจริงตอไป<br />

ตารางที่ 1 ปริมาณความตองการน้ําดื่มของโรงพยาบาลปทุมธานี<br />

อาคาร<br />

ประเภทอาคาร<br />

อุณหภูมิน้ํา<br />

( o C)<br />

ปริมาณ<br />

(ลิตร)<br />

ความตองการน้ํารอน(น้ําดื่ม)<br />

ชวงเวลา<br />

อุณหภูมิ<br />

น้ํา( o C)<br />

ปริมาณ<br />

(ลิตร)<br />

ชวงเวลา<br />

บุณฑริก หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 72 08.30-12.00 100 c 77 13.00-16.30<br />

100ป สมเด็จ<br />

พระศรีนครินทร<br />

หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 54 08.30-12.00 100 c 82 13.00-16.30<br />

พิเศษ 4 หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 75 08.30-12.00 100 c 100 13.00-16.30<br />

กุมารเวชฯ หอผูปวย 2 ชั้น 20 08.30-12.00 100 c 20 13.00-16.30<br />

เฉลิมพระเกียรติ** รักษาพยาบาล 4<br />

ชั้น<br />

อาคารเภสัชกรรม<br />

สนับสนุนงาน<br />

บริการ 4 ชั้น<br />

เวชศาสตรฟนฟู สนับสนุนงาน<br />

บริการ 5 ชั้น<br />

100 c 35 08.30-12.00 100 c 48 13.00-16.30<br />

100 c 23 08.30-12.00 100 c 7 13.00-16.30<br />

100 c 205 08.30-12.00 100 c 415 13.00-16.30<br />

ทรัพย-สังเวียน อุบัติเหตุ 100 c 18 08.30-12.30 100 c 20 13.00-16.30<br />

ผู ปวยนอก 8 ชั้น ผูปวยนอกและ<br />

สํานักงาน<br />

NA NA - NA NA -<br />

รวมทั้งสิ้น 502 769<br />

396


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณความตองการน้ําใชของโรงพยาบาลปทุมธานี<br />

ลําดับ อาคาร ประเภท<br />

ความตองการน้ํารอน(น้ําใช)<br />

อาคาร อุณหภูมิ ปริมาณ ชวงเวลา อุณหภูมิน้ํา ปริมาณ ชวงเวลา<br />

น้ํา ( o C) (ลิตร)<br />

( o C) (ลิตร)<br />

1 บุณฑริก หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 67 08.30-<br />

12.00<br />

100 c 67 13.00-<br />

16.30<br />

2 100ป<br />

สมเด็จ พระ<br />

หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 111 08.30-<br />

12.00<br />

100 c 82 13.00-<br />

16.30<br />

ศรีนครินทร<br />

3 พิเศษ 4 หอผูปวย 5 ชั้น* 100 c 105 08.30-<br />

12.00<br />

100 c 100 13.00-<br />

16.30<br />

4 กุมารเวชฯ หอผูปวย 2 ชั้น 0 0 - 37-38 135 13.00-<br />

14.00<br />

5 เฉลิมพระ<br />

เกียรติ<br />

6 อาคารเภสัช<br />

กรรม<br />

7 เวชศาสตร<br />

ฟนฟู<br />

8 ทรัพย-<br />

สังเวียน<br />

9 ผูปวยนอก<br />

8 ชั้น<br />

รักษาพยาบาล<br />

4 ชั้น<br />

100 c 67 08.30-<br />

12.00<br />

100 c 63 13.00-<br />

16.30<br />

สนับสนุนงาน<br />

บริการ 4 ชั้น<br />

สนับสนุนงาน 100 c 33,550 08.30- 100 c 34,000 13.00-<br />

บริการ 5 ชั้น<br />

12.00<br />

16.30<br />

อุบัติเหตุ 100 c 08.30- 100 c 50 13.00-<br />

12.30<br />

16.30<br />

ผูปวยนอกและ NA NA - NA NA -<br />

สํานักงาน<br />

รวมทั้งสิ้น 33,900 34,497<br />

อาคารประเภทโรงพยาบาลจะมีลักษณะการใชงานที่ตางกัน เนื่องจากมีการบริการตลอด 24 ชั่วโมง มีทั้ง<br />

ความตองการพลังงานความรอนและความเย็นแบบตอเนื่อง รวมทั้งระบบทําความเย็นที่ใชในการปรับอากาศยังเปน<br />

ระบบรวมศูนย ซึ่งจะสามารถรวมระบบนําความรอนเหลือทิ้งใหอยูที่จุดเดียว โดยทั่วไปแลวพลังงานความรอนที่ตอง<br />

ใชในโรงพยาบาลนั้นจะใชในการผลิตน้ํารอนเสียเปนสวนมาก หากความรอนที่ไดจากระบบทําความเย็นมีปริมาณ<br />

เพียงพอสําหรับการผลิตน้ํารอนที่มีอุณหภูมิตามตองการ ดังนั้นลักษณะของระบบนําความรอนเหลือทิ้งกลับมาใชจะ<br />

เปนการผลิตน้ํารอนโดยตรงจากระบบทําความเย็นซึ่งมีลักษณะดังรูปที่ 3<br />

จากรูปที่ 3 heat recovery unit นั้นจะทําหนาที่เปรียบเสมือนเปนเครื่องควบแนน (condenser) เครื่อง<br />

หนึ่งของระบบทําความเย็นทั้งนี้ตัว heat recovery unit นั้นจะทําหนาที่แลกเปลี่ยนความรอนระหวางสารทําความ<br />

เย็นและน้ําซึ่งจะแปรสภาพกลายไปเปนน้ํารอนเมื่อผาน heat recovery unit ไปแลว โดยทั่วไป heat recovery unit<br />

จะเปน heat exchanger แบบ shell-and-tube ซึ่งมีสารทําความเย็นกลั่นตัวทางดาน shell ในขณะที่น้ําเย็นจะไหล<br />

เขาทางดานทอเพื่อทําการแลกเปลี่ยนความรอนจนกลายเปนน้ํารอนดังที่แสดงในรูปที่ 3 อนึ่งเนื่องจากความ<br />

ตองการที่จะใชน้ํารอนกับความรอนการความเย็นจากการปรับอากาศอาจจะไมไดอยูในชวงเวลาเดียวกัน หาก<br />

ความตองการน้ํารอนมีคาต่ําจะสงผลใหเครื่องทําความเย็นจะไมสามารถระบายความรอนไดเพียงพอ ดังนั้นจึง<br />

397


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Hot Water<br />

Supply<br />

Hot Water<br />

Return<br />

Hot Water<br />

Storage<br />

Hot Water<br />

Pump<br />

Heat Recovery Unit<br />

Expansion<br />

Valve<br />

Vapor-Compression<br />

Refrigeration Cycle<br />

Compressor<br />

Input<br />

Power<br />

Evaporator<br />

Cooling Load<br />

Refrigerated<br />

Space<br />

รูปที่ 3 ระบบนําความรอนเหลือทิ้งกลับมาใชโดยนําไปผลิตน้ํารอนโดยตรง<br />

จําเปนจะตองคงเครื่องควบแนนเดิมของระบบทําความเย็นไว และทําการติดตั้ง heat recovery unit เพิ่มเติมเขาไป<br />

จะทําใหระบบทําความเย็นสามารถทํางานไดเหมือนเดิม โดยเปาหมายเพื่อสรางแบบจําลองกระบวนการนําความ<br />

รอนเหลือทิ้งจากเครื่องทําความเย็นกลับมาใช และการออกแบบระบบนําความรอนเหลือทิ้งจากเครื่องทําความเย็น<br />

เพื่อนําไปใชในการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานความรอนในโรงพยาบาล<br />

ในการประเมินเบื้องตนดานเศรษฐศาสตร กรณีระบบนําความรอนเหลือทิ้งกลับมาใชผลิตน้ํารอนโดยตรง<br />

ซึ่งการใชงานจะเปนน้ํารอนที่อุณหภูมิต่ําอยูที่ประมาณ 40-50 o C ซึ่งใชในงานทําความสะอาดรางกายผูปวยหรือ<br />

ทารกแรกคลอด น้ํารอนที่อุณหภูมิดังกลาวสามารถผลิตไดโดยตรงจาก heat recovery unit ของเครื่องทํา น้ํา<br />

เย็น พบวา อัตราทําความเย็นพิกัดของเครื่องทําน้ําเย็น 284.6 kW อัตราทําความเย็นที่ทําไดโดยประมาณ 142.3<br />

kW กําลังไฟฟาที่ใชที่ compressor 45.9 kW อัตราความรอนเหลือทิ้งที่ condenser 174.4 kW ประสิทธิภาพของ<br />

ตัว heat recovery unit และระบบขนสง 70% และอัตราความรอนที่ไดเพื่อใชในการทําน้ํารอน 122.1 kW หรือ<br />

10,550 MJ/day<br />

3.2) เทคโนโลยีการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานระบบไอน้ําดวยการติดตั้งอุปกรณอุนน้ําปอนดวย<br />

ความรอนปลอยทิ้งจากหมอไอน้ํา [5]<br />

อุปกรณอุนน้ําปอนเปนอุปกรณที่เปนที่รูจักกันบางและมีใชกันนอยมาก เนื่องจากการใชอุปกรณอุนน้ําจะ<br />

ทําใหอุณหภูมิของกาซต่ําลงอาจจะถึงจุดที่ทําใหไอกรดในกาซเสียกลั่นตัวเปนของเหลวแลวทําใหโลหะที่ทําอุปกรณ<br />

อุนน้ําผุกรอนได การออกแบบการทํางานของกระบวนการถายเทความรอนมิใหเกิดการกลั่นตัวของกรด หากแกไข<br />

ปญหานี้ไดจะมีการนําอุปกรณอุนน้ําไปใชประโยชนไดอยางแพรหลายทั้งในอาคารและอุตสาหกรรม ดังนั้น<br />

การศึกษาที่ครบวงจรตั้งแตการเก็บขอมูลการทํางานเดิม การออกแบบอุปกรณอุนอากาศขนาดสําหรับติดตั้งใชงาน<br />

จริง การสรางและติดตั้งใชงานพรอมทั้งเก็บขอมูลประเมินผลกระทบจากการทํางานจริง ทั้งในแงของการใชพลังงาน<br />

และผลตอสิ่งแวดลอม ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อขยายผลไปใชในหมอไอน้ําอื่นๆ ที่ใชงานอยู เนื่องจาก<br />

โรงพยาบาลมีความจําเปนตองใชไอน้ําในการใหความรอนแกการฆาเชื้อของอุปกรณ การซักลาง การอบแหง และ<br />

398


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อื่นๆ ไอน้ําเหลานี้ไดจากหมอไอน้ําที่ใชเชื้อเพลิงน้ํามันดีเซลซึ่งมีราคาสูง ไอน้ําไดจากน้ําปอนที่ไดรับความรอนจาก<br />

การเผาไหมของเชื้อเพลิง หากไดน้ําปอนที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นก็จะใชพลังงานจากเชื้อเพลิงนอยลง หมอไอน้ําเมื่อมีการ<br />

เผาไหมซึ่งใชเชื้อเพลิงและอากาศจะใหความรอนผานพื้นที่ถายเทความรอนของหมอไอน้ํา ความรอนสวนหนึ่งที่ยัง<br />

ใชไมหมดก็จะทิ้งไปผานกาซเสียรอนออกทางปลอง ความรอนของกาซเสียที่ทิ้งผานปลองขึ้นอยูกับองคประกอบคือ<br />

การออกแบบของหมอไอน้ําใหมีพื้นที่ผิวถายเทความรอนเหมาะสมเพียงใด ขึ้นอยูกับการใชงานของหมอไอน้ํา<br />

กลาวคือการรักษาความสะอาดของผิวถายเทความรอน หากผิวถายเทความรอนสะอาดมากความรอนจะถายเทไดดี<br />

ความรอนปลอยทิ้งก็มีไมมากเกินไป นอกจากนี้ความรอนที่ปลอยทิ้งทางปลองยังขึ้นอยูกับการใชงานของหมอไอน้ํา<br />

อีกดวย กลาวคือการรักษาระดับของอัตราสวนของอากาศตอเชื้อเพลิงใหเหมาะสมเพียงใด หากใชอากาศนอย<br />

เกินไปจะทําใหการเผาไหมไมสมบูรณ แตถาใชอากาศมากเกินไปจะทําใหอากาศสวนเกินนี้พาความรอนปลอยทิ้ง<br />

ผานปลองมากขึ้น การนําความรอนในกาซเสียจากปลองมาใชประโยชนไดดีนั้นตองพยายามทําใหประสิทธิภาพการ<br />

ใชหมอไอน้ําดีขึ้นกอนเพื่อลดการสูญเสียตางๆ ใหนอยลง โดยพิจารณาจากออกซิเจนในกาซเสียไมเกินรอยละ 5<br />

อุณหภูมิกาซเสียสูงไมเกินอุณหภูมิไอน้ํา +60 o C ในกรณีที่ผลิตไอน้ําที่ 7 บาร(เกจ) จะมีอุณหภูมิไอน้ํา 170 o C<br />

อุณหภูมิของกาซเสียไมควรเกิน 230 o C ปริมาณ CO ไมควรเกิน 250 พีพีเอ็ม อัตราสวนการผลิตไอน้ําตอเชื้อเพลิง<br />

อยูประมาณ 13-14 กิโลกรัมไอน้ําตอกิโลกรัมเชื้อเพลิง การนําความรอนจากกาซเสียมาใชประโยชนแสดงในรูปที่ 4<br />

คาดวาอุณหภูมิกาซเสียจะลดลงจาก 230 o C ลงเหลือ 150 o C เมื่อนําความรอนจํานวนนี้มาอุนน้ําปอนจะทําใหน้ํา<br />

ปอนมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 30 o C เปน 60 o C จะสามารถประหยัดพลังงานของเชื้อเพลิงลงไดประมาณ 5%<br />

ระบบตามรูปที่ 4 ประกอบดวย Economizer เปนอุปกรณอุนน้ําดวยกาซเสียปลอยทิ้งจากหมอไอน้ํา Water<br />

Heater 1 เปนอุปกรณถายเทความรอนจากน้ํารอนที่ออกจากอีโคโนไมเซอรไปยังน้ําที่เขาอีโคโนไมเซอร เพื่อให<br />

อุณหภูมิของพอที่ไมใหไอกรดกลั่นตัว Water Heater 2 เปนอุปกรณอุนน้ําใหรอนดวยไอน้ําในชวงเริ่มตน หรือเสริม<br />

ความรอนใหน้ํามีอุณหภูมิสูงมากพอ และอุปกรณประกอบอื่นๆ Heat Exchanger ทั้งสามตัวทําดวยวัสดุ Stainless<br />

Steel 318 เพื่อทนตอการกัดกรอนของกรด<br />

Stack<br />

100-110 0 C<br />

Steam<br />

Economizer<br />

Condensate<br />

Makeup<br />

Water<br />

Boiler<br />

Water Heat 2<br />

130-140 0 C<br />

Water Heater 1<br />

Condensate Tank<br />

Valve<br />

Valve<br />

Valve<br />

Valve<br />

Valve<br />

Trap<br />

Pump<br />

Feed Water Preheating System Diagram<br />

รูปที่ 4 ระบบอุนน้ําปอนสําหรับหมอไอน้ํา<br />

399


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.3) เทคโนโลยีการนําความรอนทิ้งกลับมาใชใหม โดยการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานของ<br />

เตาเผามูลฝอยติดเชื้อโดยการนําแกสปลอยทิ้งมาอุนอากาศเผาไหม [6]<br />

อุปกรณอุนอากาศเปนอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนที่เปนที่รูจักกันเปนอยางดีและมีใชกันอยางแพรหลาย<br />

ในทางอุตสาหกรรม เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ ก็มีการติดตั้งใชงานมากพอสมควรและนับวันจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก<br />

ความเขมงวดของกฎระเบียบเกี่ยวกับการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ และความตื่นตัวตอความจําเปนในการรักษา<br />

สิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม ยังไมปรากฏวา มีเตาเผามูลฝอยติดเชื้อที่ใชงานในโรงพยาบาลใดมีการนําความรอน<br />

ปลอยทิ้งกลับมาใชประโยชน และยังไมมีการศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงอยางเปนรูปธรรม การศึกษาที่ครบวงจร<br />

ตั้งแตการเก็บขอมูลการทํางานเดิม การออกแบบอุปกรณอุนอากาศขนาดสําหรับติดตั้งใชงานจริง การสรางและ<br />

ติดตั้งใชงานพรอมทั้งเก็บขอมูลประเมินผลกระทบจากการทํางานจริง ทั้งในแงของการใชพลังงานและผลตอ<br />

สิ่งแวดลอม ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อขยายผลไปใชในเตาเผามูลฝอยติดเชื้ออื่นๆ ที่ใชงานอยู เพื่อไมใหอุปกรณ<br />

อุนอากาศมีขนาดใหญเกินไป และ ราคาสูงเกินไป โครงการวิจัยนี้ จึงกําหนดประสิทธิผลของอุปกรณอุนอากาศ<br />

ดังแสดงในรูปที่ 5 ที่ 40% หรือใหอุนอากาศจนไดอุณหภูมิประมาณ 400 o C จะสามารถลดการใชพลังงานลง<br />

ไดประมาณ 22%<br />

อุปกรณแลกเปลี่ยน<br />

ความรอน<br />

Hot combustion<br />

air<br />

แกสรอนปลอย<br />

ทิ้งสูบรรยากาศ<br />

o<br />

Temperature = 600 C<br />

Cold Combustion<br />

air<br />

Fuel<br />

หองเผาไหมที่<br />

o2<br />

Temperature = 1000 C<br />

Combustion<br />

air<br />

Fuel<br />

ปอนขยะเขา<br />

หองเผาไหมที่ 1<br />

o<br />

Temperature = 800 C<br />

ขี้เถา<br />

รูปที่ 5 แผนภาพการติดตั้งอุปกรณอุนอากาศ<br />

400


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.4) เทคโนโลยีระบบผลิตความรอนพลังงานแสงอาทิตยดวยแผงทําน้ํารอนพลังงานแสงอาทิตยจากวัสดุโพ<br />

ลิเมอรอุณหภูมิต่ําเพื่ออุนน้ําปอนเขาหมอตมน้ําในโรงพยาบาล [7]<br />

ในอดีตมีการใชโลหะเพื่อที่จะมาทําเปนแผงการดูดซับพลังงานความรอนเพื่อที่จะสงผานพลังงานความ<br />

รอนสูน้ํา เพื่อที่จะไปกักเก็บในถังน้ํารอนแลวนําความรอนดังกลาวใชตอไป สําหรับการใชโลหะเปนแผงสําหรับ<br />

ดูดซับและสงผานความรอนนั้นเหมาะกับการใชงานที่ตองการความรอนที่สูง ซึ่งแผงดูดซับความรอนดังกลาวนั้นมี<br />

ขอเสียคือมีราคาที่แพง ยากตอการติดตั้ง และมีน้ําหนักมาก ดังนั้นสําหรับการใชงานที่ไมตองการความรอนที่สูง<br />

มากจึงไดมีการพัฒนาวัสดุจากพอลิเมอรเพื่อมาทดแทนการใชโลหะ ซึ่งการใชพอลิเมอรเพื่อมาทําแผงดูดซับความ<br />

รอนนั้นมีขอดีกวาการใชโลหะดังนี้คือ มีราคาที่ถูกกวา สามารถออกแบบแผงดูดซับความรอนไดหลายรูปแบบ และ<br />

สามารถบูรณาการรูปแบบเหลานั้นเขากับโครงสรางที่ใชกักเก็บความรอน (collector structure) เนื่องจากความงาย<br />

ในการขึ้นรูป การวิจัยนี้จึงจะทําการออกแบบ และสรางตนแบบ solar thermal heat system สําหรับใชงานใน<br />

โรงพยาบาลปทุมธานี การออกแบบและสรางตนแบบจะคํานึงถึงความสมดุลระหวางประสิทธิภาพ และราคาของ<br />

แผงดูดซับความรอนจากพลังงานแสงอาทิตย ในชวงระยะเวลาใชงานที่เหมาะสมและยอมรับได โดยทั่วไประบบกัก<br />

เก็บพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยนั้นประกอบดวยตัวดูดซับความรอน ทอ ขอตอ ปมน้ํา และถังกักเก็บน้ํารอน<br />

ซึ่งโดยปกติ อุณหภูมิของน้ําที่ไดจากระบบกักเก็บความรอนจากพลังงานแสงอาทิตยที่นํามาใชงานนั้นมีอุณหภูมิสูง<br />

ถึง 90 o C ซึ่งอุณหภูมิใชงานที่สูงดังกลาวนั้นสงผลใหเกิดการกักเก็บความรอนในตัวพอลิเมอรที่นํามาใชทําตัว<br />

ดูดซับความรอน โดยเฉพาะในขณะที่ไมมีการไหลผานของน้ํา ซึ่งอุณหภูมิดังกลาวนั้นสูงถึง 200 o C<br />

ดังนั้นการเลือกใชวัสดุพอลิเมอรเพื่อมาทําแผงดูดซับความรอนนั้นจึงมีความสําคัญมากตองคํานึงถึง<br />

ทางดานโครงสรางและความทนทาน เชนความสามารถในการทนทานตอแรงดันน้ํา และทางสมบัติทางดานการใช<br />

งาน เชนคุณสมบัติในการสงผานพลังงานความรอนเปนตน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จะทําการพัฒนาโดยการเลือกวัสดุ<br />

พอลิเมอรที่มีความเหมาะสมจากกรอบทางดานโครงสราง ความทนทาน และสมบัติทางดานการใชงานขางตน<br />

รวมกับการออกแบบระบบระบบกักเก็บความรอนจากพลังงานแสงอาทิตย เชนการออกแบบระบบดังกลาวที่<br />

เหมาะสมโดยการใช computer simulation การเลือกวัสดุที่มีคาการนําความรอนที่พอเหมาะสําหรับกําเนิดความ<br />

รอน ที่ตองการ สามารถรับแรง และทนทานตอการใชงานไดในชวงระยะเวลาที่เหมาะสม รวมถึงสามารถขึ้นรูป<br />

ตางๆ ไดตามที่ไดออกแบบไว<br />

การสรางตนแบบ จะใชประโยชนจากแบบจําลองและใชวิธีจําลอง (simulation) ชวยในการออกแบบแผง<br />

ทําน้ํารอนใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเปนการลดคาใชจายในสวนของการลองผิดลองถูกขณะที่อยูใน<br />

กระบวนการขึ้นรูป แบบจําลองสามารถหาคาอุณหภูมิของน้ําที่เพิ่มขึ้น ความดันที่ลดลง และอัตราการไหลของน้ําที่<br />

เหมาะสม ซึ่งคาเหลานี้มีความสําคัญสําหรับขณะใชงานจริง โดยเปรียบเทียบกันระหวางรูปแบบตางๆ ของแผงทํา<br />

น้ํารอนที่ออกแบบมาในเบื้องตน รวมทั้งพิจารณาจากความหนาของผนัง และพื้นที่ผิวของแผงที่รับแสงอาทิตย เพื่อ<br />

พิจารณาแบบที่ดีที่สุด นอกจากนี้แบบจําลองยังชวยในการตรวจสอบรูปแบบการไหลของน้ําในแผงทําน้ํารอน รวม<br />

ไปถึงการคัดเลือกวัสดุเพื่อใชทําแผงทําน้ํารอนอีกดวย<br />

การสรางแบบจําลองจะใชวิธีวิเคราะหแบบไฟไนตอีเลเมนท (finite element analysis) โดยเริ่มจาก<br />

ออกแบบรูปแบบของแผงทําน้ํารอน และใชซอฟแวรประเภท computational fluid dynamic คํานวณสภาพ การ<br />

ไหล และคาตางๆ ขางตนในแผงทําความรอนที่เขียนขึ้น โดยกําหนดใหแผงทําน้ํารอนเปนวัตถุดํา (black body)<br />

รับความรอนจากแสงอาทิตย และมีการสูญเสียความรอนจากผิวนอก ผานการพาความรอน และการแผรังสี<br />

ความรอนที่เหลือจะถูกถายเทดวยการนําความรอนผานวัสดุที่ใชทําแผง และสงผานเพื่อไปใหความรอนกับน้ําที่ไหล<br />

อยูในชองของแผง แผนภาพการถายเทความรอนของแผงทําน้ํารอนพลังแสงอาทิตย การศึกษาจะทําใหไดตนแบบ<br />

แผงทําน้ํารอนพลังแสงอาทิตยอุณหภูมิต่ํา ตนทุนต่ําจากวัสดุพอลิเมอร (Polymers) หรือวัสดุผสม (Composites)<br />

401


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขนาดแผง 1 x 2 ตร.ม. ที่ใชสําหรับอุนน้ําปอนหมอตมน้ําในโรงพยาบาลใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากเดิมอยางนอย 15-<br />

20 องศาเซลเซียสกอนเขาหมอตมไอน้ําของโรงพยาบาล<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

เทคโนโลยีที่ สวทช. รวมกับนักวิจัยในสถาบันการศึกษาตางๆ ไดพัฒนาขึ้นจะนํามาใชสําหรับเปนตนแบบ<br />

ใหกับโรงพยาบาลตางๆ โดยเริ่มจากโรงพยาบาลปทุมธานีเปนแหงแรก ประกอบดวย<br />

1. เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในกระบวนการผลิตดวยเทคโนโลยีการนําความรอน<br />

เหลือทิ้งจากเครื่องทําน้ําเย็นกลับมาใชใหมในโรงพยาบาล จากการศึกษา heat recovery unit ของเครื่องทําน้ําเย็น<br />

ทําใหทราบถึงอัตราทําความเย็นพิกัดของเครื่องทําน้ําเย็น 284.6 kW อัตราทําความเย็นที่ทําไดโดยประมาณ 142.3<br />

kW กําลังไฟฟาที่ใชที่ compressor 45.9 kW อัตราความรอนเหลือทิ้งที่ condenser 174.4 kW ประสิทธิภาพของ<br />

ตัว heat recovery unit และระบบขนสง 70% และอัตราความรอนที่ไดเพื่อใชในการทําน้ํารอน 122.1 kW หรือ<br />

10,550 MJ/day<br />

2. เทคโนโลยีการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานระบบไอน้ําดวยการติดตั้งอุปกรณอุนน้ําปอนดวย<br />

ความรอนปลอยทิ้งจากหมอไอน้ํา ไดผลการศึกษาโดยสรุป คือ ในการติดตั้งอุปกรณอุนน้ํา เงื่อนไข คือ ออกซิเจน<br />

ในกาซเสียไมควรเกินรอยละ 5 อุณหภูมิกาซเสียสูงไมควรเกินอุณหภูมิไอน้ํา +60 o C ในกรณีที่ผลิตไอน้ําที่ 7 บาร<br />

(เกจ) จะมีอุณหภูมิไอน้ํา 170 o C อุณหภูมิของกาซเสียไมควรเกิน 230 o C ปริมาณ CO ไมควรเกิน 250 พีพีเอ็ม<br />

อัตราสวนการผลิตไอน้ําตอเชื้อเพลิงอยูประมาณ 13-14 กิโลกรัมไอน้ําตอกิโลกรัมเชื้อเพลิง การนําความรอนจาก<br />

กาซเสียมาใชประโยชนคาดวาอุณหภูมิกาซเสียจะลดลงจาก 230 o C ลงเหลือ 150 o C เมื่อนําความรอนจํานวนนี้มา<br />

อุนน้ําปอนจะทําใหน้ําปอนมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 30 o C เปน 60 o C จะสามารถประหยัดพลังงานของเชื้อเพลิงลงได<br />

ประมาณ 5%<br />

3. เทคโนโลยีการนําความรอนทิ้งกลับมาใชใหม โดยการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานของเตาเผา<br />

ขยะ พบวา Economizer ที่พัฒนาไดเปนอุปกรณอุนอากาศดวยกาซเสียปลอยทิ้งจากเตาเผาขยะ โดยกําหนด<br />

ประสิทธิผลของอุปกรณอุนอากาศที่ 40% หรือใหอุนอากาศจนไดอุณหภูมิประมาณ 400 o C จะสามารถลดการใช<br />

พลังงานลงไดประมาณ 22%<br />

4. เทคโนโลยีระบบผลิตความรอนพลังงานแสงอาทิตยดวยแผงทําน้ํารอนพลังงานแสงอาทิตยจากวัสดุ<br />

โพลิเมอรอุณหภูมิต่ําเพื่ออุนน้ําปอนเขาหมอตมน้ําในโรงพยาบาล ไดตนแบบแผงทําน้ํารอนพลังแสงอาทิตย<br />

อุณหภูมิต่ําตนทุนต่ําจากวัสดุพอลิเมอร (Polymers) หรือวัสดุผสม (Composites) ขนาด 1 x 2 ตร.ม. ที่ใชสําหรับ<br />

อุนน้ําปอนหมอตมน้ําในโรงพยาบาลใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากเดิมอยางนอย 15-20 องศาเซลเซียสกอนเขาหมอไอน้ํา<br />

ของ โรงพยาบาล<br />

เปาหมายของเทคโนโลยีพลังงานดังกลาวจะทําใหไดตนแบบเทคโนโลยีสําหรับจัดการพลังงานใน<br />

โรงพยาบาลใหเปนโรงพยาบาลสีเขียวที่มีการใชพลังงานอยางคุมคา และลดการใชพลังงานไฟฟาของโรงพยาบาล<br />

ทั้งคาดัชนีการใชไฟฟาและพลังงานความรอน ไดสวนหนึ่ง ลดการปลอยกาซ CO 2 และสรางจิตสํานึก อีกทั้งจุด<br />

ประกายการขยายผลใหกับโรงพยาบาลหรือสถานประกอบการอื่นๆ ไดตอไป<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

[1] นโยบายพลังงานของประเทศ (นโยบายที่ 3) www.energy.go.th/moen/ActivityDetail.aspx?id=284<br />

[2] การประชุม 11 th national forum “การพัฒนาที่ยืดหยุนและยั่งยืน” ศูนยประชุมอิมแพค เมือง<br />

ทองธานี 9-12 มีนาคม 2553. กรุงเทพมหานคร. 2553.<br />

402


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[3] โรงพยาบาลปทุมธานี. รายงานการวิเคราะหประสิทธิภาพการใชพลังงานจากขอมูล บพอ.1<br />

ของอาคารควบคุม ป 2550. ปทุมธานี. 2552<br />

[4] จิตติน แตงเที่ยง. โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานโดยการนําความรอนเหลือ<br />

ทิ้งจากเครื่องทําน้ําเย็นกลับมาใชในโรงพยาบาล ระยะที่ 1: การศึกษาเบื้องตนและออกแบบ.<br />

กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2552.<br />

[5] มิ่งศักดิ์ ตั้งตระกูลและคณะ. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานระบบไอน้ํา ดวย<br />

อุปกรณอุนน้ําปอนดวยความรอนจากหมอไอน้ํา. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

2552<br />

[6] พงษธร จรัญญากรณและคณะ. การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานของเตาเผามูลฝอย<br />

ติดเชื้อโดยการนําแกสปลอยทิ้งมาอุนอากาศเผาไหม. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย. 2552<br />

[7] วารุณี อริยะวิริยะนันท และคณะ. โครงการพัฒนาตนแบบแผงทําน้ํารอนพลังแสงอาทิตย<br />

อุณหภูมิต่ําเพื่ออุนน้ําปอนเขาหมอตมน้ําในโรงพยาบาล. ปทุมธานี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช<br />

มงคลธัญบุรี. 2552.<br />

403


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สังคมเศรษฐกิจพอเพียงกับการลดการปลอยกาซเรือนกระจก: กรณีศึกษาชุมชนบานเปร็ดใน<br />

จ.ตราด<br />

Sufficiency Economy and Greenhouse Gas Reduction: Case Study on Baan Pred-Nai,<br />

Trad Province<br />

ศุภิกา วานิชชัง 1 , ยุวดี คาดการณไกล 2 , บัณฑูร เศรษฐศิโรตม<br />

3 และ สิรินทรเทพ เตาประยูร 1,4<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลขที่ 239 ต.สุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม 50200<br />

3 สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม เลขที่ 8/16 ถ.กรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร กทม. 10200<br />

4<br />

โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการลดกาซเรือนกระจกของสังคมเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชสังคมบานเปร็ดใน เปนกรณีศึกษา<br />

เนื่องจากเปร็ดในเปนชุมชนที่เขาขายเปนสังคมเศรษฐกิจพอเพียง โดยการศึกษาจะสํารวจและประเมินกิจกรรมหลัก<br />

ในสังคมเศรษฐกิจพอเพียงที่มีความเชื่อมโยงและเขาขายสนับสนุนการลดการปลอยกาซเรือนกระจก พรอมประเมิน<br />

ความสามารถในการลดปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมดังกลาว<br />

จากการศึกษาพบวา มี 2 กิจกรรมหลักที่สามารถเชื่อมโยงกับการประเมินการลดการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกไดชัดเจน ไดแก 1) กิจกรรมการรักษาการกัดเซาะชายฝง แบงเปน 2 สวนคือ การปลูกปา และการวางเตา<br />

ยาง ซึ่งเปนภูมิปญญาที่ชวยลดการกัดเซาะชายฝงทะเล กิจกรรมดังกลาวนี้ ชวยเพิ่มพื้นที่ปาปลูกใหม และปาพื้นฟู<br />

ไดประมาณ 102 และ 321 ไร ตามลําดับ และคิดเปนปริมาณคารบอนไดออกไซดดูดกลับได 1205.06 ตัน CO 2 ตอ<br />

ป หรือ 2.039 ตัน CO 2 ตอคนตอป 2) การผลิตถานชุมชน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อการจัดการกับเศษไมตางๆจากการ<br />

ทําไร ทําสวน โดยอาศัยเทคโนโลยีทองถิ่น จากการสํารวจพบวาใชเศษวัสดุเหลือใช 53.76 ตันตอป ผลิตถานไมได<br />

16.1 ตันตอป โดยกิจกรรมดังกลาวนี้ สามารถลดการใชแกสหุงตมได 10 ตันตอป และลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ได 30.26 ตันCO 2 ตอป หรือ 0.051 ตันCO 2 ตอคนตอป นั่นคือชุมชนเปร็ดใน ซึ่งเปนสังคมเศรษฐกิจพอเพียง<br />

สามารถหลีกเลี่ยงการปลอยกาซเรือนกระจกไดทั้งสิ้น 2.09 ตันCO 2 ตอคนตอป ผลพลอยไดจากการผลิตถานชุมชน<br />

คือ น้ําสมควันไม ซึ่งใชปราบศัตรูพืชได อยางไรก็ตามนอกจากกิจกรรมหลัก ยังมีกิจกรรมทางออมที่สงเสริม การ<br />

ลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกดวยเชนกัน<br />

สังคมเศรษฐกิจพอเพียงนอกจากจะชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกแลว ยังเปนสังคมที่มีศักยภาพที่จะ<br />

ตอสูกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได เพราะเปนสังคมที่เนนการพึ่งพาตัวเอง<br />

404


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คําสําคัญ: โครงการการพัฒนาตัวชี้วัดการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการลดปญหาโลกรอนภายใต<br />

แนวคิดภูมิปญญาตะวันออก บานเปร็ดใน จ.ตราด การปลดปลอยกาซเรือนกระจก<br />

Abstract<br />

Baan Pred-Nai, sufficiency economy, was selected for a case study in the greenhouse gases<br />

reduction study. This study was observation and evaluation the greenhouse gases reduction activities<br />

from Bann Pred-Nai community. Moreover, the study also calculates the amount of greenhouse reduction<br />

from these activities. There are 2 main activities on greenhouse gases reduction in Bann Pred-Nai: 1) the<br />

coast conservation; consist of 2 activities which are reforestation and drop the tire dice at the coastline for<br />

decreasing the shore erosion 2) the charcoal production from lumber in orchard management. For coast<br />

conservation, the area of new forest and reforest are 102 rai and 321 rai respectively. The amounts of<br />

greenhouse gases removal are 1205.06 TonCO 2 /yr or 2.039 Ton CO 2 /head/yr by the increasing of forest<br />

area. In addition, the charcoal production, approximately 16.1 Ton/yr, was burning from lumber 53.76<br />

Ton/yr by local technology. Therefore, the avoided CO 2 from charcoal was calculated to 30.26 TonCO 2 /yr<br />

or 0.051 TonCO 2 /head/yr. In conclusion the total avoided CO 2 emission was approximately 2.09<br />

TonCO 2 /head/yr. In the charcoal production, moreover, there is some wood vinegar which is used as<br />

organic herbicide. However, these 2 activities are not all for greenhouse gases reduction. The indirect<br />

activities that lead to reducing greenhouse gases emission, which is not count.<br />

The sufficiency economy will be support on greenhouse gases reduction society. The economy<br />

has high capacity to adaptation on the climate change because this society is concerning base on selfreliant<br />

for sustainability, moderation and broad-based development.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนปญหาสําคัญที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และการใชชีวิตของ<br />

มนุษย ที่หลายฝายพยายามรวมมือกันเพื่อหามาตรการในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกซึ่งเปนสาเหตุสําคัญ<br />

ของปญหาดังกลาว กลไกที่เกิดขึ้นโดยมากเปนการใชเทคโนโลยีตางๆเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก เทคโนโลยี<br />

การประหยัดพลังงานและการใชพลังงานทดแทน แตอยางไรก็ตามการใชเทคโนโลยีอยางเดียวคงไมเพียงพอที่จะลด<br />

ปญหาดังกลาวได จึงควรพัฒนาควบคูไปกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดํารงชีวิต โดยอาศัยหลักการของสังคม<br />

เศรษฐกิจพอเพียง ที่มุงเนนใหมนุษยอยูรวมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดอยางเกื้อกูลกัน และการเปลี่ยนวิถีการ<br />

ผลิตและบริโภค ซึ่งอาจเปนทางออกสําหรับการลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในมิติสิ่งแวดลอมนั้น คือการทําใหมนุษยอยูรวมกับธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอมไดอยางเกื้อกูลกัน และเนน “ภูมิสังคม” ที่คํานึงถึงการพัฒนาบนพื้นฐานความแตกตางของความ<br />

หลากหลายทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรมตามสภาพแวดลอมของพื้นที่และวิถีชีวิตชุมชนและสังคม โดยสามารถ<br />

วิเคราะหระดับความสําเร็จของการกาวเขาสูการเปนเศรษฐกิจพอเพียงไว 3 ระดับดวยกัน 1) เขาขาย เปนระดับที่มี<br />

ลักษณะสําคัญในแงการใช “วิธีการ” เพื่อเกิดการสราง “ภูมิคุมกัน” ในการใชชีวิต 2) เขาใจ ในระดับนี้ มุงเนนให<br />

ความสําคัญตอ “วิธีคิด” เรื่อง “ความพอประมาณ” 3) เขาถึง เปนระดับที่ผานการปฏิบัติเปนประจําจากพื้นฐาน<br />

405


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ความเขาใจจนกลายเปน “วิถีชีวิต” โดยสามารถบงชี้ระดับดังกลาวดวย 8 ตัวชี้วัด และแตละตัวชี้วัดมีความ<br />

สอดคลองในแตละระดับของการเปนเศรษฐกิจพอเพียง[1]<br />

อยางไรก็ตาม แมจะเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาแนวคิดที่วาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและการ<br />

บริโภค อาจเปนหนทางหนึ่งในการลดปญหาโลกรอน แตเนื่องจากในกรณีของประเทศยังไมเคยมีการศึกษาในเชิง<br />

ประจักษวาการปรับเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะสามารถชวยลดการปลอยคารบอนไดมากนอยเพียงใด จึงเปนเรื่องที่<br />

นาสนใจที่จะศึกษาดูวาหากมีการปฏิบัติจริงโดยเฉพาะในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่<br />

ไดประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปนพื้นฐานสําคัญนั้น จะชวยลดปญหาโลกรอนไดหรือไม และมากนอย<br />

เพียงใด กรณีกลุมสัจจะออมทรัพย บานเปร็ดใน จังหวัดตราด ซึ่งมีวิถีการผลิตและการบริโภคตามปรัชญาเศรษฐกิจ<br />

พอเพียง และเนนการอยูรวมกับธรรมชาติอยางสมดุลบนฐานการพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพ จึงถูกเลือกใช<br />

เปนกรณีศึกษา เพื่อแสดงใหเห็นวาการนําหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใชสําหรับแกไขปญหาโลกรอน สามารถลด<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกไดจริงหรือไม ซึ่งอาจจะนําไปสูการพัฒนาทางเลือกของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดลอมที่ใชปรัชญาความพอเพียง เพื่อการแกไขปญหาโลกรอนโลกตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาการปลอยกาซเรือนกระจกของสังคมที่มีวิถีชีวิตความเปนอยูที่ยึดตามแบบปรัชญาเศรษฐกิจ<br />

พอเพียง<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การศึกษาการลดกาซเรือนกระจกของสังคมเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชสังคมบานเปร็ดใน เปน<br />

กรณีศึกษานี้ จะแบงการศึกษาออกเปน 2 สวนดังนี้<br />

3.1 ประเมินระดับการกาวเขาสูสังคมเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะทําการประเมินระดับการเปนสังคม<br />

เศรษฐกิจพอเพียงของบานเปร็ดใน วาอยูในระดับใด โดยอาศัยตัวชี้วัด 8 ตัวชี้วัด [1] ดังนี้<br />

ระดับที่ 1 เขาขาย (การมีภูมิคุมกันในตัวเอง) ประกอบดวย<br />

ตัวชี้วัดที่ 1 มีกิจกรรมของชุมชนในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ<br />

ตัวชี้วัดที่ 2 มีกฎของชุมชนเพื่อการใชประโยชนและเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร<br />

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เชน ปาไม ประมง แหลงน้ํา ที่ดินสาธารณะ<br />

ฯลฯ)<br />

ตัวชี้วัดที่ 3 มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการสรางเครือขาย<br />

ตัวชี้วัดที่ 4 มีการสรางความตระหนักระหวางสมาชิกในชุมชนเพื่อการอนุรักษ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

ระดับที่ 2 เขาใจ (การมีภูมิคุมกันในตัวเอง+การมีความพอประมาณ) ประกอบดวย<br />

ตัวชี้วัดที่ 1-4<br />

ตัวชี้วัดที่ 5 มีการประยุกตใชนวัตกรรมและภูมิปญญาทองถิ่น<br />

ตัวชี้วัดที่ 6 มีแนวทางปฏิบัติที่มองอยางองครวมในการบริหารจัดการ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เชน ความเชื่อมโยงระหวางกองทุน<br />

ชุมชน, การอนุรักษปาชายเลน และการทองเที่ยวเชิงนิเวศ)<br />

406


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตัวชี้วัดที่ 7 มีการตระหนักถึงความสามารถในการรองรับของสิ่งแวดลอมและความ<br />

สมดุลดานนิเวศ (เชน จํากัดขนาดฟารมเพื่อเติมเต็มความตองการ<br />

พื้นฐาน)<br />

ระดับที่ 3 เขาถึง (การมีภูมิคุมกันในตัวเอง+การมีความพอประมาณ + ความมี) ประกอบดวย<br />

ตัวชี้วัดที่ 1-7<br />

ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับวิถีชีวิตใหสอดคลองกับธรรมชาติ (เชน ปาชุมชน, การใชแนว<br />

ทางการผลิตที่ยั่งยืน เชน วนเกษตร, เกษตรอินทรีย) ลดการให<br />

ความสําคัญตอผลตอบแทนระยะสั้น และมีการบริโภคอยางยั่งยืน<br />

3.2 การวิเคราะหคารบอน จากกิจกรรมของสังคมบานเปร็ดใน<br />

ศึกษาขอมูลกิจกรรมดวยการสัมภาษณและคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกจากกิจกรรม โดยการคํานวณ<br />

อางอิงจากวิธีการคํานวณของ 1996 IPCC Revised Guildline for National Greenhouse Gas Inventory จาก<br />

การศึกษาเบื้องตน เพื่อประมวลกิจกรรมของชุมชนภายใตการนําเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชและมีความ<br />

เชื่อมโยงกับการปลอยกาซเรือนกระจก สามารถสรุปได 2 กลุมกิจกรรมดังนี้<br />

1) กิจกรรมการรักษาการกัดเซาะชายฝงโดยการวางเตายางและการปลูกปา<br />

การวางเตายางเปนกิจกรรมที่ชุมชนใชในการแกไขปญหาการปองกันการกัดเซาะชายฝงบริเวณปาชาย<br />

เลน สวนการปลูกปาชายเลน เปนการปลูกปาเสริมในพื้นที่เสื่อมโทรมคิดเปนพื้นที่ 102 ไร การศึกษากิจกรรมนี้<br />

เปนการตรวจสอบการปองกันการกัดเซาะโดยการวางเตายางโดยใชขอมูลดาวเทียม LANDSAT เพื่อเปรียบเทียบ<br />

ขอมูลการเปลี่ยนแปลงชายฝงและคํานวณปริมาณการดูดกลับของคารบอนไดออกไซดของพื้นที่ปาที่ทําการปลูก<br />

ใหม ซึ่งมีแนวคิดในการศึกษาดังแสดงในรูปที่ 1<br />

ปริมาณของ คารบอนไดออกไซดที่ดูดกลับ = พื้นที่ปาเสื่อมโทรม x อัตราการเจริญของพืชในปาเสื่อมโทรม x<br />

สัดสวนที่เปนคารบอน x 44/12<br />

อัตราการเจริญ การประมาณคาอัตราการเพิ่มของปริมาณชีวมวลของไมปาชายเลน ไชปริมาณการเพิ่มขึ้นปา<br />

ชายเลนอายุ 9 ป เทากับ 19.87 T dry wt./ha/yr และอายุ 3 ป เทากับ 6.50 T dry wt./ha/yr ตามลําดับ<br />

สัดสวนคารบอน ใชขอมูลของ Margaret et al. 2002 เทากับ 0.5<br />

407


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 แนวคิดในการศึกษากิจกรรมการรักษาการกัดเซาะชายฝงโดยการวางเตายางและการปลูกปา<br />

2) กิจกรรมการผลิตถานชุมชน<br />

กิจกรรมการเผาถานของชุมชน เนื่องจากจากการจัดการสวนผลไม ตองมีการตัดและตกแตงสวนหลังจาก<br />

การเก็บเกี่ยวผลิตผล ซึ่งเศษไมเหลือทิ้งเหลานี้ จะถูกนํามาผาถานเพื่อใชทดแทนกาซหุงตมในครัวเรือน<br />

นอกเหนือจากการไดผลผลิตจากถานไมแลว ยังไดผลิตภัณฑรวมคือน้ําสมควันไมใชสําหรับกําจัดแมลงไดอีกดวย<br />

โดยมีสมการการคํานวณดังนี้<br />

ปริมาณ Avoided CO 2 = คาความรอนที่ avoided ได x EF<br />

ขอมูลคาความรอน ใชขอมูลจากการรวบรวมเอกสาร โดยขอมูลคาความรอนที่ตองการใชประกอบดวย คาความ<br />

รอนของ LPG และคาความรอนของถานไม มีคา 50.15 MJ/kg และ 31.15 MJ/kg ตามลําดับ<br />

คาการปลดปลอย (Emission Factor) ของ LPG และน้ํามันดีเซล ใชคา Default value จาก IPCC ซึ่งแนะนําไวที่<br />

60.4 TonCO 2 /TJ<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากการศึกษา พบวา ชุมชนเปร็ดใน เปนชุมชนที่มีระดับการเปนสังคมเศรษฐกิจพอเพียงในระดับ “เขาถึง”<br />

กลาวคือเปนสังคมที่มีแนวทางการดําเนินชีวิตครอบคลุมทั้ง 8 ระดับตัวชี้วัด ซึ่งเปนสังคมที่ผานการปฏิบัติเปน<br />

ประจําจากพื้นฐานความเขาใจจนกลายเปน “วิถีชีวิต” (Way of Life) เปนวิถีปฏิบัติโดยธรรมชาติ ทําใหชีวิตอยูอยาง<br />

มี “เหตุผล” (Reasonableness) อันเปนหลักการสําคัญอีกประการหนึ่งของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ ยัง<br />

สามารถเปนตัวอยางใหผูอื่นเรียนรูได โดยกิจกรรมของชุมชนที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกและเพิ่มปริมาณ<br />

การดูดกลับของกาซเรือนกระจก ในบริบทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้<br />

4.1 กิจกรรมการปองกันการกัดเซาะชายฝงโดยการวางเตายางและกิจกรรมการปลูกปา<br />

408


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1) กิจกรรมการวางเตายาง เปนกิจกรรมที่ชาวชุมชนบานเปร็ดในดําเนินการรวมกัน เพื่อแกไขปญหาการ<br />

พังทลายของหนาดินที่ถูกคลื่นเซาะตลิ่ง เปนผลใหปาชายเลนบริเวณที่ถูกคลื่นกัดเซาะลดจํานวนนอยลง และสงผล<br />

ทางออมตอปริมาณของสัตวน้ําที่ลดจํานวนลง เริ่มแรกของ “เตายาง” เกิดจากกระบวนการคิดของชาวชุมชนเปร็ด<br />

ในที่ตระหนักไดถึงสภาพของพื้นที่ปาชายเลนที่ลดนอยลงจากการกัดเซาะของคลื่น ตอมาจึงไดเกิดกระบวนการ<br />

เรียนรูและประยุกตเครื่องมือ ที่เรียกวา “เตายาง” มาใชในการแกไขปญหาดังกลาว ทั้งนี้ เตายาง ถือวาเปน<br />

เทคโนโลยีที่เหมาะสมที่อาศัยภูมิปญญาทองถิ่น มาประยุกตโดยนํายางลอรถยนตที่ใชแลวมาประกอบเปนรูปราง<br />

ลักษณะแบบลูกเตา โดยการเจาะรูยางรถยนต 6 เสน ตอเตายาง 1 ลูก และนํายางรถยนตดังกลาวมามัดดวยกัน<br />

เปนรูปลูกเตา สําหรับวิธีการวางเตายางจะวางโดยการในลักษณะการวางแบบสลับฟนปลาหางจากชายฝงประมาณ<br />

300 เมตร และเตาแตละลูกจะหางกันประมาณ 10 x 10 เมตร รวมระยะทางการวางเตายาง 2 กิโลเมตร โดยเริ่ม<br />

วางเตายางตั้งแตป พ.ศ. 2547 ซึ่งการวางเตายาง จะชวยชะลอคลื่นกัดเซาะชายฝงและปองกันการพังทลายของปา<br />

ชายเลนจะสังเกตไดบริเวณปาชายเลนที่มีการวางเตายางและไมวางเตายาง และเพิ่มปริมาณสัตวน้ําเพิ่มมากขึ้น<br />

เชน กุง หอย ปูและปลา<br />

2) กิจกรรมการปลูกปา เปนกิจกรรมที่ชาวชุมชนบานเปร็ดในรวมกันทํา นอกเหนือจากกิจกรรมการวาง<br />

เตายาง เพราะเล็งเห็นความสําคัญของปาชายเลนวาเปนแหลงทรัพยากรที่มีความหลากหลายและเปนที่พึ่งพิงของ<br />

ชุมชนเพราะสามารถใชประโยชนไดทั้งทางตรงและทางออม โดยดําเนินกิจกรรมทั้งการปลูกปา ทําการปองกันและ<br />

ตรวจตราพื้นที่ปาเพื่อปองกันการลักลอบตัดตนไม รวมทั้งดําเนินกิจกรรมปลูกซอมแซมปา<br />

ผลของการรวมมือกันของชุมชนในการอนุรักษปาชายเลน โดยการปลูกปา และวางเตายางไดทําใหความสมบูรณ<br />

ของปาชายเลนบานเปร็ดในเพิ่มขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 2 และรูปที่ 3 เมื่อวิเคราะหภาพถายดาวเทียมดูการเพิ่มพื้นที่<br />

ของปา จากรูปที่ 2 และ รูปที่ 3 เห็นไดชัดเจนวา เมื่อมีกิจกรรมการวางเตายางและปลูกปา ตั้งแตปค.ศ.1990<br />

พื้นที่สีเขียวมีเพิ่มขึ้นตามลําดับ คิดเปนปริมาณพื้นที่ปาปลูกใหม อายุ 9 ป จํานวน 102 ไร และพื้นที่ปาเสื่อมโทรม<br />

ที่ถูกฟนฟู อายุ 3 ป จํานวน 321 ไร<br />

รูปที่ 2 ภาพถายดาวเทียมแสดงพื้นที่ชายฝงที่มีการวางเตายางและไมไดวางเตายาง ในป ค.ศ. 2008 เทียบ<br />

กับขอบเขตของชายฝงในป ค.ศ.1989<br />

409


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 แสดงพื้นที่ปลูกปาชายเลนในบริเวณชายฝงของชุมชนบานเปร็ดใน ในป ค.ศ.1989 -2009<br />

3) การวิเคราะหปริมาณคารบอน<br />

จากการคํานวณดังกลาว ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ดูดกลับไดจาก ปาปลูก เทากับ 593.78 ตัน<br />

ตอป และปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ดูดกลับไดจากปาฟนฟู เทากับ 611.28 ตันตอป รวมเปน 1205. 06<br />

ตันตอป เมื่อเทียบกับจํานวนประชากรของบานเปร็ดในซึ่งมีเทากับ 591 คน หากปริมาณกาซการดูดกลับ<br />

คารบอนไดออกไซดจากพื้นที่ปาที่ชุมชนชวยกันดูแกแลวจะชุมชนบานเปร็ดในสามารถชวยดูดกลับ<br />

คารบอนไดออกไซดได 2.04 ตันตอหัวตอป<br />

4.2 กิจกรรมการผลิตถานชุมชน<br />

วิถีชีวิตของชาวบานเปร็ดใน ที่ประกอบอาชีพทําสวนผลไม โดยกิ่งไมที่เกิดจากการตัดแตงสวนซึ่งเปน<br />

ผลพลอยไดที่ชาวสวนผลไมนํามาใชประโยชนโดยการทําเปนไมฟน และถาน เพื่อใชทดแทนการใชกาซหุงตมซึ่ง<br />

เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิล อันเปนประโยชนโดยตรงในการลดปญหาโลกรอน โดยทั้งนี้การผลิตถานจะใชภายใน<br />

ชุมชนเทานั้น ในลักษณะใชทดแทนกาซหุงตมภายในครัวเรือน และแจกจายใชกันเองภายในชุมชน<br />

จากการสํารวจและออกแบบสอบถาม พบวาเตาเผาถานในชุมชนมีหลายขนาด ประมาณ 12 เตา และมี<br />

ปริมาตรในการเผาแตกตางกัน ปริมาณกิ่งไมที่ใชเผาทั้งหมด 53.76 ตันตอป คิดเปนถานที่ผลิตได 16.1 ตันตอป<br />

ได byproduct เปน น้ําสมควันไม ประมาณ 1.3 ลูกบาศกเมตร ปริมาณถานที่ผลิตไดใชภายในพื้นที่ทั้งหมด<br />

สามารถทดแทน กาซหุงตมได 9.98 ตัน เปนปริมาณ avoid CO 2 ได เทากับ 30.26 ตัน CO 2 ประหยัดเงินในการซื้อ<br />

กาซหุงตม 186,667 บาทตอป<br />

410


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากผลการศึกษา การวิเคราะหคารบอนจากกิจกรรมของชุมชนเปร็ดใน พบวา ชุมชนเปร็ดในสามารถ<br />

หลีกเลี่ยงการปลอยกาซเรือนกระจกได 2.09 ตันคารบอนไดออกไซดตอคนตอป โดยเปนการประเมินจากกิจกรรมที่<br />

เชื่อมโยงกับการดําเนินชีวิตถามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งกิจกรรมเหลานั้นเปนกิจกรรมทางตรง อยางไรก็ตาม<br />

นอกจากกิจกรรมทางตรงแลวยังมีกิจกรรมทางออมอื่นๆที่มีสวนสนับสนุนกิจกรรมทางตรงดวยเชนกัน เชน การ<br />

บริการการทองเที่ยวแบบโฮมสเตยในชุมชนเปร็ดใน เพราะเปนการควบคุมกํากับไมใหมีการใชทรัพยากรในชุมชน<br />

มากเกินกวาศักยภาพที่ชุมชนจะรองรับได เปนการกระจายรายไดอยางเปนธรรม ลดการเอารัดเอาเปรียบ และเปน<br />

การสรางความตระหนักใหกับชุนชนในการอนุรักษทรัพยากรอยางยั่งยืน ไมเพียงเปนแหลงอาหารของชุมชน แตยัง<br />

เปนแหลงเรียนรูของคนภายนอกชุมชนอีกดวย จากการอนุรักษทรัพยากรที่มีแรงจูงใจจากการทํากิจการโฮมสเตยนี้<br />

เอง ที่สงผลทางออมตอการหลีกเลี่ยงการปลอยกาซเรือนกระจก รวมทั้งยังพบวาสังคมที่มีรูปแบบการดําเนินชีวิต<br />

แบบเศรษฐกิจพอเพียงนอกจากจะสามารถดํารงชีวิตไดอยางยั่งยืนแลว ยังชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก และ<br />

ยังเปนสังคมที่มีศักยภาพที่จะตอสูกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได เพราะเปนสังคมที่เนนการพึ่งพาตัวเองตัวเอง<br />

เปนหลัก<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Margaret, K., Alvaro, C., Tim, M. (2002). Carbon storage of harvest-age teak (Tectona<br />

grandis) plantation, Panama. Forest Ecology and Management ; 5863: 1-13<br />

- Petchmark, P. and P. Sahunalu. 1979. Primary Production of Teak Plantations. II. Net<br />

primary production of various age plantations of teak at Ngao, Lampung. Research Note<br />

No. 30. Facultyof Forestry, Kasetsart University. 28 pp.<br />

- คณะวนศาสตร. 2550. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการประเมินมูลคาและการพึ่งพิงทรัพยากรปา<br />

ชายเลน เสนอตอ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง.<br />

- ฝายวิจัยพลังงานและสิ่งแวดลอมสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย<br />

http://charcoal.snmcenter.com/charcoalthai/hot.php<br />

- ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ, 2552. ตามรอยพอ ชีวิตพอเพียง<br />

...สูการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทศูนยการพิมพเพชรรุง จํากัด; 41 หนา<br />

http://www.med.govt.nz/upload/28761/ghg-2004-annex-a.pdf access on 21 December<br />

2009<br />

411


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิเคราะหความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด<br />

Risk Assessment in the Clean Development Mechanism<br />

บุญรอด เยาวพฤกษ<br />

GDF SUEZ Energy Asia, 29 th Floor, Q House Lumpini Building, 1 South Sathorn Rd,<br />

Tungmahamek, Sathorn, Bangkok 10120 Thailand<br />

บทคัดยอ<br />

คารบอนเครดิตที่ไดรับความนิยมและมีปริมาณการการซื้อขายมากที่สุดตั้งแต ป ค.ศ.2008 (พ.ศ.2551)<br />

เปนตนมาไดแก Certified Emission Reductions หรือ CERs ซึ่งเปนคารบอนเครดิตที่เกิดขึ้นจากโครงการกลไก<br />

การพัฒนาที่สะอาดหรือโครงการ CDM อยางไรก็ตามการผลิต CERs จากโครงการ CDM นั้นตองผานขั้นตอนการ<br />

ตรวจสอบและพิจารณาตางๆมากมายกอนจะไดมาซึ่งคารบอนเครดิต จากสถิติพบวาหลายโครงการไดประสบ<br />

ปญหาความลาชาในการขึ้นทะเบียนโครงการ หรือแมกระทั่งถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนเปนโครงการฯ สวน<br />

โครงการที่ไดขึ้นทะเบียนแลวก็บางโครงการก็ไมสามารถผลิตคารบอนเครดิตตามที่วางแผนไว สิ่งตางๆเหลานี้ลวน<br />

เปนความเสี่ยงที่ตองตระหนักไวจากการลงทุนในการดําเนินโครงการ CDM<br />

งานวิจัยชิ้นนี้จัดทําขึ้นเพื่อศึกษา วิเคราะห และเสนอแนะแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการ<br />

ลงทุนในโครงการ CDM ผลการศึกษาพบวาความเสี่ยงสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมหลัก ไดแก ความเสี่ยงจาก<br />

กฎระเบียบขอบังคับ(CDM regulatory risk) และความเสี่ยงในดานผลผลิต CERs (volume risk) ซึ่ง “ประเภท” และ<br />

“ที่ตั้ง” ของโครงการมีความสัมพันธโดยตรงกับความเสี่ยงทั้งสองกลุม จากการศึกษายังพบวาโครงการสวนใหญใช<br />

เวลาในการขึ้นทะเบียนโครงการมากกวา 1 ป 2 เดือน โดยโครงการประหยัดพลังงานมีความเสี่ยงในดาน<br />

กฎระเบียบมากที่สุด โดยโครงการจากการจัดการกาซชีวภาพมีความเสี่ยงในดานผลผลิตมากที่สุด สําหรับโครงการ<br />

จัดการหลุมฝงกลบแลวแตละโครงการมีโอกาสที่จะผลิตคารบอนเครดิตแครอยละ 10 ของที่คาดหมายไว หรืออาจจะ<br />

สูงกวาที่คาดไวถึง 2-3 เทา ซึ่งคาดการณไดยากทําใหมีความเสี่ยงสูง<br />

คําสําคัญ : โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด ความเสี่ยง CDM risk risk assessment<br />

Abstract<br />

The most popular carbon credit used as the offset is the Certified Emission Reductions (CERs)<br />

which is the carbon credit generated from the Clean Development Mechanism (CDM) project activity. This<br />

thesis examines how to manage risk in the CDM market. Two categories of risks were found; 1) CDM<br />

regulatory risk and 2) CERs volume risk. The top-down approach was applied to assess the risks by<br />

using the global CDM pipeline data as an input. In the end, the statistically analysis provides the result of<br />

assessment from each type of risk.<br />

412


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

The results show that project type and location have high correlation to the risks. For the<br />

regulatory risk, the energy efficiency project faces higher risk than other types of project as it has the<br />

highest failure rate in the CDM registration process in the past. It is also found that most projects faced a<br />

longer registration delay than expected. The median time required for registering a CDM project takes<br />

around 13-14 months after the PDD is finished and entered into the pipeline. Regarding to the project<br />

performance, the landfill gas project has the highest volatility of the yield compared to others, meaning<br />

the highest risk as it is difficult to forecast. To manage risk efficiently, an investor should apply risk factors<br />

to discount the expected number of CERs to reflect an individual risk profile of the project.<br />

1. ความสําคัญ<br />

คารบอนเครดิตไดเขามามีบทบาทสําคัญในตลาดซื้อขายใบอนุญาติการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด หรือตลาดคารบอน(Carbon markets) ในชวง 5 ปที่ผานมา เนื่องจากในระบบ Cap-and-<br />

Trade สวนใหญ อาทิเชน ระบบภายใตสนธิสัญญาเกียวโต (Kyoto Protocol) และระบบ European Emission<br />

Trading Scheme (EU ETS) ไดมีขอยืดหยุนยอมใหคารบอนเครดิตที่มีคุณสมบัติตามกฎเกณฑที่กําหนดมา<br />

สามารถใชในการชดเชยการปลดปลอยกาซคารบอนฯในระบบได โดยคารบอนเครดิตที่ไดรับความนิยมและมี<br />

ปริมาณการการซื้อขายมากที่สุดตั้งแต ป ค.ศ.2008 (พ.ศ.2551) เปนตนมาไดแก Certified Emission Reductions<br />

หรือ CERs ซึ่งเปนคารบอนเครดิตที่เกิดขึ้นจากโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดหรือโครงการ CDM เนื่องจาก<br />

CERs นั้นไมไดเกิดขึ้นมาจากการใหโควตาในระบบ Cap-and-Trade แต CERs เกิดขึ้นจากโครงการกลไกการ<br />

พัฒนาที่สะอาดซึ่งเกิดขึ้นโดยสมัครใจภายนอกระบบ Cap-and-Trade ดังนั้นในการใหการรับรองการเกิดขึ้นของ<br />

CERs จึงจําเปนตองมีบุคคลที่สามเพื่อทําหนาที่ติดตามตรวจสอบทั้งในสวนของโครงการ CDM และในสวนของการ<br />

ผลิต CERs วาการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกนั้นเกิดขึ้นจริง ดวยเหตุนี้เองทําใหการผลิต CERs เปน<br />

กระบวนการที่ตองใชเวลายาวนาน (โดยทั่วไปมากกวา 1-2 ปขึ้นไป) และตองการบริหารจัดการที่ดีเพื่อใหโครงการ<br />

ใหประสบความสําเร็จสามารถขึ้นทะเบียนโครงการและผลิต CERs ได<br />

ในมุมมองของนักลงทุนในโครงการ CDM สิ่งที่จําเปนควรพิจารณาและศึกษาใหรอบคอบกอนที่จะลงทุนใน<br />

โครงการ CDM คือความเสี่ยงตางๆที่อาจจะเกิดขึ้นจากการลงทุนในโครงการ CDM การศึกษาและรับทราบความ<br />

เสี่ยงกอนการลงทุนจะทําใหผูลงทุนสามารถหาวิธีที่เหมาะสมในการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดในตนทุนที่<br />

เหมาะสม โครงการการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่จะขอขึ้นทะเบียนจากโครงการ CDM นั้น จะตองผาน<br />

ขั้นตอนการตรวจสอบและพิจารณาตางๆมากมายกอนจะไดมาที่จะขึ้นทะเบียนได และเมื่อขึ้นทะเบียนเรียบรอย<br />

แลวโครงการเหลานั้นจําเปนที่จะตองติดตามและบันทึกผลการลดการปลดลอยกาซเรื่อนกระจกที่เกิดขึ้นตามวิธีที่<br />

กําหนดและไดรับการอนุมัติจาก CDM Executive Board (CDM EB)เพื่อที่จะขออนุมัติในการรับรองและออกใบ<br />

อนุญาติของคารบอนเครดิต นอกจากนักลงทุนในโครงการ CDM จะตองเผชิญกับความเสี่ยงทั่วไปในการดําเนิน<br />

โครงการแลว เชน ความเสี่ยงในการจัดหาแหลงทุน ควาทเสี่ยงในการขอใบอณญาติตางๆประกอบการลงทุน เปน<br />

ตน นักลงทุนในโครงการ CDM ยังจะตองพบกับความเสี่ยงที่มากับการขึ้นทะเบียนโครงการ CDM (CDM<br />

regulatory risk) และความเสี่ยงจากการผลิต CERs (CERs volume risk) จากสถิติพบวาหลายโครงการไดประสบ<br />

ปญหาความลาชาในการขึ้นทะเบียนโครงการ หรือแมกระทั่งถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนเปนโครงการฯ สวน<br />

โครงการที่ไดขึ้นทะเบียนแลวก็บางโครงการก็ไมสามารถผลิตคารบอนเครดิตตามที่วางแผนไว สิ่งตางๆเหลานี้ลวน<br />

เปนความเสี่ยงที่ตองตระหนักไวจากการลงทุนในการดําเนินโครงการ CDM งานวิจัยชิ้นนี้จัดทําขึ้นเพื่อชวยใหนัก<br />

ลงทุนเห็นภาพของความเสี่ยงทั้งสองกลุมไดชัดเจนขึ้น<br />

413


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัตถุประสงค<br />

วัตถุประสงคของงานวิจัยนี้ คือ การชี้แจงและวิเคราะหความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการลงทุนในโครงการ CDM<br />

ซึ่งเปาหมายในการลงทุนของโครงการ CDM คือการผลิต CERs ดังนั้นในวิเคราะหจึงมุงประเด็นไปที่การวิเคระหไป<br />

ที่ปจจัยที่ทําใหการผลิต CERs จากโครงการ CDM ไมเปนไปตามแผนที่วางไว<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

งานวิจัยชิ้นนี้เปนการศึกษาและวิเคราะหความเสี่ยงของโครงการ CDM ในเชิงสถิติ โดยการนําขอมูล<br />

โครงการ CDM ตั้งแตเริ่มตนทํา Validation ไปจนถึง CERs Issuance มาวิเคราะหเชิงสถิติในแบบ Top-down<br />

approach ขอมูลของโครงการการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมดกวา 6,000 โครงการ (ขอมูลลาสุด ณ<br />

วันที่ 1 มิถุนายน 2553) ที่ยื่นขอจดทะเบียนขึ้นทะเบียนโครงการ CDM ตั้งแตแรกเริ่มไดถูกนํามาจัดหมวดหมู และ<br />

วิเคราะหเปรียบเทียบเพื่อขยายผลใหเห็นภาพในมุมมองของความเสี่ยงประเภทตางๆ<br />

ขอมูลนํามาใชในการศึกษานี้ไดมาจาก the United Nations Framework Convention on Climate<br />

Change (UNFCCC), the UNEP Risoe Centre on Energy, และ the Institute for Global Environmental<br />

Strategies (IGES)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากการศึกษาพบวาความเสี่ยงสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมหลัก ไดแก ความเสี่ยงจากกฎระเบียบ<br />

ขอบังคับ(CDM regulatory risk) และความเสี่ยงในดานผลผลิต (volume risk)<br />

4.1 ความเสี่ยงจากกฎระเบียบขอบังคับ (CDM regulatory risk)<br />

ความเสี่ยงจากกฎระเบียบขอบังคับอาจะสงผลกระทบตอนักลงทุนใน 2 สวนหลัก ไดแก<br />

1. ความเสี่ยงที่โครงการเกิดความลาชาในการขึ้นทะเบียนโครงการ CDM<br />

2. ความเสี่ยงที่โครงการไมไดขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM<br />

รูปที่ 1 จะแสดงใหเห็นถึงความเสี่ยงที่โครงการเกิดความลาชาในการขึ้นทะเบียนโครงการ CDM ซึ่งใน<br />

รูปภาพจะแสดงระยะเวลาที่ใชในตั้งแตเริ่มตนขั้นตอนการตรวจประเมินเอกสารประกอบโครงการ(Validation:<br />

public comment) ไปจนถึงเมื่อไดรับการขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM (Registered) จะเห็นวาจากโครงการที่ขอ<br />

ขึ้นทะเบียนโครงการทั่วโลกนั้นโดยเฉลี่ยจะใชเวลาประมาณ 450 วัน หรือ ประมาณ 1 ป 3 เดือน แตเมื่อ<br />

เปรียบเทียบเฉพาะโครงการจากประเทศไทยจะพบวาโครงการในประเทศไทยใชระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 570 วัน<br />

หรือประมาณ 1 ป 7 เดือน จากสถิติดังกลาวสามารถสรุปไดวาโครงการในประเทศไทยใชเวลาในการขอขึ้นทะเบียน<br />

โครงการมากกวาคาเฉลี่ยของโครงการอื่นๆทั่วโลกประมาณ 4 เดือน นอกจากนั้นเมื่อมองรูปแบบการกระจายตัว<br />

ของกราฟนั้นจะพบวากราฟของทั่วโลกมีการกระจายตัวในรูปแบบระฆังคว่ําเอียงซาย สวนกราฟของประเทศไทยมี<br />

การกระจายของกราฟแบบกระจัดกระจาย ซึ่งถามองในมุมของความเสี่ยงระยะเวลาที่ใชในการขอขึ้นทะเบียนจาก<br />

โครงการในประเทศไทยจะมีความไมแนนอนสูงกวาในตางประเทศ<br />

รูปที่ 2 แสดงใหเห็นถึงจํานวนโครงการที่ถูกเรียกตรวจสอบเพิ่มเติม (Request for Review) โดย CDM<br />

EB และถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนโครงการในที่สุด จากการสถิติแลวจะพบวาโครงการที่ถูกเรียกตรวจสอบเพิ่มเติม<br />

จะมีโอกาสที่จะถูกปฏิเสธในการขึ้นทะเบียนโครงการจาก CDM EB จากขอมูลเชิงสถิติพบวาสาเหตุที่โครงการฯถูก<br />

414


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เรียกตรวจสอบเพิ่มเติมมากที่สุด คือ ความไมชัดเจนในสวนของการวิเคราะหทางการเงิน/การลงทุน(คิดเปนรอยละ<br />

37) การเลือกใช methodology ในการคํานวณการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก(คิดเปนรอยละ 37) การ<br />

พิจารณาCDM ตั้งแตแรกเริ่ม(คิดเปนรอยละ 10) และการวิเคราะหอุปสรรคของการเกิดขึ้นของโครงการ (คิดเปน<br />

รอยละ 10) อยางไรก็ตามเหตุผลที่ทําให CDM EB ปฏิเสธไมขึ้นทะเบียนโครงการ โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องการ<br />

พิจารณาCDM ตั้งแตแรกเริ่มลดลงจากรอยละ 10 เหลือเพียงรอยละ 5 ในขณะที่ประเด็นเรื่องความไมชัดเจนใน<br />

สวนของการวิเคราะหทางการเงิน/การลงทุนมีอัตราสวนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 37 เปนรอยละ 39 และการวิเคราะห<br />

อุปสรรคของการเกิดขึ้นของโครงการมีอัตราสวนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10 เปนรอยละ 19 จากขอมูลดังกลาวสามารถ<br />

สรุปไดวาโครงการฯสวนใหญสามารถตอบคําถามหรือเสนอขอมูลเพิ่มเติมใหกับ CDM EB ในสวนของการพิจารณา<br />

CDM ตั้งแตแรกเริ่มได แตโครงการฯจะติดปญหาเรื่องการชี้แจงอุปสรรคของโครงการและการวิเคราะหทางการเงิน<br />

การลงทุน<br />

รูปที่ 3 แสดงถึงอัตราการถูกปฏิเสธในการขอขึ้นทะเบียนโครงการทั้งจาก DOE และจาก CDM EB โดย<br />

แยกตามประเภทของโครงการและที่ตั้งของโครงการ จากสถิติจะพบวาโครงการประเภทอนุรักษพลังงานมีความเสี่ยง<br />

ในการถูกปฏิเสธสูงที่สุด(กวารอยละ 65 ของโครงการที่ยื่นขอ) สวนโครงการประเภท Industrial gas (HFCs,N2O,<br />

PFCs and SF6) แทบจะไมมีความเสี่ยงในการถูกปฏิเสธในการขอขึ้นทะเบียนเลย เหตุผลที่สามารถอธิบายผลลัพธ<br />

ดังกลาวไดคือ โครงการประเภท Industrial gas สามารถพิสูจนเรื่อง Additionality ไดดีกวาโครงการประเภทอื่นๆ<br />

เนื่องจากโครงการประเภทนี้จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อมีรายไดจาก CDM เขามาอุดหนุนเทานั้น ตัวโครงการเองไมมีรายได<br />

อื่นๆเลย ผิดกับโครงการอนุรักษพลังงานและพลังงานหมุนเวียนที่นอกจากจะมีรายไดจาก CDM แลวโดยทั่วไปยังมี<br />

รายไดจากผลประหยัดพลังงานและรายไดจากการขายไฟฟามาประกอบดวย การพิสูจนเรื่อง Additionality ในเชิง<br />

เศรษฐศาสตรจึงทําไดยากกวา เมื่อพิจารณาถึงโครงการจากประเทศใดที่ถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนมากที่สุด ไดแก<br />

ประเทศศรีลังกา รองลงมาคือประเทศ UAE และประเทศปานามา สวนประเทศไทยถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนคิดเปน<br />

ประมาณรอยละ 20 ซึ่งโครงการสวนใหญถูกปฎิเสธระหวางขั้นตอนการทํา Validation โดย DOE เมื่อเปรียบเทียบ<br />

ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน เชน ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟลิปปนส และประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทยถือ<br />

วามีความเสี่ยงในการถูกปฏเสธการขึ้นทะเบียนโครงการต่ํากวาประเทศเพื่อนบาน<br />

4.2 ความเสี่ยงในดานผลผลิต CERs (CERs volume risk)<br />

รูปที่ 4 เปนการแสดงถึงคาเฉลี่ยของความสําเร็จในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทตางๆ<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับแผนการณืที่วางไวในเอกสารประกอบการขอขึ้นทะเบียนโครงการ (PDD) ตั้งแตตน จากรูปจะ<br />

เห็นวาโครงการโดยสวนใหญสามารถผลิต CERsไดตามแผนที่วางไว (มากกวารอยละ 75 ขึ้นไป) ยกเวนโครงการ<br />

จากภาคขนสง โครงการนํากาซมีเมนกลับมาใชใหม และโครงการกาซชีวภาพที่มีผลสําเร็จต่ํากวารอยละ 50<br />

อยางไรก็ตามรูปที่ 4 นี้ไมสามารถแสดงถึงความเสี่ยงในดานผลผลิตของโครงการประเภทตางๆไดชัดเจน<br />

เนื่องจากวาผลสําเร็จที่นอยละความคาดหมายอาจจะมาจากตัวเลขพื้นฐานในวิธีคํานวณที่กําหนดไวก็ได ซึ่งไม<br />

ไดมาจากพื้นฐานหรือศักยภาพของโครงการนั้นๆ ดังนั้นในรูปที่ 5 ถึงรูปที่ 10 ผูเขียนจึงไดจัดทํากราฟของการ<br />

กระจายของความสําเร็จในการผลิต CERs ของโครงการแตละประเภทขึ้นมา ซึ่งจากภาพดังกลาวนี้จะสามารถชวย<br />

ใหนักลงทุนสามารถพิจารณาในขั้นตนไดวาโครงการประเภทใดมีความเสี่ยงดานผลผลิตสูงหรือต่ํา<br />

โดยจากรูปที่ 5 ถึงรูปที่ 10 จะพบวาโครงการ CDM ประเภทโครงการพลังงานชีวมวล โครงการพลังงาน<br />

น้ํา โครงการพลังงานลมและโครงการนําไอรอนกลับมาใชใหมมีความเสี่ยงดานผลผลิตที่ต่ํากวาโครงการประเภท<br />

กาซชีวภาพและโครงการนํากาซมีเทนกลับมาใชใหมเนื่องจากวารูปกราฟของโครงการดังกลาวมีการกระจายใน<br />

ลักษณะที่ใกลเคียงกับ Normal Distribution สวนรูปกราฟของโครงการประเภทกาซชีวภาพและโครงการนํากาซ<br />

มีเทนกลับมาใชใหมมีการกระจายตัวที่ไมแนนอนและคาดการณไดยากกวา<br />

415


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 ระยะเวลาที่ใชในการขอขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM<br />

เปรียบเทียบระหวางโครงการทั่วโลกกับโครงการในประเทศไทย<br />

416


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 2 จํานวนโครงการที่ถูกตรวจสอบขอมูลเพื่อเติม (Request for Review)<br />

และจํานวนโครงการที่ถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนโครงการ CDM<br />

417


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 จํานวนโครงการที่ถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนโครงการ CDM ทั้งจากผูตรวจสอบอิสระ (DOE) และ<br />

จาก CDM EB โดยแบงตามประเภทของโครงการและประเทศที่ตั้งโครงการ<br />

418


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 4 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการประเภทตางๆเปรียบเทียบกับเปาหมาย ที่วางไว<br />

รูปที่ 5 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทการนํากาซชีวภาพไปใช<br />

419


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 6 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทโรงไฟฟาชีวมวล<br />

รูปที่ 7 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทโรงไฟฟาพลังน้ํา<br />

420


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 8 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทการนํากาซมีเทนมาใชใหม<br />

รูปที่ 9 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทการนําความรอนทิ้งกลับมาใชใหม<br />

421


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 10 ความสามารถในการผลิต CERs ของโครงการ CDM ประเภทโรงไฟฟาพลังงานลม<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากผลการศึกษาพบวาความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการ CDM ประกอบไปดวยความเสี่ยงจาก 2 กลุม<br />

หลัก ไดแก ความเสี่ยงจากกฎระเบียบขอบังคับ(CDM regulatory risk) และความเสี่ยงในดานผลผลิต (volume<br />

risk)<br />

ในดานความเสี่ยงจากกฎระเบียบขอบังคับ(CDM regulatory risk) นั้น โครงการที่ขอขึ้นทะเบียนโครงการ<br />

ทั่วโลกนั้นโดยเฉลี่ยจะใชเวลาประมาณ 450 วัน หรือ ประมาณ 1 ป 3 เดือน แตเมื่อเปรียบเทียบเฉพาะโครงการ<br />

จากประเทศไทยจะพบวาโครงการในประเทศไทยใชระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 570 วัน หรือประมาณ 1 ป 7 เดือน<br />

และโครงการฯสวนใหญที่ถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนโครงการมีสาเหตุมาจากการที่ไมสามารถชี้แจงอุปสรรคของ<br />

โครงการและการวิเคราะหทางการเงินการลงทุนใหกับ CDM EB ไดอยางชัดแจง ซึ่งประเภทอนุรักษพลังงานมี<br />

ความเสี่ยงในการถูกปฏิเสธสูงที่สุด(กวารอยละ 65 ของโครงการที่ยื่นขอ) สวนโครงการประเภท Industrial gas<br />

(HFCs,N2O, PFCs and SF6) แทบจะไมมีความเสี่ยงในการถูกปฏิเสธในการขอขึ้นทะเบียนเลย นอกจากนั้น<br />

ประเทศศรีลังกาเปนประเทศที่ถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนมากที่สุด รองลงมาคือประเทศ UAE และประเทศปานามา<br />

สวนประเทศไทยถูกปฏิเสธการขึ้นทะเบียนคิดเปนประมาณรอยละ 20 ซึ่งโครงการสวนใหญถูกปฎิเสธระหวาง<br />

ขั้นตอนการทํา Validation โดย DOE เมื่อเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน เชน ประเทศมาเลเซีย<br />

ประเทศฟลิปปนส และประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทยถือวามีความเสี่ยงในการถูกปฏเสธการขึ้นทะเบียนโครงการ<br />

ต่ํากวาประเทศเพื่อนบาน<br />

422


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในดานความเสี่ยงในดานผลผลิต (volume risk) นั้นผลการศึกษาพบวาโครงการโดยสวนใหญสามารถผลิต CERs<br />

ไดตามแผนที่วางไว (มากกวารอยละ 75 ขึ้นไป) ยกเวนโครงการจากภาคขนสง โครงการนํากาซมีเมนกลับมาใช<br />

ใหม และโครงการกาซชีวภาพที่มีผลสําเร็จต่ํากวารอยละ 50 โดยโครงการ CDM ประเภทโครงการพลังงานชีวมวล<br />

โครงการพลังงานน้ํา โครงการพลังงานลมและโครงการนําไอรอนกลับมาใชใหมมีความเสี่ยงดานผลผลิตที่ต่ํากวา<br />

โครงการประเภทกาซชีวภาพและโครงการนํากาซมีเทนกลับมาใชใหมเนื่องจากวารูปกราฟของโครงการดังกลาวมี<br />

การกระจายในลักษณะที่ใกลเคียงกับ Normal Distribution สวนรูปกราฟของโครงการประเภทกาซชีวภาพและ<br />

โครงการนํากาซมีเทนกลับมาใชใหมมีการกระจายตัวที่ไมแนนอนและคาดการณไดยากกวา<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Boonrod Yaowapruek(2010), Risk management in the primary CDM market, in Partial<br />

Fulfilment of the Requirement for The Degrees of Master of Science in Sustainable<br />

Energy Engineering, Royal Institute of Technology (KTH).<br />

- Keisuke IYADOMI and Yuji MIZUNO(2010), IGES CDM Database and analysis, June<br />

2010.<br />

- Joergen Fenhann, Frederik Staun, and Maryna Karavai(2010), UNEP Risoe CDM/JI<br />

Pipeline Analysis and Database, June 2010.<br />

423


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

An Analysis of Financial Feasibility and Carbon Market Potential<br />

in Sugarcane Industry Under CDM in Thailand<br />

Bundit Limmeechokchai and Prachuab Peerapong<br />

Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University, Pathumthani, Thailand 12120<br />

E-mail: bundit@siit.tu.ac.th, bigman_thai@hotmail.com<br />

Abstract<br />

The Kyoto Protocol is an international agreement linked to the United Nations Framework<br />

Convention on Climate Change (UNFCCC). The major feature of the Kyoto Protocol is that it sets binding<br />

targets for 37 industrialized countries and the European community, also called Annex I countries, for<br />

reducing greenhouse gas (GHG) emissions. They amount to an average of five per cent against 1990<br />

levels over the five-year period 2008-2012. Bagasse, the sugarcane residues power generation projects,<br />

provides a useful framework for evaluating several key aspects of the Clean Development Mechanism<br />

(CDM) of the Kyoto Protocol. On the positive side, this analysis, which draws in part from a data set of<br />

electricity generation production at sugar mills, indicates that these projects provide the investors in<br />

developing countries with a cost-effective means to achieve GHG emission reductions and to achieve<br />

carbon credit selling to Annex I investors. This analysis also confirms that the marketplace in the<br />

sugarcane industry for CDM-derived offsets is robust and competitive in terms of financial feasibility. In<br />

April 2010, 4 out of 46 sugarcane power plants had been registered for CDM projects. The capacity of<br />

these 4 power plants can mitigate CO 2 emissions of 269,268 Certified Emission Reductions (CERs) or ton<br />

CO 2 per year under CDM projects in Thailand. Therefore, it has lots of opportunities and potential to<br />

motivate and to promote CDM projects in the sugarcane industry in Thailand. These 4 power plants are<br />

analyzed in terms of both technical and economic potential on CO 2 mitigation. The study uses analyzed<br />

results from 4 power plants to project the potential of CO 2 mitigation of other 42 sugar mills in Thailand.<br />

The results show that the potential of CO 2 mitigation of total 46 sugar mills is more than 1,908,904 CERs<br />

per year.<br />

Keywords: Clean development mechanism, Sugarcane industry, RETscreen, Bagasse, Financial<br />

feasibility<br />

1. Introduction<br />

Sugar production from cane is one of the major agro-industry in Thailand. There are now 46<br />

sugar mills in the country. Bagasse, a biomass fuel, is generated by sugar-making process from sugar<br />

cane. As sugar producing plants need electric power and process steam. Cogeneration using bagasse as<br />

424


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

an alternative fuel for petroleum and coal has been widely used in Thailand. In the new cogeneration<br />

plant, it is possible to produce electricity up to 110-125 kWh for every tonne of sugarcane. After 2000, the<br />

sugar milling groups in Thailand started developing the first modern sugar cogeneration plant with 67 bar<br />

or more, steam cycle. The plants started their operation in 2004. Until now, there are many sugar power<br />

plants that operate with high pressure and high temperature. In this paper, the evaluation of the CDM’s<br />

performance must be informed in part by practical experience in the CDM marketplace in sugarcane<br />

industry in Thailand. CDM is one of the three flexible mechanisms under the Kyoto Protocol (Article 12),<br />

which entered into force on February 16, 2005 after nearly eight years of negotiations. The Kyoto<br />

agreement includes legally binding reduction targets for Annex 1 parties, i.e. industrialized nations. CDM<br />

gives industrialized nations an opportunity to finance greenhouse gases mitigation projects (for example<br />

renewable energy projects) in developing nations (Non-Annex 1 nations) with the aim of contributing to<br />

sustainable development while also helping industrialized nations meet their greenhouse gas emission<br />

reduction commitments under the Kyoto Protocol in a cost-effective manner [4]. The UNFCCC Secretariat<br />

administers the CDM projects with the aims of adequate interaction with all stakeholders in a transparent<br />

manner. Each tonne of CO 2 equivalent reduced in a developing nation from a registered project after<br />

fulfilling all the requirements by the CDM Executive Board becomes registered as one Certified Emission<br />

Reduction Unit (CER) at the UNFCCC Registry and becomes tradable on the carbon market. CDM is thus<br />

a financing tool which can lead investments into clean energy technologies and especially renewable<br />

energy which will contribute to sustainable development beyond climate change mitigation. Additionally,<br />

CDM is an international mechanism that provides a platform for the creation of a wide array of<br />

partnerships with the private sector, national governments and other stakeholders.<br />

2. Methodology<br />

2.1 Thermodynamic and financial analysis<br />

Techno-economic assessment of supplying heat and/or power to the sugarcane power plant<br />

using bagasse as fuel. The four selected sugar mills are studied to evaluate in terms of: 1) combined heat<br />

and power (CHP) generation and 2) economic assessment through life-time of the projects. In the system,<br />

the total heat demand for the plant is generated using bagasse for thermal and electricity consumed by its<br />

sugarcane power plant and the surplus electricity is sold to the national grid. Techno-economic analysis of<br />

each thermal system was performed by using RETscreen ® , a clean energy project analysis software tool<br />

developed by Natural Resources, Canada cooperated with NASA [3]. RETscreen ® , a decision-support and<br />

capacity building tool, can be used to evaluate the energy production, life cycle cost and green house gas<br />

emission reduction for various energy technologies. The software has ability to choose user defined fuel<br />

options, power and heat generation systems and different operating conditions.<br />

2.2 Thermodynamic properties of sugarcane power plant<br />

Bagasse is the fibrous residue of cane stalk obtained from the crushing and the extraction of<br />

sugarcane juice. The composition of bagasse varies each ton of sugarcane which can yield 250 kg of<br />

425


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

bagasse. The variety and maturity of the sugarcane as well as with harvesting methods are used and the<br />

efficiency in the processing of the sugarcane mills. The properties of bagasse are outlined in Table 1 and<br />

Table 2.<br />

Table 1 Properties of bagasse<br />

Water content 46.52%<br />

Fiber content 43.52%<br />

Soluble solids 2.6%<br />

Average density 150 kg/m 3<br />

Lower heating value 1780 kcal/kg<br />

Higher heating value 4,000 kcal/kg<br />

Source: Alonso Pippo et al [7]<br />

Table 2 Sugarcane residue ultimate analysis (dry matter analysis)<br />

Sugarcane residues C H O N S Ash<br />

Bagasse in Cuba 47.4 7.2 40.69 0 0 5.71<br />

Bagasse in Thailand 45.87 6.04 43.44 0.15 0.26 4.24<br />

Source: Alonso Pippo et al [7]<br />

The LHV of the sugarcane residues can be calculated using correlations in Equations (1) and (2) [8].<br />

= (0.34 C+<br />

1.322 H − 0.12 O−<br />

0.12 N + .0686 S−<br />

0.0153 Ash) MJ/kg (1)<br />

HHV dry<br />

⎡<br />

⎤<br />

⎢<br />

H ⎥<br />

= HHVdry − 2.422⎢8.936<br />

⎥<br />

⎢<br />

M M<br />

100(1 − ) + ⎥<br />

⎢⎣<br />

100 100 ⎥⎦<br />

LHVdry<br />

MJ/kg (2)<br />

where C, H, O, N, S ash are the ultimate analysis results from Table 2, and M is moisture contents.<br />

The new generation of high-efficiency boilers being installed on grid-connected bagasse cogeneration<br />

plants, produce extra-high pressures and temperatures rated at 60-80 bar and 490-520oC or above,<br />

compared to old boilers operating at 20 bar and 300o C. The rationale for using such boilers is shown in<br />

Table 3.<br />

Table 3 Comparison of low and high of temperatures and pressures boiler<br />

Low T and P High T and P<br />

Net Power generation (kWh /Ton cane) 20-30 90-160<br />

Gross Power from Bagasse (kWh/Ton cane) 60 370-510<br />

Heat rate processing (kcal/kWh) 21,000 6,000-8,000<br />

426


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Source: www.rcogenasia.com [8]<br />

Boiler efficiency<br />

It is defined as ratio of energy in steam to the energy supplied by burning biomass residues in the boiler.<br />

m& s( h 1<br />

− hf<br />

)<br />

η<br />

b<br />

=<br />

(3)<br />

m&<br />

f<br />

LHV<br />

Isentropic efficiency of steam turbine<br />

It is the ratio of actual to the isentropic enthalpy drop in the turbine.<br />

h1<br />

− h2<br />

η<br />

s<br />

=<br />

(4)<br />

h1−h2<br />

s<br />

Thermal efficiency of turbine<br />

It is the ratio of electrical power output to the energy available from the turbine η<br />

t<br />

= electrical power<br />

output/energy input to turbine:<br />

t<br />

P<br />

=<br />

m & ( h 1<br />

− h2 )<br />

η (5)<br />

s<br />

Utilization factor<br />

All the energy transferred to the steam in the boiler is utilized as either process heat or electric<br />

power. Thus, it is appropriate to define utilization factor ε<br />

u<br />

for the cogeneration system as the ratio of net<br />

electrical power output plus the energy delivered for the process heat to total energy input of biomass<br />

residue fuel.<br />

P + Q<br />

ε<br />

u=<br />

(6)<br />

m&<br />

LHV<br />

f<br />

Heat to power ratio<br />

It is the ratio of heat energy utilization for process heat to energy available in the turbine to produce<br />

electric power.<br />

Heat/power ratio =<br />

m&<br />

( h<br />

s<br />

2<br />

m&<br />

( h<br />

s<br />

1<br />

− hf<br />

)<br />

− h )<br />

2<br />

Mass and energy balance in a general steady-state process, it can be written as:<br />

∑ m<br />

i<br />

= ∑<br />

i<br />

& m&<br />

(8)<br />

o<br />

∑ E<br />

i<br />

= ∑<br />

i<br />

o<br />

o<br />

& E&<br />

(9)<br />

o<br />

Thermodynamic properties of sugarcane power plant described by equations (3) through (9) can evaluate<br />

the performance of the power plant, in addition: the thermal efficiency, CHP Electrical Efficiency are the<br />

useful criteria as described below:<br />

(7)<br />

427


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Thermaloutput<br />

of the boiler system(MWth )<br />

ThermalEfficiency=<br />

× 100<br />

Fuelconsumption rate(kg/s) × HHVof thefuel(MJ/kg)<br />

(10)<br />

Total electricity generated(MW<br />

e<br />

)<br />

CHP Electrical Efficiency =<br />

× 100<br />

Fuel consumption rate (kg/s) × HHV of the fuel (MJ/kg)<br />

(11)<br />

Sugarcane power plants in Thailand mostly operate with back pressure turbine, shown in Figure 1, or<br />

extraction condensing turbine, shown in Figure 2.<br />

Fuel<br />

Boiler<br />

1<br />

Pi ,Ti<br />

Turbine<br />

2<br />

Process heat<br />

3<br />

DM.<br />

Plant<br />

Make up water<br />

4<br />

Pump<br />

Figure 1 Typical back pressure turbine in the bagasse-based cogeneration<br />

boiler loss Turbine loss<br />

Bagasse<br />

Boiler<br />

Electricity output<br />

Generator<br />

Steam to process<br />

Blow down<br />

Bleeding steam<br />

Steam return<br />

Feed pump<br />

feed water tank<br />

Make up water<br />

Figure 2 Typical extraction condensing turbine in the bagasse-based cogeneration<br />

428


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 4 Average electricity generation mixed and emission factors of selected countries<br />

Brazil Thailand Indonesia India<br />

Fossil Fuel (%) 7 92 78 76<br />

Hydro (%) 83 5 9 14<br />

Nuclear (%) 2 0 0 2<br />

Other renewable (%) 5 3 7 2<br />

Emission factor (tCO 2 /MWh) 0.4 0.53 0.83 0.87<br />

Source: Tyler McNish et al [1]<br />

The specific number of CO 2 emissions forgone is directly proportional to two variables: the<br />

amount of power sold to the grid and the carbon intensity of the grid. Under the methodology, the amount<br />

of power is directly measured by an electric meter and reported annually to project evaluators and the<br />

CDM Executive Board. The carbon intensity is measured by an ‘‘emissions factor,’’ estimated using an<br />

algorithm which takes into account the current mix of power generation resources connected to the grid,<br />

the percent of electricity demand served by ‘‘low cost’’ or ‘‘must run’’ resources, and the type of power<br />

plants likely to be constructed in the future. As shown in Table 4, emissions factors vary widely between<br />

countries and between districts within countries. Brazilian bagasse projects typically report emissions<br />

factor of around 0.4 tCO 2 /MWh, whereas projects in India where electric grids have relatively less<br />

hydropower and relatively more power from coal or oil-fired plants with emissions factor of 0.83<br />

tCO 2 /MWh or more. This implies that a bagasse power project located in India would receive twice as<br />

many carbon offset credits as an equivalently-sized project located in Brazil [1]. For Thailand the<br />

emissions factor is 0.531 tCO 2 /MWh.<br />

The RETScreen ® International Biomass Energy Project Model uses emissions factor as input<br />

parameters to calculate CO 2 reduction of each power plant which based on total electricity input to the<br />

grid in terms of MWh/year. The technical and financial parameters of 4 power plants are shown in Table<br />

5.<br />

For combined heat and power plant, the proposed CHP system was designed in such a way that<br />

all process heat is supplied by the CHP system in the form of steam. As a result, steam turbine based<br />

CHP system may produce excess electricity depending on operating conditions. We assumed that excess<br />

electricity is sold to the grid at a rate of 50 $/MWh. Steam turbine efficiency is rated in thermodynamic or<br />

isentropic efficiency of the turbine [1]. Isentropic efficiency is the ratio of power actually generated from<br />

the turbine to what would be generated by a perfected turbine with no internal loss using steam at the<br />

inlet conditions and discharging to the same downstream pressure [1]. Steam turbine efficiency from the<br />

selected sugarcane power plant varies from 80% to 85% depending on operating condition and the size<br />

of the unit. Generator efficiency is the ratio of electrical output of the generator and rate of mechanical<br />

output of the steam turbine [5,6]. Generators are high efficient to convert mechanical energy into<br />

electricity. From this study, generator efficiencies vary from 84% to 95%. Table 5 shows the selected<br />

operating conditions and efficiencies of selected sugarcane power plants.<br />

429


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Table 5 Technical and financial parameters of publicly- available documentation for 4 bagasse<br />

projects<br />

Project Project description Electricity<br />

Production/year<br />

(MWh)<br />

Plant A 70 bar boilers, 41 MW double<br />

casing turbine generators,1<br />

cooling tower<br />

Plant B 70 bar boilers, 41 MW double<br />

casing turbine generators,1<br />

cooling tower<br />

Plant C 70 bar boilers, 30 MW<br />

extraction cum condensing<br />

turbine<br />

Plant D 68 bar boiler, 8 MW<br />

backpressure turbo-generator<br />

Electricity sold to<br />

grid/year (MWh)<br />

Registered<br />

reduction<br />

(tCO 2 /year)<br />

Total capital<br />

cost ($)<br />

271,094 175,715 93,129 48,599,473<br />

301,450 193,383 102,493 50,609,229<br />

176,534 115,942 61,449 32,231,569<br />

23,040 23,040 12,197 7,651,313<br />

Total electricity produced per year of each power plant and registered CO 2 reduction and the<br />

capital cost are shown in Table 5. The power plants with high capacity use extraction condensing turbine<br />

while the small power plant below 10 MW capacity uses backpressure turbine. The backpressure turbine<br />

based power plants is generally less expensive than the extraction based power plants.<br />

Capital cost<br />

Capital cost of biomass-fired boiler, steam turbine and other ancillary equipment was obtained<br />

from Plant Design Documents (PDDs) data. CHP system requires very high pressure boilers to produce<br />

steam for power generation, Capital cost of biomass boiler ranges from 210 to 365 $/kW th depending on<br />

the sizes of the boiler system. The cost of steam turbine is in the range of 500-1500 $/kW e depending on<br />

the turbine power rating. Wahlund [2] reported that the specific investment cost for the whole biomass<br />

based CHP system was much higher for small sizes, typically 2390 $/kW e , and is significantly lower for<br />

larger sizes, typically 1690 $/kW e .<br />

Operating cost<br />

Operating cost of the CHP plant includes labor, internal power consumptions and maintenance<br />

and fuel cost. Fuel cost of sugarcane based power plant using bagasse as fuel is assumed to be $15 per<br />

ton of bagasse.<br />

The operating and maintenance cost of biomass-based power plant is assumed to be 2-3% of the capital<br />

cost.<br />

430


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. Results and Discussion<br />

Case studies: Description of power plants<br />

A studied project, power plant A, is located in Suphanburi province about 150 km northwest of<br />

Bangkok. The activity involves the installation of two new high-pressure boilers (70 bar), one 41 MW<br />

double casing turbine generator. Power plant B is located in Chayaphum province. The proposed project<br />

activity involves the installation of two new high-pressure boilers (70 bars), one 41 MW and double casing<br />

turbine generator, one cooling tower and the construction of an 115 kV substation. Power plants C and D<br />

are located in Khon Kaen and Surin provinces, respectively. Project cost estimation and assumption are<br />

based on cost formation from a review of 4 PDDs listed from UNFCCC website. Cost and Profitability<br />

analysis follows the standard business accounting conventions by RETscreen ® international model. For all<br />

power plants, the technical and financial parameters are shown in Table 6.<br />

Table 6 Operating conditions and efficiency of CHP units<br />

Parameters Plant A Plant B Plant C Plant D<br />

Boiler efficiency (%) 90 91 85 81<br />

Steam turbine inlet pressure (bar) 68 69 70 60<br />

Steam turbine inlet temperature ( o C) 510 509 508 480<br />

Steam outlet pressure (bar) 0.08 0.08 0.08 0.07<br />

Steam outlet inlet temperature ( o C) 158 156 152 148<br />

Generator efficiency (%) 95 93 90 84<br />

Steam production rate (ton steam/ton bagasse)<br />

bagasse) bagasse/MWh)<br />

2.65 2.67 2.58 2.27<br />

This study uses following assumptions: CER prices =$15; Thailand Emissions factor = 0.531<br />

tCO 2 /MWh; Electricity Price = $50/MWh; Corporate income tax rate =30%; Tax holiday = 8 years; Debt to<br />

equity ratio = 70/30; Interest rate on debt = 7%; Bagasse price= $15/ton; Project has useful life 21 years<br />

with 1 year construction period.<br />

Figure 3 and Table 7 show the results from four selected sugarcane power plants in case of<br />

without CDM incentives. The results show that the after-tax IRR-equity varied from 9.4 to 15.1%, equity<br />

Pay Back Period varied from 10.6 to 13.2 years and net present value varied from $442,998 to<br />

$14,733,284 depending on the size of the projects.<br />

Figure 4 and Table 8 show the results from four selected sugarcane power plants in case of with<br />

CDM incentive of 15$ of CERs. The results show that after tax IRR-equity varied from 21.3 to 25.7%,<br />

equity Pay Back Period varied from 4.0 to 5.2 years and net present value varied from $3,132,543 to<br />

$29,644,060 depending on the size of the projects. It can be seen that the financial results changed<br />

significantly in case of CDM incentive schemes.<br />

431


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Economic performance data from the CHP system with 4 different sizes was given in Table 7<br />

and Table 8. The comparison is also performed in terms of the most financial evaluators; e.g. NPV, PBP,<br />

and after tax IRR-equity. Total annual operating and maintenance cost in bagasse based power plant<br />

varied from 2 to 3% of the capital cost. Annual cost saving of the CHP was calculated based on the<br />

existing heat and electricity input conditions (process heat from the bagasse based heating system and<br />

the surplus electricity being sold to the grid). Benefits to cost ratio is also improved significantly in case of<br />

CDM incentives.<br />

Table 7 Simulation results of 4 power plants without CDM incentives<br />

Plant A Plant B Plant C Plant D<br />

Pre-tax-IRR-equity 13.3% 17.9% 16.8% 12.5%<br />

After-tax IRR-equity 10.5% 15.1% 13.8% 9.4%<br />

Equity Pay Back Period 12.1 years 10.6 years 11.3 years 13.2 years<br />

Net Present Value (NPV) $904,888 $14,733,284 $7,655,479 $442,998<br />

Annual life cycle savings<br />

(per/yr)<br />

$103,162<br />

$1,444,334 $750,482 $43,428<br />

Benefit-Cost (B-C) ratio 1.06 1.97 1.79 1.19<br />

Figure 3 Financial results of selected power plants in case of without CDM incentives<br />

432


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Sensitivity analysis<br />

The IRR is selected as the dominant financial criterion. The following factors are also critical to<br />

investment factors (assuming technical excellence and selective choice):<br />

1. The Initial investment cost: Constitutes variable directly related to the viability of investment. If<br />

the initial investment is high, i.e. for complex systems, then the payback period is longer,<br />

internal rate of return is very low or negative. On the contrary, an investment with rationalized<br />

initial cost yields higher efficiency.<br />

2. Biomass procurement cost: Analyzing further the main causes of high operating cost, provides<br />

the possibility of controlling the biomass price impact (including harvesting, transportation and<br />

storage expenditures) on energy systems, in order to achieve the desired rate of interest.<br />

3. Electricity rate export: Normally, the electricity price is set by the national grid. It is clear that<br />

the higher the sale per unit of electricity, the higher the system rate of investment.<br />

4. Debt interest rate and debt ratio: The higher the debt interest rate and the debt ratio, the lower<br />

the system rate of investment. For biomass power plant projects, the debt to equity ratio is<br />

normally 70% to 30%.<br />

Table 9 shows the sensitivity of power plant A in case of without CDM incentives. The highlighted<br />

shows that IRR is below the target of the acceptable IRR of 11%.<br />

Table 8 Simulation results of 4 power plants with CDM incentives of $15 of CERs<br />

Plant A Plant B Plant C Plant D<br />

Pre-tax IRR-equity 24.5% 27.7% 27.7% 23.5%<br />

After-tax IRR-equity 22.1% 25.6% 25.7% 21.3%<br />

Equity pay back period 5.2 years 4.1 years 4.0 years 4.7%<br />

Net Present Value (NPV) $20,142,935 $29,644,060 $18.206,535 $3,132,543<br />

Annual life cycle savings (per/yr) $2,296,397 $2,906,069 $1,784,824 $307,090<br />

Benefit-Cost (B-C) ratio 2.38 2.95 2.88 2.36<br />

433


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 4 Financial results of selected power plant in case of with<br />

CDM incentives of $15 of CERs<br />

Table 9 Sensitivity study of power plant A in case of without CDM incentives<br />

Table 10 shows the potential of CO 2 emissions reduction of 46 sugar mills in Thailand. The<br />

estimated calculation is based on: 1) the specific fuel consumption in terms of ton bagasse per electricity<br />

production by the sugar mills (ton/MWh) depending on the operating conditions and technologies. For this<br />

study the specific consumption is set to be 3.77 ton/MWh, 2) the emissions factor in terms of the<br />

combined margin for Thailand is set to be 0.531, and 3) the ratio of electricity exported to the grid to the<br />

total electricity production, in sugarcane in Thailand, the ratio is approximately 60-80%.<br />

434


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. Conclusion<br />

The study of selected four sugarcane power plants in both technical and economic aspects<br />

shows availability and feasibility of the systems. The method includes financial criteria, offering a clear<br />

picture of investment viability. The RETscreen ® international model is a useful tool to evaluate<br />

performance of the bagasse power plants in terms of financial feasibility and CO 2 emissions reduction.<br />

From the case of selected four power plants in Thailand, it shows that CDM scheme can improve<br />

economic feasibility significantly at $15 of CERs. It can be estimated that CO 2 emission reductions are<br />

about 269,268 CERs for four sugarcane power plants, and about 1,908,904 CERs per year for all<br />

sugarcane power plants in Thailand.<br />

Table 10 Estimated CO 2 reduction potential from sugar mills in Thailand in 2009<br />

Sugar mills<br />

Cane crushing<br />

(Million ton )<br />

Total crushing<br />

days<br />

Bagasse estimated<br />

for power generation<br />

(Million ton)<br />

CERs<br />

Estimated<br />

(tCO 2 /year)<br />

1. Mae Wang Sugar Industrial 0.261 113 0.0756 6,796<br />

2. Uttaradit Sugar Industrial 0.371 138 0.1076 9,660<br />

3. Thai Indentities 2.095 143 0.6076 54,554<br />

4. Kampangpetch 0.923 114 0.2677 24,035<br />

5. Ruamphol Nakhonsawan 1.830 153 0.5307 47,653<br />

6. Nakornpetch 2.996 121 0.8688 78,016<br />

7. Kaset Thai 5.428 154 1.5741 141,345<br />

8. Thai Roong Ruang Industry 2.709 132 0.7856 70,542<br />

9. Phitsanulok 1.828 115 0.5301 47,601<br />

10. Singburi 1.559 145 0.4521 40,596<br />

11. Suphanburi Sugar Industry<br />

12. Refine Chaimonkol<br />

0.435<br />

0.828<br />

133<br />

82<br />

0.1261<br />

0.2401<br />

11,327<br />

21,561<br />

13. Thai Muli-Sugar Industry 1.205 119 0.3495 31,378<br />

14. Thai Sugar Industry 1.122 111 0.3254 29,217<br />

15. Prachuap Industry 0.990 111 0.2871 25,880<br />

16. Tamaka 1.415 115 0.4132 36,847<br />

17. New Krung Thai 0.909 107 0.2636 23,670<br />

18. Kanchanaburi Industry 2.163 141 0.6273 56,325<br />

19. Thai sugar Mill 1.163 111 0.3373 30,285<br />

20. Mitr Kasetr 1.009 113 0.2926 26,274<br />

21. Mitr Phol 3.540 147 1.0266 92,181<br />

22. Ban Pong 0.769 102 0.2230 20,025<br />

23. Ratchaburi 0.970 104 0.2813 25,259<br />

24. T.N. Sugar 1.172 115 0.3399 30,519<br />

25. Pranburi 0.497 100 0.1441 12,942<br />

26. Saraburi<br />

27. New Kwang Soon Lee<br />

2.624<br />

0.700<br />

134<br />

116<br />

0.7609<br />

0.2030<br />

68,329<br />

18,228<br />

28. Chonburi Sugar &Industry 0.823 107 0.2387 21,431<br />

29. Eastern Sugar 2.522 183 0.7314 65,673<br />

30. Rayong 0.595 123 0.1726 15,494<br />

31. Surin 1.668 118 0.4837 43,435<br />

32. E-Saan Sugar Industry 1.153 113 0.3343 30,024<br />

33. Mitr Kalasin 2.432 138 0.7053 63,330<br />

34. Mhahawang 0.035 22 0.0101 911<br />

435


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Sugar mills<br />

Cane crushing<br />

(Million ton )<br />

Total crushing<br />

days<br />

Bagasse estimated<br />

for power generation<br />

(Million ton)<br />

CERs<br />

Estimated<br />

(tCO 2 /year)<br />

35. Kaset phol 1.511 123 0.4382 39,347<br />

36. Korach Industry 2.857 143 0.8285 74,396<br />

37. Mitr Phu Viang 2.997 149 0.8691 78,042<br />

38. Angvian (Ratchasima) 1.366 92 0.3961 35,571<br />

39. N.Y. Sugar 2.046 136 0.5933 53,278<br />

40. Ream Udom 1.146 103 0.3323 29,842<br />

41. Kumpawapi 1.535 126 0.4451 39,971<br />

42. Khon Kaen 2.711 138 0.7862 70,594<br />

43. Saharuang 1.069 101 0.3100 27,837<br />

44. Burirum 1.454 158 0.4217 37,862<br />

45. United Farm & Industry 2.912 134 0.8444 75,828<br />

46. Erawan 0.942 116 0.2732 24,529<br />

Total 73.308 21.259 1,908,940<br />

5. Acknowledgement<br />

Authors acknowledge Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University, for<br />

providing the utilities to conduct this research and NASA renewable energy resource website team for the<br />

support of RETscreen model.<br />

6. References<br />

[1] Tyler McNish et al. (2009), Sweet carbon: An analysis of sugar industry carbon<br />

market opportunities under the clean development mechanism. Energy Policy, 37,<br />

pp.5459-5464.<br />

[2] Wahlund B. (2003), Regional bioenergy utilization in energy systems and impact on<br />

CO 2 emission. Ph.D. Dissertation, Royal Institute of Technology, Sweden.<br />

[3] RETscreen ® international. RETscreen software-online user manual for combined heat<br />

and power project model.Ottawa, ON: Natural resource Canada.<br />

[4] UNFCC, Kyoto protocol to the United Nations Framework Conventions on Climate<br />

Change, .<br />

[5] Sokhansanj S, Mani S, Tagore S, Turhollow AF. (2010), Techno-economic analysis<br />

of using corn stover to supply heat and power to a corn ethanol plant. Part 1: cost of<br />

feedstock supply logistics. Biomass & Bioenergy, 34, pp.75–81.<br />

[6] Sokhansanj S, Mani S, Tagore S, Turhollow AF. (2010), Techno-economic analysis<br />

of using corn stover to supply heat and power to a corn ethanol plant. Part 2: cost of<br />

neat and power generation. Biomass & Bioenergy, 34, pp.350–364.<br />

436


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[7] Alonso Pippo W, Garzone P, Cornacchia G. (2007), Agro-industry residues disposal:<br />

The trends of their conversion into energy carriers in Cuba. Waste Management, 27,<br />

pp.869-885.<br />

[8] Cogeneration trends and opportunities in Asian sugar industries. Available at:<br />

www.rcogenasia.com.<br />

437


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: ภาคเกษตร<br />

(Session II Greenhouse Gas Mitigation: Agriculture<br />

Sector)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ศักยภาพการเก็บกักคารบอนในสวนยางพาราของประเทศไทย<br />

Carbon Stocks and Sequestration Potential in Para Rubber Plantation in Thailand<br />

สุภาวรรณ เพ็ชศรี<br />

1 และ อํานาจ ชิดไธสง 1<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

*Corresponding author: amnat_c@jgsee.kmutt.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

ประเทศไทยเปนประเทศสงออกยางธรรมชาติเปนอันดับ 1 ของโลก ในป 2547 พื้นที่ปลูกยางพารา<br />

ในประเทศไทยมีประมาณ 2.07 ลานเฮกแตร เพิ่มขึ้นจากป 2533 ประมาณ 0.31 ลานเฮกแตร ยางพาราเก็บกัก<br />

คารบอนไวในชีวมวลจากสวนของลําตน กิ่ง ใบ และราก นอกจากนี้ การใชประโยชนจากไมยางเมื่อมีการตัดโคน<br />

สวนยางที่มีอายุครบรอบการตัดฟนประมาณ 25 ป ไดเก็บกักคารบอนในรูปของเฟอรนิเจอรหรือผลิตภัณฑจากไม<br />

ยางพารา และชวยยืดเวลาการคืนกาซคารบอนสูบรรยากาศไดอีกประมาณ 30 ป อยางไรก็ตาม ในปจจุบันยังขาด<br />

ขอมูลการวิจัยเกี่ยวกับการประมาณการสะสมคารบอนในสวนยางพาราอายุ 1-25 ป และการประเมินปริมาณการ<br />

สะสมคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราทั้งประเทศ ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินศักยภาพ<br />

การเก็บกักคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราของประเทศไทยในป 2547 โดยใชสมการ Allometric relation ในการ<br />

ประมาณชีวมวลในสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากของยางพาราจากขอมูลทุติยภูมิ และใชสมการ Logistic growth<br />

model เพื่อประมาณชีวมวลในพื้นที่สวนยางพาราอายุ 1-25 ป สําหรับการประมาณปริมาณการเก็บกักคารบอนใน<br />

พื้นที่ปลูกยางพาราของประเทศไทยป 2547 ใชขอมูลสถิติการปลูกยางพาราของสํานักงานสถิติการเกษตร โดย<br />

แบงพื้นที่ปลูกยางพาราเปนสองชวงคือพื้นที่ปลูกยางพาราชวงอายุกอนกรีด (อายุ 1-6 ป) และพื้นที่ปลูกยางพารา<br />

ชวงที่ใหผลผลิตน้ํายาง (อายุ 7-25 ป) คูณกับคาเฉลี่ยของปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพารา ชวงอายุกอน<br />

กรีดและคาเฉลี่ยของปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพาราชวงอายุที่ใหผลผลิตน้ํายางที่ไดจากการศึกษาใน<br />

ครั้งนี้ ผลการศึกษาพบวาปริมาณการเก็บกักคารบอนรวมในสวนยางพาราที่อายุ 1 ปเทากับ 11.89 ตันคารบอนตอ<br />

เฮกแตร และเพิ่มขึ้นเปน 128.40 ตันคารบอนตอเฮกแตร ในสวนยางพาราอายุ 25 ป เมื่อประเมินคาเฉลี่ยของ<br />

ปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพาราชวงอายุกอนกรีด (18.90+5.30 ตันคารบอนตอเฮกแตร) และคาเฉลี่ย<br />

ของปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพาราชวงอายุที่ใหผลผลิตน้ํายาง (84.74 + 31.37 ตันคารบอนตอเฮก<br />

แตร) รวมกับสถิติพื้นที่ปลูกยางพาราของประเทศไทยของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรป 2547 พบวามีปริมาณ<br />

การเก็บกักคารบอนจากในสวนยางพาราประมาณ 148.18 ตันคารบอน<br />

คําสําคัญ: การเก็บกักคารบอน การปลอยกาซเรือนกระจก ยางพารา<br />

Abstract<br />

Thailand is the world’s largest producer of natural rubber. According to Rubber Research<br />

Institute, Department of Agriculture (2008), para rubber plantation has increased from 1.76 million ha in<br />

1990 to 2.07 million ha in 2007. Para rubber can be the potential sources of carbon storage, in its<br />

439


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

biomass of stem, branch, leaf and root. As the economic life of the rubber trees is 25–30 years, about 3–<br />

4% of the rubber growing area is cut down for replanting annually. This fraction of carbon is used and<br />

therefore conserved in the form of furniture or the other rubber wood products for another ca. 30 years.<br />

Although the past studies on carbon stock in rubber trees plantation has covered part of biomass and<br />

soil, most exclude the study on carbon stock with regards to; 1) age of rubber and 2) total annual carbon<br />

stock in rubber plantation in Thailand. This study focuses on the carbon stocks in living biomass in para<br />

rubber plantation in Thailand in 2004 according to age of rubber tree.<br />

The carbon stocks in living rubber tree (above- and below-ground) were estimated by using<br />

allometric equation. The carbon content along the growth of rubber tree was estimated from the<br />

relationship between the mean total carbon content in biomass per area and the age of the rubber tree by<br />

using logistic growth model. Annual carbon stock in rubber tree was estimated from the para rubber<br />

plantation area and carbon content in para rubber plantation at the age from 1 to 25-year-old. Data of<br />

rubber tree planting area in 2004 were collected from Thailand rubber statistics (Agriculture Economics,<br />

2004). This study used the average value of carbon stock in two stages of para rubber at the age of 1 to 6<br />

years old (18.90 + 5.30 tC ha -1 ) and the age of 7 to 25 years old (84.74 + 31.37 tC ha -1 ) to multiply with in<br />

annual para rubber plantation area. The results show that the carbon stock in living biomass in para<br />

rubber plantation in 2004 was 148.18 tC.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ปลอยสูบรรยากาศโดยกิจกรรมตางๆ ของมนุษย คิดเปนประมาณ<br />

ประมาณรอยละ 55 ของการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมดป 2542 เปนผลใหความเขมขนของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศไดเพิ่มขึ้นเปน 367 ppmv จาก 280 + 10 ppmv ในชวงกอนการปฏิวัติ<br />

อุตสาหกรรม (IPCC, 2001) ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากกิจกรรม<br />

การใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนพลังงาน ในระหวางป 2533-2542 มีอัตราการเพิ่มขึ้นของกาซคารบอนไดออกไซดใน<br />

บรรยากาศ ประมาณ 6.3 + 0.4 Pg C ตอป (Kondratyev และคณะ, 2003) การเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจกใน<br />

บรรยากาศสงผลกระทบตอสภาวะโลกรอน ที่เปนภัยคุกคามโลกทั้งดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและการปาไม เปนกิจกรรมที่มีบทบาทสําคัญ<br />

ตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณกาซเรือนกระจกในบรรยากาศ โดยมีบทบาททั้งในการทําหนาที่เก็บกักและปลอยกาซ<br />

คารบอนในบรรยากาศ ตนไมเปนกลไกสําคัญในการดูดซับคารบอนโดยกระบวนการสังเคราะหเคราะหแสง โดย<br />

เก็บกักไวในรูปของชีวมวลทั้งในสวนเหนือดินและสวนใตพื้นดิน ในขณะเดียวกันจะมีการปลอยกาซคารบอนสู<br />

บรรยากาศ โดยขบวนการหายใจ ป 2537 ประเทศไทยมีการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินและการปาไมประมาณ 99,577 Gg คารบอนไดออกไซดเทียบเทา และเก็บกักกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดประมาณ 39,102 Gg คารบอนไดออกไซดเทียบเทา สงผลใหมีการปลอยกาซเรือนกระจกสุทธิ<br />

ประมาณ 60,476 Gg (Ministry of Science, Technology and Environment, 2002)<br />

ยางพารา (Hevea brasiliensis Müll.Arg.) เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย โดยประเทศ<br />

ไทยเปนผูผลิตและสงออกยางธรรมชาติเปนอันดับ 1 ของโลก ป 2552 มีปริมาณการผลิต 3.16 ลานตัน (รอยละ<br />

32.91 ของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของโลก) และการสงออกยางธรรมชาติ 2.73 ลานตัน (รอยละ 39.67<br />

ของปริมาณการสงออกยางธรรมชาติของโลก) นอกจากนี้ผลผลิตจากสวนยางพาราไดแก ผลิตภัณฑยาง ไม<br />

440


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ยางพาราแปรรูป และผลิตภัณฑไมยางพารา ยังมีความสําคัญตอภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และการสงออก<br />

ของประเทศ ในป 2551 พื้นที่ปลูกยางพาราของประเทศไทยมีประมาณ 2.70 ลานเฮกแตร (สถาบันวิจัยยาง,<br />

2553) ภาคใตมีพื้นที่ปลูกมากที่สุด รองลงมาเปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกรวมภาคกลาง และ<br />

ภาคเหนือตามลําดับ การปลูกยางพารานอกจากสรางรายไดใหกับเกษตรกรแลวยังเปนการสรางสวนปาเศรษฐกิจ<br />

และเพิ่มพื้นที่สีเขียวของประเทศ รวมถึง การดูดซับคารบอนไวในชีวมวลจากสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากของ<br />

ตนยางพารา นอกจากนี้การใชประโยชนจากไมยางเมื่อมีการตัดโคนสวนยางเพื่อปลูกใหม ในสวนยางพาราอายุ 25<br />

ป ยังชวยเก็บกักคารบอนในรูปของเฟอรนิเจอรหรือผลิตภัณฑจากไมยางพาราจนกระทั่งหมดอายุการใชงานของ<br />

ผลิตภัณฑ ทั้งนี้ ไดมีงานวิจัยที่เกี่ยวของกับวัฏจักรคารบอนในสวนยางพาราของประเทศไทย โดย Yoosuk (2005)<br />

และ Konggrattanachok (2005) ไดศึกษาปริมาณการสะสมคารบอนในสวนยางพาราที่จังหวัดระยองพบวาในตน<br />

ยางพาราอายุ 6, 15, 16 และ 20 ป มีการสะสมคารบอนประมาณ 34.5, 77.34, 88.38 และ 138.93 ตันคารบอนตอ<br />

เฮกแตร และอัตราการสะสมคารบอนในดินที่ความลึก 0.30 เมตรในสวนยางพาราอายุ 8, 12 และ 25 ป<br />

เทากับ 0.37, 0.43 และ 0.49 ตันคารบอนตอไรตอป อยางไรก็ตาม ขอมูลการเก็บกักคารบอนในสวนยางพาราของ<br />

ประเทศไทยยังขาดความสมบูรณดานการประมาณการสะสมคารบอนในสวนยางพาราตั้งแตเริ่มปลูกจนถึง<br />

ระยะเวลาการตัดโคน และการประเมินปริมาณการสะสมคารบอนรายปในพื้นที่สวนยางของประเทศไทย ดังนั้น<br />

การศึกษาในครั้งนี้จึงประเมินการเก็บกักคารบอนในสวนยางพาราอายุ 1-25 ป ของประเทศไทยในป 2547<br />

2. วัตถุประสงค<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

เพื่อประเมินศักยภาพการเก็บกักคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราของประเทศไทยป 2547<br />

การประมาณปริมาณชีวมวลในสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากของยางพารา ใชสมการ Allometric<br />

relation (สมการที่ 1 - 3) ซึ่งคํานวณจากความสัมพันธระหวางเสนผานศูนยกลางที่ระดับอกและความสูงของตน<br />

ยางพารารวมกับปริมาณชีวมวลสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากของยางพาราจากการสํารวจของ Witthawatchutikul<br />

และ Jirasuktaveekul (1988) และ Bangjan และ Yingjajaval (2001) และนําขอมูลความสูงและเสนผานศูนยกลาง<br />

ที่ความสูงประมาณ 170 เซนติเมตรจากผิวดินของตนยางพาราจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ (ตารางที่ 1) มาคํานวณใน<br />

สมการที่ 1 - 3 เพื่อประมาณชีวมวลในตนยางพารา ซึ่งคาเฉลี่ยความหนาแนนของตนยางพาราตอพื้นที่ที่ใชใน<br />

การศึกษาในครั้งนี้เทากับ 419 ตนตอเฮกแตร จากนั้นใชสมการ Logistic growth model (สมการ 4) เพื่อประมาณ<br />

ชีวมวลในพื้นที่ สวนยางพาราอายุ 1-25 ป<br />

2<br />

log B<br />

S+B<br />

= 0.9254 log(D H) - 1.2218 ; r 2 = 0.9744 (1)<br />

2<br />

log B<br />

L<br />

= 0.6958 log(D H) - 1.5986 ; r 2 = 0.9473 (2)<br />

2<br />

log B<br />

R<br />

= 0.6648 log(D H) - 0.9340 ; r 2 = 0.9777 (3)<br />

เมื่อ B S+B = ปริมาณชีวมวลในลําตนและกิ่งของตนยางพารา (กิโลกรัมตอตน),<br />

B L<br />

= ปริมาณชีวมวลในใบของยางพารา (กิโลกรัมตอตน),<br />

441


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

CB<br />

B R<br />

= ปริมาณชีวมวลในใบของยางพารา (กิโลกรัมตอตน),<br />

D = ความยาวของเสนผานศูนยกลางที่ระดับ 170 เซนติเมตร ของตนยางพารา (เซนติเมตร),<br />

H<br />

STOCK<br />

= ความสูงตนยางพารา (เมตร)<br />

CB STOCK , max<br />

= (4)<br />

1<br />

− rt<br />

+ me<br />

เมื่อ CB STOCK = ปริมาณการเก็บกักคารบอนในยางพารา (ตันคารบอนตอเฮกแตรตออายุยางพารา)<br />

CB STOCK,max<br />

t<br />

m = คาคงที่<br />

r = คาคงที่<br />

= ปริมาณการเก็บกักคารบอนสูงสุดในยางพารา (ตันคารบอนตอเฮกแตร)<br />

= อายุยางพารา (ป)<br />

ตารางที่ 1 ความสูงและเสนผานศูนยกลางของตนยางพารา<br />

อายุ จํานวน ความสูง เสนผานศูนยกลาง<br />

ยางพารา ขอมูล + S.D.<br />

+ S.D.<br />

อางอิง<br />

(ป) (เมตร) (เมตร)<br />

1 2 0.45 + 0.07 0.53 + 0.11 Bangjan and Yingjajaval, 2001 and<br />

Yingjajaval and Bangjan, 2002<br />

2.5 1 4.60 + 0 3.02 + 0 Bangjan and Yingjajaval, 2001<br />

4 1 11.40 + 11.40 12.01 + 0 Yoosuk, 2005<br />

5 4 12.59 + 3.35 12.12 + 5.21 Bangjan and Yingjajaval, 2001,<br />

Yingjajaval and Bangjan, 2002,<br />

Witthawathchutikul and<br />

Jirasuktaveekul, 1988, Yoosuk,<br />

2005<br />

6 1 15.94 + 0 17.26 + 0 Yoosuk, 2005<br />

7 5 14.10 + 1.05 17.60 + 0.66 Singhapun, 1990 and Suksamran,<br />

1993<br />

8 8 14.14 + 1.84 16.58 + 1.00 Witthawathchutikul and<br />

Jirasuktaveekul, 1988 and<br />

Suksamran, 1993<br />

9 7 13.72 + 2.17 17.79 + 1.44 Suksamran, 1993<br />

442


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 ความสูงและเสนผานศูนยกลางของตนยางพารา (ตอ)<br />

อายุ จํานวน ความสูง เสนผานศูนยกลาง<br />

อางอิง<br />

ยางพารา ขอมูล + S.D.<br />

+ S.D.<br />

(ป) (เมตร) (เมตร)<br />

10 28 17.21 + 3.24 18.85 + 1.96 Yingjajaval and Bangjan, 2002,<br />

Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

11 23 16.98 + 2.23 19.34 + 1.60 Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

12 28 19.11 + 3.16 20.96 + 1.44 Bangjan and Yingjajaval, 2001,<br />

Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

13 23 20.89 + 2.38 21.50 + 1.76 Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

14 23 20.66 + 1.84 22.37 + 1.74 Yoosuk, 2005, Suksamran, 1993 and<br />

Singhapun, 1990<br />

15 31 20.15 + 3.12 23.03 + 2.63 Yingjajaval and Bangjan, 2002,<br />

Yoosuk, 2005, Kongrattanachok, 2005,<br />

Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

16 30 20.33 + 2.44 23.35 + 2.13 Yoosuk, 2005, Suksamran, 1993 and<br />

Singhapun, 1990<br />

17 23 21.50 + 2.76 22.96 + 1.65 Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

18 22 23.11 + 3.00 24.16 + 3.12 Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

19 24 21.22 + 1.81 24.09 + 2.84 Witthawathchutikul and<br />

Jirasuktaveekul, 1988, Suksamran,<br />

1993 and Singhapun, 1990<br />

20 25 22.42 + 3.06 26.82 + 2.27 Bangjan and Yingjajaval, 2001,<br />

Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

21 23 21.78 + 3.58 25.72 + 1.91 Suksamran, 1993 and Singhapun,<br />

1990<br />

22 159 22.03 + 5.40 25.53 + 7.39 Sukwatnijakul, 2002, Suksamran,<br />

1993 and Singhapun, 1990<br />

443


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 ความสูงและเสนผานศูนยกลางของตนยางพารา (ตอ)<br />

อายุ จํานวน ความสูง เสนผานศูนยกลาง อางอิง<br />

ยางพารา ขอมูล + S.D.<br />

+ S.D.<br />

(ป) (เมตร) (เมตร)<br />

23 184 21.55 + 4.96 25.58 + 3.94 Yoosuk, 2005, Sukwatnijakul,<br />

2002, Suksamran, 1993 and<br />

Singhapun, 1990<br />

24 21 23.13 + 2.95 32.26 + 3.79 Suksamran, 1993 and<br />

Singhapun, 1990<br />

25 25 23.43 + 2.69 31.56 + 3.59 Yoosuk, 2005, Yingjajaval and<br />

Bangjan, 2002, Suksamran,<br />

1993 and Singhapun, 1990<br />

26 2 22.11 + 0.07 30.72 + 0.59 Singhapun, 1990<br />

คาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธระหวางปริมาณการสะสมคารบอนและอายุยางพาราที่ไดจากสมการ<br />

Logistic growth model แสดงในตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 คาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธระหวางปริมาณการสะสมคารบอนและอายุยางพารา<br />

4. ผลการศึกษา<br />

พารามิเตอร สัมประสิทธิ์ R 2<br />

CB STOCK,max (tC ha -1 ) 142.47 0.96<br />

m 13.31<br />

r 0.19<br />

ผลการศึกษาพบวาปริมาณการเก็บกักคารบอนรวมในสวนยางพาราที่อายุ 1 ปเทากับ 11.89 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตร และเพิ่มขึ้นเปน 128.40 ตันคารบอนตอเฮกแตร ในสวนยางพาราอายุ 25 ป (ตารางที่ 3)<br />

อัตราการเพิ่มขึ้นของการสะสมคารบอนในตนยางพาราเริ่มชะลอตัวลงเมื่อยางพาราอายุประมาณ 20 ป ผลจาก<br />

การศึกษาในครั้งนี้ใกลเคียงกับผลการศึกษาของ Yoosuk (2005) และ Konggrattanachok (2005) ซึ่งพบวาปริมาณ<br />

การสะสมในสวนยางพาราอายุ 6, 15, 16 และ 20 ป เทากับ 34.5, 77.34, 88.38, และ 138.93 ตันคารบอนตอเฮก<br />

แตร เชนเดียวกับผลการศึกษาของ Wauters และคณะ (2008) ที่พบวาประมาณการสะสมคารบอนของตนยางพารา<br />

อายุ 14 ป ที่เขตตะวันตกของ Ghana และเมือง Mato Grosso ในประเทศบราซิลเทากับ 76.3 และ 41.7 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตร อยางไรก็ตามปริมาณการสะสมคารบอนในเมือง Mato Grosso ต่ํากวาเนื่องจากเขตตะวันตก<br />

ของ Ghana ใน Ghana มีสภาพอากาศแหงแลงกวาเมือง Mato Grosso การสะสมคารบอนในยางพาราสวนใหญ<br />

444


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อยูในสวนของลําตน (รอยละ 81.08 ของการสะสมคารบอนในตนยางพารา) รองลงมาสะสมในสวนของราก (รอย<br />

ละ 14.71 ของการสะสมคารบอนในตนยางพารา) และใบ (รอยละ 4.21 ของการสะสมคารบอนในตนยางพารา)<br />

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการสะสมคารบอนเหนือพื้นดินในสวนยางพาราที่อายุครบรอบการตัดฟนกับ<br />

สวนปาเศรษฐกิจประเภทอื่น พบวาปริมาณการสะสมคารบอนเหนือพื้นดินในสวนยางพาราอายุ 25 ป (109.52 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตร) สูงกวาสวนปาสักอายุ 25 ป (30.72 ตันคารบอนตอเฮกแตร) (Chittachumnonk และคณะ,<br />

2002) สวนปายางนา อายุ 19 ป (70.71 ตันคารบอนตอเฮกแตร) (Peawsa-ad และ Viriyabuncha, 2002) สวน<br />

ปากระถินเทพาอายุ 7 ป (47.90 ตันคารบอนตอเฮกแตร) (Peawsa-ad and Viriyabuncha, 2002) และสวนปายูคา<br />

ลิปตัสอายุ 4 ป (13.59 ตันคารบอนตอเฮกแตร) (Wisarat, 1993) จากผลการศึกษาดังกลาวไดบงชี้ถึงศักยภาพของ<br />

ยางพาราในการเก็บกักคารบอนนอกเหนือจากประโยชนโดยตรงจากการเปนพืชเศรษฐกิจที่มีบทบาทสําคัญตอ<br />

เกษตรกรรายยอยของประเทศกวา 1 ลานครอบครัว รวมถึงรายไดจากการสงออกผลิตภัณฑยางธรรมชาติและ<br />

อุตสาหกรรมผลิตภัณฑไมยางพารา<br />

การประเมินปริมาณคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราของประเทศไทย ป 2547 โดยประมาณจาก<br />

คาเฉลี่ยของปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพาราชวงอายุกอนกรีด (18.90+5.30 ตันคารบอนตอเฮกแตร)<br />

และคาเฉลี่ยของปริมาณการเก็บกักคารบอนในตนยางพาราชวงอายุที่ใหผลผลิตน้ํายาง (84.74 + 31.37 ตัน<br />

คารบอนตอเฮกแตร) รวมกับสถิติพื้นที่ปลูกยางพาราของประเทศไทยของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรป 2547<br />

ซึ่งมีพื้นที่ปลูกยาง 2.07 ลานเฮกแตร โดยจําแนกเปนพื้นที่สวนยางพาราชวงอายุกอนกรีด 0.41 ลานเฮกแตร และ<br />

พื้นที่สวนยางชวงอายุที่ใหผลผลิตน้ํายาง 1.66 ลานเฮกแตร ผลการคํานวณพบวาปริมาณการเก็บกักคารบอนใน<br />

สวนยางพาราป 2547 มีประมาณ 148.18 ตันคารบอน โดยมีปริมาณการเก็บกักคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราชวง<br />

อายุที่ใหผลผลิตน้ํายางรอยละ 94.70 ของพื้นที่สวนยางพาราทั้งหมด<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณการเก็บกักคารบอนรวมในสวนยางพาราอายุ 1-25 ป<br />

อายุ<br />

(ป)<br />

การสะสมคารบอนในสวนยางพารา<br />

(ตันคารบอนตอเฮกแตร)<br />

อัตราการเพิ่มขึ้นของการสะสมคารบอน<br />

(ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป)<br />

1 11.89 2.26<br />

2 14.15 2.64<br />

3 16.79 3.06<br />

4 19.85 3.52<br />

5 23.37 3.99<br />

6 27.36 4.50<br />

7 31.86 5.00<br />

8 36.86 5.48<br />

9 42.34 5.92<br />

10 48.26 6.31<br />

11 54.57 6.59<br />

12 61.16 6.77<br />

13 67.93 6.83<br />

14 74.76 6.77<br />

15 81.53 6.59<br />

445


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณการเก็บกักคารบอนรวมในสวนยางพาราอายุ 1-25 ป (ตอ)<br />

อายุ<br />

(ป)<br />

การสะสมคารบอนในสวนยางพารา<br />

(ตันคารบอนตอเฮกแตร)<br />

อัตราการเพิ่มขึ้นของการสะสมคารบอน<br />

(ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป)<br />

16 88.12 6.29<br />

17 94.41 5.91<br />

18 100.32 5.47<br />

19 105.79 4.98<br />

20 110.77 4.48<br />

21 115.25 3.98<br />

22 119.23 3.50<br />

23 122.73 3.04<br />

24 125.77 2.63<br />

25 128.40 2.26<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ศักยภาพในการสะสมคารบอนในสวนยางพาราของประเทศไทยป 2547 เทากับ 148.18 ตัน<br />

คารบอน โดยมีปริมาณการเก็บกักคารบอนในพื้นที่สวนยางพาราชวงอายุที่ใหผลผลิตน้ํายางรอยละ 94.70 ของ<br />

พื้นที่สวนยางพาราทั้งหมด โดยประมาณการสะสมของคารบอนในตนยางพาราสวนใหญจะอยูในสวนเหนือพื้นดิน<br />

(รอยละ 81.08 ของการสะสมคารบอนในตนยางพารา) สวนการสะสมคารบอนในรากยางพารามีประมาณรอยละ<br />

18.92 ของการสะสมคารบอนในตนยางพารา<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Bangjan, J. and Yingjajaval, S. (2001), Biomass and Major Nutrient Contents of Para Rubber,<br />

RRIM 600 (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) in the Eastern Region. Bangkok: Kasetsart University.<br />

- Chittachumnonk, P. Sutthisrisinn, C. Samran, S. Viriyabuncha, C. Peawsa-ad, K. (2002),<br />

Improving Estimation of Annual Biomass Increment and Above-Ground Biomass of Teak Plantation<br />

using Site-Specific Allometric Regression in Thailand. Bangkok: Royal Forest Department.<br />

- Goh K.M. and Phillips K.J.. (1991), Effects of Clear Fell Logging and Burning of a Nothofagus<br />

Forest on Soil Nutrient Dynamics in South Island, New Zealand – Changes in Forest Floor Organic<br />

Matter and Nutrient Status. New Zealand Journal of Botany, Vol. 29: 367-384.<br />

- IPCC. (1997), “Revised 1996 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories”.<br />

Available online: http://www.ipcc- nggip.iges.or.jp/public/gl /invs5d.html.<br />

- IPCC. (2001),“Climate Change 2001: Impacts, Adaptation and Vulnerability”. Available online:<br />

http://www.grida.no/climate/ipcc_tar/wg2/001.html.<br />

446


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- J.B. Wauters , S. Coudert , E. Grallien , M. Jonard , Q. Ponette. Carbon stock in rubber tree<br />

plantations in Western Ghana and Mato Grosso (Brazil). Forest Ecology and Management 255<br />

(2008) 2347–2361.<br />

- Kondratyev, K.Y., Krapivin V.F., Varotsos C.A. (2003), Global Carbon Cycle and Climate Change.<br />

Praxis Publishing Chichester, UK.<br />

- Konggrattanachok (2005) [Kongrattanachok P. (2005) Carbon sequestration in Casava and Para<br />

Rubber Plantation, Rayong Province. Bangkok: Mahidol University.<br />

- Ministry of Science, Technology and Environment. (2002), “Thailand’s Initial National<br />

Communication under the United Nations Framework Convention on Climate Change”. Available<br />

online: http://unfccc.int/resource/ docs/natc/thainc1.pdf.<br />

- Peawsa-ad, K. and Viriyabuncha, C. (2002), Growth and Aboveground Biomass of Acacia<br />

mangium Willd. Bangkok: Royal Forest Department.<br />

- Rubber Research Institute Department of Agriculture. (2004), Thailand Rubber Statistics.<br />

Bangkok: Rubber Research Institute Department of Agriculture.<br />

- Singhapun, S. (1990), Assessment of Wood Production from Rubber Plantation in Changwat Trat.<br />

Bangkok: Kasetsart University.<br />

- Suksamran, R.(1993), Product of Rubber Tree Plantation. Bangkok: Kasetsart University.<br />

- Sukwatnijakul, S. (2002), Financial Analysis of Para Rubber Plantation Investment in Changwat<br />

Rayong. Bangkok: Kasetsart University.<br />

- Wisarat, T. (1993), Aboveground Biomass of Eucalyptus camaldulensis and Acacia mangium<br />

Willd. Bangkok: Royal Forest Department.<br />

- Witthawatchutikul and Jirasuktaveekul (1988), Aboveground Biomass Production of Para-Rubber<br />

Plantation at Rayong Watershed. Bangkok: Royal Forest Department.<br />

- Yingjajaval, S. and Bangjan, J. (2002) Biomass and Major Nutrient Contents of Para Rubber,<br />

RRIM 600 (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) in the Southern Region. Bangkok: Kasetsart University.<br />

- Yoosuk S. (2005), Carbon Sinks in rubber Platations of Klaeng District, Rayong Province,<br />

Thailand. Bangkok: Mahidol University.<br />

- สถาบันวิจัยยาง. (2553), ขอมูลวิชาการยางพารา 2553. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการเกษตร.<br />

447


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปริมาณคารบอนสะสมในดินและอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซด<br />

ของพื้นที่การเกษตรที่ปลอยทิ้งราง<br />

Soil Organic Carbon Stock and Rate of Carbon Dioxide Emission of Abandoned<br />

Agricultural Land<br />

นิตยา ชาอุน 1,2 , กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ 2 และ สิรินทรเทพ เตาประยูร 1,2<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และ<br />

ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลอม เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ<br />

แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ประเทศไทยมีพื้นที่ทิ้งรางเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะพื้นที่ที่เคยใชในการเกษตรเชน ไร และนา ซึ่งคิด<br />

เปนรอยละ 0.014 และ 0.153 ของเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ ตามลําดับ พื้นที่ทิ้งรางเหลานี้ขาดการจัดการและ<br />

การใชประโยชน ทําใหคุณสมบัติของดินและปริมาณคารบอนที่สะสมในดินเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลตอการ<br />

ปลดปลอยคารบอนไดออกไซด จากดินสูชั้นบรรยากาศ อันเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอน ดังนั้นใน<br />

การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อทําการหาปริมาณคารบอนที่สะสมอยูในดินและอัตราการปลดปลอย<br />

คารบอนไดออกไซดของพื้นที่นาราง โดยไดทําการศึกษาในพื้นสวนหนึ่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา<br />

ธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี ซึ่งเดิมพื้นที่สวนนี้เคยเปนปาเต็งรัง แลวถูกเปลี่ยนไปใชประโยชนเปนนาขาว แลว<br />

ภายหลังไดถูกปลอยทิ้งรางไว ในการศึกษานี้ไดทําการวิเคราะหคุณสมบัติพื้นฐานของดิน ปริมาณคารบอนสะสมใน<br />

ดิน และอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดิน ผลการศึกษาพบวาดินที่ระดับความลึก 0-15 และ 15-30<br />

เซนติเมตรมีคาความหนาแนนรวมเปน 1.75 และ 1.88 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ ปริมาณคารบอน<br />

สะสมในดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตรเทากับ 1.68 ตันคารบอนตอไร และที่ระดับความลึก 15-30<br />

เซนติเมตรเทากับ 1.00 ตันคารบอนตอไร ดินในพื้นที่นารางหลังการไถพรวน มีอัตราการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดอยูในชวง 240.95 - 535.56 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอชั่วโมง ซึ่งมีคานอยกวาอัตราการ<br />

ปลดปลอยจากปาเต็งรังในเดือน กุมภาพันธ ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2551 (192.30 - 599.53 มิลลิกรัมตอตารางเมตร<br />

ตอชั่วโมง) ผลการศึกษานี้ใชเปนขอมูลพื้นฐานสําคัญ ในการศึกษาวิจัยการจัดการพื้นที่ทิ้งราง เพื่อพัฒนารูปแบบ<br />

การปลูกพืช การจัดการดินที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเปนแนวทาง<br />

ในการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก อันเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอนตอไป<br />

คําสําคัญ: คารบอนสะสมในดิน คารบอนไดออกไซด พื้นที่การเกษตร ปลอยทิ้งราง<br />

448


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Thailand has abandoned land a lot. The area that was used in agriculture include farm area and<br />

rice field, which accounted for 0.014 % and 0.153 % of all agricultural land area in country, respectively.<br />

These areas are lack of management and utilization, its cause to changing the soil properties and soil<br />

carbon stock. That affects the carbon dioxide emission from soil to the atmosphere, which one of the<br />

reasons cause to global warming. Therefore, the aims of this study to find the amount of carbon<br />

accumulated in the soil (soil organic carbon stock) and carbon dioxide emission rate of abandoned rice<br />

field. This research was studied in the part of King Mongkut's University of Technology Thonburi,<br />

Ratchaburi Campus. This area was formerly a dipterocarp forest. Then be changed to use a rice field and<br />

will be released abandoned land. In this study examined the basic properties of soil, soil carbon stock and<br />

rate of carbon dioxide emission from soil. The results showed that, the soil depth of 0-15 and 15-30 cm<br />

has bulk density 1.75 and 1.88 g cm -3 , respectively. Soil organic carbon (SOC) stock in soil at 0-15 cm<br />

depth was 1.68 ton C rai -1 and 15-30 cm depth was 1.00 ton C rai -1 . The emission rates of carbon dioxide<br />

in plowed rice field abandoned were in the range of 240.95 to 535.56 mg m -2 hr -1 , which is less than the<br />

emission rate of dipterocarp forest in February to July 2551 (192.30 to 599.53 mg m -2 hr -1 ). This study is<br />

important basic information in study abandoned area management for develop a model of plantation. The<br />

appropriate soil management to ensure that land use more efficient and ways to reduce greenhouse<br />

gases emission as the main reasons that cause global warming continue.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ดิน น้ํา บรรยากาศ เชื้อเพลิง และสิ่งมีชีวิตบนบก เปนแหลงสะสมคารบอนที่สําคัญ โดยเฉพาะการ<br />

สะสมคารบอนในดินที่มีปริมาณเปน 2 เทาของบรรยากาศ 3 เทาของสิ่งมีชีวิตบนบก 0.33 เทาของปริมาณเชื้อเพลิง<br />

และ 0.04 เทาของปริมาณที่มีอยูในน้ํา ดังนั้นปริมาณคารบอนที่สะสมในสวนของสิ่งมีชีวิตบนบก (สวนใหญเปนปา<br />

ไม) และดิน จึงมีบทบาทสําคัญในการลดปริมาณคารบอนไดออกไซด แตทั้งนี้คารบอนในดินสวนใหญอยูในรูปแบบ<br />

อินทรียคารบอนซึ่งจะเสถียรกวารูปมวลชีวภาพของปาไม (พจนีย มอญเจริญ, 2544) การปลดปลอยคารบอนจาก<br />

ดินอยูในรูปของกาซ ซึ่งมีหลายชนิด เชน มีเทนจากนาขาว คารบอนไดออกไซดและสารประกอบไนโตรเจน จาก<br />

การเผาไหม การเนาเปอยของอินทรียวัตถุ การจัดการพื้นที่ปาไมและพื้นที่เกษตร (พจนีย มอญเจริญ, 2544; IPCC,<br />

2006; Cerri et al., 2007; U.S EPA., 2008)<br />

พื้นที่รางเปนพื้นที่ที่ถูกปลอยทิ้งไวโดยไมไดเขาทําประโยชนตอเนื่องกัน ตั้งแต 1 ปขึ้นไป พื้นที่ราง<br />

ดังกลาวเปนพื้นที่ที่เคยทําการเกษตรกรรมมากอนและปลอยทิ้งไวไมเขาทําประโยชนดวยสาเหตุตางๆ กัน<br />

นอกจากพื้นที่รางที่เคยทําการเกษตรกรรมมากอนแลว ยังมีพื้นที่รางที่เคยทําเหมืองแรมากอน และที่ลุมตางๆ<br />

รวมอยูดวย (สํานักปองกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร, 2553) ที่ดินของประเทศไทยถูกทิ้งรางโดย<br />

ไมไดใชประโยชนกระจัดกระจายอยูในทุกภาคของประเทศในรูปแบบแตกตางกัน เชน นาราง ไรราง ปาละเมาะ ที่<br />

ลุมและเหมืองแรราง ซึ่งกอใหเกิดความสูญเสียโอกาสทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคม สาเหตุเนื่องจากดินที่มีปญหา<br />

หลายดาน ไดแก ขาดความอุดมสมบูรณ ดินเปรี้ยวจัด ดินทรายจัด ดินเค็ม พื้นที่ลาดชันมีปญหาชะลางพังทลาย<br />

ของดินสูง หรืออยูในพื้นที่ประสบภัยธรรมชาติเปนประจําทั้งน้ําทวม ภัยแลง รวมทั้งการระบาดของโรคและศัตรูพืช<br />

ปญหาเหลานี้สงผลกระทบตอผลผลิตทางการเกษตรและรายได ทําใหเกิดการทิ้งรางที่ดิน (กลุมวิเคราะหขาวและ<br />

449


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ฐานขอมูล สํานักโฆษก, 2550) ในสวนของนาราง ซึ่งมีลักษณะทั่วไปเปนที่ราบลุม ในอดีตมีการทํานาทั้งนาดําและ<br />

นาหวาน แตปจจุบันปลอยทิ้งรางไว ในฤดูฝนมักมีน้ําทวมเสียหาย ในฤดูแลงจะมีวัชพืช โดยเฉพาะหญาชนิดตางๆ<br />

เจริญเติบโตขึ้นปกคลุมพื้นที่นารางอยูเปนจํานวนมาก นาที่รางตอเนื่องกันมาหลายป จะสังเกตเห็นวัชพืช<br />

เจริญเติบโตขึ้นหนาแนนอยางชัดเจน (สํานักปองกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร, 2553)<br />

การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินแบบตาง ๆ มีผลตอปริมาณการคารบอนในดินและปลดปลอยหรือ<br />

ดูดซับกาซเรือนกระจก ดังในงานวิจัยของ Yue and Erda (2001) ที่ศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน<br />

ที่ดินในประเทศจีน โดยเปลี่ยนจากทุงหญาตามธรรมชาติซึ่งมีปริมาณการกักเก็บคารบอน 134-153 ลานตัน<br />

คารบอน เปลี่ยนเปนการเพาะปลูกขาวโพด จากผลการศึกษาพบวาทําใหปริมาณการปลดปลอยปลด<br />

คารบอนไดออกไซดและไนตรัสออกไซดเพิ่มสูงขึ้น 63 และ 45 เปอรเซ็นต ตามลําดับ นอกจากนี้ Dunjo et al<br />

(2003) ไดทําการประเมินการใชและการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตอคุณภาพของดินในพื้นที่การเกษตร<br />

แบบลาดชัน พบวาปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ไนโตรเจนทั้งหมด พีเอช มีคาแตกตางกันไปตามประเภทของการใช<br />

ประโยชนที่ดิน ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหดินถูกกัดเซาะจนความอุดมสมบูรณของดินต่ํา และไมมีพืชขึ้นปกคลุมดินมาก<br />

นัก เสี่ยงตอการถูกปลอยทิ้งราง นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการฟนฟูปาในพื้นที่การเกษตรที่ปลอยทิ้งราง ในพื้น<br />

บริเวณภูเขาของประเทศจีน พบวาในแตละปมีปริมาณธาตุอาหารในดินและอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงถึงปริมาณ<br />

คารบอนที่สะสมในดินมากขึ้น (Zhang et al., 2010)<br />

ดังนั้นพื้นที่ทิ้งรางถาขาดการจัดการและการใชประโยชนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จะสงผลทําให<br />

คุณสมบัติของดินและปริมาณคารบอนที่สะสมในดินเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลตอการปลดปลอยคารบอนไดออกไซด<br />

จากดินสูชั้นบรรยากาศ อันเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาคุณสมบัติของดินและหาปริมาณคารบอนที่สะสมในดิน ของพื้นที่นาราง และนารางที่ทําการไถ<br />

พรวน โดยเปรียบเทียบกับปาเต็งรัง แลวทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณคารบอนที่สะสมในดินและอัตรา<br />

การปลดปลดปลอยคารบอนไดออกไซด จากดินของปาเต็งรัง นาราง และนารางที่ทําการไถพรวน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 ในการศึกษานี้ไดทําการรวบรวมขอมูลเบื้องตนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษาขอมูลที่เกี่ยวกับพื้นที่ทิ้ง<br />

รางในประเทศไทยและการใชประโยชนที่ดินของพื้นศึกษาในตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

3.2 รายละเอียดของพื้นที่ศึกษา<br />

งานวิจัยนี้ไดทําการศึกษาในพื้นที่สวนหนึ่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขต<br />

ราชบุรี ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี (รูปที่ 1) อยูที่พิกัด 13 o 35’ 10.60’’ เหนือ และ 99 o 30’ 20.00’’<br />

ตะวันออก พื้นที่มีความสูงเหนือระดับน้ําทะเล 118 เมตร ในป 2552 มีอุณหภูมิเฉลี่ย 26.64 องศาเซลเซียส<br />

ความชื้นสัมพันธ 68 เปอรเซ็นต ปริมาณน้ําฝน 1,188.8 มิลลิเมตรตอป พื้นที่ศึกษานี้เคยเปนปาเต็งรัง เกษตรกรได<br />

เปลี่ยนพื้นที่ปาสวนหนึ่งเพื่อใชประโยชนเปนนาขาว แลวไดถูกปลอยทิ้งรางไวเปนเวลาหลายป ลักษณะพื้นที่ถูก<br />

ลอมรอบดวยปาเต็งรังซึ่งเปนปาที่ไดรับการฟนฟูหลังจากผานการตัดไมทําลายปามาประมาณ 5-7 ป เดิมพื้นที่นี้<br />

เกษตรกรทํานาปที่อาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียวเนื่องจากไมมีคลองธรรมชาติและคลองชลประทาน พันธุขาวที่ใชเปน<br />

พันธุพื้นเมืองซึ่งปรับตัวไดดีกับสภาพแวดลอม<br />

450


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พื ้นที่ศึกษา<br />

(ก) แผนที่ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และพื้นที่ศึกษา<br />

(ข) ลักษณะของพื้นที่ศึกษา (ปาเต็งรัง)<br />

(ค) ลักษณะของพื้นที่ศึกษา (นาราง)<br />

(ง) ลักษณะของพื้นที่ศึกษา (นารางหลังการไถพรวนและทําแปลงใหม)<br />

รูปที่ 1 แผนที่และลักษณะพื้นที่ของพื้นที่ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

วิทยาเขตราชบุรี ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

3.3 การเก็บตัวอยางดินและการวิเคราะห<br />

3.3.1 ทําการสุมเก็บตัวอยางดินจากพื้นที่ศึกษาที่เปนนาราง และนารางหลังการจัดการพื้นที่ (ไถพรวนดวยรถไถให<br />

มีความลึกจากผิวดิน 30 เซนติเมตร แลวทําเปนแปลงใหม) ที่ระดับความลึกจากผิวดิน 0-15 เซนติเมตร และ 15-30<br />

เซนติเมตร นําตัวอยางดินที่เก็บไดพึ่งลมใหแหงแลวรอนผานตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร เพื่อทําการวิเคราะห<br />

451


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คุณสมบัติพื้นฐานของดิน และปริมาณคารบอนสะสมในดิน โดยความหนาแนนของดินใชกระบอกเจาะดินที่ทําดวยส<br />

แตนเลส ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 เซนติเมตร และสูง 5 เซนติเมตร เก็บตัวอยางดินที่ระดับความลึกตาง ๆ คา<br />

พีเอชวิเคราะหดวยเครื่องวัดพีเอช (ดิน:น้ํา = 1:1) ลักษณะเนื้อดินวิเคราะหดวยเทคนิคไฮโดรมิเตอร อินทรียวัตถุใน<br />

ดินวิเคราะหดวยเทคนิค Wet Oxidation (Walkley and Black) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดวิเคราะหดวยเทคนิค<br />

Kjeldahl ปริมาณฟอสฟอรัสวิเคราะหดวยเทคนิค Bray II ปริมาณโพแทสเซียมใชการสกัดดวยแอมโมเนียมอะซี<br />

เตต (CH 3 COONH 4 ) แลวตรวจวัดดวยเครื่องอะตอมมิคแอฟซอปชันสเปคโตรโฟโตมิเตอร (Atomic Absorption<br />

Spectrophotometer, AAS)<br />

3.3.2 การคํานวณหาความหนาแนนของดิน โดยคํานวณจากน้ําหนักแหงของดินตอปริมาตรของกระบอกเจาะดิน มี<br />

หนวยเปนกรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร<br />

3.3.3 การคํานวณหาปริมาณคารบอนสะสมในดิน โดยคํานวณจากสมการตอไปนี้ (Milne, 2008)<br />

SOC stock = SOC content x BD x depth x area (1)<br />

โดย SOC stock = ปริมาณคารบอนสะสมในดิน (Mg ha -1 )<br />

SOC content = คารบอนในดิน (g C g -1 ของดิน)<br />

BD = ความหนาแนนของดิน (Mg m -3 )<br />

depth = ระดับความลึกของดิน(m)<br />

area = ขนาดพื้นที่ (10 4 m 2 ) (ซึ่งเทากับ 1 แฮกเตอร (ha))<br />

3.4 การเก็บตัวอยางกาซและการวิเคราะห<br />

3.4.1 เก็บตัวอยางกาซจากพื้นที่ศึกษาที่เปนนาราง และนารางหลังการจัดการพื้นที่แลว โดยใชกลองเก็บกาซ ซึ่งทํา<br />

ดวยอะคริลิคสีดํา ขนาด 30 x 30 x 30 (กวาง x ยาว x สูง) เซนติเมตร เก็บตัวอยางกาซจํานวน 3 จุด จุดละ 3 ซ้ํา<br />

โดยเก็บ 4 ครั้ง ที่เวลา 0 10 20 และ 30 นาที หลังจากติดตั้งกลองเก็บกาซ ดูดตัวอยางกาซจํานวน 20 มิลลิลิตร<br />

จากกลองเก็บตัวอยางแลวฉีดเขาเก็บในขวดเก็บตัวอยาง ซึ่งทําเปนสุญญากาศ (Evacuation) ไวแลว วัดอุณหภูมิ<br />

ภายในกลองเก็บตัวอยางทุกครั้งที่ทําการดูดกาซ นําตัวอยางกาซที่เก็บไดมาวิเคราะหหาความเขมขนของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดดวยเครื่อง Gas Chromatography (GC model GC-2014, Shimadzu Co, Japan)<br />

3.4.2 การคํานวณอัตราการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

1) ทําการหาคา slope จากการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของกาซตอเวลาที่ติดตั้งกลองเก็บตัวอยาง<br />

โดยใชสมการเสนตรง (Y = aX + b) คา slope ของสมการ (คา a) คือสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ ซึ่งสอดคลองกับ<br />

การเปลี่ยนแปลงความเขมขนหารดวยเวลาที่เปลี่ยนไป หรือ dc/dt<br />

2) นําคา slope ที่ไดจากการคํานวณขั้นตนมาคํานวนตอเพื่อหาอัตราการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด ดวยสมการที่ (2) (Nishimura et al., 2008)<br />

F =<br />

d<br />

d<br />

Ct i<br />

x A<br />

1 x<br />

M i PV<br />

RT<br />

x t i (2)<br />

โดย F = อัตราการปลดปลอย/ดูดซับ CO 2 (mg m -2 hr -1 )<br />

d<br />

d<br />

Ct i = การเปลี่ยนแปลงความเขมขนของ CO 2 (ppm min -1 )<br />

452


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.ผลการศึกษา<br />

M<br />

i<br />

= มวลโมเลกุลของ CO 2 (44 x 10 3 ) (mg/mol)<br />

A = พื้นที่กลองเก็บตัวอยาง (กวาง x ยาว) (m 2 )<br />

P = ความดันบรรยากาศ (1 atm)<br />

V = ปริมาณกลองเก็บตัวอยาง (กวาง x ยาว x สูง) (m 3 )<br />

R = คาคงที่ของกาซ (0.082058 x 10 -3 m 3·atm mol -1 K -1 )<br />

T = อุณหภูมิภายในกลองเก็บตัวอยางกาซ (K)<br />

t i = เวลาที่ใชเทียบเปน 1 ชั่วโมง (= 60 min)<br />

4.1 พื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทยและแผนที่ประเภทการใชประโยชนที่ดินในตําบลรางบัว อ.จอบึง จ.ราชบุรี<br />

4.1.1 พื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทย<br />

จากการสํารวจของกรมพัฒนาที่ดิน พบวาพื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทย พ.ศ. 2549 (รูปที่ 2 และ 3) มีเนื้อที่<br />

รวมทั้งสิ้น 7,455,725 ไร คิดเปนรอยละ 2.325 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ และคิดเปนรอยละ 5.720 ของเนื้อที่ทํา<br />

การเกษตรทั้งประเทศ ซึ่งมีเนื้อที่จํานวน 130.34 ลานไร (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2551) พื้นที่ทิ้งรางแบง<br />

ออกเปน 1) นาราง มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 198,858 ไร คิดเปนรอยละ 0.153 ของเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ พบ<br />

มากที่สุดในพื้นที่ของภาคใต 2) ไรราง มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 18,002 ไร คิดเปนรอยละ 0.014 ของเนื้อที่ทําการเกษตร<br />

ทั้งประเทศ พบมากที่สุดในพื้นของภาคเหนือ ซึ่งมาจากการละทิ้งพื้นที่หลังจากไรเลื่อนลอย 3) ทุงหญา มีเนื้อที่รวม<br />

ทั้งสิ้น 51,118 ไร คิดเปนรอยละ 0.039 ของเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ พบมากที่สุดในพื้นที่ของภาคเหนือ 4)<br />

ที่ลุม มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 1,025,236 ไร คิดเปนรอยละ 0.787 ของเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ ในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือจะมีพื้นที่ลุมมากที่สุดเชนเดียวกับปาละเมาะ 5) เหมืองแรราง มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 23,768 ไร<br />

คิดเปนรอยละ 0.018 ของเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ พบมากในภาคใต สาเหตุมาจากการทิ้งพื้นที่หลังทํา<br />

เหมืองแรซึ่งมีเปนจํานวนมาก<br />

รูปที่ 2 พื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทย (ไร) ในแตละภูมิภาค (ที่มา: สํานักบริหารและพัฒนาการใชที่ดิน กรม<br />

พัฒนาที่ดิน พ.ศ.2549 อางอิงใน สํานักปองกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร, 2553)<br />

453


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) นาราง (ข) ไรราง (ค) ทุงหญา<br />

(ง) ที่ลุม (จ) เหมืองราง<br />

รูปที่ 3 พื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทย (ไร) (ที่มา: สํานักบริหารและพัฒนาการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ.<br />

2549 อางอิงใน สํานักปองกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร, 2553)<br />

สาเหตุสําคัญในทิ้งรางที่ดินมาจากปญหาการถือครองที่ดิน ดินไมสามารถทําการเกษตรไดเนื่องจากน้ําทวม<br />

ดินขาดความอุดมสมบูรณ เปนดินเปรี้ยว ดินเค็ม พื้นที่แหงแลง ปริมาณน้ําไมเพียงพอและการขาดแรงงานในการ<br />

ประกอบอาชีพเกษตรกรรม<br />

4.1.2 แผนที่ประเภทการใชประโยชนที่ดินในตําบลรางบัว อ.จอมบึง จ.ราชบุรี<br />

พื้นที่ศึกษาของงานวิจัยนี้ตั้งอยูในตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ประเภทการใชประโยชนของ<br />

พื้นที่ในตําบลรางบัว (รูปที่ 4) สวนใหญเปนการปลูกยูคาลิปตัส (27,816 ไร) รองลงมาเปนนาขาว ทั้งนาดําและนา<br />

หวาน (17,815 ไร) เปนปาผลัดใบเสื่อมโทรม 13,962 ไร ปลูกออย-มันสําปะหลัง 10,612 ไร นอกจากนี้ยังมีนาขาว<br />

ที่ถูกทิ้งรางจํานวน 126 ไร คิดเปนรอยละ 0.0405 ของพื้นที่นาขาวทั้งจังหวัดราชบุรี ซึ่งมีจํานวนพื้นที่ 311,377 ไร<br />

(สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี, 2552) สาเหตุของการทิ้งรางมาจากความอุดมสมบูรณของดินต่ํา และปริมาณน้ําที่<br />

ตองใชในการเกษตรไมเพียงพอ โดยพื้นที่นารางบางสวนอยูใกลกับพื้นที่ของปาพลัดใบเสื่อมโทรมซึ่งเปนปาเต็งรัง<br />

454


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แผนที่ประเภทการใชประโยชนที่ดิน<br />

พื้นที่ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรชุมชน<br />

ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

รูปที่ 4 แผนที่การใชประโยชนที่ดินของตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

(ที่มา: สํานักงานศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรของชุมชน กรมพัฒนาที่ดิน)<br />

4.2 คุณสมบัติของดินและปริมาณคารบอนที่สะสมในดิน<br />

4.2.1 ดินในพื้นที่ศึกษาจัดเปนดินชุดที่ 18 ซึ่งคุณสมบัติของดินชุดนี้เปนดินรวนปนทราย (sandy loam) ดินชั้นลาง<br />

จะมีสีเหลืองเขม หรือเหลืองแดง มีความเปนกรดมากถึงปานกลาง (pH 5.0-6.0) ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา<br />

(กรมพัฒนาที่ดิน, 2541) ดังแสดงในตารางที่ 1<br />

ดินในพื้นที่นารางมีลักษณะเนื้อดินเปนรวนปนทราย ความหนาแนนรวมที่ระดับความลึก 0-15 และ 15-<br />

30 เซนติเมตร เทากับ 1.75 และ 1.88 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ โดยความหนาแนนรวมของดินชั้น<br />

บนจะนอยกวาดินชั้นลาง ปริมาณอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอนในดิน จากกรมพัฒนาที่ดินที่ระดับ 0-30<br />

เซนติเมตร และจากนารางจังหวัดราชบุรี ที่ระดับ 0-15 เซนติเมตร พบวามีคาเทากัน คือ 0.69 % และ 0.40 %<br />

ตามลําดับ) แตขอมูลปริมาณโพแทสเซียมจากกรมพัฒนาที่ดินมีคามากกวาในนารางประมาณ 3 เทา สําหรับ<br />

ปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสทั้งหมดมีคาต่ํา ซึ่งทําใหระดับความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ปริมาณคารบอนสะสม<br />

ในดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตรเทากับ 10.50 ตัน คารบอนตอเฮกเตอร (หรือ 1.68 ตัน คารบอนตอไร)<br />

และที่ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตรเทากับ 6.20 ตัน คารบอนตอเฮกเตอร (หรือ 1.00 ตัน คารบอนตอไร)<br />

455


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 คุณสมบัติและปริมาณคารบอนที่สะสมในดิน ของดินชุดที่ 18 และดินในพื้นที่ศึกษา (นาราง)<br />

คุณสมบัติของดิน<br />

ขอมูลดินจากกรมพัฒนาที่ดิน, 2541 ดินในพื้นที่ศึกษา (นาราง)<br />

0-30 cm 0-15 cm 15-30 cm<br />

ลักษณะเนื้อดิน รวนปนทราย รวนปนทราย รวนปนทราย<br />

ความหนาแนนรวม (g/cm 3 ) - 1.75 1.88<br />

ความชื้น (% w/w) - 4.48 3.88<br />

พีเอช 5.0 - 6.0 5.8 6.2<br />

อินทรียวัตถุในดิน (SOM) (%) 0.69 0.69 0.38<br />

อินทรียคารบอนในดิน (SOC) (%) 0.40 0.40 0.22<br />

ฟอสฟอรัส (mg/kg) 1.7 4 2<br />

โพแทสเซียม (mg/kg) 50 20 15<br />

แคลเซียม (mg/kg) - 112 128<br />

แมกนีเซียม (mg/kg) - 18 25<br />

ไนโตรเจนทั้งหมด (%) - 0.04 0.02<br />

ฟอสฟอรัสทั้งหมด (%) - 0.04 0.04<br />

ระดับความอุดมสมบูรณของดิน ต่ํา ต่ํา ต่ํา<br />

คารบอนสะสมในดิน (Mg/ha) - 10.50 6.20<br />

4.2.2 คุณสมบัติของดินในปาเต็งรัง ในนารางและนารางที่มีการจัดการพื้นที่ดวยการไถพรวน<br />

จากการศึกษาคาความหนาแนนรวม พีเอช เปอรเซ็นตอินทรียวัตถุในดิน เปอรเซ็นตอินทรียคารบอนใน<br />

ดิน ปริมาณคารบอนสะสมในดิน ของดินชั้นบน (0-15 เซนติเมตร) และดินชั้นลาง (15-30 เซนติเมตร) โดย<br />

เปรียบเทียบคาตาง ๆ ในดินของพื้นที่ปาเต็งรัง นาราง และนารางหลังไถพรวน ผลการศึกษาดังแสดงในตารางที่ 2<br />

ผลการศึกษา (ตารางที่ 2) พบวาคาความหนาแนนรวมในดินชั้นบนและลางของปาเต็งรังมีคาใกลเคียงกัน<br />

ในขณะที่นารางและนารางหลังไถพรวน พบวาดินชั้นลางมีความหนาแนนสูงกวาดินชั้นบน ผลจากการไถพรวน<br />

ที่ดินทําใหความหนาแนนของดินในนารางลดลง (Carvalho et al., 2009) จากเดิม 1.75-1.88 กรัมตอลูกบาศก<br />

เซนติเมตร เปน 1.52-1.66 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร พีเอชของดินในทุกพื้นที่และทุกชั้นดินมีความเปนกรดจัด<br />

มากถึงกรดปานกลาง (4.80-6.20) สวนคาเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอนในดินชั้นบนและลางของปา<br />

เต็งรังมีคาเทากันคือ 0.85 % และ 0.49 % ตามลําดับ (Hanpattanakit, 2008) แตในนารางและนารางหลังการไถ<br />

พรวนจะมีคาแปรผกผันกับความลึกของดิน กลาวคือดินชั้นบนจะมีคาอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอนมากที่สุด<br />

เนื่องจากมีการทับถมของซากวัชพืชที่ขึ้นในพื้นที่นั้น แลวสะสมอยูในดิน (Carvalho et al., 2007) สําหรับปริมาณ<br />

คารบอนสะสมในดินชั้นบนมีคาสูงกวาดินชั้นลางในทุกพื้นที่ศึกษา ทั้งปาเต็งรัง นาราง และนารางหลังไถพรวน โดย<br />

มีคาตั้งแต 0.76 – 1.68 ตัน คารบอนตอไร<br />

456


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 คุณสมบัติและปริมาณคารบอนที่สะสมในดินของปาเต็งรัง นาราง และนารางที่มีการจัดการ<br />

พื้นที่ดวยการไถพรวน ในพื้นที่ศึกษาของตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี<br />

Parameters<br />

ปาเต็งรัง * นาราง นารางหลังไถพรวน<br />

0-15 cm 15-30 cm 0-15 cm 15-30 cm 0-15 cm 15-30 cm<br />

ความหนาแนนรวม (g/cm 3 ) 1.48 1.40 1.75 1.88 1.52 1.66<br />

พีเอช 5.10 4.80 5.80 6.20 5.17 5.54<br />

อินทรียวัตถุในดิน (SOM) (%) 0.85 0.85 0.69 0.38 0.57 0.34<br />

อินทรียคารบอนในดิน (SOC) (%) 0.49 0.49 0.40 0.22 0.33 0.19<br />

คารบอนสะสมในดิน (Mg/ha) 7.28 7.08 10.50 6.20 7.52 4.73<br />

คารบอนสะสมในดิน (Mg/rai) 1.16 1.13 1.68 0.99 1.20 0.76<br />

* ที่มา: Hanpattanakit, P. (2008)<br />

รูปที่ 5 ความหนาแนนรวมและปริมาณคารบอนสะสมในดิน ของปาเต็งรัง นาราง และนารางหลังการไถ<br />

พรวน (* ที่มา: Hanpattanakit, P. (2008))<br />

ผลของความหนาแนนรวมกับปริมาณคารบอนสะสมในดินดังแสดงในรูปที่ 5 พบวาดินชั้นบนและลางของ<br />

ปาเต็งรังมีปริมาณคารบอนสะสมในดินนอยลง (1.16-1.13 ตัน คารบอนตอไร) เมื่อความหนาแนนของดินลดลง<br />

(1.48-1.40 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร) ซึ่งคาที่พบในดินแตละชั้นไมตางกัน เนื่องจากมีการทับถมของอินทรียวัตถุ<br />

ในปาอยางตอเนื่อง สวนในพื้นที่นารางและนารางหลังการไถพรวน พบวาดินชั้นลางมีความหนาแนนมากกวาดิน<br />

ชั้นบน แตมีปริมาณคารบอนสะสมในดินนอยกวา ทั้งนี้เนื่องจากในดินชั้นบนมีการสะสมของอินทรียวัตถุซึ่งมาจาก<br />

วัชพืชที่ขึ้นในพื้นที่ ทําใหมีปริมาณคารบอนสะสมสูงกวา (Carvalho et al., 2007; 2009) นอกจากนี้ในนาหลังไถ<br />

พรวน ปริมาณคารบอนสะสมในดินมีคานอยกวาในนาราง เนื่องจากการไถพรวนเปนการเพิ่มอัตราการยอยสลาย<br />

457


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อินทรียวัตถุในดิน (เพราะมีออกซิเจนมากขึ้น) สงผลใหการปลดปลอยไปในรูปของกาซคารบอนไดออกไซด ทําให<br />

ปริมาณคารบอนที่สะสมในดินนอยลง (พจนีย มอญเจริญ, 2544; Yue & Erda, 2001)<br />

4.3 อัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดิน<br />

อัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดินของปาเต็งรัง (ตรวจวัดดวยเทคนิค Automated-chamber<br />

และตรวจวัดความเขมขนของคารบอนไดออกไซดดวย Licor 820 analyzer) (Hanpattanakit, 2008) และอตราการ<br />

ปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดินของนารางหลังการไถพรวน (ตรวจวัดดวยวิธี Closed-chamber ซึ่งตรวจวัด<br />

ความเขมขนของคารบอนไดออกไซดดวยเครื่อง Gas Chromatography (GC)) โดยเมื่อทําการศึกษาเปรียบเทียบ<br />

ความแตกตางแบบจับคู (Paired t-Test) พบวาคาเฉลี่ยของอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากปาเต็งรัง<br />

และนารางหลังการไถพรวน ที่ไดจากการวิเคราะหทั้งสองวิธี ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (α = 0.05)<br />

โดยพบวาอัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดของปาเต็งรัง ในเดือน กุมภาพันธ – กรกฎาคม 2551 มีอัตรา<br />

การปลดปลอยเปน 434.69 ± 136.85 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอชั่วโมง ซึ่งมีคาสูงกวาอัตราการปลดปลอยของนา<br />

รางที่ไถพรวนแลว ในเดือนกุมภาพันธ 2553 (สุมตรวจวัดจํานวน 5 แปลง) ที่มีคาเปน 3.26.95 ± 120.61 มิลลิกรัม<br />

ตอตารางเมตรตอชั่วโมง (รูปที่ 6) ทั้งนี้เนื่องจากดินในปาเต็งรังมีปริมาณของชีวมวลสูงกวานาราง ซึ่งทําใหมีการ<br />

ยอยสลายสูง และสงผลใหมีการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดสูงตามมา (พจนีย มอญเจริญ, 2544; Yue & Erda,<br />

2001; Hanpattanakit, 2008)<br />

a<br />

a<br />

รูปที่ 6 อัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดินของปาเต็งรัง และจากดินของพื้นที่นาราง<br />

(* ที่มา: Hanpattanakit, P. (2008))<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

พื้นที่ศึกษาของงานวิจัยนี้ตั้งอยูในตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ประเภทการใชประโยชนของ<br />

พื้นที่ในตําบลรางบัว สวนใหญเปนการปลูกยูคาลิปตัส รองลงมาเปนนาขาว ปาผลัดใบเสื่อมโทรม ออย-มัน<br />

สําปะหลัง นอกจากนี้ยังมีนาขาวที่ถูกทิ้งรางจํานวน 126 ไร<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการวิเคราะหคุณสมบัติพื้นฐานของดิน ปริมาณคารบอนสะสมในดิน และอัตราการ<br />

ปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดินในพื้นที่ของปาเต็งรัง นาราง และนารางที่มีการจัดการดินโดยการไถพรวน<br />

458


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลการศึกษาพบวาดินในพื้นศึกษาที่มีลักษณะเนื้อดินเปนรวนปนทราย พีเอชของดินในทุกพื้นที่และทุกชั้นดินมี<br />

ความเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (4.80-6.20) สวนคาเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอนในดินชั้นบน<br />

และลางของปาเต็งรังมีคาเทากันคือ 0.85 และ 0.49 เปอรเซ็นต ตามลําดับ คาความหนาแนนรวมในดินชั้นบนและ<br />

ลางของปาเต็งรังมีคาใกลเคียงกัน (1.48 และ 1.40 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ) พื้นที่นารางมีความ<br />

หนาแนนรวมในระดับความลึก 0-15 และ 15-30 เซนติเมตร เทากับ 1.75 และ 1.88 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร<br />

ตามลําดับ ปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสทั้งหมดมีคาต่ํา ปริมาณคารบอนสะสมในดินที่ระดับความลึก 0-15<br />

เซนติเมตรเทากับ 10.50 ตัน คารบอนตอเฮกเตอร (หรือ 1.68 ตัน คารบอนตอไร) และที่ระดับความลึก 15-30<br />

เซนติเมตรเทากับ 6.20 ตัน คารบอนตอเฮกเตอร (หรือ 1.00 ตัน คารบอนตอไร) ปริมาณคารบอนสะสมในดินชั้น<br />

บนมีคาสูงกวาดินชั้นลางในทุกพื้นที่ศึกษา ทั้งปาเต็งรัง นาราง และนารางหลังไถพรวน โดยมีคาตั้งแต 0.76 – 1.68<br />

ตันคารบอนตอไร อัตราการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากดินของปาเต็งรังในเดือน ก.พ - ก.ค พบวามีอัตรา<br />

การปลดปลอย 434.69 ± 136.85 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอชั่วโมง ซึ่งมีคาสูงกวาอัตราการปลดปลอยในนาราง<br />

หลังการไถพรวน ซึ่งมีคาเทากับ 3.26.95 ± 120.61 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอชั่วโมง แตอัตราการปลดปลอยทั้ง<br />

สองคาไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (α = 0.05)<br />

ผลการศึกษานี้ใชเปนขอมูลพื้นฐานสําคัญ ในการศึกษาวิจัยการจัดการพื้นที่ทิ้งราง เพื่อพัฒนารูปแบบการ<br />

ปลูกพืช การจัดการดินที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเปนแนวทางใน<br />

การลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก อันเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอนตอไป<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบ<br />

โลก (Earth System Science Research and Development Center, ESS) บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและ<br />

สิ่งแวดลอม (JGSEE) และทุน “เพชรพระจอมเกลา” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมถึงไดรับการ<br />

เอื้อเฟอสถานที่ทําการศึกษาวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Carvalho, J. L.N. et al, (2009), Carbon sequestration in agricultural soils in the Cerrado<br />

region of the Brazilian Amazon. Soil & Tillage Research, 103, pp. 342–349.<br />

- Carvalho, J. L.N. et al, (2007), Changes of chemical properties in an oxisol after clearing<br />

of native Cerrado vegetation for agricultural use in Vilhena,Rondonia State, Brazil. Soil &<br />

Tillage Research, 96, pp. 95–102.<br />

- Cerri, C. E. P. et al. (2007), Predicted soil organic carbon stocks and changes in the<br />

Brazilian Amazon between 2000-2030. Agriculture, Ecosystem and Environment, 122,<br />

pp. 58-72<br />

- Dunjó, G. et al. (2003), Land use change effects on abandoned terraced soil in a<br />

Mediterranean catchment, NE Spain, Catena, 52, pp. 23-37.<br />

- Hanpattanakit, P. (2008), IN SITU Measurement of CO 2 Emission from Root and Soil<br />

Respiration in Dry Dipterocarp Forest, Thesis for Master degree of Science in<br />

459


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Environmental Technology, The Joint Graduate School of Energy and Environment, King<br />

Mongkut’s University of Technology Thonburi.<br />

- IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change). (2006), 2006 IPCC Guidelines for<br />

National Greenhouse Gas Inventories, Agriculture, Forestry and Other Land Use, 4.<br />

- Institute for Global Environmental Strategies (IGES), Hayama, Japan on behalf of the<br />

IPCC.<br />

- Milne, E. (2008), “Soil organic carbon”. Encyclopedia of Earth. Available online:<br />

http://www.eoearh.org/article/soil_organic_carbon.<br />

- Nishimura, S., et al. (2008), Effect of land use change from paddy rice cultivation to<br />

upland crop cultivation on soil carbon budget of a cropland in Japan, Agriculture,<br />

Ecosystems and Environment, 125: pp. 9–20.<br />

- U.S. Environmental Protection Agency (EPA). (2008), Inventory of U.S Greenhouse<br />

Gases Emission and Sinks: 1990-2006. Washington, D.C, U.S.A.<br />

- Yue, L. and Erda, L. (2001), The impact of conversion of grassland to agriculture on<br />

carbon cycle. Workshop Report of Land Use Change and the Terrestrail Carbon Cycle<br />

in Asia, 29 th Jan – 1 st Feb 2001, Kobe, Japan.<br />

- Zhang, K. et al. (2010), Vegetationand Community and Soil Characteristics of<br />

abandoned agricultural land and pine plantation in the Qinling Mountains, Chaina. Forest<br />

Ecology and Management, 259, pp. 2036-2047.<br />

- กรมพัฒนาที่ดิน. (2541), รายงานการจัดการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตาม<br />

กลุมชุดดิน. เลมที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ํา. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ,<br />

กรุงเทพ.<br />

- กลุมวิเคราะหขาวและฐานขอมูล สํานักงานโฆษก. (2550), กรมพัฒนาที่ดินเรงฟนฟูที่ทิ้งรางกวา<br />

6.4 ลานไร. สํานักขาวไทย, วันที่ 13 ม.ค 2550.<br />

- พจนีย มอญเจริญ. (2544), คารบอนในดินของประเทศไทย. เอกสารวิชาการ กองวิเคราะหดิน,<br />

กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพ. 144 หนา.<br />

- สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี. (2552). แบบสรุปขอมูลการปลูกขาวป 2550 จังหวัดราชบุรี,<br />

ฝายยุทธศาสตรและสารสนเทศ, สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี.<br />

- สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2551). ขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร. ศูนยสารสนเทศ<br />

การเกษตร, สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กรุงเทพ<br />

- สํานักปองกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร. (2553), ขอมูลพื้นที่ทิ้งราง: การสํารวจ<br />

พื้นที่ทิ้งรางในประเทศไทย. กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ. [ออนไลน] สืบคน<br />

เมื่อ 25 พ.ค. 2553 จาก http://irw101.ldd.go.th/irw101.ldd/topic4_old.php?page=7<br />

460


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การกักเก็บคารบอนในดินที่ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม<br />

อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา<br />

Soil Carbon Sequestration in Organic Tapioca at Tambon Maghurmai Amphur Soongnern<br />

Nakornratchasrima Province<br />

เอกอนงค ฟุงลัดดา 1 และ บัณฑิต อนุรักษ 2 ,<br />

ยุทธชัย อนุรักษติพันธุ 3 , ปวีณา พาณิชยพิเชฐ 4 และ ณัฏฐา หังสพฤกษ<br />

2 ,<br />

1 กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เลขที่ 92 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธิน<br />

แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต<br />

ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

3 หนวยวิจัยสภาวะโลกรอน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

4 องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรวมหนวยราชการ<br />

(อาคาร B) ชั้น 9 เลขที่ 120 หมูที่ 3 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการกักเก็บคารบอนในดินที่ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน<br />

จังหวัดนครราชสีมาซึ่งมีการจัดการปุยอินทรียที่แตกตางกัน 5 กรรมวิธี ซึ่งมีการใชปุยหมัก 3 สูตร ปุยหมักน้ํา 2<br />

สูตร และถั่วพุมเปนปุยพืชสด โดยเก็บตัวอยางดินบน (0 – 20 ซม.) และดินลาง (20 – 60 ซม.) เมื่อมันสําปะหลัง<br />

อายุ 6, 8 และ 10 เดือน วิเคราะหอินทรียคารบอนเพื่อศึกษาการกักเก็บคารบอนในดิน และวิเคราะหคาความเปน<br />

กรด – เบสของดิน เก็บตัวอยางเศษซากใบมันสําปะหลังเพื่อศึกษาอัตราการรวงหลน และถุงเศษซากใบมัน<br />

สําปะหลังเพื่อศึกษาอัตราการยอยสลายของใบมันสําปะหลัง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

ผลการศึกษาพบวา กรรมวิธีที่ 2 ซึ่งมีการใสปุยหมักสูตรที่ 3 (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว + ปุย<br />

หมักน้ําที่มีสารเรง พด. 2) จํานวน 3000 กิโลกรัมตอไรมีการสะสมอินทรียคารบอนในดินบนมากที่สุดเทากับ<br />

1138.83 กิโลกรัมตอไร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

และกากมันสําปะหลังซึ่งเปนวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม มูลวัวซึ่งสามารถหาไดในทองถิ่นนํามาทํา<br />

ประโยชนเปนปุยหมักสําหรับปลูกมันสําปะหลังอินทรียได<br />

คําสําคัญ : อินทรียคารบอน การกักเก็บคารบอน มันสําปะหลังอินทรีย การรวงหลนของเศษซากพืช อัตราการ<br />

ยอยสลาย<br />

Abstract<br />

Study on soil carbon sequestration in organic tapioca at Tambon Maghurmai Amphur Soongnern<br />

Nakorn Ratchasima Province consisted of 5 treatments, Three composts, two liquid manures and cowpea<br />

were used as green manure. The soil samples were collected at 2 depths. It was 0 – 20 cm. and 20 – 60<br />

cm. for each treatment. The study on soil carbon sequestration was carried out.<br />

The result indicated treatment 2 that there was highest sequestration on topsoil significantly<br />

(p


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในป พ.ศ. 2543 ที่ผานมา UNFCC ไดเสนอใหประเทศอุตสาหกรรมเปลี่ยนแปลงลดระดับการปลดปลอย<br />

กาซที่มีผลตอปฏิกิริยาเรือนกระจกลงรอยละ 5.2 จากระดับของป พ.ศ. 2533 ใหแลวเสร็จในป พ.ศ. 2553 มาตรการ<br />

จัดการเพื่อลดปริมาณการปลดปลอยกาซโดยผานกลไกเทคโนโลยีสะอาด (Clean Development Mechanism:<br />

CDM) ซึ่งมีกระบวนการสําคัญอยางหนึ่งที่เรียกวาการกักเก็บคารบอน (Carbon Sequestration) เชน การปลูกปา<br />

การสะสมอินทรียวัตถุจากการทําฟารม (พจนีย มอญเจริญ, 2544, น. 1)<br />

ปจจุบันมีการขยายตัวทางภาคอุตสาหกรรม และการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ทําใหมีวัสดุเหลือใชเปน<br />

ปริมาณมาก เชน เปลือกมันสําปะหลังจากโรงงานผลิตแปงมัน จากขอมูลประมาณการเศษวัสดุเหลือใชจากโรงงาน<br />

แปงมันสําปะหลัง จังหวัดนครราชสีมา และชัยภูมิ มีโรงงานประมาณ 20 แหง การใชหัวมันสดประมาณ 22,100 ตัน<br />

ตอวัน จะมีเปลือกมันสําปะหลังจากโรงงานประมาณ 658 ตันตอวัน หรือประมาณเดือนละ 19,000 ตัน ปละ<br />

152,000 ตันตอวัน จากวัสดุเหลือใชจากโรงงาน เปลือกมันสําปะหลังจะจําหนายใหกับเกษตรกรตันละ 80 – 120<br />

บาท เปลือกมันสําปะหลังมีธาตุอาหารตางๆ ที่เปนประโยชนหลายอยาง การใชประโยชนจากเปลือกมันสําปะหลัง<br />

มาปรับใชในแปลงปลูกมันสําปะหลังในอัตราที่เหมาะสม เพื่อใหไดผลผลิตหัวสดและปริมาณแปงเฉลี่ยตอไรสูงใน<br />

การปลูกมันสําปะหลัง ซึ่งจะชวยลดตนทุนการผลิตจากการใชปุยเคมีที่มีราคาแพงมากในปจจุบัน และชวยปรับปรุง<br />

โครงสรางของดินใหมีอินทรียวัตถุในดิน รวมทั้งชวยเพิ่มผลผลิตหัวสดในการผลิตมันสําปะหลังของเกษตรกรใน<br />

อนาคตใหดีขึ้นอยางยั่งยืน (ประภาส ชางเหล็ก, วิจารณ วิชชุกิจ, เอ็จ สโรบล, เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ, และ<br />

จําลอง เจียมจํานรรจา, มปป., นอกจากนั้นจังหวัดนครราชสีมายังเปนจังหวัดที่มีพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลังเปน<br />

อันดับ 1 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมันสําปะหลังยังเปนพืชเศรษฐกิจที่มีความสําคัญเปนอันดับ 4 ของ<br />

ประเทศ<br />

การใสปุยอินทรียมีผลตอการสะสมคารบอนในดิน การเพิ่มผลผลิตของเศษซากพืชและการกลับคืนของ<br />

อินทรียวัตถุ ระยะเวลา และสภาพภูมิอากาศที่แตกตางกันจะสงผลตอการสะสมคารบอนในดินที่แตกตางกัน การ<br />

จัดการดินที่ดีจะนําไปสูการสะสมคารบอนที่เหมาะสม ซึ่งจะชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศ<br />

ได อีกทั้งเกษตรกรยังสามารถใชประโยชนสารอินทรียผลพลอยไดทางการเกษตร การศึกษาครั้งนี้จะไดขอมูลที่เปน<br />

ประโยชนสําหรับเกษตรกรผูเพาะปลูกมันสําปะหลังในประเทศไทยและวิธีการปฏิบัติที่ดีเพื่อลดปริมาณกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดที่จะปลดปลอยสูชั้นบรรยากาศ และในปจจุบันประเทศไทยไดมีพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลัง<br />

เปนอันดับสี่ของประเทศ มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว และผลผลิตรวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น การรวงหลนของใบ<br />

มันสําปะหลัง และอัตราการยอยสลายเศษซากใบมันสําปะหลังยังมีอิทธิพลตอปริมาณอินทรียคารบอนในดิน ดังนั้น<br />

ผูวิจัยจึงไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการสะสมอินทรียคารบอนในดินที่เพาะปลูกมันสําปะหลังอินทรียโดยมีการ<br />

จัดการปุยอินทรียที่แตกตางกัน 5 กรรมวิธี เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บ<br />

คารบอนในดินโดยประยุกตใชกับการจัดการปุยอินทรียและปริมาณของอินทรียวัตถุที่ใสลงในดิน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาการกักเก็บคารบอนในดิน และวิเคราะหคาความเปนกรด – เบสของดิน<br />

2.2 เพื่อศึกษาอัตราการรวงหลนของใบมันสําปะหลัง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

2.3 เพื่อศึกษาอัตราการยอยสลายของใบมันสําปะหลัง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

แบงการศึกษาออกเปน 2 สวน ดังนี้<br />

463


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1) การศึกษาปริมาณอินทรียคารบอนในดิน และคาความเปนกรด – เบส (pH) ทั้งดินบน (0 – 20<br />

เซนติเมตร) และดินลาง (20 – 60 เซนติเมตร) เมื่อมันสําปะหลังอายุ 6, 8 และ 10 เดือน<br />

2) การศึกษาอัตราการรวงหลน และอัตราการยอยสลายของใบมันสําปะหลังอินทรียที่มีผลตอการสะสม<br />

อินทรียคารบอนในดิน เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา<br />

พื้นที่ศึกษาเปนพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน จังหวัด<br />

นครราชสีมา (ภาพที่ 1) โดยแบงแปลงทดลองออกเปน 5 กรรมวิธี แตละกรรมวิธีมีขนาดแปลงทดลอง 25 × 25<br />

เมตร มีการจัดการปุยอินทรียแตกตางกัน ใชดินชุดเดียวกันคือ ชุดดินสตึก และบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่ศึกษาเปน<br />

อางเก็บน้ําทรัพยประดู<br />

กรรมวิธีที่ใชในการทดลองมีทั้งหมด 5 กรรมวิธี ไดแก<br />

กรรมวิธีที่ 1 แปลงควบคุม<br />

กรรมวิธีที่ 2 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + (ปุยหมักน้ํา+ พด.2) 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 3 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 4 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 5 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลไก) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

464


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ที่มา: ดัดแปลงจาก Organic Tapioca and Paddy Rice Technical in Thailand, โดย<br />

Anurugsa & Anuraktipun, 2007, p. 43<br />

ภาพที่ 1 พื้นที่ศึกษาแปลงทดลองมันสําปะหลังอินทรียจังหวัดนครราชสีมา (พ.ศ. 2550)<br />

465


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แปลงปลูกมันสําปะหลังอินทรีย<br />

5 กรรมวิธี<br />

เก็บรวบรวมตัวอยางเศษซากใบมันสําปะหลัง ถุงเศษซาก ถั่วพุม วัชพืช และดินที่ระดับ<br />

ความลึก 0 – 20 ซม. และ 20 – 60 ซม. ตามระยะเวลาดังนี้<br />

ระยะการเจริญเติบโต<br />

6 เดือน<br />

ระยะการเจริญเติบโต<br />

8 เดือน<br />

ระยะการเจริญเติบโต<br />

10 เดือน<br />

คารบอนในดิน<br />

C จากถั่วพุม<br />

C จากวัชพืช<br />

C จากปุยอินทรีย<br />

C จากการยอย<br />

สลายเศษซากใบ<br />

คารบอนในดิน<br />

C จากการยอย<br />

สลายเศษซาก<br />

ใบ<br />

คารบอนในดิน<br />

C จากการ<br />

ยอยสลายเศษ<br />

ซากใบ<br />

วิเคราะหพารามิเตอรในดินไดแก อินทรียคารบอน (รอยละ), คาความเปนกรด – เบส, ความ<br />

หนาแนนรวม (กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร), ความชื้น (รอยละ)<br />

คํานวณปริมาณอินทรียคารบอนในดิน (กิโลกรัมตอไร)<br />

ภาพที่ 2 สรุปขั้นตอนการศึกษาการกักเก็บคารบอนในดินในแปลง ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย<br />

ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 อินทรียคารบอนในดิน<br />

การเปลี่ยนแปลงของอินทรียคารบอนในดินบน (0 – 20 เซนติเมตร) และดินลาง (20 – 60 เซนติเมตร) เมื่อ<br />

มันสําปะหลังมีอายุการเจริญเติบโตแตกตางกัน<br />

1) อินทรียคารบอนในดิน (รอยละ) เมื่อมันสําปะหลังอายุ 6 เดือน<br />

ปริมาณอินทรียคารบอนในดินทั้ง 5 กรรมวิธีในดินบน และดินลางเมื่อมันสําปะหลังอายุ 6 เดือน<br />

พบวา ปริมาณอินทรียคารบอนในดินบริเวณแปลงทดลองหลังจากใสปุยในแตละกรรมวิธีแลวมีคาอยูระหวาง<br />

595.37 – 1320.01 กิโลกรัมตอไร ในดินบน และ 424.21 – 636.07 กิโลกรัมตอไร ในดินลาง ตามลําดับ โดยในดิน<br />

บน กรรมวิธีที่ 2 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนมากที่สุดเทากับ 1320.01 กิโลกรัมตอไร เนื่องจากใสปุยหมัก<br />

สูตรที่ 1 ซึ่งมีปริมาณอินทรียคารบอนมากที่สุดเทากับรอยละ 2.61 และสาเหตุที่กรรมวิธีที่ 1 มีปริมาณอินทรีย<br />

คารบอนมากนั้น อาจเนื่องมาจากยังคงมีการตกคางของปุยเคมีอยูจึงทําใหมีปริมาณอินทรียคารบอนมากตามไป<br />

ดวย<br />

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณอินทรียคารบอนในดินบน และดินลาง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 6 เดือน (พบวา<br />

ทั้ง 5 กรรมวิธี ในดินบนจะมีปริมาณอินทรียคารบอนมากกวาดินลางซึ่งสอดคลองกับ Lichaikul (2006, p. ii)<br />

ดังกลาววา ทุกพื้นที่โดยสวนใหญจะมีปริมาณคารบอนและไนโตรเจนที่ระดับความลึก 0 – 20 เซนติเมตร<br />

นอกจากนั้นยังมีการสะสมของเศษซากใบที่รวงหลนบนผิวดินดวย<br />

2) อินทรียคารบอนในดิน (รอยละ) เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 เดือน<br />

ปริมาณอินทรียคารบอนในดินทั้ง 5 กรรมวิธีในดินบน และดินลางเมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 เดือน<br />

(พบวา ปริมาณอินทรียคารบอนในดินบริเวณแปลงทดลองหลังจากใสปุยในแตละกรรมวิธีแลวมีคาอยูระหวาง<br />

519.40 – 963.03 กิโลกรัมตอไร ในดินบน และ 664.49 – 993.85 กิโลกรัมตอไร ในดินลาง ตามลําดับ โดยในดิน<br />

บน กรรมวิธีที่ 3 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนมากที่สุดเทากับ 982.69 กิโลกรัมตอไร เนื่องจากใสปุยหมัก<br />

สูตรที่ 2 ซึ่งมีปริมาณอินทรียคารบอนมากเปนอันดับ 2 รองจากปุยหมักสูตรที่ 1 เทากับรอยละ 3.11<br />

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณอินทรียคารบอนในดินบน และดินลาง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 เดือน<br />

พบวา ในกรรมวิธีทีที่ 1 อินทรียคารบอนในดินบนลดนอยลงจากเดือนที่ 6 กลาวคือมีการเปลี่ยนแปลงจากปริมาณ<br />

มากแลวลดนอยลงหลังจากมีการใชประโยชนที่ดิน (Tippayachan, 2006, p. 10, quoting Gregorich, Greerb,<br />

Andersonb & liangc, 1998) ซึ่งสามารถสรุปไดวาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและการจัดการพื้นที่<br />

การเกษตรนั้นสงผลตออินทรียคารบอนในดินของพื้นที่นั้นๆ (Tippayachan, 2006, p. 10, quoting Lal &<br />

Polyakov, 2004) สวนในกรรมวิธีที่ 2 – 5 พบวา มีปริมาณอินทรียคารบอนสะสมเพิ่มขึ้นเมื่อมันสําปะหลังมีอายุการ<br />

เจริญเติบโตเพิ่มขึ้น ในดินบนจะมีปริมาณอินทรียคารบอนนอยกวาดินลาง แตปริมาณอินทรียคารบอนที่สะสม<br />

เพิ่มขึ้นนั้นมีการชะละลายลงสูดินลาง การเปลี่ยนแปลงของอินทรียคารบอนในดินบนนั้นอาจเกิดจากอินทรียวัตถุ<br />

ที่มาจากปุยหมักสวนหนึ่งถูกยอยสลายเปนอนุภาคขนาดเล็กที่มีความสามารถซึมผานตามน้ําที่ไหลลงสูดินที่ระดับ<br />

ความลึก 20 – 60 เซนติเมตร (ไกรศรี ทองเสมียน, 2551, น. 73)<br />

3) อินทรียคารบอนในดิน (รอยละ) เมื่อมันสําปะหลังอายุ 10 เดือน<br />

ปริมาณอินทรียคารบอนในดินทั้ง 5 กรรมวิธีในดินบน และดินลางเมื่อมันสําปะหลังอายุ 10<br />

เดือน พบวา ปริมาณอินทรียคารบอนในดินบริเวณแปลงทดลองหลังจากใสปุยในแตละกรรมวิธีแลวมีคาอยูระหวาง<br />

359.33 – 1788.89 กิโลกรัมตอไร ในดินบน และ 714.16 – 1709.43 กิโลกรัมตอไร ในดินลาง ตามลําดับ โดยใน<br />

467


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ดินบน กรรมวิธีที่ 2 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนมากที่สุดเทากับ 1137.53 กิโลกรัมตอไร เนื่องจากใสปุย<br />

หมักสูตรที่ 1 ซึ่งมีปริมาณอินทรียคารบอนมากที่สุดเทากับรอยละ 4.49<br />

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณอินทรียคารบอนในดินบน และดินลาง เมื่อมันสําปะหลังอายุ 10 เดือน<br />

(ภาพ พบวา ในกรรมวิธีที่ 1 อินทรียคารบอนในดินบนลดนอยลงจากเดือนที่ 8 กลาวคือมีการเปลี่ยนแปลงจาก<br />

ปริมาณมากแลวลดนอยลงหลังจากมีการใชประโยชนที่ดิน (Tippayachan, 2006, p. 10, quoting Gregorich,<br />

Greerb, Andersonb & liangc, 1998) ซึ่งสามารถสรุปไดวาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและการจัดการ<br />

พื้นที่การเกษตรนั้นสงผลตออินทรียคารบอนในดินของพื้นที่นั้นๆ (Tippayachan, 2006, p. 10, quoting Lal &<br />

Polyakov, 2004) สวนในกรรมวิธีที่ 2 – 5 พบวา มีปริมาณอินทรียคารบอนสะสมเพิ่มขึ้นเมื่อมันสําปะหลังมีอายุการ<br />

เจริญเติบโตเพิ่มขึ้น ในดินบนจะมีปริมาณอินทรียคารบอนนอยกวาดินลาง แตปริมาณอินทรียคารบอนที่สะสม<br />

เพิ่มขึ้นนั้นมีการชะละลายลงสูดินลาง การเปลี่ยนแปลงของอินทรียคารบอนในดินบนนั้นอาจเกิดจากอินทรียวัตถุ<br />

ที่มาจากปุยหมักสวนหนึ่งถูกยอยสลายเปนอนุภาคขนาดเล็กที่มีความสามารถซึมผานตามน้ําที่ไหลลงสูดินที่ระดับ<br />

ความลึก 20 – 60 เซนติเมตร (ไกรศรี ทองเสมียน, 2551, น. 73)<br />

การรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลังอินทรีย 5 กรรมวิธี และอัตราการยอยสลายของใบมันสําปะหลัง<br />

เมื่อมันสําปะหลังมีอายุแตกตางกัน<br />

การรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลังอินทรีย 5 กรรมวิธี เมื่อมันสําปะหลังมีอายุแตกตางกัน (ตารางที่<br />

1) พบวา เกือบทุกกรรมวิธีเมื่อมันสําปะหลังมีอายุมากขึ้น การรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลังจะลดนอยลง<br />

ตามไปดวย เนื่องจากหลังจากมันสําปะหลังมีอายุ 6 เดือนขึ้นไปจะเริ่มมีการรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลัง<br />

โดยใบที่อยูสวนลางของลําตนจะเริ่มรวง และมีการสรางใบลดลง (โอภาษ บุญเส็ง, 2531, น. 13, อางจาก CIAT,<br />

1975) นอกจากนั้น มันสําปะหลังที่มีอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 1 ป ในระหวางชวงการเจริญเติบโตใบที่แกยอมรวงไป<br />

พันธุมันสําปะหลังโดยทั่วไป พบวาใบมีแนวโนมที่จะรวงมากหลังจากอายุได 6 เดือนเปนตนไป (โอภาษ บุญเส็ง,<br />

2531, น. 13, อางจาก CIAT, 1973) และยังพบวามันสําปะหลังที่มีอายุของใบยาวนานจะใหผลผลิตสูงดวย (โอภาษ<br />

บุญเส็ง, 2531, น. 14, อางจาก Sinha & Nair, 1971) โดยสัมพันธกับกรรมวิธีที่ 2, 3, 4 และ 5 ที่มีการรวงหลนของ<br />

เศษซากใบมันสําปะหลังนอยลงเมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน และมีผลผลิตคอนขางสูง (ตารางที่ 1 และ 2)<br />

ยกเวนกรรมวิธีที่ 5 ยังมีการรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลังมากกวากรรมวิธีอื่น ในชวงอายุการเจริญเติบโต 8<br />

และ 10 เดือน แตใหผลผลิตสูงเปนอันดับ 2 ซึ่งอาจเนื่องมาจากมีการบังรมเงาจึงทําใหใบมันสําปะหลังมีอายุสั้นลง<br />

(โอภาษ บุญเส็ง, 2531, น.13, อางจาก Cock, และคณะ, 1979) และปจจัยอื่นที่มีผลตอการรวงของใบมันสําปะหลัง<br />

คือ ปริมาณน้ําฝน ถาในเดือนใดมีฝนตกนอย จะมีผลทําใหใบมันสําปะหลังรวง (เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ, 2522,<br />

น. 82) ดังนั้น จึงพบวาในชวงฤดูแลงคือ เดือนมีนาคม และเมษายน (ปริมาณน้ําฝนเทากับ 30.80 และ 79.50<br />

มิลลิเมตร ตามลําดับ) จะเริ่มมีการรวงหลนของใบมันสําปะหลังแลว เนื่องจากความชื้นของดินเปนปจจัยจํากัดใน<br />

การเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง และเปนระยะที่มันสําปะหลังมีการทิ้งใบ (dormancy or vegetative inactivity)<br />

(โอภาษ บุญเส็ง, 2539, น. 4) ตอมาเปนเดือนพฤษภาคม (ปริมาณน้ําฝนเทากับ 408.30 มิลลิเมตร) ซึ่งเริ่มเขาสูฤดู<br />

ฝน และเปนระยะที่มีการเจริญเติบโตใหมหรือฟนตัว (secondary vegetative or recovery) คือเปนระยะที่มัน<br />

สําปะหลังมีการสรางพุมใหมอีกครั้งหลังจากผานระยะพักตัว โดยนําเอาอาหารที่สะสมไวที่หัวมาใชสรางทรงพุมใบ<br />

ใหม (regrowth) (โอภาษ บุญเส็ง, 2539, น. 4) จึงทําใหมันสําปะหลังที่มีอายุการเจริญเติบโต 6 เดือน มีเศษซากใบ<br />

มันสําปะหลังที่เกิดจากการรวงหลนของใบแกมากกวามันสําปะหลังที่มีอายุการเจริญเติบโต 8 เดือน ซึ่งอยูในชวง<br />

ฤดูฝน (ปริมาณน้ําฝนเทากับ 244.7 มิลลิเมตร) และ 10 เดือน ซึ่งอยูในชวงตนฤดูหนาว นอกจากนั้นแลวยัง<br />

พบวา ปริมาณการสะสมของเศษซากใบที่เพิ่มขึ้น จะสงผลทําใหอัตราการยอยสลายชาลงดวย (คา k ลดลง)<br />

(สนธยา จําปานิล, 2547, น. 92) เชนเดียวกับ Mitsuru (1970, p.171) ไดอธิบายวาปริมาณของเศษซากพืชที่รวง<br />

468


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หลนตอหนวยเวลาสามารถสงผลตอการยอยสลายไดเชนกัน และพบวา ปุยหมักสูตรที่มีสารเรงจุลินทรีย พด. 2 คือ<br />

ปุยหมักสูตรที่ 1 ซึ่งใสในกรรมวิธีที่ 2 นั้นไมมีตอผลอัตราการยอยสลายของใบมันสําปะหลัง<br />

ตารางที่ 1 อัตราการรวงหลนของใบมันสําปะหลัง (กิโลกรัมตอไรตอเดือน) และอัตราการยอยสลายของ<br />

ใบมันสําปะหลัง (k) (เดือน -1 ) เมื่อมันสําปะหลังมีอายุแตกตางกัน (พ.ศ. 2550)<br />

กรรมวิธี<br />

อัตราการรวงหลนของใบมันสําปะหลัง<br />

(กิโลกรัมตอไรตอเดือน)<br />

เมื่อมันสําปะหลังมีอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

อัตราการยอยสลายของ<br />

ใบมันสําปะหลัง (k) (เดือน -1 )<br />

เมื่อมันสําปะหลังมีอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

8 เดือน 10 เดือน 8 เดือน 10 เดือน<br />

1 0.40 0.30 0.256 0.058<br />

2 0.99 0.48 0.119 0.071<br />

3 0.44 0.40 0.207 0.066<br />

4 0.25 0.12 0.147 0.010<br />

5 1.20 0.88 0.294 0.188<br />

หมายเหตุ<br />

กรรมวิธีที่ 1 แปลงควบคุม<br />

กรรมวิธีที่ 2 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + (ปุยหมักน้ํา+ พด.2) 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 3 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 4 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 5 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลไก) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

ความสัมพันธระหวางปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนและดินลางเฉลี่ย ธาตุโพแทสเซียม แคลเซียม และ<br />

ผลผลิตเฉลี่ยของมันสําปะหลังอินทรีย 10 กรรมวิธี<br />

เนื่องจากธาตุโพแทสเซียมมีผลตอกระบวนการสรางและการเคลื่อนยายน้ําตาล และแปง (คณาจารย<br />

ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548, น. 307) นอกจากนั้นธาตุแคลเซียมยังจําเปนตอการแบงเซลลและเปนองคประกอบของ<br />

โครงสรางที่สําคัญของผนังเซลลของพืช มีบทบาทตอการดูดดึงไนโตรเจนมากขึ้น จึงมีบทบาทตอการสรางโปรตีน<br />

และสวนในการเคลื่อนยายตลอดจนการเก็บรักษาคารโบไฮเดรตและโปรตีน (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548,<br />

น. 316 - 317) ดังนั้นจึงมีความสัมพันธตอผลิตของมันสําปะหลัง นอกจากปริมาณอินทรียคารบอนในดินเพียงปจจัย<br />

เดียว<br />

ความสัมพันธระหวางปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนและดินลางเฉลี่ย (รอยละ) และผลผลิตเฉลี่ยของ<br />

มันสําปะหลังอินทรีย 5 กรรมวิธี พบวา กรรมวิธีที่ 1 และ 2 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินเฉลี่ยมีผลตอปริมาณ<br />

ผลผลิตเฉลี่ย โดยกรรมวิธีที่ 2 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินเฉลี่ยและผลผลิตเฉลี่ยมากที่สุด เทากับรอยละ<br />

0.4380 และ 6.18 ตันตอไร และกรรมวิธีที่ 1 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินเฉลี่ยและผลผลิตเฉลี่ย เทากับรอยละ<br />

0.2525 และ 4.15 ตันตอไร ซึ่งกรรมวิธีดังกลาวนี้ ไดแสดงวาปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนและดินลางเฉลี่ยนั้น<br />

มีผลตอผลผลิตของมันสําปะหลังอินทรีย สวนกรรมวิธีอื่น คือ กรรมวิธีที่ 5 นั้น พบวา ไมใชแคปริมาณอินทรีย<br />

คารบอนในดินบนและดินลางเฉลี่ยจะมีผลตอผลผลิตของมันสําปะหลังอินทรียเทานั้น แตยังมีโพแทสเซียมที่มีผลตอ<br />

469


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลผลิตมันสําปะหลังอินทรียดวย โดยกรรมวิธีที่ 5 มีสวนของโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดในดินบนเทากับ 20 และ<br />

30 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน (มากกวากรรมวิธีอื่น) ตามลําดับ ในดินลางเทากับ 20 และ 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน<br />

ตามลําดับเนื่องจากพืชหัวตองการโพแทสเซียมในปริมาณมากเพื่อการเจริญเติบโต และการเจริญของรากของพืช<br />

หัวจะลดลงมากถามีโพแทสเซียมจํากัด (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548, น. 308) เมื่อพิจารณาที่ธาตุ<br />

แคลเซียม พบวา ธาตุแคลเซียมมีผลตอผลผลิตของมันสําปะหลัง ซึ่งพืชจะเจริญเติบโตไดจะตองมีการแบงเซลลที่<br />

สวนยอดหรือปลายราก ถาพืชขาดแคลเซียม สวนยอดและรากของพืชจะไมเจริญ (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา,<br />

2548, น. 316) โดยกรรมวิธีที่ 2 ใหผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุดเทากับ 6.18 ตันตอไร มีธาตุแคลเซียมในดินบน และดิน<br />

ลางสูงที่สุดเทากับ 176 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน และ 160 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน ตามลําดับ กรรมวิธีที่ 5 ให<br />

ผลผลิตเฉลี่ยรองลงมาเทากับ 5.88 ตันตอไร โดยมีธาตุแคลเซียมในดินบน และดินลางเทากับ 160 มิลลิกรัมตอ<br />

กิโลกรัมดิน และ 104 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน ตามลําดับ สวนกรรมวิธีที่ 1 เปนแปลงควบคุมมีอินทรียคารบอนทั้ง<br />

ดินบน และดินลางต่ําแตใหผลผลิตเฉลี่ยสูง เนื่องจากมีธาตุแคลเซียมในดินบน และดินลางเทากับ 144 มิลลิกรัมตอ<br />

กิโลกรัมดิน และ 108 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน ตามลําดับ แตผลผลิตไมสูงเทากับกรรมวิธีที่ 2 และ 5 เนื่องจากใน<br />

ดินมีความชื้นสูงที่สุดเทากับรอยละ 11.48 สวนกรรมวิธีที่ 4 ใหผลผลิตเฉลี่ยต่ําเทากับ 2.27 ตันตอไร ถึงแมวาจะมี<br />

การใสปุยอินทรียแตเนื่องจากกรรมวิธีที่ 4 มีธาตุแคลเซียมในดินบน และดินลางต่ํากวากรรมวิธีที่อื่นเทากับ 112<br />

มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน และ 100 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 2 ผลผลิตเฉลี่ยในแตละกรรมวิธี (พ.ศ. 2550)<br />

กรรมวิธี คาเฉลี่ยผลผลิต (ตันตอไร)<br />

1 4.15 bc<br />

2 6.18 a<br />

3 2.95 cd<br />

4 2.27 d<br />

5 5.88 a<br />

เมื่อตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กคือ การทดสอบทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ 0.05<br />

หมายเหตุ<br />

กรรมวิธีที่ 1 แปลงควบคุม<br />

กรรมวิธีที่ 2 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + (ปุยหมักน้ํา+ พด.2) 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 3 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 4 ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

กรรมวิธีที่ 5 ถั่วพุม + ปุยหมัก (เปลือก + กากมันสําปะหลัง + มูลไก) + ปุยหมักน้ํา 3,000 กิโลกรัมตอไร<br />

470


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาการกักเก็บคารบอนในดินที่ปลูกมันสําปะหลังอินทรีย ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน<br />

จังหวัดนครราชสีมา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการกักเก็บคารบอน ณ เวลาตางกันซึ่งมีการจัดการปุยอินทรียที่<br />

แตกตางกัน 5 กรรมวิธี รวมถึงการรวงหลนของเศษซากใบมันสําปะหลัง และอัตราการยอยสลายของใบมัน<br />

สําปะหลังที่มีอิทธิพลตอคารบอนในดิน ณ ตําบลมะเกลือใหม อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา โดยการวิเคราะห<br />

อินทรียคารบอนในดินบน (0 – 20 เซนติเมตร) และดินลาง (20 – 60 เซนติเมตร) ณ เวลาตางกัน เพื่อศึกษาการ<br />

สะสมอินทรียคารบอนในดินในแตละชวงเวลา สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังตอไปนี้<br />

1. ปุยหมักสูตรที่ 1 ประกอบดวย มูลวัว 5,500 กิโลกรัม เปลือกมันสําปะหลัง + กากมันสําปะหลัง<br />

8,750 กิโลกรัม และปุยหมักน้ําที่มีสารเรงพด.2 200 ลิตร มีอินทรียคารบอนมากที่สุดเทากับรอยละ 2.61 และมี<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนเทากับ 15.35:1 สงผลใหมีอินทรียคารบอนสะสมในดินบนมากที่สุด ซึ่งไดแก<br />

กรรมวิธีที่ 2 มีการสะสมอินทรียคารบอนในดินบนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เทากับ 2467.79<br />

กิโลกรัมตอไร<br />

2. ปุยหมักที่มีมูลวัวเปนองคประกอบจะมีปริมาณอินทรียคารบอนมากกวาปุยหมักที่มูลไกเปน<br />

องคประกอบ ดังนั้นเมื่อใสปุยหมักที่มีมูลวัวเปนองคประกอบลงในดินจะสงผลใหมีปริมาณอินทรียคารบอนมากกวา<br />

เมื่อใสปุยหมักที่มีมูลไกเปนองคประกอบ ปุยหมักที่มีสารเรงพด. 2 เปนองคประกอบจะมีปริมาณอินทรียคารบอน<br />

มากกวาปุยหมักที่ไมมีสารเรงพด. 2 เปนองคประกอบ ดังนั้นเมื่อใสปุยหมักที่มีสารเรงพด. 2 เปนองคประกอบลงใน<br />

ดินจะสงผลใหมีปริมาณอินทรียคารบอนมากกวาเมื่อใสปุยหมักที่ไมมีสารเรงพด. 2 เปนองคประกอบ กรรมวิธีที่มี<br />

การสับกลบปุยพืชสด (ถั่วพุม) ลงไปในดินสวนใหญจะมีปริมาณอินทรียคารบอนนอยกวากรรมวิธีที่ไมมีการใสปุย<br />

พืชสด (ถั่วพุม) ลงไปในดิน ดังนั้นจึงสรุปไดวา ปุยพืชสด (ถั่วพุม) ไมมีอิทธิพลตอการสะสมของกรดอินทรีย และ<br />

อินทรียคารบอนในดิน<br />

3. คาความเปนกรด – เบสของดินบนและดินลางจะมีคาใกลเคียงกัน เมื่อมันสําปะหลังมีอายุการ<br />

เจริญเติบโตมากขึ้น<br />

4. ในฤดูแลงมันสําปะหลังจะมีการรวงหลนของใบมากกวาชวงฤดูอื่น และเมื่อมันสําปะหลังมีอายุ<br />

มากขึ้น การรวงหลนของใบจะลดลงเรื่อยๆ พบวาการใชมูลไกเปนองคประกอบในปุยหมักจะสงผลใหมีการรวงหลน<br />

ของใบมันสําปะหลังมากกวากรรมวิธีที่มีการใชปุยหมักที่มีมูลวัวเปนองคประกอบ โดยกรรมวิธีที่ 5 ซึ่งใสเมล็ดถั่ว<br />

พุมจํานวน 5 กิโลกรัมตอไร และปุยหมักสูตรที่ 3 (เปลือกมันสําปะหลัง + กากมันสําปะหลัง + มูลไก) + ปุยหมักน้ํา<br />

ที่ไมมีสารเรงพด. 2 จํานวน 3,000 กิโลกรัมตอไร มีอัตราการรวงหลนของใบมันสําปะหลังเมื่อมันสําปะหลังอายุ 8<br />

และ 10เดือนมากที่สุดเทากับ 1.20 และ 0.88 กิโลกรัมตอไรตอเดือน ตามลําดับ<br />

5. ใบมันสําปะหลังที่มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (รอยละ) อยูสูง ไดแก กรรมวิธีที่ 3 มีปริมาณ<br />

ไนโตรเจนทั้งหมด (รอยละ) เทากับ 3.72 จะสามารถยอยสลายใบมันสําปะหลังไดอยางรวดเร็ว สงผลใหมีการสะสม<br />

ปริมาณอินทรียคารบอนในดินไดนอย<br />

6. ในกรรมวิธีที่ 5 มีอัตราการยอยสลาย (คา k) มากที่สุด (k 1 = 0.294 และ k 2 = 0.188) ทําใหมีการ<br />

สะสมอินทรียคารบอนในดินนอยที่สุดเทากับ 518.25 และ 737.22 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และใชปุยหมักสูตรที่ 3<br />

มีอินทรียคารบอนนอยจะยอยสลายเร็วกวา<br />

7. กรรมวิธีที่ 2 มีอัตราการรวงหลนของใบมันสําปะหลังเมื่อมันสําปะหลังอายุ 8 และ 10 เดือน<br />

คอนขางมากเทากับ 0.99 และ 0.48 กิโลกรัมตอไรตอเดือน ตามลําดับ และมีอัตราการยอยสลายคอนขางต่ํา (k 1 =<br />

471


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

0.119 และ k 2 = 0.071) จึงสงผลใหมีอินทรียคารบอนสะสมในดินบนมากที่สุดเทากับ 968.29 กิโลกรัมตอไร เมื่อมัน<br />

สําปะหลังอายุ 10 เดือน<br />

8. กรรมวิธีที่ 2 ซึ่งประกอบดวย เปลือกมัน + กากมันสําปะหลัง + มูลวัว + ปุยหมักน้ําที่มีสารเรง<br />

พด. 2 มีปริมาณอินทรียคารบอนในดินบนเฉลี่ย อินทรียคารบอนในดินลางเฉลี่ย และผลผลิตเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ<br />

968.29 กิโลกรัมตอไร, 1499.53 กิโลกรัมตอไร และผลผลิตเฉลี่ย 6.18 ตันตอไร ตามลําดับ มีธาตุแคลเซียมที่<br />

แลกเปลี่ยนไดในดินบน และดินลางเทากับ 176 และ 160 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมดิน ตามลําดับ<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Anuraksa, B. & Anuraktipun, Y. (2007). Organic Tapioca and Paddy Rice Technical in<br />

Thailand. Pathumthani: no plubishing.<br />

- Lichaikul, N. (2004). Change of Soil Carbon Stock and Sequestration after Conversion of<br />

Forest to Reforestation and Agricultural Lands. Unpublished master’s thesis. King<br />

Mongkut’s University of Technology Thonburi, The Joint Graduate School of Energy and<br />

Environment.<br />

- Tippayachan, H. (2006). The Determination of Carbon Loss by Soil Erosion and<br />

Sediment Transport Process in Mea Thang Watershed, Rong Kwang district, Phrae<br />

province. Unpublished master’s thesis, Mahidol University, Faculty of Environment and<br />

Resource Studies, Department of Appropriate Technology for Resource and<br />

Environment Development.<br />

- คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.(2545). การศึกษาและจัดทํารายงาน<br />

แหงชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรุงเทพฯ: เอส พี เอส พริ้นติ้ง จํากัด.<br />

(โครงการศึกษาแหลงกักเก็บกาซเรือนกระจกจากภาคปาไมและกิจกรรมการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดิน ภายใตพิธีสารเกียวโต เสนอสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. กุมภาพันธ 2545).<br />

- คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา. (2548). ปฐพีวิทยาเบื้องตน (พิมพครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ:<br />

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

- ไกรศรี ทองเสมียน. (2551). ความสามารถในการดูดซับไนโตรเจนและฟอสฟอรัสของดินตอ<br />

ระบบการปลูกมันสําปะหลังอินทรีย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร<br />

, ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม, สาขาวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม.<br />

- สนธยา จําปานิล. (2547). การเปรียบเทียบผลผลิต และการยอยสลายของเศษซากพืช เพื่อ<br />

ประเมินการสะสมคารบอนในระบบนิเวศปา ในเขตอุทยานแหงชาติแกงกระจาน ประเทศไทย.<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะวิทยาศาสตร, ภาควิชา<br />

ชีววิทยา, สาขาวิชาสัตววิทยา.<br />

- โอภาษ บุญเส็ง. (2531). การศึกษาการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง. วิทยานิพนธปริญญา<br />

มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, คณะเกษตร, สาขาวิชาพืชไร.<br />

- ประภาส ชางเหล็ก, วิจารณ วิชชุกิจ, เอ็จ สโรบล, เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ, และจําลอง<br />

เจียมจํานรรจา .(ม.ป.ป.). ผลของเปลือกมันสําปะหลังและปุยเคมีที่มีตอผลผลิตหัวสด<br />

472


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ของมันสําปะหลังพันธุหวยบง 60. สืบคนเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2551, จาก<br />

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi<br />

473


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของการเพาะปลูกขาว<br />

ที่มีการจัดการการเพาะปลูกที่แตกตางกัน<br />

Estimation of Carbon Footprint of Rice Cultivation with Different Field Management<br />

กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ 1 และ สิรินทรเทพ เตาประยูร 1,2<br />

1 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ขาวเปนสินคาเกษตรหลักของประเทศไทย และจัดอยูในสินคาสงออกสิบอันดับแรกของประเทศ นาขาว<br />

เปนแหลงสําคัญที่ปลดปลอยกาซเรือนกระจกสามตัวหลัก คือ กาซคารบอนไดออกไซด กาซมีเทน และกาซไนตรัส<br />

ออกไซด การประเมิน และจัดการผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของนาขาวจึงเปนสิ่งจําเปน โดยการศึกษานี้นําวิธี<br />

คารบอน ฟุตพริ้นทมาใช เพื่อประเมินการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเพาะปลูกขาวตั้งแตการเตรียมดิน<br />

จนกระทั่งถึงการเก็บเกี่ยว และเปรียบเทียบคารบอนฟุตพริ้นทของการเพาะปลูกขาวระหวางการใชพันธุขาวขาว<br />

ดอกมะลิ105 นาน้ําฝนที่ปลูกที่จังหวัดรอยเอ็ด กับพันธุเหลืองประทิว123 นาชลประทานที่ปลูกที่จังหวัดเพชรบุรี ที่<br />

มีการจัดการการเพาะปลูกที่แตกตางกัน โดยจะคิดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในหนวย CO 2 equivalent ตอ<br />

กิโลกรัมของผลผลิตขาว จากการศึกษาพบวาพันธุขาวเหลืองประทิว123 นาชลประทานที่ปลูกที่จังหวัดเพชรบุรีมี<br />

การปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่ต่ําที่สุด เมื่อคิดในหนวย CO 2 equivalent ตอกิโลกรัมของผลผลิตขาว และพบวา<br />

ใชปุยอินทรียชวยลดการปลดปลอยกาซไนตรัสออกไซดประมาณ 12% และการงดการใชเครื่องจักรในนาขาวชวย<br />

ลดการปลดกาซคารบอนไดออกไซดประมาณ 60% ผลจากการศึกษานี้เปนขั้นตอนแรกเพื่อชวยประเมินคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทของการเพาะปลูกขาวและกลุมผลิตภัณฑขาว เพื่อใชเปนขอมูลในการสงออกผลิตภัณฑขาวในอนาคต<br />

คําสําคัญ : Rice field, Greenhouse gas emission, Carbon footprint, Irrigated system, Rains-fed system<br />

Abstract<br />

Rice is the main agricultural product of Thailand and ranks in the top ten of international rice<br />

trading. Rice field is a source for three primary greenhouse gases (GHGs): CO 2 , CH 4 , and N 2 O. As an<br />

environmental evaluation, it is necessary to understand and manage the environmental impact of the rice<br />

field. Thus carbon footprint methodology has been applied to the rice cultivation from land preparation to<br />

harvesting. This study compared carbon footprint of rice cultivation between two sites of rains-fed rice<br />

474


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

system at Roi Et province and irrigated system at Phetchaburi province by using rice cultivar; Khao Dawk<br />

Mali 105 (jasmine rice) and Leuang Pratew 123 (ordinary rice) and planting methods; seeding and<br />

transplanted method. It was found that rains-fed system with seeding method and organic fertilizer could<br />

reduce N 2 O around 12% and avoid using machinery in the rice field could reduce CO 2 around 60%.<br />

Interestingly, final calculated of total emission in term of CO 2 equivalent per kilogram of rice yield showed<br />

the lowest GHGs mitigation in Phetchaburi site which was the irrigated rice field with seeding method,<br />

used of organic fertilizer and used of full scale machinery. The result from this study is the first step to<br />

help evaluate the carbon footprint of rice cultivation and its product chains, which will be the important<br />

information is international trading in the future.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ความตื่นตัวเกี่ยวกับปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น และมีแนวโนมเพิ่มความรุนแรงมาก<br />

ขึ้นอันเนื่องมาจากการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย ภาคเกษตรกรรมถือเปนแหลงที่<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่สําคัญแหลงหนึ่ง ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมและมีรายไดจากสินคาเกษตร<br />

โดยเฉพาะขาวถือวาเปนสินคาเกษตรสงออกสิบอันดับแรกของประเทศไทย ซึ่งนาขาวเปนแหลงที่มีการปลดปลอย<br />

กาซเรือนกระจก (กาซมีเทน) ที่มีการกลาวถึงอยางมาก การเกิดและการปลอยกาซเรือนกระจกในนาขาวขึ้นอยูกับ<br />

ปจจัยหลายอยางในการเพาะปลูก เริ่มตั้งแตการการเตรียมดินกอนการเพาะปลูก รูปแบบการทํานา (นาชลประทาน/<br />

นาน้ําฝน) การใสปุยประเภทตางๆ หรือกระทั่งพันธุขาวที่ปลูก การประเมินและจัดการผลกระทบดานสิ่งแวดลอม<br />

ของนาขาวจึงเปนสิ่งจําเปน โดยวิธีคารบอนฟุตพริ้นทมาใชเพื่อประเมินการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการ<br />

เพาะปลูกขาวตั้งแตการเตรียมดินจนกระทั่งเก็บเกี่ยว เพื่อหาวิธีการลดกาซมีเทนในขั้นตอนของการเพาะปลูก การ<br />

ลดการใชปุยในนาขาว รวมถึงการลดการใชเครื่องจักรในขั้นตอนการปลูก การศึกษานี้จะประเมินคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ในขั้นตอนการเพาะปลูกขาวโดยเปรียบเทียบการเพาะปลูกขาวที่แตกตางกันของสองสถานที่ คือ นาขาวจังหวัด<br />

รอยเอ็ด ที่มีการปลูกขาวแบบนาน้ําฝน โดยใชพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 และนาขาวจังหวัดเพชรบุรี ที่มีการปลูก<br />

ขาวแบบนาชลประทาน โดยใชพันธุขาวเหลือง ประทิว 123 ผลการศึกษานี้จะเปนขั้นตอนแรกในการชวยประเมิน<br />

คารบอนฟุตพริ้นทของการปลูกขาว และผลิตภัณฑขาว ซึ่งจะเปนขอมูลที่สําคัญตอการคาระหวางประเทศในอนาคต<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อประเมินการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในนาขาว ตั้งแตขั้นตอนเตรียมดินจนถึงขั้นตอนการเก็บ<br />

เกี่ยว<br />

2.2 เพื่อนําขอมูลที่ไดมาเปนขอมูลในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑขาว ซึ่งเปนขอมูลที่<br />

สําคัญตอ การคาระหวางประเทศในอนาคต<br />

475


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 สถานที่ทําการทดลอง<br />

สถานที่ทดลองแบงออกเปน 2 จังหวัด คือ จังหวัดรอยเอ็ด ทํานาแบบนาน้ําฝน ปลูกขาวพันธุขาวดอกมะลิ<br />

105 และที่จังหวัดเพชรบุรี ทํานาแบบนาชลประทาน ปลูกขาวพันธุเหลืองประทิว 123 ผลการทดลองเก็บในชวง<br />

เดือนสิงหาคม 2551-มกราคม 2552 โดยตารางที่ 1 จะแสดงวิธีการเพาะปลูกขาวของแตละจังหวัด<br />

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดการเพาะปลูกของจังหวัดรอยเอ็ด และจังหวัดเพชรบุรี<br />

รายละเอียดการปลูกขาว<br />

สถานที่ สัญลักษณ<br />

การเก็บ<br />

การจัดการน้ํา พันธุ การเตรียมดิน การปลูก ปุย<br />

เกี่ยว<br />

ขาวพันธุ รถไถ ปกดํา ปุยชีวภาพ แรงงาน<br />

R1 นาน้ําฝน<br />

จังหวัด<br />

ขาวดอกมะลิ 105<br />

แบบน้ํา<br />

รอยเอ็ด<br />

ขาวพันธุ รถไถ หวาน ปุยเคมี รถเกี่ยว<br />

R2 นาน้ําฝน<br />

ขาวดอกมะลิ 105<br />

จังหวัด<br />

ขาวพันธุ รถไถ หวาน ปุยคอกชนิด รถเกี่ยว<br />

นาชลประทาน<br />

เพชรบุรี<br />

เหลืองประทิว 123<br />

เม็ด<br />

3.2 การเก็บตัวอยางกาซเรือนกระจกและการวิเคราะห<br />

การเก็บตัวอยางกาซเรือนกระจกจากนาขาว<br />

การเก็บตัวอยางกาซใชวิธี Closed chamber โดยมีฐานทรงสี่เหลี่ยมขนาด 0.3*0.3*0.1 ม. (ก*ย*ส) ฝง<br />

อยูในดินนาตลอดฤดูกาลเพาะปลูกเพื่อลดการรบกวนระบบ ในขณะเก็บตัวอยางใชกลองเก็บตัวอยางทําจากอะคิลิก<br />

ทึบแสง ขนาด 0.3*0.3*0.8 ม. (ก*ย*ส) ครอบลงบนฐาน จากนั้นเก็บตัวอยางกาซจากกลองที่เวลา 0, 10, 20 และ<br />

30 นาที และบันทึกอุณหภูมิในกลองตามเวลาที่เก็บตัวอยางเพื่อใชในการคํานวณอัตราการปลดปลอยกาซเรือน<br />

กระจกตอไป ทําการเก็บตัวอยางกาซ 2 ครั้ง/สัปดาห ตั้งแตชวงเตรียมดินจนถึงเกี่ยวขาว ซึ่งในแตละแปลงนามี<br />

จุดเก็บตัวอยาง 3 จุด จึงมีจุดเก็บตัวอยางทั้งสิ้น 6 จุดในแตละพื้นที่ทดลอง<br />

การวิเคราะหกาซเรือนกระจกไดแก มีเทน และไนตรัสออกไซด โดยใชเครื่อง Gas Chromatography<br />

(GC) FID detector วิเคราะห มีเทน และ ECD detector ตามลําดับ วิเคราะหไนตรัสออกไซด และคํานวณอัตรา<br />

การปลดปลอยจากสมการ (1) และ (2)<br />

Ci<br />

qi × Mi × P<br />

RT<br />

= (1)<br />

เมื่อ Ci = มวล/ปริมาณ (กรัม/ลูกบาศกเมตร)<br />

Mi = มวลโมเลกุล (กรัม) กาซมีเทน (16 กรัม) และ กาซไนตรัสออกไซด (44 กรัม)<br />

Qi<br />

P<br />

T<br />

= ปริมาตร/ปริมาตร (เชน ppmv)<br />

= ความดัน<br />

= อุณหภูมิ (องศาเคลวิน)<br />

R = คาคงที่ของกาซ (0.082058 L.atm/ K.mol)<br />

476


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สมการขางตนเปนการแปลงความเขมขนที่วัดไดจากหนวย volume เปนหนวย mass หรือ molecular basis โดยใช<br />

ideal gas law ดังนั้นจึงตองคํานึงถึงอุณหภูมิและความดันของอากาศในกลองเก็บตัวอยางดวย จากนั้นคํานวณคา<br />

fluxes โดยใชความเขมขนของกาซเมื่อเวลาเปลี่ยนไปในกลอง ตามสมการดานลาง<br />

dc V<br />

dt A<br />

F = (2)<br />

เมื่อ F = คาการปลอยกาซมีเทนหรือกาซไนตรัสออกไซด (มิลลิกรัม/ตารางเมตร/ชั่วโมง)<br />

V = ปริมาตรของกลอง (ลูกบาศกเมตร)<br />

A = พื้นที่หนาตัดของกลอง (ตารางเมตร)<br />

dc<br />

dt<br />

= ความเขาขนของกาซมีเทนหรือกาซไนตรัสออกไซดที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

(มิลลิกรัม/ลูกบาศกเมตร/นาที)<br />

3.3 การเก็บขอมูลจากการใชน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องจักร และรถประเภทตางๆ ในนาขาว<br />

โดยการเก็บขอมูลจากเกษตรกรที่ทํานาในแตละพื้นที่ทดลอง และคํานวณตามสูตรของ IPCC Guidelines<br />

1996 ดังสมการดานลาง<br />

คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด = ∑fuel consumption expressed in energy units (TJ) x carbon emission factor x fraction<br />

oxidized x 44/12 (IPCC, 1996)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากนาขาวจังหวัดรอยเอ็ด<br />

แปลงทดลองจังหวัดรอยเอ็ด เปนแปลงที่ปลูกขาวนาป โดยใชน้ําฝนในการเพาะปลูก และปลูกขาวพันธุ<br />

ขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งแบงออกเปน 2 แปลงทดลอง คือ แปลงที่1 (R1) ปลูกขาวแบบนาดํา และแปลงที่ 2 (R2) ปลูก<br />

ขาวแบบนาหวาน โดยทั้ง 2 แปลงมีการจัดการแปลงที่แตกตางกัน แปลง R 1 มีการใสปุยชีวภาพแบบน้ํา และเก็บ<br />

เกี่ยวผลผลิตโดยใชแรงงานคน ขณะที่แปลง R2 มีการใสปุยเคมี และใชรถเกี่ยวขาวในการเก็บเกี่ยว (ตารางที่1)<br />

4.1.1 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากแปลง R1 จังหวัดรอยเอ็ด<br />

แปลง R1 ขั้นตอนการปลูกขาวจะเริ่มจากการใชรถไถเพื่อเตรียมดินกอนการเพาะปลูก ซึ่งสวนนี้จะ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด เทากับ 0.02 kg CO 2 e/kg rice grain yield และมีการใชปุยชีวภาพแบบน้ําที่มี<br />

สวนผสมของกากน้ําตาลและหัวเชื้อจุลินทรีย ในชวงการเพาะปลูก พบการปลดปลอยของกาซมีเทนและกาซไนตรัส<br />

ออกไซดตลอดการเพาะปลูกขาว เทากับ 4.89 และ 2.35 kg CO 2 e/kg rice grain yield ตามลําดับ โดยพบการ<br />

ปลอยกาซมีเทน และกาซไนตรัสออกไซดที่สูงที่สุดในชวงขาวออกรวง (รูปที่ 1 ก,ข) มีคาเทากับ 3.49 และ 1.33 kg<br />

CO 2 e/kg rice grain yield ตามลําดับ การเก็บเกี่ยวของแปลง R1 จะใชแรงงานคน และใชเครื่องนวดขาวในการแยก<br />

เมล็ดขาว ซึ่งจะมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด เทากับ 0.02 kg CO 2 e/kg rice grain yield และพบวาชวงการ<br />

เจริญเติบโตของขาวมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด (รูปที่ 2 ก) โดยเฉพาะชวงตนขาวออกรวงมีการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกถึง 66% และกาซที่ปลดปลอยออกมามากที่สุด คือ กาซมีเทน (รูปที่ 2 ข)<br />

477


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.4.2 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากแปลง R2 จังหวัดรอยเอ็ด<br />

แปลง R2 มีขั้นตอนเตรียมดินและใชรถไถเชนเดียวกับแปลง R1 ทําการปลูกขาวโดยการหวาน และมีการ<br />

ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในสวนนี้เทากับ 0.04 kg CO 2 e/kg rice grain yield (รูปที่ 1 ข) สําหรับการใสปุยใน<br />

แปลงนี้ จะใชปุยเคมี (ตารางที่ 1) ตลอดชวงการเพาะปลูกแบงใสทั้งหมด 4 ครั้ง พบการปลดปลอยกาซมีเทนและ<br />

ไนตรัสออกไซดตลอดการเพาะปลูก มีคาเทากับ 3.44 และ 3.03 kg CO 2 e/kg rice grain yield ตามลําดับ การเก็บ<br />

เกี่ยวของแปลง R2 จะใชรถในการเก็บเกี่ยวทําใหมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด เทากับ 0.22 kg CO 2 e/kg<br />

rice grain yield (รูปที่ 1 ข) ชวงตนขาวออกรวงจะเปนชวงที่มีการปลอยกาซมีเทนและไนตรัสออกไซดสูงที่สุด<br />

ประมาณ 41% ของการปลดปลอยทั้งฤดูกาล และกาซที่ปลดปลอยออกมามากที่สุด คือ กาซมีเทน (รูปที่ 2 ข)<br />

จากรูปที่ 2 ก และ ข พบวา แปลง R1 มีการปลอยกาซมีเทนสูงกวาแปลง R2 แตมีการปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด และกาซไนตรัสออกไซดที่นอยกวา เนื่องจากแปลง R1 มีวิธีปลูกขาวแบบนาดําซึ่งมีระยะเวลา<br />

ในการปลูกขาวนานกวาการปลูกขาวแบบหวาน (แปลง R1 เก็บเกี่ยวชากวาแปลง R2 ประมาณ 1 อาทิตย) ทําใหมี<br />

ระยะเวลาที่น้ําขังในนามากกวาแปลง R2 ทําใหมีการปลดปลอยกาซมีเทนมากขึ้นดวย แตการใชแรงงานในการเก็บ<br />

เกี่ยวของแปลง R1 ชวยลดการปลดปลอย และกาซคารบอนไดออกไซดไดถึง 60%<br />

(ก) รอยเอ็ดนาดํา (R1)<br />

(ข) รอยเอ็ดนาดํา (R2)<br />

(ค) เพชรบุรี<br />

รูปที่1 แสดงการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในแตละชวงของการเจริญเติบโตของขาว หนวย<br />

kgCO 2 e/kg rice grain yield ก แปลง R1, ข แปลง R2 และ ค แปลงจังหวัดเพชรบุรี<br />

478


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) แบงตามกิจกรรม<br />

(ข) แบงตามกาซ<br />

รูปที่ 2 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกของแตละแปลงทดลอง (ก) แบงตามกิจกรรมที่ทําในการเพาะปลูก<br />

(ข) แบงตามกาซที่ปลดปลอยจากแปลงทดลองตลอดการเพาะปลูก<br />

4.2 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากนาขาวจังหวัดเพชรบุรี<br />

แปลงนาขาวจังหวัดเพชรบุรี เปนแปลงที่ปลูกขาวนาป โดยใชน้ําจากคลองชลประทานในการปลูก ใชพันธุ<br />

ขาวเหลืองประทิว 123 ปลูกดวยวิธีหวานน้ําตม เตรียมดินโดยใชรถไถ มีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

0.01 kg CO 2 e/kg rice grain yield การใสปุยจะใชปุยคอกรองพื้นกอนการเพาะปลูกและใสปุยคอกแบบเม็ด (ตาราง<br />

ที่ 1) ระหวางการปลูก 3 ครั้ง การปลดปลอยกาซมีเทนและกาซไนตรัสออกไซดตลอดการเพาะปลูกมีคาเทากับ<br />

1.81 และ 0.3 kg CO 2 e/kg rice grain yield ตามลําดับ สุดทายเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยใชรถเกี่ยวซึ่งปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด เทากับ 0.1 kg CO 2 e/kg rice grain yield (รูปที่ 1 ค) ชวงที่มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่<br />

สูงคือ ชวงที่ขาวออกดอก (รูปที่ 1 ค) มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกประมาณ 50% กาซที่ถูกปลดปลอยออกมา<br />

มากที่สุด คือ กาซมีเทน (รูปที่ 2 ข)<br />

4.3 คารบอนฟุตพริ้นทของนาจังหวัดรอยเอ็ด และจังหวัดเพชรบุรี<br />

เมื่อพิจารณาคารบอนฟุตพริ้นทของกระบวนการการปลูกขาวของทั้งสองจังหวัด พบวา คาของการ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจกของจังหวัดรอยเอ็ดของทั้งสองแปลงมีคาสูงกวาที่จังหวัดเพชรบุรีประมาณ 4 kg CO 2 /kg<br />

rice grain yield (ตารางที่ 2) แตเมื่อคิดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในหนวยปริมาณการปลดปลอยตอ<br />

พื้นที่เพาะปลูก (ตารางที่ 3) พบวาการปลดปลอยกาซเรือนกระจกรวมตลอดทั้งฤดูกาลของจังหวัดรอยเอ็ดนาหวาน<br />

(R2) และเพชรบุรีไมแตกตางกัน คือ 8,754.56 และ 8,926.40 GWP/ha/crop ในสวนของแปลงจังหวัดรอยเอ็ดนา<br />

ดํา (R1) จะมีการปลดปลอยรวมที่สูงกวา 15,291.04 GWP/ha/crop เนื่องจากระยะเวลาที่ใชในการปลูกมากกวานา<br />

หวาน ทําใหมีระยะเวลาที่มีน้ําขังในแปลงนายาวนานขึ้นสงผลใหมีการปลดปลอยกาซมีเทนสูง แสดงใหเห็นวาปจจัย<br />

สําคัญที่สงผลตอการวิเคราะหคารบอนฟุตพริ้นทในกระบวนการเพาะปลูกขาว คือ ผลผลิตของขาวในแปลง และ<br />

พันธุขาว เนื่องจากการวิเคราะหคาการปลดปลอยกาซเรือนกระจกดวยวิธีคารบอนฟุตพริ้นทจะคิดโดยใชหนวย<br />

ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกตอปริมาณของผลผลิต ทั้งนี้พันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกที่จังหวัด<br />

รอยเอ็ดจะใหผลผลิตที่นอยกวาพันธุเหลือประทิว 123 ประกอบกับฝนที่ไมตกตามฤดูกาลจึงทําใหผลผลิตที่จังหวัด<br />

รอยเอ็ดลดลง จากการศึกษานี้ไมเพียงแตการจัดการการเพาะปลูกที่เหมาะสมจะชวยลดคารบอนฟุตพริ้นทของ<br />

กระบวนการเพาะปลูกขาว สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่ง คือการเพิ่มผลผลิตที่ไดจากการเพาะปลูก ตองมีการปรับปรุง<br />

พันธุใหมีความทนตอสภาพแหงแลง และมีการจัดการระบบชลประทานใหกระจายสูเกษตรกรอยางทั่วถึง จะมีสวน<br />

ชวยในการเพิ่มผลผลิตของขาว และมีสวนชวยลดคารบอนฟุตพริ้นทในกระบวนการเพาะปลูกขาว<br />

479


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 แสดงการปลดปลอยกาซเรือนกระจกตอผลผลิตของจังหวัดรอยเอ็ด และจังหวัดเพชรบุรี<br />

จังหวัด<br />

รอยเอ็ด<br />

วิธีการปลูก<br />

ผลผลิต<br />

(กก./ไร)<br />

กาซมีเทนที่<br />

ปลดปลอย<br />

(kg CO 2 e/kg<br />

rice grain)<br />

กาซไนตรัส<br />

ออกไซดที่<br />

ปลดปลอย<br />

(kg CO 2 e/kg<br />

rice grain)<br />

กาซ<br />

คารบอนไดออกไซ<br />

ดที่ปลดปลอยจาก<br />

การเตรียมแปลง<br />

(kg CO 2 e/kg<br />

rice grain)<br />

กาซ<br />

คารบอนไดออกไซด<br />

ที่ปลดปลอยจากการ<br />

เก็บเกี่ยว<br />

(kg CO 2 e/kg<br />

rice grain)<br />

รวม<br />

(kg CO 2 e/kg<br />

rice grain)<br />

นาดํา (R1) 336 4.89 2.35 0.02 0.02 7.28<br />

นาหวาน<br />

(R2) 207 3.44 3.03 0.04 0.22 6.73<br />

เพชรบุรี นาหวาน 654 1.81 0.30 0.01 0.1 2.23<br />

ตารางที่ 3 แสดงการปลดปลอยเรือนกระจกตอพื้นที่การเพาะปลูกขาวของจังหวัดรอยเอ็ด และจังหวัด<br />

เพชรบุรี<br />

จังหวัด<br />

รอยเอ็ด<br />

วิธีการ<br />

ปลูก<br />

นาดํา<br />

(R1)<br />

นาหวาน<br />

(R2)<br />

ผลผลิต<br />

GWP (Global Warming Potential) คาศักยภาพในการทําใหโลกรอน CH 4 เทากับ 21 และ N 2 O เทากับ 310<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

CH 4<br />

kg/ha/crop<br />

การปลดปลอย (Emission)<br />

N 2 O<br />

kg/ha/crop<br />

CO 2<br />

kg/ha/crop<br />

CH 4<br />

GWP/ha/crop<br />

GWP Net GHGs<br />

N 2 O<br />

GWP/ha/crop<br />

CO 2<br />

GWP/ha/crop<br />

รวม<br />

GWP/ha/crop<br />

336 488.84 15.94 84 10,265.64 4,941.40 84 15,291.04<br />

207 213.26 12.71 336 4,478.46 3,940.10 336 8,754.56<br />

เพชรบุรี นาหวาน 654 346.10 3.93 440 7,268.10 1,218.30 440 8,926.40<br />

จากผลการศึกษาพบวา การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการเพาะปลูกจะเกิดขึ้นมากในชวง<br />

ระหวางการเพาะปลูกขาว คือ ชวงที่ตนขาวออกดอก และออกรวง และกาซที่ถูกปลดปลอยออกมามากที่สุด คือ<br />

กาซมีเทน จากผลการวิเคราะหคารบอนฟุตพริ้นท พบวาควรใหความสําคัญตอผลผลิตขาว ซึ่งจะเห็นไดจากผล<br />

การศึกษาผลผลิตที่จังหวัดรอยเอ็ดนอยกวาที่จังหวัดเพชรบุรีประมาณ 50% สงผลใหคารบอนฟุตพริ้นทของจังหวัด<br />

รอยเอ็ดสูงกวาจังหวัดเพชรบุรี มากกวา 50% ทั้งที่การปลดปลอยกาซมีเรือนกระจกรวมตอพื้นที่ของทั้ง 2 จังหวัด<br />

ไมแตตางกัน ดังนั้นนอกจากจะใหความสําคัญตอการจัดการนาขาวแลว ควรใหความสําคัญตอผลผลิตดวย แนวทาง<br />

ที่จะลดคารบอนฟุตพริ้นทจากการศึกษานี้ คือ ใหความสําคัญกับขั้นตอนการปลูกขาว และผลผลิตที่ไดจากการ<br />

เพาะปลูกขาว แนวทางการลดกาซเรือนกระจกจากนาขาว คือ การพัฒนาพันธุขาวที่ทนตอความแหงแลง เพื่อลด<br />

ความเสียตอผลผลิตตกต่ําเนื่องจากภาวะฝนตกไมตรงฤดูกาล และการจัดการการเพาะปลูกในนาขาว สามารถทําได<br />

480


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยการจัดการปริมาณน้ําในนาขาวระหวางการเพาะปลูก ซึ่งทําไดโดยการระบายน้ําออกจากนากอนชวงที่ตนขาว<br />

ออกรวง เนื่องจากเปนชวงที่มีการปลอยกาซมีเทนมากที่สุด และการควบคุมปริมาณการใชปุยเคมี ทั้งนี้การเติม<br />

ปุยเคมีควรจํากัดใหมีปริมาณเพียงพอเฉพาะที่พืชสามารถนําไปใชไดเทานั้น การงดการใชเครื่องจักรในนาขาว<br />

ตลอดจนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวควรนําฟางขาวออกจากนาขาวใหเหลือแตตอซังเพื่อลดปริมาณอินทรียวัตถุใน<br />

ดินสําหรับการเพาะปลูกในรอบถัดไป จะมีสวนชวยลดคารบอนฟุตพริ้นทในการกระบวนเพาะปลูกขาว<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง “การวิเคราะหและจัดการคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ<br />

ขาว สําหรับการติดฉลากคารบอน เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจคารบอนต่ําในการบรรเทาภาวะโลกรอน” ซึ่งไดรับเงินทุน<br />

สนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Cai, Z.C., Tsuruta, H., Minami, K. (2000) Methane emission from rice fields in China:<br />

measurements and influencing factors. Journal of Geophysical Research, 17, pp. 231–242.<br />

- Hou, A.X., Chen,G.X.,Wang, Z.P., Van Cleemput, O., Patric Jr., W.H. (2000) Methane and<br />

nitrous oxide emissions from a rice field in relation to soil redox and microbiological process.<br />

Soil Science Society of America Journal, 60, pp. 2180–2186.<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC), 1996, IPCC guideline for National<br />

Greenhouse Gas Inventories, 3:457<br />

- Tsuruta, H. (2002) Methane and Nitrous oxide emissions from rice paddy fields. Paper<br />

Presented at World Congress of Soil Science, Bangkok, Thailand, and 14-21 August.<br />

- Turcotte, G., Hider, B. (2008) Carbon footprint project case study Lunberg Family Farms. SAP<br />

Research<br />

- Watanabe, T., Chairoj, P., Tsuruta, H., Masarngsan, W., Wongwiwatchai, C., Wonprasaid, S.,<br />

Cholitkul, W., Minami, K. (2000) Nitrous oxide emissions from fertilized upland fields in<br />

Thailand. Nutr. Cycl. Agro eco syst . 58, pp. 55–65.<br />

481


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อิทธิพลของการจัดการฟางในการปลูกขาวตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน: กรณีศึกษาดิน<br />

ชุดกําแพงแสน<br />

Impact of Rice Straw Management on Carbon Sequestration in Rice Soil: The Case<br />

Study of Kampheang Sean Soil Series<br />

ปวีณสุดา รามนัฏ 1 , วิไล เสาธงนอย 1 , ศุภชัย อําคา 2 และ เครือมาศ สมัครการ 1*<br />

Phaveesuda Ramnut 1 , Vilai Saothongnoi 1 , Suphachi Amkha 2 , and Kruamas Smakgahn 1*<br />

1 หลักสูตรวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140<br />

2 ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน<br />

จังหวัดนครปฐม 73140<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาอิทธิพลของการใชฟางในการปลูกขาวตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน โดยใชขาวพันธุ<br />

ปทุมธานี 1 ปลูกในกระถางทดลอง ใชดินชุดกําแพงแสน (Typic Haplustalfs) ใน 3 ตํารับทดลองคือ ดินธรรมดา ดิน<br />

ใสฟางแหง และดินใสฟางเผา ทําการศึกษาคาการเปลี่ยนแปลง pH OM OC P K bulk density Total N Total<br />

C และ C/N ratio จากการเพาะปลูก นอกจากนี้ตรวจวัดการปลดปลอย CO 2 ตลอดฤดูกาลปลูก และคํานวณผลการ<br />

วิเคราะหทางสถิติ ออกแบบการทดลองแบบ RCBD ผลการศึกษาพบวาหลังจากการเพาะปลูกขาวในดินธรรมดามี<br />

ธาตุอาหาร OM OC Pและ K นอยที่สุด แตมีการปลดปลอย CO 2 ออกมาปานกลาง ดินฟางมีธาตุอาหาร OM และ<br />

OC มากที่สุด มีคา P และ K ในดินสูงกวาดินธรรมดา และมีคา bulk density นอยที่สุด แตมีการปลดปลอยกาซ<br />

CO 2 ออกมามากที่สุด ดินใสฟางมีแนวโนมเก็บกักคารบอนไวในดินไดมาก สามารถชวยลดการใสปุย และการพรวน<br />

ดินหลังการเพาะปลูก สวนดินใสฟางเผาชวยใหขาวมีการเจริญเติบโตทางลําตน เมล็ด สูงที่สุด ซึ่งสามารถชวยลด<br />

การจัดการทางดานปุย และมีการปลดปลอย CO 2 ในบรรยากาศนอยที่สุดแตกระบวนการเผาฟางก็มีการปลดปลอย<br />

กาซคารบอนไดออกไซดออกมา ฉะนั้นดินที่เหมาะสมสําหรับการปลูกขาวคือดินที่ใสฟาง<br />

คําสําคัญ: การหมุนเวียนคารบอนในดิน ขาว ดินนา ฟางขาว ฟางเผา<br />

Abstract<br />

Impact of rice straw management on carbon sequestration in rice cultivation soil was conducted<br />

in this study. The Pathumthani 1 rice variety was planted in pot experiment by using Kampheang Sean<br />

soil series (Typic Haplustalfs). This experiment design by RCB with three treatments of soil preparation<br />

included 1) soil with dried rice straw, 2) soil with rice straw ash and 3) bare soil (without rice straw or rice<br />

straw ash). Soil properties included soil pH, %OM, %OC, P, K, bulk density, Total N, Total C and C/N<br />

ratio were determined after growing season and compared with its properties before growing period. In<br />

482


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

addition, concentration of CO 2 emission from experiment has been measured once a week throughout the<br />

growing season. The result from pot of soil (without rice straw) presented less %OM, %OC and K than<br />

soil with rice straw and soil with rice straw ash. Rice cultivation in soil with rice straw incorporation<br />

presented highest %OM, %OC among three treatments. P and K were higher than that bare soil<br />

treatment. In addition, lowest bulk density has been observed in soil with rice straw applied. These results<br />

implied that rice straw induces soil fertility and less fertilizer is needed. Moreover, less soil density helpful<br />

for soil preparation and less tillage is required in the area. The highest to lowest carbon-dioxide emission<br />

throughout the growing period were observed from rice cultivation in soil with rice straw incorporation,<br />

bare soil treatment, and soil with rice straw ash treatment, respectively. Rice cultivation in soil with rice<br />

straw ash induced growth rate of rice plant and rice seed. The results of this study suggested rice<br />

cultivation in soil with rice straw ash shown appropriated benefit compared to other treatments. However,<br />

carbon-dioxide emission from rice straw burn process should be considered before implementation.<br />

Keywords: soil carbon sequestration, rice, rice soil, rice straw, rice straw ash<br />

1. ความสําคัญ<br />

ขาวเปนพืชเศรษฐกิจที่มีความสําคัญตอสังคมไทย เพราะขาวสวนที่เหลือจากการบริโภคถูกสงขายยัง<br />

ตลาดตางประเทศ เชน จีน อินโดนีเซีย อิหราน ฮองกง มาเลเซีย และสิงคโปร (คณาจารยภาควิชาพืชไรนา คณะ<br />

เกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน, 2547) ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรทั่ว<br />

โลกบริโภคขาวเปนอาหารหลัก (อรรควุฒิ, 2526) การสํารวจการใชที่ดินในป 2551 พบวาประเทศไทยมีเนื้อที่<br />

ทั้งหมด 320.70 ลานไร ทั้งหมดนี้เปนพื้นที่การเกษตรจํานวน 131.78 ลานไร เปนพื้นที่ทํานา 65.54 ลานไร แบง<br />

ออกเปนพื้นที่ทํานาในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต คือ 14.73 37.67 10.11 และ<br />

3.03 ลานไร ตามลําดับ (ศูนยวิจัยขาวสุพรรณบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการขาว กรมการขาว, 2552) ดินเปนแหลง<br />

สะสมคารบอนที่สําคัญแหลงหนึ่ง ซึ่งเล็ก (2544) ไดศึกษาเบื้องตนถึงการกระจายคารบอนในดินลึก 1 เมตร ใน<br />

ประเทศไทยพบวาปริมาณอินทรียคารบอนรวมทั้งหมด 6,211,706 ลานลานกิโลกรัม หรือเทากับ 6.21 Pg คิดเปน<br />

0.046% ของปริมาณอินทรียคารบอนทั้งหมดในโลก พื้นที่ทําการเกษตรรวมถึงพื้นที่ปลูกขาวเปนแหลงเก็บกักธาตุ<br />

คารบอนและในขณะเดียวกันก็เปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจก เชน กาซคารบอนไดออกไซด กาซมีเทน เปนตน<br />

ซึ่งการเกิดกาซเรือนกระจกจากภาคเกษตรกรรมนั้นเกิดจากกิจกรรมของจุลินทรียในดิน ทั้งนี้ปริมาณการเกิดกาซ<br />

เรือนกระจกจากดินนั้นขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน สภาพความอุดมสมบูรณของดิน ปริมาณธาตุอาหารในดิน<br />

ความชื้น เนื้อดิน ปริมาณจุลินทรียในดิน เปนตน การทํานาขาวมีการปลดปลอย CO 2 ที่ปลอยออกมาจากกิจกรรม<br />

ของขาว คือ จากกระบวนการหายใจ (Houghton, 1997; ปริศนา, 2548; สมบุญ, 2544, 2548) กระบวนการ<br />

ปลดปลอยออกมาจากกิจกรรมของดินนา (Robert, 1995) และเกิดจากสารตั้งตนที่มาจาก CH 4 (Kirk, 2004)<br />

การศึกษานี้เปนการศึกษาถึงอิทธิพลของการใชฟาง และฟางเผาในการปลูกขาวตอการหมุนเวียนคารบอน<br />

ในดิน โดยเลือกใชขาวพันธุปทุมธานี 1 ในการศึกษา ซึ่งเปนพันธุขาวที่นิยมปลูกเปนอันดับ 2 ของเกษตรกรใน<br />

ทองถิ่นจังหวัดนครปฐม (ศูนยวิจัยขาวสุพรรณบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการขาว กรมการขาว, 2552) เปนขาวเจา<br />

หอมไมไวตอแสงแดด คุณภาพเมล็ดคลายพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 ขาวสุกนุมเหนียว มีกลิ่นหอม ตานทานเพลี้ย<br />

กระโดดสีน้ําตาล ตานทานเพลี้ยกระโดดหลังขาว ตานทานโรคไหม ตานทานโรคของใบแหง ใหผลผลิตเฉลี่ย 650-<br />

774 กิโลกรัมตอไร (ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี, 2553) โดยทําการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต<br />

483


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กําแพงแสน เพื่อเก็บขอมูลผลของการจัดการดินในรูปแบบตางๆตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน โดยการศึกษาครั้ง<br />

นี้ทําการศึกษาโดยใชชุดดินกําแพงแสน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ศึกษาอิทธิพลของการใชฟางและฟางเผาตอการหมุนเวียนคารบอนในดิน<br />

3.1 วิธีการปลูกขาว<br />

เพาะกลาโดยใชเมล็ดพันธุขาวพันธุปทุมธานี 1 ในวันที่ 2 ตุลาคม 2552 โดยเพาะเมล็ดพันธุ 1 กิโลกรัม<br />

จากนั้นนํากลามาปลูกโดยใชวิธีการปกดําในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 กระถางละ 3 ตน แตละชนิดของดิน 3 ตํารับ<br />

ทดลองคือดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผา โดยใชทําการทดลองซ้ํา 15 กระถางในทุกตํารับทดลอง ใชดิน<br />

ชุดกําแพงแสนซึ่งเปนดินเหนียว ตักใสในกระถางปลูกขาว กระถางละ 8 กิโลกรัม ในดินที่ใสฟางและฟางเผานั้นใช<br />

ฟางกระถางละครึ่งกิโลกรัม คุณสมบัติของดินชุดกําแพงแสนแสดงดังตารางที่ 1 และวิธีวิเคราะหดินแสดงดังตาราง<br />

ที่ 2<br />

ตารางที่ 1 คุณสมบัติของดินกําแพงแสนที่ใชในการศึกษา<br />

คุณสมบัติดิน<br />

ปฎิกิริยาดิน (pH) 7.68<br />

อินทรียวัตถุ (%) 0.91<br />

อินทรียคารบอน (%) 0.53<br />

ฟอสฟอรัส (mg P/kg) 65.27<br />

โพแทสเซียม (mg K/kg) 169.49<br />

ความหนาแนนรวมของดิน (g/cm 3 ) 1.51<br />

ปริมาณคารบอนทั้งหมด 1.131<br />

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 0.064<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน 17.67<br />

484


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 แสดงวิธีการวิเคราะหดิน<br />

พารามิเตอร วิธีการตรวจวัด อางอิง<br />

คาปฏิกิริยาดิน pH meter Thomas, 1996<br />

อินทรียวัตถุ (OM และ OC) Walkley and Black ทัศนีย และจงรักษ, 2542<br />

ปริมาณ Phosphorus (P) Spectrophotometer ทัศนีย และจงรักษ, 2542<br />

ปริมาณโพแทสเซียม (K) Atomic absorption spectroscopy ทัศนีย และจงรักษ, 2542<br />

ความหนาแนนรวมของดิน<br />

(bulk density , P b )<br />

Clod method<br />

คณาจารยภาคปฐพีวิทยา คณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, 2541,<br />

2549)<br />

Total N และ Total C CNS Analyzer (TruSpec N, CNS)<br />

3.2 เก็บตัวอยางอากาศ ตัวอยางพืช และคุณสมบัติของพื้นที่ศึกษา<br />

3.2.1 วิธีการเก็บตัวอยางอากาศ<br />

วิธีการเก็บตัวอยางอากาศเพื่อวิเคราะหกาซ CO 2 ดังภาพที่ 1 โดยนํากระถางขาวใสในถาดพลาสติก<br />

ขนาดใหญกวาง 50 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร ใสนําในถาดพลาสติกใหเทากับระดับน้ําในกระถางขาว ใช<br />

เทอรโมมิเตอรเสียบลงในกระถางปลูกขาวเพื่อวัดอุณหภูมิดิน จากนั้นนํา Acrylic Chamber ขนาด 35*35*100 ซน<br />

ติเมตร (กวาง*ยาว*สูง) ครอบกระถางขาวที่อยูในถาดพลาสติกขนาดใหญที่บรรจุน้ําไวแลว โดยให Acrylic<br />

Chamber จมลงในน้ําเพื่อใหเกิดระบบปด ใชเข็มดูดตัวอยางอากาศใสในขวดเก็บตัวอยาง โดยเก็บตัวอยางอากาศ<br />

ณ เวลา 0 10 และ 20 นาทีหลังจากครอบ Acrylic Chamber จากนั้นนําตัวอยางอากาศไปวิเคราะหปริมาณการ<br />

ปลดปลอยกาซ CO 2 จากการปลูกขาวโดยเครื่อง GC<br />

ภาพที่ 1 แสดงการเก็บตัวอยางอากาศจากกระถางปลูกขาว<br />

485


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การคํานวณปริมาณกาซ CO 2<br />

F = k (V/A) dC/dt {273/ (273+T)}<br />

โดย F คือ ปริมาณการปลดปลอยคารบอนจากขาว<br />

k คือ คาคงที่ของ CO 2 เทากับ 1.250<br />

V คือ ปริมาตรของกลองเก็บตัวอยาง<br />

A คือ พื้นที่ของกลองเก็บตัวอยาง<br />

T คือ อุณหภูมิอากาศในกลองเก็บตัวอยาง ( ํC)<br />

dC/dt คือ อัตราการเพิ่มขึ้นของความเขมขนของ CO 2 ในกลองเก็บตัวอยางในชวง<br />

เวลาที่ทําการเก็บตัวอยาง<br />

3.2.2 การเก็บขอมูลทางกายภาพของอากาศ ดิน และน้ํา<br />

วัดอุณหภูมิดินภายในพื้นที่กลอง Acrylic Chamber ครอบ และวัดอุณหภูมิอากาศที่เวลา 0 10 และ 20<br />

นาที วัดระดับน้ําในกระถางขาวและดานนอกกระถางขาวโดยเทอรโมมิเตอร<br />

4. ผลการศึกษา<br />

อิทธิพลของการใชฟางขาวในการปลูกขาวตอในการหมุนเวียนคารบอนในดิน โดยการตรวจวัดการปลี่ยน<br />

แปลงคุณสมบัติของดินที่ใชในการปลูกขาว และศึกษา CO 2 ที่สูญเสียจากการปลูกขาว ไดผลการทดลองดังนี้<br />

4.1 การปลดปลอยกาซ CO 2<br />

การทดลองเปรียบเทียบคาการปลดปลอยกาซ CO 2 ในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผา<br />

พบวาดินที่ใสฟางมีคาการปลดปลอยกาซ CO 2 เทากับ 316,786.20 kgCO 2 -C/m 2 /crop ซึ่งมากกวาดินธรรมดาที่พบ<br />

274,032.40 kgCO 2 -C/m 2 /crop และมากกวาดินใสฟางที่พบ 133,037.60 kgCO 2 -C/m 2 /crop ตามลําดับ (ดังภาพที่<br />

2) ดินที่ใสฟางมีการปลดปลอยกาซ CO 2 มากกวาดินธรรมดา และดินฟางเผา 15.60% และ 138% ตามลําดับ และ<br />

ดินฟางเผามีการปลดปลอยกาซ CO 2 นอยกวาดินธรรมดา 48.55% ซึ่งมีความแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

(p≤0.05) จากการทดลองพบวาการปลูกขาวโดยใชดินที่มีการใสฟางเผาจะสามารถลดการปลดปลอยกาซ CO 2<br />

จากกระบวนการหายใจของขาวและกิจกรรมของดินได และการวัดปริมาณการปลดปลอยกาซ CO 2 ยังสามารถ<br />

ประเมินอัตราการสลายตัวของอินทรียสาร จากกิจกรรมของ จุลินทรียที่ใชอินทรียสารเปนแหลงพลังงาน<br />

(คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2530)<br />

486


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

kg CO2-C/m 2 /crop<br />

400,000<br />

300,000<br />

200,000<br />

100,000<br />

0<br />

274032.40<br />

316786.20<br />

133037.60<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

ชนิดดิน<br />

ภาพที่ 2 การปลดปลอยกาซ CO 2 ในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผาที่ใชในการปลูกขาว<br />

4.2 คุณสมบัติดินหลังการปลูก<br />

คุณสมบัติของดินหลังฤดูการเพาะปลูกขาวแสดงดังตารางที่ 3<br />

ตารางที่ 3 คุณสมบัติของดินหลังการปลูกขาวในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผา<br />

Total C Total N C/N<br />

ratio<br />

คุณสมบัติของดินหลังการปลูกขาว<br />

pH อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส<br />

OM (%) OC (%) (mg P/kg)<br />

โพแทสเซียม<br />

(mg K/kg)<br />

ความ<br />

หนาแนน<br />

รวมของ<br />

ดิน<br />

(g/cm 3 )<br />

ดินธรรมดา 1.539 0.065 23.68 7.06a ns 1.80a 1.04a 97.71a ns 61.70a 1.31a ns<br />

ดินฟาง 1.630 0.084 19.40 7.18a ns 2.02b 1.17b 101.21a ns 88.02b 1.24a ns<br />

ดินฟางเผา 1.592 0.085 18.73 7.17a ns 1.97b 1.14b 105.08a ns 98.12c 1.32a ns<br />

F-test - - - 1.814 ns 20.54 ** 20.56 ** 1.512a ns 127.50 ** 0.70 ns<br />

C.V.(%) - - - 1.25 2.83 2.82 5.92 4.03 7.35<br />

หมายเหตุ ns<br />

**<br />

คือ แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

คือ แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

487


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2.1 ผลของการใสฟางและฟางเผาตอการปริมาณ OC OM และ N ในดิน<br />

ปริมาณอินทรียวัตถุ (%OM) และปริมาณอินทรียคารบอน (%OC) จากดินทีใชปลูกขาวทั้ง 3 ตํารับทด<br />

ทดลองมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกัน คือปลูกขาวในดินธรรมดา ในดินที่ใสฟาง และในดินที่ใสฟาง<br />

เผา พบวาดินที่ใสฟางมีคา %OC 2.02 มากกวาดินที่ใสฟางเผา และดินธรรมดาที่มีคา 1.97 และ 1.80 ตามลําดับ<br />

(ดังภาพที่ 3) ผลจากการวิเคราะหทางสถิติของคาปริมาณอินทรียสารและปริมาณอินทรียคารบอนในดินหลังการ<br />

ปลูกขาวพบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p>0.05)<br />

จากผลจากการศึกษาแสดงใหเห็นความสัมพันธปริมาณอินทรียสาร และปริมาณอินทรียคารบอนมี<br />

แนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน การใสฟางขาวลงในดินเปนการเพิ่มปริมาณอินทรียสารในดินซึ่งสอดคลองกับ<br />

งานวิจัยของเสรี และคณะ (ม.ป.ป.) ซึ่งพบวาการใชวัสดุอินทรีย เชน ฟางขาว เปนการเพิ่มอินทรียวัตถุในดินและ<br />

ปองกันไมใหผิวดินแหง ซึ่งจะมีประโยชนสําหรับในการเพิ่มแรธาตุอาหารเพราะมาจากกิจกรรมการสลายตัวของ<br />

ซากพืช ซากสัตว และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ชวยในการเจริญเติบโตของขาว เปนประโยชนสําหรับการรักษาความอุดม<br />

สมบูรณของดินได (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2530, 2541)<br />

ปริมาณคารบอนทั้งหมดในดินจาก 3 ตํารับทดลองพบวาการปลูกขาวในดินฟางพบปริมาณคารบอน<br />

ทั้งหมดในดินมากกวาดินใสฟางเผาและดินธรรมดาที่มีคา 1.630 1.592 และ 1.539 ตามลําดับ สวนปริมาณ<br />

ไนโตรเจนทั้งหมดในดินนั้นพบวาในดินฟางเผามีปริมาณไนโตรเจนในดินสูงสุดคือ 0.085 รองลงมาคือการปลูกขาว<br />

ในดินใสฟางคือ 0.084 และดินธรรมดามีคา 0.065 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาคา C/N ratio พบวาดินธรรมดามีคา<br />

สูงคือ 23.68 มากกวาดินฟางที่พบ 19.40 และมากกวาดินฟางเผาที่พบ 18.73 ตามลําดับ (ดังภาพที่ 4) คา C/N<br />

ratio สามารถบงชี้กิจกรรมการยอยสลายอินทรียสารในดินไดโดยคา C/N ratio ต่ําจะสงผลใหเกิดการยอยสลาย<br />

อินทรียสารในดินต่ําและพบการสูญเสียคารบอนในดินต่ํา<br />

OC, OM (%)<br />

2.5<br />

2.0<br />

1.5<br />

1.0<br />

0.5<br />

0.0<br />

1.80<br />

2.02 1.97<br />

1.04 1.17 1.14<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

%OC<br />

%OM<br />

ภาพที่ 3 ปริมาณ OM และ OC ในดินธรรมดา ดินฟาง และฟางเผาที่ใชในการปลูกขาว<br />

488


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2.2 ผลของการใสฟางและฟางเผาตอการปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดิน<br />

การศึกษาเปรียบเทียบปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินจากการปลูกขาวในดิน 3 ตํารับทดลอง<br />

คือดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผา พบวาการปลูกขาวในดินที่ใสฟางเผามีคาฟอสฟอรัส 105.08 mg/kg<br />

มากกวาดินใสฟางคือ 101.21 mg/kg และดินธรรมดาคือ 97.71 mg/kg ตามลําดับ (ดังภาพที่ 5) และหลังจากการ<br />

ปลูกขาวพบวาดินมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงกวาดินกอนการปลูกขาวคือมีคา 65.27 mg/kg (ดังแสดงในตารางที่ 2) แต<br />

ปริมาณฟอสฟอรัสจากทั้ง 3 ตํารับทดลองแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) สําหรับปริมาณ<br />

โพแทสเซียมในดินจากการปลูกขาวในดิน 3 ตํารับทดลองพบวาปริมาณโพแทสเซียมในดินมีสูงในดินที่ใสฟางเผา<br />

คือ 98.12 mg/kg รองลงมาคือในดินที่ใสฟางคือ 88.02 mg/kg และดินธรรมดาพบปริมาณโพแทสเซียมต่ําที่สุดคือ<br />

61.70 mg/kg (ดังภาพที่ 5) และการวิเคราะหทางสถิติพบวาปริมาณปริมาณโพแทสเซียมในดินจาก 3 ตํารับทดลอง<br />

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p≤0.05) เมื่อเปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมในดินหลังปลูก<br />

ขาวกับดินกอนปลูกขาวพบวาปริมาณโพแทสเซียมกอนปลูกขาวมีคา 169.49 mg/kg (ดังตารางที่ 1) ซึ่งมีปริมาณ<br />

สูงกวาดินหลังฤดูกาลเพาะปลูกขาว<br />

ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปนแรธาตุอาหารที่สําคัญสําหรับการเจริญเติบโตของพืช ชวย<br />

ในการเจริญเติบโตทางลําตนของขาว และโพแทสเซียมเปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของเมล็ดขาว การใสฟาง<br />

และฟางเผาเพิ่มเขาไปในดิน โดยเฉพาะฟางเผาจะชวยในการเพิ่มแรธาตุทั้งสองชนิดใหแกดินมาก ซึ่งเกิดจากผล<br />

ของการยอยสลายองคประกอบตางๆในเศษวัสดุที่ใสในดิน (Whitbread et al., 1999) เปนประโยชนสําหรับการ<br />

ปรับปรุงดิน และทําใหลดการใสปุยระหวางฤดูกาลเพาะปลูกได<br />

T otal C , T otal N (% )<br />

2.00<br />

1.50<br />

1.00<br />

0.50<br />

0.00<br />

1.539 1.630 1.592<br />

0.065 0.084 0.085<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

total C<br />

total N<br />

ภาพที่ 4 ปริมาณอินทรียคารบอนและปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในดินธรรมดา ดินใสฟาง<br />

และดินใสฟางเผา ที่ใชในการปลูกขาว<br />

489


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

P, K content (mg/kg)<br />

150<br />

100<br />

50<br />

0<br />

97.71 101.21 105.08<br />

88.02<br />

61.70<br />

98.12<br />

P<br />

K<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

ภาพที่ 5 ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินธรรมดา ดินฟาง และฟางเผาที่ใชปลูกขาว<br />

4.2.3 อิทธิพลของฟางขาวตอคาปฎิกิริยาดิน (pH)<br />

การทดลองเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงคาปฏิกิริยาดินจากการปลูกขาวในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดิน<br />

ใสฟางเผาพบวาดินทั้ง 3 ชนิดหลังการปลูกขาวมีคา pH เปนกลาง คือ 7.06 7.18 และ 7.17 ตามลําดับ (ดังภาพที่<br />

6) และไมแตกตางจากคุณสมบัติของดินกอนปลูกขาวคือมีคา pH 7.68 ซึ่งมี pH เปนกลางเชนเดียวกัน<br />

(ดังแสดงในตารางที่ 1) จากการเปรียบเทียบพบวาคา pH จาก 3 ตํารับทดลองมีความแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p≤0.05) จากรายงานวิจัยที่ผานมาไดรายงานวาคาปฎิกิริยาดินของฟางเผาเปนดาง ซึ่งจากการทดลองนี้<br />

พบวามีคาปฎิกิริยาดินเปนกลางอาจเนื่องมาจากการจําลองพื้นที่ในการศึกษาที่มีปริมาณของพื้นที่ไมมาก การ<br />

เปลี่ยนแปลงคาปฎิกิริยาดินอันเนื่องมากจากการใสฟางเผาจึงอาจทําใหเห็นผลไมชัดเจน<br />

pH<br />

7.20<br />

7.15<br />

7.10<br />

7.05<br />

7.00<br />

7.1763 7.1660<br />

7.0645<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

ภาพที่ 6 คาปฎิกิริยาดินในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผาที่ใชในการปลูกขาว<br />

490


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2.4 คาความหนาแนนรวมของดิน<br />

การทดลองเปรียบเทียบคาความหนาแนนของดินหลังจากการปลูกขาวในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใส<br />

ฟางเผา พบวาคาความหนาแนนรวมของดินเรียงลําดับจากนอยไปมากดังนี้ ดินใสฟาง ดินธรรมดา ดินใสฟางเผา มี<br />

คา 1.24 g/cm 3 1.31 g/cm 3 และ 1.32 g/cm 3 ตามลําดับ (ดังภาพที่ 7) ซึ่งดินหยาบมีคาความหนาแนนรวมเทากับ<br />

1.20-1.80 g/cm 3 สวนดินละเอียดมีคาความหนาแนนรวมเทากับ 1.00-1.60 g/cm 3 (มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

นครสวรรค, 2548) จากการทดลองแสดงใหเห็นวาดินทั้ง 3 ชนิด จัดอยูในดินที่เปนดินละเอียด และพบวาดินที่มี<br />

ความรวนซุยมากความหนาแนนรวมของดินจะลดลง (คณาจารยภาคปฐพีวิทยา คณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549) ดินที่มีความหนาแนนรวมมาก จะมีปริมาณอินทรียวัตถุนอย ความโปรงและ<br />

ชองวางลดลง (สุนทรี, 2536) จากการทดลองแสดงใหเห็นวาดินทั้ง 3 ชนิดมีคาความหนาแนนรวมที่ใกลเคียงกัน<br />

แตคาความหนาแนนรวมของดินจากการปลูกขาวในดินทั้ง 3 ตํารับทดลองนั้นไมมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) และพบวาคาความหนาแนนรวมของดินหลังจากการปลูกขาวมีคาลดลงเมื่อเทียบกับ<br />

คาความหนาแนนของดินกอนการปลูกขาวที่มีคา 1.51 g/cm 3 (ดังแสดงในตารางที่ 1)<br />

คาความหนาแนนรวมของดินแสดงใหเห็นถึงคุณสมบัติของดิน คือดินที่มีความหนาแนนสูง มักเปนดินที่มี<br />

การอัดตัวสูง ทําใหการชอนไชของรากถูกจํากัด รวมทั้งการแลกเปลี่ยนกาซระหวางบรรยากาศและดิน ซึ่งมีผล<br />

จํากัดการหายใจของรากดวย (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2530;<br />

คณาจารยภาคปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549)<br />

Bulk density (g/cm3)<br />

1.35<br />

1.30<br />

1.25<br />

1.20<br />

1.31<br />

1.32<br />

1.24<br />

ดินธรรมดา ดินฟาง ดินฟางเผา<br />

ชนิดดิน<br />

ภาพที่ 7 คา bulk density ในดินธรรมดา ดินใสฟาง และดินใสฟางเผาที่ใชในการปลูกขาว<br />

5. สรุปผลการทดลอง<br />

การใชฟางขาวและฟางขาวเผาใสในดินที่ใชปลูกขาวโดยไมมีการใสปุยเคมีหรือปุยอินทรียอื่นใดรวมดวย<br />

ทําใหทราบขอมูลผลของฟางขาวที่มีตอดินไดอยางชัดเจน โดยการใสฟางขาวในดินที่ใชปลูกขาวนั้นเปนการ<br />

ปรับปรุงคุณสมบัติของดินใหดีขึ้นในหลายดาน อาทิเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุ อินทรียคารบอน ไนโตรเจนในดิน<br />

491


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เพิ่มแรธาตุอาหาร (ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ซึ่งเปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของพืช และทําใหคาความ<br />

หนาแนนรวมของดินลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกขาวในดินธรรมดาที่ไมใสฟางขาว นอกจากนี้ดินที่อุดม<br />

สมบูรณจากการใสฟางขาวจะทําใหดินตองการการใสปุยนอยลง ลดการใชปุย ลดการไถพรวนได อยางไรก็ตามดิน<br />

ที่อุดมสมบูรณสูงจากการใสฟางขาวนั้นพบวามีการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากดินสูงตามไปดวย ดังนั้น<br />

การจัดการฟางขาวในพื้นที่ปลูก ไมวาจะเปนการนําไปใชประโยชนในพื้นที่ปลูกเดิม การกําจัดออกจากแปลงนา<br />

การเผาทิ้ง เปนตน ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบขอดี ขอเสียกอนการตัดสินใจในพื้นที่ปลูกขาวอยางชัดเจนเพื่อ<br />

ประโยชนสูงสุดของการเพาะปลูก การนําฟางขาวมาใชประโยชนควรคํานึงถึงการเก็บกักและการสูญเสียคารบอน<br />

จากพื้นที่ปลูกดวย ทั้งนี้อาจจําเปนตองควบคุมปจจัยในการเพาะปลูกปจจัยอื่นรวมดวย เชน การจัดการน้ํา เปนตน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Houghton, J. (1997), Global Warming. 2 nd ed., United Kingdom at the University Press,<br />

Cambridge.<br />

- Kirk, G. (2004), The Biogeochemistry of Submerged Soils. John Wiley and Sons, Ltd,<br />

England.LECO Corporation; Saint Joseph, Michigan USA. Instrument: TruSpec N.<br />

- Robert, L. (1995), Soil Microbiology. John Wiley and Sons, Inc., America.<br />

- Thomas, G.W. (1996), Soil pH and Soil Acidity . In Sparks , D.L., er al., Soil Analysis :<br />

Modern Instrumental Techniques. 2 nd ed., New York : Marced Dekker, pp. 111-182.<br />

- Whitbread, A. et al. (1999), The management of rice straw, fertilizers and left litters in rice<br />

cropping systems in Northeast Thailand. Available Source:<br />

http://www.ingentaconnect.com, 29 มิถุนายน 2553.<br />

- คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (2530), คูมือปฏิบัติการ<br />

วิชาปฐพีวิทยาเบื้องตนโดยใชระบบโสตทัศนูปกรณ. พิมพครั้งที่ 7, สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (2541),<br />

ปฐพีวิทยาเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 8, สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- คณาจารยภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต<br />

กําแพงแสน. (2547), พืชเศรษฐกิจ. พิมพครั้งที่ 2, สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

- คณาจารยภาคปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (2549), คูมือปฏิบัติการ<br />

ปฐพีวิทยาเบื้องตน และวิทยาศาสตรทางดิน. พิมพครั้งที่ 11, ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- ทัศนีย อัตตะนันทน และ จงรักษ จันทรเจริญสุข. (2542) แบบฝกหัดและคูมือปฏิบัติการ การ<br />

วิเคราะหดินและพืช. พิมพครั้งที่7, ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

กรุงเทพฯ.<br />

- ปริศนา สิริอาชา. (2548), พฤกษศาสตร. พิมพครั้งที่1, สุวิริยาสาสน, กรุงเทพฯ. แปลจาก<br />

Parramon , S Editorial Team. Atlas Basico de Botanica. World Right, Barcelona.<br />

- มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค. (2548), สมบัติทางกายภาพของดิน. แหลงที่มา:<br />

http://www.nsru.ac.th/e-learning/soil/lesson_3_4.php<br />

492


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- เล็ก มอญเจริญ. (2544), คารบอนในดิน. แหลงที่มา:<br />

www.dnp.go.th/environment/file/18.Samroeng.pdf, 29 มิถุนายน 2553.<br />

- ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี. (2553), ขาวพันธุปทุมธานี. แหลงที่มา:<br />

http://ptt.brrd.in.th/web/index.php/ Component/content/article/37, 27 มิถุนายน 2553.<br />

- ศูนยวิจัยขาวสุพรรณบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการขาว กรมการขาว. (2552), การจัดการ<br />

ศักยภาพการผลิตขาว จังหวัดนครปฐม. พิมพครั้งที่ 1, โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหง<br />

ประเทศไทย, กรุงเทพฯ.<br />

- สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน. (2544), สรีรวิทยาของพืช. พิมพครั้งที่ 3, สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน. (2548), ชีววิทยาพืช. สํานักพิมพจามจรีโปรดักท, กรุงเทพฯ.<br />

- สุนทรี ยิ่งชัชวาล. (2536), บทปฏิบัติการปฐพีวิทยามูลฐาน. พิมพครั้งที่ 4, ภาควิชาปฐพีวิทยา<br />

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

- เสรี ดาหาญ และคณะ. (มปป.), การใชวัสดุอินทรีย บรรเทาพิษของเกลือตอขาวที่ปลูกในดินเค็ม<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. แหลงที่มา: http://www.doa.go.th/rri/s33.htm, 29 มิถุนายน 2553.<br />

- อรรควุฒิ ทัศนสองชั้น. (2526), เรื่องของขาว. พิมพครั้งที่ 1, ภาควิชาไรนา คณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

493


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อิทธิพลของฟางขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาว: กรณีศึกษาขาวพันธุปทุมธานี 1<br />

Influence of Rice Straw Incorporation on Rice Yield: The Case Study of Pathumthani 1<br />

Rice Variety<br />

วิไล เสาธงนอย 1 , ปวีณสุดา รามนัฏ 1 , ศุภชัย อําคา 2 และ เครือมาศ สมัครการ 1*<br />

Vilai Saothongnoi 1 Phaveesuda Ramnut 1 Suphachi Amkha 2 and Kruamas Smakgahn 1*<br />

1 หลักสูตรวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม สายวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140<br />

2 ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน<br />

จังหวัดนครปฐม 73140<br />

บทคัดยอ<br />

การไถกลบตอซัง ฟางขาว ลงในนาขาว จัดเปนวิธีหนึ่งที่เกษตรกรในการจัดการของเหลือที่เกิดจาก<br />

การเกษตรและรักษาความอุดมสมบูรณในดิน แตเมื่อฟางขาว ตอซังเกิดการยอยสลายโดยจุลินทรียที่สมบูรณแลว<br />

จะแปรสภาพไปเปนคารบอนไดออกไซดและสูญเสียคารบอนไปในรูปกาซเรือนกระจกจากการเพาะปลูก การศึกษา<br />

ครั้งนี้ใหความสนใจการศึกษาอิทธิพลของฟางขาวตอการเจริญเติบโตผลผลิตของขาวและการหมุนเวียนคารบอน<br />

จากการปลูกขาว โดยออกแบบการทดลองแบบ RCBD กําหนดใหมี 3 ตํารับการทดลอง คือ ปลูกขาวในดินธรรมดา<br />

ดินใสฟางแหงและดินใสฟางเผา ผลการทดลองพบวาการปลูกขาวโดยใสฟางแหงและฟางเผาทําใหมีการ<br />

เจริญเติบโตต่ํากวาดินธรรมดาแตใหเมล็ดมีคุณภาพดีกวาการปลูกในดินธรรมดาทั้งดานปริมาณและน้ําหนักเมล็ด<br />

โดยพบวาการปลูกขาวในดินที่ใสฟางเผาและฟางแหงใหน้ําหนักเมล็ดสูงกวาการปลูกในดินธรรมดาถึง 31 และ 26<br />

เปอรเซ็นตตามลําดับ และใหน้ําหนักเมล็ดดีสูงกวาการปลูกในดินธรรมดา 34 และ 29 เปอรเซ็นต ตามลําดับ คาการ<br />

เจริญเติบโตทั้งทางดานความสูง จํานวนกอและจํานวนรวง ปริมาณผลผลิตจาก 3 ตํารับการทดลอง มีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ( P ≤ 0.05 )<br />

คําสําคัญ: ขาวปทุมธานี 1 นาขาว ผลผลิตขาว ฟางขาว<br />

Abstract<br />

Rice straw and rice straw ash has been incorporated into rice soil by the farmer in order to<br />

maintain soil fertility of rice cultivation area. High fertility under rice straw incorporated possible to<br />

produced high greenhouse gas; carbon-dioxide by microbe and emit to atmosphere. In this study,<br />

influence of rice straw incorporation on rice yield was investigated in pot experiment in order to consider<br />

advantage and disadvantage of rice straw management practices on rice yield and soil sequestration. The<br />

experiment was designed by RCB and three treatments were conducted; rice cultivation in 1) bare soil, 2)<br />

soil with dried rice straw, and 3) soil with rice straw ash. The result revealed rice cultivation in soil with<br />

494


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

rice straw ash presented lower rice growth rate compared to bare soil. But the quality of rice seed<br />

included seed number and seed weight under dried rice straw treatment and rice straw ash treatment was<br />

34% and 29% higher than rice cultivation in bare soil. Rice plant growth rate included plant height, tiller<br />

number, panicle number and rice yield were significant different among three treatment (P ≤ 0.05).<br />

1. ความสําคัญ<br />

ขาวมีความสําคัญตอชีวิตและเศรษฐกิจของคนไทย ประมาณ 3 ใน 4 ของพลังงานที่รางกายไดรับในแตละ<br />

วันมาจากการบริโภคขาว เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในเวลาตอมาจึงจําเปนตองเพิ่มผลผลิตการเกษตร<br />

โดยเฉพาะขาวใหสูงขึ้น จึงเกิดแนวคิดในการเพิ่มผลผลิตขาวโดยการใชเทคโนโลยีใหม เชน ใชพันธุขาวที่ให<br />

ผลผลิตสูง ใชปุยเคมี ใชสารปองกันกําจัดโรค ใชสารฆาแมลงและศัตรูขาว สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช เปน<br />

ตน การเกษตรสมัยใหมซึ่งเปนการใชสารเคมีสังเคราะหในการผลิตขาวกันอยางกวางขวางทําใหเกิดสารพิษ<br />

ปนเปอนในดิน น้ํา อากาศและสารพิษตกคางในผลผลิตที่อาจเปนอันตรายตอชีวิตมนุษยและทําใหดินเสื่อมโทรมได<br />

จึงไดมีแนวคิดที่จะผลิตขาวที่หลีกเลี่ยงการปุยเคมีและเนนการใชปุยอินทรีย เชน การไถกลบตอซัง ฟางขาว ลงใน<br />

นาขาว ซึ่งเปนการเพิ่มธาตุอาหารลงสูดิน (Yagi and Minami, 1990) ในขณะเดียวกันเมื่อเกิดการยอยสลายโดย<br />

จุลินทรียที่สมบูรณสารประกอบตาง ๆ จะแปรสภาพไปเปนคารบอนไดออกไซด น้ํา และแรธาตุตาง ๆ เปนตน ( ยง<br />

ยุทธและคณะ , 2541 ) ซึ่งคารบอนไดออกไซดเปนกาซเรือนกระจกชนิดหนึ่งที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอนหรือ<br />

ปรากฏการณเรือนกระจก ซึ่งการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของกาซเรือนกระจกทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่สําคัญ ไดแก ปริมาณฝน (เกิดความแหงแลงและอุทกภัย) อุณหภูมิ (อากาศรอนจัด หนาวจัด) และ<br />

ปริมาณแสงแดด การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลกระทบตอหลายๆดานเชน ดานการเกษตร ดานทรัพยากรปาไม<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ สุขภาพของมนุษย โครงสรางพื้นฐานตางๆและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย<br />

เศษวัสดุเหลือใชจากการทํานาไดแกฟางขาวและอินทรียวัตถุอื่น ๆเมื่อถูกไถพรวนลงสูดินที่ใชปลูกขาว<br />

นอกจากจะเปนตัวเพิ่มธาตุอาหารใหกับดินแลว การใสฟางขาวลงในดินนานั้นทําใหการเจริญเติบโตในชวงการ<br />

เจริญเติบโตทางลําตนในชวงแรกของการเพาะปลูกลดลง (Charoensilp, 1996, Katoh et al.,1999b)แตดินที่มีการ<br />

ไถกลบฟางขาวลงไปสามารถใหผลผลิตไดถึง 5.31 ตันตอเฮกแตร (Jing Ma et al.2009) ซึ่งเปนผลผลิตที่สูงเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับการจัดการเพาะปลูกแบบไมใสฟางขาว<br />

เพื่อศึกษาผลของการจัดการเศษวัสดุเหลือใชในพื้นที่เพาะปลูกขาว คือฟางขาวในพื้นที่ปลูกขาวตอผลผลิต<br />

และการหมุนเวียนคารบอน การศึกษานี้จึงใหความสนใจศึกษาศักยภาพการนําฟางขาวไปใชประโยชนในแงการ<br />

เพิ่มธาตุอาหารลงสูดิน พรอมทั้งประเมินการหมุนเวียนคารบอนในดินสูบรรยากาศหรือการสูญเสียคารบอนในรูป<br />

กาซคารบอนไดออกไซดจากนาขาวที่มีการจัดการดินตางกัน เพื่อหาแนวทางที่จะรักษาความอุดมสมบูรณของดิน<br />

ในการปลูกพืชโดยลดการใชหรือไมใชปุยเคมี<br />

2. วัตถุประสงค<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 การปลูกขาว<br />

เพื่อประเมินผลของการใชฟางขาวตอผลผลิตขาว และการหมุนเวียนธาตุคารบอนในดิน<br />

495


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ใชขาวพันธุปทุมธานี 1 นําไปเพาะตนกลาเปนระยะเวลา 1 เดือนกอนนําไปปลูกลงในกระถาง กระถางละ<br />

3 ตน โดยใชดินชุดกําแพงแสนซึ่งเปนดินเหนียว คาปฏิกิริยาดิน 7.10 ปริมาณคารบอนในดิน 3.22 เปอรเซ็นต<br />

ฟอสฟอรัส 47.60 ppm โพแทสเซียม 175 ppm โดยศึกษาใน 3 ตํารับการทดลอง คือ 1) ดินธรรมดา (ไมใสฟาง<br />

หรือฟางเผา) 2) ดินใสฟางและ 3) ดินใสฟางเผา โดยใชดิน 8 กิโลกรัมตอกระถาง และในกระถางดินที่ใสฟางขาว<br />

และฟางเผาใชฟางขาว 0.5 กิโลกรัมตอกระถาง ทุกตํารับทดลองไมใสปุยเคมีหรือปุยอินทรีย แตระหวางการ<br />

เพาะปลูกเกิดปญหาหนอนหอใบขาวจึงฉีดยาฆาแมลง Thiophanate-methyl และ Triazophos 1ครั้งในชวงกอนขาว<br />

ตั้งทอง การปลูกขาวในการศึกษาครั้งนี้รักษาระดับน้ําใหสูงไวประมาณ 5 เซนติเมตรตลอดฤดูกาลเพาะปลูกและ<br />

ระบายน้ําออกหนึ่งสัปดาหกอนการเก็บเกี่ยว ฤดูกาลเพาะปลูกวันที่ 2 เดือนตุลาคม พ.ศ.2552 ถึงวันที่ 31 เดือน<br />

มกราคม พ.ศ.2553<br />

3.2 การวัดการเจริญเติบโตของขาว<br />

ระหวางฤดูกาลเพาะปลูกทําการตรวจวัดการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวทุกสัปดาห โดยการ<br />

เจริญเติบโตของขาวที่ตรวจวัดไดแก ความสูงของตนขาวโดยวัดความสูงตั้งแตโคนตนจนถึงยอดที่สูงที่สุดของตน<br />

ขาว จํานวนกอขาว จํานวนรวงขาว จํานวนเมล็ดขาวและน้ําหนักเมล็ด<br />

จุกยาง<br />

สายยาง<br />

เทอรโมมิเตอร<br />

กลองเก็บกาซ<br />

เทอรโมมิเตอร<br />

กระถางขาว<br />

ถาดใสน้ํารอง<br />

รูปที่1 แสดงชุดเก็บตัวอยางอากาศ<br />

3.3 การเก็บตัวอยางอากาศ<br />

เก็บตัวอยางอากาศจากการปลูกขาวอาทิตยละ 1 ครั้ง ตลอดฤดูกาลเพาะปลูก โดยเก็บในชวงที่มีแสงแดด<br />

การเก็บตัวอยางอากาศทําไดโดยยกกระถางขาวมาตั้งในถาดขนาดใหญแลวเติมน้ําลงไปจนระดับน้ําสูงเทาระดับน้ํา<br />

ในกระถางขาว ใชกลองเก็บกาซขนาด กวาง 35×35 cm สูง 100 cm (กวาง ยาว สูง) ทําจาก Acrylic หนา 5<br />

496


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เซนติเมตร ครอบกระถางขาวซึ่งตั้งอยูในถาดใหเปนระบบปด เปดจุกยางดานบนออกเพื่อไลอากาศรอจนระดับน้ํา<br />

สูงเทากันทั้งดานนอกและดานใน แลวจึงปดจุกยางพรอมกับเริ่มจับเวลาเพื่อเริ่มเก็บตัวอยางอากาศ โดยเก็บ<br />

ตัวอยางอากาศในกลองทุก 10 นาที เปนเวลา 20 นาที เริ่มเก็บตั้งแตนาทีที่ 0, 10 และ 20 นาที โดยใชเข็มฉีดยา<br />

ดูดอากาศออกจากกลองและเก็บไวในขวดที่ปดสนิทและไมมีอากาศภายใน จากนั้นนําไปวิเคราะหกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดดวยเครื่อง GC SHIMADZU รุน GC- 8Aporapak Q ความยาวคอลัมน 1.93 เมตร อุณหภูมิ<br />

60 องศาเซลเซียส และ Detector ชนิด Thermal Conductivity Detection (TCD)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1. การเจริญเติบโตของขาว<br />

จากการตรวจวัดการเจริญเติบโตของขาวกอนการเก็บเกี่ยว ความสูงของตนขาวสัปดาหกอนการเก็บเกี่ยว<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยขาวที่ปลูกในดินใสฟางมีคาเฉลี่ยสูงที่สุดคือ 114.42<br />

เซนติเมตร ซึ่งมีคาแตกตางกันทางสถิติทั้ง 3 ตํารับการทดลอง สวนคาเฉลี่ยจํานวนกอขาวตอกระถางมีคาแตกตาง<br />

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยขาวที่ปลูกในดินธรรมดามีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ 39.20 กอ ซึ่งแตกตางกัน<br />

ทางสถิติกับคาเฉลี่ยจํานวนกอตอกระถางของขาวที่ปลูกในดินที่ใสฟางแหง (30.20 กอ) และดินที่ใสฟางเผา (31.20<br />

กอ) คาเฉลี่ยจํานวนรวงขาวตอกระถางมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยดินธรรมดามี<br />

คาเฉลี่ยจํานวนกอตอกระถางสูงที่สุด คือ 31.8 รวง ซึ่งแตกตางกันทางสถิติกับดินใสฟาง ( 22.8 รวง) และดินใสฟาง<br />

เผา ( 22.2 รวง) (ตารางที่ 1)<br />

ตารางที่ 1. คาเฉลี่ยการเจริญเติบโตของขาวกอนเก็บเกี่ยว<br />

ความสูงสัปดาหกอนการเก็บ จํานวนตน/กระถาง จํานวนรวง/กระถาง<br />

เกี่ยว( เซนติเมตร )<br />

ดิน 106.88c 39.20a 31.80a<br />

ดินใสฟาง 114.42a 30.20b 22.80b<br />

ดินใสฟางเผา 110.34b 31.20b 22.20b<br />

F-Test ** ** **<br />

CV.(%) 0.94 10.83 0.13<br />

ในดานสดมภเดียวกันตัวเลขที่ตามดวยตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

** คือมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

ns ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

497


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ความสูง (ซม.)<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

สัปดาห<br />

ดินธรรมดา<br />

ดิน+ฟาง<br />

ดิน+ฟางเผา<br />

จํานวนกอขาว<br />

40<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

รูปที่ 2 แสดงคาเฉลี่ยความสูงของตนขาว<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

สัปดาห<br />

ดินธรรมดา<br />

ฟาง<br />

ฟางเผา<br />

รูปที่ 3 แสดงคาเฉลี่ยจํานวนกอของตนขาว<br />

4.2. ปริมาณผลผลิต<br />

จํานวนเมล็ดดีตอรวง มีคาเฉลี่ยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยคาเฉลี่ยของดิน<br />

ใสฟางแหงและดินใสฟางเผาไมแตกตางกันทางสถิติ ซึ่งดินที่ใสฟางและดินใสฟางเผามีจํานวนเมล็ดี 86.90 และ<br />

86.28 เมล็ดตามลําดับ แตจะมีคาเฉลี่ยเมล็ดแตกตางจากดินธรรมดา (66.94 เมล็ด) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P ≤<br />

0.05) โดยขาวที่ปลูกในดินที่ใสฟางเผามีน้ําหนักเมล็ดสูงที่สุด ( 2.25 กรัม ) ซึ่งไมแตกตางกันทางสถิติกับขาวที่<br />

ปลูกในดินที่ใสฟางแหงแตผลจากทั้งสองตํารับทดลองมีความแตกตางกันทางสถิติกับขาวที่ปลูกในดินธรรมดา<br />

น้ําหนักเมล็ดดี 1,000 เมล็ดจากทุกตํารับการทดลองมีคาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดย<br />

498


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คาเฉลี่ยน้ําหนักเมล็ดดี 1,000 เมล็ดของขาวที่ปลูกในดินที่ใสฟางเผามีคาสูงที่สุด (26.84 กรัม) และการปลูกขาวใน<br />

ดินธรรมดาใหน้ําหนักเมล็ดต่ําที่สุด (25.62 กรัมตอ 1,000 เมล็ด) ผลผลิตเฉลี่ย (ตันตอไร) จากทุกตํารับทดลองมีคา<br />

แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยมีคาผลผลิตเฉลี่ยตอไร2.40 2.41และ 2.61 ตันตอไร จาก<br />

การปลูกขาวในดินใสฟางแหง ดินใสฟางเผา และดินธรรมดาตามลําดับ (ตารางที่ 2) ซึ่งการใสฟางขาวในการปลูก<br />

ขาวไมไดทําใหผลผลิตแตกตางกัน (Phongpan et al., 2001)<br />

4.3. การปลดปลอยกาซ CO 2<br />

คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จาก 3 ตํารับทดลองมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติ (P ≤ 0.05) โดยดินที่ใสฟางแหงมีการปลดปลอยกาซ CO 2 มากที่สุดคือ 316,786.20 kg CO 2 – C /m 2 ซึ่งมีคา<br />

ไมแตกตางกันทางสถิติเมื่อเทียบกับดินธรรมดาและดินใสฟางเผา ดินที่ใสฟางแหงมีการปลดปลอยกาซ CO 2<br />

มากกวาดินธรรมดา 48.55 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 3) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบการผลิตขาว 1 กิโลกรัมพบวาจะมีคาการ<br />

ปลดปลอยกาซ CO 2 131.99kg CO 2 – C /m 2 จากการปลูกขาวในดินใสฟางแหง ในขณะที่การผลิตขาว 1 กิโลกรัม<br />

ในดินธรรมดาและดินใสฟางเผามีการปลดปลอยกาซ CO 2 104.99 และ 55.20 kg CO 2 – C /m 2 ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 2. คาเฉลี่ยผลผลิตของขาว<br />

จํานวนเมล็ดดี/รวง นน.เมล็ด/รวง นน.1000 เมล็ดดี ผลผลิต(ตัน)/ไร<br />

(เมล็ด)<br />

(กรัม)<br />

(กรัม)<br />

ดิน 66.94b 1.72b 25.62a 2.61a<br />

ดินใสฟาง 86.90a 2.17a 26.20a 2.40a<br />

ดินใสฟางเผา 86.28a 2.25a 26.84a 2.41a<br />

F-Test ** ** ns ns<br />

CV.(%) 12.12 1.53 3.65 0.03<br />

ในดานสดมภเดียวกันตัวเลขที่ตามดวยตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

** คือมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ, ns ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

ตารางที่ 3. คาการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด<br />

การปลดปลอย CO 2<br />

( kg CO 2 -C/m 2 )<br />

ดิน 274032.4a<br />

ดินใสฟาง 316780.2a<br />

ดินใสฟางเผา 133037.6a<br />

F-Test ns<br />

CV.(%) 1.95<br />

499


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในดานสดมภเดียวกันตัวเลขที่ตามดวยตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

** คือมีนัยสําคัญยิ่งทาวสถิติ<br />

ns ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากการศึกษาสรุปไดวาการปลูกขาวโดยใสฟางแหงและฟางเผามีการเจริญเติบโตทางดานลําตนนอยกวา<br />

ดินธรรมดา แตใหเมล็ดขาวมีคุณภาพดีทั้งปริมาณและน้ําหนัก สวนผลผลิตตอไรไมมีความแตกตางกันกับการปลูก<br />

ในดินธรรมดา หลังฤดูกาลเพาะปลูกพบวาในดินที่ใสฟางแหงและฟางเผามีปริมาณโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสใน<br />

ดินสูงกวาในดินธรรมดา ซึ่งสงผลใหผลผลิตของขาวที่ปลูกในดินที่ใสฟางและดินที่ใสฟางเผามีคุณภาพสูงกวาดิน<br />

ธรรมดา เนื่องจากเปนการเพิ่มโพแทสเซียมในดินและมีสวนชวยในดานคุณภาพของผลผลิต สวนฟอสฟอรัสมีสวน<br />

ชวยในการออกดอกและติดผลของพืช อยางไรก็ตามการใสฟางแหงเปนการเพิ่มปริมาณอินทรวัตถุลงสูดิน ได<br />

ประโยชนในการเพิ่มธาตุอาหารหรือความอุดมสมบูรณในดินและใหผลประโยชนโดยตรงตอผลผลิตขาว และเมื่อ<br />

เกิดการหมุนเวียนคารบอนโดยกิจกรรมของจุลินทรียในดินจึงพบวามีการสูญเสียคารบอนในรูปกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศสูงกวาในดินธรรมดา ดังนั้นเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการผลิตขาวและการ<br />

รักษาคุณภาพดินรวมถึงสิ่งแวดลอมโดยรวมจึงควรมีการศึกษาใหทราบถึงปริมาณที่เหมาะสมในการนําฟางขาวมา<br />

ใชในการปลูกขาวดวย<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Charoensilp, N., (1996), An International research program on methan emission from<br />

rice field, Research program summary of Mr. Niwat Charoensilp, Prachinburi Rice<br />

Rraearch Center, Department of Agriculture Extension, Ministry of Agriculture and Cooperative,<br />

Bangkok,91 p. (In Thai).<br />

- Ma, J., Ma, E., Xu, H., Yagi, K., Cai, Z., (2009), Wheat straw management affects CH <br />

And N 2 O emissions from rice fields. Soil biology and biochemistry, 41 pp.1022-1028.<br />

- Katoh, K., Chairoj, P., Yagi, K., Tsuruta, H., Minami, K., and Cholitkul, W., (1999),<br />

Methane emission from Paddy from paddy fields in Northern Thailand, Japan<br />

International Research Center for Agricultural Sciences, Vol. 7, pp. 77-85.<br />

- Phongpan, S., Mosier, A.R., (2001), Affect of rice straw management on nitrogen<br />

balance and residual effect of urea-N in an annual lowland rice cropping sequence.<br />

Biology and Fertility of Soils., No.37 pp 102-107.<br />

- Yagi, N., and Minami, M., (1990), Effect of organic matter application on methane<br />

emission from some Japanese paddy fields, Soil Science Plant Nutrition,Vol.36, No.94<br />

pp 599-610.<br />

- ยงยุทธ โอสถสภา และคณะ. 2541. ปฐพีวิทยาเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 8. สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ<br />

500


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุจากการปลูกขาวในที่โลง<br />

Greenhouse Gases Emission from Rice Field Residues Open Burning<br />

เพ็ญวดี ชีวพงศพันธุ1 1<br />

และ สาวิตรี การีเวทย<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ประเทศไทยมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากกิจกรรมมนุษยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใน<br />

หลายภาคสวน อาทิเชน ภาคพลังงาน ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร เปนตน ในป พ.ศ. 2537 ประเทศ<br />

ไทยมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเทียบเทากับกาซคารบอนไดออกไซดประมาณ 286 ลานตัน โดยกิจกรรมดาน<br />

การเกษตรเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปนรอยละ 27 ของปริมาณเทียบเทา<br />

คารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกทั้งหมดของประเทศ ซึ่งถือเปนกิจกรรมที่มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกมากเปน<br />

อันดับสอง รองจากกิจกรรมดานพลังงาน [Thai INC, 2543] กิจกรรมดานการเกษตรประเภทหนึ่งที่มีการปลดปลอย<br />

กาซเรือนกระจกไดแก การเผาเศษวัสดุการเกษตรในพื้นที่เพาะปลูกโดยเฉพาะในพื้นที่นาขาวและไรออย<br />

ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาขอมูลกิจกรรมที่ใชประกอบการประเมินปริมาณกาซเรือนกระจก<br />

เนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในที่โลงของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2550 โดยใชขอมูล Fire hot<br />

spot (FHS) ที่ตรวจวัดไดจากดาวเทียม Terra และดาวเทียม Aqua รวมกับขอมูลการสํารวจภาคสนาม ขอมูล<br />

กิจกรรมของการประเมินกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในที่โลง หมายถึง ปริมาณ<br />

เศษวัสดุทั้งหมดจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผาในนาขาว ผลจากการศึกษา พบวา ในป พ.ศ. 2550 ปริมาณเศษ<br />

วัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผาไหมรวม 22.4 ลานตัน โดยปริมาณเศษวัสดุที่ถูกเผาไหมดังกลาวประเมินจาก<br />

พื้นที่นาขาวที่ถูกเผารวม 3.9 ลานเฮคแตร ปริมาณเศษวัสดุที่ถูกเผาตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่มีการเผาเฉลี่ยประมาณ<br />

7.8 ตัน/เฮคแตร และคาสัมประสิทธิ์การเผาไหมเฉลี่ยประมาณ 0.4 จากปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูก<br />

เผาทั้งหมดกอใหเกิดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปน 2.1 ลานตัน CO, 0.06 ลานตัน CH 4 , 0.002 ลานตัน<br />

N 2 O, 0.06 ลานตัน NO x หรือคิดเปนปริมาณเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด 1.77 ลานตัน โดยพื้นที่ที่มีการ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวมากที่สุด ไดแก พื้นที่ภาคกลาง<br />

ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: เศษวัสดุจากการเกษตร ขาว การเผาในที่โลง<br />

Abstract<br />

Thailand Economic development activity contributes the GHGs emission as energy sector,<br />

industrial sector, agricultural sector, etc. In 1994, Thailand emitted GHGs approximately 286 Tg of CO 2<br />

equivalent. Agricultural activity is the second source of GHGs emission which emitted about 27% of<br />

501


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

GHGs [Thai INC, 2000]. A part of agricultural activity that emitted GHGs emission was agricultural<br />

residues open burning especially paddy field and sugarcane field.<br />

The objective of this study is to develop the activity data used to estimate the emission from<br />

agricultural residues open burning in Thailand 2007, using Fire Hot Spot (FHS) detected by Terra and<br />

Aqua, and field survey. The activity data demonstrates the amount of rice residues burned in the paddy<br />

field. From the study found, in 2007 the activity data was about 22.4 million tons which was estimated<br />

from the 3.9 million hectares of area burned, 7.8 tons per hectares of rice residues per area, and 0.4 of<br />

combustion efficiency. Open burning of 22.4 million tons of rice residues released 2.1 million tons of CO,<br />

0.06 million tons of CH 4 , 0.002 million tons of N 2 O, and 0.06 million tons of NO x . In term of carbon dioxide<br />

equivalent, it was about 1.77 million tons. Considering on spatial distribution of rice residues burning<br />

activity found main of this activity was in the Central part of Thailand. Next was in the Northern, the<br />

North-eastern, and the Southern respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ที่มีขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลัก ประมาณรอยละ 20 ของพื้นที่ใน<br />

ประเทศไทยเปนพื้นที่ที่ใชในการเพาะปลูกขาว [OAE, 2550] กิจกรรมจากภาคการเกษตรเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีการ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจก สวนหนึ่งของกิจกรรมดานการเกษตรที่ไดรับความสนใจจากทางภาครัฐอยางมาก ไดแก<br />

กิจกรรมการเผาเศษวัสดุจากการเกษตรในที่โลง<br />

เศษวัสดุจากการเกษตรเปนเศษวัสดุที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเก็บเกี่ยว ซึ่งสวนที่เหลือจากการ<br />

นําไปใชประโยชนนั้นสวนใหญจะถูกกําจัดโดยการเผา โดยเฉพาะการเผาในนาขาว ซึ่งกอใหเกิดมลพิษตางๆ อาทิ<br />

เชน กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ), กาซคารบอนมอนอกไซด (CO), กาซมีเทน (CH 4 ), กาซไนตรัสออกไซด<br />

(N 2 O), กาซไนโตรเจนออกไซด (NO x ), และฝุนละออง เปนตน เนื่องจากกระบวนการเผาไหมที่ไมสมบูรณ [2006<br />

IPCC Guidelines]<br />

ในการประเมินปริมาณมลพิษที่เกิดจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกในที่โลง ตามระเบียบวิธี<br />

2006 IPCC Guidelines นั้น ประกอบดวยตัวแปร 2 สวนหลัก ไดแก ตัวแปรขอมูลกิจกรรม และตัวแปรการ<br />

ปลดปลอยกาซเรือนกระจก โดยในการประเมินเพื่อใหไดผลลัพธที่มีความถูกตองสูงขึ้นนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ตองใช<br />

ขอมูลที่เปนขอมูลเฉพาะของพื้นที่ศึกษา<br />

ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อพัฒนาขอมูลกิจกรรมที่ใชประกอบการประเมินปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในที่โลงของประเทศไทย เพื่อนําไปสูการประเมินปริมาณ<br />

กาซเรือนกระจกที่เกิดจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวของไทยในป พ.ศ.2550<br />

2. วัตถุประสงค<br />

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาขอมูลกิจกรรม (Activity data) ที่ใชประกอบการประเมินกาซเรือน<br />

กระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาว เพื่อนําไปใชประกอบการประเมินปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวในนาขาวของประเทศไทยในป พ.ศ. 2550 โดยกาซ<br />

เรือนกระจกที่ทําการศึกษาในครั้งนี้ประกอบดวย กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) กาซมีเทน (CH 4 ) กาซไนตรัส<br />

ออกไซด (N 2 O) และ กาซไนโตรเจนออกไซด (NO x )<br />

502


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การวิจัยนี้ทําการประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูก<br />

ขาวในที่โลงตามระเบียบวิธี IPCC Guideline 2006 ดังแสดงในสมการที่ 1<br />

L fire = A × M B ×C f × G ef × 10 -3 --- (3)<br />

เมื่อ: L fire = ปริมาณ GHG จากการเผา (ตัน GHG)<br />

A = พื้นที่ที่ถูกเผา (เฮคแตร)<br />

M B = ปริมาณเศษวัสดุทั้งหมดที่อาจถูกเผาในหนึ่งหนวยพื้นที่ (ตัน/เฮคแทร)<br />

C f = คาสัมประสิทธิ์การเผาไหม (ไมมีหนวย)<br />

G ef = คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจก (กรัม/กิโลกรัม เชื้อเพลิงแหง)<br />

จากสมการที่ 1 การประเมินกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวนั้น<br />

ประกอบดวยขอมูล 2 สวนไดแก ขอมูลสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาในที่โลง และ<br />

ขอมูลกิจกรรม (Activity data) ของการประเมินกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูก<br />

ขาวในที่โลง ในการวิจัยครั้งนี้มุงเนนในการพัฒนาขอมูลกิจกรรม (Activity data) ของการประเมินกาซเรือนกระจก<br />

เนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวในที่โลงเทานั้น<br />

3.1 ขอมูลสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาในที่โลง<br />

การศึกษานี้อางอิงขอมูลสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการศึกษาของ Andrea and<br />

Merlet (2001) ดังแสดงในตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาชีวมวลในที่โลง<br />

Gas CO 2 CO CH 4 N 2 O NO x<br />

G ef (กรัม/กิโลกรัม 1,515 92<br />

2.5<br />

2.7 0.07<br />

เชื้อเพลิงแหง) (±177) (±84)<br />

(±1.0)<br />

3.2 ขอมูลกิจกรรม<br />

ขอมูลกิจกรรม (Activity data) ของการประเมินกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจาก<br />

การเพาะปลูกขาวในที่โลง ประกอบดวย 3 ตัวแปร ไดแก พื้นที่นาขาวที่ถูกเผา (A) ปริมาณเศษวัสดุทั้งหมดที่ถูก<br />

เผาในหนึ่งหนวยพื้นที่ (M B ) และคาสัมประสิทธิ์การเผาไหม (C f ) ซึ่งคาของตัวแปรดังกลาวไดจากการสํารวจ<br />

ภาคสนาม<br />

การสํารวจภาคสนาม ประกอบดวยการวัดขอมูลภาคสนาม และการสัมภาษณเกษตรกรโดย<br />

แบบสอบถาม ซึ่งการสํารวจภาคสนามทั้งสองสวนมีวัตถุประสงคที่แตกตางกัน กลาวคือ การวัดขอมูลภาคสนาม มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อประเมินปริมาณเศษวัสดุทั้งหมดในพื้นที่ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวขาว ในสวนของการสัมภาษณ<br />

เกษตรกรโดยแบบสอบถามนั้นมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินหาอัตราสวนพื้นที่นาขาวที่เผา สัดสวนเศษวัสดุที่เหลือ<br />

จากการใชประโยชน และสัดสวนเศษวัสดุที่เหลือภายหลังจากการเผา<br />

503


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขั้นตอนที่หนึ่งของการสํารวจภาคสนามเริ่มจากการกําหนดขนาดตัวอยางที่จะทําการเก็บขอมูล โดย<br />

กลุมประชากรของการศึกษานี้คือ พื้นที่นาขาวทั้งหมดในประเทศไทย สําหรับขนาดตัวอยางของการวัดขอมูล<br />

ภาคสนามนั้น ในการศึกษานี้ทําการเก็บขอมูลจํานวน 30 พื้นที่ที่เพาะปลูกขาวนาป และ 30 พื้นที่ที่เพาะปลูกขาว<br />

นาปรัง ทั้งนี้การเก็บขอมูลที่จํานวน 30 ตัวอยางถือเปนการเก็บขอมูลที่ต่ําที่สุดที่ยอมรับไดในทางสถิติ ในสวนของ<br />

การกําหนดขนาดตัวอยางของการสัมภาษณเกษตรกรนั้นไดกําหนดตามระเบียบวิธี Rank set sampling method<br />

ซึ่งเปนระเบียบวิธีการสุมตัวอยางทางสถิติที่พัฒนามาจากวิธี Simple random sampling แตใหผลลัพธของตัว<br />

ประมาณคาเฉลี่ย และตัวประมาณคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีความแปรปรวนนอยกวา [ณัฐสุวัชร ถาวรธิรา]<br />

ขนาดจํานวนตัวอยางของการเก็บขอมูลแบบสอบถามในการศึกษาครั้งนี้จํานวน 972 ตัวอยาง (ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95 เปอรเซ็นต และคาความผิดพลาดที่ยอมรับได 0.025)<br />

ขั้นตอนที่สองของการสํารวจภาคสนาม คือ การคัดเลือกพื้นที่ที่จะทําการเก็บขอมูล โดยเกณฑในการ<br />

คัดเลือกจังหวัดที่ทําการสํารวจไดแก ขนาดพื้นที่นาขาวในจังหวัด เปนจังหวัดที่มีการเผาบริเวณนาขาว และตองได<br />

จังหวัดที่เปนตัวแทนของทุกภาคของประเทศไทย โดยขนาดพื้นที่นาขาวในแตละจังหวัดนั้นอางอิงขอมูลจาก<br />

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในสวนของการหาพื้นที่ที่มีการเผาบริเวณนาขาวนาขาวนั้น ใชขอมูล Fire Hot Spot<br />

(FHS) ซึ่งตรวจวัดโดย MODIS sensor จากดาวเทียม Terra และดาวเทียม Aqua ซอนทับกับขอมูลลักษณะการใช<br />

พื้นที่ (Land use) ที่มีการตีกริดขนาด 10×10 ตารางกิโลเมตร ผลลัพธที่ไดจากการซอนทับขอมูลดังกลาวจะแสดง<br />

ใหเห็นถึงลักษณะการกระจายตัวของพื้นที่นาขาวที่ถูกเผา และความหนาแนนของการเผานาขาวในแตละพื้นที่ จาก<br />

ขอมูลดังกลาว พบวาจังหวัดที่มีพื้นที่เพาะปลูกขาวมาก มีความหนาแนนของการเผาในนาขาวสูง และกระจาย<br />

ครอบคลุมทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งใชเปนพื้นที่เก็บขอมูลของการศึกษาในครั้งนี้ รวมจํานวนทั้งสิ้น 20 จังหวัด<br />

อันประกอบดวย 5 จังหวัดทางภาคเหนือ ไดแก นครสวรรค เพชรบูรณ พิษณุโลก ลําปาง และเชียงใหม 6 จังหวัด<br />

ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก หนองคาย สุรินทร ขอนแกน บุรีรัมย มหาสารคาม และนครราชสีมา 5 จังหวัด<br />

ทางภาคกลาง ไดแก ชัยนาท เพชรบุรี ราชบุรี ฉะเชิงเทรา และสุพรรณบุรี และ 4 จังหวัดทางภาคใต ไดแก ชุมพร<br />

นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา<br />

ขั้นตอนที่สามของการสํารวจภาคสนาม คือ การเก็บขอมูล ซึ่งในการสํารวจภาคสนามประกอบดวย<br />

สองสวนไดแก การวัดภาคสนาม และการสัมภาษณเกษตรกร โดยมีรายละเอียดในการเก็บขอมูลในแตละสวนดังนี้<br />

1) การวัดภาคสนาม<br />

การวัดภาคสนาม มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่เกิดขึ้นทั้งหมด<br />

ตอหนึ่งหนวยพื้นที่ และปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่เหลือภายหลังจากการเผา<br />

การประเมินปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวทําโดยการวัดปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูก<br />

ขาวในพื้นที่ตัวอยาง (Sampling plot) ขนาด 4×4 ตารางเมตร เพื่อใหครอบคลุมทั้งสวนที่ลอรถเกี่ยวขาววิ่งผาน<br />

และสวนที่ลอรถเกี่ยวขาวไมไดผาน และทําการสุม 5 จุดตอหนึ่งพื้นที่ โดยแบงเปน 4 จุดในบริเวณหัวมุมของนา<br />

และ 1 จุดในบริเวณกลางนา เพื่อใหพื้นที่ตัวอยางครอบคลุมทุกสวนของพื้นที่นาขาว<br />

การประเมินปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่เหลือภายหลังจากการเผาทําโดยการเผาเศษวัสดุ<br />

จากการเพาะปลูกขาวในพื้นที่ตัวอยาง (Sampling plot) ขนาด 1×1 ตารางเมตร โดยทําการเผาใหน้ําหนักของเศษ<br />

วัสดุจากการเพาะปลูกขาวเหลือภายหลังจากการเผาในพื้นที่ตัวอยาง 4 ขนาด ไดแก (1) น้ําหนักเศษวัสดุภายหลัง<br />

จากการเผาเหลือเพียงเล็กนอย (ถือวาเศษวัสดุถูกเผาไหม 76%-100%) (2) น้ําหนักเศษวัสดุภายหลังจากการเผา<br />

เหลือ แตไมถึงครึ่งหนึ่ง (ถือวาเศษวัสดุถูกเผาไหม 51%-75%) (3) น้ําหนักเศษวัสดุภายหลังจากการเผาเหลือ<br />

มากกวาครึ่งแตไมถึงทั้งหมด (ถือวาเศษวัสดุถูกเผาไหม 26%-50%) และ (4) น้ําหนักเศษวัสดุภายหลังจากการเผา<br />

เหลือมากหรือไมเปลี่ยนแปลงไปจากกอนเผา (ถือวาเศษวัสดุถูกเผาไหม 0%-25%) จากนั้นถายภาพของลักษณะ<br />

เศษวัสดุภายหลังจากการเผาทั้ง 4 แบบ และใชภาพดังกลาวประกอบการสัมภาษณเกษตรกรตอไป<br />

504


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2) การสัมภาษณเกษตรกรโดยแบบสอบถาม<br />

การสัมภาษณเกษตรกรโดยแบบสอบถาม มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินหาอัตราสวนพื้นที่นาขาวที่เผา<br />

สัดสวนเศษวัสดุที่ถูกเผา และสัดสวนเศษวัสดุที่เหลือภายหลังจากการเผา โดยแบบสอบถามที่ใชในการเก็บขอมูล<br />

ประกอบดวยคําถาม 5 สวนไดแก 1) ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรผูตอบแบบสอบถาม 2) ขอมูลลักษณะพื้นที่<br />

เพาะปลูก 3) ขอมูลลักษณะการเพาะปลูก 4) ขอมูลลักษณะการจัดการตอซังขาว และฟางขาวหลังการเกี่ยวขาว<br />

และ 5) ขอมูลลักษณะการเผาตอซังขาว และฟางขาว ซึ่งขอมูลในสวนที่ 4 เปนขอมูลที่แสดงถึงสัดสวนของเศษวัสดุ<br />

จากการเพาะปลูกขาวที่ถูกนําไปใชนอกนาขาว และขอมูลในสวนที่ 5 เปนขอมูลที่แสดงถึงสัดสวนพื้นที่นาขาวที่ถูก<br />

เผา และคาสัมประสิทธิ์การเผาไหม<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การกระจายตัวของพื้นที่นาขาวที่ถูกเผา<br />

จากการศึกษาการกระจายตัวของพื้นที่ขาวนาป และขาวนาปรังที่ถูกเผา โดยการใชขอมูล FHS<br />

รวมกับขอมูลแบบสอบถาม ไดปริมาณพื้นที่นาขาวที่ถูกเผาในป พ.ศ. 2550 ดังแสดงในตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณพื้นที่เกี่ยวขาว และพื้นที่นาขาวที่ถูกเผา ในป พ.ศ. 2550 จําแนกตามภาค<br />

% / (SD)<br />

พื้นที่/ (SD)<br />

พื้นที่เกี่ยวขาว (ลานเฮคแตร)<br />

ภาค<br />

พื้นที่ที่ถูกเผา ที่ถูกเผา (ลานเฮคแตร)<br />

นาป นาปรัง รวม นาป นาปรัง นาป นาปรัง รวม<br />

เหนือ 1.92 0.72 2.63<br />

47 58 0.90 0.42 1.31<br />

(8.8) (11.9) (0.17) (0.09) (0.39)<br />

ตะวันออเฉียงเหนือ 4.91 0.20 5.12<br />

17 24 0.84 0.05 0.89<br />

(3.1) (3.9) (0.15) (0.01) (0.26)<br />

กลาง 1.49 1.08 2.57<br />

51 79 0.75 0.84 1.60<br />

(7.7) (10.5) (0.11) (0.11) (0.33)<br />

ใต 0.30 0.05 0.36<br />

23 33 0.07 0.02 0.09<br />

(2.5) (8.8) (0.01) (0.004) (0.03)<br />

รวม 8.62 2.05 10.67<br />

2.56 1.33 3.89<br />

(0.48) (0.18) (1.11)<br />

จากตารางที่ 2 พบวา ในป พ.ศ. 2550 มีพื้นที่นาขาวที่ถูกเผาคิดประมาณ 3.9 ลานเฮคแตร หรือคิด<br />

เปนรอยละ 36 ของพื้นที่เกี่ยวขาวทั้งหมด โดยแบงเปนพื้นที่นาปที่ถูกเผา 2.6 ลานเฮคแตร คิดเปน รอยละ 30 ของ<br />

พื้นที่เกี่ยวขาวนาป และพื้นที่นาปรังที่ถูกเผา 1.3 ลานเฮคแตร คิดเปนรอยละ 65 ของพื้นที่เกี่ยวขาวนาปรัง<br />

เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของพื้นที่นาขาวที่ถูกเผาในรายภาค พบวา พื้นที่นาขาวที่ถูกเผามากที่สุด<br />

ไดแก พื้นที่ภาคกลาง รองลงมาคือพื้นที่ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยคิดเปนสัดสวนพื้นที่<br />

นาขาวที่ถูกเผา รอยละ 62 รอยละ 50 รอยละ 24 และรอยละ 17 ตามลําดับ<br />

505


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของพื้นที่นาขาวที่ถูกเผารวมกับประเภทของพื้นที่นาขาวที่ถูกเผาจะพบวา<br />

การเพาะปลูกขาวนาปรังจะมีการเผานาขาวมากกวานาป โดยพื้นที่ภาคกลางเปนพื้นที่ที่มีการเผาทั้งในสวนของขาว<br />

นาป และขาวนาปรังมากที่สุด รองลงมาคือพื้นที่ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลําดับ<br />

จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ลักษณะพฤติกรรมการเผาในนาขาวของเกษตรกร ขึ้นอยูกับพื้นที่ที่<br />

เพาะปลูกขาว แตมิไดขึ้นอยูกับประเภทของนาขาว (นาป/นาปรัง) กลาวคือ พื้นที่ที่เกิดการเผาในนาขาวมากที่สุดมิ<br />

วาจะเปนการเพาะปลูกขาวนาป หรือขาวนาปรัง ไดแก พื้นที่ภาคกลาง รองลงมาคือพื้นที่ภาคเหนือ ภาคใต และ<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่ปริมาณพื้นที่นาขาวที่ถูกเผาจะขึ้นอยูกับความถี่ของการเพาะปลูกของแตละ<br />

พื้นที่ กลาวคือเปนพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกขาวนาปรัง ซึ่งถือเปนพื้นที่ที่มีความถี่ของการเพาะปลูกมากกวา 1 ครั้ง/ป<br />

จะมีอัตราการเผาในนาขาวสูง ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ Suramaythangkoor (2009) ที่พบวา พื้นที่ที่มีการ<br />

เผานาขาวเกิดขึ้นมากเปนพื้นที่ที่มีจํานวนรอบในการเพาะปลูกมาก<br />

4.2 ปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผาตอหนึ่งหนวยพื้นที่<br />

จากการศึกษาปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวนาป และนาปรังในหนึ่งหนวยพื้นที่ โดยใชขอมูล<br />

การสํารวจภาคสนาม ไดผลการประเมินปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวตอหนึ่งหนวยพื้นที่ไดดังแสดงใน<br />

ตารางที่ 3<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวตอหนึ่งหนวยพื้นที่<br />

ปริมาณ / (SD) ของเศษวัสดุจากการเพาะปลูกตอพื้นที่ (ตัน/เฮคแทร)<br />

พื้นที่<br />

นาป<br />

นาปรัง<br />

ตอซัง ฟางขาว ตอซัง ฟางขาว<br />

เหนือ 4.49 (0.12) 4.16 (0.26) 9.05 (0.02) 13.67 (0.10)<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 6.02 (0.11) 2.74 (0.19) 17.40 (0.09) 5.21 (0.15)<br />

กลาง 2.91 (0.05) 5.46 (0.17) 8.54 (0.05) 14.27 (0.06)<br />

ใต 6.33 (0.23) 2.43 (0.24) 9.86 (0.01) 12.91 (0.13)<br />

เฉลี่ย 4.94 (0.28) 3.70 (0.27) 11.21 (0.10) 11.51 (0.16)<br />

จากตารางที่ 3 พบวาปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวตอหนึ่งหนวยพื้นที่เฉลี่ยแลวมีคาประมาณ<br />

4.3 ตัน/เฮคแตรและ 11.4 ตัน/เฮคแตร สําหรับขาวนาป และขาวนาปรัง ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา เศษวัสดุจาก<br />

ขาวนาปรังที่เหลืออยูในนาขาวมีปริมาณสูงกวาขาวนาป ทั้งนี้เนื่องมาจากในการเพาะปลูกขาวนาปรังจําเปนตองรีบ<br />

กําจัดเศษวัสดุเพื่อใชพื้นที่ในการเพาะปลูกขาวรอบถัดไปซึ่งการนําเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวไปใชประโยชน<br />

นั้นจะตองใชเวลา และแรงงานมากกวา เศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวนาปรังจึงไมคอยถูกนําไปใชประโยชน<br />

นอกจากนี้ การเพาะปลูกขาวนาปรังจะใหปริมาณเศษวัสดุที่มากกวาการเพาะปลูกขาวนาป ทั้งนี้เนื่องจาก การ<br />

เพาะปลูกขาวนาปรังสวนใหญจะใชการเพาะปลูกแบบหวาน สงผลใหปริมาณขาวในหนึ่งหนวยพื้นที่มีปริมาณ<br />

มากกวาขาวนาปซึ่งมีการเพาะปลูกทั้งแบบนาหวาน และนาดํา<br />

เมื่อพิจารณาตามประเภทของเศษวัสดุจากการเกี่ยวขาว พบวา เศษวัสดุจากการเกี่ยวขาว<br />

ประกอบดวยตอซัง และฟางขาว โดยสวนของขาวนาปจะมีปริมาณตอซังเหลือจากการใชประโยชนมากกวาปริมาณ<br />

ฟางขาว กลาวคือ มีปริมาณตอซังที่เหลือจากการใชประโยชนตอหนึ่งหนวยพื้นที่ประมาณ 4.9 ตัน/เฮคแตร และ<br />

506


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปริมาณฟางขาวเหลือจากการใชประโยชนตอหนึ่งหนวยพื้นที่ประมาณ 3.7 ตัน/เฮคแตร ในขณะที่ขาวนาปรังมี<br />

ปริมาณตอซังและฟางขาวเหลือจากการใชประโยชนในปริมาณที่ใกลเคียงกัน กลาวคือ ขาวนาปรังมีปริมาณตอซัง<br />

เหลือจากการใชประโยชนตอหนึ่งหนวยพื้นที่ประมาณ 11.2 ตัน/เฮคแตร และปริมาณฟางขาวเหลือจากการใช<br />

ประโยชนตอหนึ่งหนวยพื้นที่ประมาณ 11.5 ตัน/เฮคแตร แสดงใหเห็นวา เศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวสวนใหญที่<br />

ถูกนําไปใชประโยชนนั้นจะเปนสวนของฟางขาว ในสวนของตอซังนั้นไมคอยถูกนําไปใชประโยชนเนื่องจากความ<br />

ยุงยากในการรวบรวม<br />

เมื่อพิจารณาปริมาณเศษวัสดุตอหนึ่งหนวยพื้นที่จําแนกตามประเภทเศษวัสดุรวมกับพื้นที่ จะพบวา<br />

ในแตละพื้นที่มีปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวแตละประเภทแตกตางกัน ซึ่งปริมาณเศษวัสดุจากการ<br />

เพาะปลูกขาวแตละประเภท ขึ้นอยูกับวิธีการเก็บเกี่ยวกลาวคือ หากเปนพื้นที่ที่เก็บเกี่ยวดวยมือ ซึ่งมีระดับการ<br />

เกี่ยววัดจากพื้นดินสูง (คาเฉลี่ยสําหรับระดับการเกี่ยวขาวนาปเกี่ยวมือ 106 เซนติเมตร และขาวนาปรังเกี่ยวมือ 75<br />

เซนติเมตร วัดจากระดับพื้นดิน) จะทําใหมีปริมาณตอซังเหลืออยูในนาขาวมาก ในขณะที่หากเปนการเก็บเกี่ยวดวย<br />

เครื่อง วัดจากระดับพื้นดินจะมีระดับการเกี่ยววัดจากพื้นดินต่ํากวา (คาเฉลี่ยสําหรับระดับการเกี่ยวขาวนาป และ<br />

ขาวนาปรังเกี่ยวเครื่อง 27.5 เซนติเมตร) จึงมีปริมาณตอซังเหลืออยูในนาขาวนอยกวา โดยเมื่อพิจารณาในราย<br />

พื้นที่ จะพบวา ในการเพาะปลูกขาวนาปของทุกภาคในประเทศไทยจะมีปริมาณตอซังมากกวาฟางขาว ยกเวนทาง<br />

ภาคกลางของประเทศไทย ในสวนของการเพาะปลูกขาวนาปรังนั้นทุกภาคของประเทศไทยจะมีปริมาณฟางขาว<br />

เกิดขึ้นมากกวาตอซัง ยกเวนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้เนื่องมาจากในพื้นที่ภาคกลางมิวาจะเปนการ<br />

เพาะปลูกขาวนาป หรือนาปรังจะมีการเก็บเกี่ยวโดยใชเครื่องจักรมากกวาแรงงานคน จึงสงผลใหไดปริมาณตอซัง<br />

นอยกวาปริมาณฟางขาว ในขณะที่การเพาะปลูกทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงใชแรงงานคนในการเก็บเกี่ยว<br />

ขาวเปนหลัก จึงสงผลใหไดปริมาณตอซังมากกวาปริมาณฟางขาว ในสวนของพื้นที่ภาคอื่นนั้นหากเปนพื้นที่ที่มีการ<br />

เพาะปลูกขาวนาปรัง ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกขาวมากกวา 1 ครั้ง/ป จะใชเครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวเพื่อลด<br />

ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยว<br />

จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ปริมาณตอซัง และฟางขาวตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่อาจจะถูกเผาของแต<br />

ละพื้นที่จะขึ้นอยูกับวิธีการเพาะปลูก (นาดํา/นาหวาน) และวิธีการเก็บเกี่ยวขาว (แรงงานคน/เครื่องจักร) ซึ่งจะเปน<br />

ตัวแปรที่แสดงถึงระดับความสูงในการเกี่ยวขาววัดจากพื้นดิน กลาวคือ ในพื้นที่นาหวานจะมีปริมาณเศษวัสดุรวม<br />

ตอหนึ่งหนวยพื้นที่มากกวานาดํา และหากเปนการเก็บเกี่ยวโดยแรงงานคนจะไดปริมาณตอซังเหลืออยูในนาขาว<br />

มาก ปริมาณฟางขาวในนาขาวนอย ขณะที่การเก็บเกี่ยวโดยเครื่องจักรจะมีปริมาณตอซังเหลืออยูในนาขาวนอย<br />

ปริมาณฟางขาวในนาขาวมาก<br />

4.3 คาสัมประสิทธิ์การเผาไหม<br />

จากการประเมินคาสัมประสิทธิ์การเผาไหมของเศษวัสดุจากการเพาะปลูกในนาขาว โดยการสํารวจ<br />

ภาคสนามรวมกับขอมูลแบบสอบถาม ไดผลการประเมินคาสัมประสิทธิ์การเผาไหมของเศษวัสดุจากการเพาะปลูก<br />

ขาวไดดังแสดงในตารางที่ 4<br />

ตารางที่ 4 สัมประสิทธิ์การเผาไหมเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาว<br />

สัมประสิทธิ์การเผาไหม<br />

ภาค<br />

นาป<br />

นาปรัง<br />

ตอซัง ฟางขาว ตอซัง ฟางขาว<br />

เหนือ 0.24 (0.02) 0.74 (0.01) 0.21 (0.01) 0.68 (0.02)<br />

ตะวันออเฉียงเหนือ 0.26 (0.02) 0.93 (0.02) 0.29 (0.01) 0.79 (0.01)<br />

507


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กลาง 0.10 (0.03) 0.56 (0.02) 0.07 (0.01) 0.56 (0.02)<br />

ใต 0.10 (0.01) 0.65 (0.02) 0.10 (0.02) 0.56 (0.02)<br />

เฉลี่ย 0.18 (0.04) 0.72 (0.02) 0.17 (0.02) 0.65 (0.03)<br />

จากตารางที่ 4 พบวาอัตราการเผาไหมเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในนาขาวมีคาประมาณ 0.45<br />

และ 0.40 สําหรับพื้นที่ขาวนาป และขาวนาปรัง ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา ในพื้นที่ขาวนาปมีอัตราการเผาไหมสูง<br />

กวาขาวนาปรัง ทั้งนี้เนื่องมาจากพื้นที่ขาวนาปมีลักษณะที่แหงกวาพื้นที่ขาวนาปรัง<br />

เมื่อพิจารณาตามประเภทของเศษวัสดุจากการเกี่ยวขาวที่ถูกเผา พบวา สวนของฟางขาวจะถูกเผา<br />

มากกวาสวนของตอซัง กลาวคือ มิวาจะเปนขาวนาป หรือนาปรัง ฟางขาวจะมีอัตราการเผาไหมที่สูงกวาตอซัง โดย<br />

อัตราการเผาไหมของตอซังนาปมีคาประมาณ 0.18 และอัตราการเผาไหมฟางขาวนาปมีคาประมาณ 0.72 ในขณะ<br />

ที่อัตราการเผาไหมของตอซังนาปรังมีคาประมาณ 0.17 และอัตราการเผาไหมฟางขาวนาปรังมีคาประมาณ 0.65<br />

ทั้งนี้สวนของฟางขาวถูกเผามากกวาสวนของตอซังเนื่องมาจากความชื้นของฟางขาวมีคานอยกวาความชื้นของตอ<br />

ซัง นอกจากนี้จากพฤติกรรมการจุดไฟของเกษตรกรจะเห็นไดวาเกษตรกรจะจุดไฟบริเวณฟางขาวที่แหงเพื่อใหไฟ<br />

ติด จึงสงผลใหสวนของฟางขาวถูกเผาไหมมากกวาสวนตอซัง ซึ่งสวนของตอซังที่ถูกเผาไปนั้นสวนใหญจะเปน<br />

เพียงตอซังสวนบนเทานั้น<br />

เมื่อพิจารณาอัตราการเผาไหมของเศษวัสดุจําแนกตามประเภทเศษวัสดุรวมกับพื้นที่ จะพบวา สวน<br />

ของฟางขาวถูกเผามากกวาสวนของตอซังในทุกพื้นที่ โดยพื้นที่ที่เศษวัสดุถูกเผาไหมมากที่สุดไดแก พื้นที่ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือพื้นที่ภาคเหนือ ในสวนของพื้นที่ภาคกลาง และภาคใตมีอัตราการเผาไหมที่<br />

ใกลเคียงกัน ทั้งนี้เนื่องมาจากลักษณะของภูมิอากาศ และแหลงน้ําที่ใชในการเพาะปลูกขาวของแตละพื้นที่ กลาวคือ<br />

พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเปนพื้นที่ที่มีความแหงแลงสูง การเพาะปลูกสวนใหญเปนการเพาะปลูกแบบนอก<br />

เขตชลประทาน จึงสงผลใหบริเวณพื้นที่นาขาวมีความแหงสูง ในขณะที่ทางภาคกลางและภาคใตเปนพื้นที่ที่มี<br />

ปริมาณน้ําฝนสูงกวา และพื้นที่เพาะปลูกสวนใหญเปนพื้นที่ในเขตชลประทานจึงทําใหในบริเวณพื้นที่นาขาวบาง<br />

แหงยังมีน้ําขังขณะที่ทําการเผา จึงสงผลใหเศษวัสดุถูกเผาไหมนอยกวา<br />

จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา อัตราการเผาไหมของเศษวัสดุขึ้นอยูกับความชื้นของเศษวัสดุ และ<br />

พื้นที่นาขาวที่ถูกเผาเปนหลัก กลาวคือ เศษวัสดุที่มีความชื้นต่ํา (ฟางขาว) จํามีอัตราการเผาไหมที่สูงกวาเศษวัสดุที่<br />

มีความชื้นสูง (ตอซัง) นอกจากนี้พื้นที่นาขาวที่อยูนอกเขตชลประทานจะมีความแหงแลงมากกวาพื้นที่ในเขต<br />

ชลประทาน จึงสงผลใหเศษวัสดุที่เหลืออยูในนาขาวถูกเผาในปริมาณที่มากกวา<br />

4.4 ปริมาณกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาว<br />

การประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดจากการจัดการเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวโดย<br />

การเผานั้นประเมินไดจากขอมูลกิจกรรม (Activity data) และคาการปลดปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาชีว<br />

มวลในที่โลง (EF) โดยผลการประเมินขอมูลกิจกรรมของการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวในปพ.ศ.<br />

2550 แสดงในตารางที่ 5 และคา EF แสดงในตารางที่ 1 และผลการประเมินกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุ<br />

เหลือใชจากการเพาะปลูกขาวแสดงในตารางที่ 6<br />

จากตารางที่ 5 ปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผาทั้งหมดในป พ.ศ. 2550 มีปริมาณรวม<br />

22.4 ลานตัน โดยแบงเปนเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวนาปที่ถูกเผาประมาณ 10 ลานตัน และเศษวัสดุจากการ<br />

เพาะปลูกขาวนาปรังที่ถูกเผาเปน 13 ลานตัน ในสวนของเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวนาปที่ถูกเผานั้นคิดเปน<br />

สวนของตอซังขาวนาปที่ถูกเผา 3 ลานตัน และฟางขาวนาปที่ถูกเผา 7 ลานตัน สําหรับเศษวัสดุจากการเพาะปลูก<br />

ขาวนาปรังที่ถูกเผานั้นคิดเปนสวนของตอซังขาวนาปรังที่ถูกเผา 2 ลานตัน และฟางขาวนาปรังที่ถูกเผา 11 ลานตัน<br />

508


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวทั้งหมดนั้นกอใหเกิดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก CO,<br />

CH 4 , N 2 O, และNO x ประมาณ 2.1 ลานตัน, 0.06 ลานตัน, 0.002 ลานตัน, และ 0.06 ลานตัน ตามลําดับ จาก<br />

Global warming potential (GWP) ของ กาซ CH 4 และ กาซ N 2 O มีคา 21 และ 310 ตามลําดับ [2006 IPCC<br />

Guidelines] ไดปริมาณกาซเรือนกระจกเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด เนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจาก<br />

การเพาะปลูกขาวในนาขาวรวมประมาณ 1.8 ลานตัน<br />

การศึกษานี้ไดผลการประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกต่ํากวาผลจากการศึกษาของกรมควบคุมมลพิษ<br />

ซึ่งทําการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในป พ.ศ. 2548 ได<br />

ปริมาณกาซเรือนกระจกเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด 2.2 ลานตัน [กรมควบคุมมลพิษ, 2550] ทั้งนี้<br />

เนื่องมาจากในการศึกษานี้ไดทําการประเมินปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่เหลือจากการใชประโยชนตอ<br />

หนึ่งหนวยพื้นที่ ในขณะที่การศึกษาของกรมควบคุมมลพิษใชปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวตอหนึ่งหนวย<br />

พื้น จึงสงผลใหปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผามีปริมาณมากกวา ปริมาณมลพิษที่ถูกปลดปลอยจึงมี<br />

คาสูงกวา<br />

ตารางที่ 5 ขอมูลกิจกรรมเนื่องจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในนาขาว ในป พ.ศ. 2550<br />

ภาค<br />

เศษวัสดุจากขาวนาป<br />

ที่ถูกเผา (ลานตัน)<br />

ตอซัง<br />

ขาว<br />

ฟางขาว<br />

รวมเศษ<br />

วัสดุจาก<br />

ขาวนาป<br />

ที่ถูกเผา<br />

(ลานตัน)<br />

เศษวัสดุจากขาวนา<br />

ปรังที่ถูกเผา (ลาน<br />

ตัน)<br />

ตอซัง<br />

ขาว<br />

ฟางขาว<br />

รวมเศษ<br />

วัสดุจาก<br />

ขาวนา<br />

ปรังที่ถูก<br />

เผา<br />

(ลานตัน)<br />

รวมเศษ<br />

วัสดุที่ถูก<br />

เผา<br />

(ลานตัน)<br />

เหนือ 0.97 2.77 3.74 0.80 3.90 4.70 8.44<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 1.31 2.14 3.46 0.25 0.21 0.46 3.91<br />

กลาง 0.22 2.29 2.51 0.50 6.71 7.21 9.73<br />

ใต 0.04 0.11 0.15 0.02 0.14 0.16 0.32<br />

รวม 2.55 7.31 9.86 1.57 10.97 12.54 22.40<br />

ตารางที่ 6 ปริมาณกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาว<br />

ภาค<br />

ปริมาณเศษ<br />

วัสดุที่ถูกเผา<br />

(ลานตัน)<br />

กาซเรือนกระจก (พันตัน)<br />

CO CH 4 N 2 O NO x<br />

CO 2 eq<br />

(ลานตัน)<br />

เหนือ 8.44 776.48 22.79 0.59 21.10 0.66<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 3.91 359.72 10.56 0.27 9.78 0.31<br />

กลาง 9.73 895.16 26.27 0.68 24.33 0.76<br />

ใต 0.32 29.44 0.86 0.02 0.80 0.02<br />

รวม 22.40 2,060.80 60.48 1.57 56.00 1.76<br />

509


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อพิจารณาปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการเผาเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวในที่โลงใน<br />

รายภาค พบวา ประมาณรอยละ 50 ของกาซเรือนกระจกที่เกิดจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาว<br />

ในที่โลงเกิดขึ้นในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย รองลงมาไดแกพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ<br />

ภาคใต โดยคิดเปน รอยละ 40 รอยละ 8 และรอยละ 2 ของปริมาณกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการเผาเศษวัสดุ<br />

เหลือใชจากการเพาะปลูกขาวในที่โลง ตามลําดับ<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาขอมูลกิจกรรม (Activity data) ที่ใชประกอบการประเมินกาซเรือน<br />

กระจกเนื่องจากการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาว อันประกอบดวย พื้นที่ที่ถูกเผา ปริมาณเศษวัสดุตอ<br />

หนึ่งหนวยพื้นที่ และอัตราการเผาไหม เพื่อนําไปใชประกอบการประเมินปริมาณกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผา<br />

เศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวในนาขาวของประเทศไทยในป พ.ศ. 2550 โดยใชขอมูล FHS รวมกับ การ<br />

สํารวจภาคสนาม ผลจากการวิจัยพบวา ขอมูลกิจกรรมของการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกเนื่องจากการเผา<br />

เศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2550 มีคาประมาณ 22.4 ลานตัน คิดเปนขอมูล<br />

กิจกรรมเนื่องจากการเพาะปลูกขาวนาป 9.9 ลานตัน และกิจกรรมเนื่องจากการเพาะปลูกขาวนาปรัง 12.5 ลานตัน<br />

โดยพื้นที่ที่มีกิจกรรมการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวมากที่สุดไดแก พื้นที่ภาคกลาง รองลงมาคือ<br />

พื้นที่ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลําดับ<br />

การประเมินกิจกรรมการเผาเศษวัสดุเหลือใชจากการเพาะปลูกขาวนั้น ประเมินไดจากพื้นที่นาขาวที่<br />

ถูกเผารวม 3.9 ลานเฮคแตร ปริมาณเศษวัสดุที่ถูกเผาตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่มีการเผาเฉลี่ยประมาณ 7.8 ตัน/เฮค<br />

แตร และคาสัมประสิทธิ์การเผาไหมเฉลี่ยประมาณ 0.4 จากปริมาณเศษวัสดุจากการเพาะปลูกขาวที่ถูกเผาทั้งหมด<br />

กอใหเกิดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปน 2.1 ลานตัน CO, 0.06 ลานตัน CH 4 , 0.002 ลานตัน N 2 O, 0.06<br />

ลานตัน NO x หรือคิดเปนปริมาณเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด 1.77 ลานตัน แบงเปนการปลดปลอยในบริเวณ<br />

ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ประมาณ 0.8 ลานตัน CO 2eq , 0.7ลานตัน CO 2eq , 0.3<br />

ลานตัน CO 2eq , และ 0.02 ลานตัน CO 2eq<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Andreae, M.O., Merlet, P. (2001), Emission of trace gases and aerosols from biomass<br />

burning. Global Biogeochemical Cycles, 15(4), pp. 955-966.<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) (2006), Volume 4: Agriculture,<br />

Forestry and Other Land Use, IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories:<br />

Workbook, pp. 2.40-2.49, 5.39-5.41.<br />

- Office of Environmental Policy and Planning (2000), Thailand’s National Greenhouse<br />

Gas Inventory 1994.Ministry of Science, Technology and Environment. Bangkok,<br />

Thailand. 118 p.<br />

- Suramaythangkoor T. (2009), Evaluation of the potential for energy from rice straw in<br />

Thailand, The Joint Graduate School of Energy and Environment, pp.1-7.<br />

- กรมควบคุมมลพิษ (2550), โครงการติดตามและประเมินสถานการณการเผาในที่โลงในพื้นที่<br />

การเกษตรของประเทศไทย, หนา 5.1-5.33, 6.1-6.21.<br />

510


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ณัฐสุวัชร ถาวรธิรา และ ธิดาเดียว มยุรีสวรรค, แผนภูมิควบคุมโดยการสุมตัวอยางแบบกลุม<br />

ลําดับ, ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา<br />

พระนครเหนือ, หนา 1-14.<br />

- สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2550), ขอมูลพื้นฐาน เศรษฐกิจการเกษตร, หนา 1-9.<br />

511


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปลดปลอยฝุนละอองจากการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลง<br />

ในพื้นที่นาขาวของประเทศไทย<br />

Emission Factors of Particulate Matter Emission from Rice Field Residues Open<br />

Burning in Thailand<br />

ขนิษฐา กนกกาญจนา 1 1<br />

และ สาวิตรี การีเวทย<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ประเทศไทยมีพื้นที่นา 64 ลานไร หรือคิดเปนประมาณรอยละ 20 และขาวเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญที่มีการ<br />

สงออกในระดับตนๆ ของโลก หลังการเก็บเกี่ยว เศษวัสดุที่เกิดขึ้น เชน ฟางขาว จะถูกเผาในพื้นที่เพาะปลูกเพราะ<br />

การเผาเปนการกําจัดเศษวัสดุที่มีความสะดวก รวดเร็ว และโดยเฉพาะประหยัด ทําใหชาวนาสามารถเตรียมพื้นที่<br />

เพาะปลูกรอบใหมไดอยางทันทวงที แตมีขอเสียสําคัญ คือ การปลดปลอยมลพิษทางอากาศและสารที่กอใหเกิด<br />

สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได เชน กาซเรือนกระจก (CO 2 , CH 4 , N 2 O) และฝุนละอองขนาดเล็ก เปน<br />

ตน<br />

ในการศึกษานี้ไดดําเนินการตรวจวัดปริมาณความเขมขนของฝุนละอองขนาดเล็ก (PM 2.5 ) กาซ<br />

คารบอนไดออกไซด (CO 2 ) และคารบอนมอนอกไซด (CO) ในควันที่เกิดจากการเผาตอซังฟางขาวในที่โลงในพื้นที่<br />

นาขาวของประเทศไทย เพื่อประเมินคาสัมประสิทธิ์การปลดปลอย (emission factor, EF PM 2.5 ) ของฝุนละออง<br />

ขนาดเล็ก และตรวจวัดปริมาณตอซังฟางขาวที่เปนเชื้อเพลิงในการเผา เพื่อใชประกอบกับคาสัมประสิทธิ์ในการ<br />

ประเมินปริมาณฝุนละอองที่ถูกปลอยจากการเผาเศษวัสดุการเพาะปลูกขาวในที่โลงในพื้นที่การเกษตรของประเทศ<br />

ไทย จากผลการศึกษาพบวา คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยมีคา PM 2.5 13.64±6.85 g/kg หรือ 5.96±2.99 g/m 2 เมื่อ<br />

ทราบปริมาณพื้นที่นาที่ถูกเผาหลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉลี่ยในแตละป ซึ่งมีคาประมาณ 35 ลานไร พบวาฝุนละอองที่<br />

ปลอยจากการเผาตอซังฟางขาวในที่โลงในพื้นที่เกษตรมีปริมาณ 328,707 ตันตอป ซึ่งมากกวาการปลอยฝุนละออง<br />

จากการผลิตไฟฟาจากถานหินขนาด 2,400 MW ถึง 171 เทา<br />

คําสําคัญ: คาสัมประสิทธิ์การปลดปลอย ฝุนละอองขนาดเล็ก การเผาชีวมวลในที่โลง ตอซัง ฟางขาว<br />

Abstract<br />

Paddy fields cover an area of 10 million ha or 20% of Thailand, which rice is a major economic<br />

crop that has been exported in the initial rank of the world. After harvesting, most rice residues (i.e. rice<br />

straw) are burned in paddy field area to prepare the land because burning is convenient, quickly, and<br />

especially low cost to remove those residues. However, rice residue open burning releases air pollutants<br />

512


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

and substances that cause in climate change i.e. greenhouse gases (CO 2 , CH 4 , and N 2 O) and fine<br />

particulate matter.<br />

This study has measured concentration of fine particulate matter (PM 2.5 ) and gases (CO 2 and<br />

CO) in the plume that released from rice straw and rice stubble open burning in paddy field, Thailand to<br />

evaluate emission factor (EF PM 2.5 ). Biomass load of rice straw and rice stubble, which is fuel in this open<br />

burning, has been measured to be used as a part in evaluation of EF PM 2.5 from rice residues open<br />

burning in paddy field area in Thailand. Results of this study were found that EF PM 2.5 is 13.64±6.85 g/kg<br />

or 5.96±2.99 g/m 2 . This EF value can estimate annual emission from area burned. Paddy field area<br />

burned from statistical data is 5 million ha/y, which release aerosols from rice straw and rice stubble open<br />

burning in the field for 328,707 ton/y. This annual PM emission from rice residues open burning is higher<br />

than PM released from 2,400 MW coal-fired power plants for 171 times.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ประเทศไทยมีพื้นที่นา 64 ลานไร หรือคิดเปนประมาณรอยละ 20 และขาวเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่<br />

มีการสงออกในระดับตนๆ ของโลก (OAE, 2006) หลังการเก็บเกี่ยวเศษวัสดุที่เกิดขึ้น เชน ฟางขาว จะถูกเผาใน<br />

พื้นที่เพาะปลูกเพราะการเผานี้เปนการกําจัดเศษวัสดุที่มีความสะดวก รวดเร็ว และโดยเฉพาะประหยัด ทําใหชาวนา<br />

สามารถเตรียมพื้นที่เพาะปลูกรอบใหมไดอยางทันทวงที แตมีขอเสียสําคัญ คือ การปลดปลอยมลพิษทางอากาศ<br />

และสารที่กอใหเกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได เชน กาซเรือนกระจก (CO 2 , CH 4 , N 2 O) และฝุน<br />

ละอองขนาดเล็ก เปนตน (Levine, 1991)<br />

จากการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลงในพื้นที่นาขาวทําใหเกิดฝุนละอองขนาดเล็ก (PM 2.5 )<br />

ประกอบดวย Black Carbon (BC) ที่เกิดจากการเผาไหมขณะที่เกิดเปลวไฟ เปนสวนของฝุนที่เกิดการดูดกลืนแสง<br />

ทําใหโลกรอนขึ้น และเกิดผลกระทบในหลายระดับเชนเดียวกับกาซเรือนกระจก (IPCC, 2001) ในระดับทองถิ่น<br />

ควันที่เกิดขึ้นมีผลกระทบตอทัศนวิสัย สวนในระดับภูมิภาคและระดับโลกทําใหเกิดปญหามลพิษหมอกควันขาม<br />

แดน (PCD, 2005)<br />

2. วัตถุประสงค<br />

ในงานวิจัยนี้มุงเนนการศึกษาเพื่อประเมินคาสัมประสิทธิ์การปลดปลอย (emission factor, EF PM 2.5 )<br />

ฝุนละอองขนาดเล็กจากการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลงในพื้นที่นาขาวของประเทศไทย และตรวจวัดปริมาณ<br />

เศษวัสดุการเกษตรในพื้นที่นาขาวที่เปนเชื้อเพลิงในการเผา<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ระเบียบวิธีวิจัยที่ใชในการศึกษานี้อยูบนพื้นฐานการประเมินปริมาณชีวมวลที่ถูกเผา และคุณลักษณะ<br />

ของการปลอยมลพิษทางอากาศจากการเผาชีวมวลในนาขาว ดังสมการ<br />

E = M×EF (1)<br />

513


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

E = คาการปลดปลอยมลพิษ (g)<br />

M = ปริมาณเศษวัสดุการเกษตรที่เปนเชื้อเพลิงในการเผา (kg)<br />

EF = คาสัมประสิทธิ์การปลอยมลพิษตอปริมาณเศษวัสดุทางการเกษตรที่ถูกเผา (g/kg)<br />

โดยในงานวิจัยนี้ตรวจวัดคา E และ M เพื่อใชในการคํานวณ EF ที่สามารถใชในพื้นที่ที่มีความ<br />

คลายคลึงกัน ซึ่งคา EF ไมสามารถใชในพื้นที่ที่มีความแตกตางกัน เชน สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ พื้นที่ที่มี<br />

ความแตกตางกันในพฤติกรรมการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการเผา เปนตน<br />

ปริมาณเศษวัสดุการเกษตรที่เปนเชื้อเพลิงในการเผา (M) สามารถประเมินจากพื้นที่ที่ถูกเผา ดัง<br />

สมการ<br />

M = A×BL×CE (2)<br />

A = พื้นที่ที่ถูกเผา (m 2 )<br />

BL = ปริมาณเศษวัสดุการเกษตรในที่นา (g/m 2 )<br />

CE = สัดสวนเศษวัสดุการเกษตรที่ถูกเผา (%)<br />

พื้นที่ที่ถูกเผาสามารถประเมินไดจากขอมูลดาวเทียม หรือสถิติพื้นที่ที่ถูกเผา ซึ่งในพื้นที่นั้นเปนพื้นที่<br />

นาหลังการเก็บเกี่ยวและมีชีวมวล ไดแก ฟางขาว และตอซัง ที่ถูกทิ้งอยูในที่นาซึ่งอาจมีปริมาณแตกตางกัน เชน<br />

ปริมาณฟางขาวขึ้นอยูกับความสูงของตอซัง พันธุขาว ความอุดมสมบูรณ และระยะเวลาปลูกก็ทําใหความสูงของ<br />

ตนขาวแตกตางกัน ซึ่งสัดสวนชีวมวลที่ถูกเผาในที่นาสวนมากเปนฟางขาว และสวนตอซังมักจะถูกเผาสวนบน ซึ่ง<br />

การเผาชีวมวลนี้ทําใหเกิดมลพิษทางอากาศเพื่อทําการประเมินมลพิษทางอากาศจากการเผาชีวมวลในที่โลง และ<br />

ประเมินปริมาณชีวมวลที่ถูกเผาจึงทําการทดลอง ดังตอไปนี้<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา<br />

การเลือกพื้นที่ศึกษาพิจารณาจากบริเวณเปนนาขาวที่มีการเผาเศษวัสดุหลังการเก็บเกี่ยวในพื้นที่นาที่<br />

สามารถเขาถึงได และพิจารณาจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกขาวมากเปนอันดับตนๆ ของประเทศ เพื่อเปนตัวแทนพื้นที่<br />

ศึกษา โดยทําการทดลองที่จังหวัดนครสวรรคซึ่งมีพื้นที่ปลูกขาวมากเปนอันดับ 1 ในภาคกลางมีพื้นที่นา 2.25 ลาน<br />

ไร หรือรอยละ 37.5 ของจังหวัด (OAE, 2006) จังหวัดนครสวรรคอยูในที่ราบลุมภาคกลางซึ่งนาขาวมีทั้งในเขต<br />

ชลประทาน และนอกเขตชลประทาน พื้นที่ศึกษาอยูนอกเขตชลประทาน ในอําเภอทาตะโก ตําแหนงพิกัดละติจูด<br />

E100.53 ลองจิจูด N15.70 ในรอบการทํานานี้ชาวนาปลูกขาวพันธุ C85 ระยะเวลาปลูก 120 วัน ซึ่งมีการทํานาโดย<br />

การหวาน อาศัยแหลงน้ําจากน้ําฝนจึงทํานาเพียงหนึ่งครั้งตอป มีการใชปุยเคมี ยากําจัดศัตรูพืชและวัชพืช และใช<br />

เครื่องจักรในการเก็บเกี่ยว มีการใชประโยชนเศษวัสดุหลังการเก็บเกี่ยวปริมาณนอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณฟาง<br />

ในบริเวณนี้ โดยการปลอยวัวเขาไปกินหญาในที่นา ซึ่งเศษวัสดุสวนใหญมักถูกเผาเพื่อดักจับหนูในนา<br />

งานวิจัยนี้ทําการทดลองภาคสนามในวันที่ 29 ธันวาคม 2552 หลังการเก็บเกี่ยว 9 วัน เศษวัสดุในนา<br />

ขาวมีสภาพแหงซึ่งสามารถติดไฟได โดยสวนใหญชาวนาในเขตชลประทานจะเผาหลังการทํานาไมเกินสองสัปดาห<br />

เพื่อทําการเตรียมพื้นที่สําหรับการทํานาครั้งตอไป จึงทําการทดลองในชวงเวลาดังกลาวเพื่อดําเนินการเก็บขอมูล<br />

สําหรับประเมินการปลอยมลพิษทางอากาศจากการเผาชีวมวลในที่นา<br />

ในการนี้ไดทําการทดลอง 3 แปลง เนื่องจากมีปจจัยที่มีอิทธิพลในภาคสนามทําใหมีความคลาดเคลื่อน<br />

สูง จึงทําการทดลองซ้ํา 3 ครั้ง เพื่อศึกษาชวงความคลาดเคลื่อนการปลดปลอยมลพิษทางอากาศจากการเผา แปลง<br />

ทดลองแตละแปลงมีพื้นที่ขนาดประมาณ 10 ไร โดยมีถนนดินลูกรังขนาดเล็กเขาถึง พาหนะที่ผานเปนรถมอเตอร<br />

514


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ไซด รถกระบะ และเครื่องจักรการเกษตร พื้นที่โดยรอบเปนนาขาวทั้งหมดหางจากพื้นที่ชุมชนจึงไมคอยมีพาหนะ<br />

ผานไปมามากนัก ทําใหไมมีแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญแหลงอื่นในบริเวณนี้ ลักษณะโดยรอบพื้นที่<br />

ศึกษาแสดงดังภาพที่ 1 รายละเอียดของแปลงทดลองทั้งสามแปลงจากผลการตรวจวัดโดยเครื่อง GPS (GARMIN<br />

รุน GPSmap60Csx) แสดงดังภาพที่ 2<br />

รูปที่ 1 บริเวณโดยรอบพื้นที่ศึกษา อําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค<br />

รูปที่ 2 แปลงทดลองนาขาว อําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค<br />

จากภาพที่ 2 พื้นที่ทดลองประกอบดวยนาสามแปลงอยูติดกันโดยทิศเหนือและตะวันตกติดกับถนนลูกรัง สวนทิศใต<br />

และตะวันออกติดกับที่นา แปลงทดลองที่ 1 อยูทางทิศตะวันตกมีพื้นที่ขนาด 14,034 m 2 แปลงทดลองที่ 2 อยู<br />

515


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตําแหนงกลางมีพื้นที่ขนาด 13,240 m 2 และแปลงทดลองที่ 3 อยูทางทิศตะวันออกมีพื้นที่ขนาด 15,153 m 2 ซึ่งเริ่ม<br />

การทดลองดวยการเก็บตัวอยางชีวมวลในแปลงทดลองทั้ง 3 แปลง<br />

3.2 การเก็บตัวอยางชีวมวลในนาขาว<br />

การเก็บตัวอยางชีวมวลในนาขาวทําสองครั้งคือ กอนเผา และหลังเผาเศษวัสดุในนาขาว เพื่อพิจารณา<br />

สัดสวนชีวมวลที่ถูกเผาจริง และใชในการประกอบการประเมินคาสัมประสิทธิ์การปลดปลอยมลพิษ โดยทําการเก็บ<br />

ตัวอยางดังนี้<br />

3.2.1 การเก็บตัวอยางเศษวัสดุกอนเผา<br />

เศษวัสดุที่เหลืออยูในพื้นที่นาหลังการเก็บเกี่ยว ไดแก ฟางขาว และตอซัง โดยฟางจากสองแถวจะถูก<br />

พนออกจากรถเกี่ยวขาวและวางเปนแถวเดียวขนาดกวางประมาณ 100±20 cm ดังภาพที่ 1 การเก็บตัวอยางเพื่อให<br />

ครอบคลุมปริมาณฟางทั้งในแถวและระหวางแถวเพื่อใชประเมินปริมาณฟางเฉลี่ยตอพื้นที่ จึงเก็บตัวอยางในพื้นที่<br />

ขนาด 1×2 m 2 โดยแนวยาว 2 m จะครอบคลุมแถวและระหวางแถว ตัวอยางฟางขาวคือสวนที่ถูกตัดและวางทิ้งไว<br />

ในนาจะเก็บใสถุงตัวอยางดังภาพที่ 3 สวนตัวอยางตอซังซึ่งเปนสวนที่ติดอยูกับพื้นดินถูกเก็บโดยการใชเคียวตัด<br />

เสมอระดับพื้นดินในพื้นที่ขนาด 50×50 cm 2 บรรจุในถุงอีกถุงหนึ่งแยกจากฟางขาว การเก็บตัวอยางตอซังในพื้นที่<br />

ขนาดเล็กกวาเนื่องจากชาวนาปลูกขาวโดยการหวานความหนาแนนของตอซังจึงมีความสม่ําเสมอกันทั้งแปลง<br />

จากนั้นทําการวัดความยาวตอซังซึ่งมีผลตอปริมาณฟางขาวหรือชีวมวลสวนใหญที่ถูกเผา และนับจํานวนตนเพื่อดู<br />

ความหนาแนนของตนขาว ทําการเก็บตัวอยางซ้ํา 2 ครั้ง ในแตละแปลงทดลองทั้งสามแปลง ตัวอยางทั้งหมดถูกชั่ง<br />

น้ําหนักและบันทึกน้ําหนักเปยกกอนนํากลับไปหองปฏิบัติการเพื่อทดลองหาความชื้นและคํานวณน้ําหนักแหง การ<br />

หาความชื้นทําโดยการสุมตัวอยางฟางขาว และตอซังประมาณ 50 g ชั่งน้ําหนักกอนอบที่จะนําไปเขาตูอบอุณหภูมิ<br />

70ºC เปนเวลา 24 hr จากนั้นชั่งน้ําหนักอีกครั้งหนึ่งบันทึกน้ําหนักแหง และนําตัวอยางนั้นไปบดเพื่อวิเคราะหหา<br />

ปริมาณคารบอนโดยการวิเคราะหธาตุเคมี (Elemental analysis) ดวย Flash EA 1112 NC Analyzers<br />

(ThermoFisher SCIENTIFIC, UK) ที่ 950ºC<br />

รูปที่ 3 การเก็บตัวอยางฟางขาวในที่นา<br />

3.2.2 การเก็บตัวอยางเศษวัสดุหลังเผา<br />

เศษวัสดุที่เหลือหลังการเผา ไดแก ตอซังสวนที่ไมถูกเผา (Unburn) และเถา (Ash) ซึ่งมีลักษณะสีดํา<br />

ดังภาพที่ 4 พื้นที่ เก็บตัวอยางทั้งตอซังสวนที่ไมถูกเผา และเถาในมีขนาด 50×50 cm 2 โดยเก็บเฉพาะในบริเวณที่<br />

ถูกเผา ตัวอยางทั้งหมดถูกชั่งน้ําหนักและบันทึกน้ําหนักเปยกกอนนํากลับไปหองปฏิบัติการเพื่อทดลองหาความชื้น<br />

516


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยการสุมตัวอยางตอซังสวนที่ไมถูกเผาประมาณ 70 g และเถาประมาณ 15 g ชั่งน้ําหนักกอนนําเขาตูอบอบที่<br />

อุณหภูมิ 70ºC เปนเวลา 24 hr แลวชั่งน้ําหนักเพื่อบันทึกน้ําหนักแหง จากนั้นวิเคราะหหาปริมาณคารบอนในเถา<br />

โดยการวิเคราะหธาตุเคมี (Elemental analysis) ดวย Flash EA 1112 NC Analyzers (ThermoFisher<br />

SCIENTIFIC, UK) ที่ 950ºC เชนเดียวกับการวิเคราะหปริมาณคารบอนในฟางขาว และตอซังกอนเผา<br />

ภาพที่ 4 การเก็บตัวอยางเศษวัสดุหลังเผาในที่นา<br />

การเก็บตัวอยางชีวมวลทําใหทราบปริมาณชีวมวลที่ถูกเผาเพื่อใชประกอบในการประเมินคา<br />

สัมประสิทธิ์การปลดปลอยมลพิษในอากาศ ซึ่งทําการตรวจวัดดังนี้<br />

3.3 วิธีการตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศ<br />

มลพิษที่ทําการตรวจวัดความเขมขนอยางตอเนื่องขณะเผาไดแก PM 2.5 , BC, CO 2 และ CO โดย<br />

อุปกรณตรวจวัดความเขมขนของมลพิษในอากาศอยางตอเนื่องดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 อุปกรณตรวจวัดมลพิษทางอากาศอยางตอเนื่อง<br />

พารามิเตอร อุปกรณ บริษัทผูผลิต รุน อัตราการไหล หลักการ<br />

PM 2.5 DustTrak TSI Inc., USA 8520 1.7 L/min Light scattering<br />

BC<br />

Magee<br />

Micro<br />

Optical<br />

Scientific AE 51 5 ml/min<br />

Aethalometer<br />

absorption<br />

Company, USA<br />

CO 2 , CO IAQ monitor<br />

Quest<br />

Technologies,<br />

USA<br />

AQ5000Pro 0-20 m/s NDIR, Sensor<br />

อุปกรณดังกลาวมีความถี่ในการตรวจวัดความเขมขนของมลพิษทุก 1 วินาที เริ่มดวยการตรวจวัด<br />

ความเขมขนในบรรยากาศทั่วไปกอนที่จะเผาเพื่อใชอางอิง และทําการตรวจวัดความเขมขนในขณะเผาโดยการใช<br />

เสาติดตั้งอุปกรณเพื่อใหปลายของทอที่จะนําอากาศเขาสูเครื่องมือเปนตําแหนงเดียวกัน ทําการตรวจวัดในระดับ<br />

พื้นดินโดยสูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร เพื่อปองกันการตรวจวัดฝุนที่เกิดจากพื้นดิน และติดตั้งในตําแหนงใตลมโดย<br />

พยายามใหอยูในกลุมควัน<br />

517


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นอกจากนี้ ยังทําการเก็บตัวอยางฝุนบนกระดาษกรองชนิด quartz ขนาดเสนผาศูนยกลาง 5 mm ที่<br />

เตรียมโดยการอบ 650ºC เปนเวลา 12 ชั่วโมง เพื่อกําจัดคารบอนในกระดาษกรอง ชั่งน้ําหนักดวย Micro balance<br />

และเก็บรักษาในตูดูดความชื้น ในระหวางการเผาเศษวัสดุจากนาขาวทําการเก็บตัวอยางฝุนโดยใชปมที่มีอัตราการ<br />

ไหล 10 L/min นํากระดาษกรองกลับมาชั่งน้ําหนักอีกครั้งเพื่อหาปริมาณฝุนละออง และวิเคราะหปริมาณคารบอนใน<br />

ฝุนละอองบนกระดาษกรอง (Total carbon, TC) โดยการวิเคราะหธาตุเคมี (Elemental analysis) ดวย Flash EA<br />

1112 NC Analyzers (Thermo Fisher SCIENTIFIC, UK) ที่ 950ºC<br />

ตลอดการทดลองไดทําการตรวจวัดสภาพอุตุนิยมวิทยา ไดแก ความเร็วและทิศทางลม อุณหภูมิ<br />

ความชื้นสัมพัทธ และความดันบรรยากาศ ดวยสถานีตรวจวัดอุตุนิยมวิทยาเคลื่อนที่ (La Crosse Technology รุน<br />

WS1600) โดยบันทึกคาทุก 1 นาที เนื่องจากสภาพอากาศมีผลตอการตรวจวัดความเขมขนของมลพิษในอากาศ<br />

และการเผาไหม ซึ่งการเผาฟางในที่นาทําการทดลองโดยเผาทั้งแปลงตามวิธีการเผาจริงของชาวนาโดยไมมีการ<br />

ควบคุมตัวแปรใดๆ ในที่นา<br />

DustTrak<br />

CO 2 Analyzer,<br />

Micro Aethalometer<br />

ภาพที่ 5 การติดตั้งอุปกรณตรวจวัดวามเขมขนมลพิษอยางตอเนื่องขณะเผาเศษวัสดุในนาขาว<br />

3.4 การทดลองเผาเศษวัสดุในนาขาว<br />

การเผาเศษวัสดุในที่นาสวนใหญชาวนาจะทําในเวลาสายถึงบายซึ่งฟางขาวแหงจากน้ําคางและ<br />

สามารถติดไฟได การจุดไฟจะเริ่มจากบริเวณใตลมเพื่อปองกันการสูดดมควันไฟโดยชาวนายืนในทิศเหนือลมใหไฟ<br />

ลามตามแนวฟางแลวจุดบริเวณตอไปเหนือลมไปเรื่อยๆ ซึ่งชาวนาตองจุดไฟเปนชวงๆ เนื่องจากแถวของฟางไม<br />

ตอเนื่องกัน ในการทดลองเริ่มเผาจากทิศเหนือไปทิศใตโดยลมสวนใหญพัดจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต การเผา<br />

เศษวัสดุในการทดลองทั้งสามแปลงแสดงดังภาพที่ 6<br />

ภาพที่ 6 การทดลองเผาเศษวัสดุในนาขาว (จากซาย แปลงที่ 1, 2 และ 3 ตามลําดับ)<br />

518


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การทดลองที่ 1 เริ่มจากแปลงที่ 2 ความเร็วลมเฉลี่ย 2.79 m/s 36ºC 45%RH เริ่มจุดไฟจากทางทิศ<br />

เหนือ ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณตรวจวัดความเขมขนของมลพิษอยูบริเวณแปลงทดลองที่ 3 และเดินตามควันไปตาม<br />

แนวเหนือลงใตเนื่องจากทิศทางลมพัดตามแนวขวางของแปลง<br />

การทดลองที่ 2 เผาเศษวัสดุในแปลงที่ 1 ความเร็วลมเฉลี่ย 2.57 m/s 35ºC 47%RH เริ่มจุดไฟจาก<br />

ทางทิศเหนือ ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณตรวจวัดความเขมขนของมลพิษอยูบริเวณทิศเหนือบนถนนลูกรัง เนื่องจาก<br />

ทิศทางลมพัดตามแนวยาวของแปลง<br />

การทดลองที่ 3 เผาเศษวัสดุในแปลงที่ 3 ความเร็วลมเฉลี่ย 1.73 m/s 32ºC 56%RH เริ่มจุดไฟจาก<br />

ทางทิศเหนือแตคอนไปทางตอนกลางของที่นาเนื่องจากชาวนามีการเผาไปแลวบางสวน ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณ<br />

ตรวจวัดความเขมขนของมลพิษอยูบริเวณทิศเหนือบนถนน เนื่องจากลมพัดตามแนวยาวของแปลง แตความเร็วลม<br />

ต่ําควันสวนใหญจึงลอยตัวสูงขึ้นในแนวดิ่ง อุปกรณจึงไมอยูในกลุมควัน<br />

ตัวแทนการตรวจวัดที่ดีที่สุดคือ การทดลองที่ 1 ในแปลงทดลองที่ 2 เนื่องจากอุปกรณตรวจวัดอยูใน<br />

กลุมควันตลอดเวลา จากการทดลองในที่นามีปจจัยภาคสนามที่ไมสามารถควบคุมไดทําใหมีความคลาดเคลื่อนสูง<br />

จึงเก็บตัวอยางชีวมวลเพื่อทดลองเผาในเตาจําลองการเผา ดังนี้<br />

3.5 การทดลองการเผาเศษวัสดุโดยเตาจําลองการเผาในที่โลง<br />

เศษวัสดุที่ใชในการจําลองการเผา ไดแก ฟางขาว ที่เปนสวนใหญที่ถูกเผาในที่นาจากผลการทดลอง<br />

ภาคสนาม งานวิจัยนี้ทําการทดลองในเตาจําลองการเผาในที่โลงโดยการออกแบบเตาใหมีลักษณะไมมีการเพิ่ม<br />

อากาศเพื่อชวยในการเผาไหม ไมเปนระบบปดบริเวณที่เกิดการเผา ทําการเผาในกรอบพื้นที่ 1×1 m 2 ขอดีของการ<br />

ทดลองในเตาเผาที่แตกตางจากการทดลองภาคสนาม คือ ทราบปริมาณชีวมวลที่แนนอน สามารถทําการตรวจวัด<br />

ในกลุมควันได มีการควบคุมปจจัยที่ทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากลักษณะพื้นที่ และอุตุนิยมวิทยาที่<br />

เกี่ยวของในระดับหนึ่ง<br />

เตาจําลองการเผาดังกลาวติดตั้ง ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี วิทยาเขตราชบุรี ซึ่ง<br />

มีลักษณะดังนี้ บริเวณที่เผามีขนาด 1×1×1 m 3 ทําจากเหล็กแผนดําสําหรับกันลมสามดาน อีกดานเปดโลง มีถาดทํา<br />

จากเหล็กแผนดําสําหรับรองชีวมวลในการเผา ดานบนเปนปลองควันสังกะสีสี่เหลี่ยมขนาด 25×25 cm 2 ดานลาง<br />

เปนทรงกรวยคว่ําสูงขึ้นไป 2 m แสดงดังภาพที่ 7 ติดตั้งอุปกรณตรวจวัดความเขมขนของมลพิษในอากาศบริเวณ<br />

ดานหนาของเตาดานที่เปดอยู ซึ่งเปนลักษณะเดียวกันกับการทดลองในภาคสนามที่วัดในระดับพื้นดินสูงจากพื้น 1<br />

m การตรวจวัดความเขมขนมลพิษทําเชนเดียวกับในภาคสนามโดยเริ่มจากการตรวจวัดมลพิษในบรรยากาศทั่วไป<br />

กอนเริ่มทดลองและระหวางที่ทําการเผาซึ่งไดแก PM 2.5 , BC, CO 2 และ CO ตลอดการทดลองทําการบันทึกขอมูล<br />

สภาพอากาศเชนเดียวกับการทดลองภาคสนามในนาขาว ไดแก ความเร็วและทิศทางลม อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ<br />

และความดันบรรยากาศ ดวยสถานีตรวจวัดอุตุนิยมวิทยาเคลื่อนที่ การทดลองในเตาจําลองการเผาคลายกับการ<br />

ทดลองภาคสนาม โดยมีขั้นตอนการทดลอง ดังนี้<br />

การเตรียมชีวมวลเริ่มจากการชั่งน้ําหนักฟางขาว และวางบนถาดในเตาจําลองการเผาในที่โลง ซึ่งได<br />

ทําการทดลองซ้ํา 4 ครั้ง การทดลองที่ 1 และ 2 ใชน้ําหนักฟางขาว 200 g wet การทดลองที่ 3 และ 4 ใชน้ําหนักฟาง<br />

ขาว 500 g wet ซึ่งเปนน้ําหนักเปยกของฟางขาวจากการเก็บตัวอยางภาคสนามในพื้นที่ 1 m 2 จากนั้นติดตั้งอุปกรณ<br />

ตรวจวัดความเขมขนมลพิษในอากาศและกระดาษกรองสําหรับเก็บตัวอยางฝุนละอองบริเวณดานหนาของเตาดาน<br />

ที่เปดอยู เริ่มจุดไฟบริเวณใตกองฟางดานหนาคลายกับวิธีที่ชาวนาจุดไฟในที่นา จับเวลาการเผาไหมเพื่อบันทึก<br />

อัตราการเผาของปริมาณชีวมวลตอเวลา (g/s) โดยน้ําหนักชีวมวลเปนน้ําหนักแหงซึ่งตองทําการวิเคราะหใน<br />

หองปฏิบัติการ<br />

519


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การเก็บตัวอยางเพื่อวิเคราะหในหองปฏิบัติการ ไดแก ตัวอยางฟางขาวเพื่อหาน้ําหนักแหง ตัวอยาง<br />

สวนที่ไมถูกเผา และตัวอยางเถาที่เหลือหลังการเผา ตัวอยางดังกลาวถูกนํากลับไปที่หองปฏิบัติการเพื่อทดลองหา<br />

ความชื้น และวิเคราะหปริมาณคารบอนวิธีเดียวกันกับการทดลองภาคสนาม คือ อบที่อุณหภูมิ 70ºC 24 hr แลวชั่ง<br />

น้ําหนักเพื่อบันทึกน้ําหนักแหง และการวิเคราะหธาตุเคมี (Elemental analysis, EA) ดวย Flash EA 1112 NC<br />

Analyzers (ThermoFisher SCIENTIFIC, UK) ที่ 950ºC<br />

ภาพที่ 7 เตาจําลองการเผาในที่โลง<br />

3.6 การวิเคราะหปริมาณคารบอน<br />

ปริมาณคารบอนที่วิเคราะหจากหองปฏิบัติการและจากการตรวจวัดภาคสนามถูกใชในการคํานวณเพื่อ<br />

ทําสมดุลคารบอน ดังนี้<br />

C input = C output<br />

C biomass = C ash + C released (3)<br />

C biomass คือ ปริมาณคารบอนในชีวมวลที่ถูกเผา<br />

C ash คือ ปริมาณคารบอนในเถา<br />

C released คือ ปริมาณคารบอนที่ปลอยสูบรรยากาศอยูในรูปของกาซและฝุนละออง<br />

โดยองคประกอบคารบอนในฝุนละอองประกอบดวย Black carbon (BC) และ Organic Carbon (OC)<br />

ซึ่งมีคุณสมบัติการดูดกลืนและการกระจายแสงที่แตกตางกัน ดังสมการ<br />

TC = BC+OC (4)<br />

TC คือ คารบอนทั้งหมดในฝุนละออง<br />

BC คือ Black carbon ที่เกิดจากการเผาไหมที่มีเปลวไฟ มีสีดําเปนสวนของฝุนที่เกิดการดูดกลืนแสงทําใหโลกรอน<br />

ขึ้น ในงานวิจัยนี้ทําการตรวจวัดความเขมขนของ BC ในอากาศดวย Micro Aethalometer<br />

OC คือ Organic Carbon เปนสวนของฝุนที่ทําใหเกิดการกระจายแสง เกิดในการเผาไหมที่เปนกลุมควันซึ่งจะมี<br />

ลักษณะสีเหลืองน้ําตาล<br />

จากการทดลองดังกลาวทั้งภาคสนาม และเตาจําลองการเผา รวมทั้งในหองปฏิบัติการไดผลการศึกษา<br />

ดังตอไปนี้<br />

520


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การประเมินปริมาณเศษวัสดุในนาขาว<br />

ปริมาณเศษวัสดุในนาขาวใชในการประเมินปริมาณชีวมวลที่ถูกเผาซึ่งสวนที่ถูกเผามากในนาขาวคือ<br />

ฟางขาว และสวนบนบางสวนของตอซัง ผลการวิเคราะหรายงานในหนวยกรัมของน้ําหนักแหง แสดงดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณเศษวัสดุในนาขาว<br />

พารามิเตอร แปลงทดลอง 1 แปลงทดลอง 2 แปลงทดลอง 3 คาเฉลี่ย<br />

ฟางขาว (g dry/m 2 ) 662±37 345±41 304±46 437±166<br />

ความสูงตอซัง (cm) 12.5±2.5 27.5±2.5 21.5±1.5 21±6<br />

ตอซัง (g dry/m 2 ) 213±71 260±24 260±71 244±64<br />

RPR ฟางขาว 2.12±0.12 1.10±0.13 0.97±0.15 1.40 ±0.53<br />

RPR ตอซัง 0.68±0.23 0.83±0.08 0.83±0.23 0.78 ± 0.20<br />

หมายเหตุ น้ําหนักขาวเปลือก 312.5 g/m 2 (500 ton/rai)<br />

จากตารางที่ 2 ปริมาณฟางขาวแปรผกผันกับความสูงของตอซัง ถึงแมวาจะเปนที่นาที่อยูติดกัน<br />

ปริมาณฟางในแปลงแรกแตกตางกันกับแปลงอื่นถึงสองเทาเนื่องจากความสูงของตอซังนอยกวาสองเทา ดังนั้น<br />

พฤติกรรมการเก็บเกี่ยวจึงมีผลตอปริมาณฟางขาวซึ่งเปนเชื้อเพลิงหลักในการเผาในที่นา<br />

4.2 การประเมินปริมาณเศษวัสดุที่เหลือหลังการเผา<br />

หลังการเผาฟางขาว และตอซังในพื้นที่ พบวาสัดสวนที่ถูกเผามากคือฟางขาว และตอซังสวนบน ซึ่ง<br />

สวนเหลืออยูในบริเวณที่ถูกเผาคือ เถา และเหลือสวนที่ไมถูกเผา (unburn) คือตอซังที่ไหมไฟไปบางสวน ผลการ<br />

เก็บตัวอยางดังตารางที่ 3<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณเศษวัสดุที่เหลือหลังการเผา<br />

พารามิเตอร แปลงทดลอง 1 แปลงทดลอง 2 แปลงทดลอง 3 คาเฉลี่ย<br />

เถา (g dry/m 2 ) 20 40 24 28 ±9<br />

Unburn (g dry/m 2 ) 57 76 67 67±8<br />

CE ฟางขาว (%) 100 100 100 100±0<br />

CE ตอซัง (%) 73 71 74 73±2<br />

จากตารางที่ 3 ปริมาณเถา และสวนที่ไมถูกเผาแปรผันตามปริมาณฟางขาวในตารางที่ 2 แตไมมีผล<br />

ตอสัดสวนการเผาไหม (CE) ของฟางขาว และตอซังเนื่องจากสัดสวนที่ถูกเผาสวนมากคือฟางขาวที่อยูบนตอซัง<br />

521


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 ผลการตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศจากการทดลองเผาเศษวัสดุในนาขาว<br />

ผลการตรวจวัดความเขมขน PM 2.5 , BC, CO และ CO 2 จากการทดลองเผาเศษวัสดุในนาขาวที่จังหวัด<br />

นครสวรรคทั้งสามแปลง คาเฉลี่ยผลการตรวจวัดไมรวมความเขมขนในบรรยากาศ แสดงในตารางที่ 4<br />

จากตารางที่ 4 พบวาความเขมขนมลพิษที่ตรวจวัดในแปลงทดลองที่ 2 มีคาความเขมขนสูงสุด<br />

เนื่องจากติดตั้งอุปกรณตรวจวัดความเขมขนในตําแหนงที่อยูในกลุมควันตลอดเวลา โดยทิศทางลมสวนใหญพัดใน<br />

แนวขวางของแปลงนาจึงสามารถเดินตามควันไปตามแนวของแปลงทดลอง 3 และระดับความเร็วลมเฉลี่ย 2.79<br />

m/s ทําใหกลุมควันอยูในแนวนอนและพัดพากลุมควันมาถึงตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณ<br />

สวนการทดลองในแปลงทดลอง 1 และ 3 ติดตั้งอุปกรณตรวจวัดความเขมขนในตําแหนงที่อยูบนถนน<br />

เนื่องจากทิศทางลมสวนใหญพัดตามแนวยาวของแปลง ความเร็วลมในแปลงทดลอง 1 เฉลี่ย 2.57 m/s ทําใหกลุม<br />

ควันอยูในแนวนอนและพัดพากลุมควันมาถึงตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณมากกวาแปลงทดลอง 3 ที่มีความเร็วลมเฉลี่ย<br />

1.73 m/s ซึ่งต่ําวาทําใหกลุมควันลอยสูงขึ้นไปในแนวดิ่งและอุปกรณจึงไมอยูในกลุมควัน จึงทําใหผลการตรวจวัด<br />

ความเขมขนมีคาต่ํากวาการทดลองอื่น ดังนั้นปจจัยดานสภาพอากาศจึงมีผลตอการตรวจวัดความเขมขนที่เกิดจาก<br />

การเผาเศษวัสดุในนาขาว<br />

ตารางที่ 4 ผลการตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศจากการทดลองเผาเศษวัสดุในนาขาว<br />

พารามิเตอร Ambient แปลงทดลอง 1 แปลงทดลอง 2 แปลงทดลอง 3 คาเฉลี่ย<br />

PM 2.5 (mg/m 3 ) 0.07 32.18 37.58 15.86 28.54±9.23<br />

BC (mg/m 3 ) 0.02 0.89 1.70 1.56 1.38±0.35<br />

CO (mg/m 3 ) 0.00 19.04 35.97 16.96 23.99±8.51<br />

CO 2 (mg/m 3 ) 414 1,145 1,158 941 1,081±99<br />

PM 2.5 /CO 2 0.0002 0.028 0.032 0.017 0.026±0.007<br />

BC/CO 2 0.00006 0.0008 0.0015 0.0017 0.0013±0.0004<br />

CO/CO 2 0.00 0.017 0.031 0.018 0.022±0.007<br />

เวลา (min) - 68 66 54 63±6<br />

ในการทดลองนี้ ทําในชวงเวลาและสถานที่เดียวกันดังนั้นปจจัยอื่น เชน สภาพของชีวมวล ความชื้น<br />

ของชีวมวล พันธุพืช และสภาพภูมิประเทศ ความชื้นของดิน เปนตน ไมมีผลกระทบที่ทําใหเกิดความแตกตางกันใน<br />

การทดลองนี้<br />

4.4 ผลการตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศจากการทดลองการเผาเศษวัสดุโดยเตาจําลองการเผา<br />

การทดลองเผาเศษวัสดุในเตาจําลองการเผาใชฟางขาวที่เก็บรวบรวมจากการทดลองภาคสนามใน<br />

จังหวัดนครสวรรค การทดลองเผาในเตาทําใหทราบปริมาณชีวมวลที่แนนอน และสามารถติดตั้งอุปกรณตรวจวัด<br />

ความเขมขนในตําแหนงที่อยูในกลุมควันตลอดเวลาซึ่งเปนขอไดเปรียบในการตรวจวัดที่แตกตางจากการตรวจวัด<br />

ในนาขาว ผลการทดลองตรวจวัดความเขมขนที่เกิดจากการทดลองเผาเศษวัสดุในเตาจําลองการเผา แสดงใน<br />

ตารางที่ 5<br />

522


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 5 ผลการตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศจากการทดลองการเผาเศษวัสดุโดยเตาจําลอง<br />

การเผา<br />

พารามิเตอร Ambient การทดลอง 1 การทดลอง 2 การทดลอง 3 การทดลอง 4<br />

PM 2.5 (mg/m 3 ) 0.06 19.62 5.43 10.29 5.77<br />

BC (mg/m 3 ) 0.03 1.09 1.18 0.80 0.13<br />

CO (mg/m 3 ) 0.27 142.38 103.64 159.11 22.29<br />

CO 2 (mg/m 3 ) 523 1,558 2,217 1,837 910<br />

PM 2.5 /CO 2 0.0001 0.01 0.002 0.01 0.01<br />

BC/CO 2 0.0001 0.001 0.0005 0.0004 0.0001<br />

CO/CO 2 0.0005 0.09 0.05 0.09 0.02<br />

เวลา (min) - 190 155 373 319<br />

ฟาง (g dry) - 183 183 459 459<br />

จากตารางที่ 5 เมื่อเทียบคาเฉลี่ยระหวางการเผาฟางปริมาณนอยกับฟางปริมาณมากมีความแตกตาง<br />

กันอยางชัดเจนโดยการทดลองที่ 1 และ 2 เผาฟางปริมาณ 183 g พบวามีคาความเขมขน PM 2.5 BC CO และ CO 2<br />

โดยเฉลี่ยมากกวา การทดลองที่ 3 และ 4 ที่ใชฟางปริมาณ 459 g คาดวาเกิดจากรูปแบบการวางชีวมวล ปริมาณที่<br />

นอยทําใหตองวางใหมีความหนาแนนมากเพื่อทําใหจุดไฟติด แตการวางชีวมวลปริมาณมากจะกระจายตัวมากกวา<br />

ทําใหเกิดการเผาไหมไดดีและเกิดความเขมขนของมลพิษที่นอยกวา<br />

เมื่อเปรียบเทียบระหวางคาความเขมขนจากการจําลองเผาเศษวัสดุในเตาจําลองการเผา กับ<br />

ภาคสนามในนาขาว พบวาความเขมขนฝุนละอองทั้ง PM 2.5 และ BC มีคาสูงในการเผาเศษวัสดุในนาขาวซึ่งตรงกัน<br />

กับผลการตรวจวัดโดยใชกระดาษกรองในการเก็บตัวอยางฝุนละออง แตความเขมขนของกาซทั้ง CO และ CO 2 มี<br />

คาสูงในการจําลองเผาในเตา การเผาในที่โลงกาซสามารถลอยตัวขึ้นสูบรรยากาศไดดีซึ่งอุปกรณอยูในระดับพื้นดิน<br />

จึงไมสามารถตรวจวัดได แตการตรวจวัดภาคสนามสามารถเห็นทิศทางของกลุมควันจึงสามารถตรวจวัดไดดีและ<br />

การเผาฟางในปริมาณที่มากทําใหเกิดกลุมควันที่มีความหนาแนนสูงกวาการเผาฟางปริมาณนอยในเตาจําลองเผา<br />

4.5 ผลการวิเคราะหปริมาณคารบอน<br />

ผลการวิเคราะหปริมาณคารบอนในฟางขาว และเถา รวมทั้งการทําสมดุลคารบอนเพื่อประเมิน<br />

ปริมาณคารบอนที่ปลดปลอยจากการเผาเศษวัสดุในนาขาว แสดงในตารางที่ 6<br />

จากตารางที่ 6 จากการวิเคราะหปริมาณคารบอนในฟางขาว และเถาพบวาประกอบดวยคารบอน<br />

รอยละ 32.54±0.5 และ 7.44±0.1 โดยน้ําหนัก การเผาเศษวัสดุในนาขาวทําใหปลดปลอยคารบอนขึ้นสูบรรยากาศ<br />

140±52 g C/m 2 หรือ มากถึงรอยละ 98.57 และเหลือเถาอยูเพียงรอยละ 1.43 จากผลการทดลองภาคสนามในนา<br />

ขาว สวนการทดลองในเตาเผาพบวาการเผาฟางขาวทําใหปลดปลอยคารบอนขึ้นสูบรรยากาศ 134±1 g C/m 2 หรือ<br />

รอยละ 94.35±0.70 และเหลือสวนที่เปนเถารอยละ 5.65±0.70 ผลการทดลองในภาคสนามมีขอจํากัดในการเก็บเถา<br />

ซึ่งอาจปะปนในดินทําใหไมสามารถเก็บตัวอยางไดทั้งหมดทําใหปริมาณเถานอยกวาการเผาในเตาจําลองการเผาซึ่ง<br />

ทราบปริมาณชีวมวลที่แนนอนและสามารถเก็บตัวอยางเถาไดทั้งหมด<br />

523


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหปริมาณคารบอน<br />

ตัวอยาง<br />

%C ภาคสนาม เตาเผา ภาคสนาม (%) เตาเผา (%)<br />

(g C/m 2 ) (g C/m 2 )<br />

ฟางขาว 32.54±0.5 142±52 142 100 100<br />

เถา 7.44±0.1 2.08±0.64 8.04±1.00 1.69±0.83 5.65±0.70<br />

C released<br />

(กาซ และฝุนละออง)<br />

- 140±52 134±1 98.31±0.83 94.35±0.70<br />

ฝุนละอองที่ปลดปลอยขึ้นสูบรรยากาศมีปริมาณคารบอนรอยละ 64.03±1.56 โดยน้ําหนัก จากการเผา<br />

ในนาขาว และรอยละ 53.60±0.42 โดยน้ําหนัก จากการทดลองเผาในเตา โดยทําการวิเคราะหฝุนละอองบน<br />

กระดาษกรอง<br />

4.6 ผลการประเมิน Emission Factor<br />

จากผลการตรวจวัดคาการปลดปลอยมลพิษที่เกิดขึ้นดังตารางที่ 4 และ 5 นํามาคํานวณหาคา EF โดย<br />

หารดวยคาอัตราการเผาไหมเศษวัสดุ ผลการวิจัยภาคสนามอัตราการเผาไหมชีวมวลเฉลี่ย 2.88 g/s จากการ<br />

ทดลองเผาในพื้นที่ 1 m 2 ในนาขาว สวนการจําลองเผาในเตาอัตราการเผาไหมชีวมวลเฉลี่ย 1.24 g/s อัตราการเผา<br />

ไหมชีวมวลในการเผาจริงที่ชาวนาเผาในนาขาวมากกวาคาที่ประเมินเนื่องจากชาวนาจะเผาเศษวัสดุหลายแถวใน<br />

เวลาเดียวกันเพื่อความรวดเร็ว<br />

ผลการประเมินคา EF แสดงในตารางที่ 7 และ 8 ซึ่งพบวาผลการวิจัยภาคสนามจะมีคานอยมาก<br />

เนื่องจากความไมแนนอนของปริมาณชีวมวลที่ถูกเผา ดังนั้นงานวิจัยสวนใหญจึงเปนการตรวจวัดในเตาจําลองการ<br />

เผา<br />

ตารางที่ 7 ผลการประเมิน Emission Factor (g/kg)<br />

พารามิเตอร<br />

ผลการวิจัยภาคสนาม<br />

ผลการวิจัยการจําลองเผา<br />

ในเตาเผา<br />

IPCC, 2006<br />

(Andreae & Merlet,<br />

2001)<br />

Hays et al.,<br />

2005<br />

PM 2.5 (g/kg) 2.16±0.30 13.64±6.85 3.9 12.95±0.30<br />

BC (g/kg) 0.05±0.02 0.64±0.25 0.69 ± 0.13 0.17±0.4<br />

CO (g/kg) 4.87±1.07 108.62±33.20 92 ± 84 -<br />

CO 2 (g/kg) 194.23±32.19 1,116±187 1515 ± 177 -<br />

จากตารางที่ 7 เมื่อเปรียบเทียบผลการวิจัยการจําลองเผาในเตาเผา กับงานวิจัย IPCC, 2006<br />

(Andreae & Merlet, 2001) ซึ่งเปนงานวิจัยที่เผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โลงแตไมเจาะจงเฉพาะเศษวัสดุจากนา<br />

ขาว และ Hays et al., 2005 ทําการวิจัยโดยจําลองการเผาฟางขาวในเตาเผา พบวาคาที่ไดมีความใกลเคียงกัน มี<br />

ความแตกตางกันเล็กนอยโดยคา EF ของ BC และ CO สูงกวา ในขณะที่ CO 2 ต่ํากวา แสดงวาเกิดการเผาไหมไม<br />

524


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สมบูรณ เนื่องจากไมมีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศเพื่อจําลองการเผาเชนเดียวกับการเผาในพื้นที่เปดโลงในที่นา แต<br />

ในงานวิจัยของ Hays et al. (2003) มีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศดานบนปลองสูงจากบริเวณที่เผาชีวมวล 3 m และ<br />

ติดตั้งอุปกรณวัดมลพิษที่ปลองสูงจากบริเวณที่เผา 2 m แตงานวิจัยนี้ติดตั้งอุปกรณตรวจวัดที่ระดับพื้นดินหนา<br />

เตาเผาสูงจากพื้นเพียง 1 m<br />

ตารางที่ 8 แสดงผลการประเมิน EF ในหนวยตอพื้นที่เพื่อใชในการประเมินปริมาณการปลอยมลพิษ<br />

ในกรณีที่ทราบพื้นที่เผา<br />

ตารางที่ 8 ผลการประเมิน Emission Factor (g/m 2 )<br />

พารามิเตอร ผลการวิจัยภาคสนาม ผลการวิจัยการทดลองเผาในเตาเผา<br />

PM 2.5 (g/m 2 ) 0.94±0.13 5.96±2.99<br />

BC (g/m 2 ) 0.02±0.01 0.28±0.11<br />

CO (g/m 2 ) 2.13±0.47 47.47±14.51<br />

CO 2 (g/m 2 ) 84.88±14.07 487.70±81.60<br />

จากขอมูลสถิติการเก็บแบบสอบถามปริมาณพื้นที่นาที่ถูกเผาหลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉลี่ยในแตละปนา<br />

ปมีการเผารอยละ 50 สวนนาปรังเผารอยละ 75 (กรมควบคุมมลพิษ, 2550) พื้นที่เก็บเกี่ยวนาป 54 ลานไร และนา<br />

ปรัง 10 ลานไร (OAE, 2007) รวมพื้นที่นาที่ถูกเผา 35 ลานไร เมื่อนําไปคํานวณคาการปลอยมลพิษโดยใช EF<br />

(g/m 2 ) จากการทดลองในเตาเผาพบวาฝุนละอองที่ปลอยจากการเผาตอซังฟางขาวในที่โลงในพื้นที่เกษตรมีปริมาณ<br />

328,707 ตันตอป ซึ่งมากกวาการปลอยฝุนละอองจากการผลิตไฟฟาโดยใชถานหินขนาด 2,400 MW ที่ปลดปลอย<br />

ฝุนละอองโดยเฉลี่ย 1,926±626 ตันตอป (Krittayakasem, 2007) ถึง 171 เทา<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

งานวิจัยนี้ทําการศึกษาเพื่อประเมินคา Emission factor ของมลพิษที่เกิดจากการเผาเศษวัสดุการเกษตร<br />

ในที่โลงในพื้นที่นาขาวหลังการเก็บเกี่ยว โดยการทดลองภาคสนามในนาขาว และจําลองการเผาตัวอยางฟางขาวใน<br />

เตาจําลองการเผาในที่โลง ชีวมวลหลักที่ถูกเผาในที่นาไดแกฟางขาว ปริมาณฟางขาว 437±166 g/m 2 มีความไม<br />

แนนอนสูงถึงแมวาอยูในพื้นที่เดียวกันเนื่องจากการเก็บเกี่ยวที่มีความแตกตางของความสูงตอซัง 21±6 cm ในการ<br />

ตรวจวัดการปลดปลอยมลพิษในอากาศใชอุปกรณตรวจวัดอยางตอเนื่อง โดยทําการตรวจวัดความเขมขนของ<br />

PM 2.5 BC CO และ CO 2 พบวาผลการตรวจวัดความเขมขนฝุนละออง (PM 2.5 และ BC) ในภาคสนามมีคาสูงกวา<br />

การจําลองการเผาในเตาเผา แตในทางตรงกันขามผลการตรวจวัดความเขมขนกาซในภาคสนาม (CO และ CO 2 ) มี<br />

คานอยกวาการจําลองการเผาในเตาเผา ปจจัยหลักที่มีผลตอการทดลองในภาคสนามคือ สภาพอุตุนิยมวิทยา<br />

โดยเฉพาะทิศทางและความเร็วลม การเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งในนาขาวทําใหเกิดการปลดปลอยคารบอนขึ้นสู<br />

บรรยากาศ 140±52 gC/m 2 หรือรอยละ 98.31±0.83 ของปริมาณคารบอนในชีวมวล เหลือเถารอยละ 1.69±0.83<br />

จากการทดลองภาคสนาม ในการทดลองการจําลองการเผาในเตาเผาพบวา การเผาเฉพาะฟางขาวทําใหเกิดการ<br />

ปลดปลอยคารบอนขึ้นสูบรรยากาศ 134±1 gC/m 2 หรือรอยละ 94.35±0.70 และเหลือเถารอยละ 5.65±0.70 ผลการ<br />

ประเมิน EF PM 2.5 มีคา 13.64±6.85 g/kg หรือ 5.96±2.99 g/m 2 สําหรับนาขาวในภาคกลางของประเทศไทย<br />

ปริมาณพื้นที่นาที่ถูกเผาหลังการเก็บเกี่ยวตอป มีคาประมาณ 35 ลานไร พบวาฝุนละอองที่ปลอยจากการเผาตอซัง<br />

525


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ฟางขาวในที่โลงในพื้นที่เกษตรมีปริมาณ 328,707 ตันตอป ซึ่งมากกวาการปลอยฝุนละอองจากการผลิตไฟฟาจาก<br />

ถานหินขนาด 2,400 MW ถึง 171 เทา<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รศ. ดร. สิรินทรเทพ เตาประยูร ดร. นริศรา ทองบุญชู<br />

และ Assoc. Prof. Dr. Nitin Kumar Tripathi โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบ<br />

โลก (ESS) และกลุมงานวิจัยดาน Aerosol from Biomass Burning to the Atmosphere (ABBA)<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Andreae, M.O., Merlet, P. (2001), Emission of trace gases and aerosols from biomass<br />

burning. Global Biogeochemical Cycles, 15(4), pp. 955-966.<br />

- Hays, M.D., Fine, P.M., Geron, C.D., Kleeman, M.J., Gullett, B.K. (2005), Open burning<br />

of agricultural biomass: physical and chemical properties of particle-phase emissions. .<br />

Atmospheric Environment, 39, pp. 6747–6764.<br />

- Hays, M.D., Smith, N.D., Kinsey, J., Dong, Y. and Kariher, P. (2003), Polycyclic<br />

aromatic hydrocarbon size distributions in aerosols from appliances of residential wood<br />

combustion as determined by direct thermal desorption-GC/MS. Aerosol Science, 34, pp.<br />

1061-1084.<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) (2001), Third Assessment Report,<br />

Climate Change 2001: The Scientific Basis, edited by J. T. Houghton et al., Cambridge<br />

Univ. Press, New York<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (2006), IPCC Guidelines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories Volume 4: Agriculture, Forestry and Other land Use.<br />

- Krittayakasem P. (2007), An Inventory of Atmospheric Emissions from Power Generation<br />

in Thailand. MSc thesis, The Joint Graduate School of Energy and Environment,<br />

Bangkok, Thailand.<br />

- Levine, J.S. (1991), Global Biomass Burning: Atmospheric, Climatic, and Biospheric<br />

Implications. The MIT Press, Cambridge, Massachusetts.<br />

- Office of Agricultural Economics (2006), Agricultural Economic’ Statistic Yearbook 2006,<br />

Available online: http://www.oae.go.th/statistic/yearbook49/ [Access December 26, 2007]<br />

- Office of Agricultural Economics (2007), Agricultural Economic’ Statistic Yearbook 2007,<br />

Available online: http://www.oae.go.th/statistic/yearbook50/ [Access November 30, 2008]<br />

- Pollution Control Department (2005), National Master Plan for Open Burning Control.<br />

Pollution Control Department, Ministry of Natural Resources and Environment, Thailand,<br />

pp. 1-26.<br />

- กรมควบคุมมลพิษ และ บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม. โครงการติดตามและ<br />

ประเมินสถานการณการเผาในที่โลงในพื้นที่การเกษตรของประเทศไทย, หนา 5.20, 2550.<br />

526


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หมวดที่ 2 การลดกาซเรือนกระจก: ภาคเกษตร และการ<br />

สํารวจระยะไกล<br />

(Sector II Greenhouse Gas Mitigation: Agriculture<br />

Sector and Remote Sensing)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปาในประเทศไทย<br />

โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม MODIS<br />

Assessment of green house gases from forest fire in Thailand<br />

by using MODIS satellite images<br />

เอกพล จันทรเพ็ญ 1 และ สาวิตรี การีเวทย 1<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ไฟปากอใหเกิดปญหาทั้งในดานของสภาวะแวดลอม และสุขภาพของผูอยูอาศัยในพื้นที่ใกลเคียงดวย<br />

มลพิษทางอากาศจากไฟปากอใหเกิดกาซคารบอนมอนอกไซด (CO) และกาซเรือนกระจก (Greenhouse gas)<br />

ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ), กาซมีเทน (CH 4 ), และไนตรัสออกไซด (N 2 O) รวมถึงฝุนละอองขนาดเล็ก<br />

(Particulate matter) สําหรับในประเทศไทยไฟปากอใหเกิดปญหาหมอกควันปกคลุมพื้นที่อยูอาศัย สงผลตอ<br />

สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ซึ่งไดรับผลกระทบจากไฟปามากที่สุดในชวง<br />

เดือนมกราคมถึงเมษายนของทุกป<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ไดเก็บรวบรวมขอมูล Fire hot spots จากการตรวจวัดของเซ็นเซอร MODerate<br />

Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) ในดาวเทียม TERRA และ AQUA รวมกับขอมูลจากสํานัก<br />

ปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา ตั้งแต ป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 เพื่อประเมินปริมาณการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกจากไฟปาในประเทศไทย<br />

จากการรวบรวมขอมูลดาวเทียม MODIS ตั้งแต ป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 พบวา มีจํานวนการเกิดไฟ<br />

ในพื้นที่ปา 27,817 ครั้ง ซึ่งสวนใหญเกิดในพื้นที่ปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง คิดเปนรอยละ 90 ของไฟในพื้นที่ปา<br />

ทั้งหมด โดยในเดือนมีนาคมจะเกิดไฟปามากที่สุด โดยไฟปากอใหเกิดพื้นที่ปาเสียหายประมาณ 201,404 เฮกตาร<br />

โดยในป พ.ศ. 2550 มีพื้นที่เสียหายมากที่สุดประมาณ 53,227 เฮกตาร และคิดเปนปริมาณเชื้อเพลิงแหงที่ถูกเผา<br />

ไหมประมาณ 544,755 ตัน เมื่อพิจารณาในรูปของการปลอยกาซเรือนกระจกเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด<br />

พบวามีคาประมาณ 111,564 ตัน<br />

คําสําคัญ: ไฟปา การปลอยกาซเรือนกระจก ภาพถายดาวเทียม MODIS<br />

Abstract<br />

Forest fire is the cause of environmental and human health problem. Forest fire emits CO and<br />

greenhouse gases as CO 2 , CH 4 , N 2 O, and particulate matter. In Thailand, forest fire is a cause of smog;<br />

affect on health of local people, especially in the upper northern which occurred in January to April<br />

annually.<br />

528


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

This study collects FHS data from MODerate-resolution Imaging Spectro-radiometer (MODIS)<br />

sensor aboard the Terra and Aqua satellites and forest fire data from forest fire control division between<br />

2003 and 2009 and uses these data to estimate the emission forest fire in Thailand.<br />

From the satellite data analysis suggested between 2005 and 2009, the number of forest fire<br />

occurred 27,817 times with a significant highest (more than 90% of forest fire) in the mix deciduous forest<br />

and deciduous dipterocarp forest, which mainly in March. The overall forest area burned was about<br />

201,404 ha. In 2007 was the most of area burned which was about 53,227 ha, biomass combusted<br />

544,755 tons dry matter which emitted 111,564 ton CO 2 .<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในปจจุบันทาง Intergovernmental Panel on Climate change (IPCC) ไดพัฒนาวิธีการประเมินการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาชีวมวลในภาคการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่และปาไม จากคูมือ Revised 1996<br />

IPCC Guidelines มาเปน 2006 IPCC Guideline ผลจากการปรับปรุงทําใหการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกมีความ<br />

ถูกตองมากยิ่งขึ้น และครอบคลุมการเผาทุกประเภทของชีวมวล โดยเฉพาะไฟปา (wildfires) ซึ่งเปนแหลงสําคัญ<br />

ของการปลอยกาซเรือนกระจกประเภท Non-CO 2 ไดถูกเพิ่มอยูในการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกดวย<br />

ในการประเมิน สิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งที่ตองมุงเนนคือ ความถูกตองของขอมูลที่ใชในการคํานวณ ดังนั้น<br />

เพื่อการพัฒนาระดับการคํานวณใหมีระดับเทียร (Tier) ที่สูงขึ้น ตามวิธีการที่คูมือการคํานวณ 2006 IPCC<br />

Guideline กําหนดไว ผูวิจัยจะใชขอมูล Fire hot spot (FHS) ซึ่งไดจากการตรวจวัดของเซ็นเซอร Moderate<br />

Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) ในดาวเทียม TERRA และ AQUA รวมกับขอมูลที่มีการศึกษา<br />

เฉพาะ (Country specific) สําหรับประเทศไทย มาใชในการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปา<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1) เพื่อประเมินปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปา โดยใชวิธีการตามคูมือการคํานวณ 2006<br />

IPCC Guideline<br />

2) เพื่อพัฒนาแนวทางวิธีการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปา ใหมีระดับเทียร (Tier) ใน<br />

การคํานวณที่สูงขึ้น โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียมที่มี MODIS เปนเครื่องมือตรวจวัด<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

วิธีการคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเกิดไฟปาตามคูมือการคํานวณ 2006 IPCC Guideline<br />

แสดงดังสมการที่ 1<br />

Emission = A x EF (1)<br />

เมื่อ Emission คือ กาซเรือนกระจกประเภท Non CO 2 ไดแก กาซมีเทน (CH 4 ), กาซคารบอนมอนอกไซด<br />

(CO), กาซไนตรัสออกไซด (N 2 O), และ กาซไนโตรเจนออกไซด (NO x ) ในหนวยของตัน, A คือ ขอมูลดานกิจกรรม<br />

การเผาชีวมวล (Activity data) อาจเปนพื้นที่ที่ถูกเผา ประกอบกับปริมาณชีวมวลในพื้นที่ถูกเผานั้น, และ EF คือ<br />

สัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission factor) ในแตละประเภทกาซและแหลงการกําเนิดกาซ ในหนวย<br />

ของ ตันตอหนวยของขอมูลดานกิจกรรม A<br />

529


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขอมูลกิจกรรมการเผาชีวมวล (Activity data) ขึ้นอยูกับ 3 ตัวแปร ไดแก ปริมาณพื้นที่ของชีวมวลที่ถูกเผา<br />

, ความหนาแนนของชีวมวล, และสัมประสิทธิ์การเผาไหม แสดงดังสมการที่ 2<br />

Emission = BA x M B x C F x EF (2)<br />

เมื่อ BA คือ พื้นที่ไฟปา (เฮกตาร), M B คือ ความหนาแนนของชีวมวล (ตันตอเฮกตาร), C F คือ<br />

สัมประสิทธิ์การเผาไหม, และ EF คือสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมชีวมวล Emission<br />

factor (กรัมตอกิโลกรัมของชีวมวล)<br />

การประเมินพื้นที่ไฟปา (BA) สามารถคํานวณไดจากสมการดังแสดงในสมการที่ 3<br />

BA i = NF i x CR i x T i (3)<br />

เมื่อ NF คือ จํานวนไฟปาในแตละประเภทปา, CR คือ อัตราการเผาไหม (ปริมาณพื้นที่ตอเวลา), T คือ<br />

เวลาในการเกิดไฟปาเฉลี่ยตอครั้ง, และ i คือ ประเภทของปา ไดแก ปาเต็งรัง, ปาเบญจพรรณ, และปาอื่นๆ<br />

ในการศึกษาจํานวนไฟปา (NF) ไดจากการตรวจวัดไฟปาในรูปของ Fire Hot Spot (FHS) โดยเครื่องมือ<br />

ตรวจวัด MODerate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) บนดาวเทียม Terra และ Aqua ของ<br />

NASA สหรัฐอเมริกา ซึ่งประมวลผลโดย Geoinformatics Center ของ Asian Institute of Technology (AIT) โดย<br />

ใชขอมูล FHS ที่มีระดับความเชื่อมั่นระดับสูง (High Confidence) ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 นํามาจําแนก<br />

ประเภทของไฟ โดยการซอนทับขอมูล FHS รวมกับขอมูลการใชประโยชนที่ดิน (Land use) ป พ.ศ. 2550 จาก<br />

กรมพัฒนาที่ดิน ดวยโปรแกรม Geographic information system (GIS) ไดผลลัพธดังแสดงในตารางที่ 1 และการ<br />

กระจายตัวของ FHSในแตละเดือนของฤดูไฟปาแสดงดังรูปที่ 1<br />

ตารางที่ 1 จํานวนไฟปาจากการจําแนกขอมูล FHS จาก MODIS รวมกับขอมูลการใชประโยชนที่ดิน (Land<br />

use)<br />

ประเภทปา<br />

จํานวนไฟปาจากขอมูล FHS ดาวเทียม MODIS (ครั้ง)<br />

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552<br />

รวม<br />

ปาเบญจพรรณ 4,127 2,408 4,262 3,466 3,223 17,486<br />

ปาเต็งรัง 1,206 956 1,890 1,536 1,400 6,988<br />

ปาอื่นๆ 579 377 635 1,500 252 3,343<br />

รวม 5,912 3,741 6,787 6,502 4,875 27,817<br />

530


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จํานวนของ FHS จากดาวเทียม MODIS (จุด)<br />

6,000<br />

5,000<br />

4,000<br />

2,747<br />

3,000<br />

2,219<br />

2,000<br />

1,000<br />

335<br />

0<br />

Jan-<br />

05<br />

558<br />

29<br />

May-<br />

05<br />

Sep-<br />

05<br />

355<br />

145<br />

2,250<br />

Jan-<br />

06<br />

992<br />

May-<br />

06<br />

Sep-<br />

06<br />

654<br />

406<br />

5,133<br />

Jan-<br />

07<br />

798<br />

May-<br />

07<br />

Sep-<br />

07<br />

396<br />

316<br />

3,852<br />

Jan-<br />

08<br />

1,021<br />

29 81<br />

May-<br />

08<br />

Sep-<br />

08<br />

2,708<br />

1,443<br />

860<br />

Jan-<br />

09<br />

92 2 15 20<br />

May-<br />

09<br />

Sep-<br />

09<br />

รูปที่ 1 การกระจายตัวของ FHS ในแตละเดือน ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552<br />

อัตราการเผาไหมในหนวยของพื้นที่ตอเวลา (CR) จะไดจากการทดลองเผาพื้นที่ปาจริง ในฤดูไฟปาตั้งแต<br />

เดือนมกราคม ถึง เมษายน ป พ.ศ. 2552 โดยเลือกทดลองเผาเดือนละ 1 ครั้ง ในพื้นที่ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ<br />

ใกลบริเวณสํานักควบคุมไฟปาดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม การเตรียมแปลงการทดลองทําโดยกําหนดแนวการลุก<br />

ไหมของไฟจํานวน 8 แนว แนวละ 30 เมตร แตละแนวทํามุมตอกัน 45 องศา โดยตัดกันตรงจุดศูนยกลางใน<br />

ลักษณะของรัศมีวงกลม โดยแบงระยะในแตและแนวไฟทุกระยะ 5 เมตร แปลงทดลองจะถูกวางแนวในความลาด<br />

ชันของพื้นที่ปา 4 ระดับความลาดชัน ไดแก 10 %, 20 %, 30 %, และ 40 % ดังนั้น ผลรวมจํานวนแปลงการ<br />

ทดลองเพื่อศึกษาอัตราการลุกไหมของไฟปาตลอดฤดูไฟปาในปาทั้ง 2 ประเภทจะเทากับ 32 แปลงทดลอง โดย<br />

การทดลองจะเริ่มจากการจุดไฟตรงจุดศูนยกลางของวงกลมแปลงทดลอง และวัดระยะทางการลุกไหมของเชื้อเพลิง<br />

ทั้ง 8 แนว ทุกๆเวลา 2 นาที และจะหยุดการทดลองเมื่อแนวไฟดานใดดานหนึ่งลุกไหมจนถึงระยะที่ 30 เมตร<br />

หลังจากหยุดทดลองจะวัดพื้นที่ถูกเผา และนํามาคํานวณรวมกับเวลาที่ใชในการลุกไหมตั้งแตเริ่มจุดไฟจนถึงหยุด<br />

การทดลอง เพื่อคํานวณหาคาเฉลี่ยอัตราการลุกไหมของเชื้อเพลิง ในรูปของพื้นที่ตอเวลา การวางแนวของแปลงใน<br />

การทดลองเผาปาแสดงดังรูปที่ 2<br />

จากการศึกษาอัตราการเผาไหม พบวา ไฟปามีอัตราการลุกไหมเฉลี่ยในพื้นที่ปาเต็งรังเทากับ 2.20<br />

เฮกตารตอชั่วโมง และในพื้นที่ปาเบญจพรรณเทากับ 1.70 เฮกตารตอชั่วโมง สําหรับปาประเภทอื่นๆ จากขอมูล<br />

FHS พบวาสวนใหญเกิดไฟปาในพื้นที่ปาอื่นๆ ไดแก ปาดิบแลงจะเกิดไฟปามากที่สุด และปาสนจะเกิดไฟปาเปน<br />

สวนนอย เนื่องจากปาสนในประเทศไทยมีพื้นที่ไมมาก ในพื้นที่ปาดิบแลงที่มีความชุมชื้นในดินนอย จะพบไมพลัด<br />

ใบขึ้นแทรกตัวอยูในพื้นที่ปาเปนจํานวนมากในชั้นเรือนยอด เชน สมพง, ปออีเกง, ยมหิน, และยมปา เปนตน ซึ่ง<br />

ลักษณะของเชื้อเพลิง เชน องคประกอบเชื้อเพลิง ความชื้นจะใกลเคียงกับปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ซึ่งเปนปา<br />

ประเภทผลัดใบ (กรมปาไม) ดังนั้นในการประเมินครั้งนี้ไดใชอัตราการเผาไหมในพื้นที่ปาประเภทอื่นๆ เทากับ<br />

คาเฉลี่ยของพื้นที่ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง โดยมีคาเทากับ 1.95 เฮกตารตอชั่วโมง ตัวอยางแนวการเผาไหม<br />

531


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เชื้อเพลิงของไฟปาในพื้นที่ปาเต็งรังและเบญจพรรณ จากการทดลองเผาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 แสดงในรูปที่<br />

3<br />

ความลาดชันดานบนแปลงทดลอง<br />

แนวการลุกไหมของไฟ<br />

การวางแนววัดอัตราการลุกไหม<br />

30 เมตร<br />

ความลาดชันดานลางแปลงทดลอง<br />

รูปที่ 2 การวางแนวแปลงทดลองเผาปาเพื่อวัดอัตราการลุกไหมของเชื้อเพลิง<br />

40<br />

40<br />

8<br />

30<br />

2<br />

8<br />

30<br />

2<br />

20<br />

20<br />

10<br />

10<br />

7<br />

0<br />

3<br />

7<br />

0<br />

3<br />

6<br />

4<br />

6<br />

4<br />

5<br />

Slope 5-14% Slope 15-24% Slope 25-35% Slope >35%<br />

5<br />

Slope 5-14% Slope 15-24% Slope 25-35% Slope >35%<br />

รูปที่ 3 เสนแนวอัตราการลุกไหมของเชื้อเพลิงในแตละพื้นที่ความชันในปาเต็งรังและ<br />

ปาเบญจพรรณในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552<br />

เวลาในการเกิดไฟปาเฉลี่ยตอครั้ง (T) จะใชขอมูลการเกิดไฟปาในจังหวัด เชียงใหม และลําพูน ในชวงฤดู<br />

ไฟปา 3 ป ตั้งแต ป พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2552 จากสวนควบคุมไฟปา สํานักปองกัน ปรามปราม และควบคุมไฟปา<br />

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 16 (เชียงใหม) ขอมูลดังกลาวจะถูกบันทึกดวยเจาหนาที่ควบคุมไฟปาหลังการควบคุม<br />

ไฟปาแลวเสร็จ จากการบันทึกขอมูลของเจาหนาที่ พบวาไฟปาสวนใหญใชเวลาลุกไหมเฉลี่ยกอนถูกควบคุมดวย<br />

532


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เจาหนาที่ประมาณ 3 ชั่วโมง สําหรับพื้นที่ไฟปาที่ไมไดถูกควบคุมดวยเจาหนาที่ จะใชคาที่ 3 ชั่วโมงเชนกัน<br />

เนื่องจากชวงรอบเวลาการตรวจวัดของ MODIS ในชวงเวลาเชา (11.00 น.) และในชวงเวลาบาย (14.00 น.) ซึ่ง<br />

เปนชวงเวลาการตรวจวัดไฟปาไดมากที่สุดนั้น จะมีชวงเวลาหางกันประมาณ 3 ชั่วโมง จากการตรวจสอบขอมูล<br />

การตรวจวัด FHS ที่เกิดซ้ําพื้นที่ไฟปาเดิมเนื่องจากการโคจรของดาวเทียมในวันเดียวกัน พบวา มีจํานวน FHS ที่<br />

ถูกตรวจวัดซ้ําตําแหนงใกลเคียงกันนอยมาก (ไมเกิน 2 % จากจํานวน FHS ทั้งหมด) ดังนั้นจึงหมายถึง ไฟปาสวน<br />

ใหญที่ถูกควบคุมดวยเจาหนาที่และไมไดถูกควบคุมจากเจาหนาที่ จะใชเวลาลุกไหมไมเกิน 3 ชั่วโมง<br />

ความหนาแนนของชีวมวล (M B ) จะใชขอมูลจากการเก็บขอมูลภาคสนาม ในชวงฤดูไฟปา ตั้งแตเดือน<br />

มกราคม ถึง เมษายน ป พ.ศ. 2552 ในพื้นที่ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ บริเวณศูนยควบคุมไฟปาดอยสุเทพ ใน<br />

จังหวัดเชียงใหม การเก็บขอมูลจะทําการวางแปลงขนาด 1 x 1 ตารางเมตร จํานวน 8 แปลงในแตละประเภทปา<br />

และเดือน โดยแยกชั่งน้ําหนักเชื้อเพลิงที่พื้นผิวดิน (Surface fuel) ออกเปน 4 ประเภท ไดแก หญา, ใบไมแหง, กิ่ง<br />

ไมแหง, และไมพื้นลาง จากการศึกษา พบวาความหนาแนนของเชื้อเพลิงที่ผิวดิน (Surface fuel) ของปาเต็งรัง<br />

เทากับ 3.68 ตันตอเฮกตาร และปาเบญจพรรณเทากับ 3.46 ตันตอเฮกตาร สําหรับปาประเภทอื่นๆ เชน ปาดิบแลง<br />

และปาสน จะใชคาเฉลี่ยระหวางปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ดังเหตุผลที่กลาวไวแลวในขางตน มีคาเทากับ 3.57<br />

ตันตอเฮกตาร ความหนาแนนของเชื้อเพลิงในแตละองคประกอบของเชื้อเพลิง, เดือนที่เก็บขอมูล, และประเภทปา<br />

แสดงดังรูปที่ 4<br />

สัมประสิทธิ์การเผาไหมของเชื้อเพลิง (C F ) จะไดหลังจากการทดลองการเผาพื้นที่ปาจริงเพื่อหาอัตราการ<br />

ลุกไหมของไฟปา การเก็บขอมูลทําโดยวางแปลงเก็บขอมูลขนาด 1 x 1 ตารางเมตร โดยเก็บขอมูลน้ําหนักของ<br />

เชื้อเพลิงที่เหลือหลังจากการเผาไหม ในพื้นที่ทําการทดลองเผา โดยวางแปลงเก็บขอมูลตามแนวการวัดอัตราการ<br />

ลุกไหมทั้ง 8 แนว แนวละ 1 แปลง การคํานวณหาสัมประสิทธิ์การเผาไหมของเชื้อเพลิงไดจากสมการที่ 4 สําหรับ<br />

น้ําหนักแหงกอนเผาจะใชขอมูลน้ําหนักของเชื้อเพลิงที่เก็บขอมูลความหนาแนนของเชื้อเพลิงในแตละประเภทปา<br />

ซึ่งไดเก็บขอมูลน้ําหนักของเชื้อเพลิงบริเวณโดยรอบแนวแปลงการทดลองการเผาอยูกอนหนาแลว<br />

CF = [น้ําหนักแหงของเชื้อเพลิงกอนเผา – น้ําหนักแหงของเชื้อเพลิงหลังเผา] (4)<br />

น้ําหนักแหงของเชื้อเพลิงกอนเผา<br />

จากการศึกษา พบวา สัมประสิทธิ์การเผาไหมของปาเต็งรังเทากับ 0.69 และปาเบญจพรรณเทากับ 0.68<br />

สําหรับปาประเภทอื่นๆจะใชคาเฉลี่ยระหวางปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ซึ่งมีคาเทากับ 0.685 คาสัมประสิทธิ์การ<br />

เผาไหมของเชื้อเพลิงจําแนกตามองคประกอบของเชื้อเพลิง และเดือนในการเกิดไฟแสดงดังรูปที่ 5<br />

Surface fuel (ton dry mater /ha)<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

1.00<br />

0.00<br />

3.88<br />

3.03<br />

4.16<br />

3.79<br />

3.81<br />

3.39<br />

3.22 3.27<br />

4.16<br />

3.86<br />

Surface fuel (ton dry mater /ha)<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

1.00<br />

0.00<br />

2.02 1.98<br />

0.93<br />

0.80<br />

0.08<br />

0.21<br />

0.57 0.73<br />

Jan-09 Feb-09 Mar-09 Apr-09 May-09<br />

Leaf Twig Grass Undergrowth<br />

Month<br />

Component of fuel<br />

Mixed deciduous forest<br />

Deciduous dipterocarp forest<br />

Mixed deciduous forest<br />

Deciduous dipterocarp forest<br />

รูปที่ 4 ความหนาแนนของเชื้อเพลิงจําแนกตามองคประกอบของเชื้อเพลิง,<br />

เดือนที่เก็บขอมูล, และประเภทปา<br />

533


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

combustion factor<br />

1.00<br />

0.90<br />

0.80<br />

0.70<br />

0.60<br />

0.50<br />

0.40<br />

0.30<br />

0.20<br />

0.10<br />

0.00<br />

0.92<br />

0.69<br />

0.70<br />

0.68<br />

0.63<br />

0.57<br />

0.53<br />

0.43<br />

0.39<br />

0.44<br />

0.27<br />

0.12<br />

Leaf Twig Grass Undergrowth<br />

Fuel component<br />

Jan Feb Mar Apr May<br />

(a) ปาเบญจพรรณ<br />

combustion factor<br />

1.00<br />

0.90<br />

0.80<br />

0.70<br />

0.60<br />

0.50<br />

0.40<br />

0.30<br />

0.20<br />

0.10<br />

0.00<br />

0.93<br />

0.75<br />

0.70<br />

0.62<br />

0.54 0.56<br />

0.50<br />

0.44<br />

0.45 0.45<br />

0.36<br />

0.29<br />

Leaf Twig Grass Undergrowth<br />

Fuel component<br />

Jan Feb Mar Apr May<br />

(b) ปาเต็งรัง<br />

รูปที่ 5 สัมประสิทธิ์การเผาไหมของเชื้อเพลิงจําแนกตามองคประกอบเชื้อเพลิง,<br />

เดือนที่เก็บขอมูล, และประเภทปา<br />

สัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมเชื้อเพลิง Emission factor (EF) จะใชขอมูลจาก<br />

คูมือการคํานวณ 2006 IPCC Guideline ซึ่งไดรวบรวมผลการศึกษาของ Andreae และ Merlet (2001) แสดงดัง<br />

ตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 สัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมชีวมวล (Emission factor) ของ 2006<br />

IPCC Guideline<br />

ประเภทปา<br />

Tropical forest<br />

คาการปลอย (Emission factor) กรัมตอกิโลกรัมของชีวมวล<br />

CO CH 4 N 2 O NO x<br />

104 6.8 0.2 1.6<br />

± 20 ± 2.0 ± 0.7<br />

534


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากขอมูล FHS จากดาวเทียม MODIS พบวา ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 จํานวนไฟปา (NF)<br />

รวมทั้งหมดเทากับ 27,817 ครั้ง โดยเกิดมากที่สุดในปาเบญจพรรณเทากับ 17,486 ครั้ง รองมาคือปาเต็งรังเทากับ<br />

6,988 ครั้ง และสุดทายคือปาประเภทอื่นๆ เชน ปาดิบแลง และปาสน เปนตน เทากับ 3,343 ครั้ง ซึ่งไฟปาจะเกิด<br />

มากที่สุดในเดือนมีนาคมของทุกป และป พ.ศ. 2550 เกิดไฟปามากที่สุดเทากับ 6,787 ครั้ง<br />

จากการคํานวณพื้นที่ไฟปา (BA) พบวาไฟปากอใหเกิดความเสียหายรวมเทากับ 201,404 เฮกตาร แยก<br />

เปนพื้นที่เสียหายในปาเบญจพรรณเทากับ 120,953 เฮกตาร ปาเต็งรังเทากับ 58,353 เฮกตาร และปาอื่นๆเทากับ<br />

22,097 เฮกตาร ผลการศึกษาในการประเมินพื้นที่ไฟปาแสดงดังตารางที่ 3<br />

จากการคํานวณขอมูลกิจกรรมการเผาชีวมวล (Activity data) พบวา ชีวมวลหรือเชื้อเพลิงที่ผิวดิน<br />

(Surface fuel) ในพื้นที่ปาถูกเผาไหมรวมเทากับ 544,755 ตัน โดยป พ.ศ. 2550 ชีวมวลจะถูกเผาไหมมากที่สุด<br />

เทากับ 146,256 ตัน ผลการศึกษาในการประเมินการเผาไหมของชีวมวลแสดงดังตารางที่ 4<br />

เมื่อนําขอมูลกิจกรรมการเผาชีวมวล (Activity data) มาคํานวณรวมกับคาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือน<br />

กระจก (Emission factor) จากการเผาไหมชีวมวล พบวา ไฟปากอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจก non CO 2 จาก<br />

การเผาไหมชีวมวล โดยปลอยกาซมีเทน (CH 4 ) รวมเทากับ 56,655 ตัน และกาซไนตรัสออกไซด (N 2 O) รวม<br />

เทากับ 108 ตัน และคิดเปนการปลอยกาซเรือนกระจกเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 eq) รวมเทากับ<br />

111,564 ตัน โดยป พ.ศ. 2550 มีการปลอยกาซเรือนกระจกเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุดเทากับ<br />

29,953 ตัน ผลการศึกษาในการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปาดังตารางที่ 5<br />

ตารางที่ 3 ผลการประเมินพื้นที่ไฟปาในประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552<br />

ประเภทปา<br />

พื้นที่ไฟปา (เฮกตาร)<br />

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552<br />

รวม<br />

ปาเบญจพรรณ 23,625 15,083 32,778 26,878 22,590 120,953<br />

ปาเต็งรัง 9,253 7,756 16,252 13,393 11,699 58,353<br />

ปาอื่นๆ 3,827 2,492 4,197 9,915 1,666 22,097<br />

รวม 36,705 25,331 53,227 50,186 35,955 201,404<br />

ตารางที่ 4 ผลการประเมินการเผาไหมชีวมวลจากไฟปาในประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552<br />

ประเภทปา<br />

การเผาไหมชีวมวลจากไฟปา (ตันของชีวมวลแหง)<br />

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552<br />

รวม<br />

ปาเบญจพรรรณ 63,745 42,325 92,419 77,124 63,022 338,635<br />

ปาเต็งรัง 23,036 19,919 43,647 35,786 30,089 152,477<br />

ปาอื่นๆ 9,291 6,050 10,189 24,070 4,044 53,643<br />

รวม 96,072 68,293 146,256 136,979 97,155 544,755<br />

535


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 5 ผลการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกภาคไฟปา ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552<br />

ป พ.ศ.<br />

ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก non CO2 (ตัน)<br />

CO CH 4 N 2 O NO x CO 2 eq<br />

2548 653 9,991 19 154 19,675<br />

2549 464 7,103 14 109 13,986<br />

2550 995 15,211 29 234 29,953<br />

2551 931 14,246 27 219 28,053<br />

2552 661 10,104 19 155 19,897<br />

รวม 3,704 56,655 108 871 111,564<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปาจะใชวิธีการประเมินตามคูมือการคํานวณของ<br />

2006 IPCC Guideline ซึ่งมีการประเมินไฟปาอยูในการจัดทําบัญชีการปลอยกาซเรือนกระจกดวย โดยจะปลอย<br />

กาซเรือนกระจกประเภท Non CO 2 ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหมของชีวมวลในพื้นที่ปา ในการประเมินจะใช<br />

ขอมูล FHS ของดาวเทียม MODIS รวมกับขอมูลการใชประโยชนที่ดิน (Land use) จากกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อ<br />

จําแนกประเภทของปาที่ไดรับความเสียหายจากไฟปา การพัฒนาวิธีดังกลาวทําใหสามารถยกระดับการคํานวณสู<br />

ระดับเทียร (Tier) ที่สูงขึ้น โดยการคํานวณครั้งนี้จะอยูในระดับเทียร 2 (Tier 2) กลาวคือ ในการประเมินขอมูล<br />

กิจกรรม (Activity data) การเผาไหมของเชื้อเพลิงจาไฟปา ไดใชขอมูลพื้นที่ไฟปา (BA) ซึ่งมีการจําแนกประเภทปา<br />

ที่เสียหาย รวมถึงขอมูลความหนาแนนของเชื้อเพลิง (M B ) และสัมประสิทธิ์การเผาไหม (C F ) ไดใชขอมูลที่มี<br />

การศึกษาสําหรับไฟปาในประเทศไทย (Country-specific data) และสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจกจากการ<br />

เผาไหม Emission factor (EF) ไดใชคาแนะนํา (Default value) จากคูมือการคํานวณ 2006 IPCC Guideline<br />

ผลการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากไฟปา พบวา ไฟปาในประเทศไทยตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง<br />

พ.ศ. 2552 มีการปลอยกาซเรือนกระจกประเภท Non CO 2 คิดเปนเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 eq)<br />

เทากับ 111,564 ตัน เมื่อพิจารณาเปนรายป พบวา ป พ.ศ. 2550 มีการปลอยมากที่สุดคิดเปนเทียบเทากาซ<br />

คารบอนไดออกไซด (CO 2 eq) เทากับ 29,953 ตัน สําหรับแนวโนมของการปลอย พบวา เพิ่มขึ้นในชวง 3 ปแรก<br />

และลดลงตั้งแตป พ.ศ. 2550 จนถึง ป พ.ศ. 2552<br />

ผลจากการศึกษาสามารถเปนแนวทางในการนําไปสูการพัฒนาวิธีการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากไฟปา และการเผาชีวมวลประเภทอื่นๆ เชน เศษวัสดุเกษตร โดยการใชขอมูลภาพถายดาวเทียม (Satellite<br />

image) รวมกับขอมูลการใชประโยชนที่ดิน (Land use) ในการประเมินขอมูลกิจกรรมการเผาชีวมวล (Activity<br />

data)<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) (1996), Revised 1996 IPCC<br />

Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories: Workbook, Module 5: Land-use<br />

Change and Forestry.<br />

536


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) (2006), IPCC Guidelines for<br />

National Greenhouse Gas Inventories: Workbook, Volume 4: Agriculture, Forestry and<br />

Other Land.<br />

- Andreae, M.O., Merlet, P. (2001), Emission of trace gases and aerosols from biomass<br />

burning. Global Biogeochemical Cycles, 15(4), pp. 955-966.<br />

- Asian Institute of Technology, Geoinformatics Center, http://www.geoinfo.ait.ac.th/mod14<br />

- กรมพัฒนาที่ดิน (2550), ขอมูลการใชประโยชนที่ดินของประเทศไทย ป พ.ศ. 2550<br />

- สวนควบคุมไฟปา สํานักปองกัน ปรามปราม และควบคุมไฟปา (2553), ขอมูลสถิติไฟปาใน<br />

ประเทศไทย, http://www.dnp.go.th/forestfire/index.htm<br />

- สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 16 (เชียงใหม), ขอมูลการบันทึกไฟปา 1 (ฟป 1) ในพื้นที่จังหวัด<br />

เชียงใหม และลําพูน ป พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2552<br />

- สํานักควบคุมไฟปา กรมปาไม (2543), การควบคุมไฟปา สําหรับประเทศไทย, ศิริ อัคคะอัคร<br />

537


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Extraction of Mangrove Forest Parameters using airborn lidar<br />

Wasinee Cheunban 1 and Kiyoshi Honda 2<br />

1<br />

Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)<br />

The Government Complex Commemorating His Majesty<br />

120 Building B, 9 th Fl. Chaeng Wattana Road, Tung Song Hong, Laksi, Bangkok 10210<br />

1, 2<br />

School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology (AIT)<br />

P.O. Box 4, Klong Luang, Pathumthani 12120<br />

บทคัดยอ<br />

เทคโนโลยี LiDAR (Light Detection and Ranging) เปนระบบบันทึกขอมูลความสูงของพื้นผิวภูมิประเทศ<br />

และวัถตุบนพื้นผิวโลกดวยเลเซอร เปนนวัติกรรมใหมที่ทําใหไดขอมูลความสูงมีความถูกตองมากขึ้น ใหคาความสูง<br />

ทั้งชนิดที่เปนพื้นผิวปกคลุมภูมิประเทศ (DSM: Digital Surface Model) และคาความสูงพื้นผิวภูมิประเทศ (DEM:<br />

Digital Elevation Model) การศึกษาครั้งนี้ไดนําประโยชนของเทคโนโลยีนี้มาประยุกตใชกับการสํารวจปาชายเลน<br />

เพื่อหาคาตางๆ ไดแก ตําแหนงของตนไมรายตน (xy) ,ความสูงของตนไม (H), ขนาดเรือนยอด (Cw), และขนาด<br />

เสนผานศูนยกลางของลําตนระดับอก (DBH: Diameter at Breast Height ) , ปริมาตรไม (V) และพื้นที่หนาตัด (A)<br />

โดยทดลองในพื้นที่ปาชายเลนจังหวัดสมุทรปราการ วิธีการดําเนินการสามารถแบงออกไดเปนสองสวน สวนแรกคือ<br />

กระบวนการสกัดคาตําแหนงของตนไมรายตน (xy) ,ความสูงของตนไม (H) และขนาดเรือนยอด (Cw) ออกมา โดย<br />

การสรางแบบจําลอง เรือนยอด (CHM: Canopy Height Model) จากขอมูล LiDAR (DSM - DEM) และนําเขาสู<br />

ชุดคําสั่ง TreeVaw IDL Code (Tree Variable Window) ขอมูลสํารวจในแปลงศึกษาใชในการหาคาความสัมพันธ<br />

ระหวางความสูงของตนไมและขนาดเรือนยอด Cw = 1.4334H – 1.7675 มีคา R2 = 0.79 เพื่อใชเปนสมการหาคา<br />

ขนาดของตารางวงกลม (Circular window size) ในการคนหาจุดสูงสุดของเรือนยอดและกําหนดขอบเขตของเรือน<br />

ยอดของตนไมแตละตน นอกจากนี้สมการ DBH Model: DBH=1.801Cw+1.677H-4.583 มีคา R 2 = 0.819 สรางขึ้น<br />

เพื่อใชหาคาขนาดเสนผานศูนยกลางของลําตน ตัวแปรตนที่ใชคือคาความสูงและขนาดเรือนยอดที่ไดจากการสกัด<br />

จากขอมูล LiDAR การศึกษาสวนที่สองคือการสรางแบบจําลอง Trunk Diameter Function: R(x) = ax b เปนชุด<br />

สมการที่ใชประมาณคาปริมาตรไม (V) และพื้นที่หนาตัด (A) ตามลําดับความสูง ขั้นตอนสุดทายของการศึกษาคือ<br />

การสรางโปรแกรม MangroveShape เพื่อลดความซับซอนในการคํานวณหาคาพารามิเตอรตางๆของตนไมในปา<br />

ชายเลน งานวิจัยครั้งนี้สามารถสรุปไดวาเทคโนโลยี LiDAR มีศักยภาพในการสํารวจปาไมระดับตน (individual<br />

tree) ทั้งนี้คาพารามิเตอรตางๆ ที่สกัดไดจากขอมูล LiDAR สามารถนําไปตอยอดคํานวนหาคาอื่น ๆ ไดอีกมาก<br />

เชน คํานวนการลดแรงปะทะจากคลื่นยักษบริเวณปาชายเลน ปริมาณชีวมวล ปริมาณคารบอนสะสม และติดตาม<br />

ความอุดมสมบูรณปาไม เปนตน<br />

Keyword: LiDAR, Mangrove Forest, Tree Height, Volume, Basal Area<br />

538


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

In this thesis research, Canopy Height Model (CHM) deriving from LiDAR was employed to<br />

extract the essential parameters of mangrove tree attributions at individual tree scale e.g. tree top, tree<br />

height and crown width. The investigation of the relationship of tree crown and tree height from ground<br />

inventory leads to the implement of linear regression which was used to specify the circular window size<br />

to estimate tree apex, tree height and crown width from CHM. The comparisons of estimated value and<br />

ground truth were established. RMS error and relevant statistic were considered. Consequently, effective<br />

stem volume and projected area at level height are the critical parameters. Trunk shape functions based<br />

on Komiyama model were implemented to calculate stem volume and projected area of mangrove tree at<br />

each height. The results reveal that the relationship of tree height and crown diameter from field inventory<br />

is rather positive explained by linear regression with high coefficient correlation R2 (0.791). TreeVaW is<br />

capable to extract mangrove forest parameters from Canopy Height Model (CHM) deriving from LiDAR<br />

with RMS error of 0.155m, 0.29m, 0.599m, 0.781cm according to tree location in X, location in Y , tree<br />

height and crown width respectively. Consequently, the investigation of the strong relationship between<br />

DBH, tree height and crown width from the field (R 2 = 0.91) leads to the construction of DBH model that<br />

can be used to estimate DBH from tree height and crown width from LiDAR. To validate the model,<br />

estimated DBH was compared with the observed DBH resulting in the positive with R 2 of 0.819. Trunk<br />

diameter function for simulating the tree trunk shape and calculating the attributes of mangrove tree was<br />

developed and investigated based on the assumption of cylinder model and R(x) = ax b model. The<br />

examination of results express that trunk diameter function has a potential to calculate trunk volume and<br />

projected area along height level. Following outcomes will be further used to future work for example<br />

resistant form Tsunami wave mangrove forest, biomass and carbon stock.<br />

1. Introduction<br />

Due to the limitation of ground data acquisition in mangrove region, Geo-spatial technology that<br />

can capture the meaningful data along the coastal is promoted. Usually, it consists of Geoinformatics.<br />

With the advantages of this technology, wide scale data capture, near real-time monitoring, spatial data<br />

management and decision support system is capable to establish. Therefore, passive remote sensing that<br />

detecting the surface objects by utilizing radar pulse becomes the new option to achieve the meaningful<br />

information in all situations, day and night, dry and rainy. Passive image generally have the several kinds<br />

relying on the platform, space borne or airborne. LiDAR known as LiDAR (Light Detection and Ranging) is<br />

fast becoming the preferred acquisition technique for forest canopy. In addition to providing a<br />

characterization of ground topography, LiDAR data give new information about the canopy surface and<br />

vegetation parameters, such as height, stem density, and crown dimension. Airborne laser mapping<br />

technology that increase another dimension in height for measuring forest attributes by offering accurate<br />

three dimensional profiles without the logistical difficulties of extensive ground surveys should be deem (<br />

539


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

M. A. Lefsky, 2002). LiDAR sensor allows scientists to analyze forests in a three-dimensional format over<br />

large areas.<br />

Figure 1.1 The study area at Bang Poo region, Samutprakan province<br />

1.2 Study area: The study site is located at Bang Poo sub-district (Tambon) along the coastline of<br />

Samutpakarn province, Thailand. The study area is approximately 100m x 100m. This region includes the<br />

dense mangrove forest in various stages of similar tree species (Avicennia marina). This study area is a<br />

flat in a tidal and mud zone with the mean elevation less than 1m.<br />

1.3 LiDAR dataset<br />

- Acquiring date: June, 2005 during 9 – 12 a.m.<br />

- System: Optech Airborne Laser Terrain Mapper (ALTM) 2050,<br />

- Operator: LaserMap GPR Consultants, Royal Thai Survey Department and Chulalongkorn University<br />

- Accuracy: horizontal 50 cm, vertical 10 cm<br />

- Scanning Frequency Rate = 28 Hz, Laser Repetition Rate = 50 kHz<br />

- High of Flight = 1,000 meters, Swath width = 750 meters<br />

- Scanning Angle = 0 o to ±20 o , the average laser point on the study plot = 2.7 points per m 2<br />

a)<br />

b)<br />

Figure 1.2 Vertical profile of LiDAR data a) the LiDAR image on the top view and<br />

b) LiDAR image on the front of the view<br />

540


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1.4 LiDAR Profiler LiDAR is the optical equivalent of radar and uses laser energy to measure the<br />

distance to a target and to accurately depict the earth surface in a three-dimensional format. An airborne<br />

LiDAR sensor sends laser pulses to the earth’s surface and measures the range distance associated with<br />

the time difference between pulse generation and pulse return. When the sensor is flown over the forest<br />

canopy, the laser energy interacts with leaves and branches and reflects back to the instrument. A portion<br />

of the initial pulse may continue through the canopy to lower canopy layers, and possibly to the ground.<br />

Some of the LiDAR sensors are capable of monitoring not only the first or the last of the laser returns<br />

from a single pulse, or both, but also the secondary returns from within the multi-layered canopy. Modern<br />

LiDAR systems are composed of a laser sensor, GPS (Global Positioning System) receiver, and INS<br />

(Inertial Navigation System) or IMU (Inertial Measurement Unit) (Sorin C. Popescu. 2002). By accurately<br />

recording the roll, pitch and heading of aircraft with a time stamp coincident with the laser measurements<br />

and the GPS readings, the motion of the aircraft can be corrected and precise positions of the laser hits<br />

on the ground surface can be calculated. In LiDAR range measurements, two major ranging principles are<br />

applied, namely the pulse ranging and the phase difference. The latter is applied with lasers that<br />

continuously emit light. These lasers are called continuous wave (CW) lasers. In current ranging laser<br />

systems, mostly pulsed lasers are used (Sorin C. Popescu. 2002).<br />

The Advantages of LiDAR data<br />

LiDAR data is the useful information applied in the several fields. The following is a list of the main<br />

advantages of LiDAR (Chanchai, Phisan, 2004).<br />

1. The data are all collected numerically.<br />

2. The laser is an active sensor so it does not require specific sunlight conditions or even daylight.<br />

It can be flown under the clouds so well suited to tropical environment.<br />

3. It is an aerial survey, so data are collected quickly and accurately and do not need field<br />

intervention.<br />

4. The automated processing helps speed data analysis.<br />

5. The high precision of the data allows its use for planning and detailed engineering it provides<br />

data in areas difficult to access or where it is environmentally sensitive.<br />

6. And because the data are generic by nature (digital) they can be used in many different software<br />

packages and used to generate different views.<br />

2. Research objectives<br />

1. To extract the essential mangrove forest parameters, tree height, crown width and DBH,<br />

based on an individual tree crown from LiDAR,<br />

2. To implement the solution for calculating the trunk volume and projected area at each height<br />

level.<br />

541


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. METHODOLOGY<br />

The methodology separate to two scenarios base on the objective. This sub-chapter describes the<br />

research beginning with the scenarios one (figure3.1) that is the extraction of tree canopy height model<br />

through the raw LiDAR point data. In parallel, field observation which consists of tree height, crown width<br />

and DBH must be done. The IDL code namely TreeVaW plays the important role to extract tree height,<br />

crown width from CHM. With the derived- LiDAR tree height, crown width and DBH, the relationship of<br />

those were investigated in single tree crown level. The DBH algometric model is set up to estimate the<br />

DBH from LiDAR. The model validation is performed in the final step. Second scenario of this study is the<br />

calculation of the trees volume (Vo) and projected area Ao under water for Tsunami Run-up Model. The<br />

stem volume equation of mangrove tree that is a function of DBH and tree height used to develop the<br />

trunk diameter function. The overall methodologies can be summarized in the Figure 3.1. The details for<br />

each step are deeply explained below.<br />

Scenario 1<br />

Scenario 2<br />

Figure 3.1 Flowchart of methodology<br />

542


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

The in situ data were collected during December 2008 - February 2009 by measuring the tree<br />

attributes in 100m x 120m of plot. An individual tree measurement was taken for their position, height,<br />

crown width and DBH.<br />

3.1 Canopy Height Model (CHM) or CHM is described as the difference between tree canopy hits and<br />

the corresponding DEM values. Tree canopy hits or first-return LiDAR points are usually interpolated to<br />

be as a regular grid that corresponds to the digital surface model (DSM). The tree canopy model is the<br />

DSM that is obtained by interpolating the first LiDAR returns to be as a regular grid subtracted by the<br />

digital elevation model (DEM) that takes an advantage of the last return values that shown in following<br />

equation.<br />

CHM = value_DSMij – value_DEMij<br />

3.2 Extraction of mangrove forest parameter TreeVaW is a canopy height model (CHM) processing<br />

software implemented in IDL and focusing on locating and extracting forest inventory parameters at an<br />

individual tree level from a LiDAR-derived canopy height model such as tree location, height and crown<br />

diameter. The input is a LIDAR-derived canopy height model (CHM) in ENVI image format. TreeVaW can<br />

also be used with appropriate settings for processing multispectral imagery-derived CHM. The output<br />

consists of individual tree positions, tree height, crown radius and number of tree.<br />

Figure 3.2 The chart show input and output of TreeVaW CR: Crown Radius, H:Tree height<br />

3.3 DBH algometric Model The DBH algometric model used to estimate the DBH by LiDAR base on the<br />

relationship between tree height, crown width, and DBH from ground inventory data. For generating the<br />

DBH algometric model, the regression model used to explants the relationship of DBH and other tree<br />

parameters. Several times is needed to evaluate the best model that can provide the strength of the<br />

relationship between crown width, tree height and DBH (DBH = f [Cw, H] ). The independent variables<br />

when estimating DBH was the tree height and crown width derived from LiDAR. After receiving the DBH<br />

algometric model, tree height and crown width extracted from LiDAR were used to be the input for DBH<br />

algometric model.<br />

3.4 Estimation of effective stems volume and projected area The calculations of tree volume and<br />

projected area according to the function of height were developed by trunk diameter function. Trunk<br />

543


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

diameter function was developed based on common algometric equation generated by Akira Komiyama et<br />

al., 2005. Komiyama’s model pointed out that Vs (stems volume or Ws/1000ρ (m 3 )) and DBH 2 x H’s<br />

relationship is equal to any species of mangrove. Trunk’s weight (Ws) is derived as SG (density)<br />

multiplied by Vs which means Ws, DBH and H are independent parameters. This equation shows that<br />

how trunk weight equation to volume of a mangrove tree can be transformed.<br />

Komiyama’s model<br />

Ws = 0.0687ρ(DBH 2 x H) 0.931<br />

DBH(cm) Diameter at breast height<br />

H(m) Tree height<br />

Ws(m 3 ) Trunk volume<br />

ρ(t/m -3 ) Mean wood density of mangroves<br />

Thus, Trunk volume of a mangrove tree can be calculated by: Vs<br />

Vs =<br />

×<br />

0.724<br />

1.826 0.931<br />

0.0687<br />

× 10 × DBH H<br />

To identify constant of Vs equation<br />

Vs = π ⋅ C ⋅ DBH<br />

πC<br />

= 0.687 × 10<br />

0.724<br />

0.0687 × 10<br />

C =<br />

π<br />

C = 0.115826215<br />

1.862<br />

0.724<br />

× H<br />

0.931<br />

Figure 3.3 The assumptions of function R(x)<br />

To reckon the tree volume and projected area regarding function of tree height, trunk diameter<br />

function r(h) or R(x) were assumed to explain the attributes of tree trunk shape. Trunk diameter function<br />

544


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

uses the cylinder shape for generating the tree trunk shape radius from ground to DBH level (h 1.3m).<br />

To fine trunk diameter function r(h) or R(x) are obtained. Trunk volume of a mangrove tree<br />

0.724<br />

2 0.931<br />

Vs = 0.0687<br />

× 10 × ( DBH × H )<br />

------------ [1]<br />

Vs = πC(<br />

DBH<br />

α = 0.931<br />

× H )<br />

C = 0.115826215<br />

2<br />

α<br />

Variable ‘a’ and ‘b’ are the constant values of the trunk diameter function R(x) that can be calculated by:<br />

DBH<br />

−b<br />

a = ( H − BH)<br />

------------ [2]<br />

2<br />

1 ⎛ H − BH ⎞<br />

b = ⎜<br />

−1<br />

2( α −1)<br />

α<br />

⎟<br />

2 ⎝ 4C<br />

⋅ DBH H − BH ⎠<br />

------------ [3]<br />

For the assumption of the function R(x) = ax b , ‘a’ and ‘b’ is the constant value of tree trunk shape used to<br />

illustrate how DBH from ground to tree top change. Afterward, they were utilized to calculate tree volume<br />

and project area under water. The functions can be classified into two parts. The first part is served for<br />

the tree volume calculation at level less than or equal to BH (1.3m) illustrated in equation [4]. The second<br />

part is used for calculating tree volume at level higher than 1.3 m shown in equation [5]. Similar<br />

conditions of two parts are also applied for projected area calculation by equation [6] and [7].<br />

Volume of a mangrove under water (depth = d)<br />

Part 1: when water depth (d) ≤ 1.3 meter<br />

DBH<br />

= π<br />

V h < d<br />

4<br />

2<br />

Part 2: when water depth (d) ≥ 1.3 meter<br />

V<br />

h><br />

d<br />

DBH<br />

= π<br />

4<br />

2<br />

d<br />

2<br />

⎡ a<br />

1.3 + π ⎢ x<br />

⎣2b<br />

+ 1<br />

2b+<br />

1<br />

H −1.3<br />

H −d<br />

2<br />

2<br />

DBH a<br />

2b−1<br />

Vh><br />

d<br />

= π 1.3 + π (( H −1.3)<br />

− ( H − d)<br />

4 2b<br />

+ 1<br />

Projected area of a mangrove under level height (depth = d)<br />

Part 1: when water depth (d) ≤ 1.3 meter<br />

A h < d<br />

= DBH ⋅ d<br />

Part 2: when water depth (d) ≥1.3 meter<br />

A<br />

h><br />

d<br />

= DBH ⋅ d + ∫<br />

= DBH ⋅ d +<br />

∫<br />

d<br />

1.3<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

2 r(<br />

h)<br />

dh<br />

H −1.3<br />

H −d<br />

⎡ 2a<br />

= DBH ⋅ d +<br />

⎢<br />

x<br />

⎣b<br />

+ 1<br />

2b+<br />

1<br />

2R(<br />

x)<br />

dx = DBH ⋅ d +<br />

H −1.3<br />

b+ 1⎤<br />

⎥⎦<br />

H −d<br />

)<br />

∫<br />

H −1.3<br />

H −d<br />

------------ [4]<br />

------------ [5]<br />

b<br />

2ax<br />

dx<br />

------------ [6]<br />

545


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2 a<br />

b+1 b+<br />

A<br />

(( 1.3) ( )<br />

1<br />

h> d<br />

= DBH ⋅ d + H − − H − d ) ------------ [7]<br />

b + 1<br />

In additional, a MangroveShape program is developed to solve the equation to obtain parameter<br />

a and b by input H and DBH. When obtain a and b, program will compares volume from Komiyama<br />

model and integration, as well as DBH given and DBH from function R(x), radius = ax b . The<br />

MangroveShape program provides calculation become easier.<br />

4. RESULTS<br />

4.1 Simulation of Canopy Height Model<br />

At first, canopy height model was interpolated from LiDAR by linear equation. The result was<br />

illustrated in figure 5.1. By the subtraction of DEM and DSM, Canopy Height Model (CHM) was extracted.<br />

The results showed that three-dimensional surface of canopy can be simulated with the pixel size of<br />

50cm. By visualization, each of tree canopies can be readily to see. The surface height was ranging from<br />

-0.06 to 10.27m with 1.26m and 2.32m of mean and standard deviation respectively.<br />

Figure 4.1 Canopy height model derived from LiDAR<br />

4.2 Tree parameters estimation from LiDAR<br />

To derive the essential forest parameters (tree position, tree height and crown width), TreeVaW<br />

parameter configuration was determined obtaining from the field data observation including: minimum tree<br />

height (4.23m), minimum - maximum crown diameter (4.31 and 15.53m). The latter is subsequently used<br />

to determine the range of circular window size (19 - 51 pixels) corresponding to the pixel size (50cm). In<br />

addition, the calculation of an appropriate window size to search for tree top is rely on the relationship<br />

between tree height and crown width data from the total of 31 trees, field inventory. Using linear<br />

regression, crown width equation was constructed to estimate an individual window size when tree height<br />

is the independent variable. This equation can determine the appropriate circular filtering window size<br />

based on tree height with an R2 of 0.791. This equation was showed in equation [8]<br />

Cw = 1.4334H – 1.7675 ----------------------- [8]<br />

546


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

16.00<br />

14.00<br />

12.00<br />

R 2 = 0.791<br />

y<br />

Crown width (m)<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

0.00<br />

0.00 2.00 4.00 6.00 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00<br />

Tree height (m)<br />

Figure 4.2 The relationship between inventory-crown width and tree height<br />

The results of tree parameter estimation compose of the tree location, tree height (tree top) and<br />

crown diameter. In addition, tree density per unit area can be calculated. In the figure 4.3, the red points<br />

represent the tree top (the highest value within tree crown). They also were assumed as the tree location<br />

including X and Y coordinate.<br />

= true position from field<br />

= predicted tree position<br />

from LiDAR<br />

Figure 4.3 The tree position overlay on canopy height model. Figure 4.4 The tree position from<br />

ground truth and tree position from LiDAR estimation overlay on canopy height model.<br />

Thus, this algorithm for estimating tree height and crown diameter uses a variable window size<br />

LM technique that operates under the assumption that there are multiple tree crown shapes and sizes<br />

and that the moving LM filter should be adjusted to an appropriate size that corresponds to the spatial<br />

structure found on the LiDAR image and on the ground.<br />

547


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

As a result of local maximum filtering, tree positions (tree tops) were predicted and illustrated by<br />

red circle symbol in figure 4.4. Tree positions (tree tops) measured from the field by GPS were compared<br />

with their locations extracted from LiDAR in both directions. The results showed that there are some<br />

errors in X and Y distance with an RMSE of 0.155 and 0.290 respectively. However, predicted locations<br />

were placed within the crown boundary<br />

4.3 DBH Model As a results of LiDAR extraction from canopy height model, tree height and crown width<br />

at individual scale were obtained. In this model, DBH is considered as an independent factor which is not<br />

directly extracted from LiDAR. To derive DBH model, the relationship of crown width, tree height and DBH<br />

from field inventory (30 samples) have to be investigated. The LiDAR predicted DBH and field- measured<br />

DBH from correlate well with an R 2 value of 0.819 (Figure 4.5)<br />

DBH=1.801Cw+1.677H-4.583 ----------------- [11]<br />

40.00<br />

R 2 = 0.8194<br />

Field-measured DBH (cm)<br />

35.00<br />

30.00<br />

25.00<br />

20.00<br />

15.00<br />

10.00<br />

5.00<br />

0.00<br />

0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00<br />

LiDAR- predicted DBH (cm)<br />

Figure 4.5 Predicted vs. field- measured DBH<br />

4.4 Trunk diameter function<br />

Constant value of a and b were derived from function of R(x) = ax b after solving trunk diameter<br />

function. Couple derived values, a and b acquired from equation [4], [5] respectively were capable to<br />

explain shape, size of tree trunk attributes corresponding to tree height (x). Practically, trunk diameter<br />

function were applied to 52 trees in the study plot to calculate a and b. Table 4.1 provides the examples<br />

of tree trunk attributes and trunk shape graph shown in figure 4.6.<br />

Table 4.1 The information and a, b value of mangrove tree<br />

TREE ID H DBH a b<br />

3 8.25 0.33 0.03090 0.86046<br />

548


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Figure 4.6 Trunk shape line graph of mangrove tree<br />

by function of Cylinder and R(x) = ax b<br />

4.5 Trunk volume and projected area The conclusion of trunk volume and projected area at plot scale is<br />

provided in table 4.2. It reveals that separated trunk volume starts from 1 m 3 at 0.5m level to 7.36 m 3 at<br />

5m. The total plot trunk volume is approximately 8.187 m 3 . In similar, separated projected area is ranging<br />

from 5.39 m 2 to 34.72 m 2 along the ground to 5m with the total plot projected area about 41.348 m 2 . In<br />

case of estimated DBH, the total plot and mean plot equal to 10.80m and 22.97cm respectively.<br />

Table 4.2 Mangrove forest plot volume and projected area<br />

Height level (m) Volume(m 3 ) Projected Area (m 2 )<br />

0.5 1.0386 5.3976<br />

1.0 2.0772 10.7951<br />

1.5 3.1057 15.5100<br />

2.0 4.0327 19.0300<br />

2.5 4.8416 22.3021<br />

3.0 5.5392 25.3212<br />

3.5 6.1326 28.0809<br />

4.0 6.6292 30.5740<br />

4.5 7.0370 32.7908<br />

5.0 7.3645 34.7292<br />

Total 8.1878 41.3487<br />

5. CONCLUSION<br />

In the first scenario, the main objective of this research was to examine the application of LiDAR<br />

and semi-automatic algorithm to identify tree location, crown diameter and tree height at individual tree<br />

level. The initial results reveal that the relationship of tree height and crown diameter from field inventory<br />

549


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

is rather positive explained by linear regression with high coefficient correlation R2 (0.791). It means that<br />

this relation can be used to determine the specific circular filtering window size for tree top searching. In<br />

addition, it is capable to extract mangrove forest parameters from Canopy Height Model (CHM) deriving<br />

from LiDAR with RMS error of 0.155m, 0.29m, 0.599m, 0.781cm according to tree location in X, location<br />

in Y , tree height and crown width respectively. Consequently, the investigation of the strong relationship<br />

between DBH, tree height and crown width from the field (R 2 = 0.91) leads to the construction of DBH<br />

model. The objective of this model is to estimate DBH from tree height and crown width obtaining from<br />

LiDAR. To validate the model, estimated DBH was compared with the observed DBH resulting in the<br />

positive with R 2 of 0.819.<br />

In the second scenario, trunk diameter function for simulating the tree trunk shape and<br />

calculating the attributes of mangrove tree was developed and investigated based on the assumption of<br />

cylinder model and R(x) = ax b model. The examination of results express that trunk diameter function has<br />

a potential to calculate trunk volume and projected are under water level. Following outcomes will be<br />

further used to calculate the resistant force against Tsunami wave in the Tsunami run-up model. Finally,<br />

MangroveShape program developed in this research makes the users to calculate the significant<br />

parameters easily.<br />

6. REFERENCE<br />

- Blair JB, Hofton MA.1999.Modeling laser altimeter return waveforms over complex<br />

vegetation using high-resolution elevation data.Geophysical Research Letters 26:2509–<br />

2512.<br />

- Brandtberg T, Warner TA, Landenberger RE, McGraw JB. 2003. Detection and analysis<br />

of individual leaf-off tree crowns in small footprint, high sampling density LiDAR data<br />

from the eastern deciduous forest in North America. Remote sensing of environment,<br />

v85, p290.<br />

- Dubayah R, Blair JB, Bufton JL, Clark DB, JaJa J, Knox R, Luthcke SB, Prince S,<br />

Weishampel J., (1997) The vegetation canopy LiDAR mission. Pages 100-112 in<br />

Proceedings of Land Satellite Information in the Next Decade, II: Sources and<br />

Applications. Bethesda (MD): American Society of Photogrammetry and Remote<br />

Sensing.<br />

- Dubayah, Ralph O. Drake, Jason B., (2000), LiDAR Remote Sensing for Forestry,<br />

Journal of Forestry, Volume 98, Number 6, 1 June 2000, pp. 44-46(3)<br />

- Friedlaender, H. and Koch, B., 2000. First experience in the application of laser scanner<br />

data for the assessment of vertical and horizontal forest structures. International<br />

Archives of Photogrammetry and Remote Sensing, 33(B7).<br />

- H. Balzter, C.S. Rowland and P. Saich (2007) Forest canopy height and carbon<br />

estimation at Monks Wood National Nature Reserve, UK, using dual-wavelength SAR<br />

550


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

interferometry, Remote Sensing of Environment, In Press, Corrected Proof, Available<br />

online 26 December 2006.<br />

- H. J. Zwally, B. Schutz, W. Abdalati, J. Abshire, C. Bentley, A. Brenner, J. Bufton, J.<br />

Dezio, D. Hancock, D. Harding, et al., (2002) ICESat's laser measurements of polar ice,<br />

atmosphere, ocean, and land, Journal of Geodynamics, Volume 34, Issues 3-4,<br />

October-November 2002, Pages 405-445<br />

- HONDA Kiyoshi. Forest for Tsunami Disaster Mitigation. PowerPoint presentation, Asian<br />

Institute of Technology, 2008<br />

- J. Bryan Blair, David L. Rabine and Michelle A. Hofton (1999) The Laser Vegetation<br />

Imaging Sensor: a medium-altitude, digitisation-only, airborne laser altimeter for mapping<br />

vegetation and topography, ISPRS Journal of Photogrammetry and Remote Sensing,<br />

Volume 54, Issues 2-3, July 1999, Pages 115-122<br />

- Japan wildlife research center. Development of Tsunami energy mitigation efficiency<br />

calculation program. Tsunami manual, 2007;25(1)1-25<br />

- Jason B. Drake, Ralph O. Dubayah, David B. Clark, Robert G. Knox, J. Bryan Blair,<br />

Michelle A. Hofton, Robin L. Chazdon, John F. Weishampel and Steve Prince, (2002),<br />

Estimation of tropical forest structural characteristics using large-footprint LiDAR,<br />

Remote Sensing of Environment, Volume 79, Issues 2-3, February 2002, Pages 305-<br />

319<br />

- Kalogirou, V. (2006) Simulation of Discrete-return LiDAR signal from conifer stands for<br />

forestry applications, MSc Thesis (University of London MSc in Remote Sensing),<br />

University College London, September 2006.<br />

- KENJI HARADA, FUMIHIKO IMAMURA: Effects on Coastal Forest on Tsunami Hazard<br />

Mitigation – A Preliminary Investigation<br />

- Kenji HARADA, Latief Hamzah, Fumihiko Imamura: Study on the Mangrove Control<br />

Forest to Reduce Tsunami Impact<br />

- Kenji HARADA, Yoshiaki KAWATA. Study on Tsunami Reduction Effect of Coastal<br />

Forest due to Forest Growth, Annuals of Disaster Prevention Research Institute, Kyoto<br />

University, NO. 48C, 2005<br />

- Koetz, B.; Morsdorf, F.; Sun, G.; Ranson, K.J.; Itten, K.; Allgower, B., "Inversion of a<br />

LiDAR waveform model for forest biophysical parameter estimation," Geoscience and<br />

Remote Sensing Letters, IEEE , vol.3, no.1pp. 49- 53, Jan. 2006<br />

- Lefsky MA, Cohen WB, Acker SA, Parker GC, Spies TA, Harding D. 1999. LiDAR<br />

remote sensing of the canopy structure and biophysical properties of Douglas-fir western<br />

hemlock forests. Remote Sensing of Environment, vol 70, p 338-361.<br />

- Lewis , P. (1999) The Botanical Plant Modelling System. Agronomie: Agriculture and<br />

Environment Vol.19, No.3-4, pp.185-210<br />

- Lim, K, Treitz, P., Wulder, M., St-Onge, B., and Flood, M., (2003) LiDAR remote sensing<br />

of forest structure, Progress in Physical Geography, 27, 1, pp. 88-106.<br />

551


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Lovell JL, Jupp DLB, Calvenor DS, Coops NC. 2003. Using airborne and ground-based<br />

ranging LiDAR to measure canopy structure in Australian forests. Canadian journal of<br />

remote sensing, v29, p607.<br />

- M. A. Hofton, L. E. Rocchio, J. B. Blair and R. Dubayah (2002) Validation of Vegetation<br />

Canopy LiDAR sub-canopy topography measurements for a dense tropical forest,<br />

Journal of Geodynamics, Volume 34, Issues 3-4, October-November 2002, Pages 491-<br />

502<br />

- Ni-Meister, W.; Jupp, D.L.B.; Dubayah, R., "Modeling LiDAR waveforms in<br />

heterogeneous and discrete canopies," Geoscience and Remote Sensing, IEEE<br />

Transactions on , vol.39, no.9pp.1943-1958, Sep 2001<br />

- Peter Hyde, Ross Nelson, Dan Kimes and Elissa Levine (2007) Exploring LiDAR–<br />

RaDAR synergy—predicting aboveground biomass in a southwestern ponderosa pine<br />

forest using LiDAR, SAR and InSAR Remote Sensing of Environment, Volume 106,<br />

Issue 1, 15 January 2007, Pages 28-38<br />

- Peter Hyde, Ralph Dubayah, Wayne Walker, J. Bryan Blair, Michelle Hofton and Carolyn<br />

Hunsaker (2006) Mapping forest structure for wildlife habitat analysis using multi-sensor<br />

(LiDAR, SAR/InSAR, ETM+, Quickbird) synergy, Remote Sensing of Environment,<br />

Volume 102, Issues 1-2, 30 May 2006, Pages 63-73<br />

- P. Lewis and M. Disney (Nov 2006 Submitted; Jan 2007 Accepted) Spectral invariants<br />

and scattering across multiple scales from within-leaf to canopy, Remote Sensing of<br />

Environment.<br />

- Popescu SC, Ananth U. Kini.TREEVAW: a versatile tool for analyzing forest canopy<br />

LiDAR data – A preview with an eye towards future. Department of Computer Science<br />

Texas A & M University<br />

- Popescu SC, Wynne RH, Nelson RH. Estimating plot-level tree heights with LIDAR:<br />

local filtering with a canopy-height based variable window size. Computers and<br />

Electronics in Agriculture, 2002; 37(1-3): 71-95<br />

- Popescu SC, Wynne RH, Nelson RH. Measuring individual tree crown diameter with<br />

LIDAR and assessing its influence on estimating forest volume and biomass. Canadian<br />

Journal of Remote Sensing, 2003; 29(5):564-77.<br />

- Popescu SC, Wynne RH. Seeing the trees in the forest: using LIDAR and multispectral<br />

data fusion with local filtering and variable window size for estimating tree height.<br />

Photogrammetric Engineering & Remote Sensing 2004; 70(5):589-604.<br />

- Q. Sun and K. J. Ranson, “Modeling LiDAR returns from forest canopies,” IEEE Trans.<br />

Geosci. Remote Sens., vol. 38, no. 6, pp. 2617–2626, Jun. 2000.<br />

- Ralph Dubayah, Bryan Blair, Jack Bufton et al. The vegetation canopy LiDAR mission.<br />

http://www.geog.umd.edu/vcl/vcltext.html#rationale.<br />

- S. Y. Kotchenova, N. V. Shabanov, Y. Knyazikhin, A. B. Davis, R. Dubayah, and R. B.<br />

Myneni, Modeling LiDAR waveforms with time-dependent stochastic radiative transfer<br />

552


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

theory for remote estimations of forests structure. Journal of Geophysical Research, 108<br />

(D15), 2003.<br />

- Tetsya Hiraishi, Kenji HARADA(2003): Greenbelt Tsunami Prevention in South-Pacific<br />

Region, Report of the Port and Airport Research Institute Vol. 42, No.2 (June 2003),<br />

pp.1-23<br />

- Todd KW, Csillag F, Atkinson PM. 2003. Three dimensional mapping of light<br />

transmittance and foliage distribution using LiDAR. Canadian journal of remote sensing,<br />

v29, p544<br />

- Y. Govaerts, (1996) A Model of Light Scattering in Three-Dimensional Plant Canopies: A<br />

Monte Carlo Ray Tracing Approach. PhD thesis, Ispra, Italy: Space Applicat. Inst. JRC,<br />

1996.<br />

- Y. Imai, M. Setojima,Y. Yamagishi,N. Fujiwara. Tree height measuring characteristics of<br />

forest by LiDAR data difference in resolution. National Institute for Land and<br />

Infrastructure Management<br />

553


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน<br />

ของจังหวัดราชบุรี<br />

GHG Emission Estimation from Land-use Change in Ratchaburi Province<br />

ธนนภัทร บุญมั่น 1 2<br />

และ สาวิตรี การีเวทย<br />

1 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

126 ถนนประชาอุทิศ บางมด ทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และ<br />

ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลอม 126 ถนนประชาอุทิศ บางมด ทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการการเกิดสภาวะโลกรอนนั้นเปนผลเนื่องมาจากการปฎิ<br />

สัมพันธของกิจกรรมเชิงพื้นที่ของมนุษยทั้งทางตรงและทางออมไดกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจก<br />

(Green House Gases: GHG) เชน (CO 2 , CH 4 , N 2 O, HFCs, PFCs, SF 6 ) การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา<br />

ประเทศที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องดังกลาวจึงกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ในการใชประโยชนที่ดินและ<br />

ความสามารถในการปลอยหรือดูดซับกาซเรือนกระจกของดินโดยในประเทศที่กําลังพัฒนามีการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินสูงและอยางรวดเร็ว<br />

ในการศึกษานี้มุงเนนการประเมินการปลอยและดูดกลับของกาซเรือนกระจกจากภาคการเปลี่ยนแปลงการ<br />

ใชประโยชนที่ดินและปาไมโดยใชเทคนิคดานระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) กับการแปลวิเคราะหขอมูลจาก<br />

การปรับแกความถูกตองของชั้นขอมูลดวยภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบ TM Band (R5-G4-B3) และนําผล<br />

การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่การใชที่ดินดังกลาวมาประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกโดยใชวิธีการตาม (IPCC<br />

Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories, 2006) ในการคํานวณไดใชป 2543 เปนปฐานในการ<br />

คํานวณพื้นที่เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมเทียบกับป 2550 ของกลุมการเปลี่ยนแปลงของการใช<br />

ประโยชนที่ดินและปริมาณชีวมวล (Changes in forest land Other woody biomass stocks)<br />

ผลการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปา<br />

ไมในปพ.ศ.2550 ของจังหวัดราชบุรีผลการคํานวณการปลอย (Emission) และการดูดกลับคารบอนสุทธิ (Removal)<br />

คิดเปน 6.176 MtCO 2 eq หรือลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา สวนคาการปลอยของกาซ Non-CO 2 จากการ<br />

เผาชีวมวลในการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากพื้นที่เกษตรกรรมหรือทุงหญาปรับเปลี่ยนพื้นที่มาเปนปาไมที่ไมใชกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด และเมื่อพิจารณาผลการประเมินการปลอย CH 4 , CO, N 2 O, และ NO x ในปริมาณเทากับ 8.41,<br />

128.73, 0.25 และ 1.98 t (CH 4 , CO, N 2 O, และ NO x ) ตามลําดับและนําผลลัพธมาประเมินในรูปแบบของ CO 2<br />

equivalent พบวากาซ CH 4 มีคาเทากับ 176.61 t CO 2 eq และ กาซ N 2 O มีคาเทากับ 77.50 t CO 2 eq.<br />

คําสําคัญ: กาซเรือนกระจก (GHG) การใชประโยชนที่ดิน คาการปลอยมลพิษ<br />

554


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

A cause of climate change and global warming problem is land use change from human activities<br />

in both direct and indirect way. Land use change has a result in increasing of greenhouse gases (CO 2 ,<br />

CH 4 , N 2 O, HFCs, PFCs, SF 6 ). Continuous changing and development of the country rapidly have been<br />

occurred after industrial revolution, which has effect on economics, social, and environment, especially in<br />

developing countries. During the past decade, changes and developments of human settlements occur<br />

continuously and rapidly.<br />

This research aims to evaluate emission and absorption of GHG from land use change, including<br />

forest area by overlay layer of GIS data then evaluate data and improve quality by satellite image<br />

(Landsat-5 TM, R5-G4-B3). GHG emission is evaluated by IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas<br />

Inventories 2006. Base year of this study is 2000 in order to compare land use and forest area change<br />

with year 2007. Above ground biomass changes are considered to evaluate greenhouse gases emissions<br />

from biomass management by calculating in group changing of forest land and other woody biomass<br />

stocks.<br />

Results of GHG emission from land use and forest area change in 2007 from base year 2000 in<br />

Ratchaburi Province are in form of carbon removed. Net carbon removal is 6.176 M t CO 2 eq and Non-<br />

CO 2 emission from biomass burning of land use change in agriculture or grassland to be non-use CO 2<br />

forest is 8.41 t CH 4 , 128.73 t CO, 0.25 t N 2 O, and 1.98 t NO x , respectively. The non-CO 2 results are<br />

calculated in CO 2 equivalent form is CH 4 176.61 t CO 2 eq and N 2 O 77.50 t CO 2 eq.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการการเกิดสภาวะโลกรอนนั้นเปนผลเนื่องมาจากการปฎิ<br />

สัมพันธของกิจกรรมเชิงพื้นที่ของมนุษยทั้งทางตรงและทางออมไดกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจก<br />

(Green House Gases: GHG) เชน (CO 2 , CH 4 , N 2 O, HFCs, PFCs, SF 6 ) การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา<br />

ประเทศที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องดังกลาวจึงกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ในการใชประโยชนที่ดินและ<br />

ความสามารถในการปลอยหรือดูดซับกาซเรือนกระจกของดินโดยในประเทศที่กําลังพัฒนามีการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินสูงและอยางรวดเร็ว<br />

การประเมินการปลอยและการดูดกลับกาซเรือนกระจกจากภาคการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่และปาไมไดมี<br />

การนําภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบTM Band (5R-G4-B3) (path 129-130/Row 51) บันทึกภาพวันที่ 03-<br />

02-2543 และวันที่ 22-02-2550 Resolution 25 x 25 เมตร, Nominal Area 185 x185 km โดยคุณลักษณะเฉพาะ<br />

ของระบบ sensor ของดาวเทียมในระบบ TM (Thematic mapper) ซึ่งประยุกตใชในการติดตามการใชที่ดิน ปาไม<br />

การเกตร แหลงน้ํา ตะกอนชายฝงและภัยธรรมชาติ ซึ่ง Band (5R-G4-B3) มีชวงคลื่น Infrared สามารถใหความ<br />

แตกตางระหวางประเภทขอมูลดานการใชที่ดิน (land use) ไดดี โดยเฉพาะชนิดของพืชพันธตางๆ เชน ปาบก ปา<br />

ชายเลน พืชไรพืชสวนตางๆเปนตน (GISTDA, 2008) และนํามาวิเคราะหโดยการแปลภาพถายดาวเทียมและ<br />

ปรับแกความถูกตองของขอมูลการใชประโยชนที่ดินรวมกับฐานขอมูลการใชประโยชนที่ดินระบบสารสนเทศทาง<br />

ภูมิศาสตร (GIS) พรอมกับการตรวจสอบความถูกตองจากการลงภาคสนามในจังหวัดราชบุรี<br />

555


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกนั้นใชวิธีตามคูมือการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกป 2006 ของ<br />

IPCC (Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories 2006) ซึ่งกิจกรรมของมนุษยที่กอใหเกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินซึ่งไดจําแนกประเภทการใชประโยชนของพื้นที่ดวยกัน 6 ประเภท ไดแก พื้นที่ปา<br />

ไม พื้นที่เกษตรกรรม,พื้นที่ทุงหญา,พื้นที่ชุมน้ํา,พื้นที่อยูอาศัยและพื้นที่การใชประโยชนอื่นๆ โดยมุงเนนศึกษาการ<br />

ใชประโยชนที่ดินในประเภทดังกลาวเปลี่ยนแปลงมาเปนพื้นที่ปาไมจากฐานขอมูลการศึกษาในป พ.ศ. 2543 กับ ป<br />

พ.ศ. 2550 ในการประเมินการปลอยกาซ GHG รวมถึงการเผาชีวมวลในพื้นที่นั้นๆ จากภาคเกษตรกรรมและปาไม<br />

จะกอใหเกิดกาซอื่นๆที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซด (Non-CO 2 ) อันไดแก CH 4 , N 2 O, CO, NO x และกิจกรรมที่ไม<br />

มีการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่แตมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณการกักเก็บคารบอน เชน การใชประโยชนจากปา<br />

ในลักษณะตางๆ รวมถึงการใชฟน การนําไมออกจากปา การคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคการ<br />

เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมนี้มีทั้งการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) อันเนื่องมาจากการ<br />

สูญเสียคารบอนในชีวมวลและมีการดูดกลับกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) จากกิจกรรมการปลูกปาหรือการฟนฟู<br />

ที่ทิ้งรางใหกลับเปนปาธรรมชาติดังนั้นการดูดกลับคารบอนในภาคปาไม จึงมีความสําคัญที่จะชวยลดคาปริมาณการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกเปนผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินที่ทําการศึกษาวิจัยในครั้งนี้<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1. จําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินตาม IPCC Guideline 2006 โดยใชเทคนิคดานระบบ<br />

สารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) และขอมูลภาพถายดาวเทียม Lansat-5 ระบบ TM Band (R5-G4-B3) เพื่อ<br />

คํานวณพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลง<br />

2.ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงภาคการใชประโยชนที่ดินและปาไม<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

ในงานวิจัยนี้มุงเนนการนําเสนอรายละเอียดของวิธีการศึกษา/ระเบียบวิธีวิจัยและผลการศึกษาในเชิงปริมาณ<br />

และคุณภาพของพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมประกอบกับการคํานวณปริมาณกาซเรือน<br />

กระจกจากแหลงปลอย (Source) และการดูดซับ (Sink) ซึ่งเปนผลอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน<br />

ที่ดินในพื้นที่ศึกษาจังหวัดราชบุรี<br />

556


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 1 แผนที่การใชประโยชนที่ดินของจังหวัดราชบุรีราชบุรีป 2550<br />

3.1 พื้นที่ศึกษาและขอมูลการใชประโยชนที่ดิน<br />

พื้นที่ในการศึกษาวิจัยในการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน<br />

ของจังหวัดราชบุรี มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 5,175.24 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่พิกัดที่ 3° 31′ 44″ N และ<br />

99° 48′ 52″ E<br />

3.2 ขอมูลภาพถายดาวเทียมของพื้นที่ศึกษา<br />

ในการศึกษาการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชประโยชนที่ดินและปาไมของจังหวัดราชบุรี<br />

ดวยเทคนิคการซอนทับของชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินจากกรมพัฒนาที่ดินดวยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร<br />

(GIS) ระหวางป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2550 พรอมทั้งนําขอมูลภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบTM Band<br />

(R5-G4-B3) ใน 2 ชวงเวลา (path 129-130/Row 51) บันทึกภาพวันที่ 03-02-2543 และวันที่ 22-02-2550 ,<br />

Resolution 25 x 25 เมตร Nominal Area 185 x185 km. ในการวิเคราะหและแปลภาพถายดาวเทียมเพื่อการ<br />

ปรับแกขอมูลใหมีความถูกตองมากยิ่งขึ้นโดยวิธีเทคนิคการปรับแกจากภาพถายดาวเทียม Landsat -5 ระบบ TM<br />

Band (5R-G4-B3) เปนภาพถายสีผสมเท็จ (Pseudo Color Composite) มีลักษณะพืชพรรณเปนสีเขียวตรงกับ<br />

บริเวณพื้นที่ทําการศึกษา ซึ่งตองผานกระบวนการ Image Restoration ประกอบดวย ปรับแกความคลาดเคลื่อน<br />

เชิงเรขาคณิต(Geomantic Correction) การปรับแกความคลาดเคลื่อนเชิงรังสี(Radiometric Correction) การ<br />

Mosaic ภาพถายดาวเทียมและการจําแนกขอมูลของภาพถายดาวเทียม เปนตน ดวยระบบประมวลผลและ<br />

วิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรมดาน Remote sensing หรือปรับปรุงขอมูลที่มีขอบกพรองในคุณสมบัติตางๆใหมีความ<br />

ถูกตองและใหมีความละเอียดชัดเจนเพื่อเตรียมพรอมในการวิเคราะหขอมูล หลังจากนั้นนําขอมูลภาพถายดาวเทียม<br />

มาวิเคราะหรวมกับชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดราชบุรีในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ฐานขอมูล<br />

การใชประโยชนที่ดินดาน GIS ปทีใชศึกษาคือป พ.ศ. 2543 และป พ.ศ. 2550 ซึ่งทําการจัดกลุมและจําแนก<br />

ประเภทการใชประโยชนที่ดินใหมซึ่งสามารถจําแนกออกเปน 6 ประเภทตาม IPCC (Guidelines for National<br />

Greenhouse Gas Inventories 2006) ดังนี้ 1.พื้นที่ปาไม (Forest Land) 2.พื้นที่เกษตรกรรม (Cropland) 3.พื้นที่<br />

557


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ทุงหญา (Grassland) 4.พื้นที่ชุมน้ํา (Wetlands) 5.พื้นที่อยูอาศัย (Settlements) 6.พื้นที่อื่นๆ (Other land) (IPCC,<br />

2006) โดยใชหลักการและเทคนิคการซอนทับกันของชั้นขอมูลในระบบประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดวย<br />

โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร Arcgis v.9.3 เพื่อไดพื้นที่ของการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินในแตละประเภท<br />

ของการใชพื้นที่ระหวางปพ.ศ. 2543 กับ ปพ.ศ.2550 เตรียมพรอมเปนฐานขอมูลเพื่อนํามาใชในการคํานวณการ<br />

ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชประโยชนที่ดินและปาไมของจังหวัดราชบุรีโดยจะทําการคํานวณและ<br />

ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกตาม IPCC Guidelines 2006<br />

3.3 วิธีการประเมินการปลอย/ดูดซับ กาซเรือนกระจกในภาคการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปา<br />

ไมตามวิธีการ Guideline IPCC 2006<br />

3.3.1 วิธีการจําแนกการใชประโยชนที่ดิน<br />

ทําการจัดกลุมและจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินใหมซึ่งสามารถจําแนกออกเปน 6 ประเภทตาม<br />

วิธีการ IPCC (2006 Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories) ดังนี้ 1.พื้นที่ปาไม (Forest Land)<br />

2.พื้นที่เกษตรกรรม (Cropland) 3.พื้นที่ทุงหญา (Grassland) 4.พื้นที่ชุมน้ํา (Wetlands) 5.พื้นที่อยูอาศัย<br />

(Settlements) 6.พื้นที่อื่นๆ (Other land)และใชทางเลือกในการตัดสินใจของการคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดราชบุรีในระดับ Tier 1 โดยจะคํานวณเฉพาะในกลุมของการ<br />

เปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดินและปริมาณชีวมวล (Changes in forest land Other woody biomass<br />

stocks)<br />

3.3.2 การประเมินปริมาณการปลอยหรือการดูดซับ<br />

วิธีการคํานวณตาม Good Practice Guidance for Land Use, Land-Use Change and Forestry ป<br />

2003และ 2006 โดยการคํานวณการปลดปลอย/ดูดกลับกาซเรือนกระจกจะพิจารณากาซ CO 2 จากกิจกรรมการ<br />

ปลูก/ตัดโคนสวนปาเปนหลัก โดยมีสมการทั่วไปดังนี้<br />

การเปลี่ยนแปลงปริมาณชีวมวลตอป = ปริมาณชีวมวลที่เพิ่มขึ้นจากการเจริญเติบโต –<br />

ปริมาณการสูญเสียชีวมวลจากการตัดโคน<br />

(1)<br />

โดยปริมาณชีวมวลที่เพิ่มขึ้นจากการเจริญเติบโตเปนผลรวมของ {เนื้อที่ของการปลูกปาแตละชนิด ×<br />

อัตราการเจริญของพืชสวนปาแตละชนิด} สวนปริมาณการสูญเสียชีวมวลจากการตัดโคน เปนผลรวมของ {พื้นที่ตัด<br />

โคนของพืชแตละชนิด × ปริมาณชีวมวลตอพื้นที่ของพืชชนิดนั้น หรือ ปริมาตรไมที่ถูกตัด × expansion ratio<br />

(0.32 ton dry matter/m 3 } เมื่อทราบปริมาณชีวมวลแลว ก็สามารถนํามาเปลี่ยนเปนปริมาณคารบอน โดยนํา<br />

ปริมาณชีวมวลมาคูณดวยสัดสวนของเนื้อไมที่เปนคารบอน (ประมาณ 50% แตกตางกันไป ขึ้นกับชนิดของพืช)<br />

ในการคํานวณใน Sub-sector นี้ ใชวิธีตาม Tier 1 การคํานวณการเปลี่ยนแปลงปริมาณคารบอนจากกิจกรรมการใช<br />

พื้นที่ของมนุษยที่มีผลตอการเพิ่มหรือลดปริมาณคารบอนและกาซเรือนกระจกอื่นๆ ซึ่งรวมถึงกิจกรรมการปลูกปา<br />

ถาวร การปลูกปาเพื่อการพาณิชยและอุตสาหกรรม กิจกรรมการใชประโยชนจากผืนปาที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง<br />

ปริมาณการกักเก็บคารบอนในปา เชน การใชฟน การตัดไมเพื่อวัตถุประสงคใชประโยชนในลักษณะตางๆ เปนตน<br />

โดยในงานศึกษาวิจัยนี้ตาม 2006 IPCC Guideline จะคํานวณคารบอนเฉพาะในสวนของ ชีวมวลเหนือดินจาก<br />

พื้นที่ปา (Aboveground biomass) ซึ่งจะใชขอมูลจากคําแนะนําจาก IPCC 2006 ในระดับ Tier 1 คํานวณและการ<br />

ปลอยของกาซ Non-CO 2 จากการเผาชีวมวลในการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากพื้นที่เกษตรกรรมหรือทุงหญาปรับเปลี่ยน<br />

พื้นที่มาเปนปาไมที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซด (JGSEE, 2553)<br />

558


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.3.3 ขอมูลดานกิจกรรม (Activity Data)<br />

ปริมาณพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินระหวางป 2543 กับ ป 2550 ผลการวิเคราะหขอมูล<br />

จากการซอนทับของชั้นขอมูล GIS ของป พ.ศ. 2543และป พ.ศ. 2550 จากกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงกระเกษตร<br />

และสหกรณ และ ขอมูลสถิติการปลูกปาสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 3 จังหวัดราชบุรี, สํานักการจัดการปาไมภาค<br />

10 จังหวัดราชบุรี กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืชและขอมูลการวิเคราะหและปรับแกขอมูลปาไมจาก<br />

ภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบTM Band (R5-G4-B3) ของป พ.ศ. 2550 และในสวนของพื้นที่ที่นํามาใชเปน<br />

ตัวแปรในการคํานวณคาพื้นที่ที่ถูกเผา จากกลุมการประมาณคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากการปรับเปลี่ยนพื้นที่<br />

ปาไมที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซดไดคาจากการนําขอมูล Fires Hotspot จากดาวเทียม MODIS (250x250 m),<br />

(Geoinformatics Center AIT, 2007) มาซอนทับกับพื้นที่ปาไมของจังหวัดราชบุรีและคํานวณหาพื้นที่จากจํานวน<br />

FHS ที่ตกในพื้นที่ปาไมและเลือกเปอรเซ็นตความถูกตองของ FHS ที่มากกวา 75 % ในการวิเคราะหและแปล<br />

ความหมายในกรณีศึกษาวิจัยในครั้งนี้<br />

ตารางที่ 1 คาของตัวแปรและสัดสวนในการประมาณคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากการปรับเปลี่ยน<br />

พื้นที่ปาไมที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซด<br />

Non-CO2 emissions from vegetation fires<br />

ตัวแปรในการประมาณคา หนวย คาแนะนํา อางอิง<br />

Area burnt (ha) 531.25 FHS, from MODIS Geoinformatics Center, AIT<br />

Mass of available fuel (kg d.m. ha -1 ) 4,660 เอกพล จันทรเพ็ง, JGSEE (2008)<br />

Combustion efficiency or fraction of<br />

biomass combusted (dimensionless) 0.50 IPCC, 2006 Volume 4 AFOLU ตารางที่ 2.6<br />

CH 4 Emission factor (g /kg d.m.) 6.80 IPCC, 2006 Volume 4 AFOLU ตารางที่ 2.5<br />

CO Emission factor (g /kg d.m.) 104 IPCC, 2006 Volume 4 AFOLU ตารางที่ 2.5<br />

N 2 O Emission factor (g /kg d.m.) 0.20 IPCC, 2006 Volume 4 AFOLU ตารางที่ 2.5<br />

NO x Emission factor (g /kg d.m.) 1.60 IPCC, 2006 Volume 4 AFOLU ตารางที่ 2.5<br />

ตารางที่ 2 คาของตัวแปรและสัดสวนในการประมาณคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากการปรับเปลี่ยน<br />

พื้นที่ปาไมเปลี่ยนไปเปนพื้นที่การใชประโยชนอื่นๆ ตาม IPCC, 2006<br />

Annual change in carbon stocks in living biomass (includes above and below ground biomass)<br />

ตัวแปรในการประมาณคา หนวย คาแนะนํา อางอิง<br />

Area of forest land<br />

remaining forest land<br />

Cropland to Forest Land<br />

134,854.8<br />

9,336.65<br />

Grassland to Forest Land 5,232.93<br />

Wetland to Forest Land (ha)<br />

208.64<br />

Settlementland to Forest<br />

Land 827.17<br />

Otherland to Forest Land 1,707.50<br />

ฐานขอมูล Landuse change<br />

จาก GIS ป 2000 กับ 2007<br />

หลังจากการปรับแกความ<br />

ถูกตองของการใชประโยชน<br />

ที่ดิน<br />

ดวยภาพถายดาวเทียม<br />

Landsat-5 ระบบ TM Band<br />

(R5-G4-B3) ,LDD (2007),<br />

GISTDA ( 2010)<br />

559


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Annual change in carbon stocks in living biomass (includes above and below ground biomass)<br />

ตัวแปรในการประมาณคา หนวย คาแนะนํา อางอิง<br />

Average annual net<br />

increment in volume suitable<br />

IPCC, 2006 Volume 4<br />

for industrial processing (m 3 ha -1 yr -1 ) 21 AFOLU ( ตารางที่ 4.11B)<br />

Basic wood density<br />

(tonnes d.m.per m -3 fresh<br />

volume) 0.54<br />

IPCC,2006 (Avg all Asia<br />

bisic wood density), (ตารางที่<br />

4.13)<br />

Biomass Expansion factor<br />

for conversion of annual net<br />

increment (including bark) to<br />

above ground tree biomass<br />

increment (dimensionless) 1.5<br />

IPCC,2003 (ตารางที่<br />

3A.1.10)<br />

Root-shoot ratio appropriate<br />

to increments (dimensionless) 0.32<br />

IPCC, 2006 Volume 4<br />

AFOLU (ตารางที่ 4.4)<br />

Carbon fraction of dry<br />

matter<br />

(default is 0.5) (tonnes C tonne d.m. -1 ) 0.5 IPCC,2003<br />

Annually extracted volume<br />

of roundwood (m 3 yr -1 ) 16,628.76<br />

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา<br />

และพันธพืช, (2007)<br />

Biomass expansion factor<br />

for converting volumes of<br />

extracted roundwood to total<br />

aboveground biomass<br />

(including bark) (dimensionless) 3.4<br />

IPCC,2003 (ตารางที่<br />

3A.1.10)<br />

Fraction of biomass left to<br />

decay in forest (dimensionless) 0.25<br />

IPCC,2003 (ตารางที่<br />

3A.1.11)<br />

Forest areas affected by<br />

disturbances (ha yr -1 ) 531.25<br />

FHS, from MODIS<br />

Geoinformatics Center, AIT<br />

Average biomass stock of<br />

forest areas (tonnes d.m. ha -1 ) 127<br />

IPCC, 2006 Volume 4<br />

AFOLU<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพ<br />

ชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินและปาไมในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ของป พ.ศ. 2543 กับป<br />

พ.ศ. 2550และภาพถายดาวเทียม Landsat-5 TM Landsat-5 ระบบ TM Band (R5-G4-B3) (Path 129-130/Row<br />

51) บันทึกภาพวันที่ 03-02-2543 และวันที่ 22-02-2550 Resolution 25 x 25 เมตร Nominal Area 185 x185 km.<br />

560


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพที่ 2 ชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดราชบุรีป<br />

พ.ศ. 2543<br />

ภาพที่ 3 ชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัด<br />

ราชบุรีป พ.ศ. 2550<br />

ภาพที่ 4 ภาพถายดาวเทียม Landsat-5 TM<br />

Band (R5-G4-B3) บันทึกภาพวันที่ 03-02-2543<br />

ภาพที่ 5 ภาพถายดาวเทียม Landsat-5 TM<br />

Band (R5-G4-B3) บันทึกภาพวันที่ 22-02-2553<br />

ภาพที่ 6 ภาพการจําแนกและวิเคราะหขอมูลการใช<br />

ประโยชนที่ดินจากขอมูลดาวเทียม Landsat-5<br />

ภาพที่ 7 Histogram ในภาพกราฟแสดงตัวแทนของพื้นที่<br />

ปาไมหลังจากการวิเคระหขอมูลจากภาพถายดาวเทียม<br />

Landsat-5<br />

561


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบ TM (R5-G4-B3) บันทึกภาพในชวงเดือนเดียวกันตางกัน 2<br />

ชวงเวลาจากภาพแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมเปลี่ยนแปลงไปอยางเห็นได<br />

ชัดเจนโดยคาการสะทอนของชวงคลื่นอินฟาเรดที่มีคุณสมบัติตรวจวัดปริมาณความหนาแนนชีวมวล (Biomass)<br />

ของพืชพรรณใหคาการสะทอนเชิงทฤษฎีที่แตกตางกันระหวางป พ.ศ. 2543 กับป พ.ศ.2550 รวมทั้งพื้นที่<br />

เพาะปลูกและพื้นที่อยูอาศัยอยางเห็นไดชัดเจนในการเปลี่ยนแปลงประเภทของการใชที่ดินในจังหวัดราชบุรีเมื่อ<br />

เทียบกับแผนที่การใชประโยชนที่ดินจากกรมพัฒนาที่ดินที่สามารถนํามาวิเคราะหรวมกับขอมูลภาพถายดาวเทียม<br />

เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดอยางมีความถูกตองมากยิ่งขึ้น<br />

การวิเคราะห ตีความหมายและปรับแกขอมูลการใชประโยชนที่ดินจากภาพถายดาวเทียม Landsat-5<br />

ระบบ TM Band (R5-G4-B3) แสดงดังภาพที่ 4 และ 5<br />

จากภาพที่ 6 และ 7 จากขอมูลภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ดวยขนาด สี ความหยาบละเอียด รูปแบบ<br />

ทิศทางการวางตัวของวัตถุ หรือสิ่งที่ปกคลุมดินตางๆ เชน ปาไม พื้นที่เกษตรกรรม ทุงหญา แหลงน้ํา อาคารและสิ่ง<br />

ปลูกสราง ชุมชนเมือง และพื้นที่การใชประโยชนอื่นๆ สามารถบงชี้และแยกแยะคุณลักษณะตางๆของวัตถุดวยสี<br />

และรูปแบบไดตลอดจนการกําหนดพื้นที่ตัวอยางที่ทําการแปลและเลือกเปนตัวแทนในการวิเคราะหขอมูลแตละ<br />

ประเภทซึ่งสามารถตรวจเช็คความถูกตองไดดวย กราฟในรูปแบบ Histogram ในภาพกราฟแสดงตัวแทนของพื้นที่<br />

ปาไมที่มีลักษณะคลายรูประฆังคว่ําซึ่งเปนการเลือกประเภทของขอมูลไดอยางถูกตองตามหลักทางสถิติในการ<br />

ตรวจสอบความถูกตองหลังจากการวิเคราะหขอมูลจากการแปลภาพถายดาวเทียม<br />

4.2 ผลการวิเคราะหเชิงปริมาณ<br />

ผลการวิเคราะหการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่ปาไมของจังหวัดราชบุรีระหวางป พ.ศ. 2543 กับป พ.ศ.<br />

2550 ในรูปแบบตาราง Concident Matrix แสดงดังตารางที่ 3<br />

ตารางที่ 3 แสดง Concident Matrix ของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมของจังหวัด<br />

ราชบุรี ระหวางป พ.ศ. 2543 กับป พ.ศ. 2550<br />

2550 เนื้อที่ของประเภทการใชประโยชนที่ดินและปาไมของป 2543-2550 จังหวัดราชบุรี :Ha (เฮกตาร)<br />

2543<br />

พื้นที่<br />

เพาะปลูก ทุงหญา ปาไม พื้นที่อื่นๆ ที่อยูอาศัย พี้นที่ชุมน้ํา ปาปลูก<br />

เนื้อที่รวม<br />

พ.ศ. 2543 รอยละ<br />

พื้นที่<br />

เพาะปลูก 214,170.13 16,754.93 9,336.65 4,099.72 37,347.82 16,120.03 959.69 298,788.97 57.73%<br />

ทุงหญา 5,460.24 1,783.67 5,232.93 630.56 977.76 317.61 9.55 14,412.32 2.78%<br />

ปาไม 17,552.60 6,595.38 134,854.80 2,923.95 6,037.85 3,329.12 1,111.30 172,404.99 33.31%<br />

พื้นที่อื่นๆ 620.51 162.31 1,707.50 405.36 140.42 55.56 3.34 3,095.00 0.60%<br />

ที่อยูอาศัย 7,556.67 1,120.92 827.17 825.98 6,440.40 1,078.17 84.53 17,933.84 3.47%<br />

พี้นที่ชุมน้ํา 2,430.70 179.87 208.64 67.66 1,362.32 3,306.82 0 7,556.01 1.46%<br />

ปาปลูก 1,362.89 115.32 870.87 0.44 104.54 7.64 871.51 3,333.21 0.65%<br />

เนื้อที่รวม<br />

พ.ศ. 2550 249,153.73 26,712.40 153,038.56 8,953.67 52,411.10 24,214.95 3,039.92 517,524.34 100.00%<br />

รอยละ 48.14% 5.16% 29.57% 1.73% 10.13% 4.68% 0.59% 100.00% -<br />

%Change -9.59 +2.38 -3.74 +1.13 +6.66 +3.22 -0.06 - -<br />

562


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากการศึกษาในการจําแนกและวิเคราะหโดยการซอนทับและแปลความหมายภาพถายดาวเทียม<br />

Landsat-5 ระบบ TM ดวยโปรแกรมระบบสารเทศทางภูมิศาสตรและ Remote sensing พบวาในปพ.ศ.2543 พื้นที่<br />

สวนใหญในการใชประโยชนที่ดินเปนพื้นที่เพาะปลูกรองลงมาเปนพื้นที่ปาไม พื้นที่อยูอาศัย พื้นที่ทุงหญา พื้นที่ชุม<br />

น้ํา และพื้นที่อื่นๆ (รอยละ 58.38%, รอยละ 33.31%, 3.47%, 2.78%, 1.46%, 0.60% ตามลําดับ) และในป พ.ศ.<br />

2550 พื้นที่สวนใหญยังคงเปนพื้นที่เพาะปลูกและรองลงมาเปนพื้นที่ปาไมแตมีปริมาณการใชประโยชนที่ดิน<br />

ประเภทดังกลาวลดลงและพบปริมาณการใชพื้นที่ประเภทที่อยูอาคัยมีปริมาณที่สูงถึง 2 เทา ตามดวยการใชพื้นที่<br />

ประเภททุงหญา พื้นที่ชุมน้ํา และพื้นที่อื่นๆ มีปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้นเชนกันดังนี้ (รอยละ 48.73%, รอยละ 29.57%,<br />

10.13%, 5.16%, 4.68%, 1.73% ตามลําดับ)<br />

เนื้อที่ของประเภทการใชประโยชนที่ดินและปาไมของป<br />

1.46% พ.ศ. 2543<br />

3.47%<br />

0.60%<br />

เนื้อที่ของประเภทการใชประโยชนที่ดินและปาไมของป<br />

พ.ศ. 2550<br />

4.68%<br />

10.13%<br />

1.73%<br />

พื้นที่เพาะปลูก<br />

พื้นที่เพาะปลูก<br />

33.96%<br />

ทุงหญา<br />

ปาไม<br />

พื้นที่อื่นๆ<br />

48.14%<br />

ทุงหญา<br />

ปาไม<br />

พื้นที่อื่นๆ<br />

57.73%<br />

ที่อยูอาศัย<br />

พี้นที่ชุมน้ํา<br />

30.16%<br />

ที่อยูอาศัย<br />

พี้นที่ชุมน้ํา<br />

2.78%<br />

5.16%<br />

ภาพที่ 8 ชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดราชบุรี ป<br />

พ.ศ. 2543<br />

ภาพที่ 9 ชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัด<br />

ราชบุรีป พ.ศ. 2550<br />

6.66<br />

เปอรเซนตการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน<br />

ที่ดินจากป พ.ศ.2543 ‐‐‐> 2550<br />

3.22 ‐0.06<br />

1.13 ‐3.74<br />

‐9.59<br />

2.38<br />

พื้นที่เพาะปลูก<br />

พื้นที่ทุงหญา<br />

พื้นที่ปาไม<br />

พื้นที่อื่นๆ<br />

พื้นที่อยูอาศัย<br />

พื้นที่ชุมน้ํา<br />

สวนปา<br />

6.10%<br />

3.42%<br />

1.12%<br />

0.54%<br />

0.14%<br />

Forest Land (2000‐2007)<br />

88.69%<br />

remaining from 2000<br />

cropland converted to<br />

Forest land<br />

grassland converted to<br />

Forest land<br />

other land converted to<br />

Forest land<br />

settlements converted to<br />

Forest land<br />

wetland converted to<br />

Forest land<br />

ภาพที่ 10 กราฟแสดงเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินของจังหวัดราชบุรีป พ.ศ. 2550<br />

ภาพที่ 11 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงจากการใชพื้นที่<br />

ปาไมเปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่อื่นๆของจังหวัดราชบุรีป<br />

พ.ศ. 2550<br />

563


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 การประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปาไมในป<br />

พ.ศ. 2550 ของจังหวัดราชบุรี<br />

พื้นที่ปาไมที่ยังคงเปนปาไม (Forest Land Remaining Forest Land) และพื้นที่การใชประโยชนที่ดิน<br />

ประเภทตางๆเปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่ปาไม (Land Converted to Forest Land) และ (Non-CO 2 emissions from<br />

vegetation fires)<br />

ตารางที่ 4 ตารางแสดงการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินและปาไมของป พ.ศ. 2550<br />

Land-Use Category<br />

Annual change in carbon stocks<br />

Initial Land<br />

Use<br />

Land Use<br />

during<br />

Reporting<br />

Year<br />

Living<br />

Biomass<br />

A<br />

(M t<br />

CO 2 )<br />

Dead<br />

Organic<br />

Matter<br />

Removals<br />

Soils CO 2<br />

Emissions/<br />

Removals<br />

B C D =<br />

(A+B+C) x<br />

(-1)<br />

Annual<br />

CH 4<br />

emissions<br />

Annual<br />

N 2 O<br />

emissions<br />

Emissions<br />

Annual<br />

NO x<br />

emissions<br />

Annual<br />

CO<br />

emission<br />

s<br />

(t CH 2 ) (t N 2 O) (t NO x ) (t CO)<br />

Forest Land Forest Land 5.462 - - -5.462<br />

Cropland Forest Land 0.385 - - -0.385<br />

Grassland Forest Land 0.216 - - -0.216<br />

wetland Forest Land 0.009 - - -0.009 8.41 0.25 1.98 128.73<br />

Settlement<br />

land Forest Land 0.034 - - -0.034<br />

Other land Forest Land 0.070 - - -0.070<br />

Sub-Total for Forest Land 6.176 -6.176 8.41 0.25 1.98 128.73<br />

Land-Use Category<br />

Initial<br />

Land<br />

Use<br />

Land Use<br />

during<br />

Reporting<br />

Year<br />

Sub-Total for Forest<br />

Land in (M t CO 2 )<br />

Living<br />

Biomass<br />

A<br />

(M t<br />

CO 2 )<br />

Dead<br />

Organic<br />

Matter<br />

Removals<br />

Soils CO 2<br />

Emissions/<br />

Removals<br />

B C D =<br />

(A+B+C) x<br />

(-1)<br />

Annual change in carbon stocks,<br />

Emissions<br />

Annual Annual Annual Annual CO<br />

CH 4 N 2 O NO x<br />

emissions<br />

emissions emissions emissions<br />

(t CO 2 eq ) (t CO 2 eq ) (t CO 2 eq ) (t CO 2 eq )<br />

6.176 - - -6.176 176.61 77.50 - -<br />

564


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากตารางที่ 4 ผลการประเมินการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช<br />

ประโยชนที่ดินและปาไมของป พ.ศ. 2550 จะประเมินเฉพาะในสวนของการเปลี่ยนแปลงปริมาณชีวมวลเหนือ<br />

พื้นดินและปลอยกาซเรือนกระจก จากการจัดการกับชีวมวลรวมทั้งจากการเผาชีวมวลในการปรับเปลี่ยนพื้นที่จาก<br />

พื้นที่เกษตรกรรมหรือทุงหญาปรับเปลี่ยนพื้นที่มาเปนปาไมที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซด จากผลการศึกษา<br />

ดังกลาวคาของตัวแปรที่นํามาใชนั้นเปนคาแนะนําจากคูมือ IPCC,2006 แตสําหรับคาแนะนําเฉพาะที่เหมาะสมกับ<br />

พื้นที่ที่ทําการศึกษาเชน คาของพื้นที่ที่ถูกรบกวนหรือพื้นที่ที่ถูกไฟปาเปนคาการคํานวณเฉพาะของพื้นที่และคา<br />

ของปริมาณการแปรรูปการใชประโยชนจากไมในปาของจังหวัดราชบุรีซึ่งเปนการเลือกใชขอมูลใหตรงกับพื้นที่<br />

อยางไรก็ตาม ณ ปจจุบันทําใหสามารถคํานวณเฉพาะในสวนของชีวมวลเหนือพื้นดิน สวนขอมูลชีวมวลใตดิน<br />

คารบอนในซากชีวมวลบนพื้นดินของปาและคารบอนในดินไมสามารถคํานวณได<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาวิจัยเพื่อการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของ<br />

จังหวัดราชบุรี โดยคํานวณเฉพาะการเปลี่ยนแปลงปริมาณชีวมวลเหนือพื้นดินและปลอยกาซเรือนกระจกจากการ<br />

จัดการกับชีวมวลดังกลาวในกลุมการเปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดินและปริมานชีวมวล (Changes in forest<br />

land other woody biomass stocks) โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตางๆเปลี่ยนไป<br />

เปนพื้นที่ปาไมจากปฐานศึกษาป พ.ศ. 2543 และปที่ใชในการคํานวณการประเมินการปลอย GHG ในปพ.ศ. 2550<br />

ดังนี้<br />

ผลการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและปา<br />

ไมในปพ.ศ.2550 ของจังหวัดราชบุรีผลการคํานวณการปลอย (Emission) ของการดูดกลับคารบอนสุทธิ<br />

(Removal) คิดเปนคิดเปน 6.176 MtCO 2 eq หรือลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา สวนคาการปลอยของกาซ<br />

Non-CO 2 จากการเผาชีวมวลในการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากพื้นที่เกษตรกรรมหรือทุงหญาปรับเปลี่ยนพื้นที่มาเปนปา<br />

ไมที่ไมใชกาซคารบอนไดออกไซด และเมื่อพิจารณาผลการประเมินการปลอย CH 4 , CO, N 2 O, และ NO x ใน<br />

ปริมาณเทากับ 8.41, 128.73, 0.25 และ 1.98 t (CH 4 , CO, N 2 O, และ NO x ) ตามลําดับและนําผลลัพธมาประเมิน<br />

ในรูปแบบของ CO 2 equivalent พบวากาซ CH 4 มีคาเทากับ 176.61 t CO 2 eq และ กาซ N 2 O มีคาเทากับ 77.50 t<br />

CO 2 eq<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE)<br />

โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

กลุมงานวิจัยดาน Aerosol from Biomass Burning to the Atmosphere (ABBA)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (KMUTT)<br />

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ (LDD)<br />

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) ใหความอนุเคราะหขอมูล<br />

ภาพถายดาวเทียม Landsat-5 ระบบ TM ในการศึกษาวิจัย (GISTDA)<br />

565


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- IPCC 2003 Good Practice Guidelines for Landuse,Land-use Change and Forestry<br />

(2003), Available online: http://www.ipcc.ch.(10/03/2010)<br />

- IPCC 2006, 2006-Eggleston H.S., Buendia L., Mina K. (2006), IPCC Guidelines for<br />

National Greenhouse Gas Inventories Volume 4 Agriculture, Forestry and Other Land<br />

Use, Prepared by the National Greenhouse Gas Inventories Programme (IPCC 2006),<br />

Publishd: IGES. Japan, Available online: http:www.ipcc.ch<br />

- Geoinformatics Center of the Asian Institute of Technology (AIT), Bangkok .Available<br />

online:http://www.geoinfo.ait.ac.th/mod14/(7/05/2010)<br />

- กระทรวงพลังงานขอมูลระบบฐานขอมูลพลังงานของประเทศไทยขอมูลจาก<br />

http://www.thaienergydata.in.th/ (เขาถึงขอมูลเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553).<br />

- กรมปาไมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, สถิติปาไมไทยขอมูลจาก<br />

http://www.forest.go.th/stat/stat_th.htm (เขาถึงขอมูลเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2553).<br />

- กรมพัฒนาที่ดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

- กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช, สถิติการนําเขาและสงออกไม ป 2550 ขอมูลจาก<br />

http://www.dnp.go.th/statistics/2550/stat2550.asp (เขาถึงขอมูลเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2553).<br />

- บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.<br />

(2553). การจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกของประเทศไทย.สํานักงานนโยบายและแผน<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสีงแวดลอม<br />

- สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน).2552,ตําราเทคโนโลยี<br />

อวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร.กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

- สํานักงานปราบปรามและควบคุมไฟปากรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช, สถิติการเกิด<br />

ไฟไหมปาทั่วประเทศ ป 2542-2551 ขอมูลจาก<br />

http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.htm (เขาถึงขอมูลเมื่อวันที่ 13<br />

มิถุนายน 2553).<br />

- สํานักงานสถิติจังหวัดราชบุรี. (2007).รายงานสถิติจังหวัดพ.ศ. 2550.สํานักงานสถิติแหงชาติ<br />

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.<br />

- สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 8. (2550),รายงานสถานการณสิ่งแวดลอมภาคตะวันตก พ.ศ.<br />

2550.สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดลอม<br />

566


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การดักจับคารบอนไดออกไซดดวยระบบ การรวมผลการออกแบบและการปรับคาพีเอช<br />

เพื่อการดูดซับคารบอนไดออกไซดในทอปอนอากาศ<br />

Combined Effect of Design and pH-Shift for CO 2 Absorption in Bubble Columns<br />

ยศสรัล พิเชียรสุนทร และ ประเสริฐ ภวสันต<br />

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

บทคัดยอ<br />

คารบอนไดออกไซดเปนหนึ่งในกาซเรือนกระจกที่เปนสาเหตุหลักของภาวะโลกรอน เทคโนโลยีการดักจับ<br />

กาซคารบอนไดออกไซดไดถูกนํามาใชเพื่อลดการปลดปลอยคารบอนไดออกไซดในรูปของกาซสูบรรยากาศโลก<br />

กระบวนการสังเคราะหแสงของสิ่งมีชีวิตจัดเปนทางเลือกหนึ่งที่สําคัญในการดักจับกาซคารบอนไดออกไซดไดอยาง<br />

ยั่งยืน นอกจากพืชแลว จุลสาหราย (Microalgae) สามารถสังเคราะหแสงเพื่อเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนสาร<br />

ชีวมวลที่มีประสิทธิภาพสูง และในบางกรณียังสามารถสรางสารที่มีประโยชนทางการแพทยหรือสารที่มีมูลคาสูงได<br />

การเพาะเลี้ยงจุลสาหรายจึงเปนทางเลือกที่มีศักยภาพสูงที่ใชเปนเทคโนโลยีการดักจับกาซคารบอนไดออกไซด<br />

อยางไรก็ตามการประยุกตใชงานดังกลาวยังประสบปญหาสําคัญ คือ อัตราการดักจับคารบอนไดออกไซดของจุล<br />

สาหรายนั้นคอนขางชา ทําใหกาซคารบอนไดออกไซดที่ถูกปอนเขาสูระบบเพาะเลี้ยงจุลสาหรายสวนใหญจะถูก<br />

ปลอยเปนอยางอิสระสูบรรยากาศโดยไมไดใชประโยชน ดังนั้นเทคโนโลยีการดักจับกาซคารบอนไดออกไซดใน<br />

รูปแบบอื่น ๆ จึงมีความสําคัญ และเนื่องจากการที่จุลสาหรายสามารถใชสารประกอบไบคารบอเนตเชน NaHCO 3<br />

หรือไบคารบอเนต (HCO 3<br />

-<br />

) เปนแหลงคารบอนได การศึกษาการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซดไปเปน<br />

สารประกอบไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําจึงเปนทางออกที่ดีสําหรับการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวเพื่อรอ<br />

การนําไปใชในระบบการเลี้ยงจุลสาหราย โดยงานวิจัยนี้ไดศึกษาภาวะที่เหมาะสมและตัวแปรที่มีผลตอการเปลี่ยน<br />

รูปดังกลาวในถังปฏิกรณแบบทอปอนอากาศ (Bubble Column) ซึ่งจากผลการทดลองพบวา pH ที่เหมาะสมที่สุด<br />

ในการเปลี่ยนรูปกาซคารบอนไดออกไซดคือ 8 และการเพิ่มระยะทางการเคลื่อนที่ของกาซคารบอนไดออกไซดใน<br />

น้ําโดยการใสวัสดุบรรจุ(packing material) และการเพิ่มความสูงของทอเพื่อเพิ่มระยะเวลาใหคารบอนไดออกไซด<br />

อยูในน้ําไดนานขึ้น ทําใหคารบอนไดออกไซดเกิดเปนสารประกอบไบคารบอเนตไดมากขึ้น งานวิจัยนี้เปนการ<br />

นําเสนอทางเลือกเพื่อชวยกําจัดกาซคารบอนไดออกไซดไดอยางยั่งยืนและสามารถประยุกตใชไดหลากหลาย<br />

วัตถุประสงคอีกดวย<br />

คําสําคัญ : การลดกาซคารบอนไดออกไซด การลดภาวะโลกรอน ไบคารบอเนต จุลสาหราย<br />

567


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Carbon dioxide (CO 2 ) is the main component of greenhouse gases causing global warming. CO 2<br />

capture technologies are increasingly used for decreasing CO 2 emission. Photosynthesis is considered as<br />

one of the important substantial CO 2 sequestration alternatives. Not only plants, but microalgae also can<br />

use photosynthesis pathway in which CO 2 is turned into the form of microalgal biomass which is highly<br />

effective. In some cases, they can produce useful medical or high value matters. Hence, microalgal<br />

cultivation is a potential approach as CO 2 capture technology. However, this application still faces a<br />

crucial problem due to a slow CO 2 uptake rate. Mostly CO 2 fed in the cultivation system is wastefully<br />

released to the atmosphere. Therefore other CO 2 transforming technology into other forms is essential,<br />

and since microalgae are able to use either bicarbonate compounds e.g. NaHCO 3 , or bicarbonate (HCO 3 - )<br />

as inorganic carbon source. The transformation of CO 2 to soluble bicarbonate is a potential solution for<br />

capturing CO 2 before being fed to the system. In this work, optimal conditions and variables affecting CO 2<br />

transformation were examined in a bubble column where the most appropriate pH for conversion is 8 and<br />

increasing the contact time between bubble and liquid using packing material and increasing column’s<br />

height results in a better CO 2 conversion into bicarbonate compound. This study presents a substantial<br />

alternative for sequestrating CO 2 which can in the future apply to other applications.<br />

1. ความสําคัญ<br />

คารบอนไดออกไซดจัดเปนหนึ่งในกาซเรือนกระจกซึ่งปนสาเหตุหลักของภาวะโลกรอน เทคโนโลยีการ<br />

กําจัดและการลดคารบอนไดออกไซดกอนถูกปลอยสูบรรยากาศนั้นเปนที่สนใจมากขึ้นทั่วโลก วิธีการกําจัด<br />

คารบอนไดออกไซดโดยใชพืชหรือจุลสาหรายที่มีความสามารถในการตรึงคารบอนไดออกไซดเพื่อนําไปใชใน<br />

กระบวนการสังเคราะหแสงจัดเปนเปนวิธีที่สามารถกําจัดคารบอนไดออกไซดไดอยางยั่งยืนโดยไมสิ้นเปลือง<br />

พลังงานและสารเคมี (de Morais และคณะ, 2007) จุลสาหรายสวนใหญซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตที่สูงกวาพืช<br />

โดยทั่วไปใชคารบอนไดออกไซดเปนแหลงคารบอนอนินทรียในการสังเคราะหแสง (Li และคณะ, 2008) โดย<br />

คารบอนไดออกไซดจะถูกเปลี่ยนรูปเปนสารชีวมวลที่มีประสิทธิภาพสูงมาก และในบางกรณียังสามารถสรางสารที่มี<br />

ประโยชนทางการแพทยหรือสารที่มีมูลคาสูงได การเพาะเลี้ยงจุลสาหรายจึงเปนทางเลือกที่มีศักยภาพสูงที่ใชเปน<br />

เทคโนโลยีการดักจับกาซคารบอนไดออกไซดโดยคารบอนไดออกไซดในรูปกาซถูกปอนเขาสูระบบการเลี้ยงจุล<br />

สาหรายโดยใหอัตราการเจริญเติบโตและผลิตผลที่สูงขึ้น (Ryu และคณะ, 2009) อยางไรก็ตามการประยุกตใชงาน<br />

ดังกลาวยังประสบปญหาสําคัญ คือ อัตราการดักจับคารบอนไดออกไซดของจุลสาหรายนั้นคอนขางชาและอัตราการ<br />

ถายโอนมวลของคารบอนไดออกไซดในรูปกาซที่ต่ํา ทําใหกาซคารบอนไดออกไซดที่ถูกปอนเขาสูระบบเพาะเลี้ยง<br />

จุลสาหรายสวนใหญถูกปลอยเปนอิสระสูบรรยากาศโดยไมไดใชประโยชน และเนื่องจากการที่จุลสาหรายสามารถ<br />

ใชสารประกอบไบคารบอเนตเชน NaHCO 3 หรือไบคารบอนเนต (HCO 3 - ) เปนแหลงคารบอนได (Huertas และ<br />

คณะ, 2000) การศึกษาการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซดไปเปนสารประกอบไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําจึงเปน<br />

ทางออกที่ดีสําหรับการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวเพื่อรอการนําไปใชในระบบการเลี้ยงจุลสาหราย งานวิจัย<br />

นี้ตองการศึกษาภาวะที่เหมาะสมและตัวแปรที่มีผลตอการเปลี่ยนรูปดังกลาวในถังปฏิกรณแบบทอปอนอากาศ<br />

(Bubble Column) เชนคาพีเอชที่เหมาะสมที่สุดในการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด, ความสูงของทอปอนอากาศ<br />

568


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

และการใชวัสดุบรรจุเพื่อเพิ่มระยะการเดินทางของกาซในน้ํา คาดวางานวิจัยนี้เปนการนําเสนอทางเลือกเพื่อชวย<br />

กําจัดกาซคารบอนไดออกไซดไดอยางยั่งยืนและสามารถประยุกตใชไดหลากหลายวัตถุประสงคไดในอนาคต<br />

2. วัตถุประสงค<br />

งานวิจัยประกอบดวยวัตถุประสงค 3 ขอ คือ<br />

2.1 การศึกษาผลของคาพีเอชที่เหมาะสมที่สุดตอการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด<br />

2.2 การศึกษาผลของการเพิ่มความสูงของทอปอนอากาศตอการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด<br />

2.3 การศึกษาผลของการใชวัสดุบรรจุตอการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 การศึกษาผลของpHที่เหมาะสมที่สุด<br />

3.1.1 การตั้งคาการทดลอง<br />

การศึกษาการเปลี่ยนรูปจากคารบอนไดออกไซดเปนไบคารบอเนตไดถูกศึกษาโดยใชทอปอนอากาศที่มี<br />

ความสูงและเสนผานศูนยกลาง 1 เมตรและ 6.3 เซนติเมตรตามลําดับ เติมน้ําที่ผานการกําจัดแรธาตุ<br />

(Demineralised water) และปรับพีเอชกอนที่ถูกบรรจุลงในทอปอนอากาศ กาซคารบอนไดออกไซดถูกปอนจากถัง<br />

กาซ และถูกวัดโดยโรตามิเตอรกอนที่ปอนเขาสูทอปอนอากาศทางดานลาง (ดังรูปที่ 1) ที่ความเร็ว 10 ลบ.ซม.ตอ<br />

นาที<br />

3.1.2 การทดลอง<br />

ทําการทดลองที่คาพีเอช 7, 8 และ 9 แตละการทดลองใชเวลาทั้งหมด 1 ชั่วโมงโดยทําการเก็บตัวอยาง<br />

ปริมาตร 50 มิลลิลิตรทุก 15 นาที และทําการไทเทรตทันที คาพีเอชในน้ําถูกวัดดวยพีเอชมิเตอรตลอดการทดลอง<br />

3.1.3 การวิเคราะหผล<br />

ปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําที่เกิดขึ้นถูกวัดคาโดยการไทเทรตกับกรดไฮโดรคลอริก 0.2 โมลาร<br />

ดวยวิธี Potentiometric tritration ปริมาณกรดที่ใสลงไป และคาพีเอชถูกบันทึกคาเพื่อหาจุดยุติ<br />

รูปที่ 1 การตั้งคาการทดลองการศึกษาผลของpHที่เหมาะสมที่สุด<br />

569


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2 การศึกษาผลของการเพิ่มความสูงของทอปอนอากาศ<br />

3.2.1 การตั้งคาการทดลอง<br />

ตั้งคาการทดลองเชนเดียวกับหัวขอ 3.1.1 โดยเปรียบเทียบทอปอนอากาศขนาดตางกันคือ (1) ความสูง<br />

และเสนผานศูนยกลาง 0.5 เมตรและ 6.3 เซนติเมตรตามลําดับและ (2) ความสูงและเสนผานศูนยกลาง 1 เมตรและ<br />

6.3 เซนติเมตรตามลําดับ<br />

3.2.2 การทดลองและการวิเคราะหผล<br />

ทําการทดลองที่คาพีเอช 8 ซึ่งเปนคาพีเอชที่ดีที่สุดจากผลการศึกษาหัวขอที่ 4.1 ทําการเก็บตัวอยาง<br />

ปริมาตร 50 มิลลิลิตรหลังจากทําเวลาเริ่มทําการทดลอง 30 นาที และทําการไทเทรตทันที คาพีเอชในน้ําถูกวัดดวย<br />

พีเอชมิเตอรตลอดการทดลองและทําการวิเคราะหผลเชนเดียวกับหัวขอ 3.1.3<br />

3.3 การศึกษาผลของการใชวัสดุบรรจุ<br />

3.3.1 การตั้งคาการทดลอง<br />

ตั้งคาการทดลองเชนเดียวกับหัวขอ 3.1.1 โดยใสวัสดุบรรจุขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5 เซนติเมตรเติมลง<br />

ไปในทอปอนอากาศใหเต็ม<br />

3.3.2 การทดลองและการวิเคราะหผล<br />

ทําการทดลองเชนเดียวกับหัวขอ 3.2.2 และทําการวิเคราะหผลเชนเดียวกับหัวขอ 3.1.3<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การศึกษาผลของคาพีเอชที่เหมาะสมที่สุดและผลของการใชวัสดุบรรจุตอการเปลี่ยนรูป<br />

คารบอนไดออกไซด<br />

คาพีเอชที่เหมาะสมที่สุดไดพิจารณาจากการเปรียบเทียบปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ํา ซึ่งแสดงให<br />

เห็นถึงความสามารถในการละลายของคารบอนไดออกไซดในภาวะที่มีคาพีเอช ที่ 7, 8 และ 9 การทดลองมีการ<br />

ทําซ้ําเพื่อหาคาเบี่ยงเบนเฉลี่ย และไดผลเปรียบเทียบปริมาณคารบอนไดออกไซดที่เปลี่ยนรูปเปนสารประกอบไบ<br />

คารบอเนตหรือปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําไดเพิ่มขึ้นตอเวลาดังรูปที่ 2 จากผลการศึกษาพบวาในชวง 15<br />

นาทีแรก คาพีเอชที่ 8 และ 9 มีความสามารถในการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซดไดใกลเคียงกัน แตหลังจากเวลา<br />

30 นาทีผานไป คาพีเอชที่ 8 เปนคาที่ใหปริมาณไบคารบอเนตละลายน้ําไดสูงที่สุด โดยคาพีเอชที่ 9 มี<br />

ความสามารถรองลงมา และสุดทายคือคาพีเอชที่ 7 ตามลําดับ<br />

รูปที่ 2 กราฟแสดงปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําตอเวลาที่คาพีเอช 7, 8 และ9<br />

570


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คาพีเอชที่เทากับ 8 ซึ่งเปนคาพีเอชที่ดีที่สุดถูกนํามาใชในการทดลองศึกษาผลของการใชวัสดุบรรจุตอการ<br />

เปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด จากการทดลองพบวาเมื่อใชวัสดุบรรจุในการเพิ่มระยะเวลาในการเดินทางของกาซ<br />

ในน้ําสงผลใหคารบอนไดออกไซดละลายในน้ํามาก (ดังรูปที่ 2) ขึ้นสังเกตไดจากปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายใน<br />

น้ํามากที่สุดในเวลาหนึ่งชั่วโมงคือ 0.072 โมลตอลิตรซึ่งมีคามากขึ้นโดยเฉลี่ยรวม 30.6 % ทุกชวงเวลาเมื่อเทียบ<br />

กับปริมาณไบคารบอเนตที่ไดจากการทดลองที่คาพีเอชที่ 8<br />

4.2 การศึกษาผลของการเพิ่มความสูงของทอปอนอากาศตอการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซด<br />

การศึกษาผลของการเพิ่มความสูง ปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําที่ความสูงของทอปอนอากาศที่ 50<br />

เซนติเมตร และ 1 เมตร ถูกวัดและแสดงผลในรูปที่ 3 พบวาการเพิ่มความสูงของทอปอนอากาศเปนสองเทา<br />

ปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายน้ําจะเพิ่มแปรผันตรงเปนสองเทาเชนกันซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวาง<br />

ความสูงกับความสามารถในการเปลี่ยนรูปของคารบอนไดออกไซด โดยเพิ่มระยะทางของกาซในน้ําจะทําใหเกิด<br />

ปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําไดมากขึ้น<br />

รูปที่ 3 กราฟแสดงปริมาณไบคารบอเนตที่ละลายในน้ําโดยใชทอปอนอากาศความสูงตางกัน<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากการทดลองสามารถสรุปไดวา<br />

5.1 คาพีเอชที่เหมาะสมที่สุดตอการเปลี่ยนรูปคารบอนไดออกไซดมีคาเทากับ 8<br />

5.2 เมื่อใชของวัสดุบรรจุในน้ําพบวาคารบอนไดออกไซดมีการเปลี่ยนรูปมากขึ้นโดยเฉลี่ยรวม 30.6 %<br />

ทุกชวงเวลาเมื่อเทียบกับปริมาณไบคารบอเนตที่ไดจากการทดลองที่คาพีเอชที่ 8<br />

5.3 เมื่อเพิ่มความสูงของทอปอนอากาศเปนสองเทาเพื่อเพิ่มระยะการเดินทางของกาซในน้ําพบวา<br />

คารบอนไดออกไซดมีการเปลี่ยนรูปแปรผันตรง ประมาณสองเทาเชนกัน<br />

571


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

-de Morais, M. G. and J. A. V. Costa (2007), Biofixation of carbon dioxide by Spirulina sp. and<br />

Scenedesmus obliquus cultivated in a three-stage serial tubular photobioreactor, Journal of<br />

Biotechnology, 129(3), pp. 439-445.<br />

-Huertas, I. E., G. S. Espie, et al. (2000), Light-dependent bicarbonate uptake and CO 2 efflux in<br />

the marine microalga Nannochloropsis gaditana, Planta, 211(1), pp. 43-49.<br />

-Li, Y., et al. (2008), Biofuels from microalgae. Biotechnology Progress, 24(4), pp. 815-820.<br />

-Ryu, H. J., K. K. Oh, et al. (2009), Optimization of the influential factors for the improvement of<br />

CO 2 utilization efficiency and CO 2 mass transfer rate, Journal of Industrial and Engineering<br />

Chemistry, 15(4), pp. 471-475.<br />

572


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ศักยภาพการกักเก็บคารบอนในไบโอชารจากกระบวนการไพโรไลซิสชีวมวลเหลือทิ้งจาก<br />

ภาคการเกษตรในประเทศไทย<br />

Potential of Carbon Sequestration in Biochar from Pyrolysis of Agriculture Biomass<br />

Residue in Thailand<br />

ณภัทร จักรวัฒนา และ อิทธิฤทธิ์ มูลเมือง<br />

สํานักวิชาพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา<br />

ต.แมกา อ.เมือง จังหวัด พะเยา<br />

บทคัดยอ<br />

การจัดการพื้นที่และเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตรแบบปจจุบัน เชนการเผาตอซัง หลังจากการเก็บเกี่ยว<br />

ทําใหเกิดการเรงปฎิกริยาของดินและเรงใหเกิดการปลอยคารบอนออกจากดิน (Soil Carbon Loss) กอใหเกิดการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกและความเสื่อมโทรมของดินในปริมาณมาก การจัดการการเกษตรและชีวมวลแบบทางเลือก<br />

ใหมเพื่อการลดกาซเรือนกระจก เชนการนําชีวมวลเหลือทิ้งไปผลิตพลังงานเปนสิ่งจําเปนเนื่องจากถือไดวาไม<br />

กอใหเกิดการเพิ่มของกาซเรือนกระจก (Carbon neutral) เทคโนโลยีการผลิตพลังงานชีวมวลบางชนิดไดแก ไพ<br />

โรไลซีส (Pyrolysis) และแกซซิฟเคชั่น (Gasification) สามารถเปลี่ยนคารบอนอินทรียในชีวมวลไปเปนไบโอชารที่<br />

สามารถเก็บกักคารบอนไวไดอยางคอนขางถาวร การนําไบโอชารไปใชเปนวัสดุปรับปรุงดินสามารถเพิ่มคารบอน<br />

อินทรียในดินและความอุดมสมบูรณอีกดวย ดังนั้นกระบวนการนี้จึงมีศักยภาพสูงที่จะชวยบรรเทาหรือแกไขปญหา<br />

สภาวะอากาศเปลี่ยน<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการประเมินศักยภาพการเก็บกักคารบอนจากไบโอชารซึ่งไดจากกระบวนการ<br />

ไพโรไลซีสชีวมวลเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรในประเทศไทย โดยใชวิธีการรวบรวมขอมูลทุตยภูมิปริมาณชีวมวล<br />

เหลือทิ้งชนิดตางๆในประเทศไทยและรวบรวมขอมูลคาสัมประสิทธิอัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปน<br />

คารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon transfer coefficient) จากงานวิจัยที่ผานมารวมถึงจากกระบวนการที่<br />

ดําเนินการจริงในทั้งจากประเทศไทยและตางประเทศ แลวนํามาคํานวณหาศักยภาพการเก็บกักคารบอนทั้งหมด<br />

ในไบโอชารกอนจะนําไปใชเปนวัสดุปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มคารบอนอินทรียและเก็บกักคารบอนในดิน ผลการศึกษานี้<br />

สามารถใชเปนขอมูลเบื้องตนสําหรับประเทศไทยในการศึกษารายละเอียดเพื่อเตรียมพรอมในการขายคารบอน<br />

เครดิตจากการเก็บกักคารบอนในดินในอนาคต เพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกรและยังเปนการสงเสริมให<br />

เกษตรกรมีการทําการเกษตรอยางยั่งยืนมากขึ้นและทําใหดินมีความอุดมสมบูรณมากขึ้น<br />

คําสําคัญ : ชีวมวล ไบโอชาร การเก็บกักคารบอน<br />

Abstract<br />

Traditional crop management practices, such as burning of stubble and repeated tillage<br />

operations, contribute to the increased rate of decomposition and soil carbon loss. Such unsustainable<br />

573


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

agricultural practices have been contributing significant greenhouse gas emissions to the atmosphere and<br />

causing the deterioration of agricultural soil. Biomass resources can potentially be used as a renewable<br />

energy source and can also be returned to improve the nutrient and drainage structure of agricultural<br />

soils. Sustainable utilisation and management of biomass can have a significant impact on the reduction<br />

of greenhouse gas emissions from a region. Pyrolysis and gasification technology can be used to convert<br />

biomass carbon into bio-char that can store carbon in a stable form. Applying bio-char on agricultural soil<br />

can sequester carbon into terrestrial system and also improve soil quality. This process, therefore, has<br />

high potential for greenhouse gas mitigation.<br />

This study aims to assess potential of carbon sequestration in bio-char produced from pyrolysis<br />

of crop residue in Thailand. Secondary data from many sources in Thailand is analysed and carbon<br />

transfer coefficient of bio-char production process from literature is applied to calculate potential of carbon<br />

sequestration in bio-char producing from crop residue in Thailand. The result from this study could<br />

possibly be used to urge Thai government to prepare for trading carbon credit from carbon sequestration<br />

in the future. So, this can increase income of farmers and enhance sustainable agricultural management.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเปลี่ยนแปลงจากระบบธรรมชาติไปสูเกษตรกรรมแผนปจจุบันหรือแมแตการใชประโยชนดานอื่นๆ<br />

ของมนุษยสงผลใหเกิดการสูญเสียของคารบอนจากดินถึง 20 ถึง 40 เปอรเซ็นตไปสูชั้นบรรยากาศ (Kroodsma<br />

and Field, 2006) การเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนแหลงปลดปลอยหลักของคารบอนไปสูชั้นบรรยากาศ<br />

(Gibson et al., 2002) กิจกรรมของมนุษยเหลานี้เปนสาเหตุใหเกิดการไมสมดุลของวัฐจักรคารบอนในปจจุบัน<br />

ปริมาณคารบอนในดินของโลกถูกประมาณการวามีปริมาณถึง 2 เทาของปริมาณคารบอนในชั้น<br />

บรรยากาศและมีปริมาณถึง 3 เทาของคารบอนในพืชและสัตว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงคารบอนอินทรียในดิน Soil<br />

organic carbon (SOC) เพียงเล็กนอยก็สามารถกอใหเกิดผลกระทบอยางมากตอวัฐจักรคารบอนในโลก (Lal,<br />

1997)<br />

คารบอนอินทรียในดิน Soil organic carbon (SOC) เปนทรัพยากรที่มีคาในดินเพราะเปนสวนสําคัญตอ<br />

องคประกอบทางกายภาพเคมีและชีวภาพในดิน ซึ่งชวยในการรักษาความอุดมสมบูรณและคุณภาพในดินไว<br />

(Gibson et al., 2002) การใชที่ดินและการจัดการที่ดินมีผลกระทบเปนอยางมากตอระดับของ SOC การจัดการ<br />

ดินและพืชแบบดั้งเดิม เชน การเผาตอซัง และการไถกลบหลายๆครั้งสงผลใหเกิดการยอยสลายในดินอยาง<br />

รวดเร็วและเกิดการเรงปฎิกริยาการปลดปลอยสารอินทรียในดินไดเร็วขึ้น ทําใหดินสูญเสียคารบอนและความสมดุล<br />

ตามธรรมชาติ (Lal, 1997)<br />

เทคนิคการจัดการดินและชีวมวลเหลือทิ้งอยางเหมาะสม เชน การไถกลบแบบอนุรักษ (Conservation<br />

tillage) การปลอยชีวมวลเหลือทิ้งไวในพื้นที่การเกษตรเพื่อคลุมดิน เพื่อเพิ่มสารชีวมวลในดินการรีไซเคิลสารชีว<br />

มวลไปสูดิน เปนการเพิ่มคารบอนอินทรียในดินไมเพียงแคเปนการแกไขปญหาสภาวะอากาศเปลี่ยนแตเปนการ<br />

รักษาไวซึ่งประสิทธิภาพและความสมบูรณของดินอีกดวย กระบวนการเหลานี้เปนการสงเสริมใหเกิดกระบวนการ<br />

กักเก็บคารบอนในดิน (Carbon Sequestration) ซึ่งหมายถึงกระบวนการนําคารบอนออกจากชั้นบรรยากาศและ<br />

เก็บกักไวเปนระยะเวลานานหรือเปนการ (ROU, 2007, p.87) นอกจากนั้นใชชีวมวลในการผลิตพลังงานและปุย<br />

อินทรียเปนสิ่งจําเปนเนื่องจากการผลิตพลังงานจากชีวมวลถือไดวาไมกอใหเกิดการเพิ่มของกาซเรือนกระจก<br />

(Carbon neutral) เพราะเปนการหมุนเวียนของคารบอนตามธรรมชาติ เทคโนโลยีในการผลิตพลังงานชีวมวลบาง<br />

574


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ชนิด เชน ไพโรไลซีส (Pyrolysis) และแกซซิฟเคชั่น (Gasification) สามารถเปลี่ยนคารบอนอินทรียในชีวมวลไป<br />

เปนไบโอชาร (Bio-char) ที่สามารถเก็บกักคารบอนไวไดอยางคอนขางถาวร ดังนั้นกระบวนการนี้จึงมีศักยภาพสูงที่<br />

จะชวยบรรเทาหรือแกไขปญหาสภาวะอากาศเปลี่ยน (Climate change) (Lehmann et al., 2006; Fowles, 2007)<br />

ไบโอชารเปนผลผลิตรวมจากกระบวนการไพโรไลซีส ไบโอชารประกอบไปดวยคารบอน ซึ่งไมถูกทํา<br />

ปฏิกิริยา และเศษแรที่อยูในเชื้อเพลิง หลังจากกระบวนการไพโรไลซีสแบบชา ประมาณ 50% ของคารบอนในชีว<br />

มวลตั้งตน ถูกแปรสภาพออกไปเปนกาซเชื้อเพลิง (Syngas) ซึ่งนําไปผลิตพลังงานได เหลือคารบอนทิ้งไวประมาณ<br />

50 % ในไบโอชาร ซึ่งมีเสถียรภาพสูง ดังนั้นการนําไบโอชารไปใชในสารปรับปรุงดิน สามารถกอใหเกิดการสะสม<br />

ของคารบอนในระบบพื้นพิภพ (terrestrial systems) ในระยะยาว ซึ่งเรียกวา การเก็บกักคารบอน (Carbon<br />

sequestration) (Lehmann et al.,2006) ในอีกทางหนึ่งการปลอยวัสดุเหลือใชในทางเกษตร เชน ฟางขาวหรือ ซัง<br />

ขาวโพดใหเหลือไวคลุมดินในพื้นที่การเกษตร ก็เปนการเก็บกักคารบอนในอีกทางหนึ่งดวยเชนกัน แตสามารถเก็บ<br />

กักไดนอยกวาในรูปของไบโอชาร ทั้งนี้เนื่องจากวัสดุเหลานั้นไมเสถียร เกิดการยอยสลายตามธรรมชาติและ<br />

ปลดปลอยคารบอนออกไปมากขึ้นเรื่อยๆ หลังจาก 5 ถึง 10 ป จะเหลือคารบอนนอยกวา 10 % จากคารบอน<br />

เริ่มตน แผนภาพแสดงคารบอนในชีวมวลและไบโอชารที่เหลืออยูหลังจากกระบวนการยอยสลายตามธรรมชาติ<br />

แสดงอยูในรูปที่ 1<br />

รูปที่ 1 แผนภาพแสดงคารบอนในชีวมวลและไบโอชารที่เหลืออยูหลังจากกระบวนการยอยสลายตาม<br />

ธรรมชาติ (A) คารบอนที่หลงเหลืออยูในชีวมวลหลังจากกระบวนการยอยสลายตามธรรมชาติเทียบกับ<br />

575


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คารบอนที่หลงเหลืออยูในไบโอชารหลังจาก 100 ป (B) ชวงเปอรเซ็นตของคารบอนในชีวมวลทีเหลืออยู<br />

หลังจากกระบวนการยอยสลายตามธรรมชาติเทียบกับไบโอชาร (Lehmann et al., 2006)<br />

นอกจากความสามารถในการกักเก็บคารบอนแลว ไบโอชารยังประกอบไปดวย ธาตุอาหารพืชตางๆ<br />

รวมถึงมีคุณสมบัติในการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน และทําใหพืชมีการเก็บกักและนําธาตุอาหารไปใชไดดียิ่งขึ้น<br />

(Lehmann et al., 2006) กลุมวิจัยที่อื่นๆ ก็รายงานผลในทํานองเดียวกันคือ ไบโอชาร สามารถปรับปรุงปจจัยที่<br />

สงผลตอสุขภาพของดิน ไดแก ความสามารถในการอุมน้ํา , คา pH , ธาตุอาหาร , คารบอนในดินและคุณสมบัต<br />

ทางชีวิวทยาของดิน (BEST energies, 2006) ยิ่งไปกวานั้น การนําไบโอชารไปใชกับดินในพื้นที่การเกษตรยัง<br />

สามารถลดการปลดปลอย กาซมีเทนและไนตรัสออกไซดไดดีอีกดวย (Dermibas et al., 2006; Joseph et al.,<br />

2007) อยางไรก็ตามกอนการนําไปไบโอชารไปใชกับดินควรมีการตรวจสอบคุณสมบัติ โดยเทียบกับมาตรฐานที่ใช<br />

ปรับปรุงดินโดยเฉพาะปริมาณโลหะหนักที่ปนเปอน เนื่องจากวัสดุชีวมวลบางชนิดที่นํามาผลิตไบโอชารอาจมีการ<br />

ปนเปอนโลหะหนักได<br />

การเก็บกักคารบอนในดิน (Soil carbon sequestration) โดยใชไบโอชาร ยังไมถูกรวมไวในระบบการวัด<br />

และการซื้อขายคารบอนในระดับนานาชาติ เนื่องจากความไมแนนอนในการวัด (Measurement uncertainties) เปน<br />

เหตุผลหลัก อยางไรก็ตามการนําประเด็นดังกลาวมารวมไวในระบบการวัดและการซื้อขายคารบอนในระดับ<br />

นานาชาติมีความเปนไปได ขึ้นอยูกับการเจรจาในการประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศครั้งตอไปวาจะนํามา<br />

รวมไว หลังจาก second commitment period (หลังจากป 2012) อยางไรก็ตาม การเก็บกักคารบอนในดินโดย<br />

ใชไบโอชารเปนหนึ่งในแนวทางที่มีศักยภาพที่สุดในการบรรเทาปญหาสภาวะอากาศเปลี่ยนและควรจะถูกรับรูโดยผู<br />

มีอํานาจตัดสินใจวาเปนแนวทางที่ควรจะนําไปเปนกลยุทธในการแกปญหาดังกลาว (Smith et al., 2007).<br />

2. วัตถุประสงค<br />

วัตถุประสงคของการศึกษานี้คือเพื่อประเมินศักยภาพการเก็บกักคารบอนจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

ของประเทศไทยไวในรูปของไบโอชาร ซึ่งผลิตการผลิตพลังงานชีวมวลดวยเทคโนโลยีไพโรไลซีส<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การศึกษานี้ไดทําการศึกษาอัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปนคารบอนที่เหลืออยูไบโอชาร<br />

(Carbon transfer coefficient) จากกระบวนการไพโรไลซีสแบบชา (slow pyrolysis) จากบทความที่เกี่ยวของและ<br />

กระบวนการที่ดําเนินการจริงในทั้งจากประเทศไทยและตางประเทศ โดยกระบวนการดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้<br />

ไพโรไลซีส (Pyrolysis) เปนกระบวนการทางเคมี-พลังงานความรอน (thermo-chemical) ซึ่งเปน<br />

การสลายตัวของเชื้อเพลิงคารบอน โดยใชอุณหภูมิจากแหลงภายนอกดวยอุณหภูมิ 450-750 องศาเซลเซียส โดย<br />

ปราศจากออกซิเจนหรืออากาศ (Bridgwater, 2002; CH2MHILL, 2007)<br />

โดยเชื้อเพลิงสวนที่ระเหยงาย (Volatile portion) จะถูกแปลงสภาพทางความรอนไปเปนกาซเชื้อเพลิง<br />

(Syngas) ซึ่งสามารถนําไปใชผลิตพลังงานในรูปไอน้ําหรือไฟฟา โดยใชหมอไอน้ํา กังหันไอน้ําหรือเครื่องยนต<br />

ที่ใชกาซเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสวนที่เหลือซึ่งสวนมากเปนคารบอนถึง 50%จะอยูในรูปของไบโอชาร (Bio-char)<br />

นอกจากไพโรไลซีสนั้นยังสามารถผลิตน้ํามัน (bio-oil) ไดถาเปนไพโรไลซิสแบบเร็ว (Fast pyrolysis) ซึ่งใหความ<br />

รอนสูงในระยะเวลาสั้นๆเพียงไมกี่วินาที (Bridgwater, 2002) โดยพลังงานที่ผลิตไดนั้นถือวาสามารถสามารถนํามา<br />

576


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ทดแทนพลังงานที่ผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ทําใหเปนการลดกาซเรือนกระจกในทางออม (Carbon offset) อีกทาง<br />

หนึ่งดวย กระบวนการไพโรไลซิสแสดงอยูในรูปที่ 2<br />

Carbon Offset<br />

กระแสไฟฟา<br />

ชีวมวลเหลือทิ้ง<br />

(C) 100%<br />

ไพโรไลซิส<br />

(Pyrolysis)<br />

Syngas<br />

(C) 50%<br />

CO 2<br />

Gas Engine<br />

Generator<br />

ไบโอชาร<br />

(Bio-char)<br />

(C) 50%<br />

การเก็บกักคารบอนจากไบโอชารไวในดิน<br />

พื้นที่การเกษตร<br />

รูปที่ 2 กระบวนการไพโรไลซีสและผลผลิตตางๆจากกระบวนการ<br />

อัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปนคารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon transfer<br />

coefficient) ดวยกระบวนการไพโรไลซิสมีไดมากที่สุดถึง 50 % ของคารบอนชีวมวลตั้งตน อยางไรก็ตาม คา<br />

เปอรเซ็นตคารบอนที่เหลืออยูนี้อาจจะนอยกวา 50 % ถาเปนกระบวนการไพโรไลซีสซึ่งเนนการผลิตพลังงานในรูป<br />

กาซเชื้อเพลิงใหไดมากที่สุด โดยไบโอชารที่ไดจากกระบวนการไพโรไลซีสรอบแรกจะถูกนําไปแกซซิไฟลอีกครั้ง<br />

หนึ่งเพื่อแปลงคารบอนสวนที่เหลือไปเปนกาซเชื้อเพลิง เชน เทคโนโลยีไพโรไลซีสตอดวยแกซซิฟเคชั่นของบริษัท<br />

BEST ENERGIES จากออสเตรเลีย (http://www.bestenergies.com/companies/bestpyrolysis.html) (Downie,<br />

2008) ซึ่งในขั้นสุดทายคารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชารมีประมาณ 10 % ของคารบอนในชีวมวลตั้งตน ในทํานอง<br />

เดียวกัน ระบบแกซซิฟเคชั่นในประเทศไทย เชนระบบที่พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารย ศุภวิทย ลวณะสกล จาก<br />

มหาวิทยาลัยราชมงคล ธัญบุรี ซึ่งในขั้นสุดทายคารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชารมีประมาณ 10 % ของคารบอนใน<br />

ชีวมวลตั้งตนเชนกัน (Jakrawatana and Lawanaskol, 2009) อยางไรก็ตามในการศึกษานี้จะเนนการเก็บกัก<br />

คารบอนไวในไบโอชารใหมากที่สุด ดังนั้นจึงเลือกใชอัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปนคารบอนที่<br />

เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon transfer coefficient) ที่ 50 % ของคารบอนชีวมวลตั้งตน อยางไรก็ตามถาคิด<br />

ความสามารถในการเก็บกักในระยะเวลา 100 ป ปริมาณคารบอนที่เก็บกักไดจะเหลืออยูที่ประมาณ 40% เนื่องจาก<br />

มีคารบอนบางสวนสลายตัวไปดังที่แสดงในรูปที่ 1 ดังนั้นงานศึกษานี้จึงเลือกใช อัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอน<br />

ในชีวมวลเปนคารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon transfer coefficient) ที่ 0.4 เพราะพิจารณาถึง<br />

ความสามารถที่เก็บกักไดในระยะยาว<br />

ภาพรวมของวิธีการศึกษาศักยภาพการเก็บกักคารบอนจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรของประเทศไทย<br />

ไวในรูปของไบโอชารแสดงไวในรูปที่ 3 ซึงวิธีการศึกษาเริ่มตนดวยการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิปริมาณผลผลิตพืชใน<br />

577


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประเทศไทย ในป 2552 แลวนําคาแฟคเตอรปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาคํานวณเพื่อหาปริมาณวัสดุเหลือ<br />

ใชทางการเกษตรทั้งหมด หลังจากนั้นจึงนําแฟคเตอรปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ที่ยังไมมีการใชมา<br />

คํานวณเพื่อหาปริมาณวัสดุเหลือใชที่ยังไมมีการใช เปอรเซ็นตคารบอนในวัสดุเหลือใชแตละชนิด ถูกรวมรวมมา<br />

จากขอมูลทุติยภูมิมาใชคํานวณหาปริมาณคารบอนทั้งหมดในวัสดุเหลือใชที่ยังไมมีการใช และทายที่สุดอัตราสวน<br />

การเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปนคารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon transfer coefficient) ดวย<br />

กระบวนการไพโรไลซิส ก็ถูกนํามาใชคํานวณ ปริมาณของคารบอนในรูปของไบโอชารที่สามารถกักเก็บไดจากชีว<br />

มวลเหลือใชทางการเกษตรที่ยังไมมีการใชทั้งหมด<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ผลการการศึกษาศักยภาพการเก็บกักคารบอนจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรของประเทศไทยไวในรูป<br />

ของไบโอชารแสดงในตารางที่ 1 จากการศึกษาพบวาในภาพรวม เมื่อพิจารณาชีวมวล 17 ชนิดหลัก จากพืช<br />

เศรษฐกิจหลักของประเทศไทยที่แสดงในตารางที่ 1 จะพบวามีชีวมวลทั้งหมด 593 ลานตัน ที่เกิดขึ้นในป 2552<br />

เนื่องจากชีวมวลบางสวนไดถูกใชงานในดานตางแลวเชน เปนวัสดุรองพื้นปศุสัตว อาหารสัตว หรือผลิตพลังงาน<br />

ดังนั้นจึงมีชีวมวลที่เหลือที่ไมถูกใชงานประมาณ 260 ลานตัน ซึ่งคิดเปนปริมาณคารบอนทั้งหมด 67 ลานตัน ซึ่งถา<br />

สามารถนําชีวมวลคารบอนเหลานี้มาเขากระบวนการไพโรไลซิสจะสามารถเก็บกักปริมาณคารบอนไวในไบโอชาร<br />

และในดินไดถึง 26.82 ลานตัน ในป 2552 (กรณีที่ไบโอชารถูกนําไปใชเปนสารปรับปรุงดินทั้งหมด)<br />

ปริมาณผลผลิตของพืช<br />

ปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตรทั้งหมด<br />

แฟคเตอรปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

ปริมาณวัสดุเหลือใชที่ยังไมมีการใช<br />

แฟคเตอรปริมาณวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

ที่ยังไมมีการใช<br />

เปอรเซ็นตคารบอนในวัสดุเหลือใชแตละชนิด<br />

ปริมาณคารบอนทั้งหมดในวัสดุเหลือใชที่ยังไมมี<br />

การใช<br />

ปริมาณของคารบอนในรูปของไบโอชารที่<br />

สามารถกักเก็บไดจากชีวมวลเหลือใชทาง<br />

การเกษตรที่ยังไมมีการใช<br />

อัตราสวนการเปลี่ยนถายคารบอนในชีวมวลเปน<br />

คารบอนที่เหลืออยูในในไบโอชาร (Carbon<br />

transfer coefficient) ดวยกระบวนการไพโรไลซิส<br />

รูปที่ 3 ภาพรวมของวิธีการศึกษาศักยภาพการเก็บกักคารบอนจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

ของประเทศไทยไวในรูปของไบโอชาร<br />

578


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 การคํานวณปริมาณชีวมวลเหลือใชทางการเกษตรของประเทศไทยป 2552 และปริมาณคารบอนที่สามารถกักเก็บไดในรูปของไบโอชาร<br />

ลําดับ ผลผลิต 1 ชีวมวล<br />

อัตราสวนชีวมวล 2<br />

ตอผลผลิต<br />

ตัน/ไร<br />

ปริมาณ<br />

ชีวมวล<br />

(ลานตัน)<br />

แฟคเตอร<br />

วัสดุเหลือใช<br />

ที่ยังไมมีการ<br />

นําไปใช 3,4<br />

ปริมาณชีวมวล<br />

เหลือใชที่ยังไมมี<br />

การใช(ลานตัน)<br />

% Carbon<br />

ของพืช 5<br />

ปริมาณ<br />

คารบอนใน<br />

ชีวมวลที่ยัง<br />

ไมมีการใช<br />

(ลานตัน)<br />

Carbon<br />

transfer<br />

coefficient<br />

ปริมาณของ<br />

คารบอนในรูป<br />

ของไบโอชารที่<br />

สามารถกักเก็บได<br />

(ลานตัน)<br />

1 ขาวเปลือก 31.28 ลานตัน แกลบ 21.00 % 6.57 0.493 3.238 37.48 % 1.21 0.40 0.49<br />

2 ขาวเปลือก 31.28 ลานตัน ฟางขาว 49.00 % 15.33 0.684 10.484 38.17 % 4.00 0.40 1.60<br />

3 ออย 66.78 ลานตัน ชานออย 28.00 % 18.70 0.207 3.871 21.33 % 0.83 0.40 0.33<br />

4 ออย 66.78 ลานตัน<br />

ใบและยอด<br />

ออย<br />

17.00 % 11.35 0.986 11.194 41.60 % 4.66 0.40 1.86<br />

5 ไมยางพารา 17.22 ลานไร ขี้เลื่อย 3 51.66 0.000 0.000 25.58 % 0.00 0.40 0.00<br />

6 ไมยางพารา 17.22 ลานไร ปกไม 12 206.64 0.410 84.722 25.58 % 21.67 0.40 8.67<br />

7 ไมยางพารา 17.22 ลานไร ปลายไม 12 206.64 0.410 84.722 25.58 % 21.67 0.40 8.67<br />

8 ปาลมน้ํามัน 8.32 ลานตัน ใยปาลม 19.00 % 1.58 0.134 0.212 30.82 % 0.07 0.40 0.03<br />

9 ปาลมน้ํามัน 8.32 ลานตัน กะลาปาลม 4.00 % 0.33 0.037 0.012 44.44 % 0.01 0.40 0.002<br />

10 ปาลมน้ํามัน 8.32 ลานตัน<br />

ทะลายเปลา<br />

ปาลม<br />

32.00 % 2.66 0.410 1.092 21.15 % 0.23 0.40 0.09<br />

11 ปาลมน้ํามัน 8.32 ลานตัน ทางปาลม 141.00 % 11.73 1.000 11.731 10.13 % 1.19 0.40 0.48<br />

12 ปาลมน้ํามัน 3.8 ลานไร ลําตนปาลม 10 38.00 1.000 38.000 23.90 % 9.08 0.40 3.63<br />

13 มันสําปะหลัง 30.09 ลานตัน<br />

กากมัน<br />

สําปะหลัง<br />

37.00 % 11.13 0.407 4.531 18.76 % 0.85 0.40 0.34<br />

14 มันสําปะหลัง 30.09 ลานตัน<br />

เปลือกมัน<br />

สําปะหลัง<br />

0.06 % 0.02 0.407 0.007 18.76 % 0.00 0.40 0.00<br />

15 มันสําปะหลัง 30.09 ลานตัน<br />

เหงามัน<br />

สําปะหลัง<br />

20.00 % 6.02 0.407 2.449 18.76 % 0.46 0.40 0.18<br />

16 ขาวโพด 4.43 ลานตัน ซังขาวโพด 24.00 % 1.06 0.410 0.436 28.19 % 0.12 0.40 0.05<br />

17 ขาวโพด 4.43 ลานตัน ลําตนขาวโพด 82.00 % 3.63 1.000 3.633 27.83 % 1.01 0.40 0.40<br />

รวม 383.99 593 260 67 26.82


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1.<br />

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553<br />

2<br />

ศูนยสงเสริมพลังงานชีวมวล, 2549<br />

3<br />

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2553<br />

4<br />

มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม, 2550<br />

5<br />

มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม, 2551<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การผลิตไบโอชารจากชีวมวลเหลือใชจากการเกษตรโดยเทคโนโลยีไพโรไลซิสมีผลประโยชนรวมกันใน<br />

หลายดานทั้งทางดานการผลิตพลังงานที่เปนพลังงานสะอาดทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล ทําใหลดปริมาณการปลอย<br />

กาซเรือนกระจกโดยทางออม (Carbon offset) และยังเปนการเก็บกักคารบอนไวอยางมีเสถียรภาพถาวรไวบนดิน<br />

ถาไบโอชารถูกใชเปนสารปรับปรุงดินซึ่งมีประโยชนในการเพิ่มความอุดมสมบูรณใหกักดินอีกดวย จากผล<br />

การศึกษานี้พบวาประเทศไทยมีศักยภาพชีวมวลที่นํามาผลิตไบโอชารในปริมาณมากและถาชีวมวลทั้งหมดที่ยังไม<br />

มีการใชงานถูกนํามาผลิตไบโอชารจะสามารถเก็บกักคารบอนไดสูงถึง 26.82 ลานตัน ซึ่งมีศักยภาพในการลดภาวะ<br />

โลกรอนไดสูง ดังนั้นการเก็บกักคารบอนในดินโดยใชไบโอชารเปนหนึ่งในแนวทางที่มีศักยภาพที่สุดในการบรรเทา<br />

ปญหาสภาวะอากาศเปลี่ยนและควรจะถูกรับรูโดยผูมีอํานาจตัดสินใจวาเปนแนวทางที่ควรจะนําไปเปนกล<br />

ยุทธในการแกปญหาดังกลาว แมวาการเก็บกักคารบอนในดิน (Soil carbon sequestration) โดยใชไบโอชาร ยังไม<br />

ถูกรวมไวในระบบการวัดและการซื้อขายคารบอนในระดับนานาชาติ แตมีความเปนไปไดในอนาคต ดังนั้นการ<br />

เตรียมพรอมในการขายคารบอนเครดิตจากการเก็บกักคารบอนในดินในอนาคตมีความสําคัญ เพื่อเปนการเพิ่ม<br />

รายไดใหกับเกษตรกรและยังเปนการสงเสริมใหเกษตรกรมีการทําการเกษตรอยางยั่งยืนมากขึ้นและทําใหดินมี<br />

ความอุดมสมบูรณมากขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาถึงผลประโยชนรวมในหลายๆดานตามที่กลาวมาขางตน นโยบายการผลิตพลังงานทดแทน<br />

โดยเฉพาะพลังงานจากชีวมวล และนโยบายลดกาซเรือนกระจก ควรมีการบูรณาการกับนโยบายทางดานเกษตร<br />

แบบยั่งยืนและพลักดันใหมีการศึกษาวิจัยและการสงเสริมการจัดการลงทุนใชเทคโนโลยีไพโลไลซีสในการผลิตไบ<br />

โอชารเพื่อใชเปนสารปรับปรุงคุณภาพดินและเพื่อการเก็บกักคารบอนในดิน รวมถึงศึกษาผลกระทบจาการใชไบ<br />

โอชารในดินในสภาพแวดลอมของประเทศไทย และวิธีการตรวจวัดการเก็บกักที่แนนอนเพื่อใชในการขายคารบอน<br />

เครดิตในอนาคต<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- BEST energies (2006). BEST Pyrolysis Technology and BEST Agrichar BEST energies<br />

Australia Pty.Ltd. Retrieved 15 Dec, 2008, from<br />

http://www.bestenergies.com/downloads/BESTagrichar-info.pdf.<br />

- Bridgwater, A. (2002). Thermal conversion of biomass and waste: The status. Bio-Energy<br />

Research Group, Aston University. Retrieved 15 December,2008,from<br />

www.icheme.org/literature/conferences/gasi/Gasification%20Conf%20Papers/session%202<br />

%20presentation-Bridgewater.PDF.


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- CH2MHILL (2007). Biomass-to-Energy Technology Evaluation. Environmental service<br />

department, city of San Jose Retrieved 15 Dec, 2008, from<br />

http://www.sanjoseca.gov/ESD/PDFs/Biomass-to-Energy_Final_Report_12-07.pdf.<br />

- Dermibas, A., Arslan, G. and Pehlivan, E. (2006). Recent studies on activated carbons<br />

and fly ashes from Turkish Resources. Energy Sources, Part A 28: 627-638.<br />

- Downie, A. (2008). Best Energies Pyrolysis Process: personal communication. N.<br />

Jakrawatana. Somersby.<br />

- Fowles, M. (2007). Black carbon sequestration as an alternative to bioenergy. Biomass<br />

and Bioenergy 31: 426-432.<br />

- Gibson, T. S., Chan, K. Y., Sharma, G. and Shearman, R. (2002). Soil Carbon<br />

Sequestration Utilizing Recycled Organics A review of the scienctific literature. The Organic<br />

Waste Recycling Unit, NSW Agriculture. Sydney.<br />

- Jakrawatana, N., Lawanaskol, S. (2009) Life Cycle Greenhouse Gas Balance of Small<br />

Bioenergy System Using Biomass Residue in Thailand International Conference on<br />

Green and Sustainable Innovation 2009 December 2-4, 2009, Chiang Rai<br />

- Joseph, S. D., Downie, A., Munroe, P., Crosky, A. and Lehman, J. (2007). Biochar for<br />

carbon sequestration, reduction of greenhouse gas emissions and enhancement of soil<br />

fertility; A review of the materials science. Australian combustion symposium, 9-11<br />

December, University of Sydney.<br />

- Kroodsma, D. A. and Field, C. B. (2006). Carbon sequestration in california agriculture,<br />

1980-2000. Ecological Applications 165: 1975-1985.<br />

- Lal, R. (1997). Residue management, conservation tillage and soil restoration for<br />

mitigating greenhouse effect by CO2-enrichment. Soil&Tillage Research 43: 81-107.<br />

- Lehmann, J., Gaunt, J. and Rondon, M. (2006). Bio-char sequestration in terrestrial<br />

ecosystems-A review. Mitigation and adaptation Strategies for Global Change 11: 403-427.<br />

- ROU (2007). Life cycle inventory and life cycle assessment for windrow composting<br />

systems. NSW department of environment and conservation. Sydney.<br />

- Smith, P., Martino, D., Cai, Z., Gwary, D., Janzen, H., et al. (2007). In Climate Change<br />

2007: Mitigation. Contribution of Working Group III to the Fourth Assessment Report of the<br />

Intergovernmental Panel on Climate Change: Agriculture. Cambridge University Press.<br />

Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA.<br />

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน(พพ.)กระทรวงพลังงาน. พลังงานชีวมวล.<br />

Available from: http://www2.dede.go.th/renew/bio_p.htm. สืบคนเดือน มิถุนายน 2553<br />

- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม โครงการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลเพื่อใช<br />

เปนพลังงานทดแทน (ระดับมหภาค), มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม, กรุงเทพ, 2550<br />

- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. องคประกอบของชีวมวลที่มีผลตอการผลิตไฟฟา Available<br />

from:<br />

581


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

http://www.efe.or.th/home.php?ds=preview&back=content&mid=hGtTu8zx7jWvD4by&doc=<br />

26nANzbwf3SYaIPH, 2551<br />

- ศูนยสงเสริมพลังงานชีวมวล มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. ชีวมวล. : บริษัท คิว พริ้นท แมเนจ<br />

เมนท จํากัด, 2549<br />

- สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2552. Available from:<br />

http://www.oae.go.th/download/download_journal/fundamation-2552.pdf , กระทรวงเกษตร<br />

และสหกรณ, 2553<br />

582


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การสังเคราะหและปรับปรุงวัสดุนาโน MCM-41 จากแกลบเพื่อดักจับ<br />

กาซคารบอนไดออกไซด<br />

Rice Husk MCM-41 Synthesis and Modifications for Carbon Dioxide Capture<br />

อนุสรณ บุญปก 1, 3 , นวดล เหลาศิริพจน<br />

1 , สิริลักษณ เจียรากร 2 , สิรินทรเทพ เตาประยูร 1 และ อํานาจ ชิดไธสง 1<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร 10140<br />

3<br />

ที่อยูปจจุบัน สํานักวิชาพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา<br />

เลขที่ 19 หมู 2 ต.แมกา อ.เมือง จ.พะเยา 56000<br />

บทคัดยอ<br />

กาซเรือนกระจกที่ปลอยสูบรรยากาศเปนสาเหตุของภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ซึ่งเปนกาซเรือนกระจกที่สําคัญ ดังนั้นมาตรการในการลดการปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกจําเปนตองไดรับการพัฒนาอยางเรงดวน เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคารบอน (Carbon capture<br />

and storage; CCS) เปนเทคโนโลยีหนึ่งที่มีศักยภาพในการลดการปลอยกาซ CO 2 จากแหลงกําเนิดขนาดใหญ<br />

อยางไรก็ตามการใช CCS ยังคงมีขอจํากัดอยู เชน วัสดุดูดซับ CO 2 มีประสิทธิภาพต่ําที่อุณหภูมิการดูดซับสูงๆ<br />

งานวิจัยนี้จึงมุงสังเคราะหและปรับปรุงวัสดุดูดซับใหสามารถดูดซับ CO 2 ไดดีที่อุณหภูมิสูง<br />

วัสดุนาโนไดสังเคราะหขึ้นจากแกลบ (R-MCM-41) และทําการปรับพื้นผิวของวัสดุ R-MCM-41 ดวย<br />

สารประกอบเอมีนชนิดตางๆ ไดแก Polyethylenimine (R-MCM-41-PEI), Monoethanolamine (R-MCM-41-<br />

MEA), Aniline (R-MCM-41-ANL), และ (3-Aminopropyl) trimethoxysilane (R-MCM-41-3AM) ที่ปริมาณ 50<br />

wt% (รอยละโดยน้ําหนักของวัสดุตอสารเอมีน) แลวทดสอบการดูดซับ CO 2 ที่อุณภูมิตางๆ ผลการศึกษาพบวาการ<br />

ปรับสภาพผิวดวยเอมีนมีผลทําใหพื้นที่ผิวของ R-MCM-41 ลดลง จาก 602 m 2 /g เปน 12.26, 327.60, 434.90,<br />

73.28 m 2 /g สําหรับ R-MCM-41-PEI, R-MCM-41-MEA, R-MCM-41-ANL และ R-MCM-41-3AM ตามลําดับ แต<br />

วัสดุที่ปรับสภาพผิวแลวจะมีความสามารถในการดูดซับ CO 2 ไดมากกวาวัสดุที่ไมไดปรับสภาพผิวโดยเฉพาะการ<br />

ทดสอบที่อุณหภูมิสูง กลาวคือที่อุณหภูมิ 75 °C วัสดุ R-MCM-41PEI มีความสามารถในการดูดซับ CO 2 สูงกวา<br />

วัสดุ R-MCM-41 ที่ไมไดปรับสภาพผิวประมาณถึง 2.7 เทา ความสามารถในการดูดซับที่อุณหภูมิ 75 °C ของ R-<br />

MCM-41, R-MCM-41-PEI, R-MCM-41-MEA, R-MCM-41-ANL, และ R-MCM-41-3AM เทากับ 0.34, 0.93,<br />

0.21, 0.33, 0.26 mmol/g ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: ภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การดักจับและกักเก็บคารบอน แกลบ และวัสดุนา<br />

โน MCM-41<br />

583


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Greenhouse gases (GHGs), especially CO 2 , are the main causes contributing to global warming<br />

and climate change. To avoid the adverse effects of climate change, measures and options to mitigate<br />

GHGs are urgently needed. Carbon Capture and Storage (CCS) is one of the most promising CO 2<br />

mitigation options that can be applied to the large stationary CO 2 point sources. However, application of<br />

CCS is still very limited, partly due to low CO 2 adsorption capacity at high temperature as typically found<br />

for the case of flue gas from a power plant stack. This work is, therefore, focused on the synthesis and<br />

modification of solid sorbent for enhancing CO 2 adsorption capacity under such conditions.<br />

R-MCM-41 was synthesized from rice husk and modified by using different amines;<br />

Polyethylenimine (R-MCM-41-PEI), Monoethanolamine (R-MCM-41-MEA), Aniline (R-MCM-41-ANL), and<br />

(3-Aminopropyl) trimethoxysilane (R-MCM-41-3AM) at the loading ratio of 50 wt%. The materials were<br />

then investigated for their CO 2 adsorption capacity over the temperature ranges of 30-100 °C. Compared<br />

to the unmodified R-MCM-41, the BET surface area of amine modified R-MCM-41 was decreased from<br />

602 m 2 /g to 12.26, 327.60, 434.90, 73.28 m 2 /g for R-MCM-41-PEI, R-MCM-41-MEA, R-MCM-41-ANL and<br />

R-MCM-41-3AM, respectively. However, all modified R-MCM-41 showed higher CO 2 adsorption capacity<br />

than that of un-modified R-MCM-41, especially at high temperatures. At 75 °C, the CO 2 adsorption<br />

capacity of R-MCM-41-PEI was 2.7 times higher than that of R-MCM-41. The maximum CO 2 adsorption<br />

capacity of R-MCM-41-PEI, R-MCM-41-MEA, R-MCM-41-ANL, and R-MCM-41-3AM was 0.34, 0.93, 0.21,<br />

0.33, 0.26 mmol/g, respectively.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่โลกเผชิญในปจจุบัน มีสาเหตุมาจากการที่มนุษยได<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศในปริมาณมากและในอัตราเร็วเกินกวากลไกตามธรรมชาติจะสามารถควบคุม<br />

และปรับตัวตามได จากรายงานของ IPCC (2007) ระบุวา ภายใตการคาดการณที่เปนเชิงบวกที่สุด (most<br />

optimistic mitigation scenario) อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะยังคงเพิ่มขึ้นอีกอยางนอย 1.5-2 °C ภายใน 100 ป<br />

ปจจุบันวงการวิทยาศาสตรจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อนํามาซึ่งการลดการปลดปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกอยางไดผลและทันทวงที กาซเรือนกระจกที่ปลอยสูบรรยากาศและเปนสาเหตุของภาวะโลกรอนและการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนับตั้งแตการปฏิวัติอุตสาหกรรมจนถึงปจจุบันนั้นกวา 69% เปน CO 2 ที่ปลอยออกมา<br />

จากภาคพลังงาน การลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงานฟอสซิลนั้น นอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพ<br />

ในกระบวนการใชเชื้อเพลิงแลว ยังสามารถทําไดในขั้นตอนหลังการเผาไหม กอนที่กาซเรือนกระจกจะถูกปลอยออก<br />

สูบรรยากาศดวยเทคโนโลยีที่การดักจับและกักเก็บคารบอน (Carbon capture and storage; CCS) ในปจจุบัน<br />

CCS ถือวาเปนเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการลดการปลดปลอยกาซ CO 2 จาการใชพลังงานฟอสซิล แตยังมี<br />

อุปสรรคหลักในการพัฒนา คือมีประสิทธิภาพการดักจับ CO 2 ของวัสดุดูดซับต่ํา โดยเฉพาะที่อุณหภูมิสูง ซึ่งเปน<br />

อุณหภูมิในสถานการณจริงที่มีการปลอย CO 2 ออกมา เชน จากปลอง Flue gas ของโรงผลิตไฟฟา เปนตน<br />

การศึกษาครั้งนี้ จึงมีจุดประสงคเพื่อ สังเคราะหวัสดุดูดซับและปรับผิวดวยสารเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูด<br />

ซับ CO 2 ดังกลาว โดยการนําเทคโนโลยีวัสดุนาโนเขามาชวย ซึ่งวัสดุนาโนนี้มีความเหมาะสมที่จะนํามาใชเปนตัว<br />

584


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ดูดซับเพราะมีพื้นที่ผิวสูง โครงสรางมีความเปนระเบียบและสามารถทนความรอนไดสูง (Xu et al. 2005; Zhao et<br />

al. 2007; Zeleňák et al. 2008)<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อสังเคราะหวัสดุนาโน MCM-41 จากแกลบ และปรับปรุงสมบัติพื้นผิวของ MCM-41 ดวยสารประกอบ<br />

เอมีนเพื่อเพิ่มการดูดซับ CO 2<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 การสังเคราะหวัสดุวัสดุนาโน MCM-41<br />

งานวิจัยนี้ใชแกลบจากโรงสีขาวมาเปนวัตถุดิบเริ่มตนของการสังเคราะห ในขั้นตอนแรกไดนําแกลบมาลาง<br />

ทําความสะอาดดวยน้ํากลั่นและอบใหแหง ซิลิกาซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของแกลบไดถูกสกัดโดยวิธีไฮโดรไลซิส<br />

ดวย กรด HCl เขมขน 1 โมลาร ที่อุณหภูมิ 80 °C ลางดวยน้ํากลั่นจน pH เปนกลาง นําไปอบใหแหงแลวเผาที่<br />

อุณหภูมิ 650 °C เปนเวลา 4 ชั่วโมง ซิลิกาที่สกัดไดนี้นํามาใชเปนวัสดุตั้งตนในการสังเคราะหวัสดุนาโนขนาด<br />

Mesopore (R-MCM-41) ตามวิธีการของ Chiarakorn et al. (2007) โดยใชสัดสวนปริมาณซิลิกาตอ template<br />

(CTAB, Cetyltrimethylammonium bromide) ดังนี้ 1SiO 2 : 1.09NaOH: 0.13CTAB: 0.12H 2 O แลวจึงทําการปรับ<br />

สภาพพื้นผิวของวัสดุ R-MCM-41 ดวยสารประกอบเอมีน 4 ชนิด ไดแก Polyethylenimine (R-MCM-41-PEI),<br />

Monoethanolamine (R-MCM-41-MEA), Aniline (R-MCM-41-ANL), และ (3-Aminopropyl) trimethoxysilane (R-<br />

MCM-41-3AM) ในสัดสวน 50 wt% ดวยวิธีการ impregnation แลวทดสอบการดูดซับ CO 2 ที่อุณหภูมิแตกตางกัน<br />

ตั้งแต 30 ถึง 100 °C<br />

3.2 การวิเคราะหสมบัติวัสดุนาโน MCM-41<br />

พื้นที่ผิวและความพรุนของวัสดุวิเคราะหดวยวิธีเครื่อง Autosorb-1 chrantachome BEL (BELSORP-miniII,<br />

Osaka, BEL Japan Inc.) ใช N 2 เปน adsorbate ที่อุณหภูมิ 77 เคลวิล (BELSORP-miniII, Osaka, BEL Japan<br />

Inc.) พื้นที่ผิวใชสมการ Brunauer-Emmett-Teller (BET) ในการคํานวนโดยใชขอมูลจากไอโซเทอมการดูดซับที่<br />

P/P 0 ในชวง 0.05-0.35 (ตามคําแนะนําของผูผลิตเครื่องมือ) ปริมาตรของรูพรุนคํานวนโดยใชขอมูลจากไอเทอมการ<br />

ดูดซับ P/P 0 จนถึง 0.99 ทั้งนี้ขนาดของรูพรุนจําแนกตามขนาดโดยอาอิงจาก IUPAC (the International Union of<br />

Pure and Applied Chemistry) ไดแก micropore: (ขนาดรูพรุนเล็กกวา 2 nm), mesopore (ขนาดรูพนุนตั้งแต 2<br />

ถึง 50 nm) และ macropore (ขนาดรูพรุนมากกวา 50 nm) (Sing 1985) หมูฟงกชันของวัสดุนาโน MCM-41<br />

วิเคราะหดวยเครื่องมือ Fourier Transform Infrared Spectroscopy: FTIR (Perkin Elmer, Spectrum One) ใช<br />

KBr บดผสมกับตัวอยาง (รอยละ 1 %wt) และนําไปอัดใหเปนแผนบางใสดวยความดัน 10 N/m 2 แผนตัวอยางนี้<br />

นําไปสแกนดวยเครื่อง FTIR ดวยรังสีอินฟราเรดกลางซึ่งจะสัมพันธกับการสั่นสะเทือนของพันธะโควาเลนซใน<br />

โมเลกุลของสาร ทําใหโมเลกุลดูดกลืนแสงแลววัดสงที่ผานออกมาแสดงผลเปนความสัมพันธของความถี่หรือ<br />

wavenumber กับคาการสองผานของแสง ซึ่งลักษณะของสเปกตรัมการดูดกลืนแสงนี้จะเปนสมบัติเฉพาะของสาร<br />

แตละชนิด การวิเคราะหลักษณะโครงสรางผลึกของซิลิกา และ MCM-41 ใชการศึกษาเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสี<br />

เอกซ (X-ray diffraction; XRD, D-8 Discover, Bruker, Germany) โดยใชแหลงกําเนิดแสงจาก CuKα (40 kV,<br />

40 mA) ซิลิกาวิเคราะหในชวงมุมการเลี้ยวเบน 2θ ในชวง 0 ถึง 60 องศา และ 1 ถึง 10 องศา สําหรับ MCM-41<br />

585


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.3 การดูดซับคารบอนไดออกไซด<br />

การทดลองการดูดซับ CO 2 ใชถังปฏิกรณชนิด Column tube เชื่อมตอกับแมสสเปกโทรเมทรี่ (Mass<br />

Spectrometer: MS) ควบคุมอัตราการไหลของกาซดวย Mass flow controller ใหมีอัตราการไหลของกาซที่ 50<br />

ml/min และมี switching valve ที่สามารถปรับเปลี่ยนทิศทางการไหลของ CO 2 ใหผานหรือไมใหผานถังปฏิกรณได<br />

ทั้งนี้การทดลองไดทําเปน cycle ประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ไดแก 1) ขั้นตอน Pretreated เพื่อใหวัสดุดูดซับพรอม<br />

ใชงาน โดยการใหกาซ N 2 ไหลผานวัสดุดูดซับ 2) ขั้นตอนการทํา Baseline measurement เพื่อวัดปริมาณความ<br />

เขมขนเริ่มตนของกาซ CO 2 ที่ใชในการทดลอง โดยการ by-pass กาซ CO 2 ใชความเขมขนเริ่มตนนของ CO 2<br />

เทากับ 15 %v/v ดวยอัตราการไหล 50 ml/min เขาเครื่อง MS โดยตรงโดยไมผานวัสดุดูดซับ 3) ขั้นตอนการวัด<br />

การดูดซับเพื่อศึกษาปริมาณ CO 2 ที่ถูกดูดซับได โดยการปรับการไหลของกาซ CO 2 ผานเขามาในถังปฏิกรณที่มี<br />

วัสดุดูดซับอยู ความสามารถในการดูดซับ CO 2 นี้ไดทําการเปรียบเทียบที่อุณหภูมิการดูดซับระหวาง 30 ถึง 100<br />

°C และ 4) ขั้นตอน desorption เพื่อศึกษาการคายการดูดซับ โดยการ Switch จากกาซ CO 2 เปน N 2 ไหลผานวัสดุ<br />

ดูดซับดวยอัตราการไหลและอุณหภูมิเดียวกันกับการทดลองการดูดซับ การคํานวณความสามารถในการดูดซับ<br />

CO 2 ไดจากการเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานที่ทราบความเขมขนแลว โดยแสดงในหนวยของจํานวนโมล CO 2 ที่<br />

ถูกดูดซับตอน้ําหนักของวัสดุดูดซับ (mmol/g)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 สมบัติของซิลิกาและวัสดุ R-MCM-41<br />

ในขั้นตอนแรก จําเปนตองมีการศึกษาลักษณะโครงสรางผลึกของซิลิก ซึ่งในการการสังเคราะห R-MCM-41<br />

จําเปน ตองใชซิลิกาชนิดแบบอสัณฐาน (Amorphous) ซิลิกาจากแกลบที่สกัดไดมีสีขาว การวิเคราะหโครงสราง<br />

ของผลึกดวยวิธี XRD (รูปที่ 1) โดยใช CuKα เปนแหลงกําเนิดแสง พบวาซิลิกาที่สกัดจากแกลบมีโครงสรางเปน<br />

แบบอสัณฐาน (Amorphous silica) พีกที่พบ 2θ = 22.26 ซึ่งเปนตําแหนงของซิลิกา ตามที่ไดมีการรายงานใน<br />

การศึกษาอื่นๆ (Della et al. 2002) ทั้งนี้จากการวิเคราะหดวยวิธี X-ray fluorescence พบวาซิลิกาที่ไดจากการ<br />

สกัดดวยวิธีนี้จะมีความบริสุทธิ์ของ SiO 2 ประมาณ 98-99% การคํานวณพื้นที่ผิวและขนาดรูพรุน พบวามีพื้นที่ผิว<br />

248.97 m 2 /g ขนาดรูพรุนเฉลี่ย 3.22 nm และปริมาตรรูพรุน 0.29 cm 3 /g<br />

การวิเคราะหสมบัติทางกายภาพและเคมีของวัสดุ R-MCM-41 ที่สังเคราะหมาจากซิลิกาที่สกัดได พบวา มี<br />

พฤติกรรมการดูดซับกาซไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 77 องศาเคลวิล ตามแบบไอโซเทอมการดูดซับประเภทที่ IV ตาม<br />

ระบบ IUPAC R-MCM-41 มีขนาดรูพรุนที่จัดอยูในวัสดุรูพรุนขนาดกลาง โดยมีพื้นที่ผิวประมาณ 602 m 2 /g,<br />

ขนาดรูพรุนเฉลี่ย 2.43 nm และปริมาตรรูพรุน 0.49 cm 3 /g ทั้งนี้เมื่อเทียบกับการจัดเรียงโครงสรางโมเลกุลของ<br />

SiO 2 ของ MCM-41 ทางการคาที่โดยทั่วๆไป จะมีโครงสรางการจัดเรียงโมเลกุลแบบ hexagonal และเมื่อวิเคราะห<br />

ผลึกดวย XRD จะแสดงพีกจํานวนสามตําแหนง คือที่มุม 2θ เทากับ 2.7 4.7 และ 5.4 โดยจะสอดคลองกับ hkl<br />

ของการตกกระทบแบบ 100, 110 และ 200 ตามลําดับ (Beck et al. 1992; Ciesla and Schuth 1999; Kumar et<br />

al. 2001) สวนการวิเคราะหโครงสรางผลึกของ R-MCM-41 โดยวิธีการ XRD พบวามีพีกเกิดขึ้นที่มุม 2θ เทากับ<br />

2.6 4.5 และ 5.3 เนื่องจากในเถาแกลบนั้นนอกจาก SiO 2 แลวยังเจือปนดวยแรธาตุอื่นๆอีกดวย ซึ่งอาจเปนสาเหตุ<br />

ที่ทําใหการจัดเรียงโมเลกุลของ R-MCM-41 เปลี่ยนไปบาง<br />

การศึกษาหมูฟงกชันของ R-MCM-41 ดวยวิธี FTIR เพื่อตองการตรวจสอบหมูฟงกชันในตัวอยางที่ไดทํา<br />

การปรับปรุงดวยสารเอมีนแลว (รูปที่ 2) พบวา ซิลิกาแกลบประกอบดวยหมู alkyl ที่ตําแหนง Wave number<br />

2990-2855 cm -1 and 1485-1415 cm -1 ทั้งซิลิกาและ R-MCM-41 มีพีกกวางๆ ที่ตําแหนง 2800 and 3700 cm -1<br />

586


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ซึ่งเปนตําแหนงของกลุม Silanol (Si-OH) สวนพีกที่ตําแหนง 1100 cm -1 เปนกลุมที่มีพันธะของ Siloxane bond<br />

(Si-O-Si)<br />

a)<br />

b)<br />

รูปที่ 1 X-ray diffraction pattern ของ a) ซิลิกา และ b) R-MCM-41<br />

รูปที่ 2 กราฟ FTIR ของ ซิลิกาแกลบ (RHS) และ R-MCM-41<br />

587


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 สมบัติของวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพพื้นผิวดวยการประกอบเอมีน<br />

R-MCM-41 ที่สังเคราะหไดนํามาทําการปรับสภาพผิวดวยสารเอมีน ไดแก Polyethylenimine (PEI)<br />

Monoethanolamine (MEA) และ Aniline (ANL) ดวยวิธีการ Impregnation ที่อุณหภูมิหองโดยใชสัดสวนของ R-<br />

MCM-41 ตอเอมีน เทากับ 50 wt% ผลการวิเคราะหพื้นที่ผิวของวัสดุ R-MCM-41 และ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพ<br />

ดวยสารเอมีนชนิดตางๆ แลวพบวาพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูพรุนลดลง ซึ่งเกิดจากการที่สารเอมีนเขาไปอุดตันอยู<br />

ในรูพรุนของวัสดุ (ตารางที่ 1) เนื่องจาก PEI มีโครงสรางเปนสายโซยาวมีโครงสรางใหญทําใหเกิดการอุดตันในรู<br />

พรุนไดมากกวาเอมีนชนิดอื่นๆ ตัวอยางที่ปรับสภาพผิวดวยเอมีนที่เหลือทั้งสามชนิดนั้นยังคงมีพื้นที่ผิวมากกวา R-<br />

MCM-41-PEI เนื่องจากมีมวลโมเลกุลขนาดเล็กกวา PEI มาก<br />

ตารางที่ 1 ความพรุนของวัสดุ R-MCM-41 และวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวดวยสารเอมีนชนิดตางๆ<br />

Amine source<br />

(50 wt%)<br />

Sample name<br />

BET surface area<br />

(m 2 /g)<br />

Pore volume<br />

(cm 3 /g)<br />

Pore size<br />

(nm)<br />

None R-MCM-41 602.00 0.49 2.43<br />

PEI R-MCM-41-PEI 12.26 0.14 43.89<br />

MEA R-MCM-41-MEA 317.60 0.59 7.39<br />

ANL R-MCM-41-ANL 434.90 0.69 6.30<br />

3AM R-MCM-41-3AM 73.28 0.33 18.10<br />

การศึกษาหมูฟงกชั่นของวัสดุ R-MCM-41 และวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพพื้นผิวดวยเอมีนดวยวิธี<br />

FTIR โดยใชชวงคลื่น Mid-infrared ที่ 450-4000 cm -1 (รูปที่ 3) พบวา R-MCM-41 และ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพ<br />

ผิวแลวแสดงเสนกราฟ FTIR เหมือนกัน ยกเวนวัสดุที่ปรับสภาพพื้นผิวดวย PEI จากกราฟ FTIR ของ R-MCM-41<br />

พบวาแสดงพีกที่ตําแหนง 467 cm -1 แสดงถึงพันธะของ Si-O สวนพีกที่ตําแหนง 802 และ 1091 cm -1 แสดงถึง<br />

พันธะ Si-O-Si และพีกที่ตําแหนง 3435 cm -1 และ 963 cm -1 แสดงถึงพันธะไฮโดรเจน (Si-OH) MCM-41 ทั้งนี้จะ<br />

พบวามี CO 2 ปรากฎอยูที่พีกตําแหนง 1632 cm -1 ซึ่งพบไดโดยทั่วไปในตัวอยางวัสดุ MCM-41 (Chiarakorn,<br />

2003)<br />

รูปที่ 3 หมูฟงกชั่นที่ผิวของวัสดุ R-MCM-41 และวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวแลว<br />

588


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 ความสามารถในการดูดซับ CO 2<br />

วัสดุนาโนที่สังเคราะหไดถูกนํามาศึกษาความสามารถในการดูดซับกาซ CO 2 ที่ความเขมขนเริ่มตนที่ 15<br />

% v/v (ปรับความเขมขนดวย N 2 ) ดวยอัตราการไหล 50 ml/min ทดลองการดูดซับที่อุณหภูมิแตกตางกันตั้งแต 30<br />

ถึง 100 °C โดยใชถังปฏิกรณที่ใชเปนแบบ column tube ควบคุมอุณหภูมิดวยเตาเผาเชื่อมตอกับ Thermocouple<br />

กาซ CO 2 ดูดซับไดจะตรวจสอบดวยเครื่องแมสสเปกโทรเมทรี่ แลวคํานวณเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานที่ทราบ<br />

ความเขมขนแลว<br />

4.3.1 ผลของชนิดของสารเอมีนตอการดูดซับ CO 2<br />

รูปที่ 4 แสดงความสามารถในการดูดซับ CO 2 ของวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวแลวดวยเอมีนชนิด<br />

ตางๆ และวัสดุ R-MCM-41 ที่ยังไมไดปรับสภาพผิว ทั้งไดกําหนดการเรียกชื่อวัสดุดวยการตอทาย R-MCM-41<br />

ดวยชนิดของเอมีน (Polyethylenimine; PEI, Monoethanolamine; MEA, Aniline; ANL, และ (3-Aminopropyl)<br />

trimethoxysilane; 3AM) และตัวเลขทายชื่อแทนถึงปริมาณรอยละของเอมีนที่เติมลงในวัดสุ เชน R-MCM-41_PEI<br />

50 คือวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวดวย Polyethylenimine รอยละ 50% พบวา R-MCM-41-PEI50 มี<br />

ความสามารถในการดูดซับ CO 2 ไดสูงที่สุดทุกชวงอุณหภูมิที่ทดสอบ โดยมีความจุของการดูดซับ เทากับ 0.33,<br />

0.49, 0.93, and 0.67 mmol/g ที่อุณหภูมิ 30, 50, 75, และ 100 °C ตามลําดับ จะเห็นไดวาความสามารถในการ<br />

ดูดซับของวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวดวย PEI แลวนั้นมีความจุในการดูดซับ CO 2 เพิ่มขึ้นกวาวัสดุตั้งตนทุก<br />

ชวงอุณหภูมิ โดยเฉพาะที่อุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิหอง จากการวิเคราะหทางสถิติโดยวิธี t-test ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% พบวา ความสามารถในการดูดซับ CO 2 ของวัสดุ R-MC-41-MEA50 สูงกวา R-MCM-41 อยางมีนัยสําคัญ<br />

โดยเฉพาะที่ 50, 75 และ 100 °C และแปรผกผันกับอุณหภูมิการดูดซับ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นความสามารถในการดูด<br />

ซับมีคาลดลง ในขณะที่ความสามารถในการดูดซับ CO 2 วัสดุ R-MCM-41_PEI50 R-MCM-41-ANL50 และ R-<br />

MCM-41-3AM50 นั้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความสามารถในการดูดซับเพิ่มขึ้นดวย R-MCM-41-PEI50 มี<br />

ความสามารถในการดูดซับ CO 2 ไดสูงที่สุดทุกชวงอุณหภูมิที่ทดสอบ<br />

รูปที่ 4 ความสามารถในการดูดซับ CO 2 ของวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวดวยสารเอมีนชนิดตางๆที่ 50<br />

wt% (ความเขมขนเริ่มตนของ CO 2 เทากับ 15 %v/v, อัตราการไหล 50 ml/min)<br />

589


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3.2 ผลของปริมาณ PEI ที่ใชในการปรับสภาพผิวตอความสามารถในการดูดซับ CO 2<br />

รูปที่ 5 แสดงความสามามารถในการดูดซับ CO 2 ของวัสดุดูดซับที่ปรับสภาพผิวดวย PEI ที่ปริมาณตางๆกัน<br />

และที่อุณหภูมิการดูดซับตางๆ พบวาที่อุณหภูมิสูงกวา 30 °C วัสดุที่ปรับสภาพผิวดวย PEI มีความสามารถในการ<br />

ดูดซับ CO 2 ไดดีมากกวาวัสดุ R-MCM-41 ที่ไมไดปรับสภาพผิว กลาวคือที่ 75 °C ความสามารถในการดูดซับของ<br />

R-MCM-41 ที่ปรับผิวดวย PEI เปนปริมาณ 50 wt%, 25 wt%, 5 wt% และ R-MCM-41 เทากับ 0.93, 0.78, 0.46<br />

และ 0.34 ตามลําดับ จะเห็นไดวา R-MCM-41-PEI50 มีความสามารถในการดูดซับ CO 2 สูงกวา R-MCM-41 มาก<br />

ถึง 2.7 เทา ทั้งนี้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิการดูดซับ R-MCM-41 มีแนวโนมในการดูดซับลดลง ซึ่งเปนพฤติกรรมทั่วไปของ<br />

การดูดซับแบบกายภาพ ในทางตรงกันขามวัสดุ R-MCM-41-PEI50 มีแนวโนมการดูดซับเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิ<br />

เพิ่มขึ้น ซึ่งนาจะเกิดจากการการดูดซับในทางเคมีรวมกับการดูดซับทางกายภาพ<br />

รูปที่ 5 ความสามารถในการดูดซับ CO 2 ของวัสดุ R-MCM-41 ที่ปรับสภาพผิวดวย PEI ที่ปริมาณตางๆ<br />

(ความเขมขนเริ่มตนของ CO 2 เทากับ 15 %v/v, อัตราการไหล 50 ml/min)<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

แกลบสามารถนํามาสกัดซิลิกาซึ่งใชเปนวัสดุตั้งตนในการผลิตวัสดุ MCM-41 ไดเปนอยางดีชวยใหสามารถ<br />

เพิ่มมูลคาของเศษวัสดุทางการเกษตรที่มีอยูอยางมากมายในประเทศ และการปรับสภาพผิว MCM-41 ดวยสารเอ<br />

มีนนั้นชวยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับ CO 2 ที่อุณหภูมิสูงได โดยเฉพาะการใชสาร PEI ที่อุณหภูมิ 75 °C วัสดุ R-<br />

MCM-41-PEI50 มีความสามารถการดูดซับ CO 2 สูงกวา R-MCM-41 ที่ไมปรับสภาพผิวถึง 2.7 เทา<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) มูลนิธิศึกษาเชลล 100 ป<br />

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี และมหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

พะเยา<br />

590


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Beck, J. S., J. C. Vartuli, et al. (1992). "A new family of mesoporous molecular sieves prepared<br />

with liquid crystal templates." J. Am. Chem. Soc. 114(27): 10834-10843.<br />

- Chiarakorn, S. (2003). Utilization of Rice Husk Silica for Synthesis of Mesoporous Molecular<br />

Sieve MCM-41 Applied for Catalytic Hydrodechlorination of Chlorinated Volatile Organic<br />

Compounds. Graduate School, Chulaongkorn University. Dissertation for Degree of Doctor of<br />

Philosophy in Environmental Management: 165.<br />

- Chiarakorn, S., T. Areerob, et al. (2007). "Influence of functional silanes on hydrophobicity of<br />

MCM-41 synthesized from rice husk." Science and Technology of Advanced Materials 8(1-2):<br />

110-115.<br />

- Ciesla, U. and F. Schuth (1999). "Ordered mesoporous materials." Microporous and<br />

Mesoporous Materials 27(2-3): 131-149.<br />

- Della, V. P., I. Kuhn, et al. (2002). "Rice husk ash as an alternate source for active silica<br />

production." Materials Letters 57(4): 818-821.<br />

- IPCC (2007). Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working<br />

Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change. S.<br />

Solomon, D. Qin, M. Manninget al. Cambridge University Press, Cambridge, United Kingdom and<br />

New York, NY, USA: 996.<br />

- Kumar, D., K. Schumacher, et al. (2001). "MCM-41, MCM-48 and related mesoporous<br />

adsorbents: their synthesis and characterisation." Colloids and Surfaces A: Physicochemical and<br />

Engineering Aspects 187-188: 109-116.<br />

- Sing, K. S. W., D.H. Everett, R.A.W. Haul, L. Moscou, R.A. Pierotti, J. Rouquerol, and T.<br />

Siemieniewska, (1985). "Reporting Physisorption Data for Gas/Solid Systems with Special<br />

Reference to the Determination of Surface Area and Porosity." Pure Appl Chem 57: 603–619.<br />

- Xu, X., C. Song, et al. (2005). "Adsorption separation of carbon dioxide from flue gas of natural<br />

gas-fired boiler by a novel nanoporous "molecular basket" adsorbent." Fuel Processing<br />

Technology 86(14-15): 1457-1472.<br />

- Zeleňák, V., M. Badaničová, et al. (2008). "Amine-modified ordered mesoporous silica: Effect of<br />

pore size on carbon dioxide capture." Chemical Engineering Journal 144(2): 336-342.<br />

- Zhao, H., J. Hu, et al. (2007). "CO 2 Capture by the Amine-modified Mesoporous Materials."<br />

Acta Physico-Chimica Sinica 23(6): 801-806.<br />

591


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 3 ผลกระทบและการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศ : อุทกวิทยา และการเกษตร<br />

(Session III Impact and Adaptation: Hydrology and<br />

Agriculture)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ทุนการรับมือตอความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม<br />

Coping Capacity to Climate Variability of Agricultural Community in Chiangmai,<br />

Province<br />

บัญจรัตน โจลานันท1* และ มณฤดี มวงรุง 2<br />

1 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา<br />

2 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ<br />

* E-mail: banjarata@yahoo.com<br />

บทคัดยอ<br />

วัตถุประสงคของการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาผลกระทบและทุนที่ใชในการรับมือตอความแปรปรวนของสภาพ<br />

ภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกรภาคเหนือของประเทศไทย กระบวนการวิจัยผสมผสานวิธีการเชิงคุณภาพและเชิง<br />

ปริมาณภายใตกรอบแนวคิดกระบวนการมีสวนรวมและการสะทอนจากลางสูบนของชุมชนในการดําเนินการ การ<br />

ศึกษาพบวาภัยพิบัติแลง ไดแก ปญหาความเขมของฝนลดนอยลงและปญหาฝนตกทิ้งชวงเปนเวลานาน ซึ่งนําไปสู<br />

การขาดแคลนทรัพยากรน้ําและความอุดมสมบรูณของทรัพยากรดินที่ต่ํา ลวนเปนผลกระทบที่สําคัญตอความ<br />

เปราะบางและความออนไหวของชุมชนออนใต ผลการศึกษาบงชี้วากระบวนการสวนรวมและการพึ่งตนเองถือเปน<br />

ทุนในการรับมือและเสริมสรางภูมิคุมกันใหแกคนในชุมชน ภายใตเงื่อนไขความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่<br />

เปลี่ยนไปได นอกจากนี้จําเปนตองมีกลยุทธแนวทางการปรับตัวที่มีประสิทธิผล เพื่อใชเปนทุนในการตอบสนองตอ<br />

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอนาคต<br />

คําสําคัญ: การรับมือ ความแปรปรวน สภาพภูมิอากาศ ชุมชน เกษตรกร<br />

Abstract<br />

The research purpose is to investigate the impacts and coping capacity to climate variability of<br />

agricultural community in the north of Thailand. Under the conceptual framework of participatory action<br />

research (PAR) and the bottom up approach, the research processes were carried out by combining the<br />

qualitative and quantitative methods. It was found that drought problems such as short duration and low<br />

intensity of rainfall leading to water resources were limited as well as soil fertility was low, were the most<br />

important impact for On-Tai community vulnerability and sensitivity. Results indicated that communitybased<br />

participation and empowerment can be a useful tool in coping with and recover from climatic<br />

stresses and shocks. Moreover, the effectiveness of adaptive strategies to respond and adjust to actual<br />

or potential impacts of changing long-term climate conditions is necessary.<br />

593


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (climate change) ที่นับวันไดทวีความรุนแรงขึ้นและ<br />

คอนขางยากตอการรับมือกับปญหาทางธรรมชาติดังกลาว เชน 1)ผลกระทบตอทรัพยากรน้ํา ไดแก ปญหาภัยแลง<br />

ปญหาฝนทิ้งชวง ปญหาน้ําทวม ปญหาพายุและคลื่นยักษ ปญหาน้ําแข็งขั้วโลกหลอมละลาย และปญหา<br />

ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 2)ผลกระทบตอทรัพยากรดิน ไดแก การขาดความอุดมสมบรูณ ปญหาความเสื่อมโทรมของดิน<br />

และปญหาการรุกคืบของทะเลทราย 3)ผลกระทบตอระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติ ไดแก การ<br />

เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศธรรมชาติในทางดอย ปญหาขาดความหลากหลายของสายพันธุ ปญหาการสูญพันธุ และ<br />

การกัดเซาะชายฝง 4)ผลกระทบตอเศรษฐกิจและความมั่นคงไดแก ปญหาการแยงชิงทรัพยากร ปญหาการขาด<br />

แคลนอาหาร ปญหาความยากจน ปญหาการยายถิ่นฐาน ปญหาความผันผวนของสังคมและครอบครัว และ 4)<br />

ผลกระทบดานสุขภาพ ไดแกปญหาโรคอุบัติใหม ปญหาโรคอุบัติซ้ํา และการบาดเจ็บลมปวย เปนตน (IPCC,<br />

2007b) สาเหตุหลักของการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกคือ ปญหาโลกรอน (global warming) อันเนื่องจาก<br />

การสะสมปริมาณกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ซึ่งมีคุณสมบัติใน<br />

การดูดซับรังสีความรอนจากดวงอาทิตยถูกปลอยเขาสูชั้นบรรยากาศในปริมาณมาก ในชวงการเจริญเติบโตอยาง<br />

เขมขนของภาคอุตสาหกรรม (โลก) ที่ผานมา<br />

แมวาประชาคมโลกไดมีความพยายามอยางยิ่งในการตอบสนองผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยรวมกันกําหนด<br />

มาตรการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศโลกตั ้งแตการลงฉันทามติในพิธีสารเกียวโต (พ.ศ.<br />

2540) เปนตนมา อยางไรก็ตามการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นจําเปนตองใชระยะเวลาคอนขางนานชั่วอายุคน<br />

จึงอาจเห็นผลทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม การตอบสนองตอผลกระทบที่เกิดขึ้นอีกแนวทางหนึ่ง คือ การรับมือที่<br />

ปลายเหตุตอปญหาโลกรอนและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก โดยการเสริมสราง<br />

ความสามารถในการปรับตัวใหกับชุมชนที่เสี่ยงตอการไดรับผลกระทบ ซึ่งถือเปนประเด็นที่สําคัญยิ่งประเด็นหนึ่ง<br />

และจําเปนตองมีการศึกษาเพื่อนําไปสูการกําหนดแนวทางและมาตรการที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อใหระบบ (ครัวเรือน<br />

ชุมชน ภาคสวน ภูมิภาค และประเทศ) ใชรับมือในการจัดการหรือปรับเปลี่ยนตอเงื่อนไขบางอยางของสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่เปลี่ยนไปไดดี ดังนั้นขอมูลพื้นฐานของลักษณะผลกระทบและทุนการรับมือตอความแปรปรวนของ<br />

สภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกร (กลุมเสี่ยง) ในภาคเหนือของประเทศที่เสนอไวในการศึกษานี้จะเปนประโยชน<br />

ตอการประเมินและเสนอแนวทางการเสริมสรางความสามารถในการปรับตัวที่เหมาะสม และสอดคลองกับบริบท<br />

ของชุมชนอยางเปนระบบในอนาคตลําดับตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

คําถามหลักของการวิจัยนี้ คือ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศสงผลกระทบตอชุมชนเกษตรกร<br />

อยางไร และมีความรุนแรงอยูในระดับใด นอกจากนี้ชุมชนมีทุนอะไรบางมากนอยเพียงใดที่ใชในการรับมือตอ<br />

ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั ้งในอดีตและในปจจุบัน โดยมีวัตถุประสงคการศึกษาดังนี้<br />

2.1 เพื่อศึกษาและประเมินผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกร<br />

2.2 เพื่อศึกษาทุนของชุมชนเกษตรกรที่ใชในการรับมือตอผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ<br />

594


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

โครงการวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research, PAR) โดย<br />

เนนกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการดําเนินการ เพื่อใหไดขอมูลและสารสนเทศที่สะทอนจากระดับลางสูการ<br />

วางแผนหรือการกําหนดนโยบายของภาคสวนระดับบน (Bottom up approach) การดําเนินการวิจัยผสมผสาน<br />

วิธีการเก็บรวมรวมขอมูลทั้งวิธีเชิงคุณภาพ (Qualitative method) และเชิงปริมาณ (Quantitative method) เพื่อการ<br />

วิเคราะหและสังเคราะหขอมูลไดอยางครอบคลุม โดยมีองคประกอบและขั้นตอนดังนี้<br />

3.1. พื้นที่ศึกษาและกลุมตัวอยาง<br />

คณะผูวิจัยไดทําการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ศึกษาชุมชนตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง<br />

จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาไดถูกประกาศเปนพื้นที่ประสบภัยแลง (ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือ<br />

ตอนบน, 2552) รวมทั้งไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศทั้งกรณีภัยแลง<br />

และน้ําทวมของอําเภอสันกําแพงจังหวัดเชียงใหม ที่รายงานโดยสํานักงานบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดเชียงใหม<br />

สําหรับการพิจารณากลุมตัวอยางสําหรับการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามทางคณะผูวิจัยฯ ไดคัดเลือกกลุ มตัวอยาง<br />

จากการตรวจสอบขอมูลสามเสาจากแหลงขอมูลที่แตกตางกัน เชน ขอมูลจากเทศบาลตําบลออนใต ขอมูลจาก<br />

หนวยงานรัฐ และขอมูลจากการเสวนากลุมยอยรวมกับผูนําชุมชน เพื่อขอขอมูลและขอคิดเห็นในการคัดเลือกพื้นที่<br />

ศึกษาที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลงมากที่สุดและติดตอกันซ้ําซากของตําบลออนใต พบวาหมูบานที่ประสบภัยแลง<br />

ยอนหลังอยางนอย 3 ป ติดตอกันจํานวนทั้งสิ้น 5 หมูบาน ไดแก ชุมชนหมูบาน (บานโหง (ม.2) บานริมออนเหนือ<br />

(ม.3) บานแมผาแหน (ม.6) บานปาตึง (ม.7) และบานปาเปางาม (ม.11)) และจํานวนครัวเรือนที่ไดรับความเสียหาย<br />

จากภัยแลงรวมทั้งสิ้นประมาณ 250 ครัวเรือน (ขอมูลโดยเจาหนาที่ฝายงานนโยบายและแผนของ อบต.ออนใต)<br />

ดังนั้นคณะผูวิจัยฯและตัวแทนชุมชนจึงไดพิจารณาคัดเลือกเกษตรกรตัวแทน (สุมตัวอยางเฉพาะเจาะจงโดยชุมชน)<br />

ที่ไดรับผลกระทบเปนหลัก จํานวนหมูบานละ 20 ราย รวมทั้งสิ้นประมาณ 100 ราย จากทั้ง 5 หมูบาน สําหรับการ<br />

เก็บขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ<br />

3.2. วิธีการรวบรวมขอมูลพื้นฐาน<br />

ขอมูลพื้นฐานสําหรับการศึกษานี้ประกอบดวย 1) ขอมูลปฐมภูมิ และ 2) ขอมูลทุติยภูมิ เพื่อใชสําหรับการ<br />

วิเคราะหผลกระทบและทุนการรับมือตอผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกร<br />

ออนใต โดยเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลทั้งสองสวนมีดังนี้<br />

1. ขอมูลปฐมภูมิ เนื่องจากการดําเนินการวิจัยมุงเนนการสะทอนปญหาจากลางขึ้นบน ดังนั้นวิธีการเก็บ<br />

ขอมูล จึงมีลักษณะผสมผสานของกระบวนการมีสวนรวม และความหลากหลายของเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล<br />

เชน การสํารวจพื้นที่ การทําแผนที่ การสัมภาษณเชิงลึก การประชุมกลุมยอย และการใชแบบสอบถาม เปนตน<br />

2. ขอมูลทุติยภูมิ ในเนื้อหาสวนที่เกี่ยวของกับภาคทฤษฎี องคความรู การตรวจเอกสาร รวมถึงขอมูล<br />

ทุติยภูมิของหนวยงานตางๆ เพื่อใชประกอบการวิเคราะหทําความเขาใจสถานการณ วิธีการรวบรวมและเก็บขอมูล<br />

ทุติยภูมิจะประกอบดวยการคนควาขอมูลจากเอกสารและสิ่งพิมพทางวิชาการ ขอมูลบนระบบสารสนเทศของ<br />

หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ นอกจากนี้ไดใชวิธีการสอบถามขอมูลจากหนวยงานโดยตรงใน<br />

กรณีที่เกิดความสงสัยในขอมูลหรือขอมูลไมชัดเจน เปนตน<br />

แบบสอบถามที่ใชในการศึกษาถูกแบงออกเปน 4 สวนหลัก ดังนี้ 1) ขอมูลฐานเศรษฐกิจครัวเรือนและ<br />

ทรัพยากร เปนขอคําถามปลายปดและปลายเปดเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของประชากร 2) ขอมูลผลกระทบของความ<br />

แปรปรวนสภาพภูมิอากาศตอฐานเศรษฐกิจครัวเรือนและทรัพยาก เปนขอคําถามปลายปดและปลายเปดที่เกี่ยวกับ<br />

595


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลักษณะผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งในดานครัวเรือน/สังคม ฐานเศรษฐกิจ (การเกษตรและเลี้ยงสัตว) รายได รายจาย<br />

และฐานทรัพยากร รวมทั้งระดับความรุนแรงที่เกิดขึ้นทั้งในปจจุบันและการคาดการณในอนาคต 3) ขอมูลการรับมือ<br />

ของชุมชนเกษตรกรตอผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เปนขอคําถามปลายปดและปลายเปดที่<br />

เกี่ยวกับแนวทางการรับมือของชุมชน ทั้งในดานครัวเรือน/สังคม ฐานเศรษฐกิจ (การเกษตรและเลี้ยงสัตว) และฐาน<br />

ทรัพยากร รวมทั้งระดับการนําไปปรับใชทั้งในปจจุบันและการคาดการณในอนาคต และ4) ขอมูลตนทุนสังคมและ<br />

วิถีชีวิต เปนขอคําถามปลายเปดที่เกี่ยวกับความรู ความสามารถ เครือขาย และการสะทอนภาพปญหาและความ<br />

คาดหวังตอทองถิ่นของคนในชุมชน<br />

คุณภาพของแบบสอบถามไดผานการตรวจสอบความสอดคลองของขอคําถามกับวัตถุประสงค ความ<br />

เหมาะสมของเนื้อหา รูปแบบขอคําถาม และภาษาที่ใช จากผูเชี่ยวชาญ และกอนการนําไปใชจริงไดทําการทดลอง<br />

เก็บขอมูลโดยใชกลุมประชากรที่มีบริบทใกลเคียงกับกลุมตัวอยางที่ศึกษาจํานวน 20 ราย (แบบสุมอิสระ) เพื่อ<br />

ตรวจสอบความเขาใจในการตอบแบบสอบถาม หลังจากนั้นปรับแกขอคําถามบางประเด็นที่คลุมเครือหรือยากตอ<br />

การตอบขอคําถาม แลวจึงนําไปใชจริงในภาคสนาม<br />

3.3. การวิเคราะหขอมูล<br />

1) ขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิของบริบทพื้นที่ศึกษาและความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ จะถูก<br />

นําเสนอผลวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพในรูปของการเขียนเชิงพรรณา โดยมีขอมูลแผนที่กับรูปภาพรวมทั้งแผนภูมิ<br />

ตางๆ ประกอบการอธิบาย<br />

2) ขอมูลปฐมภูมิจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ และการระดมความคิดเห็น จะถูกวิเคราะหใหเกิดองค<br />

ความรูที่จะนําไปสูการวางแผน การจัดทําโครงการและมาตรการตางๆ ผลการวิเคราะหขอมูลทั้งเชิงคุณภาพและ<br />

เชิงปริมาณที่ไดจะถูกนําเสนอในรูปของการเขียนเชิงพรรณาโดยมีขอมูลรูปภาพรวมทั้งแผนภูมิตางๆ ประกอบการ<br />

อธิบาย นอกจากนี้ การนําเสนอขอมูลเชิงปริมาณใชการวิเคราะหโดยระบบคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป<br />

Statistical Package for the Social Sciences (SPSS for Windows)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1. บริบทพื้นที่ศึกษาและความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษา<br />

ตําบลออนใต (รูปที่ 1) เปนตําบลหนึ่งในอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของ<br />

อําเภอสันกําแพง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 25,857 ไร หรือ 41.37 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่<br />

ตําบลออนใตเปนที่ราบลุมและที่ราบเชิงเขา อยูในชั้นความสูงประมาณ 340 เมตร ลาดเอียงมาทางตะวันตก โดยมี<br />

น้ําแมออนไหลผานซึ่งเปนแมน้ําสายหลักที่สําคัญในการหลอเลี้ยงพื้นที่ทําการเกษตรของตําบล นอกจากนี้ชุมชน<br />

เกษตรกรตําบลออนใตยังไดอาศัยแหลงเก็บน้ําสําคัญ ไดแก อางเก็บน้ําหวยลาน (ความจุประมาณ 4,890,000 ลบ.<br />

ม.) โครงการตามพระราชดําริและอางเก็บน้ําแมผาแหน (ความจุประมาณ 3,120,000 ลบ.ม.) เปนแหลงน้ําสําหรับ<br />

การอุปโภคบริโภครวมทั้งการเกษตร เนื่องจากตําบลออนใตไดตั้งอยูในขอบเขตของพื้นที่ลุมน้ําแมกวงและพื้นที่ลุม<br />

น้ําปงตอนบน ดังนั้นสภาพภูมิอากาศทั่วไปอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต โดยฤดู<br />

ฝนจะมีระยะเวลาประมาณ 6 เดือน เริ่มจากกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ลักษณะการกระจายตัวของฝน<br />

แบงเปน 2 ชวง ชวงแรกอยูระหวางเดือนพฤษภาคม ถึงมิถุนายน ซึ่งเกิดจากอิทธิพลอากาศในทองที่เปนพายุฝน<br />

ฟาคะนอง และทิ้งชวงในเดือนมิถุนายน หลังจากนั้นจะเริ่มมีฝนอีกครั้งในเดือนกรกฎาคมดวยอิทธิพลของพายุโซน<br />

รอนจากทะเลจีนใต และมหาสมุทรอินเดียซึ่งจะมีฝนตกมากและกระจายไปทั่วพื้นที่<br />

596


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประชากรสวนใหญในพื้นที่ตําบลออนใตมีอาชีพเกษตรกรรมและการเลี้ยงสัตว โดยชนิดพืชที่ปลูกเปนหลัก<br />

ไดแก ขาว ขาวโพด ยาสูบ ลําไย พริก และผักอายุสั้น สําหรับการเลี้ยงสัตวทั้งในระดับครัวเรือนและระดับฟารม<br />

ไดแก การเลี้ยงวัว สุกร และไก เปนตน ซึ่งการเกษตรและการปศุสัตวมีความตองการใชน้ําในปริมาณสูง ประกอบ<br />

กับพื้นที่สวนใหญในการทําการเกษตรของตําบลออนใตอยูนอกเขตชลประทานของเขื่อนแมกวง ดังนั้นแหลงน้ําที่<br />

สําคัญสําหรับการประกอบอาชีพของชุมชนนอกจากอางเก็บน้ําหวยลานและอางเก็บน้ําแมผาแหนแลว คือ ปริมาณ<br />

น้ําฝนที่ตกตามธรรมชาติ เนื่องจากชุมชนอยูนอกระบบชลประทานตองอาศัยน้ําฝนเปนหลักในการเกษตร ดังนั้น<br />

กรณีปกติที่ชุมชนไมไดรับผลกระทบจากภัยแลงเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ชุมชนสามารถใชน้ํา<br />

ทํานาในฤดูการทํานาปเทานั้น เชนเดียวกันกับการเพาะปลูกพืชผลสามารถทําปละครั้งเทานั้นในชวงฤดูฝนถึงตน<br />

หนาว จากขอมูลของกรมชลประทาน (2553) พบวา พื้นที่เพาะปลูกสวนใหญทุกภาคของประเทศเปนพื้นที่<br />

เพาะปลูกนอกเขตชลประทานมีเนื้อที่ประมาณ 104.12 ลานไร จากจํานวนพื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมดของประเทศ<br />

ประมาณ 131 ลานไร คิดเปนรอยละ 79.5 ของพื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมด และเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือของประเทศ<br />

พบวา พื้นที่เพาะปลูกพืชฤดูแลง (พ.ศ. 2552-2553) ประเภทนาปรังนอกเขตชลประทานมีเนื้อที่ประมาณ 1.58 ลาน<br />

ไร คิดเปนรอยละ 95.8 ของพื้นที่นาปรังทั้งหมด และประเภทพืชไร-พืชผักนอกเขตชลประทานมีเนื้อที่ประมาณ<br />

1.17 ลานไร ซึ่งคิดเปนเนื้อที่มากกวาในเขตชลประทานถึง 3.7 เทาของพื้นที่ทั้งหมด เห็นไดวาการเกษตรกรรมสวน<br />

ใหญของประเทศตั้งอยูบนพื้นที่นอกเขตชลประทาน จําเปนตองอาศัยน้ําฝนและน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติเปนหลัก<br />

ซึ่งขึ้นอยูกับความผันแปรของสภาพภูมิอากาศ เฉพาะอยางยิ่งสภาพภูมิอากาศในอนาคตที่มีแนวโนมวาอาจเกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงและสงผลกระทบใหเกิดสภาวะการณภัยแลง เชน การลดลงของปริมาณฝน ปญหาฝนตกทิ้งชวงเปน<br />

เวลานาน หรือสภาวการณอุทกภัยที่มีความถี่และความรุนแรงเพิ่มสูงขึ้น ลวนแตสงผลกระทบตอความเปราะบางใน<br />

การประกอบอาชีพของชุมชนเกษตรกรพื้นที่นอกเขตชลประทานของประเทศ<br />

รูปที่ 1 พื้นที่ศึกษาตําบลออนใต<br />

597


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เนื่องจากความแปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมีสาเหตุมาจากภาวะโลกรอน ซึ่งมีผล<br />

ตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน และความรุนแรงของพายุในระดับทวีป และภูมิภาค ดังนั้นการอธิบาย<br />

ภาพรวมถึงลักษณะความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษา (ตําบลออนใต) จําเปนตองอางอิงตัวชี้วัด<br />

ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่มีการบันทึกทางสถิติ เชน การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ การเปลี่นแปลงปริมาณ<br />

ฝนของอําเภอสันกําแพงและจังหวัดเชียงใหมเปนหลัก ประกอบกับการสอบถามขอมูลเชิงลึกในพื้นที่ออนใตเพื่อ<br />

ความสมบรูณของขอมูล การศึกษาพบวาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของจังหวัดเชียงใหมในรอบ 10 ป (2542-2552)<br />

พบวาคาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดของจังหวัดเชียงใหม (เดือนเมษายน) มีคาสูงสุดชวงป พ.ศ. 2544-2545 (37-38 o C)<br />

ซึ่งอุณหภูมิมีคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นสูงกวาชวงป พ.ศ. 2542-2543 ประมาณ 3 o C หลังจากป พ.ศ. 2546 เปนตนมา พบวา<br />

คาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดของจังหวัดเชียงใหมในชวงเดือนเมษายนมีคาสูงกวา 36 o C อยางตอเนื่อง และเนื่องจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีความสัมพันธกับปริมาณความชื้นในชั้นบรรยากาศและปริมาณฝน ดังนั้นจึงสามารถเกิด<br />

ผลกระทบไดทั้งสองกรณี คือ การเกิดอุทกภัยและการเกิดภัยแลงในพื้นที่สวนตางๆ ของประเทศไทย จากการ<br />

รวบรวมขอมูลปริมาณฝนเบื้องตนที่รวบรวมขอมูลจากสถานีตรวจวัดที่ใกลเคียงกับตําบลออนใตและสามารถอางอิง<br />

ได เชน สถานีรองวัวแดง (ชวงปพ.ศ.2503-2551) และสถานีหวยแกว (ชวงป พ.ศ. 2544-2551) อําเภอสันกําแพง<br />

จังหวัดเชียงใหม พบวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงปริมาณฝนทั้งสองสถานีในชวง 8 ป ยอนหลัง (พ.ศ. 2544-2551)<br />

ใกลเคียงกัน คือ ปริมาณฝนที่ตกลงในพื้นที่อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ตั้งแตป พ.ศ. 2548 เปนตนไปมีคา<br />

ลดลงอยางตอเนื่อง และที่ป พ.ศ. 2551 ความเขมของฝนลดต่ํากวาคาความเขมของฝนเฉลี่ยชวงป พ.ศ. พ.ศ.<br />

2544-2551 ถึงรอยละ 43 (แผนภูมิที่ 1-2) และหากวิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลปริมาณน้ําฝนยอนหลังของสถานี<br />

รองวัวแดง (แผนภูมิที่ 1) ทุกคาบ 10 ป โดยแบงออกเปน ชวง พ.ศ. 2503-2512 ชวง พ.ศ. 2513-2522 และชวง<br />

พ.ศ. 2523-2532 พบวาถึงแมคาเฉลี่ยของปริมาณฝนตกตลอดชวงทศวรรษดังกลาวจะมีคาใกลเคียงกัน แตคา<br />

ปริมาณฝนต่ําสุดในรอบปกลับมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง คือ 900 มม 610 มม และ 510 มม ตามลําดับ และ<br />

ความถี่ของปริมาณฝนตกในรอบปที่มีคาความเขมต่ํากวาคาเฉลี่ยในทุกคาบ 10 ป พบวามีความถี่เพิ่มขึ้นเชนกัน<br />

บงชี้วาอําเภอสันกําแพงเปนพื้นที่หนึ่งที่มีความเสี่ยงตอภัยแลงในอนาคต<br />

แผนภูมิที่ 1 ปริมาณฝนรายปในรอบ 49 ป (2503-2551) ของสถานีรองวัวแดง อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม<br />

ที่มา: ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน กรมชลประทาน (2552)<br />

598


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แผนภูมิที่ 2 ปริมาณฝนรายปในรอบ 8 ป (2544-2551) ของสถานีหวยแกว อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม<br />

ที่มา: ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน กรมชลประทาน (2552)<br />

นอกจากนี้ขอมูลปริมาณความเขมฝนรายเดือนในรอบ 8 ป ยอนหลัง (2544-2551) บงชี้วา ปริมาณฝนที่<br />

ตกนับตั้งแตป พ.ศ.2549 เปนตนมา มีความเขมของฝนลดนอยลง โดยเฉพาะอยางยิ่งฝนที่ตกภายใตอิทธิพลของ<br />

พายุโซนรอนจากทะเลจีนใตและมหาสมุทรอินเดียในชวงเดือน กรกฎาคม-กันยายน ซึ่งเปนพายุฝนที่มีความสําคัญ<br />

ตอการเกษตรและการเพาะปลูกพบวาปริมาณฝนมีความเขมต่ํากวาคาเฉลี่ย (2544-2550) ถึงประมาณรอยละ 30-<br />

70 (แผนภูมิที่ 3) จากขอมูลของสถานีหวยแกว อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม พบวาจํานวนวันที่ฝนตกหรือ<br />

ความถี่ของฝนยังมีแนวโนมลดลงเชนกัน ทั้งนี้จํานวนวันที่ฝนตกทั้งในชวงฝนแรก (พฤษภาคม-มิถุนายน) และ<br />

ในชวงฤดูฝน (กรกฎาคม-กันยายน) ลดต่ําลงกวาคาเฉลี่ย (2544-2551) ถึงรอยละ 14-50 กอใหเกิดภาวะฝนทิ้งชวง<br />

นานและผลกระทบตอการเริ่มฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกร (แผนภูมิที่ 4)<br />

แผนภูมิที่ 3 ปริมาณฝนรายเดือนในรอบ 8 ป (2544-2551) ของสถานีหวยแกว อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม<br />

ที่มา: ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน กรมชลประทาน (2552)<br />

599


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แผนภูมิที่ 4 ปริมาณวันที่ฝนตกในรอบ 8 ป (2544-2551) ของสถานีหวยแกว อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม<br />

ที่มา: ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน กรมชลประทาน (2552)<br />

4.2. ผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ<br />

กรณีลักษณะความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษา จากการรวบรวม<br />

ขอมูลโดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณในตําบลออนใตพบวา ลักษณะความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ<br />

และผลกระทบที ่เกิดขึ้นสวนใหญ คือ ปริมาณฝนที่ตกนอยลงและฝนตกทิ้งชวงคอนขางนาน ทําใหประสบปญหาภัย<br />

แลงมากกวาการเกิดน้ําทวมหรืออุทกภัย ประกอบกับขอมูลจากแบบสอบถามพบวา กลุมตัวอยางเกษตรกรชุมชน<br />

ออนใตสวนใหญไดรับผลกระทบจากภัยแลงที่คาความถี่เฉลี่ยในรอบ 10 ปที่ผานมาจนถึงปจจุบันประมาณ 6 ครั้ง<br />

และระดับความรุนแรงโดยเฉลี่ยมีคาประมาณ 5.80 (จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน) ซึ่งระดับความรุนแรงของภัยแลง<br />

ที่เกษตรกรออนใตไดรับผลกระทบจัดอยูในระดับปานกลาง อยางไรก็ตามพบวาคาคะแนนของความรุนแรงมี<br />

แนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในชวง 3-4 ปยอนหลังจากปปจจุบัน<br />

ผลกระทบดานครัวเรือนและสังคมเมื่อกรณีเกิดภัยแลงในปจจุบัน สวนใหญในประเด็นการลดลงของรายได<br />

ครัวเรือน การเพิ่มขึ้นของรายจายครัวเรือน และการเพิ่มขึ้นของหนี้สิน มีความรุนแรงในระดับปานกลาง คิดเปนรอย<br />

ละ 61.22 54.17 และ 38.54 ตามลําดับ สวนประเด็นที่เหลือ คือ การขาดแคลนอาหาร คาใชจายดานสุขภาพ<br />

ปญหาความแตกแยก และการลดลงของเงินออม มีความรุนแรงในระดับต่ํา คิดเปนรอยละ 54.38 53.68 62.50 และ<br />

39.78 ตามลําดับ สําหรับการคาดการณระดับความรุนแรงในอนาคต ของผลกระทบดานครัวเรือนและสังคมพบวา<br />

การเพิ่มขึ้นของรายจายครัวเรือนและการเพิ่มขึ้นของหนี้สินนั้น กลุมตัวอยางคาดการณระดับความรุนแรงใน<br />

ระดับสูง คิดเปนรอยละ 67.27 และ 40.35 ตามลําดับ การลดลงของรายไดครัวเรือนและการลดลงของเงินออมมี<br />

ความรุนแรงในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 49.09 และ 40.09 ตามลําดับ สําหรับประเด็นการขาดแคลนอาหาร<br />

คาใชจายดานสุขภาพ และปญหาความแตกแยกมีความรุนแรงในระดับต่ํา คิดเปนรอยละ 53.57 50.00 และ 78.57<br />

ตามลําดับ<br />

ผลกระทบดานการเกษตรและเลี้ยงสัตวเมื่อกรณีเกิดภัยแลงในปจจุบัน พบวาประเด็นคาใชจายเกี่ยวกับ<br />

ปุยเคมี/สารเคมี/ยาเคมี และประเด็นความตองการน้ําดานชลประทานมีความรุนแรงในระดับสูง คิดเปนรอยละ<br />

50.51 และ 74.23 ตามลําดับ สวนประเด็นที่ระดับความรุนแรงปานกลางไดแก คาใชจายเมล็ดพันธุ การลดลงของ<br />

ผลผลิต การเพิ่มขึ้นของคาแรง/เครื่องจักร คาใชจายดานพลังงาน (เชน คาไฟฟา คาน้ํามัน) การลดลงของรายได<br />

โดยรวม และการเพิ่มขึ้นของรายจายโดยรวม คิดเปนรอยละ 41.49 53.85 42.39 53.26 61.62 และ 53.68<br />

ตามลําดับ สําหรับประเด็นคาใชจายพันธุสัตว คาอาหารสัตว การเพิ่มขึ้นของผลผลิตในพืชบางชนิด ปญหาการแพร<br />

600


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ระบาดของโรคพืช การเกิดโรคพืชอุบัติใหม การขาดแคลนแรงงานคน และคาใชจายดานการขนสง มีความรุนแรงใน<br />

ระดับต่ํา คิดเปนรอยละ 62.67 52.63 51.14 34.83 45.88 35.11 และ 36.56 ตามลําดับ<br />

สําหรับการคาดการณระดับความรุนแรงในอนาคต ของผลกระทบดานการเกษตรและเลี้ยงสัตว พบวา<br />

ประเด็นคาใชจายเกี่ยวกับปุยเคมี/สารเคมี/ยาเคมี ปญหาการแพรระบาดของโรคพืช ความตองการน้ําดาน<br />

ชลประทาน การเพิ่มขึ้นของคาแรง/เครื่องจักร คาใชจายดานพลังงาน (เชนคาไฟฟา คาน้ํามัน) และการเพิ่มขึ้นของ<br />

รายจายโดยรวมมีความรุนแรงในระดับสูง คิดเปนรอยละ 64.91 46.55 82.46 43.10 49.12 และ 51.72 ตามลําดับ<br />

ประเด็นคาใชจายเมล็ดพันธุ การลดลงของผลผลิต และการลดลงของรายไดโดยรวมมีความรุนแรงในระดับปาน<br />

กลาง คิดเปนรอยละ 36.84 35.71 และ 46.55 ตามลําดับ สําหรับประเด็นคาใชจายพันธุสัตว คาอาหารสัตว การ<br />

เพิ่มขึ้นของผลผลิตในพืชบางชนิด การเกิดโรคพืชอุบัติใหม การขาดแคลนแรงงานคน และคาใชจายดานการขนสงมี<br />

ความรุนแรงในระดับต่ํา คิดเปนรอยละ 63.27 59.18 44.83 36.84 43.86 และ 36.84 ตามลําดับ<br />

สําหรับผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศกรณีเกิดภัยแลงใน<br />

ปจจุบัน พบวาประเด็นการขาดแคลนน้ํา ปญหาคุณภาพน้ํา และ ปญหาการแยงชิงน้ํา มีระดับความรุนแรงสูง คิด<br />

เปนรอยละ 76.00 46.46 และ 47.47 ตามลําดับ ประเด็นการเกิดไฟปา และการหาของปามาขายยากขึ้นมีระดับ<br />

ความรุนแรงปานกลางคิดเปนรอยละ 43.43 และ 35.00 ตามลําดับ สําหรับการบุกรุกทําลายปามีความรุนแรงระดับ<br />

ต่ํา คิดเปนรอยละ 54.64 การคาดการณระดับความรุนแรงในอนาคตของผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติ พบวา<br />

ประเด็นการขาดแคลนน้ํา ปญหาคุณภาพน้ํา และปญหาการแยงชิงน้ํามีระดับความรุนแรงสูง คิดเปนรอยละ 77.59<br />

46.10 และ 39.66 ตามลําดับ ประเด็นการเกิดไฟปาและการหาของปามาขายยากขึ้นมีระดับความรุนแรงปานกลาง<br />

คิดเปนรอยละ 47.37 และ 42.11 ตามลําดับ สําหรับการบุกรุกทําลายปามีความรุนแรงระดับต่ํา คิดเปนรอยละ<br />

72.41<br />

นอกจากนี้ทางชุมชนใหขอมูลเพิ่มเติมวา ทางชุมชนมักประสบปญหาภัยแลงประมาณทุก 3-4 ป (ยอนหลัง<br />

ป 2549 ลงไป) ซึ่งอาจสลับกับการประสบปญหาอุทกภัยบาง และในอดีตยอนหลังไปประมาณ 20-30 ป ชุมชนให<br />

ขอมูลวาจํานวนครั้งและความรุนแรงของภัยแลงที่ชุมชนประสบถือวานอยมาก อยางไรก็ตามนับตั้งแตป 2549 เปน<br />

ตนมาจนถึงปจจุบัน ปญหาภัยแลงรุนแรงขึ้นและติดตอกันซ้ําซากเกือบทุกป ปริมาณน้ําในอางเก็บน้ําทุกแหงที่ใช<br />

สําหรับการเกษตรมีปริมาตรความจุลดลงสูงถึงรอยละ 50 ทําใหปริมาณน้ําไมพอใชในฤดูการทํานา ทําสวน และทํา<br />

ไร นอกจากนี้สถานการณความแหงแลงในบางพื้นที่ของชุมชนที่ประสบปญหา มีความรุนแรงถึงขั้นการขาดแคลน<br />

น้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภคเลยทีเดียว เชน หมู 7 และ หมู 11 เนื่องจากปริมาณน้ําใตดินและน้ําผิวดินลดลงถึงขั้น<br />

ขาดน้ําดิบสําหรับการผลิตน้ําประปาหมูบาน เปนตน ดังนั้นปญหาภัยแลงที่นับวันทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นนับไดวาเปน<br />

ปจจัยสําคัญที่สงผลตอความเปราะบางของกลุมเกษตรกรออนใต<br />

4.3. ทุนการรับมือตอความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของชุมชนเกษตรกร<br />

ฐานทรัพยากรธรรมชาติถือเปนทุนหนึ่งที่สําคัญสําหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและใชในการรับมือ<br />

กับผลกระทบจากความแปรปรวนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเกษตรกร ฐานทรัพยากรธรรมชาติใน<br />

พื้นที่ตําบลออนใตไดแก ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรปาไม การศึกษาพบวาพื้นที่สวนใหญประมาณ<br />

รอยละ 60 ขึ้นไป ทรัพยากรดินประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 62 ลักษณะโดยทั่วไปของกลุมดินชุดนี้ทางวิชาการมี<br />

ความลาดชันมากกวา 35% ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกันไปแลวแตชนิดของ<br />

หินตนกําเนิด สวนพื้นที่ราบลุมที่ชุมชนอาศัยและเปนพื้นที่สําหรับการเกษตรหรือการเพาะปลูก พบวาลักษณะดิน<br />

สามอันดับแรกในพื้นที่สวนใหญเปนกลุมดินชุดที่ 5 กลุมดินชุดที่ 48B และกลุมดินชุดที่ 40 ตามลําดับ ซึ่งลักษณะ<br />

ทั่วไปของกลุมชุดดินดังกลาว เปนดินเหนียวถึงดินรวนปนทราย มีสีเทาแก น้ําตาลปนเทา หรือสีน้ําตาลออน สี<br />

601


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เหลืองหรือแดง ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ําถึงปานกลาง และมีคาความเปนกรดดางคอนขางต่ํา<br />

คือ มีคา pH 4.5-6.5 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2537)<br />

ทรัพยากรน้ําที่สําคัญในการหลอเลี้ยงพื้นที่การเกษตรของตําบลออนใต ไดน้ําจากอางเก็บน้ําโครงการอัน<br />

เนื่องมาจากพระราชดําริ ไดแก อางเก็บน้ําแมผาแหน (ความจุ 3.1 ลาน ลบ.ม) และอางเก็บน้ําหวยลาน (ความจุ<br />

ประมาณ 5 ลาน ลบ.ม) สวนน้ําใชเพื่อการอุปโภคบริโภคจะอาศัยบอน้ําตื้นและบอบาดาลในการผลิตระบบประปา<br />

หมูบานเปนสวนใหญ นอกจากนี้ภายในตําบลออนใตยังประกอบดวย ลําน้ํา-ลําหวย บึง หนอง อางเก็บน้ําประจํา<br />

หมูบาน และอื่นๆ สําหรับการเกษตร จากการสํารวจขอมูลในพื้นที่พบวาในปจจุบันเกษตรกรออนใตไมสามารถใช<br />

น้ําในการเกษตรไดอยางเต็มที่เนื่องจากปญหาการทับถมของตะกอนดินในอางและปญหาการตื้นเขิน โดยเฉพาะ<br />

อางเก็บน้ําหลักทั้งสองแหงดังกลาว สวนลําน้ํา หนอง บึงโดยทั่วไป ก็เกิดสภาพการตื้นเขินโดยทั่วไปเชนกัน กรม<br />

สงเสริมการเกษตร (2549) ไดรายงานสถานการณการสํารวจแหลงน้ําอุปโภค บริโภค และแหลงน้ําเพื่อการเกษตร<br />

ตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม พบวาจากจํานวนหมูบานทั้งหมด (11 หมูบาน) มีจํานวนหมูบาน 8 หมูบานที่มี<br />

แนวโนมขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและปศุสัตว นอกจากนี้จํานวนอางเก็บน้ําทั้งหมด 15 แหง มีน้ําใชเพียงพอ<br />

สําหรับการเกษตรเพียง 4 แหง และจํานวนวันที่ใชน้ําไดเพื่อการเกษตรจากอางเก็บน้ําของตําบลออนใตรวมกัน<br />

เพียง 120 วัน สวนแหลงน้ําอื่นเพื่อการเกษตรมีเพียงหนองหรือบึงจํานวน 1 แหงที่มีน้ําใชเพียงพอสําหรับ<br />

การเกษตร โดยมีจํานวนวันที่ใชน้ําไดเพียง 60 วัน (ตารางที่ 3.2) เมื่อเปรียบเทียบขอมูลกับตําบลอื่นของอําเภอสัน<br />

กําแพง พบวาตําบลออนใตถือเปนตําบลหนึ่งที่สถานการณทรัพยากรน้ํา (อางเก็บน้ํา บอน้ําตื้น/สระน้ํา บอบาดาล<br />

หนอง/บึง) มีความเปราะบางและมีความเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําทั้งการอุปโภค บริโภค และการเกษตร คอนขาง<br />

สูงเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดพิบัติภัยแลง<br />

ทรัพยากรปาไมสวนใหญของตําบลออนใต ประกอบดวยปาเบญจพรรณ ปาดิบเขา ปาเต็งรัง มีพันธุไม<br />

นานาชนิด ไดแก ไมสัก แดง ประดู ยาง จําป ประดูสม เหียง พลวง รัง ดงดํา ตีนนก ไมชั้นลางประกอบดวย ไมไผ<br />

หวาย พง กอ เปนตน และเปนพื้นที่สวนใหญของเนื้อที่ทั้งหมด (รอยละ 60) ดังนั้นปจจุบันยังคงมีการใชสอยของปา<br />

และการเก็บของปามาขายโดยคนในชุมชนเพื่อสรางรายไดเสริม ประกอบกับปจจุบันคนในชุมชนมีความตระหนักถึง<br />

ความสําคัญของปาตนน้ําและการสรางความชุมชื้นใหแกสภาพแวดลอมโดยรอบ จากการสํารวจขอมูลเพิ่มเติมของ<br />

คณะผูวิจัยฯ เกี่ยวกับการอนุรักษปาพบวาปจจุบันมีแนวโนมที่ดี โดยมีการสงวนพื้นที่ปาตนน้ําและปลูกปาทดแทน<br />

ในพื้นที่เพิ่มขึ้นในระยะเวลาประมาณเกือบ 10 ปที่ผานมา โดยเฉพาะเขตพื้นที่บานปาตึง (หมู 7) บานแพะ (หมู 10)<br />

และบานปาเปางาม (หมู 11)<br />

ผลการศึกษาแนวทางการรับมือตอผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะภัยแลง<br />

ดานครัวเรือนและสังคมในทุกประเด็น ยกเวนประเด็นการพักชําระหนี้ ไดแก การกูยืมเงิน การรับจางนอกภาค<br />

เกษตร การหาอาชีพเสริม การบริโภคอาหารที่ผลิตเอง การจัดตั้งกลุมสรางงานและรายได การหาความรูเพิ่มเติม<br />

เพื่อใชประกอบอาชีพ การดําเนินชีวิตแบบพอเพียง การสรางเสริมสุขภาพเพื่อลดคาใชจาย การลดกิจกรรมใน<br />

ชุมชนเพื่อลดคาใชจาย และการทํากิจกรรมรวมกันเพื่อลดความตึงเครียด พบวามีระดับการปรับใชในปจจุบันระดับ<br />

ปานกลาง คิดเปนรอยละ 51.02 56.38 60.20 59.79 45.92 55.67 78.57 57.58 57.14 และ 64.84 ตามลําดับ<br />

สําหรับการพักชําระหนี้สวนใหญรอยละ 61.29 พบวามีระดับการปรับใชในปจจุบันระดับต่ํา<br />

สําหรับแนวทางการรับมือดานการเกษตรและเลี้ยงสัตว ในประเด็นการปรับเปลี่ยนชนิดพืชเพาะปลูก การ<br />

ปรับเปลี่ยนพื้นที่เพาะปลูก การเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูก การเปลี่ยนวิธีใหปุย การเปลี่ยนวิธีการใหน้ํา การใชเทคนิค<br />

การเพิ่มผลผลิต การใชยาปราบศัตรูพืชเพิ่มขึ้น และการทําไรนาสวนผสม พบวามีระดับการปรับใชในปจจุบันระดับ<br />

ปานกลาง คิดเปนรอยละ 57.00 51.04 56.25 55.00 49.47 50.00 52.08 52.58 และ 50.52 ตามลําดับ สวน<br />

ประเด็น การเพาะปลูกพืชทนแลง การเปลี่ยนชวงเวลาการปลูก การเพิ่มปริมาณสัตวเลี้ยง การเลี้ยงสัตวผสมผสาน<br />

การพึ่งพาเงินชดเชยจากภาครัฐ การตั้งกลุมบริหารสินคาการเกษตร/เลี้ยงสัตว การตั้งกลุมตอรองราคาการเกษตร/<br />

602


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เลี้ยงสัตว และการตั้งกองทุนหมุนเวียนในกลุมเกษตรกร พบวามีระดับการปรับใชในปจจุบันระดับต่ําคิดเปนรอยละ<br />

52.00 49.31 51.16 58.54 48.48 59.79 48.45 และ 46.46 ตามลําดับ<br />

ดังนั้นเมื่อพิจารณาภาพรวมของลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ออนใต สถานการณของแหลงน้ําตางๆ<br />

ภายในชุมชน ลักษณะของกลุมชุดดินที่คุณสมบัติสวนใหญเปนดินรวนปนทรายและมีความอุดมสมบรูณคอนขางต่ํา<br />

ถึงปานกลาง รวมถึงการตั้งอยูนอกเขตพื้นที่ชลประทาน เห็นไดวาเกษตรกรออนใตมีความเสี่ยงและความออนไหว<br />

ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับทุนการรับมือทั้งมิติเศรษฐกิจครัวเรือน สังคม และการประกอบอาชีพ<br />

(เกษตรและเลี้ยงสัตว) ตอเงื่อนไขที่เปลี่ยนไปในปจจุบันถูกนํามาปรับใชในระดับต่ําถึงปานกลาง จึงจําเปนตองมีกล<br />

ยุทธรวมทั้งแนวทางการปรับตัวที่มีประสิทธิผลใชเปนเครื่องมือในการรับมือและปรับตัวตอความแปรปรวนและการ<br />

เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอนาคต<br />

จากผลของการทํา SWOT analysis เพื่อวิเคราะหและประมวลภาพรวมของศักยภาพ ปญหา และความ<br />

ตองการของประชาชนในพื้นที่ของตําบลออนใต เมื่อพิจารณาศักยภาพของชุมชนตอแนวทางการปรับตัวเพื่อรับมือ<br />

กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เห็นไดวาจุดแข็งที่ชุมชนมีการประกอบอาชีพและการดําเนินกิจกรรมทาง<br />

เศรษฐกิจที่หลายหลากและมีความสมัครสมานสามัคคีและเอื้ออาทรของคนในชุมชน ถือเปนองคประกอบหนึ่งที่<br />

สามารถลดปจจัยเสี่ยงพื้นฐานและเสริมสรางภูมิคุมกันใหแกคนในชุมชนได นอกจากนี้การรูเทาทันถึงความสําคัญ<br />

ของการปรับตัวตอพลวัตรของกระแสและปจจัย (ภายใน/ภายนอก) ของชุมชนออนใตซึ่งรวมหมายถึงการเมือง<br />

เศรษฐกิจ สังคม และภัยธรรมชาติลวนมีสวนสําคัญตอการระดมความคิดเห็นที่มีคุณคา ตอการสะทอนความ<br />

ตองการจากระดับลางสูการกําหนดนโยบายระดับบน (Bottom up) และหากจําลองสถานการณที่ชุมชนตองเผชิญ<br />

กับความแปรปรวนหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีการเกิดภัยแลงซ้ําซาก หรือระดับ<br />

ความรุนแรงของภัยแลงทวีสูงขึ้น พบวาผลกระทบหลักที่สําคัญตอศักยภาพของชุมชนในประเด็นของความอุดม<br />

สมบรูณของพื ้นที่สําหรับการเกษตรกรรม ซึ่งเปนจุดแข็งของปจจัยภายในอาจเปลี่ยนไปและกลายเปนจุดออนได<br />

ดังนั้นชุมชนจําเปนตองตระหนักและทบทวนใหมหากสถานการณเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เนื่องจากพื้นที่ขาดความ<br />

อุดมสมบรูณเนื่องจากภัยแลง ขณะเดียวกันจุดออนที่ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติบางฤดูกาล อาจกลายเปนปญหา<br />

ซ้ําซากที่ชุมชนตองใหความสําคัญตอการมีสวนรวมในการหาแนวทางปองกันและแกไขอยางจริงจัง นอกจากนี้<br />

โอกาสในการรับมือกับปจจัยภายนอก โดยเฉพาะการปรับตัวใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสภาวการณทางการ<br />

เมือง เศรษฐกิจ และสังคมแลว จําเปนตองขยายผลถึงการปรับตัวและการรูเทาทันถึงการใชประโยชนเนื่องจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งประเด็นเหลานี้ถือเปนประเด็นทาทายใหมที่สําคัญยิ่งสําหรับชุมชน<br />

ตําบลออนใตสําหรับใชเปนทุนในการรับมือและการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต<br />

จากการสังเกตการณแบบมีสวนรวมในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู (กุมภาพันธ 2553) ของกลุมผักปลอดสาร<br />

บานแมผาแหน ตําบลออนใต ถึงผลการทดลองการใชปุยอินทรียที่ผลิตขึ้นเองจากวัสดุเหลือทิ้งในชุมชนสําหรับการ<br />

เพาะปลูกพริกในแปลง รวมถึงปญหาดานการเกษตร คณะผูวิจัยฯ สังเกตเห็นไดวา การรวมกลุมที่เริ่มจากขนาดเล็ก<br />

ในระดับชุมชนหรือทองถิ่นเปนแนวทางหรือกลไกลหนึ่ง ในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนเขมแข็งไดอยางมี<br />

ประสิทธิผลและยั่งยืน เนื่องจากการรวมคิด รวมทํา รวมแลกเปลี่ยน ลวนมีสวนสงเสริมใหสมาชิกกลุมเริ่มคิดตกถึง<br />

เหตุและผลเปนลําดับ และนําไปสูศักยภาพที่สูงขึ้นในการแกปญหาตอสิ่งเรารวมกันอยางเทาทัน การสะทอนปญหา<br />

และประเด็นตางๆ ในการทํางานรวมกันไดอยางชัดเจนของกลุมผักปลอดสาร กอใหเกิดผลลัพธทางบวกในการผนึก<br />

พลังทางสังคมของกลุมเกษตรกร ใหมีความแยบคายในการรวมคิดและหาทางออกของปญหาตางๆรวมกันอยาง<br />

เปนรูปธรรม โดยคํานึงถึงการพัฒนาคน เศรษฐกิจ และทรัพยากรสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน ทุนของการมีสวนรวม<br />

ของกลุมเกษตรกรออนใต พบวามีความสอดคลองกับหลักการพึ่งตนเองของแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

และแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนไดอยางเหมาะสม ซึ่งถือเปนทุนที่สําคัญในการรับมือตอความแปรปรวนและใชใน<br />

การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตใหแกชุมชนออนใตประการหนึ่ง (ตารางที่ 1)<br />

603


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 ผลลัพธที่เกิดขึ้นกับหลักการพึ่งตนเองตามแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุมผัก<br />

ปลอดสาร ชุมชนเกษตรกรออนใต<br />

ผลลัพธ<br />

เกิดความคิดอยากรู อยากทํา อยาก<br />

เห็นในเรื่องอื่นมากยิ่งขึ้น<br />

เกิดความเขมแข็งใหกับกลุมและ<br />

ชุมชน<br />

เกิดความรูและความเขาใจสภาพ<br />

ปญหาของสมาชิกและกลุมมากยิ่งขึ้น<br />

จึงเกิดภาพการรวมคิดรวมทําในการ<br />

แกไขปญหา<br />

เกิดการแบงปนสิ่งที่ดีใหแกกันและกัน<br />

ภายในสมาชิกกลุม เชน ความรู ความ<br />

คิดเห็น ปุย<br />

เกิดการสนับสนุนกลุมจากชาวบาน<br />

ชุมชน รวมถึง ทองถิ่นมากยิ่งขึ้น<br />

เกิดความตระหนักถึงความสําคัญของ<br />

สิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น<br />

เกิดแรงกระตุนใหเกษตรกรหมั่น<br />

แสวงหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ<br />

เกิดการบันทึกความรู รายรับ-รายจาย<br />

และการเก็บขอมูลในการเกษตร<br />

ความสอดคลอง<br />

พึ่งตนเองทางจิตใจ มีจิตใจที่<br />

เขมแข็ง มีจิตสํานึกวาสามารถ<br />

พึ่งตนเองไดดังนั้นจึงควรจะสราง<br />

พลังผลักดันใหมีภาวะจิตใจที่<br />

สามารถตอสูชีวิตดวยความสุจริต<br />

พึ่งตนเองทางสังคม ควรสรางให<br />

แตละชุมชนในทองถิ่นไดรวมมือ<br />

ชวยเหลือเกื้อกูลกัน นําความรูที่<br />

ไดรับมาถายทอดและเผยแพรให<br />

ไดรับประโยชนซึ่งกันและกัน<br />

พึ่งตนเองไดทาง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมใหมี<br />

การนําเอาศักยภาพของผูคนใน<br />

ทองถิ่นใชทรัพยากรธรรมชาติ<br />

หรือวัสดุทองถิ่นที่มีอยูใหเกิด<br />

ประโยชนสูงสุด และมีการ<br />

ประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่นใน<br />

การพัฒนาตนเอง<br />

พึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยี<br />

สงเสริมใหมีการศึกษาเพื่อให<br />

ไดมาซึ่งเทคโนโลยีใหมๆ ที่<br />

สอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ<br />

และสังคมไทย<br />

พึ่งตนเองไดทางเศรษฐกิจ<br />

สามารถอยูไดดวยตนเองในระดับ<br />

เบื้องตน โดยอาศัยผลผลิตใน<br />

ทองถิ่นของตนเองยังชีพ และ<br />

สามารถนําไปสูการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจของประเทศในระดับมห<br />

ภาคตอไปดวย<br />

604


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ชุมชนเกษตรกรตําบลออนใตมีอาชีพหลักคือการทําเกษตร (นาขาว พืชไร และพืชสวน) และการปศุสัตว<br />

ซึ่งมีความตองการใชน้ําในปริมาณสูง ประกอบกับพื้นที่สวนใหญในการเกษตรของตําบลออนใตเปนพื้นที่นอกเขต<br />

ชลประทาน ดังนั้นน้ําฝนที่ตกตามธรรมชาติถือเปนแหลงน้ําที่สําคัญสําหรับการประกอบอาชีพเพื่อหลอเลี้ยงชุมชน<br />

การศึกษาพบวาภัยพิบัติแลง ไดแก ปญหาความเขมของฝนลดนอยลง และปญหาฝนตกทิ้งชวงเปนเวลานานถือ<br />

เปนผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่สําคัญตอความเปราะบางของชุมชน นอกจากสงผลตอการ<br />

เริ่มฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกรโดยตรง ยังพบวาไดสงผลกระทบตอเกษตรกรออนใตในทุกมิติโดยเฉพาะดาน<br />

การเกษตรและเลี้ยงสัตวและดานทรัพยากรธรรมชาติที่มีระดับความรุนแรงสูง ถึงแมฐานทรัพยากรธรรมชาติภายใน<br />

ชุมชนจะเปนทุนสําคัญในการรับมือตอผลกระทบดานการประกอบอาชีพเกษตรกรรม แตทุนทรัพยากรธรรมชาติมี<br />

ความเสี่ยงและความออนไหวตอความเปราะบางของชุมชนภายใตภัยพิบัติแลงคอนขางสูง โดยเฉพาะทรัพยากรน้ํา<br />

และดิน อยางไรก็ตามดวยความหลากหลายของการประกอบอาชีพและการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้ง<br />

กระบวนการสวนรวมและการพึ่งตนเองของกลุมเกษตรกรในชุมชน ถือเปนทุนที่สามารถใชรับมือเพื่อลดปจจัยเสี่ยง<br />

พื้นฐานและเสริมสรางภูมิคุมกันใหแกคนในชุมชนไดภายใตเงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนไป นอกจากนี้<br />

ชุมชนเกษตรกรออนใตจําเปนตองมีกลยุทธแนวทางการปรับตัวที่มีประสิทธิผล เพื่อใชเปนทุนในการตอบสนองตอ<br />

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอนาคต<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

โครงการวิจัยนี้ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โครงการสนับสนุน<br />

การวิจัยเพื่อสงเสริมการปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคม 2552 โดย รศ.ดร.สิรินทรเทพ เตาประยูร บัณฑิต<br />

วิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนที่ปรึกษาโครงการวิจัย<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- IPCC (2007b). Climate Change 2007: Impacts, Adaptation, and Vulnerability. Working<br />

Group II<br />

- เทศบาลตําบลออนใต. แผนพัฒนาสามป (2552-2554). เทศบาลตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง<br />

จังหวัดเชียงใหม, 2552.<br />

- งานพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการจัดทําแผนงานและโครงการ. แผนที่กลุมชุดดิน<br />

ตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม. กองแผนงาน กรมพัฒนาที่ดิน, 2537.<br />

- ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน. รายงานสถานการณปริมาณฝนรายป. กรม<br />

ชลประทาน, 2552.<br />

- ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน. รายงานสถานการณปริมาณฝนรายเดือน. กรม<br />

ชลประทาน, 2552.<br />

- ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนบน. รายงานสถานการณจํานวนวันที่ฝนตก. กรม<br />

ชลประทาน, 2552.<br />

- สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 1. รายงานสถานการณพื้นที่ประสบภัยแลง. กรมทรัพยากรน้ํา,<br />

2552.<br />

605


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตอการใชน้ําจากแมน้ําทาจีน ของภาคอุตสาหกรรม<br />

ในอําเภอสามพรานและอําเภอนครชัยศรี<br />

Effect of Climate Change to the Usage of Water form ThaChin River for the Industrial<br />

Sector in Amphur Sam Pran and Nakorn ChaiSri<br />

ศศิธร พุทธวงษ1 , สรอยดาว วินิจนันทรัตน<br />

1 และ ศิววรรณ พูลพันธุ 2<br />

1 คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ<br />

2 คณะวิทยาศาสตร<br />

โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (Earth Systems Science: ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยนี้เปนการศึกษาวิเคราะหขอมูลคุณภาพน้ําที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อ<br />

วิเคราะหหาแนวทางในการจัดการคุณภาพน้ําของแมน้ําทาจีนตอนลางอยางยั่งยืน โดยศึกษาในพื้นที่เขตลุมน้ําทา<br />

จีนตอนลาง คือ ตําบลนครชัยศรี อําเภอนครชัยศรี และตําบลทาขาม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดย<br />

ประเมินจํานวนประชากร ปริมาณการใชน้ํา ปริมาณน้ําเสีย และปริมาณความสกปรกที่ระบายลงสูแหลงน้ํา ทําการ<br />

วิเคราะหขอมูลพื้นที่ศึกษาในมิติของการตรวจสอบดานสิ่งแวดลอม ดานเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงขอมูลจากการ<br />

สอบถามโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อการจัดการคุณภาพน้ํา<br />

ผลการศึกษาและวิเคราะหคุณภาพน้ําในชวงฤดูน้ํานอยและฤดูน้ําหลาก พบวาตัวแปรคุณภาพน้ําที่สําคัญ<br />

ที่บงบอกถึงสภาวะโลกรอน คือ อุณหภูมิ ปริมาณของแข็งแขวนลอยและของแข็งละลายน้ํา และความถี่ของการเกิด<br />

โรคเนื่องจากคุณภาพน้ํา ไดแก โรคจากทางเดินอาหาร โรคติดเชื้อในลําไส<br />

จากการสํารวจพบวาภาคอุตสาหกรรมมีความตองการใชน้ําจากแมน้ําทาจีน โดยรอยละ 43.8 ใชน้ําจาก<br />

แหลงน้ําธรรมชาติ และรอยละ 18.8 มีปญหาการขาดแคลนน้ําบางในรอบ 10 ปที่ผานมาเนื่องจากปญหาดาน<br />

คุณภาพน้ํา อีกทั้งพบวารอยละ 43.8 เคยเกิดปญหาน้ําทวม เนื่องจากแมน้ําทาจีนตอนลางเปนแหลงรองรับน้ําเสีย<br />

จากกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน รานอาหาร ฟารมสุกร และโรงงานอุตสาหกรรม ที่ทิ้งน้ําเสียและสิ่งปฏิกูลลงในแหลง<br />

น้ํา ทําใหคุณภาพน้ําต่ํา ทําใหเกิดทั้งปญหาขาดแคลนน้ําที่มีคุณภาพดี และเกิดปญหาน้ําทวมที่เปนผลจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

คําสําคัญ: การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ แมน้ําทาจีน การใชน้ํา อุตสาหกรรม<br />

Abstract<br />

This research aimed to analyze water quality data related to the climate change which leading to<br />

sustainable water management of ThaChin river. The study area was scoped in the lower ThaChin basin,<br />

including sub-district of Nakorn ChaiSri in Amphur Nakorn ChaiSri and sub-district of ThaKham in Amphur<br />

606


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Sam Pran, Nakorn PraThom Provinc. Number of population, water and wastewater quality and quantity<br />

were estimated based on monitoring of environmental, economic and sociological data. The survey study<br />

of social and industrial activities related to the climate change also was analyzed for water management.<br />

Results of seasonal changing water quality were found that important factors indicated the global<br />

warming are temperature, total suspended solids and total dissolved solids, including the occurrence of<br />

diseases due to water quality, such as gastrointestinal diseases and infectious intestinal diseases.<br />

Results of industrial survey showed demand of water use from ThaChin river, 43.8 % of them<br />

use natural water resource as water supply. Some of them (18.8 %) faced to the problem of water<br />

shortage during the past 10 years due to the water quality problem. Moreover, they used to have the<br />

problem of flooding. Since the lower ThaChin river is the receiving area of wastewater from communities<br />

nearby, restaurants, pig farms and other industries which leading to the low water quality and shortage of<br />

good quality of water supply. Furthermore, it is leading to the flooding problem because of the climate<br />

change.<br />

1. ความสําคัญ<br />

แมน้ําทาจีนเปนแหลงน้ําสําคัญที่มีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตของประชากรในภาคกลางของประเทศไทย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งเขตทาจีนตอนลางที่ไหลผานในเขต 3 จังหวัดภาคกลางคือ จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม และ<br />

จังหวัดสมุทรสาครซึ่งเปนบริเวณที่น้ําในแมน้ําไหลออกสูทะเลอาวไทย การศึกษาถึงคุณภาพน้ํา ปญหา และความ<br />

เสื่อมโทรมของคุณภาพน้ําในแมน้ําทาจีน จากหลายหนวยงาน (กรมควบคุมมลพิษ, 2538) พบวาคุณภาพน้ํา<br />

โดยรวมเกินมาตรฐานที่กําหนด เกิดปญหามลพิษในแมน้ําทาจีน อันเนื่องมาจากการใชประโยชนจากแมน้ําในหลาย<br />

กิจกรรมของชุมชนทั้งเพื่อการใชอุปโภค บริโภคในชุมชน เพื่อการเกษตร การชลประทาน การอุตสาหกรรม และ<br />

แหลงทองเที่ยวตาง ๆ ที่ตั้งอยูโดยตลอดทั้งลุมน้ําทาจีน นอกจากนี้ผลกระทบที่มีตอคุณภาพน้ําที่สําคัญอีกประการ<br />

หนึ่งก็คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เพราะนอกจากจะเกิดปญหากับทรัพยากรน้ําในดานการขาดแคลน<br />

น้ํา การเกิดน้ําทวม การเปลี่ยนแปลงของเสนทางน้ํา รวมถึงการที่น้ําเค็มรุกเขาสูพื้นที่แหลงน้ําจืด การเปลี่ยนแปลง<br />

ของสภาพอากาศมีผลตอคุณภาพน้ําไดหลายทาง เชน การเกิดฝนตกในพื้นที่บอย ๆ ก็จะทําใหมีการชะลางสารตาง<br />

ๆ จากผิวดินลงสูแหลงน้ํา หากมีการใชที่ดินเพื่อการเกษตรก็จะทําใหมีปญหาการปนเปอนของปุย และยาปราบ<br />

ศัตรูพืชได หรือในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศทําใหเกิดสภาวะน้ําขาดแคลน ก็จะสงผลตอธาตุตาง ๆ<br />

รวมทั้งธาตุอาหารในแหลงน้ํา เชน การตกตะกอนของธาตุบางชนิดได ปญหาดังกลาวขางตนยอมมีผลสืบเนื่องตอ<br />

คุณภาพน้ําในการใชประโยชนในดานการนําไปใชเพื่อการอุปโภค บริโภค หรือการทองเที่ยวในอนาคตได ดังนั้นจะ<br />

เห็นไดวาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกนั้น ไมไดสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเพียงอยางเดียวเทานั้น แต<br />

ยังสงผลตอระบบเศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนที่จะไดรับผลกระทบตอเนื่องได<br />

การรวบรวมขอมูลคุณภาพน้ําและการใชประโยชนของที่ดินนั้น หากไดมีการรวบรวมนํามาใชเพื่อ<br />

การศึกษาและวิเคราะหรวมกับแผนการจัดการลุมน้ําของหนวยงานตาง ๆ ทําใหสามารถวางแผนเพื่อการจัดการ<br />

คุณภาพน้ําในลุมน้ําทาจีนตอนลางอยางยั่งยืน การจัดการลุมน้ําอยางยั่งยืนโดยการผสมผสานจัดการขอมูลทั้ง<br />

ทางดานกายภาพและชีวภาพของพื้นที่ เพื่อใหสอดคลองกับการพัฒนาในทั้งสามมิติคือ ทางดานสิ่งแวดลอม ดาน<br />

607


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงขอมูลจากโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับการจัดการ และระดับการวางแผน<br />

นโยบายคุณภาพน้ํา (กรมควบคุมมลพิษ, 2546, 2548) การประเมินการจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนนั้น ตอง<br />

สามารถอธิบาย และสื่อถึงสภาพสิ่งแวดลอมทั้งในอดีตและปจจุบันที่กระตุนใหเกิดแนวคิด และการลงมือทํา เพื่อ<br />

บํารุงรักษาสภาพแวดลอม ซึ่งตองการความรวมมือของหนวยงานหลาย ๆ แหง ในกระบวนการตัดสินใจ (การ<br />

ประปาสวนภูมิภาค, 2551) กระบวนการจัดการเหลานี้มีความซับซอน เนื่องจากตองบูรณาการการใชขอมูลคุณภาพ<br />

น้ําทางดานชีวภาพ กายภาพ ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน การประเมินศักยภาพของหนวยงานตาง ๆ<br />

และการตอบรับของชุมชนในการวางแผนงานดานการจัดการคุณภาพน้ํา และการใชประโยชนที่ดิน เพื่อรองรับ<br />

ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก จึงนับเปนสิ่งจําเปนในการแกปญหาระยะยาวที่อาจจะเกิดขึ้นได<br />

ถึงแมวาลุมน้ําทาจีนจะไดมีการจัดการคุณภาพน้ําอยางตอเนื่อง มีเครือขายและพันธมิตรทั้งภายในและภายนอก<br />

ประเทศ แตผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา และการจัดการอยางตอเนื่องยังไมขยายไปสูชุมชน ซึ่งเนนภารกิจ<br />

ทางดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเปนหลัก ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงไดเลือกพื้นที่ชุมชนในจังหวัดนครปฐม เปน<br />

กรณีศึกษา เพื่อวิเคราะหหาแนวทางในการจัดการคุณภาพน้ําของแมน้ําทาจีนตอนลางอยางยั่งยืน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อวิเคราะหขอมูลคุณภาพน้ําที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใชประโยชนของ<br />

แมน้ําทาจีน สภาพปญหาที่อาจมีผลกระทบตอภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ อ.สามพราน และ อ.นครชัยศรี<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 พื้นที่ที่ใชในการศึกษา<br />

เลือกพื้นที่ศึกษาที่ตั้งอยูในเขตลุมน้ําทาจีนตอนลาง คือพื้นที่จังหวัดนครปฐม ในพื้นที่ตําบลนครชัยศรี<br />

อําเภอนครชัยศรี เนื่องจากพื้นที่เปนตัวแทนของระดับชุมชนในเมืองที่มีประชากรหนาแนน และในพื้นที่ตําบลทา<br />

ขาม อําเภอสามพราน เนื่องจากสวนใหญมีพื้นที่ทําการเกษตรกรรมมาก และการใชพื้นที่ทําการเกษตรมีผลทําให<br />

คุณภาพน้ําเปลี่ยนแปลงไป<br />

3.2 การวิเคราะหการจัดการน้ําอยางยั่งยืน<br />

การวิเคราะหการจัดการน้ําอยางยั่งยืน ประกอบดวย ขอมูลการติดตามตรวจสอบดานสิ่งแวดลอม<br />

ขอมูลการติดตามตรวจสอบดานเศรษฐกิจและสังคม การประเมินจํานวนประชากร การวิเคราะหการจัดการดาน<br />

สิ่งแวดลอม เชน การวิเคราะหขอมูลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําแมน้ําทาจีนของกลุมงานของกรมควบคุม<br />

มลพิษ และการวิเคราะหขอมูลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในพื้นที่ที่ทําการศึกษา และวิเคราะหการจัดการ<br />

ดานเศรษฐกิจและสังคม โดย การเก็บรวบรวมขอมูล ทําโดยการจัดทําแบบสอบถามสําหรับชาวบานและบริษัท/<br />

โรงงานอุตสาหกรรม<br />

608


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2.1 ประเมินขอมูลการใชน้ํา ปริมาณน้ําเสีย<br />

การคาดการณจํานวนประชากร จะใชขอมูลอัตราการเปลี่ยนแปลงประชากรตั้งแตป พ.ศ.2545 ถึงป พ.ศ.2551 เพื่อ<br />

ประเมินจํานวนประชากรในอนาคตจนถึงป พ.ศ.2560 ในประชากร 100 คน มีอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากร<br />

ตอป ของตําบลนครชัยศรีและตําบลทาขาม เทากับ 7.18 คน และ 1.52 คน ตามลําดับ โดยใชขอมูลขององคการ<br />

อนามัยโลกที่รายงานอัตราการใชน้ําของพลเมืองในแถบเอเชียตะวันออก (นิธิ ปรัสรา, 2548) ไดคาเฉลี่ย แสดงดัง<br />

ตารางที่ 1 จากขอมูลดังกลาวสามารถคํานวณหาปริมาณการใชน้ําของตําบลนครชัยศรีและตําบลทาขาม หรือเพื่อ<br />

คาดการณอัตราการใชน้ําและอัตราการเกิดน้ ําเสียในอนาคตของชุมชน<br />

ตารางที่ 1 อัตราการใชน้ําในครัวเรือนของพลเมืองในแถบเอเชียตะวันออก (นิธิ ปรัสรา, 2548)<br />

การใชน้ําในครัวเรือน อัตราการใชน้ํา (ลิตร/คน/วัน)<br />

ชนบท 50-70<br />

เขตเทศบาล 100-120<br />

นครหลวง 200<br />

3.2.2 วิเคราะหขอมูลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา<br />

สํารวจและเก็บตัวอยางน้ําในพื้นที่อําเภอนครชัยศรีและอําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม<br />

ประกอบดวยจุดเก็บตัวอยางทั้งหมด 5 จุด ไดแก ที่ทาน้ําหนาที่วาการอําเภอนครชัยศรี คลองบางแกว คลองมหา<br />

สวัสดิ์ ทาน้ําวัดทาขามและทาน้ําวัดเทียนดัด โดยเก็บตัวอยางครั้งที่ 1 กําหนดใหเปนตัวแทนของฤดูน้ําหลาก ใน<br />

วันที่ 18 กันยายน 2551 และทําการเก็บตัวอยางน้ําครั้งที่ 2 ที่เปนตัวแทนของฤดูแลง ในวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552<br />

เปรียบเทียบขอมูลที่ไดกับขอมูลคุณภาพน้ําจากสถานีตรวจวัดแมน้ําทาจีนตอนลางของกรมควบคุมมลพิษ จํานวน<br />

7 สถานี ไดแก จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครปฐม ดังแสดงในตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 สถานีตรวจวัดแมน้ําทาจีนตอนลาง (กรมควบคุมมลพิษ, 2538)<br />

สถานี ระยะทางจากปากแมน้ํา Station<br />

ปากแมน้ําทาจีน อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 0 TC01<br />

วัดศิริมงคล อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 16 TC04<br />

ร.ร.บานปลองเหลี่ยม อ.กระทุมแบน จ.สมุทรสาคร 34 TC07<br />

หนาวัดเทียนดัด บานทาใหม อ.สามพราน จ.นครปฐม 45 TC09<br />

วัดบางชางเหนือ อ.สามพราน จ.นครปฐม 53 TC10<br />

สะพานโพธิ์แกว บานทาขาม อ.สามพราน จ.นครปฐม 60 TC11<br />

หนาที่วาการ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม 82 TC13<br />

วิเคราะหหาคาพารามิเตอรทั้งหมด 13 พารามิเตอร ไดแก คาความเปนกรดดาง (pH) ปริมาณออกซิเจน<br />

ละลายน้ํา (Dissolved Oxygen : DO) อุณหภูมิ (Temperature) ความตองการออกซิเจนทางชีวเคมีโดยจุลินทรีย<br />

(Biochemical Oxygen Demand : BOD) คาความตองการออกซิเจนทางเคมีเพื่อใชออกซิไดซสารอินทรีย<br />

609


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(Chemical Oxygen Demand : COD) แบคทีเรียในรูปของฟคัลโคลิฟอรม (Fecal Coliform Bacteria : FCB)<br />

แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (NH 3 -N) ไนเตรต-ไนโตรเจน (NO 3 -N) ไนไตรต-ไนโตรเจน (NO 2 -N) ปริมาณรวมทั้งหมด<br />

ของไนโตรเจนอินทรียและแอมโมเนีย-ไนโตรเจน (Total Kjeldahl Nitrogen : TKN) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด<br />

(Total Phosphate : TP) ปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solids : TS) และปริมาณของแข็งแขวนลอย<br />

(Suspended Solids : SS) (AWWA, 2005) และทําการวิเคราะหและเปรียบเทียบกับขอมูลการติดตามตรวจสอบ<br />

คุณภาพน้ําที่สํารวจโดยหนวยงานอื่นๆ เชน กรมควบคุมมลพิษ<br />

3.3 วิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการใชน้ํา<br />

วิเคราะหผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการใชน้ําโดยวิเคราะหขอมูลดานตาง ๆ ทั้งทางดาน<br />

เศรษฐกิจ สังคม การใชน้ํา ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับน้ําใช ทั้งในภาคประชาชน ภาคการเกษตร และ<br />

ภาคอุตสาหกรรม โดยการจัดทําแบบสอบถามและสัมภาษณชาวบานและบริษัท/โรงงานอุตสาหกรรม ที่อาศัยอยูใน<br />

บริเวณพื้นที่ที่ทําการศึกษาหรืออยูติดริมน้ําทาจีน<br />

3.4 การศึกษาการเกิดโรคเกี่ยวกับน้ํา<br />

วิเคราะหถึงโรคภัยที่เกี่ยวเนื่องกับน้ํา คุณภาพน้ําที่ใชในการอุปโภคบริโภคของชุมชน โดยประเมิน<br />

จากแบบ สอบถามและสํารวจขอมูลจากหนวยงานและผูที่อาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ที่ทําการศึกษาหรืออยูติดริมน้ํา<br />

ทาจีน<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 การใชน้ําและปริมาณน้ําเสียในอําเภอนครชัยศรีและอําเภอสามพราน<br />

จากผลการคาดการณปริมาณน้ําใชชองชุมชนพบวาในป 2551 ชุมชนตําบลนครชัยศรีมีการใชน้ําเฉลี่ย<br />

เทากับ 120,825 ลูกบาศกเมตร ในขณะที่ตําบลทาขามมีปริมาณการใชน้ําเฉลี่ยเทากับ 270,567 ลูกบาศกเมตรตอป<br />

แตเมื่อประเมินจากอัตราการเพิ่มของประชากร พบวาในป 2560 ตําบลนครชัยศรีจะมีอัตราการใชน้ําเฉลี่ยของ<br />

ประชากรสูงกวาตําบลทาขามถึง 8 เทา<br />

จากการคาดการณปริมาณน้ําเสียและปริมาณความสกปรกที่จะเกิดขึ้นในอนาคตประเมินโดยใชขอมูลพื้นฐานคือ<br />

ปริมาณน้ําเสียเฉลี่ย เทากับ 48 ลิตรตอคนตอวัน และมีคาบีโอดี (BOD) เฉลี่ยเทากับ 200 มิลลิกรัมตอลิตร (คิด<br />

จากอัตราการเกิดน้ําเสีย รอยละ 80 ของอัตราการใชน้ํา) จากตารางที่ 3 พบวาปริมาณน้ําเสียของตําบลนครชัยศรี<br />

และตําบลทาขาม เพิ่มขึ้นทุกป ซึ่งหากไมมีการสรางระบบบําบัดน้ําเสีย และรวบรวมน้ําเสียไปยังระบบบําบัด จะมี<br />

ผลทําใหคุณภาพน้ําที่เสื่อมโทรมอยูแลวอาจเลวรายมากขึ้นและไมสามารถนําไปใชประโยชนอะไรได<br />

610


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 การคาดการณปริมาณความสกปรกที่ระบายลงสูแหลงน้ําของตําบลนครชัยศรีและตําบล<br />

ทาขาม ป 2551 ถึงป 2560<br />

ป (พ.ศ.)<br />

ปริมาณน้ําเสีย<br />

(ลูกบาศกเมตร/ป)<br />

ปริมาณความสกปรก<br />

(กิโลกรัมบีโอดี/ป)<br />

ตําบลนครชัยศรี ตําบลทาขาม ตําบลนครชัยศรี ตําบลทาขาม<br />

2551 215 481 43 96<br />

2552 247 496 49 99<br />

2553 304 518 61 104<br />

2554 402 550 80 110<br />

2555 569 592 114 118<br />

2556 863 648 173 130<br />

2557 1,404 719 281 144<br />

2558 2,448 810 490 162<br />

2559 4,577 926 915 185<br />

2560 9,173 1,075 1,835 215<br />

จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของอําเภอนครชัยศรีและอําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จะทํา<br />

การสํารวจ และเก็บตัวอยางน้ําทั้งหมด 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ทําการเก็บตัวอยางน้ําในวันที่ 18 กันยายน 2551 เปน<br />

ชวงฤดูน้ําหลาก และครั้งที่ 2 เก็บตัวอยางน้ําในวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 เปนชวงเริ่มเขาฤดูแลง โดยทําการเก็บ<br />

ตัวอยางทั้งหมด 5 จุด คือ ทาน้ําหนาที่วาการอําเภอนครชัยศรี คลองบางแกว คลองมหาสวัสดิ์ ทาน้ําวัดทาขามและ<br />

ทาน้ําวัดเทียนดัด ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําพบวา น้ําที่มีคาออกซิเจนละลายต่ํากวา 1.5 ในฤดูแลงและต่ํากวา<br />

2.0 ในฤดูน้ําหลาก จุดที่มีคา BOD สูง คือ ทาน้ําวัดเทียนดัด มีคาเทากับ 21 มิลลิกรัมตอลิตร ทุกจุดตรวจวัด พบ<br />

ปริมาณธาตุอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) ในฤดูน้ําหลากสูงกวาฤดูแลง ทั้งนี้เนื่องมาจากการชะลางหนาดินลง<br />

สูแหลงน้ํา เมื่อพิจารณาอุณหภูมิของอากาศกับพารามิเตอรตาง ๆ พบวาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมีความสัมพันธ<br />

กับคาความขุน คาความเค็ม คาของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ํา คาบีโอดี และคาปริมาณฟคอลโคลิฟอรมแบคทีเรีย<br />

รูปที่ 1 แสดงคาอุณหภูมิของน้ําในป 2550 เปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยยอนหลัง 10 ป พบวาคาอุณหภูมิต่ําสุดของป<br />

2550 มีคาสูงกวาคาเฉลี่ยในรอบ 10 ปทุกสถานีตรวจวัด และคาเฉลี่ยป 2550 มีแนวโนมสูงกวาคาเฉลี่ยในรอบ10 ป<br />

ที่ผานมา<br />

อุณหภูมิของน้ํา (องศาเซลเซียส)<br />

33.0<br />

32.0<br />

31.0<br />

30.0<br />

29.0<br />

28.0<br />

27.0<br />

26.0<br />

25.0<br />

24.0<br />

TCO1 TC04 TC07 TC09 TC10 TC11 TC13<br />

สถานี<br />

40-49 สูงสุด 40-49 ต่ําสุด 40-49 เฉลี่ย<br />

2550 สูงสุด 2550 ต่ําสุด 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 1 คาอุณหภูมิของน้ําเฉลี่ยป 2540-2549 เปรียบเทียบกับป 2550<br />

611


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

40<br />

40<br />

อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส)<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

มกราคม<br />

กุมภาพันธ<br />

มีนาคม<br />

เมษายน<br />

พฤษภาคม<br />

มิถุนายน<br />

กรกฎาคม<br />

สิงหาคม<br />

กันยายน<br />

ตุลาคม<br />

พฤศจิกายน<br />

ธันวาคม<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

เดือน<br />

อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส)<br />

ป (44-49) สูงสุด ป (44-49) ต่ําสุด ป (44-49) เฉลี่ย<br />

ป 2550 สูงสุด ป 2550 ต่ําสุด ป 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 2 คาอุณหภูมิอากาศเฉลี่ย 6 ป (2544-2549) เทียบกับป 2550<br />

คา BOD (มก/ล)<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

TCO1 TC04 TC07 TC09 TC10 TC11 TC13<br />

สถานี<br />

40-49 สูงสุด 40-49 ต่ําสุด 40-49 เฉลี่ย<br />

2550 สูงสุด 2550 ต่ําสุด 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 3 คาบีโอดีเฉลี่ยป 2540-2549 เทียบกับป 2550<br />

คา TDS (มก/ล)<br />

26000<br />

24000<br />

22000<br />

20000<br />

18000<br />

16000<br />

14000<br />

12000<br />

10000<br />

8000<br />

6000<br />

4000<br />

2000<br />

0<br />

TCO1 TC04 TC07 TC09 TC10 TC11 TC13 สถานี<br />

40-49 สูงสุด 40-49 ต่ําสุด 40-49 เฉลี่ย<br />

2550 สูงสุด 2550 ต่ําสุด 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 4 คาของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ํา (TDS) เฉลี่ยป 2540-2549 เปรียบเทียบกับป 2550<br />

612


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คา TP (มก/ล)<br />

1.4<br />

1.2<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

TCO1 TC04 TC07 TC09 TC10 TC11 TC13 สถานี<br />

40-49 สูงสุด 40-49 ต่ําสุด 40-49 เฉลี่ย<br />

2550 สูงสุด 2550 ต่ําสุด 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 5 คาฟอสฟอรัสทั้งหมด (TP) ของน้ําเฉลี่ยป 2540-2549 เทียบกับป 2550<br />

คา NO3-N (มก/ล)<br />

1.6<br />

1.4<br />

1.2<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

TCO1 TC04 TC07 TC09 TC10 TC11 TC13<br />

สถานี<br />

40-49 สูงสุด 40-49 ต่ําสุด 40-49 เฉลี่ย<br />

2550 สูงสุด 2550 ต่ําสุด 2550 เฉลี่ย<br />

รูปที่ 6 คาไนเตรท-ไนโตรเจน (NO 3 -N) ของน้ําเฉลี่ยป 2540-2549 เทียบกับป 2550<br />

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลการติดตามตรวจสอบดานเศรษฐกิจและสังคม<br />

ผลการวิเคราะหและการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย ขอมูลการจัดทําแบบสอบถามสําหรับชาวบาน<br />

และบริษัท/โรงงานอุตสาหกรรม ที่อาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ที่ทําการศึกษาหรืออยูติดริมน้ําทาจีน ขอมูลการ<br />

คาดการณอัตราการใชน้ําของประชากรและการคาดการณปริมาณน้ําเสียและปริมาณความสกปรกที่ระบายลงสู<br />

แหลงน้ําในอนาคต พบวาสถานประกอบการที่อยูใกลแหลงชุมชนจะประกอบดวย พื้นที่พักอาศัย (รอยละ 72.2)<br />

พื้นที่ทําการเกษตรกรรม (รอยละ 33.3) และที่เหลือประกอบกิจการอื่นๆ การประกอบอาชีพในชุมชนสวนใหญรอย<br />

ละ 36.1 ประกอบอาชีพผูรับจางทั่วไป รอยละ 30.6 เปนเกษตรกร และรอยละ 22.2 ประกอบอาชีพคาขาย โดยผูที่<br />

ประกอบอาชีพเกษตรกรจะมีการปลูกพืชชนิดตางๆ เชน กลวยไม สมโอ ฝรั่ง มะพราวและแกวมังกร ซึ่งไดใช<br />

ปุยเคมีในการทําเกษตรกรรมคิดเปนรอยละ 81.8 (รูปที่ 7)<br />

ดานแหลงน้ําที่ใชมากที่สุดในชุมชนประกอบดวย น้ําประปา น้ําบาดาลและน้ําจากแมน้ําหรือน้ําคลองคิด<br />

เปนรอยละ 58.3 รอยละ 19.4 และรอยละ 11.1 ตามลําดับ สวนน้ําที่ใชเพื่ออุปโภค บริโภคในครัวเรือนสวนใหญจะ<br />

เปนน้ําบรรจุขวดคิดเปนรอยละ 83.3 ซึ่งน้ําใชสําหรับปรุงอาหารจะใชน้ําประปา น้ําบรรจุขวดและน้ําบาดาลคิดเปน<br />

รอยละ 36.1 รอยละ 30.6 และรอยละ 25.0 ตามลําดับ สวนน้ําที่ใชอุปโภคในครัวเรือนสวนใหญจะใชน้ําประปาคิด<br />

613


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนรอยละ 63.9 ทั้งนี้น้ําประปาที่ใชในพื้นที่ศึกษามีปริมาณการผลิต 320,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน (บริษัท<br />

น้ําประปาไทย, 2553) ซึ่งมีแหลงน้ําดิบมาจากแมน้ําทาจีน ซึ่งหากแมน้ําทาจีนมีปญหาจากการลุกล้ําของน้ําเค็ม ก็<br />

จะมีผลตอการผลิตน้ําประปาได<br />

ดานการใชประโยชนของน้ําในแมน้ําหรือคลองสาธารณะในชุมชนสวนใหญจะใชเพื่อการเกษตรกรรมคิด<br />

เปนรอยละ 47.2 แหลงน้ําสํารองที่ชุมชนนํามาใชเมื่อขาดแคลนน้ําสวนใหญจะเปนน้ําประปา (รอยละ 58.3) และน้ํา<br />

บาดาล (รอยละ 19.4) ดานวิธีการประหยัดน้ําของชุมชนสวนใหญจะทําการลดปริมาณการใชน้ําใหนอยลงคิดเปน<br />

รอยละ 50 สวนการนําน้ํากลับมาใชใหมคิดเปนรอยละ 16.7 ซึ่งสวนใหญนําน้ําที่ใชแลวมารดน้ําตนไม (รอยละ<br />

36.1) สภาพแวดลอมปจจุบันของน้ําในแมน้ําหรือคลองสาธารณะในชุมชนมีวัชพืชขึ้นรกรุงรังน้ําสกปรกมีกลิ่นเหม็น<br />

และมีขยะลอยน้ําคิดเปนรอยละ 52.8 รอยละ 41.7 และรอยละ 30.6 ตามลําดับ ซึ่งหากอุณหภูมิสูงขึ้นจากสภาวะ<br />

โลกรอน ก็จะทําใหปญหาดังกลาวมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นจะเรงการยอยสลายของจุลินทรีย ทํา<br />

ใหปลดปลอยธาตุอาหารลงสูแหลงน้ําไดเร็ว เกิดการเจริญเติบโตของพืชน้ําขึ้นมาก ออกซิเจนละลายน้ํามีคาลดลง<br />

ทําใหน้ํามีกลิ่นเหม็น นอกจากนี้การที่อุณหภูมิบรรยากาศสูงขึ้นยังเรงการระเหยของน้ําในแหลงน้ํา ทําใหเกิด<br />

ปญหา<br />

จํานวนแบบสอบถาม/<br />

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม (%)<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

ที่พักอาศัย<br />

การเกษตรกรรม<br />

สถานที่ราชการ<br />

ตลาดสด<br />

ธุรกิจการคา<br />

โรงงานอุตสาหกรรม<br />

รับจางทั่วไป<br />

การอาชีพเกษตรกรรม<br />

คาขาย<br />

อาชีพอื่น ๆ<br />

ไมตอบคําถามอาชีพ<br />

ใชปุยเคมีในการเกษตร<br />

ไมตอบคําถามการ<br />

ใชปุยเคมี<br />

สถานประกอบการ<br />

อาชีพ<br />

การใชปุยเคมี<br />

รูปที่ 7 ขอมูลลักษณะการประกอบอาชีพของชุมชน และการใชปุยเคมีเพื่อการเกษตร<br />

จํ านวนแบบสอบถาม/<br />

จํ านวนผู ตอบแบบสอบถาม(% )<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

ปญหาการใชน้ํา<br />

ลักษณะปญหา<br />

ชวงเวลาที่เกิดปญหา<br />

ปญหาน้ําทวม<br />

ลักษณะน้ําทวม<br />

ชวงเวลาน้ําทวม<br />

มี ป ญหา<br />

ไม มี ป ญหา<br />

ไม ตอบคํ าถาม<br />

น้ํ าขาดแคลน<br />

น้ํ าเน าเสี ย<br />

คุ ณภาพน้ํ าอื่ นๆ<br />

น อยกว า 1 ป<br />

ช วงเวลา5-10 ป<br />

เคยเกิ ดน้ํ าท วม<br />

ไม เคยเกิ ดน้ํ าท วม<br />

ไม ตอบคํ าถาม<br />

น้ํ าล นตลิ่ ง<br />

น้ํ าท วมขั ง<br />

ไม เกิ น 1 วั น<br />

ไม เกิ น 3 วั น<br />

ไม เกิ น 7 วั น<br />

ไม เกิ น 15 วั น<br />

ไม เกิ น 30 วั น<br />

เกิ น 30 วั น<br />

รูปที่ 8 กราฟขอมูลลักษณะปญหาของแหลงน้ําและการใชน้ําในชุมชน<br />

614


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การขาดแคลนน้ําได ดังนั้นในระดับชุมชนจึงควรมีมาตรการในการดูแลคลองไมใหมีการทิ้งสิ่งปฏิกูลสู<br />

แหลงน้ํา โดยเฉพาะคลองที่เชื่อมตอกับแมน้ําทาจีน รูปที่ 8 แสดงขอมูลและปญหาดานการใชน้ํา พบวาชุมชนสวน<br />

ใหญไมประสบปญหาดานการใชน้ํา แตอาจพบผู ที่ประสบปญหาบางในบางพื้นที่ (รอยละ 33.3) โดยมากมักเปน<br />

ปญหาเรื่องน้ําเนาเสีย ขาดแคลนน้ํา และดานคุณภาพน้ํา คิดเปนรอยละ 50.0 รอยละ 41.7 และรอยละ 8.3<br />

ตามลําดับ สวนปญหาน้ําทวมในชุมชนพบวาเคยประสบเหตุน้ําทวมคิดเปนรอยละ 66.7 ในลักษณะของน้ําทวมลน<br />

ตลิ่ง กินระยะเวลาที่น้ําทวมไมเกิน 1 วัน และ 3 วันคิดเปนรอยละ 29.2 เทา ๆ กัน<br />

ดานความเพียงพอของปริมาณน้ําในแมน้ําหรือคลองสาธารณะในชุมชนสวนใหญมีน้ําใชเพียงพอคิดเปน<br />

รอยละ 52.8 ซึ่งนําน้ํามาใชงานในฤดูกาลตาง ๆ ไดโดยปริมาณน้ําของน้ําในแมน้ําหรือคลองสาธารณะในชุมชนชวง<br />

ฤดูฝน และชวงฤดูแลงเพียงพอตอการใชงานคิดเปนรอยละ 96.3 และ รอยละ 81.5 ในสวนการเกิดภัยพิบัติใน<br />

ชุมชนสวนใหญไมเคยมีการเกิดภัยพิบัติคิดเปนรอยละ 69.4 และที่เคยประสบภัยพิบัติ คือ น้ําทวมที่ทําการเกษตร<br />

คิดเปนรอยละ 16.7 ในดานปญหาที่พบ คือ ความไมพึงพอใจของชุมชนตอหนวยงานราชการ เนื่องจากไมเขามาให<br />

ความชวยเหลือชุมชนหรือเขามาใหความชวยเหลือลาชา และผลจากการสํารวจขอมูลในชุมชนพบวาบางพื้นที่ไดรับ<br />

ผลกระทบจากคุณภาพน้ําที่ทําใหเกิดโรคอันเนื่องมาจากคุณภาพน้ํา เชน โรคติดเชื้อในลําไส โรคตับอักเสบจากเชื้อ<br />

ไวรัส เปนตน<br />

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินการใชน้ําของของบริษัทและโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ขอมูลการใชน้ําของบริษัท/โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนขอมูลจากการขอความอนุเคราะหจากโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมในพื้นที่ที่ตอบแบบสอบถาม เพื่อนําขอมูลมาใชในการวิเคราะหมีจํานวนทั้งสิ้น 16 ฉบับ จากการสง<br />

แบบสอบถามทั้งหมด 36 ฉบับ สามารถแบงประเภทโรงงานอุตสาหกรรมเปนโรงงานสิ่งทอ รอยละ 31.3 โรงงาน<br />

ประเภทอื่นๆ รอยละ 31.3 (เชน โรงงานสุรา โรงงานปุยการเกษตร เปนตน) และโรงงานอาหาร รอยละ 18.8 สวน<br />

สถานที่ตั้งโรงงานสวนใหญตั้งอยูที่อําเภอนครชัยศรีรอยละ 56.3 และเขตอําเภอสามพรานรอยละ 43.8 สวนแหลง<br />

น้ําที่โรงงานอุตสาหกรรมนํามาใชในบริษัทประกอบดวย น้ําในแมน้ําหรือน้ ําคลอง น้ําบาดาล และน้ําประปาคิดเปน<br />

รอยละ 43.8 รอยละ 31.3 และรอยละ 25.0 ตามลําดับ ดังนั้นจะเห็นไดวาภาคอุตสาหกรรม มีความจําเปนตองใช<br />

แหลงน้ําธรรมชาติมาก รองจากภาคเกษตรกรรมและชุมชน จากขอมูลขางตนพบวาการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศมีผลตอคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะคาของแข็งละลายน้ ํา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ํายอมมีผลตอการ<br />

นําไปใชในโรงงานอุตสาหกรรมเพราะอาจมีผลตอผลิตภัณฑได โดยเฉพาะอุตสาหกรรมฟอกยอมสิ่งทอ และ<br />

ผลิตภัณฑอาหาร ที่ตองใชน้ํามาก จึงมีความจําเปนที่จะตองปรับตัวตอปญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ<br />

รูปที่ 9 แสดงขอมูลสภาพแวดลอมของแมน้ําทาจีน และการใชประโยชนตาง ๆ ของแมน้ําทาจีน ซึ่งประกอบดวย<br />

เปนแหลงน้ําทางการเกษตร เปนแหลงน้ําที่ใชในกิจการของโรงงานอุตสาหกรรม และเปนแหลงน้ําทําการประมง<br />

เปนตน คิดเปนรอยละ 87.5 รอยละ 68.8 และรอยละ 50.0 ตามลําดับ สวนปญหาดานสภาพแวดลอมของแมน้ําทา<br />

จีน ณ ปจจุบันประกอบดวย มีวัชพืชขึ้นรกรุงรัง เปนที่ระบายน้ําทิ้งจากบานเรือน ลําคลองตื้นเขิน และขาดการดูแล<br />

จากทางรัฐหรือผูเกี่ยวของ เปนตน คิดเปนรอยละ 75.0 รอยละ 62.5 และรอยละ 43.8 ดังแสดงในรูปที่ 10<br />

615


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จํ านวนแบบสอบถาม/ โรงงานที่<br />

ตอบแบบสอบถาม (% )<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

น้ํ าอุ ปโภค บริ โภค<br />

การประมง<br />

ครั วเรื อนที่ เลี้ ยงสั ตว<br />

เพ าะป ลู กในฤดู ฝน<br />

เพ าะป ลู กในฤดู แล ง<br />

อุ ตสาหกรรม<br />

ใช เพื่ อการเกษตร<br />

น้ํ าสกปรกและมี กลิ่ น<br />

เห ม็ น<br />

ลํ าคลองตื้ นเขิ น<br />

มี ขยะลอยน้ํ า<br />

วั ชพื ชขึ้ นรกรุ งรั ง<br />

เป นที่ ระบาย น้ํ าทิ้ ง<br />

จากบ านเรื อน<br />

ขาดการดู แล<br />

น้ํ ายั งไม เสี ย<br />

น้ํ าเสี ย แต ยั งไม<br />

ส งกลิ่ นเหม็ น<br />

การใชประโยชน<br />

แหลงน้ํา<br />

สภาพแวดลอม<br />

แหลงน้ํา<br />

รูปที่ 9 ขอมูลดานสภาพแวดลอมของแมน้ําทาจีน และการใชประโยชนตางๆของแมน้ําทาจีนจากโรงงาน<br />

อุตสาหกรรม<br />

จํ านวนแบบสอบถาม/<br />

จํ านวนโรววานที่ ตอบแบบสอบถาม( % )<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

มี ป ญหาการใช น้ํ า<br />

ไม มี ป ญหาการใช น้ํ า<br />

น้ํ าขาดแคลน<br />

คุ ณภาพน้ํ าอื่ นๆ<br />

ช วงไม เกิ น 1 ป<br />

ระหว าง 5-10 ป<br />

มี น้ํ าใช เกิ นพอ<br />

มี น้ํ าใช เพี ยงพอ<br />

ขาดแคลนในบางป<br />

ซื้ อจากบริ ษั ทเอกชน<br />

ใช น้ํ าประปา<br />

ใช น้ํ าบาดาล<br />

เต รี ยมถั งสํ ารองน้ํ า<br />

เก็ บไว<br />

ใช วิ ธี การอื่ น ๆในการ<br />

รองรั บน้ํ า<br />

ไม ทราบข อมู ล<br />

ปญหาการใชน้ํา<br />

ลักษณะปญหาการใชน้ํา<br />

ชวงเวลาที่เกิดปญหาใชน้ํา<br />

ปริมาณน้ําที่ตองการ<br />

แหลงน้ําสํารอง<br />

รูปที่ 10 กราฟขอมูลดานปญหาที่เกี่ยวกับการใชน้ํา ปริมาณน้ําที่นํามาใชของโรงงานและลักษณะเตรียม<br />

แหลงน้ําสํารอง<br />

โรงงานสวนใหญมีปริมาณน้ําที่นํามาใชเพียงพอตอความตองการของโรงงาน และมักมีการเตรียมแหลงน้ํา<br />

สํารองไวใชงาน จากการสอบถามพบวา รอยละ 81.3 ไมมีปญหาในการใชน้ํา บางแหงที่เคยพบปญหาในการใชน้ํา<br />

จะเปนปญหาดานการขาดแคลนน้ําใช นอกจากนี้ยังพบปญหาคุณภาพน้ําไมเหมาะสมที่จะนํามาใช ซึ่งปญหา<br />

ดังกลาวนี้เกิดขึ้นบอยครั้ง ในกรณีที่โรงงานขาดแคลนน้ําใชจากแหลงน้ําหลัก โรงงานจะมีมาตรการในการจัดการน้ํา<br />

คือ การเตรียมน้ําบาดาลเปนแหลงน้ําสํารอง (รอยละ 56.3) และการเตรียมถังสํารองน้ําไวใชรอยละ 31.3<br />

616


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากการศึกษาวิเคราะหคุณภาพน้ําทาจีนในชวงฤดูน้ํานอยและฤดูน้ําหลาก พบวาอุณหภูมิ ปริมาณ<br />

ของแข็งแขวนลอยและของแข็งละลายน้ํา และความถี่ของการเกิดโรคเนื่องจากคุณภาพน้ํา ไดแก โรคจากทางเดิน<br />

อาหาร โรคติดเชื้อในลําไส เปนตัวแปรคุณภาพน้ําที่สําคัญที่บงบอกถึงสภาวะโลกรอน ในดานการอุตสาหกรรมมี<br />

ความตองการใชน้ําจากแมน้ําทาจีน โดย ใชน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติจากทาจีนถึงรอยละ 43.8 และพบวาบางแหงมี<br />

มีปญหาการขาดแคลนน้ําบางในรอบ 10 ปที่ผานมาเนื่องคุณภาพน้ําจากแหลงธรรมชาติไมเหมาะสมสําหรับการ<br />

ประกอบกิจการ และบางแหงก็เคยเกิดปญหาน้ําทวม เนื่องจากแมน้ําทาจีนตอนลางเปนแหลงรองรับน้ําเสียจาก<br />

กิจกรรมตาง ๆ ชุมชน รานอาหาร ฟารมสุกร และโรงงานอุตสาหกรรม ที่ทิ้งน้ําเสียและสิ่งปฏิกูลลงในแหลงน้ํา ทํา<br />

ใหคุณภาพน้ําต่ํา ทําใหเกิดทั้งปญหาขาดแคลนน้ําที่มีคุณภาพดี และเกิดปญหาน้ําทวมที่เปนผลจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Antonio A.R. Ioris, Colin Hunter and Susan Walker. (2007), The development and<br />

application of water management sustainability indicators in Brazil and Scotland, pp. 1-12.<br />

- AWWA (2005), Standard Methods for the Examination of Water & Wastewater. 21 st ed.<br />

American Public Health Association, Washington DC, USA.<br />

- Lunchakorn Prathumratana, Suthipong Sthiannopkao and Kyoung Woong Kim. (2007),<br />

The relationship ofclimatic and hydrological parameters to surface water quality in the<br />

lower Mekong River, pp. 1-7.<br />

- National Waterworks Technology Training Institute “Technical Papers Sustainable Water<br />

Resources Development and Management towards 21st Century” 5 th November 1996<br />

The Empress Hotel, Chiangmai, Thailand.<br />

- Newson, M., Gariiner, J., Slator, S. (2000), Planning and Managing for the Future in<br />

Acreman, M. (ed.), The Hydrology of the UK: a Study of Change. Routledge and British<br />

Hydrological Society, London, pp. 244-269.<br />

- กรมควบคุมมลพิษ, (2538), การศึกษาความเหมาะสม การจัดการน้ําเสียในเขตพื้นที่ลุมน้ําทาจีน<br />

ตอนลาง (รายงานหลัก)<br />

- กรมควบคุมมลพิษ, (2546), การคาดการณปริมาณน้ําเสียและปริมาณความสกปรกที่จะเกิดขึ้น<br />

ในอนาคต<br />

- กรมควบคุมมลพิษ, (2548), รายงานสถานการณสิ่งแวดลอม<br />

- การประปาสวนภูมิภาค, (2551), เขต 3 อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี<br />

- นิธิ ปรัสรา, (2548), ศูนยพัฒนาการเรียนการสอน, สถาบันพระบรมราชชนก, กระทรวง<br />

สาธารณสุข<br />

- บริษัทน้ําประปาไทย, (2553) http://www.thaitap.com/th/03_products/index.php<br />

- สํานักงานสถิติจังหวัดนครปฐม, (2550) ที่ทําการปกครอง, สํานักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม<br />

- สํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร, ที่ทําการปกครอง, สํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร<br />

617


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แนวโนมผลกระทบดานอุทกวิทยาในลุมน้ําคลองใหญ จังหวัดระยอง<br />

Trend of Hydrological Impact on Klongyai Basin, Rayong Province<br />

อรชร กําเนิด 1,2 , ชัยยุทธ ชินณะราศรี2,3 , สุจริต คูณธนกุลวงศ<br />

4 และ สุรเจตส บุญญาอรุณเนตร 5<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

3 หองปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมแหลงน้ํา (WAREE) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

4 หนวยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหลงน้ํา ภาควิชาวิศวกรรมแหลงน้ํา คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เลขที่ 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

5 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร (องคการมหาชน)<br />

เลขที่ 108 อาคารบางกอกไทย ทาวเวอร ชั้น 8 ถนนรางน้ํา แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

บทคัดยอ<br />

สภาพภูมิอากาศที่มีแนวโนมเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน ไดสงผลกระทบตอปริมาณน้ําฝน-น้ําทา ในลุมน้ํา<br />

กลาวคือในบางครั้งพบวาปริมาณน้ําในลุมน้ํามีมากเกินไปจนเกิดปญหาน้ําทวม หรือบางปกลับพบวาปริมาณน้ําใน<br />

ลุมน้ํานอยเกินไปอยางรุนแรง ปญหาจะสงผลกระทบเศรษฐกิจของประเทศเปนอยางมากหากเกิดขึ้นในลุมน้ําที่เปน<br />

เขตเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมซึ่งตองการน้ําปริมาณมากในกระบวนการผลิต วัตถุประสงคของการศึกษานี้คือ<br />

เพื่อวิเคราะหถึงความรุนแรงของการเกิดสภาวะขาดแคลนน้ํา และอุทกภัย เพื่อใชเปนแนวทางศึกษาถึงแนวโนม<br />

ผลกระทบดานอุทกวิทยาในอนาคต โดยเลือกใชลุมน้ําคลองใหญ ซึ่งตั้งอยูในภาคตะวันออกของประเทศไทย มี<br />

พื้นที่สวนใหญอยูในจังหวัดระยอง มีอางเก็บน้ําดอกกรายและอางเก็บน้ําหนองปลาไหลซึ่งเปนแหลงน้ําสําหรับภาค<br />

เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในพื้นที่ ดวยแบบจําลองทางคณิตศาสตร (SWAT Model) โดยอาศัยขอมูลดานอุทก<br />

วิทยา ไดแก ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ ปริมาณน้ําทารายปในชวง 30 ปยอนหลัง ตลอดจนขอมูลการใชประโยชน<br />

ที่ดินและความตองการน้ําของทุกภาคสวน ผลการศึกษาในเบื้องตนพบวา แนวโนมของอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น สงผล<br />

ใหปริมาณน้ําฝนมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในฤดูฝน แตชวงฤดูฝนกลับมีชวงฤดูกาลที่สั้นลง ในขณะที่ฤดูแลงมีชวง<br />

ยาวนานขึ้น จึงทําใหปริมาณน้ําทาในลุมน้ําคลองใหญมีแนวโนมเปลี่ยนแปลง<br />

คําสําคัญ : Hydrological impact, Rainfall-Runoff, Klongyai Basin, Water Resources Management.<br />

Abstract<br />

At present, the climate condition is found to be changed which affects the amount of rainfall –<br />

runoff in any watersheds. Sometimes too much of water gives rise to flood problem while less much of<br />

618


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

water gives rise to drought in a watershed. These kinds of water problems will affect country’s economic<br />

when they occur in the agricultural and manufacturing areas, which need much of water for their<br />

production processes. The objectives of this study are to analyze the severity of water shortage and flood<br />

conditions for guidance of the study of the trend of the hydrological impact in the near future. The case<br />

study is the Klongyai basin, which is located in the east part of Thailand. Most areas are in Rayong<br />

province. Dokkrai and Nhongplalai reservoirs supply water for agricultural and manufacturing zones. The<br />

mathematic SWAT model with hydrological data such as rainfall, temperature, and runoff for the past 30<br />

years, and data of land use, and water demand, the preliminary results show that the increasing<br />

temperature will affect to the increasing amount of rainfall in the rainy season. However, duration of rainy<br />

season will shorter than the past, while the drought period will longer. The pattern of runoff in Klongyai<br />

basin is therefore changed from the past.<br />

1. ความสําคัญ<br />

สภาพภูมิอากาศที่มีแนวโนมเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน ไดสงผลกระทบตอปริมาณน้ําฝน-น้ําทา ในลุมน้ํา<br />

กลาวคือในบางครั้งพบวาปริมาณน้ําในลุมน้ํามีมากเกินไปจนเกิดปญหาน้ําทวม หรือบางปกลับพบวาปริมาณน้ําใน<br />

ลุมน้ํานอยเกินไปอยางรุนแรง ปญหาจะสงผลกระทบเศรษฐกิจของประเทศเปนอยางมากหากเกิดขึ้นในลุมน้ําที่เปน<br />

เขตเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมซึ่งตองการน้ําปริมาณมากในกระบวนการผลิต<br />

การเพิ่มขึ้นของประชากรดวยอัตราการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วมีผลทําใหปริมาณทรัพยากรน้ําที่มีอยูใน<br />

ปจจุบันไมเพียงพอตอความตองการ จึงตองมีการพัฒนาดานทรัพยากรน้ําใหเพียงพอ ปจจุบันประเทศไทยมีการ<br />

เพิ่มขึ้นของความตองการน้ําอยางรวดเร็วจากการขยายตัวทั้งทางดานภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อุปโภค<br />

บริโภค มีการพัฒนาโดยใชมาตรการจัดสรรทรัพยากรน้ําอยางเกิดประโยชนสูงสุดโดยไมใชสิ่งกอสราง ดวยการ<br />

พัฒนาการจัดการจากแหลงน้ําตนทุน และระบบการกระจายน้ําสูพื้นที่ใหสามารถใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ<br />

การทําวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษาการจัดสรรน้ําในระดับลุมน้ํา คือลุมน้ําคลองใหญ จังหวัดระยอง<br />

เนื่องจากมีการพัฒนาการใชน้ําในกิจกรรมที่หลากหลายทั้งทางดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อุปโภคบริโภค อยาง<br />

รวดเร็ว และมีการผันน้ําระหวางแหลงน้ําตนทุนที่มีอยู ตลอดจนมีการผันน้ําไปใชในลุมน้ําขางเคียง ซึ่งความ<br />

ตองการใชน้ําในพื้นที่ สอดคลองกับผลการศึกษาของ ทวีสิทธิ์ เลิศสินไทย (2549) ที่พบวา สภาพการใชน้ําจนถึง<br />

ปจจุบันในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ มีความตองการน้ําเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นคือ ขาด<br />

แคลนน้ําในภาคอุตสาหกรรม รองลงมาคืออุปโภคและบริโภค แตมีการขาดแคลนน้ําในสวนนอย ไมเกินรอยละ 0.01<br />

และนําเอาผลการศึกษามาใชในการจัดการและวางแผนในการจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ เพื่อบรรเทาการขาด<br />

แคลนน้ํา และปญหาความไมแนนอนของปริมาณน้ําตนทุนกับความตองการใชน้ํา ทั้งนี้ในอนาคตจะสงผลใหเกิดการ<br />

ขาดแคลนน้ํามากขึ้น ถาไมมีการจัดการทรัพยากรน้ําที่สมดุลระหวางปริมาณน้ําตนทุนและความตองการใชน้ํา ที่<br />

เกิดจากความไมแนนอนของสภาพภูมิอากาศ และสภาพพื้นที่ศึกษาเปนสวนสําคัญในการวิเคราะหถึงปริมาณน้ํา<br />

ตนทุนที่สามารถนํามาใชไดจริง ตัวอยางเชน พื้นที่การใชประโยชนที่ดิน และลักษณะของดิน ที่มีผลตอปริมาณน้ําที่<br />

หายไป โดยศึกษาจากสมการสมดุลน้ํา ของธเนศร สมบูรณ (2544) ที่ศึกษาถึงการสงน้ําของชลประทานและ<br />

ปริมาณน้ําที่ไหลซึมลงดิน<br />

ดังนั้น จึงมุงเนนการวิเคราะหความรุนแรงของการเกิดสภาวะขาดแคลนน้ํา และอุทกภัย เพื่อใชเปน<br />

แนวทางศึกษาถึงแนวโนมผลกระทบดานอุทกวิทยา โดยมีขอบเขตของการศึกษา คือเปนการรวบรวมและวิเคราะห<br />

ขอมูลทางดานอุตุ-อุทกวิทยา ไดแก ขอมูลปริมาณน้ําฝน ขอมูลอุณหภูมิต่ําสุด และสูงสุด ขอมูลปริมาณน้ําทา ซึ่ง<br />

619


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนขอมูลรายวัน ชวงเวลา 10 ปยอนหลัง ตั้งแตป พ.ศ. 2543 ถึงป พ.ศ. 2553 และทําการประเมินปริมาณน้ําทา<br />

จากการจําลองน้ําฝน-น้ําทาโดยใชแบบจําลอง SWAT Model เปนการจําลองปริมาณน้ําทาในปจจุบันและในอนาคต<br />

ทั้งนี้การศึกษาดังกลาว เปนการศึกษาแนวโนมของปจจัยที่มีผลกระทบตอทรัพยากรน้ําในพื้นที ่ลุมน้ําคลองใหญ<br />

2. ขอมูลพื้นฐานและการวิเคราะหขอมูล<br />

ขอมูลดานอุทกวิทยา ไดแก ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ ปริมาณน้ําทารายปในชวง 30 ปยอนหลัง ตลอดจน<br />

ขอมูลการใชประโยชนที่ดินและความตองการน้ําของทุกภาคสวน ขอมูลเอกสารจากหนวยราชการตางๆ ที่เปน<br />

พื้นฐานในการวิเคราะหขอมูล ไดแก การใชที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ ป พ.ศ. 2544 (กรมพัฒนาที่ดิน) พบวา<br />

พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 6,107.13 ตารางกิโลเมตร รองลงมาเปนพื้นที่ปาไม จํานวน 2,034.99<br />

ตารางกิโลเมตร และพื้นที่เมือง อุตสาหกรรม จํานวน 344.39 ตารางกิโลเมตร ขอมูลแผนที่แสดงความสูงเชิง<br />

ตัวเลข (Digital Elevation Model) จากสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม ขอมูลแผนที่กลุมชุดดิน มาตราสวน<br />

1: 50,000 จากกรมทรัพยากรน้ํา ขอมูลเสนทางน้ํา มาตราสวน 1: 50,000 จากกรมทรัพยากรน้ํา ขอมูลสภาพ<br />

ภูมิอากาศ ประกอบดวยขอมูลฝนรายวัน อุณหภูมิสูงสุด และต่ําสุดรายวัน ตั้งแตป พ.ศ. 2532-2549 จากสถานี<br />

ตรวจวัดภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน ขอมูลปริมาณน้ําทา ตั้งแตป พ.ศ. 2532-2549 จาก<br />

กรมชลประทาน ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม จากสํานักงานสถิติแหงชาติ สําหรับขอมูลภาคสนาม ใชเปนการ<br />

ตรวจสอบการใชที่ดินและประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่<br />

การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานมีขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

2.1 การนําขอมูลแผนที่การใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ.2544 โดยใชโปรแกรมทางระบบสารสนเทศทาง<br />

ภูมิศาสตรชวยวิเคราะหการซอนทับภาพในแตละชวงเวลา สามารถที่จําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินแตละ<br />

พื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงและวิเคราะหอัตราการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน<br />

2.2 การนําเขาขอมูลความสูงเชิงตัวเลข (Digital Elevation Model: DEM) ในแบบจําลอง SWAT Model<br />

สามารถที่จะนําขอมูลจากพิกัดในพื้นที่และระดับความสูงในแตละกริดเซลลที่มีขนาดเทากันวิเคราะหพื้นผิวตาม<br />

สภาพภูมิประเทศขอมูลแตละกริดเซลลตอเนื่องเปนผืนเดียวกัน ขอมูลความสูงเชิงตัวเลขสามารถที่จะนํามาลาก<br />

แบงพื้นที่ลุมน้ํา กลายเปนแบบมาตรฐานเพื่อการกําหนดทิศทางการไหลทั้ง 8 ทิศทาง สามารถที่จะคํานวณทิศ<br />

ทางการไหล (Flow Direction) และผลรวมหนวยการไหลสะสม(Flow Accumulation) จํานวนหนวยขอมูลที่ไหลมา<br />

รวมจากพื้นที่ที่อยูสูงลงสูพื้นที่ต่ํา การกําหนดเสนลําน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา และขอบเขตพื้นที่ลุมน้ ํา<br />

2.3 การนําเขาขอมูลแผนที่ของดิน แบบจําลอง SWAT Model สามารถที่จะนําเขาขอมูลคุณลักษณะของ<br />

ดินในประเทศไทย จากระบบฐานขอมูลกรมพัฒนาที่ดินไดทําการพัฒนาโปรแกรม DLD ขอมูลดินเปน 62 กลุมดิน<br />

และไดนําขอมูลคุณลักษณะดินบางประการจากเอกสารงานวิชาที่ไดศึกษาคุณลักษณะของดินตามการจําแนก<br />

ประเภทเนื้อดินมาประกอบในระบบฐานขอมูล<br />

2.4 การนําเขาขอมูลอุตุนิยมวิทยา ไดแก ปริมาณฝน อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ํา จํานวน 4 สถานีครอบคลุม<br />

จังหวัดระยอง และพื้นที่ใกลเคียง<br />

2.5 การหาปริมาณน้ําทา จะใชแบบจําลอง SWAT เชื่อมตอกับโปรแกรมทางระบบสารสนเทศทาง<br />

ภูมิศาสตรมาชวยวิเคราะห โดยแบบจําลอง SWAT กําหนดตัวแปรที่ใชไดแก ขอมูลความสูงเชิงตัวเลข การแบง<br />

พื้นที่ลุมน้ํายอย ขอมูลโครงขายลําน้ํา จุดกําหนดใหน้ําออกจากลุมน้ํา ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน ขอมูล<br />

คุณลักษณะของดิน ขอมูลหนวยตอบสนองทางอุทกวิทยาในพื้นที่ลุมน้ํายอย ขอมูลที่ตั้งสถานีตรวจอากาศ ขอมูล<br />

620


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภูมิอากาศ ขอมูลที่ตั้งสถานีวัดน้ําทา และขอมูลน้ําทา แบบจําลอง SWAT จะนําขอมูลใหอยูในลักษณะระบบ<br />

สารสนเทศทางภูมิศาสตรและนํามาคํานวณหาปริมาณน้ําทาในแตละลุมน้ํายอย<br />

2.6 การวิเคราะหทางสถิติ ไดแกการปรับเทียบแบบจําลอง เปนการลดความแตกตางระหวางขอมูลจาก<br />

การวัดจริงกับขอมูลที่ไดจากแบบจําลอง ในการศึกษาครั้งนี้เปนการปรับเทียบที่ประมาณคาจากการเฉลี่ยตอพื้นที่<br />

ของพื้นที่ลุมน้ํายอย ตัวแปรที่ตองมีการปรับแกคามีดังนี้ การปรับแกคา CN การปรับแกคาความสามารถในการอุม<br />

น้ํา การปรับแกคาน้ําใตดิน ในการปรับเทียบแบบจําลองทุกครั้งตองมีการประเมินผลการปรับเทียบ การศึกษาครั้ง<br />

นี้ไดนําการประเมินผลการปรับเทียบของขอมูลสองกลุม เพื่อยอมรับขอมูลสองกลุมเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดย<br />

หาคาความสัมพันธ และคาสัมประสิทธิ์ประสิทธิผล (Coefficient of Efficiency)<br />

3. พื้นที่ศึกษา<br />

ลุมน้ําคลองใหญ เปนลุมน้ํายอยลุมน้ําหนึ่งในลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันออก มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 1,804<br />

ตารางกิโลเมตร พื้นที่สวนใหญอยูในเขตจังหวัดระยอง 1,454 ตารางกิโลเมตร ลักษณะลุมน้ําวางตัวตามแนวทิศ<br />

ตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต ตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 12 องศา 40 ลิปดา ถึง 13 องศา 10 ลิปดาเหนือ<br />

และระหวางเสนแวง ที่ 101 ถึง 101 องศา 30 ลิปดาตะวันออก แมน้ําระยองหรือคลองใหญมีตนกําเนิดมาจากทิว<br />

เขาจันทบุรี ในเขตอําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี มีความสูงอยูที่ระดับ 264 เมตรจากระดับน้ําทะเล จากนั้นไหลลงทิศ<br />

ใตผานภูมิประเทศที ่เปนหุบเขา ความยาวประมาณ 10 กิโลเมตร แลวจึงไหลเขาเขตอําเภอปลวกแดง จังหวัด<br />

ระยอง จากนั้นจะไหลลงสูอางเก็บน้ําคลองใหญ โดยมีคลองหนองปลาไหลและคลองดอกกรายเปนลําน้ํายอย ซึ่ง<br />

เปนลําน้ําสาขามาบรรจบทางฝงขวา แลวเริ่มไหลออกสูที่ราบ ซึ่งเปนนาทั้งสองขาง ที่ราบนี้คอยๆ กวางขึ้นเปน<br />

ลําดับและกวางที่สุดในเขตอําเภอเมืองระยอง กอนจะถึงที่ตั้งตัวจังหวัดมีลําน้ําสาขา คือ คลองทับมา มาบรรจบทาง<br />

ฝงขวา จากนั้นแมน้ําระยองจึงไหลลงอาวระยอง (อาวแมรําพึง) ที่บานปากน้ํา ตําบลเนินพระ อําเภอเมือง จังหวัด<br />

ระยอง แมน้ําระยองยาวประมาณ 80 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งสิ้นรวม 1,804 ตารางกิโลเมตร<br />

ปจจุบันมีแหลงน้ําตนทุนเก็บกักน้ําประกอบดวยอางเก็บน้ํา 3 อางเก็บน้ํา คือ อางเก็บน้ําดอกกราย อาง<br />

เก็บน้ําหนองปลาไหล และอางเก็บน้ําคลองใหญ ทําหนาที่เก็บกักน้ ําไวเพื่อกิจกรรมการใชน้ําดานตางๆ อางเก็บน้ํา<br />

ดอกกรายและหนองปลาไหล จะระบายน้ําลงสูคลองดอกกรายและคลองหนองปลาไหลตามลําดับ ซึ่งมาบรรจบกับ<br />

ลําน้ําสาขาอื่นๆ เปนแมน้ําระยอง โดยมีฝายบานคายสรางกั้นแมน้ําระยองทําหนาที่ยกระดับน้ําเขาสูคลองสงน้ําสาย<br />

ใหญฝงซายและฝงขวาของลําน้ํา เพื่อสงน้ําใหภาคเกษตรกรรม คือ พื้นที่ชลประทานบานคายประมาณ 30,000 ไร<br />

และการเพื่ออุปโภคบริโภค ประปาในเขตจังหวัดระยอง ดังรูปที่ 1<br />

621


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 ขอบเขตพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ จังหวัดระยอง (ทวีสิทธิ์ เลิศสินไทย, 2549)<br />

4. แบบจําลองอุทกวิทยา SWAT Model<br />

แบบจําลอง SWAT (Soil and Water Assessment Tool) เปนแบบจําลองอุทกวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย<br />

Blackland Research Center, TAES และ United States Department of Agricultural Research Service<br />

(USDA-ARS) (Arnold et al., 1998) ตั้งแต ป ค.ศ. 1980 (USDA, 1992) จนถึงปจจุบัน เพื่อใชประเมินผลกระทบ<br />

ของสภาพการใชที่ดินตอปริมาณน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา โครงสรางของแบบจําลองแบงการวิเคราะหออกเปน 2 สวน คือ<br />

สวนพื้นดิน (Land Phase) และสวนการเคลื่อนที่ในลําน้ํา (Routing Phase)<br />

การวิเคราะหสวนผิวดิน พิจารณาจากขั้นตอนการจําลองกระบวนการทางอุทกวิทยา เริ่มตนจากการ<br />

คํานวณการสูญน้ําไปในพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก การระเหย การซึมลงสูดิน การดัก เปนตน จากนั้นคํานวณปริมาณน้ําทา<br />

ผิวดิน โดยมีลักษณะการทํางานดังรูปที่ 2 โดยสมการสมดุลน้ําในแบบจําลอง SWAT มีดังนี้<br />

SW<br />

t<br />

= SW<br />

o<br />

+<br />

t<br />

∑( Rday<br />

− Qsurf<br />

− Ea<br />

−Wseep<br />

− Qgw<br />

)<br />

i=<br />

1<br />

(1)<br />

โดยที่ SW<br />

t<br />

คือ ปริมาณน้ําในดินสุดทาย SW<br />

o<br />

คือ ปริมาณน้ําในดินเริ่มตนในวันที่ i R<br />

day<br />

คือ ปริมาณน้ําฝน<br />

ในวันที่ i t คือ เวลา (วัน) Q<br />

surf<br />

คือ ปริมาณน้ําไหลผิวดินในวันที่ i E<br />

a<br />

คือ ปริมาณการคายระเหยในวันที่ i<br />

W<br />

seep<br />

คือ ปริมาณน้ําไหลซึมลงสูชั้นน้ําใตดินในวันที่ i<br />

gw<br />

คํานวณปริมาณการคายระเหยเลือกใชสมการ Priestley-Taylor และปริมาณน้ําทาผิวดิน เลือกใชสมการ SCS<br />

Curve Number เนื่องจากเหมาะสมกับลักษณะการตรวจวัดและบันทึกขอมูลในประเทศไทยที่จัดทําเปนรายวัน<br />

Q คือ ปริมาณน้ําใตดินที่ไหลกลับสูลําน้ําในวันที่ i การ<br />

622


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 2 ลักษณะการทํางานของการจําลองกระบวนการทางอุทกวิทยา (ปรับจาก Beven, 2000)<br />

การวิเคราะหการเคลื่อนตัวของลําน้ํา ใชสมการของแมนนิ่ง (Manning) ในการคํานวณระดับและความเร็ว<br />

ของกระแสน้ําสําหรับการคํานวณการเคลื่อนตัวผานลําน้ํา เลือกใชวิธี Muskingum Routing<br />

ขอมูลที่ใชในการคํานวณของแบบจําลอง SWAT ไดแก (1) ขอมูลแผนที่สภาพดิน สํารวจป พ.ศ. 2544<br />

จากกรมพัฒนาที่ดิน (2) ขอมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ (Digital Elevation Model, DEM) (3) ขอมูลน้ําฝนรายวัน<br />

จากกรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน (4) ขอมูลอุตุนิยม ไดแก ขอมูลน้ําฝน อุณหภูมิสูงสุด และต่ําสุด และขอมูล<br />

สถิติสภาพอากาศ ไดแก ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ คาการแผรังสีดวงอาทิตย กรมอุตุนิยมวิทยา (5) ขอมูล<br />

ปริมาณน้ําทารายเดือน ในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ กรมชลประทาน<br />

การศึกษานี้ไดเลือกชวงการปรับเทียบแบบจําลองตามขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินที่ไดมีการสํารวจ โดย<br />

ใชขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินที่ไดมีการสํารวจ โดยใชขอมูลสภาพอุตุ-อุทกวิทยาชวงเวลาตามปแผนที่สภาพการ<br />

ใชที่ดินที่เปนชวงของขอมูลเดียวกัน และชวงขอมูลที่ใชเปนชวงขอมูลของปน้ํา (เมษายน ถึงมีนาคมของปถัดไป)<br />

การพิจารณาความคลาดเคลื่อนในการปรับเทียบแบบจําลองดวยคาสัมประสิทธิ์ประสิทธิผล (R 2 ) โดยถา<br />

คา R 2 มีคาเขาใกล 1 แสดงถึงขอมูลที่ไดมีความถูกตองสมบูรณและสัมพันธกับขอมูลที่ตรวจวัดจริง ถาคาความ<br />

คลาดเคลื่อนนี้มีคา มากกวา 0.6 ในทางอุทกวิทยาถือวายอมรับได และ Nash and Sutcliffe (NS) โดยที่คา NS มี<br />

คาเขาใกล 1 แสดงถึงขอมูลที่ไดมีความถูกตองสมบูรณและสัมพันธกับขอมูลที่ตรวจวัดจริง แตถามีคาเขาใกล 0<br />

แสดงวาขอมูลที่ไดไมมีความถูกตองและมีความสัมพันธกับขอมูลตรวจวัดจริงนอยมาก<br />

จากผลการปรับเทียบแบบจําลองในขั้นตอนขางตน จะไดพารามิเตอรที่ใชในการคํานวณปริมาณน้ําทาตาม<br />

สภาพการใชที่ดิน และสภาพอุตุ-อุทกวิทยา จากนั้นจึงนําขอมูลอุตุนิยมวิทยาในป 2544 นําเขาแบบจําลองเพื่อ<br />

ประเมินปริมาณน้ําที่เกิดจากแผนที่สภาพการใชที่ดิน เพื่อตรวจสอบวามีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ<br />

น้ําทาที่เกิดจากสภาพการใชที่ดินเพียงอยางเดียวหรือไม<br />

ในขั้นตอนสุดทายเปนการนําแบบจําลองมาคํานวณปริมาณน้ําทาภายใตสภาพการใชที่ดินป พ.ศ. 2550<br />

ซึ่งถือวาเปนขอมูลปจจุบัน แตใชขอมูลอุตุนิยมวิทยายอนหลัง 20 ป แลวนําผลการประเมินไปเปรียบเทียบกับ<br />

ปริมาณน้ําทาที่ไดจากการตรวจวัดจริงในชวงเวลา 20 ปที่ผานมา ซึ่งผลการเปรียบเทียบจะแสดงใหเห็นถึงแนวโนม<br />

การเปลี่ยนแปลงของปริมาณและรูปแบบการกระจายตัวของปริมาณน้ําทา ถาสภาพการใชที่ดินเปนดังป พ.ศ. 2550<br />

ตลอดในชวง 20 ป และสภาพภูมิอากาศเปนแบบเดียวกับที่เคยเกิดขึ้นในอดีต<br />

623


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อยางไรก็ตาม ในขั้นตอนสุดทายนี้ ทางผูวิจัย ยังไมไดทําการวิเคราะหในขั้นตอนดังกลาว ซึ่งจะเปน<br />

ขั้นตอนตอไปจากการวิเคราะหในเบื้องตนแลว<br />

5. ผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาในเบื้องตนพบวา แนวโนมของอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น สงผลใหปริมาณน้ ําฝนมีแนวโนมเพิ่ม<br />

สูงขึ้นในฤดูฝน แตชวงฤดูฝนกลับมีชวงฤดูกาลที่สั้นลง ในขณะที่ฤดูแลงมีชวงยาวนานขึ้น จึงทําใหปริมาณน้ําทาใน<br />

ลุมน้ําคลองใหญมีแนวโนมเปลี่ยนแปลง<br />

ขอมูลสถิติปริมาณน้ําเก็บกักของอางเก็บน้ําในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ ไดแก อางเก็บน้ําดอกกราย อางเก็บ<br />

น้ําหนองปลาไหล และอางเก็บน้ําคลองใหญ (รูปที่ 3) พบวา ในป พ.ศ. 2548 มีปริมาณน้ําในอางเก็บน้ําดอกกราย<br />

และหนองปลาไหล มีปริมาณลดต่ําลงกวาปริมาณเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา (dead storage) รวมทั้งปริมาณน้ําฝน<br />

ในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญมีปริมาณลดต่ําลงอยางเห็นไดชัดเจนในป พ.ศ. 2548 เชนกัน โดยเฉพาะในชวงเดือน<br />

กรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม อยางไรก็ตาม ในชวงปลายปในปเดียวกัน พบวา มีปริมาณน้ําเพิ่มสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด<br />

และมีการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วภายในชวงระยะเวลาสั้น 3 เดือน ปรากฏวาเกิดปญหาน้ําทวมในพื ้นที่หลายสวนใน<br />

จังหวัดระยอง และพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ<br />

จากปญหาดังกลาว เกิดจากสาเหตุ ชวงระยะเวลาที่ฝนตกนั้นเกิดขึ้นกอนจากปกติฝนจะเริ่มตกในชวง<br />

ปลายเดือนเมษายนของทุกป (ดังรูปที่ 4) และระยะเวลาที่มีฝนตกเกิดขึ้นนอยกวาปกติ และมีการเวนชวงระยะ<br />

เวลานานกวาปกติดวยเชนกัน ทําใหเกิดการขาดแคลนน้ําในชวงระยะเวลาดังกลาว<br />

รูปที่ 3 ปริมาณน้ําเก็บกับของอางเก็บน้ํา ในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ ป พ.ศ. 2547 - 2550<br />

ที่มา: โครงการชลประทานระยอง, 2553<br />

624


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูป 4 ปริมาณน้ําฝน ของสถานีตรวจวัดน้ําฝนสํานักงานเกษตร ลุมน้ําคลองใหญ ป พ.ศ. 2546 – 2550<br />

ที่มา: กรมชลประทาน, 2553<br />

5.1 อุณหภูมิ<br />

เปนขอมูลอุณหภูมิของสถานีในลุมน้ําคลองใหญ ตั้งแตปพ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2549 ซึ่งเปนขอมูลของ<br />

สถานีสํานักงานเกษตรหวยโปง (Code 478301) ดังแสดงในรูปที่ 5 ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย ตั้งแตป พ.ศ. 2524 ถึง<br />

2549 มีแนวโนมลดลงเฉลี่ยรอยละ 2-3 ซึ่งมีความสอดคลองในทางตรงกันขามกันกับอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุดและสูงสุด<br />

ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1-2 องศาเซลเซียส เปนผลสืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศของโลกที่มีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น<br />

(IPCC, 2007)<br />

รูปที่ 5 อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธรายวัน ตั้งแตป 2524-2549 ของสถานีสํานักงานเกษตรหวยโปง<br />

ที่มา: กรมชลประทาน, 2553<br />

5.2 ปริมาณน้ําฝน<br />

ขอมูลปริมาณน้ําฝน ใชขอมูลฝนรายเดือนของสถานีตรวจวัดที่ครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ํา ซึ่งอยูในความ<br />

รับผิดชอบของกรมชลประทานในการศึกษาครั้งนี้ไดคัดเลือกมา 4 สถานี ไดแก สถานี 478001, 478002, 478003<br />

และ 478004 ซึ่งใชชวงบันทึกขอมูลตั้งแตป พ.ศ.2544 – 2549 และทําการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูลดวย<br />

625


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

วิธีเสนโคงทับทวี (Double Mass Curve) แสดงดังรูปที่ 6 โดยพบวาปริมาณน้ําฝนจะมีปริมาณมากในชวงหนาฝน<br />

โดยเฉพาะเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม และรองลงมาในชวงหนาแลง คือเดือนเมษายน<br />

รูปที่ 6 ปริมาณน้ําฝนรายเดือนตั้งแตป 2544-2552 ของแตละสถานี บริเวณลุมน้ําคลองใหญ<br />

ที่มา: กรมชลประทาน, 2553<br />

5.3 ปริมาณน้ําทา<br />

สภาพน้ําทาบริเวณพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญมีสถานีตรวจวัดน้ําทาโดยกรมชลประทานอยู 2 สถานี คือ สถานี<br />

คลองทับมา (Z.38) และสถานีคลองใหญ (Z.15) จากขอมูลปริมาณน้ําทารายเดือนและรายป ของสถานีดังกลาวได<br />

ทําการตรวจวัดเปนชวงเวลาที่ตางกัน ดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 7<br />

ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัติของสถานีวัดน้ําทาในเขตลุมน้ําคลองใหญ ที่มา: กรมชลประทาน (2553)<br />

แหลงน้ํา สถานีวัดนํ้า พื้นที่รับนํ้า (ตร.กม.) ปริมาณนํ้าทาเฉลี่ย (ลาน ลบ.ม.)<br />

อางเก็บนํ้าดอกกราย ดอกกราย (Z.3) 291 167.06<br />

อางเก็บนํ้าหนองปลาไหล Z.4 429 128.57<br />

อางเก็บนํ้าคลองใหญ Z.15 244 71.94<br />

คลองทับมา Z.38 197 95<br />

626


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 7 ปริมาณน้ําทารายวัน ป พ.ศ.2548 ของสถานี Z.38 ลุมน้ําคลองใหญ<br />

ที่มา: กรมชลประทาน, 2553<br />

จากกราฟปริมาณน้ําทาในรูปที่ 7 แสดงใหเห็นวาในชวงวันที่ 250-280 ของป พ.ศ. 2545 ซึ่งตรงกับชวง<br />

วันที่ 5 กันยายน 2548 ถึง วันที่ 5 ตุลาคม 2548 สอดคลองกับปริมาณน้ําฝนในชวงดังกลาว ที่มีปริมาณน้ําฝนมาก<br />

ทําใหมีปริมาณน้ําทาสูงเชนกัน จากสถานการณจริงในพื้นที่เกิดน้ําทวมโดยฉับพลัน ภายหลังที่เกิดสภาวะขาด<br />

แคลนน้ําในชวงเดือนสิงหาคมและเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 (ดังรูปที่ 3) ทั้งนี้สถานการณดังกลาวที่เกิดขึ้น<br />

เนื่องมาจากความไมแนนอนของสภาพภูมิอากาศ ทําใหเกิดเสียหายตอพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติและการดํารงชีวิต<br />

ของประชาชนในพื้นที่<br />

จากการตรวจสอบขอมูลของสถานีวัดน้ําฝน 4 สถานีในบริเวณใกลเคียงโดยวิธี Double Mass Curve ของ<br />

ขอมูลฝนเฉลี่ยรายป ไดแกสถานี 478001, 478002, 478003 และ 478004 ผลปรากฏวาทุกสถานีมีลักษณะของเสน<br />

เปนเสนตรง มีความลาดชันคงที่ และคา R 2 จาก กราฟอยูในชวง 0.9983 ถึง 0.9996 แสดงวาขอมูลน้ําฝนมีความ<br />

นาเชื่อถือ สามารถนําไปใชได<br />

จากการตรวจสอบขอมูลของสถานีวัดน้ําทา 3 สถานีในบริเวณลุมน้ําเดียวกันโดยวิธี Double Mass Curve<br />

ของขอมูลน้ําทาเฉลี่ยรายป ไดแกสถานี Z15 และ Z38 ผลปรากฏวาทุกสถานีมีลักษณะของเสนเปนเสนตรง มีความ<br />

ลาดชันคงที่ และคา R 2 จาก กราฟอยูในชวง 0.999 แสดงวาขอมูลน้ําทามีความนาเชื่อถือได สามารถนําไปใชได<br />

5.4 ความสัมพันธระหวางปริมาณน้ําฝน - น้ําทา<br />

ขอมูลสภาพภูมิประเทศที่ใชเปนขอมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ (DEM) มีขนาดกริดอยูที่ 90x90 เมตร<br />

แบบจําลองทําการสรางเสนลําน้ําในพื้นที่ โดยกําหนดจุดทางออก (Outlet) ของพื้นที่ศึกษา คือ สถานีวัดน้ําทา Z จะ<br />

ไดโดยลักษณะพื้นที่ลุมน้ ําที่ไดจากแบบจําลองแสดงในรูปที่ 8<br />

627


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สัญลักษณ<br />

สัญลักษณ<br />

คาระดับความสูง<br />

คาสูงสุด 255<br />

ค่ําต่ําสุด 0<br />

สถานีน้ําฝน<br />

สถานีน้ําฝนและน้ําทา<br />

Outlet จากแบบจําลอง<br />

เสนทางน้ําจากแบบจําลอง<br />

ขอบเขตลุมน้ําจากแบบจําลอง<br />

ขอบเขตลมน้ ําจริง<br />

รูปที่ 8 ลักษณะพื้นที่ลุมน้ําที่ไดจากการจําลองสภาพพื้นที่ของแบบจําลอง<br />

รูปที่ 9 ปริมาณน้ําทาที่วัดไดจริงกับแบบจําลอง ป พ.ศ. 2544<br />

การพิจารณาปรับเทียบแบบจําลองไดเลือกชวงขอมูลตามปสํารวจแผนที่สภาพการใชที่ดิน และสถานี<br />

น้ําทาที่ปรับแบบจําลอง คือ สถานีน้ําทา Z.15 และ Z.38 ในป พ.ศ. 2544 ผลของการปรับเทียบแสดงดังรูปที่ 9 โดย<br />

มีคา NS=0.97 และ R 2 =0.95<br />

จากผลที่ไดจากการปรับเทียบแบบจําลอง SWAT มีคาความนาเชื่อถือมากกวา 0.9 ถือวามีความ<br />

นาเชื่อถือและสามารถยอมรับผลลัพธที่ไดจากแบบจําลองได<br />

628


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. สรุปผลการศึกษา<br />

ความชื้นสัมพัทธมีแนวโนมที่ลดลงเฉลี่ยประมาณรอยละ 2-3 ดังนั้นแนวโนมจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่<br />

ลุมน้ําคลองใหญ มีการเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น เฉลี่ยประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส มีผลกระทบตอสภาพ<br />

ปริมาณน้ําในพื้นที่ ทั้งปริมาณน้ําฝนและปริมาณน้ําทา อยางไรก็ตาม ผลที่ไดรับในการศึกษาครั้งนี้ เปนเพียงการ<br />

วิเคราะหขอมูลเบื้องตนของผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุมน้ําคลองใหญ ซึ่งตองมีการศึกษาเพิ่มเติมและพัฒนา<br />

ตอเนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อเปนประโยชนในการจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศตอไป<br />

7. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบ<br />

โลก (Earth System Science Research and Development Center, ESS-KMUTT) และบัณฑิตวิทยาลัยรวมดาน<br />

พลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ผูวิจัยขอขอบคุณหนวยงานตางๆ<br />

ที่ใหความอนุเคราะหขอมูล อาทิ กรมชลประทาน กรมอุตุนิยมวิทยา กรมทรัพยากรน้ํา กรมพัฒนาที่ดิน สํานักงาน<br />

พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) (สทอภ.) และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและ<br />

การเกษตร (สสนก.)<br />

8. เอกสารอางอิง<br />

- Arnold, J. G., Srinivasan, R., Muttiah, R. S. and Williams, J. R. (1998). Large area<br />

hydrologie modelling and assessment, Part 1: model development. Journal America<br />

Water Resource Assessments. 34(1): 73-89.<br />

- Beven, K.J. (2000). Rainfall-Runoff Modelling, The Primer. John Wiley & Sons,<br />

Chichester.<br />

- IPCC. (2007). Intergovernmental Panel on Climate Change. Observation: Oceanic<br />

Climate Change and Sea Level. The 3 rd Assessment Report of IPCC. Chapter 5, p.385-<br />

432.<br />

- USDA. (1992). Agricultural Waste Management Field Handbook. Washington, D.C.:<br />

USDA Natural Resources Conservation Service. Available online:<br />

www.vt.nrcs.usda.gov/technical/Engineering/AWMFH_VT.html.<br />

- กรมชลประทาน, โครงการชลประทานระยอง. ขอมูลปริมาณน้ําฝน น้ําทา และอุณหภูมิในพื้นที่<br />

ลุมน้ําคลองใหญและพื้นที่ใกลเคียง ตั้งแตปพ.ศ. 2540 ถึง 2553, จังหวัดระยอง. 2553<br />

- ธเนศร สมบูรณ. การศึกษาการจัดสรรน้ําของลุมน้ําคลองใหญ. วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาบัณฑิต (วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา) สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากร<br />

น้ํา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ, 2544.<br />

- ทวีสิทธิ์ เลิศสินไทย. การศึกษาการจัดการน้ําของอางเก็บน้ําในลุมน้ําคลองใหญ. วิทยานิพนธ<br />

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา) สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา ภาควิชา<br />

วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ, 2549.<br />

629


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การจัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก<br />

Effective Flood Management of Community in Huay Sam Mo Sub-Basin<br />

Under Climate Change Situation<br />

วิเชียร เกิดสุข 1 และ เฉลิมรัฐ มณีแสง 2<br />

1 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน<br />

2 ศูนยเครือขายวิเคราะห วิจัยและฝกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแหงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

บทคัดยอ<br />

ลุมน้ําหวยสามหมอเปนลุมน้ําสาขาลําดับที่ 6 ของลุมน้ําชี พื้นที่ตอนลางของลุมน้ําเปนพื้นที่ราบลุมอยูติด<br />

กับแมน้ําชีและลําน้ําหวยสามหมอ โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตตําบลศรีสําราญ อําเภอคอนสวรรค จังหวัดชัยภูมิ ประสบ<br />

ปญหาน้ําทวมในบางป จากความแปรปรวนของภูมิอากาศ ตั้งแตป พ.ศ. 2548 เปนตนมา สงผลใหเกิดอุทกภัยใน<br />

พื้นที่ทุกป และมีแนวโนมจะทวีความรุนแรงมากขึ้น<br />

ปญหาน้ ําทวมพื้นที่ทําการเกษตรที่เกิดขึ้นเปนประจํา กระตุนใหชุมชนมีการจัดการอุทกภัย(น้ําทวม)โดย<br />

ใชภูมิปญญาของชุมชนผสมผสานกับองคความรูที่มาจากภายนอกชุมชน พัฒนาเปนระบบชลประทานเชิงประยุกต<br />

โดยใชแนวคิด” หนามยอกเอาหนามบง” แกวิกฤตใหเปนโอกาส นําน้ําที่ทวมขังในฤดูน้ําทวมมากักเก็บไวที่หนอง<br />

นกโง ซึ่งมีพื้นที่รับน้ํา 1,257.58 ไร โดยการสรางคันดินกั้นรอบหนองนกโง สูง 6 เมตร และจัดทําเปนระบบ<br />

ชลประทานชุมชน ภายหลังจากสรางคันกั้นน้ํารอบหนองนกโงเสร็จทั้งหมด ชวยแกปญหาน้ําทวมพื้นที่การเกษตร<br />

ในพื้นที่ไดประมาณ 3,000 ไร และเกษตรกรสามารถปลูกขาวนาปรังในฤดูแลงไดประมาณ 3,730 ไร หากตองการ<br />

ขยายพื้นที่ปลูกขาวนาปรัง ก็สามารถสูบน้ําจากลําน้ําชีมาเติมในหนองนกโงได เกษตรกรในชุมชนไดประโยชนไม<br />

นอยกวา 100 ครอบครัว นอกจากนี้ การจัดการปญหาอุทกภัยโดยไมปลูกขาวในฤดูนาป ปลูกขาวนาปรังเพียงครั้ง<br />

เดียวในรอบป ก็ทําใหเกษตรกรมีรายไดสูงกวาการทํานาป 0.49 เทา หากเกษตรกรปลูกขาวนาปรังมากกวา 1 ครั้ง<br />

เกษตรกรก็จะมีรายไดเพิ่มขึ้น<br />

ผลการวิเคราะหรอบปการเกิดซ้ําของเหตุการณอุทกภัย ภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตแบบ<br />

A2 และ B2 พบวา แนวโนมการเกิดอุทกภัยเพิ่มขึ้น ในแนวทาง A2 จาก 5 ครั้ง เปน 6 ครั้งในรอบ 10 ป ในกลาง<br />

ศตวรรษ โดยความรุนแรงของอุทกภัยมีแนวโนมที่ลดลงจากชวงปฐาน (2523-2542) ทั้งในกรณีที่เปนเหตุการณที่<br />

รุนแรงที่สุดในรอบ 10 และ 20 ป ในขณะที่แนวทาง B2 ความถี่การเกิดอุทกภัยลดลงจาก 5 เปน 4 ครั้งในรอบ 10<br />

ป ในชวงกลางศตวรรษ แตความรุนแรงอุทกภัยที่เกิดขึ้น 1 ครั้งในรอบ 10 ป และ 20 ป มีแนวโนมของความ<br />

รุนแรงเพิ่มขึ้นในชวงป 2010-2029 และลดลงมาใกลเคียงกับชวงปฐานในกลางศตวรรษ<br />

ผลการวิเคราะหความเสี่ยงน้ําทวมและการแกปญหาน้ําทวมซ้ําซากในพื้นที่เกษตรโดยวิธีการที่ชุมชน<br />

ดําเนินการในปจจุบันยังคงเปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพ สามารถนําไปแกปญหาอุทกภัยในพื้นที่ตําบลศรีสําราญ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในอนาคตไดทั้งแบบ A2 และ B2<br />

630


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คําสําคัญ: การจัดการอุทกภัยโดยชุมชน ลุมน้ําหวยสามหมอ การปรับตัวของเกษตรกร ความเสี่ยงน้ําทวม,<br />

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ<br />

Abstract<br />

Huay Sam Mo sub-basin is the branch no. 6 th of Chi watershed. The lower area of this watershed<br />

is close to Chi and Huay Sam Mo rivers. Some part of that area, especially that within Srisamran subdistrict,<br />

Konsawan district, Chaiyaphum Province encountered the flood in some years. However, climate<br />

variability had an affected on flooding in this area every year since 2005 and has a trend to increase<br />

more than in the past.<br />

Flood in agricultural area is a common problem for the communities; therefore, people living in<br />

those communities are stimulated to develop the flood management by integrating local wisdom with<br />

external knowledge to be applied with the irrigation system under the concept of “to turn crisis into<br />

opportunity” by using flood water storage in Nong Nok Ngo swamp during flood period and use it for<br />

agriculture in the dry season. After the completion of Nong Nok Ngo ridge, the agriculture area around<br />

3,000 rai are protected from the flood and farmers can grow their second rice in the dry season for<br />

about 3,750 rai. If farmers want to expand more of their paddy field, they can pump water from Chi River<br />

to Nong Nok Ngo swamp. which will give advantage to less than 100 farmer households.<br />

Moreover, the research found that the flood management in the area by growing rice in the dry<br />

season rather than in the rainy season will make farmers earn more income from rice in the rainy season<br />

0.49 times. If the farmers follow this method more than once a year, they will gain more income.<br />

Furthermore, in the platitudinous flood area, if the government sector or communities can supply water for<br />

agricultural system in the dry season and benefit that the farmers will have compensated for the loose of<br />

crop yield in the rainy season. Consequently, government should announce that area to be the<br />

platitudinous flood area in order to support the farmers to adapt this management method , which will<br />

help the government sector for no longer need to provide compensation to the farmers.<br />

An analysis the return period of flood under the climate change type A2 and B2, In type A2, the<br />

trend of flood in this area is increasing from 5 to 6 times within 10 years in the middle of century.<br />

However, the aggressions of flood trends to decrease from the base year (1980-1999) in all sever cases<br />

during of 10 and 20 years round. While in type B2, the trend of flood in this area is decreasing from 5 to<br />

4 times in 10 years in the middle of century, yet the aggression of flood has been increasing during 2010-<br />

2029 and decrease to reach the base year in the middle of century.<br />

The analysis of flood risk and community’s resolution for flood problem present is still an<br />

efficient way of solving the flood in this area as well as to be applied for the future flood problem under<br />

the climate change both for type A2 and B2.<br />

Keywords: Flood management of community, Huay Sam Mo sub-basin, Farmer adaptation, Flood risk,<br />

Climate change<br />

631


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1.ความสําคัญ<br />

ลุมน้ําหวยสามหมอ 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชี ครอบคลุมพื้นที่ 4 อําเภอ 2 จังหวัดไดแก อ.<br />

แกงครอ อ.คอนสวรรค และอ .ภูเขียว จ .ชัยภูมิ และอ .โคกโพธิ์ไชย จ .ขอนแกน ดานทิศตะวันตกและทิศใตติดกับลุม<br />

น้ําชีสวนที่ 2 ดานเหนือติดกับลุมน้ําเชิญและทิศตะวันออกติดกับลุมน้ําชีสวนที่ 3 ลักษณะของลุมน้ําเปนรูป<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นที่สันปนน้ํา ดานตะวันตก ดานทิศใตและทิศตะวันออก เปนสันเขาสูงของเทือกเขา ระดับความสูง<br />

ประมาณ 800 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล (รสทก.) บริเวณเทือกเขาภูแลนคาทางดานทิศตะวันตกแลวออมไปทางทิศ<br />

ใตบริเวณเทือกเขาภูโคง และทางทิศตะวันออกเปนเทือกเขาภูเม็ง ซึ่งมีความสูงกวาระดับน้ําทะเล 400- 600 เมตร<br />

เหนือ รสทก. แลวไหลในแนวตะวันตกเฉียงใตลงสูแมน้ําชี ภูมิประเทศของลุมน้ําหวยสามหมอ พื้นที่ตอนตนลุมน้ํา<br />

เปนที่ดอนและมีเทือกเขาลอมรอบ ตอนกลางเปนที่ดอนราบสลับที่นา และตอนลางเปนที่ลุมน้ําทวมขัง โดยเฉพาะ<br />

บริเวณริมแมน้ําชีและลําน้ําหวยสามหมอไหลบรรจบกัน และมีพื้นที่ชุมน้ําขนาดใหญ ไดแก หนองนกโง (สมคิด,<br />

2551)<br />

แมวาในชวง 3 ปที่ผานมา (2549-2551) ไดนําระบบการบริหารจัดการน้ําแบบผสมผสานเชิงระบบลุมน้ํา<br />

มาใชในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ แตยังเกิดปญหาน้ําทวมพื้นที่ตอนลางที่ติดกับแมน้ําชี ในพื้นที่ ต.โพธิ์ไชย จ.<br />

ขอนแกน และตําบลศรีสําราญ อ.คอนสวรรค จ.ชัยภูมิ ในชวงฤดูแลง ก็มีน้ําไมเพียงพอสําหรับทําการเกษตร สงผล<br />

กระทบตอชีวิต ความเปนอยู เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่ทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง อุทกภัยน้ําทวมเกิด<br />

จากน้ําทาไหลจากพื้นที่ลุมน้ ําหวยสามหมอตอนบนดวยปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป ประมาณ 1,050.03 มม. และมี<br />

แหลงกักเก็บน้ําไดเพียง 2 ลานลบ.ม.ตอป ปริมาณน้ําทั้งหมดไหลลงสูลุมน้ําตอนลางสมทบกับน้ําที่เออลนตะลิ่งลํา<br />

น้ําชีบริเวณ ต.ศรีสุขสําราญ อ.คอนสวรรค ทําใหเกิดน้ําทวมสรางความเสียหายผลผลิตพืชเกือบทุกป<br />

บทความนี้มีจุดประสงคเพื่อรายงานการจัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก<br />

2.วัตถุประสงค<br />

บทความนี้มีจุดประสงคเพื่อรายงานการจัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก<br />

3.วิธีการศึกษา<br />

3.1 ทบทวนสาระเกี่ยวกับสภาพการเกิดน้ําทวม ผลกระทบและการดําเนินการปองกันแกไขและชวยเหลือ<br />

จากขอมูลทุติยภูมิในเอกสารรายงาน โดยเฉพาะจากสํานักงานเกษตรอําเภอในพื้นที่ ต.โพธิ์ชัย อ.โคกโพธิ์ชัย จ.<br />

ขอนแกน และ ต.ศรีสําราญ อ.คอนสวรรค จ.ชัยภูมิ และสารสนเทศพื้นที่น้ําทวมในลุมน้ําหวยสามหมอของกรม<br />

ทรัพยากรน้ํา แลวลงสํารวจพื้นที่เพื่อตรวจสอบความถูกตอง ครบถวนและทันสมัยของขอมูลในภาคสนาม นําขอมูล<br />

ที่ไดมาประมวลผลเกี่ยวกับการจัดการน้ําทวมเชิงพื้นที่<br />

3.2 การเก็บรวบรวม วิเคราะหและประมวลผลขอมูลปฐมภูมิ จากสภาพเปนจริงในพื้นที่ แบงการเก็บ<br />

รวบรวมขอมูลออกเปน 2 วิธีการคือ<br />

1) การใชแบบสัมภาษณรายครัวเรือน เกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานของครัวเรือน รายได-รายจายของครัวเรือน<br />

พื้นที่ถูกน้ําทวม ภูมิปญญาที่ใชในการแกปญหาน้ําทวม การปรับตัว สภาวะเสี่ยงและการพึ่งพิงปจจัยทั้งภายนอก<br />

และภายใน ทั้งในแงเศรษฐกิจ สังคม และตัวชี้วัดความเสี่ยงในการดํารงชีพในพื้นที่น้ําทวม จํานวน 158 ครัวเรือน<br />

632


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2) การเก็บรวบรวมขอมูลในระดับชุมชน/พื้นที่ ใชวิธีการสนทนากลุมเฉพาะในพื้นที่ (Focus group<br />

interview) ของผูนําชุมชน ผูนําหมูบาน ผูแทนผูประสบปญหา และครูภูมิปญญา โดยนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห<br />

ในภาพรวมจากเอกสารและที่ไดจากการสัมภาษณมาตรวจสอบความถูกตองครบถวน จัดทําแนวทางจัดการน้ําทวม<br />

ในระดับชุมชน ความเสี่ยงในการดํารงชีพในพื้นที ่น้ําทวม และแนวทางการปองกันอุทกภัยในระดับชุมชน ตลอดจน<br />

การปรับตัวและความพรอมของชุมชนในสภาวะน้ําทวม นําขอมูลที่ไดมาประมวลผลการวิจัย<br />

การวิเคราะห การประมวลผล จัดหมวดหมูและประมวลผลดวยการรวมกลุมความคิดที่สอดคลองกันของผู<br />

สนทนากลุม ตามประเด็นสนทนา การศึกษาไดดําเนินการระหวางเดือนกุมภาพันธ -ธันวาคม 2552<br />

3.3 การวิเคราะหความเสี่ยงน้ําทวมภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ใชขอมูลคาดการณสภาพอากาศใน<br />

อนาคตภายใตการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเปนการดาดการณโดยหนวยงาน IPCC ตามแนวทาง<br />

A2 และ B2 Scenario โดยขอมูลที่ไดมาจากการจําลองสภาพอากาศระดับภูมิภาคที่มีความละเอียด 0.2 องศา<br />

คํานวณโดยใชแบบจําลองสภาพภูมิอากาศ PRECIS (Providing Regional Climates for Impacts Studies) และใช<br />

ผลการจําลองสภาพภูมิอากาศระดับโลก (Global Circulation Model) จากแบบจําลอง ECHAM4 เปนขอมูลนําเขา<br />

ซึ่งจัดทําขึ้นโดยศูนยเครือขายงานวิเคราะห วิจัย และฝกอบรมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกแหงภูมิภาคเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต (ศุภกร, 2552)<br />

การวิเคราะหความเสี่ยงน้ําทวมภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแบบ A2 (การมองภาพอนาคตถึงโลกที่<br />

มีความแปลกแยก แบงตัวออกเปนภูมิภาคตางๆ และมีการขยายตัวของประชากรสูง การพัฒนาเศรษฐกิจดานตางๆ<br />

จะเนนระบบเศรษฐกิจของแตละภูมิภาค การเปลี่ยนแปลงในดานการใชเทคโนโลยีจะหลากหลายไมประสานกัน และ<br />

การเปลี่ยนแปลงจะเปนไปอยางไมรวดเร็วนัก) และ B2 (การมองภาพอนาคตถึงโลกที่แตละทองถิ่นเนนถึงแนวทาง<br />

ของตนเองที่กอใหเกิดความยั่งยืนของระบบเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม) ใน 3 ชวงเวลาคือ พ.ศ. 2523-2542,<br />

2553-2572 และ 2573-2592 และวิเคราะหความถี่ของการเกิดอุทกภัยในแตละชวงป โดยวิเคราะห Return period<br />

คํานวณโดยใชสูตรตามทฏษฏีกัมเบลของปริมาณน้ํารวมรายสัปดาห สูตรตามทฏษฏีกัมเบล (ชัยยุทธ ชินณะราศรี,<br />

2550) คือ<br />

⎛ ⎛ 1 ⎞⎞<br />

Q Tr = Q − 0 .45S<br />

− 0.78S<br />

ln⎜<br />

− ln⎜1<br />

− ⎟⎟<br />

⎝ ⎝ Tr ⎠⎠<br />

โดย QTr<br />

คือ ขนาดน้ําทวมที่รอบปการเกิดซ้ํา (ลบ.ม.ตอวินาที) Q คือ คาเฉลี่ย S คือสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

Tr คือ รอบปการเกิดซ้ํา ทั้งนี้เพื่อใชเปนดัชนีบงชี้ถึงความเปลี่ยนแปลงของความถี่การเกิดอุทกภัยในแตละชวง<br />

และแนวโนมความรุนแรงของเหตุการณอุทกภัยที่มีโอกาสเกิด 1 ครั้งในรอบ 10 ป และ 20 ป<br />

4.ผลการศึกษา<br />

4.1 สภาพเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนในพื้นที่น้ําทวม<br />

สัมภาษณเกษตรกรจํานวน 158 ครัวเรือน 5 หมูบาน คือ บานนาฮี หมูที่ 4 และ 9 บานคอนสวรรคหมูที่<br />

8, 11 และ 15 พบวา เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกพืชเฉลี่ย 33.53 ไรตอครอบครัว ( 5-139 ไร) พืชที่ปลูกคือ ขาว ออย<br />

และไมยูคาลิปตัส เกษตรกรทุกครัวเรือนปลูกขาว พื้นที่ถือครองสวนใหญเปนพื้นที่นา มีพื้นที่ปลูกขาวเฉลี่ย 33.13<br />

ไรตอครอบครัว ทุกครัวเรือนปลูกขาวทั้งขาวเหนียวและขาวจาว พื้นที่ปลูกขาวจาวมากกวาขาวเหนียว โดยปลูก<br />

ขาวจาวและขาวเหนียวเฉลี่ย 20.9 และ 12.20 ไรตอครัวเรือนตามลําดับ ขาวเหนียว กข 6 ผลผลิตเฉลี่ย 329<br />

633


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กิโลกรัมตอไร ขาวขาวดอกมะลิ105 ผลผลิตเฉลี่ย 333.21 กิโลกรัมตอไร ปลูกออยจํานวน 8 ครัวเรือน พื้นที่ปลูก<br />

เฉลี่ย 15 ไรตอครอบครัว<br />

ในรอบป พ .ศ . 2551 เกษตรกรมีรายไดจากภาคการเกษตรเฉลี่ย 114,831.35 บาทตอครัวเรือนตอป รายได<br />

นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 46,250.63 บาทตอครัวเรือนตอป และมีรายจายเฉลี่ย 99,043 บาทตอครัวเรือนตอป<br />

4.2 สภาพน้ําทวมในพื้นที่และการจัดการ<br />

ตั ้งแตป พ .ศ. 2548 เปนตนมา พื้นที่ดังกลาวเกิดอุทกภัยทุกป โดยเฉพาะพื้นที่นามีน้ําทวมขังนาตอเนื่อง<br />

อุทกภัยทําใหตนขาวและผลผลิตขาวเสียหาย แตไมทวมที่ตั้งบานเรือนซึ่งตั้งบนที่ดอน น้ําทวมนาขาว เกิดในชวง<br />

การเจริญเติบโตของตนขาวที่แตกตางกันคือ ชวงที่ขาวออกรวง ชวงขาวเจริญเติบโต กอนฤดูกาลเก็บเกี่ยวหรือ<br />

ระหวางการเก็บเกี่ยวขาว ชวงหวานขาวและชวงปกดํา คิดเปนรอยละ 45.75, 36.79, 9.43, 3.77 และ 3.30<br />

ตามลําดับ<br />

สภาพน้ําทวมกอใหเกิดความเสียหายตอผลผลิตขาวในพื้นที่น้ําทวมตอนลางของลุมน้ําหวยสามหมอ ในป<br />

พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2551 กลาวคือ ในป พ.ศ. 2550 จากพื้นที่นาทั้งหมด 5,298 ไร พื้นที่นาถูกน้ําทวมและ<br />

ผลผลิตขาวเสียหายทั้งหมดคิดเปนรอยละ 74.57 และในป พ.ศ. 2551 พื้นที่นาถูกน้ําทวมและผลผลิตขาวเสียหาย<br />

ทั้งหมดคิดเปนรอยละ 71.33 ของพื้นที่นาทั้งหมด (ตารางที่ 1)<br />

ตารางที่ 1 ผลผลิตขาวเสียหาย พื้นที่นาน้ําทวมและผลผลิตขาวเฉลี่ย<br />

ป พ.ศ. ผลผลิต ขาวเสีย หาย (%) พื้นที่นาน้ําทวม (%) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร)<br />

100% 75% 50% 25% 0%<br />

2550 55.97 30.97 10.07 2.98 1.12 74.57 60.95<br />

2551 54.10 26.49 16.42 1.87 1.12 71.33 90.58<br />

4.3 การจัดการเกี่ยวกับอุทกภัย<br />

4.3.1 การจัดการวิถีการเกษตรในระดับครัวเรือน (ภูมิปญญาเดิม) เกษตรกรรอยละ 46.21 ไมไดทํา<br />

อะไรเกี่ยวกับปญหาน้ําทวมนาขาว แมวาพื้นที่นาไดประสบภาวะน้ําทวมเสียหายเปนประจําแทบทุกป แตเกษตรกร<br />

ยังยอมเสี่ยงปลูกขาวในพื้นที่มาตลอด โดยไมไดมีการแกไขหรือจัดการสิ่งใด สวนที่เหลืออีกรอยละ 53.81 มีการ<br />

จัดการดวยการปดทางน้ําที่ไหลเขาพื้นที่นา ขยายยกคันนาใหสูงขึ้นเปนคันกั้นน้ํา และระบายน้ําออกจากแปลงนา<br />

อยางไรก็ตาม พบวา การแกปญหาโดยวิธีการที่กลาวมาไดผลดีเฉพาะพื้นที่ไมเปนที่ราบลุมมากนัก (การแกปญหา<br />

โดยวิธีการที่กลาวมา ไมสามารถแกปญหาน้ําทวมไดเลย คิดเปนรอยละ 82.62)<br />

อยางไรก็ตาม การจัดการน้ําทวมในระดับชุมชน มีเกษตรกรในชุมชน รอยละ 53.6 มีแนวคิดวา การสราง<br />

ทํานบลอมรอบหนองนกโง สรางประตูปดเปดน้ําเขาออก และสรางคลองระบายน้ําออกเพื่อใหมีที่วางรองรับน้ํา<br />

หลากจากพื้นที่จะชวยแกปญหาน้ําทวมได (วิเชียร และคณะ, 2553)<br />

หนวยงานที่เขามาชวยเหลือเกษตรเมื่อเกิดอุทกภัยมี 3 หนวยงานหลัก คือ องคการบริหารสวนตําบลใน<br />

พื้นที่ สํานักงานเกษตรอําเภอ และสํานักงานสาธารณะสุขอําเภอ<br />

สําหรับความชวยเหลือที่เปนเงินทุน ไดแก รัฐบาลชวยเหลือในรูปเงินชดเชยทุกครอบครัว กรณีที่ประสบ<br />

ภัยน้ําทวม ธกส.ใหความชวยเหลือในรูปการลดดอกเบี้ย และพักชําระหนี้<br />

634


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การปรับตัวของเกษตรกรตอปญหาน้ําทวม พบวา เกษตรกรเพียงสวนนอย(รอยละ10.13)เปลี่ยนพันธุ<br />

ขาวกลับมาใชพันธุพื้นเมืองเปนพันธุขาวขึ้นน้ําพันธุ “สายบัว” ซึ่งเปนขาวที่บรรพบุรุษเคยปลูกในอดีต มีอายุการ<br />

ปลูกถึงเก็บเกี่ยว 8-9 เดือน อยางไรก็ดี ในป พ.ศ. 2550/51 มีเกษตรกร 2-3 รายที่มีพื้นที่นาอยูติดแมน้ําชี เริ่มทํา<br />

การปลูกขาวนาปรังในฤดูแลง โดยใชขาวพันธุชัยนาท 1 ไดผลผลิตเฉลี่ย 485 กิโลกรัมตอไร และปลูกขาวหลังน้ํา<br />

ลดโดยงดการปลูกขาวนาป<br />

กิจกรรมนอกภาคการเกษตร ครัวเรือนเกษตรกรที่มีอาชีพเสริมและสามารถสรางรายไดใหกับครัวเรือน<br />

ที่ประสบอุทกภัย อาชีพเสริมไดแก การทําหัตถกรรม จับปลา รับจางทั่วไปในหมูบาน ทํางานนอกหมูบาน ทําให<br />

เกษตรกรมีรายไดเฉลี่ยจากกิจกรรมดังกลาว จํานวน 11,341 บาท 6,055 บาท 7,085.24 บาท 31,064.71 บาท<br />

36765.51 บาทตอป ตามลําดับ และสมาชิกครัวเรือนสงรายไดกลับมาใหครอบครัว คิดเปนรอยละ 26.58, 5.0,<br />

37.97, 20.88, และ 55.06 ตามลําดับ<br />

การปลูกพืชเสริมกอนฤดูการทํานา เกษตรกรบางรายหารายไดเสริมเพื่อชดเชยรายไดจากการปลูก<br />

ขาวนาปที่สูญเสียจากการประสบภัยน้ําทวม พืชที่เกษตรกรนิยมปลูกกอนการทํานาป มีดังนี้<br />

งาดํา ปลูกงาดํากอนฤดูกาลทํานา ในชวงเดือนมกราคม เก็บเกี่ยวในชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม<br />

ผลผลิตประมาณ 100 กก.ตอไร ราคา กก.ละ 30 บาท ไดรายไดไรละ 3,000 บาท<br />

ปอแกว ปลูกปอแกวกอนขาว ในชวงเดือนมกราคม เก็บเกี่ยวในชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ผลผลิต<br />

ประมาณ 250 กก.ตอไร ราคา กก.ละ 11 บาท ไดรายไดไรละ 2,750 บาท<br />

4.3.2 การจัดการแหลงน้ําธรรมชาติเพื่อรองรับน้ํา เปนการจัดการภูมิปญญาของชุมชนรวมกับองค<br />

ความรูที่มาจากนอกชุมชน พัฒนาเปนระบบชลประทานเชิงประยุกต โดยการกักเก็บน้ําในชวงที่เกิดอุทกภัยไวที่<br />

หนองนกโง เพื่อนําน้ํามาใชทําการเกษตรในฤดูแลงแทนการทําการเกษตรในฤดูฝน<br />

หนองนกโงมีพื้นที่รับน้ํา 1,257.58 ไร หากทําคันดินขนาดใหญลอมรอบหนองนกโงสําเร็จ หากกักเก็บน้ํา<br />

ที่ระดับความลึก 4 เมตร สามารถกักเก็บน้ําหลากในฤดูฝนไวใชในการเพาะปลูกในฤดูแลงไดสูงสุดประมาณ<br />

8,048,512 ลูกบาศกเมตร โดยปริมาณน้ํากักเก็บในระดับต่ําสุดประมาณ 3,200,000 ลูกบาศกเมตร ดังนั้นปริมาณ<br />

น้ําดังกลาวสามารถนํามาเพาะปลูกขาวนาปรัง ไดประมาณ 4,848.5 ไร หากตองการขยายพื้นที่ปลูกขาวนาปรัง ก็<br />

สามารถสูบน้ําจากลําน้ําชีมาเติมหนองนกโงได แลวสงน้ําใหการเพาะปลูกขาวได เกษตรกรที่สามารถไดประโยชน<br />

จากการดําเนินการทําทํานบและขุดลอกหนองนี้ไมนอยกวา 100 ครอบครัว (วิเชียร และคณะ, 2553)<br />

ทําทางผันน้ําเพื่อเบี่ยงเบนทางน้ํา โดยใชแรงโนมถวงของโลกไปสูทิศทางอื่นเพื่อลดปริมาณน้ําที่เปน<br />

เหตุใหเกิดน้ําทวม โดยการสรางฝายกั้นลําน้ําหวยสามหมอบริเวณตอนตนบังคับทางน้ําใหไหลออกทางดานซาย<br />

ดวยการขุดเปนคลองผันน้ําผานหมูบานหนองบัวและหมูบานหนองโนนอยลงสูลําหวยขี้เหล็ก ระยะทาง 4 กิโลเมตร<br />

ซึ่งสามารถนําน้ํามาใชในการเพาะปลูกขาว บริเวณที่คลองผานที่เปนพื้นที ่ที่ขาดแคลนน้ําทางการเกษตรและชวย<br />

บรรเทาการทวมขังของน้ําในที่ลุม<br />

การจัดการอุทกภัยดวยการปรับวิถีการผลิตขาว<br />

ระบบการปลูกพืชในฤดูแลงในเขตชลประทานหนองนกโง สามารถจัดระบบการปลูกขาวนาปรังได 2 ครั้ง<br />

(วิเชียร และคณะ, 2553) คือ ครั้งแรกปลูกในชวงเดือนมกราคม เก็บเกี่ยวในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปลูกขาวนา<br />

ปรังครั้งที่ 2 ในชวงกลางเดือนเมษายน - ตนเดือนพฤษภาคม เก็บเกี่ยวในเดือนสิงหาคม ซึ่งเก็บเกี่ยวขาวกอนเกิด<br />

น้ําทวมขัง ในการทํานาปรัง ปกติเกษตรกรนิยมใชขาวพันธุชัยนาท 1 หรือ ปทุมธานี อายุประมาณ 120 วัน ผลผลิต<br />

เฉลี่ย 659 กิโลกรัมตอไร อยางไรก็ตาม การปลูกขาวนาปรังครั้งที่ 2 หากการจัดการไมดี ก็มีโอกาสเสี่ยงจากการถูก<br />

น้ําทวมขัง การจัดระบบการปลูกพืชดังนี ้<br />

635


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ผลิตขาวนาปรังครั้งที่ 1 ดวยพันธุขาวที่มีอายุ 120 วัน ตามดวยครั้งที่ 2 ตามดวยพันธุขาวที่มีอายุ 120<br />

วัน<br />

2. ผลิตขาวนาปรังครั้งที่ 1 ดวยพันธุขาวที่มีอายุ 120 วัน ครั้งที่ 2 ตามดวยพันธุขาวที่มีอายุ 75 วัน<br />

3. ผลิตขาวนาปรังครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 ดวยพันธุขาวที่มีอายุ 75 วัน<br />

4. ปลูกขาวนาปรังครั้งเดียว ดวยพันธุขาวที่มีอายุ 120 วัน<br />

ในฤดูแลง หนองนกโงมีน้ําสําหรับการเพาะปลูกทั้งหมดจํานวน 4,848,512 ลูกบาศกเมตร เพียงพอ<br />

สําหรับการปลูกขาวไดพื้นที่จํานวน 3,730 ไร (ไมมีการสูบน้ํามาเพิ่มเติม) หากปลูกขาวเต็มพื้นที่ โดยจัดระบบการ<br />

ปลูกขาวเปน 4 ระบบดังที่กลาวในขางตน ตนทุนการผลิตรวม 4,179.7 บาทตอไร ราคาขาวเปลือกตันละ 8,000<br />

บาท ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (ตารางที่ 2) คือ<br />

ระบบที่ 1 ปลูกขาวนาปรัง 2 ครั้ง พันธุขาวที่มีอายุ 120 วัน ไดผลผลิตขาวรวมทั้งหมดจํานวน 4,916.14<br />

ตัน คิดเปนมูลคา 39,329,120 บาท ดังนั้น ในการปลูกขาวนาปรัง 2 ครั้ง มีรายไดสุทธิ (หักตนทุนการผลิตรวมแลว)<br />

จํานวน 8,148,558 บาท หรือคิดเปนรายไดสุทธิ 1,092.3 บาทตอไร<br />

ระบบที่ 2 ปลูกขาวนาปรัง 2 ครั้ง แตในการปลูกครั้งแรก ใชพันธุขาวอายุ 120 วัน ครั้งที่ 2 ใชขาวพันธุ<br />

อายุสั้น 75 วัน ไดผลผลิตขาวรวมทั้งหมดจํานวน 4,196.25 ตัน คิดเปนมูลคา 30,093,640 บาท ดังนั้น ในการปลูก<br />

ขาวนาปรัง 2 ครั้ง มีรายไดสุทธิ (หักตนทุนการผลิตรวมแลว) จํานวน -1,086,922 บาท หรือคิดเปนรายไดสุทธิ -<br />

145.7 บาทตอไร<br />

ระบบที่ 3 ปลูกขาวนาปรัง 2 ครั้ง ใชพันธุขาวอายุสั้น 75 วัน ไดผลผลิตขาวรวมทั้งหมดจํานวน 3,476.36<br />

ตัน คิดเปนมูลคา 20,858,160 บาท ตนทุนการผลิตรวม 4,179.7 บาทตอไร ดังนั้น ในการปลูกขาวนาปรัง 2 ครั้ง มี<br />

รายไดสุทธิ (หักตนทุนการผลิตรวมแลว) จํานวน -10,322,402 บาท หรือคิดเปนรายไดสุทธิ -1,383.70 บาทตอไร<br />

ระบบที่ 4 ปลูกขาวนาปรังครั้งเดียว ใชพันธุขาวอายุสั้น 120 วัน ไดผลผลิตขาวรวมทั้งหมดจํานวน<br />

2,458.07 ตัน คิดเปนมูลคา 19,664,560 บาท ในการปลูกขาวนาปรัง มีรายไดสุทธิ (หักตนทุนการผลิตรวมแลว)<br />

จํานวน 4,074,279 บาท หรือคิดเปนรายไดสุทธิ 1,092.3 บาทตอไร<br />

ตารางที่ 2 รายไดรวมและรายไดสุทธิของการปลูกขาวนาปรังในระบบการปลูกที่แตกตางกัน<br />

ระบบ<br />

การปลูก<br />

ผลผลิตขาวนา<br />

ปรัง (ตัน)<br />

รายไดรวม<br />

)บาท( รายไดสุทธิ (บาท)<br />

รายไดสุทธิ<br />

ตอไร<br />

ปลูกครั้งที่ 1 ปลูกครั้งที่ 2 ปลูกครั้งที่ 1+2 เฉลี่ย<br />

ระบบที่ 1 2,458.07 2,458.07 39,329,120 8,148,558 1,092.3<br />

ระบบที่ 2 2,458.07 1,738.18 30,093,640 -1,086,922 -145.7<br />

ระบบที่ 3 1,738.18 1,738.18 20,858,160 -10,322,402 -1383.7<br />

ระบบที่ 4 2,458.07 - 19,664,560 4,074,279 1,092.3<br />

636


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ความเสียหายจากอุทกภัยกับการจัดการอุทกภัยของชุมชน<br />

อุทกภัยที่กอใหเกิดความเสียหายตอการปลูกขาวนาปพื้นที่บริเวณหนองนกโง ประมาณ 4,000 ไร<br />

ประเมินคาความเสียหายผลผลิตขาวจํานวน 13,200,000 บาทตอป (ผลผลิตเฉลี่ย 330 กิโลกรัมตอไร ราคาขาย 10<br />

บาทตอกิโลกรัม) ตนทุนการผลิตขาวที่สูญเสียไปกับอุทกภัย รวมทั้งสิ้น 16,718,800 บาท (ตนทุนการผลิตขาว<br />

4,179.7 บาทตอไร) รวมความเสียหายจากการลงทุนและผลผลิตขาว รวมทั้งสิ้น 27,278,800 บาท รัฐบาลชดเชย<br />

ความเสียหายผลผลิตขาวไรละ 443 บาท คาชดเชยรวมทั้งสิ้นจํานวน 1,772,000 บาท การปลูกขาวนาปรังจํานวน<br />

1 ครั้งในรอบป (ขาวพันธุชัยนาถ 1) ในพื้นที่ 3,730 ไร มีมูลคาผลผลิตขาวนาปรังรวม 19,664,560 บาท จากขอมูล<br />

ชี้ใหเห็นวา การจัดการอุทกภัยโดยไมทําการปลูกขาวในฤดูนาปเลย แตปลูกขาวนาปรังเพียงครั้งเดียวในรอบป ก็ทํา<br />

ใหเกษตรกรมีรายไดสูงกวาการทํานาป 0.49 เทา หากเกษตรกรปลูกขาวนาปรังไดมากกวา 1 ครั้ง เกษตรกรก็จะมี<br />

รายไดเพิ่มขึ้น ดังนั้น ในพื้นที่ที่เกิดอุทกภัยซ้ําซาก หากภาครัฐหรือชุมชนสามารถจัดหาน้ําสําหรับการทํา<br />

การเกษตรในฤดูแลงได ผลตอบแทนที่ไดสามารถทดแทนความเสียหายผลผลิตพืชในฤดูฝน ภาครัฐควรประกาศให<br />

พื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่อุทกภัยซ้ําซากเพื่อที่จะมีผลทําใหรัฐไมตองจายคาชดเชยความเสียหายทางการเกษตรใหกับ<br />

เกษตรกรอีกตอไป<br />

4.4 การพัฒนาระบบชลประทานหนองนกโง<br />

การสรางคันกั้นน้ํารอบบึงหนองนกโง ในป พ.ศ. 2550 เปนตนมา ดําเนินการแลวเสร็จระยะทาง 4,800<br />

เมตร เปนเงินงบประมาณ 17 ลานบาท อยางไรก็ตาม คันดินกั้นน้ํายังไมแลวเสร็จ ยังตองสรางคันดินเพิ่มเติมอีก<br />

ประมาณ 2,900 เมตร ตองการงบประมาณเพิ่มเติมอีก 11 ลานบาท จึงแลวเสร็จ แลวสามารถสงน้ําเขาสูพื้นที่นาได<br />

ทันทีเนื่องจากมีคลองดินสงน้ําที่ไดดําเนินการอยูแลว จากการแกปญหาภัยแลง อยางไรเพื่อพัฒนาระบบ<br />

ชลประทานใหสมบูรณ ตองใชงบประมาณอีก 3 ลานบาท ดังนั้น ในการพัฒนาระบบชลประทานหนองนกโง ตองใช<br />

งบลงทุนรวมทั้งสิ้นประมาณ 31 ลานบาท<br />

ผลการประเมินความเสียหายของผลผลิตขาวในพื้นที่ 4,000 ไร คิดเปนมูลคา 13,200,000 บาทตอป<br />

ความเสียหายจากการลงทุนทํานาและผลผลิตขาว รวมทั้งสิ้น 27,278,800 บาท ในแตละป คาชดเชยจากอุทกภัย<br />

รวมทั้งสิ้นจํานวน 1,772,000 บาท จะเห็นวา ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเพียงปเดียวก็มีมูลคาใกลเคียง<br />

กับงบประมาณในการลงทุนพัฒนาระบบชลประทานหนองนกโง (29 และ31 ลานบาท ตามลําดับ)<br />

4.5 ความเสี่ยงน้ําทวมที่ ต.ศรีสําราญ จ.ชัยภูมิชัยภูมิ<br />

ตําบลศรีสําราญตั้งอยูบริเวณรอยตอระหวางจังหวัดชัยภูมิกับจังหวัดขอนแกน เปนพื้นที่จะประสบอุทกภัย<br />

บอยครั้ง ประมาณ 4-7 ครั้งในรอบ 10 ป ตามแผนที่พื้นที่ประสบภัยน้ําทวมซ้ําซากที่จัดทําขึ้นโดยกรมพัฒนาที่ดิน<br />

ซึ่งมักจะเกิดจากการเออทวมขึ้นมาของลําน้ําชีรวมกับน้ําที่ไหลลงมาจากลําหวยสามหมอ ในการประมาณความ<br />

เสี่ยงการเกิดอุทกภัยในอนาคตภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดําเนินการโดยการเลือกเกณฑชี้วัดจากปริมาณ<br />

น้ําทารวม 7 วันเปนลูกบาศกเมตรตอวินาที ทั้งนี้เนื่องจากคํานึงถึงการทวมที่เกิดขึ้นเปนระยะเวลานาน และเลือกใช<br />

ปริมาณน้ําทาที่สถานีตรวจวัดน้ําทา E.21 บานแกงโก ที่อยูในตําแหนงเหนือพื้นที่ศึกษาเปนดัชนีชี้วัด โดยมีความจุ<br />

ลําน้ํา 312 ลบ.ม. ตอวินาที ซึ่งประมาณน้ําทารวม 7 วันไดประมาณ 2,184 ลบ.ม.ตอวินาที ดําเนินการ โดยแบงชวง<br />

ของการวิเคราะหผลเปน 3 ชวงคือ ชวงป พ.ศ. 2523-2542, 2553-2572 และ 2573-2592<br />

ผลการวิเคราะหรอบปการเกิดซ้ําของเหตุการณอุทกภัย ภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแบบ A2 และ<br />

B2 แสดงแนวโนมการเกิดอุทกภัยเพิ่มขึ้นในแนวทาง A2 จาก 5 ครั้ง เปน 6 ครั้งในรอบ 10 ป ในกลางศตวรรษ<br />

โดยความรุนแรงของอุทกภัยมีแนวโนมที่ลดลงจากชวงปฐาน ทั้งในกรณีที่เปนเหตุการณที่รุนแรงที่สุดในรอบ 10<br />

และ 20 ป ในขณะที่ในแนวทาง B2 ความถี่การเกิดอุทกภัยลดลงจาก 5 เปน 4 ครั้งในรอบ 10 ป ในชวงกลาง<br />

637


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ศตวรรษ (รูปที่ 1) อยางไรก็ตามเมื่อวิเคราะหความรุนแรงอุทกภัยที่เกิดขึ้น 1 ครั้งในรอบ 10 ป และ 20 ป พบวา<br />

มีแนวโนมของความรุนแรงเพิ่มขึ้นในชวงป 2553-2572 และลดลงมาใกลเคียงกับชวงปฐานในกลางศตวรรษ<br />

(ตารางที่ 1)<br />

รูปที่ 1 ความถี่การเกิดอุทกภัยในรอบ 10 ป ตามแนวทาง A2 และ B2 ที่ ต.ศรีสําราญ จ.ชัยภูมิ<br />

ตารางที่ 3 ขนาดอุทกภัยที่เกิดขึ้น 1 ครั้งในรอบ 10 และ 20 ป ที่ ต.ศรีสําราญ จ.ชัยภูมิ<br />

5. สรุปและอภิปรายผล<br />

แนวทาง ป (ลบ.ม./วินาที)<br />

1980-1999 2010-2029 2030-2049<br />

A2 10 3602 3430 3169<br />

20 4184 3910 3507<br />

B2 10 3602 4431 2848<br />

20 4184 5244 3137<br />

การเกิดภาวะน้ําทวมเปนประจําทุกป ในพื้นที่บางสวนของ ต.โพธิ์ไชย อ.โคกโพธิ์ไชย จ.ขอนแกน และ ต.<br />

ศรีสุขสําราญ อ.คอนสวรรค จ.ชัยภูมิ ที่เกิดจากการเออลนตลิ่งของลําน้ําชีและการไหลสมทบของน้ําจากลําหวยสาม<br />

หมอ ทําใหเกิดความเสียหายตอนาขาวและทรัพยสินอื่นๆ สามารถจัดการใหบรรเทาลงไดตามแนวทางที่<br />

ชุมชนดําเนินการ ไดแก การปรับระบบการผลิตขาวโดยละเวนการทํานาปแลวหันมาทํานาปรังทดแทน การ<br />

เปลี่ยนพันธุขาวเปนเขาวฟางลอยขึ้นน้ําพันธุพื้นเมืองที่ใหน้ําหนักดี การขุดลอก ฟนฟูแหลงน้ํา ทําคันดินลอม<br />

แหลงน้ําขนาดใหญ เพื่อเปนแหลงกักเก็บน้ําหลากซึ่งเปนน้ําสวนเกิน นํามาใชในการการเกษตรในฤดูแลง และ<br />

ทําทางผันน้ําเพื่อเบี่ยงเบนทางน้ําโดยใชแรงโนมถวงของโลกไปสูทิศทางอื่นเพื่อลดปริมาณน้ําที่เปนเหตุใหเกิด<br />

น้ําทวมให โดยการสรางฝายกั้นลําน้ําหวยสามหมอบริเวณตอนตนบังคับทางน้ําใหไหลออกทางดานซายดวยการขุด<br />

คลองผันน้ําผานหมูบานและหมูบานลงสูลําหวยซึ่งสามารถนําน้ํามาใชในการเพาะปลูกบริเวณที่คลองผานซึ่งเปน<br />

638


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พื้นที่ขาดแคลนน้ําและบรรเทาการทวมขังในที่ลุม การจัดการอุทกภัยหรือรูปแบบภาวะน้ําทวมนี้สามารถดําเนินการ<br />

ในชุมชนอื่นไดหากมีภูมิประเทศและสภาพการเกิดภาวะน้ําทวมมีความคลายคลึงกัน<br />

ความเสี่ยงน้ําทวมภายใตการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การแกปญหาน้ําทวมซ้ําซากในพื้นที่<br />

เกษตรโดยวิธีการที่ชุมชนดําเนินการในปจจุบันยังคงเปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพ สามารถนําไปแกปญหาอุทกภัยใน<br />

พื้นที่ตําบลศรีสําราญภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในอนาคต ทั้งแบบ A2 และ B2 ตอไป<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- กรมพัฒนาที่ดิน. แหลงที่มา แผนที่น้ําทวมซ้ําซากในประเทศไทย :<br />

http://irw101.ldd.go.th/data/data_flo.html [10 Oct 09]<br />

- ชัยยุทธ ชินณะราศรี .2550. กลศาสตรแมน้ําและกระบวนการธารน้ํา กองบริการการศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี<br />

- วิเชียร เกิดสุข ประสิทธิประคองศรี ประสิทธิ หวานเสร็จ และ วชิราพร เกิดสุข. 2553. การ<br />

จัดการอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพโดยชุมชนในลุมน้ําหวยสามหมอจังหวัดชัยภูมิและขอนแกน<br />

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน ศูนยวิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการน้ําแบบ<br />

บูรณาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

- ศุภกร ชินวรรโณ. 2552. สภาพภูมิอากาศอนาคตสําหรับประเทศไทยและพื้นที่ขางเคียง<br />

รายงานฉบับสมบูรณโครงการการจําลองสภาพภูมิอากาศอนาคตสําหรับประเทศไทยและพื้นที่<br />

ขางเคียง ศูนยเครือขายงานวิเคราะห วิจัย และฝกอบรมการเปลี ่ยนแปลงภูมิอากาศโลกแหง<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (SEA START RC).<br />

- สมคิด สิงสง. 2551. บทเรียนของลุมน้ําหวยสามหมอ: 3 ปแรกแหงการบุกเบิก (2449-2551)<br />

คณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอในคณะกรรมการลุมน้ําชี.<br />

639


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวางแผนพื้นที่สีเขียวของเมืองเพื่อบรรเทาผลกระทบทางอุทกวิทยา: กรณีศึกษาเทศบาล<br />

เมือง จังหวัดจันทบุรี<br />

Urban Green Space Planning as Mitigation Measure from Hydrological Effect: Case<br />

Study the Municipality of Chanthaburi Province<br />

พิศุทธ วิเชียรฉันท<br />

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

บทคัดยอ<br />

ความเปนเมือง สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบและลักษณะทางกายภาพของภูมิทัศน เพื่อสราง<br />

สภาพแวดลอม ใหตอบสนองตอการอยูอาศัยของมนุษย ในขณะที่ กระบวนการทางอุทกวิทยา (Hydrological<br />

process) ซึ่งเปนกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภูมิทัศน ยังคงดําเนินตามวิถีทางเดิม จึงไดรับผลกระทบจาก<br />

เหตุการณการเปลี่ยนแปลงนี้ เชน การตัดหนาดิน, การถมดิน, หรือการเปลี่ยนแปลงความชันของผืนดิน ทําใหทาง<br />

น้ําและลักษณะการไหลเปลี่ยนไป และเมื่อผนวกผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Climate change) ที่<br />

มีผลตอระบบอุทกวิทยาเชิงปริมาณในลักษณะที่มากขึ้นหรือนอยลงอยางรุนแรงและรวดเร็วดวยแลว อาจคาดการณ<br />

ไดวา ภูมิทัศนหรือภูมิทัศนเมือง จะตองไดรับผลกระทบจากกระบวนการทางอุทกวิทยา มากขึ้นตามไปดวย<br />

การวิจัยนี้จึงศึกษาหาวิธีการ การวางแผนภูมิทัศน ใหเกิดความสัมพันธของสองกระบวนการ ดวย<br />

เปาหมายเพื่อการบรรเทาผลกระทบดานอุทกวิทยา โดยมีกรณีศึกษาตัวอยาง คือ บริเวณเทศบาลเมืองจันทบุรี ซึ่ง<br />

เปนพื้นที่ประสบปญหาอุทกภัยแทบทุกปจากปริมาณฝนตกเฉลี่ยมากถึง 3,900 มม.ในจํานวนวันที่ตกเฉลี่ย 162 วัน<br />

ตอป และอาจมีปริมาณเพิ่มขึ้น จากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได<br />

การวิจัยนี้เสนอแนะวิธีการเพื่อการวางแผนภูมิทัศน ขั้นแรก-ขั้นตอนการวิเคราะหเชิงพื้นที่ ถึง<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยาที่สัมพันธกับภูมิทัศน โดยมีเครื่องมือ ระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ (GIS) ในการวิเคราะห<br />

ขอมูลและสรางแผนที่ ผนวกกับการประยุกตใชวิธีการจากพื้นฐานวิชาอุทกวิทยา เชน การสรางแผนภูมิชลภาพ<br />

เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางอุทกวิทยาของพื้นที่ โดยผลการวิเคราะหพบความไมสอดคลองกัน ระหวางรูปแบบการ<br />

ไหลกับองคประกอบตางๆที่ปรากฏในภูมิทัศนเมือง เชน เสนทางถนนและอาคารที่ขวางเสนทางการไหลของน้ํา<br />

ประกอบกับลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ศึกษาที่เปนแอง-กระทะ เหลานี้เปนปจจัยที่ทําใหเกิดปญหาการระบาย<br />

น้ําของพื้นที่ศึกษา และจากการศึกษาคุณลักษณะในบทบาทเชิงพื้นที่ พบวา พื้นที่ศึกษานี้ยังคงมีพื้นที่ที่มีโอกาส<br />

พัฒนา เพื่อรองรับผลกระทบจากกระบวนการทางอุทกวิทยาได ฉะนั้น ในขั้นที่สอง-ขั้นตอนการวางแผนภูมิทัศน จึง<br />

ใชขอมูลจากการวิเคราะหขางตน เพื่อกําหนดตําแหนงและลักษณะของพื้นที่สีเขียวที่เกิดขึ้น เชน พื้นที่สําหรับการ<br />

หนวงน้ํา (Detention pond), กักเก็บน้ํา (Retention pond), พื้นที่สําหรับการซึมน้ํา (Infiltration pond), และ<br />

โครงขายเสนทาง ใหเปนแนวทางสูการออกแบบภูมิทัศน ที่มีบทบาทรองรับผลกระทบดานอุทกวิทยาอีกทั้งยังเปน<br />

โอกาสเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหเกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษาไดอีกทางหนึ่งดวย<br />

640


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คําสําคัญ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กระบวนการอุทกวิทยาในเมือง กระบวนการความเปนเมือง การ<br />

บรรเทาผลกระทบทางอุทกวิทยา การวางแผนภูมิทัศน<br />

Abstract<br />

Urbanization causes changes in elements and physical characteristics of landscape. It affects<br />

hydrological patterns and process which is a part of natural system by changing topography of the<br />

landscape which effectively change drainage pattern and flow direction. This research intend to lay the<br />

ground work for building a method of landscape planning to build the coherence between urbanization<br />

and hydrological process using the municipality of Chanthaburi province as a case study.<br />

The first step of the method is a spatial analysis of landscape’s hydrological patterns and<br />

functions in term of hydrological zone classification and characterization using GIS. The results of the<br />

analysis found an incongruence of drainage patterns and urban landscape elements and patterns, and<br />

the topographical characteristic (low elevation basin) of study areas are the factors of hydrological<br />

characteristics of study areas. Also, this study indicated potential areas for hydrological mitigation and<br />

management.<br />

The second step of the method is integrating the areas for hydrological mitigation and<br />

management with an opportunity to develop the areas as green spaces. As a result, the areas for<br />

hydrological mitigation and management can be simultaneously developed with the integration of the<br />

building of green space for the areas.<br />

1. ความสําคัญ<br />

อุทกภัยเปนสิ่งที่สรางปญหาแกพื้นที่เมืองและการพัฒนาเมืองแทบทุกเมือง (Marsh,1980) ใน<br />

ขณะเดียวกัน น้ําเปนสิ่งที่ใหประโยชนและสําคัญตอการดํารงชีวิตทุกชีวิต ในพื้นที่ที่มีมนุษยอาศัยอยูรวมกันมากจน<br />

เกิดเปนพื้นที่เมือง ผานกระบวนการความเปนเมือง (Urbanization) ซึ่งเปนสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงภูมิ<br />

ทัศน สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางกายภาพ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางอุทกวิทยา<br />

(Spirn,1984) ดวยการนําพืชพรรณเกาออกไป , การบดอัดดินใหแข็ง, การเปลี่ยนเสนทางและรูปแบบการระบายน้ํา<br />

, การเปลี่ยน แปลงความชันของพื้นที่ , และการฉาบพื้นผิวดวยวัสดุที่น้ําซึมผานไมได โดยมีประโยชนเพื่อการอยู<br />

อาศัยของชุมชนมนุษย (Damm,1998) การเปลี่ยนแปลงเหลานี้สงผลกระทบโดยตรงตอระบอบอุทกวิทยา<br />

(Hydrological Regime) และกระบวนการธรรมชาติ (Natural Process) ทําใหรูปแบบการไหล (Flow Pattern)<br />

เปลี่ยนไป จากการเปลี่ยนเสนทางระบายน้ําและการเปลี่ยนแปลงความชัน น้ําไมสามารถซึมลงดินไดเพราะการบด<br />

อัดดิน, การเปลี่ยนพื้นผิว, และการนําพืชพันธุเกาออก เหลานี้สงผลใหปริมาณน้ําทา (Runoff) มากขึ้น แตเสนทาง<br />

การไหลของน้ํายังอยูภายใตกฎการไหลจากแรงโนมถวงตามความชันของผืนดินอยู ทําใหเสนทางการไหลเกาไม<br />

สามารถรองรับปริมาณน้ําที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหเกิดปญหาน้ําทวมตัวเมืองดวยเหตุจากการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนตาม<br />

กระบวนการขางตนนี้ (Marsh,1980) การแกปญหาอุทกภัยในปจจุบันอาศัยสูตรทางคณิตศาสตรและการคํานวณหา<br />

ทางระบายน้ําเพื่อนําน้ําออกนอกพื้นที่เมือง ซึ่งไมสอดคลองกับระบบอุทกวิทยา (Hydrological system) เดิมของ<br />

ภูมิทัศน ซึ ่งเปนกระบวนการหนึ่งในกระบวนการธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภูมิทัศนในสวนของอุทกภาค (Hydrosphere)<br />

เปนระบบที่เปนเหตุเปนผลมีปจจัยและกระบวนการที่มีแบบแผน (Black, 1996)<br />

641


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

น้ําฝน<br />

น้ําทา<br />

(น้ําที่เหลือจากการซึมลงดิน)<br />

น้ําฝน<br />

น้ําทา<br />

น้ําซึมลงดิน<br />

น้ําซึมลงดิน<br />

รูปที่ 1 แบบจําลองแสดงถึง กระบวนการความเปนเมืองที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน และสงผล<br />

กระทบตอกระบวนการทางอุทกวิทยา แสดงความสัมพันธระหวางกระบวนการทางอุทกวิทยาและภูมิทัศน<br />

(ที่มา: Start at the Source, BASMAA, 1999)<br />

รูปที่ 2 แบบจําลองกระบวนการทางอุทกวิทยา แสดงถึงความสัมพันธของกระบวนการทางอุทกวิทยากับ<br />

ภูมิทัศน (Marsh, 1980)<br />

การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนที่มากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่เมืองที่มีมนุษยอาศัยอยูหนาแนนจะสงผลกระทบตอ<br />

กระบวนทางการธรรมชาติ (Natural process) ซึ่งเปนกระบวนการที่เปนการแลกเปลี่ยนกันของขอมูลและพลังงาน<br />

จากระบบหนึ่งสูระบบหนึ่ง เปนสิ่งที่เชื่อมโยงมีผลกระทบสอดคลองกัน (Mc Harg, 1971) การศึกษานี้เปน<br />

การศึกษาความสัมพันธระหวางกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural process) คือ กระบวนการทางอุทกวิทยาของ<br />

พื้นที่ (Hydrological process) และกระบวนการความเปนเมือง (Urbanization) ที่ทั้งสองกระบวนการนี้เกิดขึ้น<br />

ภายในภูมิทัศนและชวงเวลาเดียวกัน แตรูปแบบที่ไมเหมือนกันนี้ จะสงผลตอกันอยางไร สมมุติฐานในการวิจัยนี ้ จึง<br />

ศึกษาความไมสอดคลองกันนี้ วาเปนสาเหตุทําใหเกิดปญหาจากน้ําที่เกิดขึ้นกับเมืองหรือไม และสรุปรูปแบบ<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยาในพื้นที่ เพื่อโอกาสในการบรรเทาผลกระทบ ดวยการวางแผนพื้นที่สีเขียวใหสอดคลอง<br />

กับกระบวนการทางธรรมชาติเดิมที่มีอยู โดยการศึกษาเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของภูมิทัศน ในเรื่องการ<br />

เปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผืนดิน อันเปนสิ่งที่แสดงถึงลักษณะทางกายรูปที่เปลี่ยนไปโดยมีผลตอกระบวนการทาง<br />

ธรรมชาติเดิมโดยตรง (Marsh,1980) ดวยการจําแนกสิ่งปกคลุมผืนดิน (Land Cover Classification) ซึ่งมี<br />

ความสัมพันธตอการเพิ่มน้ําทา สงผลตอรูปแบบการไหลน้ํา (flow Pattern) ที่เปลี่ยนไป โดยมีพื้นที่ศึกษาคือบริเวณ<br />

642


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เทศบาลเมืองจังหวัดจันทบุรี ซึ่งเปนเมืองที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่มีเอกลักษณทางภูมิทัศน มีลักษณะของพื้นที่ เปนพื้นที่ที่<br />

อยูระหวางเขาขนาดเล็กที่เปนตนกําเนิดทางน้ําสายหลักมาบรรจบกัน ไหลผานตัวเมือง แบงตัวเมืองออกเปนสอง<br />

ฟากแมน้ํา อีกทั้งยังเปนพื้นที่บริเวณขอบของแผนดินติดชายฝงทะเลอาวไทย มีพื้นที่ปาชายเลนและทางน้ําสาย<br />

ใหญและเล็กมากมาย ซึ่งมีแมน้ําจันทบุรีเปนแมน้ําสายหลักของพื้นที่ การตั้งถิ่นฐานของเมืองจากอดีต จึงเกาะติด<br />

อยูตามขอบแมน้ําจันทบุรี เมื่อบานเมืองถูกพัฒนา การกอสรางที่ทันสมัยและแข็งแรงจากการใชโครงสรางคอนกรีต<br />

ปกคลุมพื้นผิวเมืองโดยทั่วไป เปนสาเหตุทําใหเกิดปญหากับระบบระบายน้ําของเมือง จากการสอบถามขอมูล<br />

เบื้องตนจากหนวยงานราชการหลายฝาย ตางสรุปรูปแบบของปญหาของพื้นที่ อยูสองปญหาหลัก คือ ปญหาน้ํา<br />

ทวมและปญหาน้ําแลง ซึ่งสาเหตุของน้ําทวมมาจากฝนตกชุกในพื้นที่ประกอบกับการระบายน้ําลาชา เนื่องจาก<br />

คลองตางๆตื้นเขิน มีผลกระทบจากการขยายตัวของเมือง และประสบกับอิทธิพลการหนุนของน้ําทะเล ปญหานี้เปน<br />

ปญหาที่เกิดขึ้นแทบทุกปปรากฏมากในพื้นที่เมือง<br />

การศึกษาจึงนี้ใหความสําคัญกับการทําความเขาใจปญหา ถึงสาเหตุและกระบวนการ อันเปนสวนสําคัญที่<br />

จะทําใหเกิดความชัดเจนในการบงชี้สาเหตุ และนําไปสูการแกปญหา, วางแผน และวางผังที่ถูกทาง จึงให<br />

ความสําคัญที่การวิเคราะหขอมูลตามชวงเวลาที่เปนหลักฐาน และใชความรูทฤษฎีทางนิเวศภูมิทัศนและอุทกวิทยา<br />

เปนฐานความรูในการศึกษาความสัมพันธและผลกระทบ โดยใชระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ เปนเครื่องมือในการ<br />

เก็บขอมูล, วิเคราะหขอมูล และประมวลผล นําไปสูการเขาใจปญหาของเมืองที่มีตอธรรมชาติ และหาทางแกปญหา<br />

หรือวางแผนโดยคํานึงถึงปญหาในการออกแบบในบทบาทของภูมิสถาปนิกและนักวางผังเมือง ในการออกแบบและ<br />

จัดการภูมิทัศนตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ อันจะนําไปสูการสรางวิธีการสําหรับการศึกษาวิเคราะหภูมิ<br />

ทัศนในเชิงการเปนบทบาทหนึ่งของกระบวนการทางอุทกวิทยา เพื่อการวางแผนภูมิทัศนใหสอดคลองกันได<br />

2.2 เพื่อศึกษากระบวนการทางอุทกวิทยา (Hydrological process) ที่ปรากฏในภูมิทัศน โดยมีพื้นที่ศึกษา<br />

คือบริเวณพื้นที่เทศบาลเมืองจันทบุรี โดยมีขอมูลเชิงพื้นที่ เชน แผนที่และขอมูลภูมิศาสตรสารสนเทศ จากสาม<br />

แหลงดวยกัน คือ 1. (ขอมูลป 2530) 2. กรมแผนที่ทหาร (ขอมูลป 2542) 3.ขอมูลจากโครงการปรับปรุงผังเมือง<br />

รวม เทศบาลเมืองจันทบุรี (ขอมูลป 2550) อันจะนําไปสูการอธิบายพฤติกรรมของกระบวนการที่สามารถนํามา<br />

ประยุกตสูการวางแผนภูมิทัศนตอไป<br />

2.3 เพื่อศึกษาผลกระทบและความสัมพันธของกระบวนการความเปนเมือง เชน การขยายตัวพื้นที่เมือง<br />

ของเทศบาลเมืองจังหวัดจันทบุรีดวยการจําแนกองคประกอบของภูมิทัศน เชน การจําแนกสิ่งปกคลุมผืนดิน (Land<br />

Cover Change) วาเปนสาเหตุของปญหาอุทกภัยของเมืองหรือไม<br />

2.4 เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ รวมถึงปจจัยตางๆที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนและ<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยาของพื้นที่ และทําความเขาใจถึงตนเหตุของปญหา โดยใชระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ<br />

รวมทั้งพื้นฐานการวิเคราะหทางอุทกวิทยาของน้ําผิวดิน ในวิชาอุทกวิทยา เปนเครื่องมือชวยในเก็บขอมูล แสดงผล<br />

และการใชในการวิเคราะหขอมูล<br />

2.5 เพื่อศึกษาโอกาสในการวางแผนพื้นที่สีเขียวของเมือง ในการบรรเทาปญหาทางอุทกวิทยาของพื้นที่<br />

ใหสอดคลองทั้งกับ กระบวนการทางธรรมชาติ และรองรับการขายตัวของเมืองและทิศทางของการพัฒนาที่อาจ<br />

เกิดขึ้น<br />

643


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อศึกษาโอกาสในการวางแผนพื้นที่สีเขียวของเมือง ในการบรรเทาปญหาทางอุทก<br />

วิทยาของพื้นที่ ดวยวิธีการที่สรางเปนแบบจําลองของการศึกษา ที่ไดจากทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของกับ<br />

การศึกษากระบวนการทางอุทกวิทยาของพื้นที่ เพื่อออกแบบพื้นที่สีเขียวใหสอดคลองกับกระบวนการทางอุทก<br />

วิทยาที่ปรากฏ และศึกษาความสัมพันธระหวางกระบวนการความเปนเมือง กับกระบวนการทางอุทกวิทยา อันเปน<br />

การคนหาสาเหตุของปญหาการประสบภัยธรรมชาติที่แทจริง โดยมีพื้นที่ศึกษาคือ บริเวณเทศบาลเมือง จังหวัด<br />

จันทบุรี ดวยขอมูล เชน ภาพถายทางอากาศ และแผนที่ทางภูมิศาสตรที่ไดรับการบันทึกจากหนวยงานที่ไดรับ<br />

ความเชื่อถือ เพื่อศึกษารูปแบบที่แสดงถึงเอกลักษณของภูมิทัศนดานอุทกวิทยาของพื้นที่และวางแผนใหสอดคลอง<br />

กัน<br />

วิธีการศึกษานี้ไดประยุกตกระบวนการวางแผนตามวิธีของ BMPs ที่มีความใกลเคียงกับจุดประสงคการ<br />

วิจัยนี้ ใหสอดคลองกับกระบวนการศึกษาวิจัย มี 5 ขั้นตอนคือ 1.ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล 2.ขั้นตอน<br />

การศึกษาวิธีการวิเคราะหจากการทบทวนวรรณกรรม 3.สรางแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห 4.สังเคราะหขอมูลที่ได<br />

จากการวิเคราะห และ5.สรุปผลการวิจัย<br />

การดําเนินการศึกษา เริ่มจากรวบรวมขอมูลจากหนวยงานราชการที่เก็บขอมูลที่เกี่ยวของ เชน ภาพถาย<br />

ทางอากาศจากกรมแผนที่ทหาร เปนตน เพื่อนําขอมูลที่ไดมาสรางแบบจําลองโดยมีทฤษฎีที่สําคัญคือ การวาง<br />

แผนภูมิทัศน (Landscape planning) เพื่อประยุกตสรางหลักการในการศึกษา, ทฤษฎีการจําแนกคุณลักษณะภูมิ<br />

ทัศน (Landscape characterization) เพื่อใชวิเคราะหในขั้นตอนการศึกษาขีดจํากัดดานอุกวิทยาของภูมิทัศน, และ<br />

ประยุกตพื้นฐานความรูทางอุทกวิทยา (Hydrology) เพื่อใชอธิบายพฤติกรรมและกระบวนการที่เกิดขึ้นทั้งเชิง<br />

ปริมาณและเชิงคุณภาพ<br />

การวิเคราะหพื้นที่ศึกษาเริ่มตนศึกษาในเชิงพื้นที่ โดยมีเปาหมายเพื่อบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน<br />

พื้นที่เปาหมายคือบริเวณเทศบาลเมืองจันทบุรีเปนหลัก จากการศึกษาพบวา พื้นที่ศึกษาตั้งอยูในพื้นที่รับน้ําภาค<br />

ตะวันออก ในเขตอําเภอเมืองปรากฏพื้นที่รับน้ํายอย 6 พื้นที่ สองฝากแมน้ําจันทบุรี ฉะนั้น น้ํานําเขา (input water)<br />

ไดมาจากสามแหลงดวยกัน คือ 1.จากฝนตกในพื้นที่รับน้ําทั้ง6 มีปริมาณเฉลี่ย 25.68 มม.ตอวัน, 2.จากแมน้ํา<br />

จันทบุรี มีขอบตลิ่งฝงขวาสูง 3.61 ม.และฝงซายสูง 4.02 ม. อัตราการไหลสูงสุดในแมน้ ําจันทบุรี ณ บริเวณพื้นที่<br />

ศึกษาไมสามารถวัดคาไดแนนอนจากสถิติกรมชลประทาน เนื่องจาก คาที่วัดไดจากสถานีตรวจ มักไดรับอิทธิพล<br />

การหนุนจากน้ําทะเล คาอัตราการไหลจึงมีคาลดลงจากปจจัยนี้ และ 3.น้ํานําเขาที่ไหลมาจากน้ําทาที่ไหลมาจาก<br />

พื้นที่ที่สูงกวาสูพื้นที่ที่ต่ํากวา แลวไหลออกจากพื้นที่ ณ จุดไหลออกนอกพื้นที่รับน้ํานั้นๆ<br />

พื้นที่รับน้ํา N1<br />

พื้นที่รับน้ํา S1<br />

พื้นที่รับน้ํา S2<br />

พื้นที่รับน้ํา N2<br />

พื้นที่รับน้ํา S3<br />

พื้นที่รับน้ํา S4<br />

รูปที่ 3 พื้นที่รับน้ําที่ปรากฏในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จ.จันทบุรี<br />

644


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ในการศึกษากระบวนการทางอุทกวิทยา สามารถนําขอมูลขางตนไปสรางแบบจําลอง ของพื้นที่รับน้ํา<br />

(Hydrological Model) ไดสามแบบจําลอง จาก input water ที่แตกตางกัน (ประกอบ วิโรจนกูฏ, 1996) เพื่อความ<br />

งายตอการมองภาพรวมระบบอุทกวิทยาของพื้นที่ศึกษา โดยการวิจัยนี้ไดเลือกสรางแบบจําลองจาก input water<br />

แบบที่ 1 คือจากน้ําฝนที่ตกในพื้นที่ เนื่องจากสามารถเจาะจงแหลงที่มาและปริมาณของน้ํานําเขา (input water)<br />

และน้ํานําออก (output water) ของพื้นที่รับน้ําได อีกทั้งผลตางของปริมาณน้ํานําเขาและน้ํานําออกนี้ ซึ่งเปนผลจาก<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยาในระบบยอย นั่นคือ การซึมลงดิน, การระเหย, การคายระเหยน้ํา, และการกักเก็บที่ผิว<br />

ดิน อันแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางกระบวนการทางอุทกวิทยากับภูมิทัศนอยางชัดเจน ดวยการศึกษา<br />

ความสัมพันธของปริมาณน้ําฝน, น้ําทา, และลักษณะทางกายภาพของพื้นที่รับน้ําในเชิงปริมาณจากพื้นฐานวิชา<br />

อุทกวิทยา<br />

เนื่องดวยขอจํากัดในการศึกษา ในเรื่องขอมูลและระยะเวลาในการศึกษา จึงไมสามารถศึกษาการวางแผน<br />

พื้นที่สีเขียวไดทั้งหมด 6 พื้นที่รับน้ํา ในการศึกษาครั้งนี้จึงเลือกตัวอยางพื้นที่รับน้ําที่เปนตัวแทนพื้นที่ที่มีโอกาส<br />

ไดรับผลกระทบ คือ 1.พื้นที่รับน้ํารหัส N2 ในฝงเหนือแมน้ําจันทบุรี มีลักษณะเปนที่ราบลุมแมน้ํา ลอมรอบดวย<br />

เทือกเขาขนาดเล็กเปนตัวกําหนดขอบเขต มีลําน้ําสายหลักคือ คลองน้ําใส และลําน้ําสายยอยอีก 5 สาย มีพื้นที่รับ<br />

น้ําทั ้งหมด 29.24 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมบางสวนของเทศบาลเมือง และบางสวนของตําบลบางกระจะ เปน<br />

พื้นที่เมืองที่ไมหนาแนน ไมใชตัวเมืองชั้นใน และยังมีโอกาสในการพัฒนาขยายตัวของพื้นที่เมืองออกไปได อีกทั้ง<br />

ยังเปนพื้นที่ชั้นตน ของพื้นที่รับน้ํา ซึ่งทางปลายน้ําเปนพื้นที่เปาหมายคือเทศบาลเมือง จึงมีโอกาสในการจัดหา<br />

พื้นที่เพื่อกําหนดใหเปนพื้นที่สีเขียวสําหรับการบรรเทาผลกระทบจากอุทกวิทยาได อีกทั้งจากการศึกษา รูปแบบ<br />

การไหล (Drainage pattern) ดวยระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ ไดแสดงถึงความขัดแยงกันขององคประกอบทางภูมิ<br />

ทัศนเมืองคือ ถนนและตัวอาคาร กับ รูปแบบการไหลที่ไดจากการวิเคราะห กลาวคือ พื้นที่เมืองซึ่งประกอบไปดวย<br />

ตัวอาคารและเสนทางถนน วางตัวขัดขวางกับรูปแบบการไหลอยางเห็นไดชัดเจน อีกทั้งยังมีการวางอาคารทับจุด<br />

รวมน้ําในบางพื้นที่ ทําใหสามารถสรุปไดวาพื้นที่รับน้ํารหัส N2 มีโอกาสที่จะไดรับผลกระทบทางอุทกวิทยา เหมือน<br />

พื้นที่อื่นทั่วๆไป และ 2.พื้นที่รับน้ํารหัส S3 ในฝงใตแมน้ําจันทบุรี มีลักษณะเปนที่ราบลุมริมฝงแมน้ําจันทบุรี<br />

ระหวางแมน้ําจันทบุรีกับตีนเทือกเขาสระบาป ลอมรอบดวยลําน้ําหลักหาสายคือ คลองหนองน้ํา คลองขา คลอง<br />

ดาวเรือง คลองพลับพลา และคลองโปงแรด เปนตัวกําหนดขอบเขตของพื้นที่รับน้ํานี้ มีเนื้อที่ประมาณ 7.47 ตาราง<br />

กิโลเมตร ตั้งอยูในบริเวณบางสวนของพื้นที่เทศบาลเมือง บางสวนของตําบลพลับพลา และบางสวนของตําบลจันท<br />

นิมิต พื้นที่รับน้ํารหัส S3 นี้เปนพื้นที่ที่ยังปรากฏปญหาน้ําทวมขังในพื้นที่แองกระทะ บริเวณปลายทางน้ําออก และ<br />

ประกอบกับเปนริมฝงดานใตแมน้ําที่มีระดับต่ํากวาอีกฝง ปริมาณน้ําจากฝงที่สูงกวาจึงไหลมารวมกัน เมื่อเกิดฝนตก<br />

ในพื้นที่ พื้นที่นี้จึงประสบปญหาทั้งการระบายน้ําลาชาจากปริมาณน้ําที่มากเกิน และปญหาน้ําทวมขังในพื้นที่แอง<br />

กระทะ การศึกษานี้ จึงเลือก พื้นที่รับน้ํารหัส S3 นี้เปนตัวแทนพื้นที่ศึกษาในการวางแผนเพื่อบรรเทาอุทกภัย ใน<br />

กรณีเพื่อการแกปญหาของพื้นที่เอง<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากการวิเคราะหศักยภาพทางดานอุทกวิทยาดวยพื้นฐานวิชาอุทกวิทยา พบศักยภาพทางดานอุทก<br />

ศาสตรที่ดี กลาวคือ สามารถระบายน้ําออกจากพื้นที่ได โดยสังเกตไดจากคา Time of concentration เปนคาที่<br />

แสดงถึงชวงเวลาที่จะเกิดอัตราการไหลสูงสุดของลุมน้ํา เพราะไดรับน้ําจากทุกสายมารวมกัน มีความสัมพันธกับ<br />

อัตราสวนระหวาง pervious area : impervious area กลาวคือ ถาอัตราสวนพื้นที่ ที่น้ําซึมผานไมไดมีมาก ก็จะทํา<br />

ให ชวงเวลาที่น้ําไหลมายังจุดออกมีนอยลง และทําใหมี direct runoff เพิ่มขึ้นดวย ซึ่งในพื้นที่ศึกษาตัวอยาง N2<br />

และ S3 ไดแสดงวา ที่ในปริมาณน้ําฝน 25.68 มม.ตอวัน พื้นที่ศึกษาสามารถดูดซึมน้ําใหเหลือ Direct runoff<br />

645


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ชุดดิน D<br />

พื้นที่ N2 พื้นที่ S3<br />

ชุดดิน C<br />

ชุดดิน A<br />

ชุดดิน D<br />

ชุดดิน C<br />

30<br />

ที่ดินเกษตรกรรม<br />

25<br />

ที่ดินเกษตรกรรม<br />

25<br />

20<br />

พื้นที่ราบหรือทุง<br />

หญาเลี้ยงสัตว<br />

ที่ราบโลง หรือ<br />

ทุงหญา<br />

พื้นที่ปา<br />

20<br />

พื้นที่ราบหรือทุง<br />

หญาเลี้ยงสัตว<br />

ที่ราบโลง หรือ<br />

ทุงหญา<br />

พื้นที่ปา<br />

15<br />

พื้นที่เปดโลง<br />

สาธารณะ<br />

พื้นที่คาขาย<br />

15<br />

พื้นที่เปดโลง<br />

สาธารณะ<br />

พื้นที่คาขาย<br />

พื้นที่อุตสาหกรรม<br />

10<br />

พื้นที่อุตสาหกรรม<br />

10<br />

พื้นที่พักอาศัย<br />

พื้นที่พักอาศัย<br />

พื้นที่จอดรถ<br />

5<br />

พื้นที่จอดรถ<br />

5<br />

0<br />

ชุดดิน D ชุดดิน C ชุดดิน A<br />

ถนนและเสนทาง<br />

การสัญจร<br />

เสนทางน้ํา<br />

0<br />

ชุดดิน D<br />

ชุดดิน C<br />

ถนนและเสนทาง<br />

การสัญจร<br />

เสนทางน้ํา<br />

รูปที่ 4 แสดงอัตราสวนชุดดินและการใชที่ดินในพื้นที่ศึกษาตัวอยาง N2 และ S3 ตามลําดับ<br />

เพียง 1.3150 มม.ในพื้นที่ศึกษารหัส N2 และ 6.0270 มม. ในพื้นที่ศึกษารหัส S3 ซึ่งถือวามีปริมาณนอยมากเมื่อ<br />

เทียบปริมาณฝนที่ตกมาทั้งหมด เนื่องจากอัตราสวนระหวางพื้นที่ที่น้ําสามารถซึมผานไดตอพื้นที่ที่น้ําไมสามารถ<br />

ซึมผานไดมีสัดสวนมาก เอื้อใหมีโอกาสที่น้ําฝนจะซึมลงไดมาก ลดโอกาสเกิดน้ําทาปริมาณมากได และสามารถ<br />

คาดการณไดวาทั้งสองพื้นที่ศึกษา มีโอกาสในการเพิ่มพื้นที่ pervious area ไดมากขึ้น หมายถึงสามารถพัฒนาภูมิ<br />

ทัศนใหกลายเปนเมืองไดมากขึ้นดวย<br />

เมื่อศึกษาพบศักยรูปที่ดีดานการซึมน้ําของภูมิทัศนนี้ จึงสามารถสรุปสาเหตุที่แทจริงของผลกระทบจาก<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยา ที่เกิดขึ้นบริเวณเทศบาลเมืองจันทบุรี คือ ตําแหนงที่ตั้ง หรือลักษณะทางภูมิประเทศ<br />

ของพื้นที่ที่เปนแองกระทะ ทําใหรวบรวมน้ําฝนที่ตกในพื้นที่ และน้ําทาจากพื้นที่รับน้ําใกลเคียงที่สูงกวา ไหลมา<br />

รวมกันในสวนต่ําสุดแลวขังอยู รอเวลาเพื่อระบายน้ําปริมาณมากออกสูแมน้ําจันทบุรี ซึ่งเวลาในการไหลออกนี้มีคา<br />

เกินกวาคา Time of concentration แนนอน จึงทําใหการกักขังนี้เปนสิ่งรบกวนการดําเนินกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่<br />

ที่เปนพื้นที่เมืองนี้<br />

จากวิธีการการศึกษาขางตน เปนการวิเคราะหความสัมพันธของลักษณะทางกายภาพของภูมิทัศนกับ<br />

กระบวนการทางอุทกวิทยา ฉะนั้น จึงสามารถตอบคําถามของการวิจัยไดวา กระบวนการความเปนเมือง มีผลตอ<br />

การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางอุทกวิทยา และการเปลี่ยนแปลงนี้เปนสวนหนึ่งของสาเหตุของปญหาน้ําในพื้นที่<br />

เมือง เชน การเปลี่ยนแปลงประเภทสิ่งปกคลุมผืนดินและการปรับเปลี่ยนโครงสรางเสนทางการระบายน้ํา เปนสวน<br />

หนึ่งของสาเหตุของปญหาอุทกภัยในพื้นที่เมือง ฉะนั้น จากสาเหตุขางตนนี้ ทําใหสามารถมองเห็นโอกาสในการ<br />

วางแผนพื้นที่สีเขียว ในลักษณะของการสรางพื้นที่ที่มีบทบาทเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงภูมิทัศนขยายตัวของเมืองสําหรับอนาคต จากการศึกษาโครงขายการระบายน้ําตามธรรมชาติ เพื่อ<br />

เลือกกําหนดตําแหนงที่เหมาะสม<br />

ในกระบวนการทางอุทกวิทยานั้น หนาที่ในเชิงพื้นที่ของภูมิทัศน แบงไดเปน สามพื้นที่หลัก คือ พื้นที่<br />

ขอบเขตการรับน้ํา (Contributing zone), พื้นที่รวบรวมน้ํา (collection zone), และพื้นที่เสนทางน้ําไหล<br />

(Conveyance zone) มีหนาที่ในกระบวนการแตกตางกันไป พื้นที่ที่เหมาะสมแกการพัฒนาเปนชุมชนคือ พื้นที่<br />

ขอบเขตการรับน้ํา เพราะไดรับผลกระทบจากน้ําทานอยที่สุด ในขณะที่พื้นที่ตําแหนงที่เหมาะสมเพื่อกําหนดใหเปน<br />

พื้นที่สีเขียวเพื่อรองรับกระบวนการทางอุทกวิทยาคือ พื้นที่รวบรวมน้ํา เพราะสามารถระบายน้ําเชื่อมตอสูพื้นที่<br />

646


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เสนทางน้ําไหลโดยตรง มีลักษณะพิเศษคือเปนจุดรวบรวมน้ําจากสายอื่นมาบรรจบกัน และเชื่อมตอกัน ฉะนั้น<br />

พื้นที่สีเขียวที่ปรากฏนี้ จะมีลักษณะเปนเสนทางเชื่อมตอจากจุดรวบรวมหนึ่ง ไปสูอีดจุดรวบรวมหนึ่งเปนโครงขาย<br />

ตามรูปแบบการไหล (Drainage pattern) ที่สอดคลองกับความชันของภูมิทัศน (Marsh, 2005)<br />

จากการวิเคราะหดวยระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ ในพื้นที่ N2 มีจุดรวบรวมน้ําที่สามารถเชื่อมโยง<br />

โครงขายเพื่อรองรับผลกระทบไดทั้งหมด 1,508 จุดมีความยาวของโครงขาย137,237.84 เมตร และในพื ้นที่ S3 มี<br />

จุดรวบรวมน้ําที่สามารถเชื่อมโยงโครงขายเพื่อรองรับผลกระทบไดทั้งหมด 339 จุดมีความยาวของโครงขาย<br />

30,189.722776 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 5<br />

จุดรวบรวมน้ําจุดตางๆ ที่สามารถวิเคราะหไดนี้ จะมีหนาที่ใชสอย (Function) แตกตางกันไป กลาวคือ<br />

สามารถแบงประเภทไดเปนสามลักษณะคือ บอหนวงน้ํา (Detention pond) มีลักษณะเปนพื้นที่รับน้ําที่ชวยในการ<br />

ชะลอน้ํากอนเขาสูพื้นที่ชุมชน มีการกักขังอยูชวงหนึ่ง จึงสามารถใชเปนพื้นที่เพื่อการนันทนาการได ในชวงที่ไมมี<br />

การรับน้ํา, บอกักเก็บน้ํา (Retention pond) เปนพื้นที่เพื่อการกักเก็บ รวมทั้งกระจายการรับน้ําที่เขามาในพื้นที่<br />

ชุมชน และเนื่องจากเปนพื้นที่ที่มีน้ําขังตลอด จึงจําเปนตองมีการวางแผนการจัดการน้ําที่เหมาะสม , และบอซึมน้ํา<br />

(Infiltration Pond) เปนพื้นที่เปนพื้นที่พักน้ําที่น้ําสามารถซึมผานไดดวยการใชวัสดุธรรมชาติ และอาจมีการจัดทํา<br />

ระบบระบายน้ําใตดิน (Sub drain) รวมดวยการใชพืชพันธุเพื่อการบําบัดคุณภาพน้ํา กอนที่จะปลอยน้ําสูทางน้ํา<br />

สาธารณะตอไป (Fletcher, 2005)<br />

จากการวิเคราะห ในพื้นที่ N2 สามารถจําแนกจุดรวบรวมน้ําเปน บอหนวงน้ํา , บอกักเก็บน้ํา, และบอซึม<br />

น้ํา ไดมีจํานวน 366 จุด, 816 จุด, 386 จุด ตามลําดับ และในพื้นที่ S3 สามารถจําแนกไดมีจํานวน 53 จุด, 192 จุด,<br />

90 จุด ตามลําดับ โดยกําหนดจากตําแหนงที่สัมพันธกับตําแหนงชุมชน กลาวคือ การกําหนด บอหนวงน้ํา เลือกใช<br />

พื้นที่ที่อยูกอนตําแหนงชุมชน, บอกักเก็บน้ําใชพื้นที่ที่อยูภายในชุมชน, และบอซึมน้ําจะอยู ณ ตําแหนงปลายทาง<br />

ออกจากชุมชน โดยจุดรับน้ําทั้งสามประเภทนี้ ตั้งอยู ณ เสนทางการไหลที่ไดจากการวิเคราะห ดวยระบบ<br />

ภูมิศาสตรสารสนเทศ<br />

M01 ภาพถายทางอากาศ<br />

M02 Steams & water bodies<br />

M03 Roads<br />

M04 Contours<br />

M05 Land use<br />

M08 Drainage patterns<br />

M09Pervious cover<br />

รูปที่ 5 เสนทางสีเขียวในพื้นที่ศึกษา N2 และ S3 จากวิธีการ Overlay ขอมูล<br />

647


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 6 แบบจําลองพื้นที่สีเขียวตัวอยาง ภายในพื้นที่ศึกษา S3<br />

การวางแผนการจัดการทรัพยากรน้ํานี้ มีผลทําใหสามารถชะลอน้ําทาจากพื้นที่สูง ที่จะเขามาสูพื้นที่เมือง<br />

ได ทําใหมีคา Time of concentration มากขึ้น อีกทั้งโอกาสในการวางโครงขายที่ไดยังนําประโยชนมาสูการ<br />

แกปญหาน้ําทวมขังในพื้นที่ศึกษา S3 ซึ่งสามารถเปนพื้นที่กระจายการกักเก็บน้ําฝนในพื้นที่สูง และเปดโอกาสให<br />

ปริมาณน้ําซึมลงดิน จะสงผลทําใหคา direct runoff นอยลงดวย<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

5.1.จากการศึกษานี้ทําใหพบความสัมพันธและผลกระทบระหวางกระบวนการความเปนเมือง<br />

(Urbanization) ที่สงผลตอกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภูมิทัศน โดยใหความสําคัญที่กระบวนการทางอุทก<br />

วิทยา โดยพบวา กระบวนการความเปนเมืองเปนหนึ่งในปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนและสงผล<br />

กระทบถึงกระบวนการทางอุทกวิทยา โดยมีสาเหตุจากการขยายตัวของเมืองเพื่อรองรับกิจกรรมที่มากขึ ้นของตัว<br />

เมือง โดยไมสอดคลองกับเสนทางที่ธรรมชาติสรางไว (corridor) โดยสังเกตไดจากการตัดกันของเสนทางถนนที่<br />

ขวางเสนทางการไหลของน้ําทําใหเกิดปญหาในเรื่องการระบายน้ําขึ้น<br />

5.2.ผลจากการศึกษาทําใหสามารถกําหนดตําแหนงที่สอดคลองกับกระบวนการทางอุทกวิทยา อันเปน<br />

ตําแหนงที่ไดจากการวิเคราะหเชิงพื้นที่มีความสัมพันธกับภูมิทัศน เพราะเปนตําแหนงที่ภูมิทัศนรองรับกระบวนการ<br />

ทางอุทกวิทยานั้นอยู จึงเจาะจงกําหนดพื้นที่เพื่อกันไวเปนพื้นที่อนุรักษทางอุทกศาสตร สามารถเปนพื้นที่รองรับ<br />

กระบวนการที่จะเกิดขึ้น อีกทั้งเพื่อการปรับปรุงภูมิทัศนเมืองและผังเมืองรวม โดยสามารถใชพื้นที่เหลานี้ ในแงของ<br />

พื้นที่นันทนาการและการพักผอนไดดวย<br />

648


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.3. จากการศึกษาถึงความสัมพันธระหวาง ภูมิทัศนเมืองและกระบวนการทางอุทกวิทยา ทําใหทราบ<br />

สาเหตุของปญหาระหวางน้ําและเมือง วามีความสัมพันธกันในเชิงพื้นที่ กลาวคือ เสนทางน้ํานั้นไหลจากที่สูงสูที่ต่ํา<br />

กวา เมื่อเสนทางน้ําผานตัวเมือง หรือในภูมิทัศนที่มีมนุษยจับจอง จะทําใหคุณภาพน้ําดอยลงไป จึงใชเหตุผลขอนี้<br />

ในการกําหนดคุณลักษณะเบื้องตนของพื้นที่สีเขียว ในดานประโยชนใชสอย (Functional value) กลาวคือ มีการ<br />

กําหนดหนาที่ของพื้นที่สีเขียวที่ปรากฏเพื่อรองรับกระบวนการทางอุทกวิทยาที่ตางกันไป เชน การใชพื้นที่สีเขียว<br />

เปนพื้นที่ชะลอน้ําที่จะเขาสูตัวเมือง หรือ รวบรวมน้ําเพื่อบําบัดกอนปลอยสูธรรมชาติ หรือ เปนพื้นที่ใหน้ําซึมลงสู<br />

ผืนดินได เพื่อเปนแนวทางในการออกแบบภูมิทัศนหรือพื้นที่สีเขียวที่จะเกิดขึ้นนี้<br />

5.4. จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎี ทําใหตระหนักไดถึงความสําคัญของกระบวนการทางธรรมชาติกับ<br />

การออกแบบภูมิทัศน วามีผลกระทบสงถึงกันเสมอ กระบวนการและวิธีการเพื่อการวางแผนภูมิทัศน ในมุมมองเพื่อ<br />

การควบคูกันทั้งการพัฒนาและการอนุรักษ เปนสิ่งสําคัญในการพัฒนาภูมิทัศน โดยเปาหมายของการศึกษานี้คือ<br />

การสรางความสอดคลองใหเกิดขึ้น อนึ่ง จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎี ไดคนพบวิธีการที่เหมาะสมและเปน<br />

ขั้นตอน ตามวัตถุประสงคและเปาหมายของการวิจัย โดยสามารถแจกแจงขั้นตอนไดดังนี้<br />

ขั้นที่ 1 รวบรวมขอมูลของพื้นที่ศึกษา<br />

- ขอมูลที่จําเปนคือ ภาพถายทางอากาศ, ขอมูลเสนทางและพื้นที่เก็บน้ํา, ขอมูลเสนทางถนน,<br />

ขอมูลชั้นความสูง, ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน, ขอมูลชนิดกลุมดิน<br />

- สรางแบบจําลองของพื้นที่รับน้ํา ตามที่มาของน้ํานําเขา (Input water) เพื่อความงายตอการ<br />

มองภาพรวมของการศึกษา<br />

- กําหนดขอบเขตการศึกษา โดยยึดตามขอบเขตการรับน้ําที่ปรากฏในภูมิทัศน<br />

ขั้นที่2 ศึกษารูปแบบการไหลในเชิงพื้นที่ เชน เสนทางการไหล พื้นที่ที่มีบทบาทในกระบวนการ เพื่อเปน<br />

ขอมูลสําหรับการวางแผนพื้นที่สีเขียวตอไป<br />

ขั้นที่ 3 ศึกษาศักยภาพของภูมิทัศน ในกระบวนการทางอุทกวิทยา ดวยพื้นฐานวิชาทางอุทกวิทยา เชน<br />

ชวงเวลาการไหลออก หรือ คาปริมาณตางๆ ที ่สําคัญ<br />

ขั้นที่ 4 นําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหมาวางแผนภูมิทัศน<br />

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผลการวางแผน ดวยการศึกษาการเปลี่ยนแปลง เชนการทําแบบจําลองศึกษาศักยภาพ<br />

เพื่อใชเปนเปาหมายในการวางแผน<br />

ขั้นที่ 6 พัฒนาสูการวางผังและการออกแบบรายละเอียด โดยผนวกผลการวิเคราะหปจจัยอื่นๆรวมดวย<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Black, Peter E. Watershed Hydrology: second edition. New York: CES PRESS LLC,<br />

1996.<br />

- Clar, Michael L. Billy J. Barfield and Thomas P. O’Connor. Stormwater Best<br />

Management Practice Design Guide. OHIO: National risk management research<br />

laboratory, Office of research and development U.S. Environmental Protection Agency<br />

Cincinnati, 2004.<br />

- Damm, Thomas and Luna B. Leopold. Water in Environmental Planning. New York:<br />

W.H. Freeman and Company, 1998.<br />

- Fletcher, Tim and Ana Deletic. Water Sensitive Urban Design Engineering Procedures:<br />

Stormwater. Melbourne: CSIRO PUBLISHING, 2005.<br />

649


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Hall, M.J. Urban Hydrology. New York: Elsevier Science Publishing Co.,INC, 1984.<br />

- Marsh, William M. Landscape Planning: Environmental Applications (Fourth Edition).<br />

New Jersey: John Wiley & Sons, Inc, 2005.<br />

- Spirn, Anne Whiston. The Granite Garden: Urban Nature and Human Design. New York:<br />

Basic books, 1984.<br />

- Turner, Tom. Greenways, Blueway, Skyways, and other ways to a better London.<br />

Landscape and Planning, pp.268 – 282. Elsevier Science B.V., 1995.<br />

- ประกอบ วิโรจนกูฏ. อุทกวิทยาของน้ําผิวดิน. ขอนแกน: คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน, 1996.<br />

650


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โครงสรางของระบบนิเวศภูมิทัศน และ การบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน กรณีศึกษา<br />

ลําประโดงและรองสวนในโครงขายเสนทางน้ํา คลองออมนนท บางใหญ, นนทบุรี<br />

Landscape Ecological Structure and Ecological Service Case Study:<br />

The Irrigation Ditches and Orchard’s Ditches in a Canal Network,<br />

Omm-Nont Canal, Bang-Yai, Nonthaburi<br />

หญิง ผโลปกรณ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กทม. 10330<br />

บทคัดยอ<br />

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นตลอดเวลาและเชื่อมโยงกับปรากฎการณและระบบนิเวศที่<br />

ซับซอนทั้งในดานการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ เชนการเปลี่ยนแปลงเปนเมืองของพื้นที่ลุม เชิงนิเวศภูมิทัศนในดาน<br />

ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นสงผลใหเกิดความเสียหายกับ ประสิทธิภาพของโครงสรางภูมิทัศน ในดานความ<br />

ยืดหยุนในการใชพื้นที่ที่สอดคลองความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ และสงผลตอความรุนแรงของผลกระทบที่<br />

ตามมาเชน ปญหาน้ําทวมที่เพิ่มขึ้น ยิ่งกวานั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกยัง<br />

อาจสงผลใหความเสียหายที่เกิดขึ้นขยายตัว และรุนแรงมากขึ้น<br />

งานวิจัยนี้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและบทบาทของระบบนิเวศภูมิทัศน ที่มีความเกี่ยวของกับน้ํา<br />

ในลักษณะของภูมิทัศนเกษตรกรรมแบบรองสวน บริเวณคลองออมนนท จ.นนทบุรี ซึ่งลักษณะโครงสรางของพื้นที่<br />

ในลักษณะของโครงขายทางน้ํา เกิดขึ้นจากความตองการน้ําเพื่อใชในการเกษตร และการควบคุมระดับน้ํา โดย<br />

สามารถดึงน้ําเขามาใชและระบายน้ําออกไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวย ลําประโดง และรองสวน การวิจัยนี้มี<br />

จุดมุงหมาย เพื่อบงชี้ จําแนก และ อธิบายกระบวนการทางภูมิทัศน (Process) และ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น<br />

ของทางน้ําที่เปนลักษณะโครงขาย และ การเชื่อมโยงกัน (Network and Connectivity)<br />

การเปลี่ยนแปลงของโครงขายทางน้ําในพื้นที่ศึกษาเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนประเภทของการใชที่ดินเดิม<br />

และการพัฒนาพื้นที่อยางไมเหมาะสมกับสภาพภูมิทัศนของพื้นที่ลุม ละเลยความสําคัญของโครงขายทางน้ํา ทําให<br />

ลักษณะโครงสรางภูมิทัศนทางกายภาพถูกเปลี่ยนแปลงขาดความเชื่อมตอ และการกระจายตัวของโครงขาย ทําให<br />

ไมมีประสิทธิภาพตอพื้นที่เกษตรกรรม และยังมีผลตอสภาวะน้ําทวมขังในพื้นที่ เพื่อชี้ใหเหนวา การวางแผน การใช<br />

ประโยชนที่กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงใดๆที่เกิดขึ้นกับโครงสรางของภูมิทัศนจึงตองคํานึงถึงความสําคัญ และ<br />

รักษาประสิทธิภาพของการไหลเวียนของน้ําในของโครงขายเหลานี้ไว<br />

นอกจากนี้โครงสรางของพื้นที่เกษตรกรรมและโครงขายทางน้ํานี้ยังมีศักยภาพในการพัฒนาเปนพื้นที่ใน<br />

การซับน้ําและหนวงน้ําในฤดูฝน และเปนที่เก็บน้ําในฤดูแลง<br />

คําสําคัญ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โครงสรางภูมิทัศนพื้นที่เกษตรกรรม โครงขายและประสิทธิภาพ<br />

ทางน้ํา ความยืดหยุน และการปรับตัวของมนุษย<br />

651


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Climate is perpetually and cyclically changes. Climate change also connects with other<br />

phenomena and complex ecosystems including landscape changes. The landscape ecological changes of<br />

urbanization in the lowland damage the efficiency of indigenous landscape structures in terms of<br />

resilience of land utilization with natural fluctuations. Moreover the changes amplify the severity of the<br />

effects of changes such as urban flooding. Considering the global climate change, the impacts of changes<br />

may increase in terms of severity and extent.<br />

Focusing on studying landscape ecological structure and function in relation to water resource, the<br />

raised bed system of agricultural landscape in the area of Omm-Nont canal Nonthaburi was selected as a<br />

research site to study the methods of identification, characterization and explanation of landscape<br />

ecological processes of canals and waterway networks and changes in the area.<br />

This study used aerial photographs of 1952 and 2002 combining with field survey and orchards<br />

owners interview to build landscape ecological structure maps to identify, characterize and compare<br />

patterns of canal and waterway networks as a landscape ecological structure of the area. Also this study<br />

analyzed the impact of changes under the framework of landscape ecology and landscape ecological<br />

network analysis.<br />

Changes in canal and waterway networks caused by land use and land cover changes can be<br />

characterize as decreasing in water flow, lack of connectivity, lack of accessibility to water resource,<br />

decreasing in water supply to orchards and flooding. These changes not only affected the productivity of<br />

the orchards but also the existence of the orchards. Any changes proposed in this area need to prioritize<br />

the water network and connectivity as an important and critical issue and comprehensively integrate the<br />

water issue in the planning and design process.<br />

The structure of raised bed system and water network in agricultural areas can benefit in<br />

absorbing and retaining water during the wet season and dry season.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเปลี่ยนแปลงการใชงานพื้นที่ที่เห็นไดชัดเจนในปจจุบันคือการขยายตัวของเมือง พบวาเปน<br />

ปรากฎการณที่เกิดขึ้นหลายพื้นที่และขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นสงผลกระทบอยางมากตอ<br />

ลักษณะทางกายภาพของของโครงสรางภูมิทัศน (Landscape Structure) ทั้งในพื้นที่เกษตรกรรมเองและพื้นที่<br />

โดยรอบ การเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่เหลานี้จึงมีผลกับประสิทธิภาพการรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในปจจุบัน<br />

การศึกษาโครงสรางภูมิทัศนในงานวิจัยนี้ เปนจุดเริ่มตนในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม<br />

ที่เกิดขึ้นโดยใชการอธิบายถึงองคประกอบของภูมิทัศน ในกรอบแนวคิดของนิเวศภูมิทัศน (Landscape Ecology)<br />

โดย Richard TT. Forman (1986) ใหนิยามไววาคือ ลักษณะทางกายภาพตางๆ ที่ประกอบกันเปน องคประกอบ<br />

ของระบบนิเวศ และมาประกอบกันขึ้นเปนแบบแผนทางกายรูปที่ปรากฎในภูมิทัศน ซึ่งอาจจะเปนผลมาจากปจจัย<br />

ตางๆ ของภูมิทัศน หรือปฏิสัมพันธและกระบวนการตางๆที่เกิดขึ้น จากกระบวนการขยายตัวของเมืองที่เกิดขึ้นเปน<br />

การเปลี่ยนแปลงโครงสรางภูมิทัศน โดยสงผลทั้งการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพและกระบวนการในภูมิทัศน<br />

652


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นั้น การขยายตัวของเมืองที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของโครงสรางภูมิทัศนที่เห็นไดชัดเจนและเกิดขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่องในปจจุบัน คือการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เกษตรกรรมกลายเปนพื้นที่เมือง การถมทับพื้นที่เพื่อขยายที่พัก<br />

อาศัยจากเขตเมืองและเปลี่ยนแปลงลักษณะสิ่งปกคลุมผิวดิน (Land Cover) จากเดิมที่เปนพื้นที่เกษตรกรรม<br />

ในอดีตพื้นที่เกษตรกรรมแบบรองสวน เกิดขึ้นจากการปรับปรุงโครงสรางของพื้นที่ (Land reclamation)<br />

เพื่อใหสามารถสรางผลผลิตไดในพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลงของการขึ้น-ลงของน้ํา (Takaya,1987) และมีโครงสราง<br />

ทางภูมิทัศนที่เปนลักษณะเฉพาะ ในการนําทรัพยากรน้ําเขามาใชเพื่อทําการเกษตร และความจําเปนในการควบคุม<br />

ระดับน้ํา เพื่อสามารถดึงน้ําเขามาใชเพียงพอและระบายน้ําออกไดอยางรวดเร็ว องคประกอบของโครงสรางภูมิ<br />

ทัศนที่มีบทบาทในการทําหนาที่การถายเทน้ําเขา-ออก กักเก็บน้ําเพื่อใชในการเกษตรคือโครงขายของทางน้ํา และ<br />

พื้นที่รองสวน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงองคประกอบทางภูมิทัศน คือโครงขายทางน้ํา ยอมสงผลตอการเปลี่ยนแปลง<br />

ของระบบการหมุนเวียนทรัพยากรน้ําในพื้นที่อยางมาก ดังนั้นการวิจัยนี้จึงตองการอธิบายปรากฏการณ และ ความ<br />

เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการทําลายความเชื่อมโยงกันของทางน้ําที่เปนลักษณะโครงขาย (Network and<br />

Connectivity) ในพื้นที่เกษตรกรรม<br />

แนวทางการศึกษาโครงสรางภูมิทัศนในงานวิจัยนี้จึงมุงประเด็นไปที่ตัวอยางโครงสรางภูมิทัศนที่มี<br />

วิวัฒนาการไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงและการจัดการทรัพยากรน้ํา โดยเลือกตัวแทนภูมิทัศนดังกลาว คือภูมิทัศน<br />

เกษตรกรรมแบบรองสวนบริเวณคลองออมนนท จ.นนทบุรี และศึกษากระบวนการในภูมิทัศน คือการไหลเวียนของ<br />

น้ําในโครงขายโดยการวิเคราะหความเปลี่ยนแปลงของโครงสรางที่สงผลตอการไหลเวียนของน้ําวิเคราะหในพื้นที่<br />

2. วัตถุประสงค<br />

รูปที่ 1 แสดงความเปลี่ยนแปลงในโครงสรางภูมิทัศนที่เกิดขึ้นในพื้นที่เกษตรกรรม<br />

2.1 เพื่อทําความเขาใจในเรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสรางภูมิทัศน (Landscape Structure) ของพื้นที่<br />

เกษตรกรที่เกี่ยวของกับการหมุนเวียนของทรัพยากรน้ําในพื้นที่<br />

653


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

2.2 เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางภูมิทัศนของพื้นที่<br />

2.3 เพื่อหาแนวทางที่นําไปสูการศึกษาและเสนอแนะ วิธีการจัดการภูมิทัศนและบริการเชิงนิเวศของภูมิ<br />

ทัศน ในพื้นที่ที่มีโครงสรางนิเวศภูมิทัศนเชนเดียวกับพื้นที่ศึกษา<br />

การวิจัยนี้ตองการศึกษาโครงสรางของนิเวศภูมิทัศนเพื่อทําความเขาใจในการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน<br />

ดังนั้นกระบวนการในการศึกษานอกจากการศึกษาทฤษฎี และขอมูลที่เกี่ยวกับพื้นที่ศึกษาแลว ในการศึกษาดาน<br />

กายภาพของพื้นที่จึงตองใชการออกสํารวจพื้นที่ (Field Survey) และการสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูลในการวิเคราะห<br />

ประกอบกับการแปลภาพถายทางอากาศ<br />

วิธีดําเนินการวิจัยมีขั้นตอนดังนี้<br />

3.1 ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดทางนิเวศภูมิทัศน ทฤษฎีทางอุทกวิทยา แนวคิดเกี่ยวกับโครงขายการ<br />

ไหลเวียนน้ําในธรรมชาติ ทฤษฎีบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน<br />

3.2 ศึกษาขอมูลทางประวัติศาสตร ของพื้นที่ศึกษาทั้งในระดับภูมิภาค และในพื้นที่ศึกษาบริเวณคลอง<br />

ออมนนทโดยเฉพาะ<br />

3.3 ศึกษาขอมูลทางกายภาพของพื้นที่ ศึกษาขอมูลแผนที่โบราณ และภาพถายทางอากาศ ทั้งของเกา<br />

ของใหม เพื่อที่จะทําความเขาใจเบื้องตน<br />

3.4 การสํารวจและสัมภาษณ (คุณทองสุข และคุณจํารูญ, 2009)<br />

เพื่อศึกษาระบบของการไหลเวียนน้ํา รูปแบบการจัดการน้ํา บทบาทหนาที่โครงขายของทางน้ํา ปรากฎการณการ<br />

ขึ้น-ลงของระดับน้ํา ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปจจุบัน การไหลเวียนของน้ําในพื้นที่จริง รวมไปถึงการ<br />

สัมภาษณเพื่อใหทราบขอมูลในอดีตของพื้นที่ และการจัดการควบคุมน้ําในอดีต และปจจุบันของชาวบานในพื้นที่<br />

3.5 การสรางชั้นขอมูลของแผนที่เชิงนิเวศเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น<br />

- แผนที่แสดงลักษณะโครงสรางของพื้นที่เกษตรกรรมในอดีต<br />

- แผนที่แสดงโครงขายของทางน้ําที่มีอยูในอดีต<br />

- แผนที่ แสดงระบบการไหลเวียนของน้ําในโครงขายที่เกิดขึ้น<br />

- แผนที่แสดงรูปแบบการใชที่ดิน ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน<br />

- แผนที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของโครงขายทางน้ําที่เกิดขึ้น<br />

3.6 ทําการศึกษาโครงสรางภูมิทัศนในพื้นที่ ศึกษาโครงสรางภูมิทัศนในพื้นที่ทั้งในอดีต และปจจุบันเพื่อ<br />

เปรียบเทียบและอธิบายปรากฎการณที่เกิดขึ้น<br />

3.7 วิเคราะหความเปลี่ยนแปลงในภูมิทัศนที่เกิดขึ้นวามีความสัมพันธกันและสงผลกระทบอยางไร<br />

3.8 สรุปผลการศึกษาาและเสนอแนวทางในการศึกษารูปแบบของโครงขายทางน้ําในการทําวิจัยเชิง<br />

ปริมาณ (Quantitative Research) ตอไป<br />

3.8.1 เนื้อหาของงานวิจัย<br />

- ความสําคัญของโครงขายทางน้ํากับพื้นที่เกษตรกรรม, ความสําคัญของบริการเชิงนิเวศในพื้นที<br />

เกษตรกรรม<br />

3.8.2 เสนอแนวทางในการนําไปใชในการวางแผนภูมิทัศนตอไป<br />

3.8.3 เสนอแนวทางการนําไปใชในการทําวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ตอไป<br />

ในการวิจัยนี้ใชเอกสาร ในการวิเคราะห และจําแนกลักษณะทางภูมิทัศน คือ<br />

654


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ภาพถายทางอากาศในชวงป พ.ศ 2495 (ค.ศ.1952) และภาพถายทางอากาศในปพ.ศ.2545 (ค.ศ.<br />

2003) เพื่อใชในการสรางแผนที่โครงขายลําน้ํา และเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของโครงสรางของภูมิทัศน<br />

-ฐานขอมูล พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2545 (ค.ศ. 2003)<br />

- ลงพื้นที่ สํารวจเพื่อบันทึกตรวจสอบขอมูลที่พบโดยอาศัยแนวทางจากภาพถายทางอากาศ ที่มีและเปน<br />

การกําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาประกอบกับเปนพื้นที่ที่ไดรับความยินยอมจากคนในพื้นที่ในการสํารวจ<br />

รูปที่ 2 สรุปลําดับขั้นตอนในการวิจัย<br />

655


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1พื้นที่ศึกษา<br />

รูปที่ 3 โครงสรางของพื้นที่เกษตรกรรมในบริเวณพื้นที่ศึกษาป พ.ศ. 2495 โครงขายทางน้ํา<br />

ยังสมบูรณครอบคลุมพื้นที่<br />

รูปที่ 4 พื้นที่สํารวจบริเวณที่ 1 และพื้นที่สํารวจบริเวณที่ 2<br />

656


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตาราง แสดงการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เกษตรกรรมและโครงขายลําประโดงจากในอดีต<br />

ที่เกิดขึ้นในพื้นที่สํารวจจุดที่ 1และจุดที่ 2<br />

รูปที่ 5 โครงขายลําประโดงเดิม พ.ศ. 2495<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 1<br />

รูปที่ 6 โครงขายลําประโดงเดิม พ.ศ. 2495<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 2<br />

รูปที่ 7 แสดงเสนถนนที่ตัดขวางทางน้ํา<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 1<br />

รูปที่ 8 แสดงเสนถนนที่ตัดขวางทางน้ํา<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 2<br />

รูปที่ 9 แสดงการถมเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 1<br />

รูปที่ 10 แสดงการถมเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 2<br />

657


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 11 เสนทางน้ําที่ไดรับผลกระทบจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงพื้นที่สํารวจจุดที่ 1<br />

รูปที่ 12 เสนทางน้ําที่ไดรับผลกระทบจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงพื้นที่สํารวจจุดที่ 2<br />

รูปที่ 13 ผลกระทบตอพื้นที่เกษตรกรรม<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 1<br />

รูปที่ 14 ผลกระทบตอพื้นที่เกษตรกรรม<br />

พื้นที่สํารวจจุดที่ 2<br />

จากการแปลภาพถายทางอากาศของพื้นที่ จะพบวาพื้นที่เกษตรกรรมที่ยังเหลืออยูในพื้นที่ศึกษาจะยังคงมี<br />

การสรางผลผลิตจากพื้นที่ไดอยู ในบริเวณที่ยังคงมีโครงขายทางน้ําสามารถเขาถึงได แสดงใหเห็นถึงความสําคัญ<br />

ของโครงขายทางน้ําตอการดํารงอยูของพื้นที่เกษตรกรรม ในพื้นที่ที่โครงขายทางน้ํายังคงพบเห็นโครงสรางของ<br />

พื้นที่ไดอยูแตประสิทธิภาพในการไหลเวียนของน้ําถูกทําลายไปจะพบพื้นที่เกษตรกรรมที่เริ่มถูกทิ้งรางหรือเปนการ<br />

ทําเกษตรกรรมในรูปแบบที่อาศัยการดูแลรักษาที่นอยกวา เนื่องจากไมมุงหวังใหพื้นที่สรางผลผลิตใดๆ<br />

4.2 การหมุนเวียนของน้ําในโครงขายทางน้ํา<br />

การสํารวจในพื้นที่ศึกษาเพื ่อบันทึกขอมูลและเห็นถึงสภาพพื้นที่จริงรวมไปถึงการสัมภาษณเจาของพื้นที่<br />

เกษตรกรรมและเปนผูที่ควบคุม จัดการ และไดรับผลกระทบจากโครงขายทางน้ําโดยตรงจึงเปนกระบวนการที่<br />

เลือกใชในการวิจัยนี้ ประเด็นที่ใชในการสัมภาษณ เปนกรณีที่เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่เกษตรกรรมจาก<br />

อดีตและการจัดการน้ําในพื้นที่เกษตรในปจจุบัน<br />

- ระบบการควบคุมน้ําของชาวบานในพื้นที่ ชวงเวลาในการกักเก็บน้ํา<br />

658


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- คุณภาพ และการเปลี่ยนแปลงของน้ํา เกิดผลกับพื้นที่เกษตรกรรมอยางไร<br />

- การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เกษตรกรรมจากในอดีต<br />

รูปที่ 15 ลําดับการไหลเวียนของน้ําในโครงขายเสนทางน้ําในพื้นที่สํารวจ<br />

บทบาทของการหมุนเวียนน้ําในโครงขายทางน้ําในการเปนตัวรับและแจกจายน้ําในพื้นที่เกษตรกรรมเปน<br />

หนาที่สําคัญของโครงขายทางน้ําที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของระบบโครงขายทางน้ําในพื้นที่เกษตรกรรมคือ<br />

การเปนโครงขายในการแจกจายน้ํา (Distributary Network) เขาสูพื้นที ่เกษตรกรรมในชวงน้ําขึ้น (High Tide) และ<br />

การเปนโครงขายที่รับน้ําจากพื้นที่เกษตรกรรมในการระบายน้ําออกในชวงน้ําลง (Ebb Tide)<br />

รูปที่ 16 หนาที่ของโครงขายทางน้ําในการแจกจายน้ําเขาสูพื้นที่เกษตรกรรม (Distributary Network)<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

5.1 สรุปการศึกษาโครงสรางภูมิทัศน<br />

โครงสรางภูมิทัศนในงานวิจัยนี้คือ ลักษณะโครงขายของลําประโดงในพื้นที่ศึกษาอยูในรูปแบบของ<br />

ลักษณะโครงขายแบบแตกกิ่งสาขา (Branching Networks) ซึ่งเปนโครงขายที่มีความเรียบงายมากที่สุด และมีการ<br />

659


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ถายลําดับของน้ําจากเสนทางน้ําหลัก และสงผลตอกันไปจนลําดับสุดทายของโครงขาย คือรองสวน ดังนั้นหาก<br />

เสนทางในโครงขายเกิดปญหา ยอมสงผลกระทบตอประสิทธิภาพโดยรวมของโครงขายทั้งหมด<br />

รูปที่ 17 ลักษณะของโครงขายทางน้ําแตกลําดับจากทางน้ําหลัก<br />

5.2 การเปลี่ยนแปลงของโครงขายทางน้ําและผลกระทบจากการขยายตัวของเมือง<br />

การเปรียบเทียบภาพถายทางอากาศในอดีตและปจจุบันทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นซึ่งมี<br />

ความตอเนื่องมาจากในอดีตและเห็นไดชัดเจน เสนทางโครงขายทางน้ําถูกตัดผานดวยโครงสรางของถนน พื้นที่<br />

เกษตรกรรมกลายเปนพื้นที่พักอาศัยที่กระจายตัว และมีแนวโนมที่จะเพิ่มความหนาแนนขึ้น การเพิ่มขึ้นของพื้นที่<br />

ที่น้ําไมสามารถซึมผานได<br />

5.2.1 การถมพื้นที่<br />

รูปที่ 18 การเปลี่ยนแปลงโครงสรางภูมิทัศนดวยการถม<br />

660


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.2.2 การสรางโครงสรางของถนนตัดผานทางน้ํา<br />

รู<br />

รูปที่ 19 การสรางโครงสรางถนนขวางโครงขายทางน้ํา<br />

5.2.3 การถูกปลอยทิ้งรางเนื่องจากโครงขายไมสามารถรองรับการหมุนเวียนน้ําใหพื้นที่เกษตรกรรมไดเปนสาเหตุ<br />

ใหพื้นที่เกษตรกรรมกลายเปนพื้นที่รกรางและเรงการเปลียนแปลงการใชงานเปนพื้นที่ถมขยายตัวมากขึ้น<br />

5.2.4 ระบบการจัดการน้ําของพื้นที่เมืองที่ขยายตัวทําใหน้ําเสียจากการใชงานของคนที่ไมมีการดูแลและบําบัด<br />

ระบายลงสูโครงขายทางน้ํา<br />

ในดานผลกระทบเนื่องจากในบริเวณพื้นที่ศึกษาที่อยูในเขตอําเภอบางใหญ กําลังไดรับอิทธิพลจากการ<br />

ขยายตัวของเมือง (Urbanization) ทําใหโครงสรางเดิมของพื้นที่ลําประโดงและรองสวนตางๆที่เปนลักษณะของ<br />

โครงสรางของเกษตรกรรมแบบรองสวนถูกทําลาย (พันธวัศ, 2541) พื้นที่รองสวนและทางน้ําบางสวนถูกถมและถูก<br />

แยกออกจากระบบของคลองสวนที่เหลือ ทําใหระบบการไหลเวียนของทรัพยากรน้ําเสียไป พื้นที่สวนผลไมถูก<br />

เปลี่ยนเปนที่ปลูกสรางที่พักอาศัย เกิดการตัดถนนใหญเขาในพื้นที่ เชน ถนนพระราม5 เปนตน<br />

- ปญหาภาวะน้ําที่เนาเสีย จากการขยายตัวของเมืองพื้นที่อุตสาหกรรมและบานพักอาศัย โครงขายทางน้ํา<br />

ที่เปนทางระบายน้ําเดิมถูกทําลายและไมสามารถรองรับการระบายน้ําไดเกิดการเนาเสีย น้ําในโครงขายทางน้ําไม<br />

สามารถนํามาใชในการทําการเกษตรได สงผลใหมีการละทิ้งการทําเกษตรกรรมมากขึ้น<br />

- ปญหาภาวะน้ําทวม จากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ที่ถูกถม ทําใหพื้นที่ไมสามารถรองรับน้ําและไมมีการซึม<br />

น้ําของผิวดิน ซึ่งกอใหเกิดปญหาน้ําผิวดินที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการ<br />

สูญเสียโครงขายการระบายน้ํา ซึ่งกอใหเกิดภาวะน้ําทวมได<br />

- การละทิ ้งพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจากปญหาภาวะน้ําทวมพืชสวนเสียหายทําใหการลงทุนเริ่มตนใหมอีก<br />

ครั้งใชเวลานานในการรอเก็บผลผลิต และมีความไมแนนอนที่จะเกิดภาวะน้ําทวมไดบอยครั้ง เปนสาเหตุทําใหพื้นที่<br />

การเกษตรลดจํานวนลง<br />

5.3 สรุปการเปลี่ยนแปลงโครงขายทางน้ํากับการสูญเสียบริการเชิงนิเวศ (Ecological service) ของพื้นที่<br />

เกษตรกรรม<br />

พื้นที่เกษตรกรรมถือเปนพื้นที่สีเขียวที่มีสวนชวยในการดานระบบนิเวศภูมิทัศน เชน การหนวงและซึมซับ<br />

น้ํา ไปจนถึงการเปนพื้นที่กักเก็บน้ําในฤดูแลง<br />

จากThe Millennium Ecosystem Assessment (2001) ไดจําแนกคุณประโยชนของระบบทางนิเวศวิทยา<br />

(Ecological Services) แกมนุษยไว โดยมีคุณคาตอระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม (Supporting Service) ซึ่งรวมไปถึง<br />

การสรางผลผลิตหรือคุณคาตอบรรยากาศ ผืนดิน และ คุณคาในระบบชีวิตประจําวัน (Regulating Service) ที่<br />

661


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เกิดขึ้นเปนวงจร ทั้งทางดานภูมิอากาศ น้ํา การปองกันน้ําทวม การคงอยูของพื้นที่เกษตรกรรมจะตองมีการจัดการ<br />

ปจจัยดานสภาพแวดลอมตางๆมาเกี่ยวของ เชน น้ํา ดิน ปจจัยทางเคมีและชีววิทยา ทีเกี่ยวของกับการใหผลผลิต<br />

ของพืช ดังนั ้นการจัดการกับน้ํา และคุณภาพของน้ํา จึงเปนปจจัยสําคัญตอ ระบบสวนผลไมโดยรวมทั้งหมด<br />

บทบาทของโครงขายทางน้ํา เกิดจากความสําคัญของน้ําซึ่งเปนปจจัยหลักในการดํารงอยูของพื้นที่<br />

เกษตรกรรม ดังนั้นโครงขายทางน้ํา(Waterway Network) จึงมีบทบาทในฐานะเปนโครงสราง ที่นําพาทรัพยากร<br />

หลักเขาสูพื้นที่<br />

รูปที่ 20 ความสําคัญของโครงขายทางน้ํา<br />

ประสิทธิภาพของโครงขายทางน้ําในพื้นที่เกษตรกรรมในงานวิจัยนี้ หมายความถึงความสามารถในการ<br />

นําพาน้ําเขาสูพื้นที่ ในแงของระยะเวลาและปริมาณน้ํา ซึ่งการวิจัยนี้จะอธิบายถึงผลกระทบตอประเด็นเหลานี้เพื่อ<br />

นําไปสูการศึกษา และคํานวณเพื่อหาผลการศึกษาในเชิงปริมาณตอไป<br />

5.3.1 ผลตอระยะเวลาและปริมาณของน้ํา จากการที่ทางน้ําหายไปบางสวน ทําใหระยะทางในการไหลเวียนของน้ํา<br />

ในโครงขายไปถึงพื้นที่เกษตรใชเวลานานขึ้นในการเดินทางนานขึ้นและปริมาณของน้ําที่เขาถึงพื้นที่เกษตรกรรมมี<br />

ปริมาณลดลงในทางกลับกันการระบายน้ําออกจากพื้นที่ใชเวลานานมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบในดานการระบายน้ํา<br />

ทวมจากพื้นที่<br />

รูปที่ 21 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการหมุนเวียนน้ําในระบบของโครงขายทางน้ําและเมื่อ<br />

เสนทางในโครงขายบางสวนถูกทําลาย<br />

662


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.3.2 ผลตอประสิทธิภาพการสงน้ําตอหนวยพื้นที่เกษตรกรรมการจายน้ําเขาสูพื้นที่เกษตรกรรม อัตราและปริมาณ<br />

การสงน้ําเขาพื้นที่เกษตรกรรมจะลดลงเมื่อความหนาแนนของโครงขายทางน้ําตอพื้นที่ลดลง<br />

รูปที่ 22 เปรียบเทียบความสามารถในการจายน้ําในระบบของโครงขายทางน้ําและเมื่อความหนาแนนของ<br />

โครงขายลดลง<br />

5.4 ขอสรุปจากการวิจัย<br />

5.4.1 การใชกระบวนการบงชี้ และจําแนกภูมิทัศน (Landscape Characterization)ที่เปนขั้นตอนหนึ่งใน การ<br />

วิเคราะหภูมิทัศน(Landscape Analysis) และการวางแผนภูมิทัศน (Landscape Planning) กระบวนการวิจัยที่<br />

เกิดขึ้นทําใหสามารถแจกแจงปจจัยที่มีผลกระทบกับการเปลี่ยนแปลงของโครงขายทางน้ําในพื้นที่เกษตรกรรม การ<br />

สูญเสียโครงขายทางน้ํา นําไปสูการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งมีประโยชนของบริการเชิงนิเวศแกมนุษยในดาน<br />

การเปนแหลงผลิตอาหาร<br />

5.4.2 การบงชี้และประเมินคุณลักษณะของภูมิทัศนในเรื่องของโครงสรางภูมิทัศนและบทบาทภูมิทัศน ในดานการ<br />

ไหลเวียนของน้ําเพื่อรองรับพื้นที่เกษตรกรรม<br />

5.4.3 การบงชี้และและจําแนกภูมิทัศน ทําใหสามารถรูสภาพความเปนไปของภูมิทัศน สามารถการบงชี้และการ<br />

แจกแจงปญหาและความรุนแรงของปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ นําไปสูการแกไขที่ถูกประเด็นในเชิงปริภูมิได<br />

5.4.4 การใชแนวทางจากการวิจัยนี้เพื่อเปรียบเทียบและคาดการณการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตกับพื้นที่<br />

เกษตรกรรมอื่นๆ และนําไปสูการศึกษาเพื ่อวิเคราะหหาความแตกตางในเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่<br />

ชัดเจนของผลกระทบในการหมุนเวียนของน้ําในโครงขายทางน้ําที่เปลี่ยนแปลง<br />

5.4.5 ประโยชนที่ไดจากการวิจัย<br />

- สามารถบงชี้ สาเหตุ-ผลกระทบในพื้นที่เกษตรกรรมที่เกิดปญหาขึ้น<br />

- สามารถบงชี้คุณลักษณะของปญหาที่เกิดขึ้นในโครงขายทางน้ําได<br />

- จําแนกระดับของปญหาและศักยภาพในการฟนฟูในเสนทางโครงขายทางน้ําได<br />

663


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- สามารถระบุพื้นที่ในการฟนฟูเพื่อเปนพื้นที่เกษตรกรรมไดวามีศักยภาพมาก -นอยเพียงใด<br />

จากปจจัยของโครงขายทางน้ํา<br />

1 พื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพสรางผลผลิตและยังคงมีการดูแลรักษา<br />

2 พื้นที่เกษตรกรรมที่ถูกทิ้งราง ในปจจัยของการขาดทรัพยากรน้ําในการหลอเลี้ยง<br />

3 พื้นที่เกษตรที่เปลี่ยนแปลงโครงสรางถาวร จากการถมทับพื้นที่<br />

จากความสําคัญของระบบโครงขายทางน้ําตอพื้นที่เกษตรกรรม ดังนั้นการฟนฟูพื้นที่เกษตรกรรมทางหนึ่ง<br />

คือการรักษาระบบโครงขายของทางน้ําในพื้นที่ใหน้ําสามารถหมุนเวียนไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

5.5 ขอเสนอแนะจากการวิจัย<br />

จากการวิจัยนี้สามารถชวยใหเห็นผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของโครงขายทางน้ําและสามารถบงชี้<br />

และจําแนกปญหาไดทั้งในเรื่องปญหาทางกายภาพ ตําแหนงหรือบริเวณที่เกิดปญหาและลักษณะของปญหา<br />

ลักษณะโครงสรางทางภูมิทัศนที่เกิดขึ้นตั้งแตในอดีต และทําใหมนุษยสามารถอยูดํารงชีวิตอยูรวมกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติคือ น้ํา ที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลได ในขณะที่อนาคตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะมี<br />

ความรุนแรงมากขึ้นเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง นอกจากนี้การพัฒนาอยางตอเนื่องของเมือง<br />

และลักษณะการขยายตัวของเมืองที่ผานมา ทําใหบทบาทของโครงสรางภูมิทัศนที่สัมพันธกับลักษณะทางธรรมชาติ<br />

เชนโครงขายทางน้ํา ลําประโดงนี้ลดความสําคัญลง และมีปจจัยของการขยายตัวของเมืองในดานอื่นๆเขามาแทนที่<br />

เพื่อใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐศาสตรสูงสุดจากการพัฒนาพื้นที่ การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่เพื่อเพิ่มศักยภาพ<br />

สามารถทําไดในหลากหลายรูปแบบ แตการขยายตัวของเมืองเขาไปในพื้นที่เกษตรกรรมมักเกิดในรูปแบบของการ<br />

เปลี่ยนโครงสรางพื้นที่ดวยการถมทับ และเปนลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว งานวิจัยนี้จึง<br />

แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของโครงสรางในภูมิทัศนที่เห็นความสําคัญของลักษณะทางธรรมชาติของพื้นที่และการ<br />

สรางประโยชนจากพื้นที่ที่มีปจจัยทางทรัพยากรใหเหมาะสม ในระบบการหมุนเวียนและรองรับน้ํา เชนการเก็บกัก<br />

น้ําหนาน้ํานอย(water storage) และการซึมซับน้ําไวในหนาน้ํามาก(detention basin) เพื่อตอบรับกับปญหาการ<br />

เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่จะสงผลใหการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในทองถิ่น ยิ่งทวีความ<br />

แปรปรวน ดังที่อางถึงในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในอนาคต(ศุภกร ชินวรรโณ,<br />

2549)โดยใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรและไดผลสรุปแนวโนมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยวา<br />

เปนไปในทิศทางที่มีฝนมากขึ้นเกือบทุกภาคของประเทศไทย ในทางกลับกัน จํานวนวันที่อากาศรอนจะเพิ่มขึ้นซึ่ง<br />

หมายถึงมีฤดูแลงที่ยาวนานกวาเดิมอยางเห็นไดชัด ดังนั้นการศึกษาวิจัยนี้จะนําไปสูแนวทางการนําเสนอจัดการ<br />

และพัฒนาพื้นที่ในรูปแบบของการศึกษาแนวคิดการอยูรวมของน้ํากับพื้นที่เมือง (Waterscape urbanism) (Danai<br />

T., 2008) การปรับตัวในการดํารงชีวิตกับการเปลี่ยนแปลงของน้ํากับการใชงานของมนุษย (Liquid perception-<br />

Adaptation - Resilience) ในสภาวะความเปลี่ยนแปลงของโลกได<br />

ในแงการการพัฒนาพื้นที่ ในเขตที่มีโครงสรางนิเวศภูมิทัศนที่สัมพันธกับการใชงานของพื้นที่ (โครงขาย<br />

ของทางน้ําและลําประโดง - พื้นที่เกษตรกรรม ) แนวทางการพัฒนาจะตองสามารถรักษาบทบาทของโครงสรางนั้น<br />

ไวได (การไหลเวียนของน้ําในโครงขาย )เพื่อใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูรวมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลก<br />

ได<br />

ในสวนการรักษาโครงสรางดั้งเดิมของพื้นที่เพื่อใหโครงขายที่ยังไมถูกถมทับหรือเปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่<br />

เมืองยังสามารถใชเปนพื้นที่ที่มีการผลิตทางการเกษตรได นอกจากนี้การฟนฟูโครงสรางที่เสียไปในพื้นที่ เพื่อให<br />

โครงขายสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการปรับปรุงพื้นที่ที่มีการตัดขาด หรือถูกลดทอน<br />

ประสิทธิภาพในการไหลเวียนของน้ํา ใหมีศักยภาพในการทําหนาที่ดังกลาวได<br />

664


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Barnes, T.G. 2000. Landscape Ecology and Ecosystems Management. Agric. Exten.<br />

Serv. Publ. ,2000.<br />

- Baumgärtner,J. and M. Bieri. "Fruit tree ecosystem service provision and enhancement."<br />

Ecological Engineering 27(2) (2006): 118-123.<br />

- Bradley T and H. Hammond., Landscape analysis and planning summary, 1992.<br />

- Constanza et al., The value of the world's ecosystem services and natural capital. Nature<br />

387(1997):253-260.<br />

- Danai Thaitakoo and Brian McGrath. Mitigation, Adaptation, Uncertainty -- Changing<br />

Landscape, Changing Climate: Bangkok and the Chao Phraya River Delta, Places 20,<br />

2(2008): 30-35.<br />

- Dramstad, W. E. Landscape ecology principles in landscape architecture and land-use<br />

planning / Wenche E. Dramstad, James D. Olson, and Richard T.T. Forman,<br />

Washington, DC. : Island Press, 1996.<br />

- ESRI. “Carl Steinitz Model”. [Online]. Available:<br />

http://www.esri.com/news/arcnews/summer09articles/gis-designing-our-future.html. 2009.<br />

- Fashchevsky, B. and T. Fashchevskaya Ecological Hydrology: New scientific direction<br />

for water resource management. Environmental University, Kalinovskogo.,2004.<br />

- Forman R. T. T. Landscape ecology / Richard T.T. Forman, Michel Godron, New York :<br />

John Wiley & Sons, 1986.<br />

- Holdren and Ehrlich 1974; Ehrlich and Ehrlich 1981, “ECOSYSTEM SERVICE” [Online].<br />

http://essp.csumb.edu/esse/ecoservintro/ecoservframe.html, 2008.<br />

- Laurie,M. An introduce to landscape architecture. 2 nd ed. (n.d.) : Elsevier., 1996.<br />

- Marsh,William M. Landscape planning environmental applications: John Wiley & Sons,<br />

2005.<br />

- Peter Haggett and Richard J. Chorley, Network analysis in geography: St. Martin's<br />

Press,1970.<br />

- Pidwirny, M. The Drainage Basin Concept. Fundamentals of Physical Geography, 2006.<br />

- Tachakitkachorn T., Shigemura T . Land formation process through the orchard system<br />

in Amphwa Neighborhood The study of Sustainable Agriculture-based Society in<br />

Maeglong Lower basin, 2005.<br />

- Takaya, Y. Agricultural Development of A Tropical Delta : A Study of the Chao Phraya<br />

Delta: Kyoto University, 1987.<br />

- Thompson, George F. And Frederick R. Steiner, Ecological design and planning, John<br />

Wiley & Sons, 1997.<br />

- เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร. งานศึกษาการเปลี่ยนแปลงและแนวโนมของการพัฒนาสภาพสังคมชุมชน<br />

ริมน้ํา บริเวณเครือขายลําน้ําคลองบางกอกนอย : สภาพแวดลอมกลุมที่อยูอาศัยริมน้ําใน<br />

เครือขายลําน้ําคลองบางกอกนอยตอนบน, 2542.<br />

665


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ดนัย ทายตะคุ, 2548. โครงสรางเชิงปริภูมิของภูมิทัศน กับ การวิเคราะหและการสราง<br />

แบบจําลอง: การทบทวนทางทฤษฎีของกระบวนการเชิงปริมาณ ทางภูมินิเวศวิทยา.<br />

วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตร 1, (2548).<br />

- ปยนาถ บุนนาค ดวงพร นพคุณ และ สุวัฒนา ธาดานิติ. คลองในกรุงเทพฯ : ความเปนมา การ<br />

เปลี่ยนแปลงและผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ. 2325-2525): จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2525.<br />

- พันธวัศ สัมพันธพานิช. ผลกระทบที่มีตอระบบวนเกษตรแบบสวนบาน บริเวณอําเภอเมือง<br />

จังหวัดนนทบุรี อันเนื่องมาจากการขยายตัวของสังคมเมือง:สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.<br />

- สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

จังหวัดนนทบุรี 2550 : สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550.<br />

- สมพงษ กุลวโรตตมะ, แนวทางการพัฒนาชุมชนเมืองในพื้นที่สวนเดิมฝงธนบุรี : กรณีศึกษา<br />

ชุมชนเมืองคลองบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต<br />

สาขาวิชาการวางผังเมือง, คณะสถาปตยกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.<br />

- สุวิทย ธีรศาศวัตร. ประวัติเทคโนโลยีการเกษตร. ภาควิชาประวัติศาสตรและโบราณคดี คณะ<br />

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน , 2548.<br />

- ศุภกร ชินวรรโณ (2549). การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในอนาคต :<br />

ผลสรุปจากการจําลองสถานการณอนาคตโดยแบบจําลองทางคณิตศาสตร. รศ.ดร. จริยา<br />

บุญญวัฒน, บรรณาธิการ. รายงานการประชุมการสัมมนาทางวิชาการหนึ่งทศวรรษการวิจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงของโลกในประเทศไทย 28 พฤศจิกายน 2549. จรัลสนิทวงศการพิมพ,<br />

กรุงเทพมหานคร, 112-114.<br />

666


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การบงชี้และจําแนกลักษณะทางภูมินิเวศและลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ํา<br />

และการปรับตัว กรณีศึกษา แมน้ํานาน อ.เมือง, อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก<br />

และแมน้ําสะแกกรัง อ.เมือง จ.อุทัยธานี<br />

Ecological Landscape Characterization of Human Utilization<br />

and Adaption of River Edges : Case Study of Nan River<br />

Amphor Muang, Amphor Prohmpiram Phitsanulok and<br />

Sa Kare Krang River Amphor Muang Uthai Thani<br />

นัฐศิพร แสงเยือน<br />

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กทม. 10330<br />

บทคัดยอ<br />

ความสามารถในการปรับตัวและการใชพื้นที่อยางยืดหยุนของมนุษย เปนคุณลักษณะพื้นฐานสําคัญในการ<br />

รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งอยูภายใตกลไกควบคุมทางธรรมชาติที่สงผลกระทบในการดํารงชีวิต<br />

ของมนุษย โดยการปรับตัวและยืดหยุนของมนุษยเปนคุณสมบัติที่สามารถใชในการบรรเทาและเตรียมพรอมรับมือ<br />

จากผลกระทบของการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได<br />

การทําความเขาใจในแนวคิดและกระบวนการที่แสดงออกถึงรูปแบบการปรับตัวและยืดหยุนในการใช<br />

พื้นที่ของมนุษยที่เปนรูปธรรมชัดเจน คือ บริเวณพื้นที่ชายน้ํา ซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาที่สามารถสื่อใหเห็นทฤษฎี รูปแบบ<br />

แนวคิดที่เปนวิวัฒนาการรวมกันระหวางมนุษยกับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยางเปนพลวัต โดยใชเปนกรณีศึกษาที่<br />

มุงสรางความเขาใจพื้นฐานในการปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื้นที่ของมนุษยเปนสําคัญ<br />

การวิจัยนี้เปนการศึกษาลักษณะภูมินิเวศชายน้ําที่เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ซึ่งปฏิสัมพันธกันทั้งระบบ<br />

นิเวศและการใชงานของมนุษย โดยแปรผันตามระดับน้ําตามฤดูกาล เพื่อสรางความเขาใจในความสําคัญของการ<br />

ปรับตัวและยืดหยุนลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ํา และบงชี้บทบาทหนาที่ภูมิทัศน ซึ่งเปนพื้นฐานที่<br />

นําไปสูการประเมินศักยภาพและคุณคาของภูมิทัศนบริเวณพื้นที่ชายน้ําในกรอบแนวคิดเชิงภูมินิเวศวิทยาและ<br />

มานุษยนิเวศวิทยา<br />

การปรับตัวและการใชพื้นที่อยางยืดหยุนของมนุษยนั้น เปนกุญแจสําคัญในการทําความเขาใจปฏิสัมพันธ<br />

ระหวางภูมิทัศนกับการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําอยางเปนพลวัต ที่เปนพื้นฐานสําหรับการประเมินคุณคา<br />

และศักยภาพภูมิทัศนชายน้ํา ซึ่งสามารถนําไปสูความเขาใจในการเตรียมพรอมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศ โดยใชชีวิตรวมกับธรรมชาติไดอยางยั่งยืนตอไป<br />

คําสําคัญ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื้นที่ ภูมินิเวศวิทยา พลวัตการ<br />

เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน พื้นที่ชายน้ํา<br />

667


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Resilience and adaptation of human are important characteristics to cope with climate change.<br />

Climate changes are under the influences of the natural conditions and climate change could have a huge<br />

impact on human lives. Human Adaptation and Resilience are able to mitigate and prepare for the<br />

impacts of climate change.<br />

River edges are studied area in resilience and adaptation of human which perpetually changed<br />

following seasonal change of the water level in the river. This dynamic is seen as the co-evolution of<br />

resilience and adaptation of human and nature.<br />

The purpose of this research is to study the dynamics of landscape ecological characteristics of<br />

the river edges and human interactions which perpetually changed following seasonal change of the water<br />

level in the river. This dynamics is seen as the co-evolution of resilience and adaptation of human and<br />

nature. These landscape ecological characteristics and resilience and adaptation are used as indicators of<br />

the functions of the landscape and used as a foundation to the assessment of value and potential of the<br />

landscape of the river edges within the theoretical framework of landscape ecology and human ecology.<br />

The resilience and adaptation is the key understanding of dynamics of the interactions between the<br />

landscape and human utilizations of the river edges. It is the foundation for landscape assessments of<br />

value and potential of the landscape of the river edges under the influences of the natural conditions and<br />

its’ sustainability.<br />

1.ความสําคัญ<br />

การปรับตัวและการใชพื้นที่อยางยืดหยุนของมนุษย เปนคุณลักษณะพื้นฐานที่สําคัญที่มนุษยสามารถสราง<br />

คุณลักษณะดังกลาว เพื่อใชในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กอใหเกิดผลกระทบทั้งดานสิ่งแวดลอม<br />

เศรษฐกิจ สังคม รวมถึงวิถีชีวิตความเปนอยูของมนุษย ซึ่งมีความเกี่ยวของกันอยางเปนระบบและอยูภายใตกลไก<br />

การควบคุมทางธรรมชาติ ดังนั้น การดํารงชีวิตหรือวิถีชีวิตความเปนอยูของมนุษยจําเปนตองมีความยืดหยุนที่<br />

สามารถแปรผันตามสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง โดยทําความเขาใจตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่มี<br />

แนวโนมจากปริมาณฝนที่มากขึ้นเกือบทุกภาคในประเทศไทย (ศุภกร ชินวรรโณ, 2549) พรอมสรางความสามารถ<br />

ในการดํารงชีวิตเพื่อความอยูรอด จากแนวคิดดานการปรับตัวและยืดหยุนของมนุษย ซึ่งเปนคุณลักษณะสําคัญที่<br />

สามารถใชในการเตรียมพรอมรับมือจากผลกระทบที่ไดรับในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

ในแนวคิดและกระบวนการที่แสดงออกถึงรูปแบบการปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื้นที่ของมนุษยที่เปน<br />

รูปธรรมชัดเจน คือ บริเวณพื้นที่ชายน้ํา ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําตามสภาพภูมิอากาศที่เปนเงื่อนไขกลไก<br />

ทางธรรมชาติอยางเปนพลวัต ในแตละชวงฤดูกาล (Seasonal) ซึ่งแบงไดเปน 2 ชวง คือ ชวงฤดูน้ําและชวงฤดูแลง<br />

โดยในกรณีศึกษาพื้นที่ชายน้ํา สามารถแสดงความสัมพันธของการดํารงชีวิตของมนุษยในการใชพื้นที่ที่เชื่อมโยง<br />

กับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ํา ซึ่งเปนคุณสมบัติของการปรับตัวของมนุษยและยืดหยุนในการใชพื้นที่ โดยแสดง<br />

ถึงแนวความคิด ภูมิปญญา และวัฒนธรรมที่สืบตอกันมาของมนุษย หรือภูมิปญญาทองถิ่น (Local wisdom /<br />

indigenous knowledge) ที่เชื่อมโยงกับความเปนไปในธรรมชาติ (McCay, 2000 อางถึงใน Turner, N.J.,<br />

Davidson-Hunt, and O’Flaherty.,2003)<br />

668


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิจัยนี้เปนการวิเคราะหและแสดงใหเห็นถึงความสําคัญในการปรับตัวของมนุษยและยืดหยุนในการใช<br />

พื้นที่บริเวณพื้นที่ชายน้ํา ซึ่งมีความสัมพันธที่เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําตามเงื่อนไขกลไกทาง<br />

ธรรมชาติที่เปนไปอยางเปนพลวัต ซึ่งเปนภูมิปญญาทองถิ่นที่แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการดํารงอยูของ<br />

มนุษยเพื่อความอยูรอดในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยสรางความเขาใจพื้นฐานดานการปรับตัวและยืดหยุนของ<br />

มนุษย เพื่อพัฒนาตอยอดแนวคิดดังกลาวซึ่งเปนประโยชนในการอยูรวมกับสภาพธรรมชาติในปจจุบันและอนาคต<br />

โดยใชการวิเคราะหภูมิทัศน (Landscape Analysis) เพื่อแสดงความสัมพันธขององคประกอบภูมิทัศน ในระบบ<br />

นิเวศ รวมถึงการปรับตัวและการใชพื้นที่ชายน้ําของมนุษยอยางเปนพลวัต (Keene and Strong 1968; Toth<br />

1968a, 1972b อางถึงใน Forman and Gordon, 1986) โดยบงชี้บทบาทหนาที่ของภูมิทัศนในเชิงนิเวศ<br />

(Ecological Landscape Function) และจําแนกคุณลักษณะสันฐานของแมน้ํา พลวัตของระดับน้ํา และความสัมพันธ<br />

ของระดับน้ํากับการใชงานของมนุษยบริเวณพื้นที่ชายน้ํา<br />

โดยผลการศึกษาที่ไดสามารถนําไปสูทางเลือกในการใชประโยชนที่ดินแบบยั่งยืนที่ใชแนวคิดการปรับตัว<br />

ของมนุษยและความยืดหยุนในการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําภายใตเงื่อนไขกลไกของปรากฏการณทางธรรมชาติ และ<br />

นํามาเปนขอมูลเพื่อใชประกอบการวางแผนการใชประโยชนที่ดิน และอภิปรายเพื่อประกอบการเสนอแนะแนว<br />

ทางการจัดการพื้นที่ชายน้ําในเชิงนิเวศไดตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

2.1 เพื่อสรางความเขาใจและสามารถอภิปรายในความสําคัญของการปรับตัวและยืดหยุนการใชงานบน<br />

พื้นที่ชายน้ําตามเงื่อนไขกลไกของธรรมชาติ วิวัฒนาการรวมกันระหวางมนุษยกับธรรมชาติที่เกิดขึ้นอยางเปน<br />

พลวัต รวมถึงบทบาทหนาที่ดานการผลิตจากการใชงานพื้นที่ชายน้ําในเชิงเกษตรกรรม<br />

2.2 เพื่ออธิบายพลวัตของภูมินิเวศและพลวัตดานการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําที่สัมพันธกัน<br />

2.3 เพื่อทําความเขาใจกระบวนการจําแนกและบงชี้คุณลักษณะภูมิทัศน ดวยกรอบทฤษฎีทางภูมินิเวศ<br />

2.4 เพื ่อทําการบงชี้พรอมทั้งจําแนกลักษณะภูมิทัศนชายน้ําในรูปแบบตางๆ ไดแก ลักษณะใชงานของ<br />

มนุษย บทบาทหนาที่ของภูมิทัศน การบริการเชิงนิเวศ พลวัตการเปลี่ยนแปลงของระบบภูมินิเวศ และผลที่ไดรับ<br />

จากการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนชายน้ําที่มนุษยใชงาน<br />

2.5 เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการประเมินและเสนอแนะทางเลือกในการวางแผนภูมิทัศนชายน้ําจาก<br />

แนวคิดการปรับตัวของมนุษยดานการใชประโยชนที่ดินแบบยั่งยืน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 กรอบแนวคิดและพื้นที่ศึกษาที่ใชในงานวิจัย<br />

กรอบความคิดของงานวิจัยชิ้นนี้ (รูปที่ 1) เริ่มจากการศึกษาความคิดพื้นฐานทางระบบนิเวศและทฤษฎี<br />

ดานภูมินิเวศวิทยา ซึ่งมีองคประกอบหลักของภูมิทัศน ดังนี้ โครงสรางของภูมิทัศน บทบาทหนาที่ของภูมิทัศน<br />

และการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน โดยในการศึกษานี้ตองการศึกษาดานบทบาทหนาที่ของภูมิทัศนและลักษณะการ<br />

ใชงานบนพื้นที่ชายน้ําในแนวคิดดานการปรับตัวและยืดหยุนซึ่งเปนการดํารงชีวิตที่มีความสัมพันธกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงในธรรมชาติและระบบนิเวศในชวงฤดูกาลที่ตางกันอยางเปนพลวัต พรอมทั้งทําการบงชี้และอธิบาย<br />

ความสัมพันธของระบบนิเวศและลักษณะการใชงานของมนุษยอยางเปนระบบ<br />

669


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 แผนภูมิสรุปแนวความคิดในการเลือกพื้นที่กรณีศึกษาที่ใชในการศึกษาวิจัย<br />

โดยมีพื้นที่ที่เปนกรณีศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศอยางเปนพลวัตบริเวณพื้นที่ชายน้ําซึ่ง<br />

สงผลใหมนุษยมีความสามารถในการปรับตัวจากการใชงานบนพื้นที่เพื่อความอยูรอด ซึ่งอยูในกรอบแนวคิดทาง<br />

ภูมินิเวศวิทยาและมานุษยนิเวศวิทยา (Human Ecology) จึงไดคัดเลือกพื้นที่ศึกษาเปน 2 กลุมตัวอยาง (รูปที่ 2) ที่<br />

มีลักษณะภูมิสัณฐานที่ตางกัน แตมีการใชงานของมนุษยที่มีรูปแบบคลายกัน ไดแก<br />

- บริเวณพื้นที่ชายแมน้ํานาน ตําบลในเมือง ตําบลทาทอง ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง และ<br />

ตําบลมะตูม ตําบลทาชาง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก<br />

- บริเวณพื้นที่ชายแมน้ําสะแกกรัง ตําบลอุทัยใหม ตําบลสะแกกรัง และตําบลเกาะเทโพ อําเภอ<br />

เมือง จังหวัดอุทัยธานี<br />

รูปที่ 2 ภาพถายทางอากาศแสดงกลุมพื้นที่ศึกษา (ภาพจาก Google Earth, พฤศจิกายน 2552)<br />

670


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แมวาในพื้นที่ศึกษาดังกลาว มีการศึกษาทางวิชาการมาหลายแงมุมและเปนระยะเวลานาน แตงานวิจัย<br />

เหลานั้นยังคงมุงเนนในดานใดดานหนึ่งโดยเฉพาะ เชน ดานสังคมวัฒนธรรม ดานประวัติความเปนมา และดาน<br />

เศรษฐกิจ เปนตน แตยังไมมีการศึกษาแบบบูรณาการที่แสดงใหเห็นของความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงทางภูมิ<br />

ทัศนกับการปรับตัวและยืดหยุนในการใชงานบนพื้นที่ชายนาของมนุษยในกรอบทางนิเวศวิทยา อันจะนําไปสู<br />

การศึกษาและวิจัยทางวิชาการในรูปแบบที่แตกตางและชัดเจนไดมากยิ่งขึ้น<br />

พื้นที่ชายน้ําบริเวณจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดอุทัยธานีนั้น มีการใชประโยชนจากพื้นที่ (Land<br />

Utilization) อยางหลากหลายทั้งในรูปแบบเพื่อสุนทรียภาพ (Aesthetic) และเพื่อการดารงอยูของชีวิตที่ใชแนวคิด<br />

ดานความยืดหยุนและการปรับตัว (Resilience & Adaptation) ในการใชพื้นที่ชายน้ําภายใตเงื่อนไขกลไกทาง<br />

ธรรมชาติ (ฤดูน้ํา-ฤดูแลง) ที่เปนพลวัตของระบบนิเวศและสงผลใหการใชพื้นที่ชายน้ําและภูมิทัศนชายน้ํา<br />

เปลี่ยนแปลงไป (Landscape Change) ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนอยางเปนพลวัต<br />

พื้นที่ชายน้ําแมน้ํานานในจังหวัดพิษณุโลก แตเดิมนั้นมีการใชงานจากมนุษยที่ตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณริม<br />

แมน้ําและแพอยางหนาแนน แตมีการลดจํานวนลงอยางเรื่อยๆ เพราะสาเหตุและปจจัยมากมาย ทั้งเรื่องสิทธิการ<br />

ครอบครองที่ดินชายน้ํา ความเปลี่ยนแปลงของการใชชีวิต อยางไรก็ตามจากวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ําป 2540<br />

ชาวบานที่อาศัยอยูบริเวณริมน้ําเริ่มกลับมาปลูกผัก ปลูกพืชที่เก็บผลผลิตไดเร็วบนที่ดินชายฝงแมน้ําอีกครั้งหนึ่ง<br />

ซึ่งเหตุการณเชนนี้เปนลักษณะของการปรับตัวที่เพื่อความอยูรอดในรูปแบบหนึ่ง<br />

พื้นที่ชายน้ําแมน้ําสะแกกรังในอุทัยธานีมีการใชงานจากมนุษยบริเวณริมน้ําบางตากวาที่พิษณุโลก<br />

เนื่องจากลักษณะทางกายภาพดานธรณีสัณฐานของแมน้ํามีความลาดชันเพียงเล็กนอย ชาวบานที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณ<br />

แมน้ําจึงนิยมการเลี้ยงปลาในกระชังคอนขางมาก มีการเพาะปลูกจําพวกเตยหอมบริเวณแพ และปลูกตนไผบริเวณ<br />

ริมน้ํารวมถึงผักสวนครัวริมน้ําไวใชในครัวเรือนเชนกัน แตก็มีพื้นที่เกษตรกรรมขนาดใหญที่บริเวณตําบลเกาะเทโพ<br />

ที่ใชการปรับตัวของมนุษยและการใชพื้นที่อยางยืดหยุนในการยังชีพของเกษตรกรสวนผัก<br />

3.2 กระบวนการและวิธีศึกษาวิจัย<br />

การดําเนินการศึกษาวิจัยนี้เริ่มขึ ้นจากขอสงสัย ในความสําคัญในการที่มนุษยปรับตัวและใชพื้นที่ชายน้ํา<br />

อยางยืดหยุนเพื่อสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําที่เปนเงื่อนไขกลไกธรรมชาติที่เปนพลวัต โดยมี<br />

รายละเอียดของกระบวนการและวิธีศึกษาวิจัย ดังนี้<br />

3.2.1 รวบรวมขอมูลจากเอกสารและขอมูลจากการสัมภาษณ (Documenting and Interview) เพื่อทํา<br />

ความเขาใจในแนวคิดทางวิชาการและประสบการณจริงของผูใชพื้นที่ และรับรูสภาพกายภาพในปจจุบันและความ<br />

เปนมาในพื้นที่ทั้งนี้โดย<br />

- ทบทวนแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ และรวบรวมขอมูลสถิติระดับน้ําของพื้นที่ศึกษา แผนที่ และ<br />

ภาพถายทางอากาศ<br />

- ขอมูลจากการสํารวจและสัมภาษณผูที่ใชพื้นที่ริมน้ําในบริเวณนั้นๆ<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก ขอมูลทางกายภาพ การถายภาพ การสเกตซ การวัดระยะ การศึกษา<br />

แผนที่ ขอมูลดานระยะตางๆจากสถิติ และทําการรวบรวมขอมูลในเรื่องพื้นที่ศึกษา<br />

3.2.2 จัดทําขอมูลที่มีความเกี่ยวเนื่องกับแผนที่ การบันทึกขอมูลจากการสํารวจ (Mapping) เพื่อทราบและ<br />

บันทึกลักษณะพื้นที่จากการสํารวจจริง โดยจําแนกรายละเอียดเบื้องตนพรอมประกอบเนื้อหาในทฤษฎี เพื่อได<br />

ขอมูลที่มีความละเอียด ถูกตอง และชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้โดย<br />

- สํารวจและสังเกตการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําและการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน<br />

- บันทึกขอมูล จากการสังเกตพรอมทั้งมีการสัมภาษณอยางไมเปนทางการ<br />

ใชเทคนิคดานแผนที่เชิงนิเวศ Ecological Mapping ในการจําแนกรายละเอียด<br />

671


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 แผนภูมิสรุปวิธีวิจัยและแนวทางการดําเนินงาน<br />

3.2.3 ทําการบงชี้และจําแนกพรอมสามารถอธิบายไดโดยจากการวิเคราะห (Defining) ซึ่งเปนการ<br />

เปรียบเทียบขอมูลอยางมีระบบ เพื่อแสดงความสัมพันธในระบบภูมินิเวศกับการใชพื้นที่ชายน้ําโดยการปรับตัวและ<br />

ใชพื้นที่ของมนุษยอยางเปนพลวัต<br />

- วิเคราะหขอมูลดานลักษณะการใชงานบนพื้นที่ชายน้ํา องคประกอบภูมิทัศนและรูปแบบชนิดพืช<br />

พรรณที่ปลูกกับระดับน้ําที่เปลี่ยนแปลง บทบาทภูมิทัศน การบริการเชิงนิเวศบริเวณพื้นที่ชายน้ํา<br />

- สังเคราะหขอมูลเพื่อคนหาความสําคัญของการปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื้นที่ของมนุษย<br />

3.2.4 สรุปและแสดงผลการศึกษาที่ไดจากการวิเคราะห และสังเคราะหขอมูลเพื่อเรียบเรียงและอภิปราย<br />

ในความสําคัญของการปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื ้นที่ของมนุษย เพื่อใชเปนขอพิจารณาหรือแนวทางเลือกใน<br />

การวางแผนภูมิทัศนแบบยั่งยืนไดตอไป<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาวิจัยที่ไดเปนผลจากกระบวนการบงชี้และจําแนกลักษณะทางภูมินิเวศและลักษณะการใชงาน<br />

ของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ํา ซึ่งนํามาสูการจัดหมวดหมูที่สัมพันธกันโดยมีปจจัยในมิติของเวลาที่เกี่ยวของกับการ<br />

จําแนก โดยใชองคประกอบที่สําคัญในภูมิทัศนเชิงนิเวศวิทยาเปนหัวขออางอิงในกระบวนการวิจัย ไดแก<br />

โครงสราง(Structure) บทบาทหนาที่ (Function) และการเปลี่ยนแปลง (Change/Dynamic) ที่สัมพันธกับการ<br />

ปรับตัวและยืดหยุนในการใชประโยชนที่ดินบนพื้นที่ชายน้ํา ซึ่งการวิจัยนี้นํามาซึ่งกรอบทางความคิดและวิธีการบงชี้<br />

และจําแนกภูมิทัศน ที่ใชเปนพื้นฐานของการประเมินคาภูมิทัศนและสามารถนําไปสูการวางแผนภูมิทัศนอยางเปน<br />

ระบบและมีความยั่งยืนตอไป ดังนี้<br />

672


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.1 กระบวนการบงชี้และจําแนกลักษณะภูมินิเวศชายน้ําและลักษณะการใชงานของมนุษย<br />

เปนการอานและแปลความหมายของภูมิทัศนที่สัมพันธกับการใชประโยชนที่ดินบนพื้นที่ชายน้ําของมนุษย<br />

เพื่อนํามาสูการจัดหมวดหมูซึ่งสัมพันธกันโดยมีปจจัยในมิติของเวลาที่เกี่ยวของกับการจําแนก ไดแก ระดับน้ําที่มี<br />

การเปลี่ยนแปลงตามชวงฤดูกาล เพื่อใชในการบงชี้พื้นที่ที่มีลักษณะใกลเคียงกันนํามาแยกกลุมแยกประเภทจาก<br />

การบันทึกลักษณะและแบบแผนขององคประกอบที ่สําคัญในภูมิทัศนในเชิงนิเวศวิทยา สามารถจําแนกไดดังนี้<br />

โครงสราง บทบาทหนาที่และการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธกับการปรับตัวและยืดหยุนในการใชประโยชนที่ดินบนพื้นที่<br />

ชายน้ํา ซึ่งประกอบดวย ลักษณะรูปแบบการปรับตัวจากการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําและผลประโยชนจาก<br />

ระบบนิเวศ ทั้งนี้กระบวนการบงชี้และจําแนกลักษณะภูมินิเวศชายน้ําและลักษณะการใชงานของมนุษยเกิดจาก<br />

ความเขาใจในภูมิทัศนซึ่งไดจากการอานและวิเคราะหพื้นที่ที่ทําการศึกษาวิจัย และคํานึงถึงความสัมพันธที่เกิดขึ้น<br />

เพื่อเปนกรอบทางความคิดในการวางแผนภูมิทัศนโดยใชความเขาใจในความสัมพันธของระบบภูมินิเวศและมนุษย<br />

กับการปรับตัวในการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําอยางเปนพลวัต จากกระบวนการบงชี้และจําแนกลักษณะทางภูมิทัศนที่<br />

สามารถใชเปนพื้นฐานของการประเมินคาภูมิทัศน และสามารถนําไปสูการวางแผนภูมิทัศนอยางเปนระบบและมี<br />

ความยั่งยืนตอไป ดังกรอบทางความคิด(รูปที่ 4)<br />

โดยใชการจําแนกลักษณะทางภูมินิเวศในพื้นที่ศึกษา ซึ่งสามารถจําแนกรายละเอียดของผลการวิจัยในแต<br />

ละองคประกอบทางภูมินิเวศวิทยา ไดดังนี้<br />

4.2 ลักษณะโครงสรางของภูมิทัศน (Structure)<br />

รูปที่ 4 แผนภูมิสรุปวิธีวิจัยและแนวทางการดําเนินงาน<br />

รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางลักษณะภูมิสัณฐานกับการใชงานบนพื้นที่ชายน้ํา<br />

673


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พื้นที่ที่ทําการศึกษาเปนพื้นที่บริเวณชายน้ํา ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวของกับแมน้ําหรือลําน้ําซึ่งจัดอยู<br />

ในโครงสรางประเภทเสนทางเชื่อมตอในภูมิทัศน(Corridors) ดังนั้นบริเวณพื้นที่ชายน้ําที่ทําการศึกษาจึงจัดเปน<br />

พื้นที่ภูมิทัศน (Patch) ซึ่งมีลักษณะทางภูมิสัณฐานที่แตกตางกันในแตละพื้นที่ศึกษาทําใหมีการใชงานในบริเวณ<br />

พื้นที่ชายน้ําตางกัน (รูปที่ 5) กลาวคือ ลักษณะพื้นที่ชายน้ําที่มีระยะหางระหวางระดับน้ําและพื้นที่เหนือชายตลิ่ง<br />

มากสงผลใหมีการใชงานบนพื้นที่ชายน้ํามากและหลากหลาย ซึ่งตางกับพื้นที่ชายน้ําที่มีระยะหางระหวางระดับน้ํา<br />

และพื้นที่เหนือชายตลิ่งนอยดวยภูมิสัณฐานของพื้นที่ชายน้ํามีลักษณะแคบทําใหการใชประโยชนที่ดินหรือลักษณะ<br />

การใชงานบนพื้นที่ชายน้ํา จึงถูกปรับไปใชบริเวณในแมน้ําแทน เห็นไดจากการปลูกเตยหอมและการเลี้ยงปลาใน<br />

กระชัง<br />

4.3 บทบาทหนาที่ของภูมิทัศนชายน้ํา (Function)<br />

เกิดจากการมีปฏิสัมพันธของมนุษยกับพื้นที่ชายน้ํา โดยใชลักษณะโครงสรางของภูมิทัศนในพื้นที่ที่<br />

แสดงออกถึงลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําซึ่งผลการจําแนกลักษณะพื้นที่ภูมิทัศนที่มีการใชงานของ<br />

มนุษยในบริเวณพื้นที่ชายน้ําไดเปน 2 กลุม คือ พื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอน(Recreation Area) และพื้นที่เพื ่อ<br />

การยังชีพ (Subsistence Area)<br />

โดยศักยภาพดานนิเวศวิทยามีความสอดคลองกับบทบาทหนาที่ภูมิทัศนในเชิงนิเวศ และการบริการเชิง<br />

นิเวศ(Ecosystem Services) ของพื้นที่ชายน้ํา สวนศักยภาพของพื้นที่เชิงสังคมจะมีการแสดงออกถึงการเสริมสราง<br />

คุณลักษณะในการพัฒนาทางสังคม<br />

จากการจําแนกลักษณะการใชงานของมนุษยในรูปแบบตางๆแลวจึงทําการจําแนกบทบาทของภูมิทัศน<br />

ซึ่งแบงไดเปน 2 ลักษณะ (ตารางที่ 1) คือ บทบาทหนาที่ภูมิทัศนเชิงสังคม และบทบาทหนาที่ภูมิทัศนเชิงนิเวศ<br />

พบวา พื้นที่ชายน้ํากลุมเพื่อการยังชีพมีศักยภาพและสามารถถายทอดบทบาทหนาที่ของภูมิทัศนไดอยางสมบูรณ<br />

ทั้งในเชิงนิเวศและเชิงสังคม ซึ่งตางกับกลุมพื้นที่ชายน้ําเพื่อการพักผอน ซึ่งบทบาทหนาที่เชิงสังคมไมสมบูรณ<br />

เทาที่ควรแลวบทบาทหนาที่ในเชิงนิเวศก็ไมสามารถแสดงออกใหเห็นไดชัดเจนเชนกัน<br />

รูปที่ 6 แสดงภาพภูมิทัศนที่ไดจากการจําแนกลักษณะการใชงานที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ชายน้ําที่ศึกษา<br />

674


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 การบงชี้บทบาทหนาที่เชิงสังคมและเชิงนิเวศของภูมิทัศนชายน้ําตามการจําแนกการใชงาน<br />

4.4 การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศนชายน้ํา (Change/Dynamic)<br />

4.4.1 วิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนบริเวณพื้นที่ชายน้ําจากการใชงานของมนุษย<br />

สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนชายน้ํามาจากการเปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งสาเหตุ<br />

หลักที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบมากมาย คือ การเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ชนบทกลายเปนพื้นที่เมือง<br />

(Urbanization)<br />

นอกจากการพัฒนากลายเปนเมือง ยังมีกระบวนการกัดเซาะ การทับถมของตะกอนตามธรรมชาติ ทําให<br />

ขนาดของลําน้ําและความลาดเอียงพื้นที่ชายน้ําเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในสวนของรูปแบบและรูปรางของแมน้ําและ<br />

พื้นที่ชายน้ําดวยเชนกัน<br />

รูปที่ 7 วิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนชายน้ํา<br />

675


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.4.2 ลักษณะการใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําที่ใชแนวคิดในการปรับตัวและยืดหยุนในการใชพื้นที่<br />

การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําในแมน้ําอยางเปนพลวัตในแตละชวงฤดูกาล คือ ชวงฤดูน้ําและชวงฤดูแลง<br />

ทําใหการใชประโยชนพื้นที่ชายน้ําเปลี่ยนไป โดยในสวนของพื้นที่เพื่อการยังชีพพบการเปลี่ยนแปลงไปตามชวง<br />

ฤดูกาลและมีการใชประโยชนของพื้นที่ชายน้ําแมในชวงเวลาที่น้ําทวม โดยใชแนวคิดในการปรับตัวและยืดหยุนใน<br />

การใชพื้นที่ โดยการเปลี่ยนแปลงชนิดพืชพรรณที่ใชเพาะปลูกบริเวณชายน้ํา เพื่อใหเหมาะสมกับชวงเวลาซึ่ง<br />

สัมพันธกับระดับน้ําที่เปลี่ยนแปลงอยางเปนพลวัต<br />

พื้นที่ชายน้ําเพื่อการยังชีพใชแนวคิดการปรับตัวและยืดหยุนในการใชงานเปนพื้นที่ที่มนุษยใชแนวคิดใน<br />

การปรับตัวและยืดหยุนในการใชงานบนพื้นที่ชายน้ํา จากการจําแนกและบงชี้ลักษณะการใชงานในเบื้องตน พบวา<br />

เปนพื้นที่ชายน้ําเพื่อการยังชีพเปนพื้นที่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งมีทั้งการเกษตรแบบยังชีพ เกษตรแบบการคา และ<br />

เกษตรแบบธรรมชาติ จึงไดจัดทําปฏิทินการปลูกพืชชายน้ําเพื่อประกอบแนวคิดในการใชพื้นที่ที่ใชหลักการปรับตัว<br />

และใชความยืดหยุนในการใชพื้นที่ชายน้ําซึ่งแสดงถึงความสัมพันธของการอยูรวมกันไดระหวางมนุษยและ<br />

ธรรมชาติจากความสามารถในการปรับตัวและยืดหยุน ดังตอไปนี้<br />

4.5 ลักษณะของการใชพื้นที่ชายน้ ําเพื่อทําการปลูกพืชผักชายน้ํา เปนดังนี้<br />

4.5.1 พื้นที่ชายน้ําแบบกวาง ซึ่งมีระยะหางระหวางระดับน้ํากับพื้นที่เหนือชายตลิ่งมาก (จ.พิษณุโลก)<br />

รูปที่ 8 ความสัมพันธในการปรับตัวและยืดหยุนของมนุษยในการใชงานและโครงสรางของพื้นที่ชายน้ํากับ<br />

การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําในแมน้ํานาน จ.พิษณุโลก<br />

สามารถใชพื้นที่ไดมากและเปนบริเวณกวาง (รูปที่ 8) ซึ่งในสวนที่ริมตลิ่งที่อยูในชวงของระดับน้ําที่ต่ําสุด<br />

และสูงสุด จะใชงานไดเฉพาะชวงฤดูแลง โดยปลูกพืชลมลุกประเภทคลุมดินที่ตนทุนไมสูงและใชเวลาในการ<br />

676


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เจริญเติบโตรวมการเก็บเกี่ยวสั้น แตในชวงพื้นที่ชายตลิ่งที่อยูถัดขึ้นไป จะพบการปลูกพืชไรเปนแปลงขนาดใหญ<br />

หรือแปลงสวนครัวที่หลากหลายเปนแปลงยอย และบริเวณที่เปนชวงรอยตอระหวางพื้นที่ชายตลิ่งและเหนือชาย<br />

ตลิ่งนั้นเริ่มเปนการปลูกไมยืนตน หรือพืชที่ใหผลผลิตไดตลอดป และในชวงฤดูน้ํา มีทุนกระชังปลาและเรือนแพจะ<br />

เขามาใกลฝงหรือตลิ่ง และเกิดน้ําทวมบริเวณที่ริมตลิ่งจึงไมสามารถปลูกพืชผักบนดินได ในบางพื้นที่จะปลูกพวก<br />

พืชน้ําในบริเวณนี้ เชน ผักบุง ผักแวน ผักกูด เพื่อใชเปนอาหารและเลี้ยงปลาควบคูไปดวย และเมื่อถึงชวงฤดูแลง<br />

ทุนกระชังปลาและเรือนแพจะอยูไกลออกไปจากฝงหรือตลิ่งเพื่อรองรับการลอยตัวบนผิวน้ํา และมีการปลูกพืชผัก<br />

บริเวณที่ริมตลิ่งอีกครั้งหนึ่ง<br />

4.5.2 พื้นที่ชายน้ําแบบแคบ ซึ่งมีระยะหางระหวางระดับน้ํากับพื้นที่เหนือชายตลิ่งนอย (จ.อุทัยธานี)<br />

เปนพื้นที่ชายน้ําแบบแคบซึ่งมีพื้นที่จํากัด และภูมิสัณฐานของพื้นที่คอนชางชันและมีการกัดเซาะตลิ่งจึง<br />

เปนการปลูกพืชสวนครัวในภาชนะและวางบริเวณที่ชายตลิ่ง และจะใชพื้นที่บริเวณรอยตอของที่ชายตลิ่งและเหนือ<br />

ชายตลิ่งเปนแปลงปลูกพืชสวนครัวไวใชในครัวเรือนเทานั้น แตการเกษตรเพื่อการจําหนาย จะเกิดในพื้นที่บริเวณที่<br />

เหนือชายตลิ่งขึ้นไปที่เปนสวนผลไม และมีการปลูกเตยหอมบนทุนแพและเลี้ยงปลาในกระชังในบริเวณลําน้ําซึ่งเปน<br />

การใชงานที่ดําเนินไปไดตลอดเวลา จึงมีการปรับตัวโดยใชวิธีการปรับเปลี่ยนตําแหนงของทุนและแพ ตามระดับน้ํา<br />

ในแตละฤดู แตพื้นที่การเกษตรเพื่อการจําหนายที่บริเวณหนองขุมหมา ซึ่งมีความสัมพันธกับชวงเวลาและระดับน้ํา<br />

โดยสวนผักชายน้ําและพืชไรขนาดใหญใชระบบการปลูกพืชหมุนเวียนในชวงฤดูแลง และทําประมงหรือรับจาง<br />

ในชวงฤดูน้ํา ซึ่งบานที่อยูในบริเวณนี้เปนบานที่มีใตถุนสูง จึงไมไดรับผลกระทบมากนักจากปญหาน้ําทวม<br />

รูปที่ 9 ความสัมพันธในการปรับตัวและยืดหยุนของมนุษยในการใชงานและโครงสรางของพื้นที่ชายน้ํากับ<br />

การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําในแมน้ําสะแกกรัง จ.อุทัยธานี<br />

677


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

รูปที่ 10 สรุปกรอบกระบวนการบงชี้และจําแนกลักษณะบนภูมิทัศนชายน้ํา<br />

กระบวนการบงชี้และจําแนกคุณลักษณะของภูมิทัศน จัดเปนกระบวนการพื้นฐานเพื่อนําไปสูการวาง<br />

แผนภูมิทัศน ซึ่งผลการวิจัยที่ไดทําใหเห็นองคประกอบของภูมินิเวศไดอยางชัดเจน และสามารถมองเห็นภูมิทัศน<br />

ชายน้ ําในมุมมองที่หลากหลายยิ่งขึ้น เชน มุมมองทางสังคมศาสตร มุมมองทางเศรษฐศาสตร มุมมองดาน<br />

มานุษยวิทยา ทั้งนี้เริ่มจากการมองภูมิทัศนชายน้ําในมุมมองของภูมินิเวศวิทยา ซึ่งเปนการศึกษาถึงความสัมพันธ<br />

ระหวางการดํารงชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยที่ความสัมพันธของกิจกรรมที่มนุษยไดกระทําขึ้นนั้นจะสงผลใหเกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงโดยตรงตอโครงสรางและบทบาทของภูมิทัศน (Troll, 1971 และ Naveh and Lieberman ,1984)<br />

โดยการวิจัยนี้จัดทําเพื่อคนหาคําธิบายขอสงสัยในความสําคัญของการที่มนุษยปรับตัวและในการใช<br />

ประโยชนที่ดินบริเวณภูมิทัศนชายน้ําอยางยืดหยุน ซึ ่งสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําที่เปนเงื่อนไขกลไก<br />

ทางธรรมชาติที่ดําเนินไปอยางเปนพลวัต โดยสามารถนํากระบวนการและผลการวิจัยไปใช เพื่อเชื่อมโยง<br />

ความสัมพันธ โดยกระบวนการบงชี้จําแนกบทบาทหนาที่ของภูมิทัศนและการบริการเชิงนิเวศที่เปนสวนสําคัญเพื่อ<br />

ทําการอางอิงและบงชี้ใหเห็นถึงศักยภาพและคุณคาเชิงนิเวศของพื้นที่ศึกษานั้นๆ ซึ่งเปนการเสนอขอมูลในดาน<br />

คุณลักษณะของภูมิทัศนชายน้ําและคุณคาเชิงนิเวศของภูมิทัศน เพื่อนําไปใชประกอบการตัดสินใจถึงแนวทางของ<br />

รูปแบบการใชพื้นที่ชายน้ําและเห็นถึงความสําคัญของการปรับตัวและยืดหยุน (Adaptation & Resilience) กับ<br />

ลักษณะการใชงานในภูมิทัศนชายน้ําซึ่งเปนแนวทางในการอยูรวมกันระหวางมนุษยกับธรรมชาติ ที่มนุษยสามารถ<br />

รองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได<br />

5.1 บทสรุปจากผลการวิจัย<br />

5.1.1 พื้นที่ชายน้ํานาน จังหวัดพิษณุโลก เปนกลุมตัวอยางของพื้นที่ชายที่มีบริเวณกวาง เหมาะแกการใชประโยชน<br />

จากพื้นที่โดยระบบการปลูกพืชหมุนเวียนซึ่งเปนแนวคิดในการปรับตัวและยืดหยุนการใชงานใหเหมาะกับ<br />

สภาพแวดลอม สวนพื้นที่ชายน้ําสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี เปนกลุมตัวอยางของพื้นที่ชายที่มีบริเวณแคบ ไม<br />

เหมาะกับใชพื้นที่ชายน้ําเทาที่ควร มนุษยจึงปรับตัวโดยการใชประโยชนพื้นที่ในแมน้ําแทน ไดแก การปลูกเตยหอม<br />

และการเลี้ยงปลาในกระชัง<br />

678


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.1.2 ลักษณะพื้นที่ใชงานของมนุษยบนพื้นที่ชายน้ําที่สามารถจําแนกได มี 2 ลักษณะ คือ พื้นที่สาธารณะเพื่อการ<br />

พักผอน (Recreation Area) ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการออกแบบพื้นที่เมือง (Urban) พื้นที่ชายน้ําที่เกิดจากการ<br />

ขยายตัวของเมือง และพื้นที่เพื่อการยังชีพ (Subsistence Area) ซึ่งเปนพื้นที่มีลักษณะคลายพื้นที่ชนบท (Rural)<br />

5.1.3 ภูมิทัศนชายน้ําที่เปนพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอนที่มาจากการออกแบบ โดยไดรับอิทธพลจากการ<br />

ออกแบบพื้นที่สาธารณะ เชน สวนสาธารณะซึ่งใชวัสดุกอสรางที่มีความถาวร โดยเปนพื้นดาดแข็งและทําใหระบบ<br />

นิเวศเปลี่ยนแปลง ซึ่งตางกับพื้นที่เพื่อการยังชีพที่มีองคประกอบของภูมิทัศนชายน้ําเปนแปลงเกษตรกรรม ที่มี<br />

ความสามารถในการอุมน้ําและมีพลังงานแรธาตุหมุนเวียน ซึ่งเปนผลผลิตและความสามารถในการควบคุมที่เกิด<br />

จากภูมิทัศนที่มีการใชพื้นที่ชายน้ําอยางยืดหยุนดวยระบบของการปลูกพืชหมุนเวียน<br />

5.1.4 ศักยภาพหรือบทบาทของพื้นที่สาธารณะชายน้ําเพื่อการพักผอนทั้งในเชิงสังคมและเชิงนิเวศวิทยามีนอยกวา<br />

พื้นที่ชายน้ําเพื่อการยังชีพ เนื่องจากนักออกแบบหรือสวนราชการในพื้นที่ไมคํานึงถึงระบบนิเวศของพื้นที่ชายน้ําใน<br />

การวางแผนภูมิทัศน ซึ่งสงผลใหกระบวนการในระบบนิเวศเดิมถูกรบกวนจากสิ่งกอสรางหรือการกลายเปนเมือง<br />

นอกจากนี้เปนผลใหภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscape) ที่เกิดจากการเรียนรูของมนุษยในการใชงานในพื้นที่<br />

นั้นหายไป จนทําใหขาดเอกลักษณในพื้นที่ ซึ่งสิ่งเหลานี้ สามารถสงผลกระทบใหกับศักยภาพของภูมิทัศนในดาน<br />

เศรษฐศาสตร สังคม วัฒนธรรม เชนกัน<br />

5.1.5 ผลประโยชนจากระบบนิเวศหรือการบริการเชิงนิเวศจะมากหรือนอย เปนผลตอเนื่องที่ไดรับจากบทบาท<br />

หนาที่ของภูมิทัศนในเชิงนิเวศ ซึ่งจากผลการวิจัยนี้พบวาในพื้นที่เพื่อการยังชีพที่ใชแนวคิดการปรับตัวและยืดหยุน<br />

ในการใชพื้นที่ จะไดรับผลประโยชนจากระบบนิเวศอยางเต็มที่เนื่องจากระบบการปลูกพืชชายน้ําที่มีความสัมพันธ<br />

กับสภาวะแวดลอม ทําใหบทบาทหนาที่ของภูมิทัศนมีความสมบูรณ โดยในสวนการใชพื้นที่สาธารณะเพื่อการ<br />

พักผอน ประเภทที่เปนอัฒจรรยขั้นบันไดที่อยูตลิ่งชายน้ําไมสงผลใหเกิดการบริการเชิงนิเวศที่ดีในพื้นที่<br />

5.1.6 ความเหมือนกันหรือคลายคลึงกันในพื้นที่ชายน้ําทั้ง 2 กรณีศึกษาตัวอยาง คือ พื้นที่ชายน้ํานาน จ.พิษณุโลก<br />

และ พื้นที่ชายน้ ําสะแกกรัง จ.อุทัยธานี คือการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนชายน้ําที่ขึ้นอยูกับการพัฒนาของพื้นที่ให<br />

กลายเปนเมือง หรือการขยายตัวของเมือง ที่เปนไปตามกระแสนิยมเพื่อรองรับรูปแบบการใชชีวิตคนเมือง จาก<br />

พื้นที่เพื่อการยังชีพไปสูพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอนหยอนใจ<br />

รูปที่ 10 การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนซึ่งเปนวิวัฒนาการของพื้นที่ชายน้ํา<br />

679


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 สรุปความสัมพันธและผลที่เกิดจากการใชพื้นที่ชายน้ําในพื้นที่แตละกลุมประเภทการใชงาน<br />

สรุปความสัมพันธและผลที่เกิดจากการใชพื้นที่ชายน้ํา<br />

กลุมพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอน กลุมพื้นที่เพื่อการยังชีพ<br />

5.2 การนําไปใชในการวางแผนภูมิทัศน<br />

การมองพื้นที่ชายน้ําในแงมุมแบบภูมิทัศน(Landscape)ดังเชนปจจุบันที่ภูมิสถาปนิก นักวางผังเมืองหรือ<br />

นักออกแบบเมืองสวนใหญจะมองพื้นที่ชายน้ําดวยการรับรูทางสายตาซึ่งเปนการรับรูดานกายภาพ ซึ่งมุงเนนดาน<br />

การออกแบบเพื ่อความสวยงามและมีการวิเคราะหพื้นที่โดยพิจารณาจากการใชประโยชนที่ดินในเชิงเศรษฐศาสตร<br />

เปนหลัก ทําใหการออกแบบภูมิทัศนชายน้ํามีแนวทางเพื่อรองรับกิจกรรมของสังคมเมืองที่ขยายตัวมากขึ้น จึงเปน<br />

เหตุใหเกิดการละเลยและไมคํานึงถึงการศึกษาพื้นที่จากความเปนมาของกิจกรรม บริบท และศักยภาพพื้นที่ที่มีอยู<br />

เดิม รวมถึงความสัมพันธที่มองไมเห็นหรือไมสามารถสื่อออกมาไดทางกายภาพ เชน ระบบนิเวศ วัฒนธรรม<br />

ปรากฏการณทางธรรมชาติทั้งที่เปนพลวัตและที่เกิดขึ้นอยางฉับพลัน ซึ่งเปนความสัมพันธในการอยูรวมกันของ<br />

สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชิวิต รวมถึงผลประโยชนและผลกระทบที่ไดรับจากความสัมพันธดังกลาว ที่สามารถมองเห็นได<br />

จากการมองพื้นที่ชายน้ําในมุมมองแบบภูมินิเวศวิทยา (Landscape Ecology) และมานุษยนิเวศวิทยา(Human<br />

Ecology) ซึ่งในการวิจัยชิ้นนี้เปนการเริ่มตนที่จะมองพื้นที่ชายน้ําในมุมมองแบบภูมินิเวศวิทยา<br />

ซึ่งผลของการศึกษาวิจัยชิ้นนี้ใชเปน ขอควรพิจารณาในการสรางแนวทางเพื่อใชระบุปจจัยในกระบวนการ<br />

ประเมินภูมิทัศน (Landscape Assessment) ในการรักษาระบบนิเวศและไดรับผลประโยชนจากพื้นที่และจากระบบ<br />

นิเวศไดมากที่สุด โดยไมทําลายสภาพแวดลอมของพื้นที่ชายน้ําที่มีอยูเดิม และเพื่อเปนการใชพื้นที่ใหคุมคาและมี<br />

ศักยภาพมากที่สุด โดยคํานึงถึงการแสดงความสัมพันธในระบบภูมินิเวศกับการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําของมนุษย<br />

อยางเปนพลวัต ซึ่งนําไปสูทางเลือกในการใชประโยชนที่ดินแบบยั่งยืน โดยใชแนวคิดในการปรับตัวของมนุษยและ<br />

ใชความยืดหยุนในการใชงานของพื้นที่ชายน้ํา ภายใตเงื่อนไขกลไกการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น<br />

การปรับตัวในการดํารงชีวิตและการใชความยืดหยุนในการใชงานบนพื้นที่ของมนุษยเปนภูมิปญญาที่เกิด<br />

จากการเรียนรูผานประสบการณระหวางมนุษยกับธรรมชาติในการอยูรวมกัน เพื่อความอยูรอดและพึ่งพาซึ่งกันและ<br />

กัน ทําใหการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําของมนุษยเกิดจากการใชความสามารถในการปรับตัวและยืดหยุน ซึ่งทําให<br />

พื้นที่ดังกลาวมีศักยภาพและมีคุณคา ที่ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูรวมกับการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติไดอยางยั่งยืน ในการวิจัยนี้จึงมุงเนนในการแสดงใหเห็นถึงประโยชนและความสําคัญของ<br />

คุณลักษณะการปรับตัวและยืดหยุนในการใชงานบนพื้นที่ชายน้ําของมนุษยที่ปรับเปลี่ยนใหสัมพันธและสอดคลอง<br />

กันกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมธรรมชาติในชวงเวลานั้นๆ<br />

680


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

นอกจากนี้ความเขาใจและแนวคิดในการปรับตัวของมนุษยและความยืดหยุนในการใชงานของพื้นที่มี<br />

ศักยภาพในการใชเปนพื้นฐานในการพัฒนาความสามารถในการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศได เพื่อการพัฒนาศักยภาพและลดขีดจํากัดในการใชภูมิปญญาที่เกิดจากการเรียนรูผานประสบการณ<br />

รวมระหวางมนุษยกับธรรมชาติในเรื่องของความยืดหยุนและการปรับตัวของการอยูรวมกันเพื่อความอยูรอดและ<br />

พึ่งพาซึ่งกันและกัน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- De Groot, R.S., Wilson, M.A. and Boumans, M.J. (2002). A typology for the<br />

classification, description and valuation of ecosystem functions, goods and services.<br />

Ecological Economics 41, pp. 393–408.<br />

- Forman, R. T. T. and Godron. M. (1986)., Landscape Ecology. John Wiley & Sons,<br />

New York .<br />

- Likens, G. E. (1985). An Ecosystem Approach to Aquatic Ecology: Mirror Lake and its<br />

Environment. Springer-Verlag, New York.<br />

- Machlis, G.E., J.E.Force and W.R.Burch Jr. (1997). The Human Ecosystem, Part I: The<br />

Human Ecosystem as an Organizing Concept in Ecosystem Management. Society and<br />

Natural Resources 10 , pp. 347-367.<br />

- Naveh, Z. and Lieberman,A. (1984). Landscape ecology: theory and application.<br />

Springer-Verlag, New York.<br />

- Pickett, S.T.A., Cadenasso, M.L. and Grove, J.M. (2004). Resilient cities: meaning,<br />

models, and metaphor for integrating the ecological, socio-economic and planning<br />

realms. Landscape and Urban Planning 69 , pp. 369-384.<br />

- Tanabe, S. (1994). Ecology and Practical Technology, Peasant Farming Systems in<br />

Thailand. White Lotus, Bangkok.<br />

- The Landscape Character Network (LCN). (2002). LANDSCAPE CHARACTER<br />

ASSESSMENT GUIDANCE FOR ENGLAND AND SCOTLAND. [Online]. Available from :<br />

Available from : http://www.landscapecharacter.org.uk/files/pdfs/LCA-Guidance.pdf,<br />

[2009, July 22]<br />

- Troll, G. (1971). Landscape ecology (geo-ecology) and Bioge-oceonology-A terminology<br />

study. Geoforum 8 , pp.43–46.<br />

- Turner, N.J., Davidson-Hunt, and O’Flaherty. (2003). Living on the Edge: Ecological and<br />

Cultural Edges as Sources of Diversity for Social-Ecological Resilience. Human Ecology<br />

Vol.31, pp. 439-461.<br />

- Zonneveld, IS. (1995). Landscape ecology. SPB Academic, Amsterdam<br />

- ชลประทาน, กรม. สถิติระดับน้ําและรูปตัดแมน้ํานานและสะแกกรัง. กรุงเทพมหานคร : กรม<br />

ชลประทาน, 2545-2551. (เอกสารไมตีพิมพ).<br />

681


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ดนัย ทายตะคุ (2548). โครงสรางเชิงปริภูมิของภูมิทัศน กับ การวิเคราะหและการสราง<br />

แบบจําลอง: การทบทวนทางทฤษฏีของกระบวนการทางทฤษฏี ของกระบวนการเชิงปริมาณ<br />

ทางภูมินิเวศวิทยา.วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฉ.<br />

1/2548 : 97-124.<br />

- ภาพถายดาวเทียมดิจิตอลผานเครือขายอินเทอรเน็ต.Googleearth. [ออนไลน]. 2551.<br />

แหลงที่มา: http:// www.googleearth.com/ [2552, พฤศจิกายน 25]<br />

- ศุภกร ชินวรรโณ (2549). การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในอนาคต :<br />

ผลสรุปจากการจําลองสถานการณอนาคตโดยแบบจําลองทางคณิตศาสตร. รศ.ดร. จริยา<br />

บุญญวัฒน, บรรณาธิการ. รายงานการประชุมการสัมมนาทางวิชาการหนึ่งทศวรรษการวิจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงของโลกในประเทศไทย 28 พฤศจิกายน 2549. จรัลสนิทวงศการพิมพ,<br />

กรุงเทพมหานคร, 112-114.<br />

682


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการผลิตพืชไร<br />

Impact and Adaptation of Climate Change on Field Crops Production<br />

สมชาย บุญประดับ 1 วินัย ศรวัต 2 สุกิจ รัตนศรีวงษ3 ปรีชา กาเพ็ชร 2<br />

แคทลิยา เอกอุน 4 วิภารัตน ดําริเขมตระกูล 5 อิสระ พุทธสิมมา 2 และ เกริก ปนเหนงเพ็ชร 6<br />

1 สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก<br />

2 ศูนยวิจัยพืชไรขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน<br />

3 ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา<br />

4 ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ อําเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ<br />

5 ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย อําเภอเมือง จังหวัดเลย<br />

6 คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน<br />

บทคัดยอ<br />

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม มีพืชเศรษฐกิจหลายชนิดที่เปนพืชอาหารและพืชพลังงาน ซึ่งสวน<br />

ใหญยังคงปลูกในเขตอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดังนั้นสภาพดินฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ยอมมีผลกระทบตอผลผลิต<br />

ของพืชเปนอยางมาก โดยเฉพาะพืชไรเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก ออย มันสําปะหลัง และขาวโพด จึงไดศึกษาถึง<br />

ผลกระทบและการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการผลิตพืชไร โดยสนับสนุนทุนวิจัยจาก<br />

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ ไดใชโปรแกรม CropDSS (DSSAT+GIS) เพื่อจําลอง<br />

ผลกระทบตอผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดในแตละหนวยยอยการผลิตพืช (SMU) ซึ่งภายในแตละ SMU นั้นจะมี<br />

สภาพแวดลอม (ภูมิอากาศและดิน) ที่สม่ําเสมอ สภาพอากาศในแตละ SMU นั้นเปนขอมูลสภาพอากาศรายวัน ป<br />

1980-2099 ซึ่งไดจากแบบจําลองภูมิอากาศ ECHAM4 A2 GCM สวนขอมูลพืช ใชคาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรม<br />

(genetic coefficients) ของออย มันสําปะหลังและขาวโพด ซึ่งใชพันธุ K 84-200 พันธุเกษตรศาสตร 50 และพันธุ<br />

สุวรรณ 1 ตามลําดับ เปนตัวแทน<br />

ผลการศึกษา พบวา ผลกระทบในระยะยาวตอผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดมีความแตกตางกัน ในกรณีของออย<br />

ผลผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้น แตในกรณีของขาวโพดและมันสําปะหลังผลผลิตมีแนวโนมจะลดลง โดยภาพรวมการ<br />

เปลี่ยนแปลงของผลผลิตในระยะยาวจะมีคาลดลง โดยมันสําปะหลังเปนพืชที่ไดรับผลกระทบในระยะยาวมากที่สุด<br />

รองลงมา คือ ขาวโพด และออย และเมื่อเปรียบเทียบผลกระทบระยะยาวของการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตพืชทั้ง 3<br />

ชนิดกับความแปรปรวนรายป พบวา ความแปรปรวนของผลผลิตรายปมีคาสูง สําหรับออยมีคารอยละ 18 สวนมัน<br />

สําปะหลังและขาวโพดมีคารอยละ 34 และ 42 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาถึงความแปรปรวนรายพื้นที่ พบวา<br />

นอกเหนือจากภูมิอากาศแลัว ยังถูกกําหนดโดยความหลากหลายของดิน พบวา ออยมีคาเทากับรอยละ 23 สําหรับ<br />

มันสําปะหลังและขาวโพดมีคาเทากับรอยละ 33 และ 46 ตามลําดับ<br />

เมื่อนําแผนที ่ผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดเฉลี่ยรายทศวรรษของทุกๆ SMU ในชวงป 2030-39 และ 2090-99 ซึ่ง<br />

เปนตัวแทนของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล และคอนขางไกล มาทําการคัดเลือกใหเหลือเฉพาะพื้นที่ๆ<br />

มีผลผลิตต่ํากวาหรือเทากับรอยละ 70 ของปฐาน (ในชวงป 1980-89) จะไดพื้นที่ที่มีผลผลิตในระดับที่วิกฤต ผล<br />

683


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การศึกษา พบวา พื้นที่วิกฤตของการผลิตออยและมันสําปะหลัง สวนใหญอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ในขณะที่พื้นที่วิกฤตของขาวโพด พบกระจายตัวอยูทุกภูมิภาค<br />

จากการวิเคราะหหาสาเหตุและแนวทางการปรับตัว พบวา คุณสมบัติของดินเปนสาเหตุหลักของการลดลง<br />

ของผลผลิตพืชไรทั้ง 3 ชนิด โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการเก็บน้ําและระบายน้ํา<br />

สําหรับการปรับตัวในพื้นที่ปลูกขาวโพดที่เกิดในเขตวิกฤต โดยการเปลี่ยนวันปลูกจากตนฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม<br />

) เปนกลางฤดูฝน (เดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม) สวนการปรับตัวในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง โดยการปรับเปลี่ยน<br />

วันปลูกจากชวงตนฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม) มาเปนชวงปลายฤดูฝน (เดือนตุลาคม) ในกรณีใชพันธุเกษตรศาสตร<br />

50 หรือมีการปรับเปลี่ยนพันธุใหม มาเปนพันธุระยอง9 หรือ CMR35-22-196 นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ในเขตวิกฤต<br />

ของมันสําปะหลัง ประมาณ 1.6 ลานไร ที่สามารถปรับเปลี่ยนมาปลูกออยได โดยผลผลิตของออยไมไดรับ<br />

ผลกระทบจากสภาวะโลกรอน สวนการปรับตัวในพื้นที่ปลุกออย สามารถทําได 2 แนวทาง คือ การใหน้ําเสริม<br />

ในชวงสามเดือนแรกหลังปลูก และการปรับปรุงดินใหมีความเหมาะสมตอความเปนประโยชนของน้ําใหมากขึ้น<br />

คําสําคัญ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบ การปรับตัว พืชไร ผลผลิต<br />

Abstract<br />

Thailand as an agricultural country has various economic crops for food, feed and fuel which<br />

normally grown in rainfed area. Climate changes due to variation of soil properties and climate i.e.<br />

rainfall, temperature and the amount of CO 2 were affected to those yields particularly sugarcane, cassava<br />

and maize. This study, was financially supported by Thailand Research Fund (TRF), was to define where<br />

(spatial), when (temporal) and magnitude of the impact and adaptation of climate change on the 3 major<br />

field crops production. GIS and a DSSAT model, coupled under the CropDSS 1.0 shell, were employed in<br />

this research to simulate yield throughout the country during 1980-2099. Map data of growing areas were<br />

obtained from land use map. Weather data set from ECHAM4 A2 GCM and downscaled by PRECIS<br />

regional climate model was managed and input into the model including genetic coefficients, soil data, the<br />

atmospheric CO 2 concentration which increase from 330 ppmv in 1980 to 833 ppmv in 2099, and<br />

management of crop production.<br />

The results have shown that simulated yields of cassava and maize except sugarcane were<br />

much affected by the climate change. However, the yields were much fluctuated in both temporal and<br />

spatial of the future climate systems by 41% and 45% on maize, 34% and 33% on cassava and 18% and<br />

23% on sugarcane due to change in climate and soil and their interactions between climate and soil<br />

properties at the given area throughout the country.<br />

The hotspots on the 3 crops production map during 2 periods (2030-39 and 2090-99) have been<br />

defined that yield was lower or equal to 70 % of yield in base year. For sugarcane and cassava, the<br />

hotspots were found throughout the Northeast region, however, maize found them throughout the country.<br />

The soil properties particularly physics properties mainly caused for yield reduction of 3 crops. The<br />

adaptation of maize and cassava grown in the hotspots should be changed planting date from early to<br />

mid and late rainy season, respectively. Cassava should be also changed variety from KU50 to RY9 or<br />

CMR35-22-196, moreover, some hotspot could be shifted to sugarcane. For sugarcane should be<br />

684


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

adapted by water applied during 3 months after planting and improved soil properties for increasing<br />

available water.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ในการศึกษาถึงผลกระทบตอภาวะโลกรอนตอพืชไรในครั้งนี้ ไดทําการศึกษาในพืชไรเศรษฐกิจที่สําคัญ<br />

ของประเทศ 3 ชนิด คือ ออย มันสําปะหลัง และขาวโพด โดยออยเปนพืชเพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันเชิง<br />

พาณิชยที่มีกระบวนการผลิตครบวงจร ตั้งแตการปลูก แปรรูปและจําหนาย ภายใตการควบคุมของ<br />

พระราชบัญญัติออยและน้ําตาลทราย พ.ศ. 2527 พื้นที่ปลูกออยทั้งประเทศอยูระหวาง 5.5-6.6 ลานไร ผลผลิตออย<br />

ของไทยแตละปมีความแปรปรวนตั้งแต 34.7-74.1 ลานตัน เปนผลสืบเนื่องมาจากการไดผลผลิตตอพื้นที่ต่ํา<br />

เฉลี่ยทั้งประเทศไดประมาณ 9 ตันตอไร เพราะพื้นที่ปลูกสวนใหญอยูในเขตอาศัยน้ําฝน ขาดการดูแลรักษา และ<br />

การปองกันกําจัดศัตรูออยที่ถูกตองและเหมาะสม สวนปริมาณน้ําตาลตอตันออยเฉลี่ยของทั้งประเทศไดประมาณ<br />

102 กิโลกรัมตอตันออย เนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศชวงกอนเก็บเกี่ยว เชน มีฝนตก น้ําทวมขังออย ทําใหเก็บ<br />

เกี่ยวไดชา อุณหภูมิโดยเฉพาะชวงกลางคืนสูงมากกวา 20 องศาเซลเซียส รวมถึงวิธีการเก็บเกี่ยว ที่มีการเผา<br />

ออยกอนตัด และขาดการจัดการเกี่ยวกับการขนสงออยเขาโรงงาน ทําใหลาชา (สถาบันวิจัยพืชไร, 2546)<br />

สําหรับมันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่ทํารายไดเขาประเทศจากการสงออกถึงปละกวา 20,000 ลานบาท<br />

ในป พ.ศ. 2546 มีมูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังทั้งหมด 24,978 ลานบาท มันสําปะหลังสามารถแปรรูป<br />

เปนแปง มันเสน และมันอัดเม็ด รวมทั้งใชในอุตสาหกรรมตอเนื่องมากมาย ทั้งอาหารมนุษย อาหารสัตว และ<br />

พลังงานเชื้อเพลิง (สถาบันวิจัยพืชไร, 2546) พื้นที่ปลูกทั้งประเทศอยูระหวาง 6.7-7.4 ลานไร ปริมาณผลผลิต<br />

รวม 22.5-26.9 ลานตัน (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2551) ประเทศไทยมีความพรอมในการผลิตมัน<br />

สําปะหลังอยูในเกณฑสูงคือ มีสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ และบุคลากรที่เหมาะสมในทุกสวนของ<br />

การผลิตมันสําปะหลัง ตั้งแตการปลูกโดยเกษตรกร จนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑของภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพ<br />

เพิ่มขึ้นทุกป ดังเชนอุตสาหกรรมแปง ที่มีอัตราการเจริญเติบโตตอเนื่องทุกปอยางนอยรอยละ 10 ตอป และมีความ<br />

ตองการหัวมันสําปะหลังเพิ่มขึ้น นอกจากนี้เกษตรกรผูเลี้ยงสัตวยังหันมาใชมันเสนสะอาดเปนวัตถุดิบทําอาหารสัตว<br />

เพิ่มขึ้นทุกปเชนกัน ทําใหเกิดการผลิตมันเสนสะอาดไมเพียงพอ รวมทั้งประเทศจีนมีความตองการมันเสนจาก<br />

ประเทศไทยไมจํากัดจํานวน เพื่อผลิตแอลกอฮอลสําหรับใชในดานพลังงานเชื้อเพลิง เนื่องจากน้ํามันมีราคาสูงขึ้น<br />

มาก จําเปนตองหันมาใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลโดยใชเปนสวนผสมกับน้ํามัน<br />

เบนซิน ทําใหมีความตองการใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบเพิ่มขึ้น คาดวาในป พ.ศ. 2550 – 2554 มีความตองการ<br />

มันสําปะหลังหัวสดถึง 2 ลานตันตอป<br />

ในสวนของขาวโพดพื้นที่ปลูกมีแนวโนมลดลงตามลําดับ โดยในปเพาะปลูก 2539/40 มีพื้นที่ปลูก 8.66<br />

ลานไร ปริมาณการผลิต 4.53 ลานตัน เปรียบเทียบกับปเพาะปลูก 2549/50 มีพื้นที่ปลูก 6.08 ลานไร ปริมาณการ<br />

ผลิต 3.70 ลานตัน (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2546 และ 2550) ขาวโพดที่ผลิตไดรอยละ 90 ใชเปนวัตถุดิบ<br />

ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว โดยมีความตองการใชขาวโพดเพิ่มขึ้น เนื่องจากอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตวขยายตัว<br />

เพิ่มขึ้น ทําใหความตองการใชขาวโพดเปนวัตถุดิบเพิ่มขึ้นดวย (เกรียงศักดิ์, 2544) สาเหตุที่ทําใหพื้นที่ปลูก<br />

ขาวโพดลดลง นอกจากมีการแขงขันกับออยและมันสําปะหลัง ทําใหไมสามารถขยายพื้นที่ปลูกไดแลว ยังมีปญหา<br />

ในการผลิตขาวโพด คือ ประสิทธิภาพการผลิตต่ํา โดยเฉพาะความแปรปรวนของปริมาณน้ําฝนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

(ธีรศักดิ์, 2542)<br />

การเพิ่มขึ้นของ CO 2 เปนเหตุทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ปริมาณและรูปแบบการกระจายตัวของฝน<br />

เปลี่ยนแปลงไป มีความแปรปรวนและรุนแรงมากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดลอมอื่นๆ<br />

685


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อยางตอเนื่องเปนลูกโซ (IPCC, 2007) เนื่องจากสภาพแวดลอมโลกเปนระบบที่มีขนาดใหญ ซึ่งมีเวลาของการ<br />

ตอบสนอง และคืนตัวที่ชา (response time and relaxation time) ดังนั้นแมจะสามารถหยุดการปลดปลอยกาซเรือน<br />

กระจก (greenhouse gases) ไดทั้งหมดในชวงทศวรรษนี้ และสามารถปองกันไมใหอุณหภูมิของโลกสูงจนถึงจุด<br />

tipping point ได แตผลกระทบที่มีตอสภาพภูมิอากาศ และระบบนิเวศนของโลกก็ยังคงอยูตอไปอีก ยาวนานนับ<br />

ศตวรรษ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมดังกลาวจึงมีผลกระทบโดยตรงตอการผลิตพืชในอนาคตที่ไมสามารถจะ<br />

หลีกเลี่ยงได<br />

ปจจุบันไดมีการนําแบบจําลองภูมิอากาศและแบบจําลองพืชมาใชรวมกันเพื่อประเมินเชิงปริมาณถึง<br />

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกตอผลผลิตพืชและการเกษตรในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก เชน Anwar<br />

และคณะ (2007) ไดใช CCAM-CropSyst ประเมินผลกระทบของภาวะโลกรอนตอผลผลิตขาวสาลีในประเทศ<br />

ออสเตรเลียในชวงป ค.ศ. 2000-2070 พบวา ผลผลิตขาวสาลีจะลดลง รอยละ 25-29 จากปจจุบัน ในขณะที่ Tan<br />

และ Shibasaki (2003) ไดบูรณาการ แบบจําลอง EPIC เขากับ GIS และ Interference Engine Technique เพื่อ<br />

ประเมินผลกระทบของภาวะโลกรอนตอผลผลิตพืช และแนวทางแกปญหาที่เหมาะสม (optimization) จากการ<br />

ประเมินผลพบวา สวนใหญของโลกจะไดรับผลเสียจากภาวะดังกลาว และตองปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตใหมี<br />

ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น<br />

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม และเศรษฐกิจของประเทศขึ้นกับผลผลิตพืช สภาพดินฟาอากาศที่<br />

เปลี่ยนแปลงไปจึงมีผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจและสภาพความเปนอยูของประชากรของประเทศ จําเปนที่จะตอง<br />

เตรียมการในการปรับตัวและสรางทางเลือกของระบบการผลิตพืชเพื่อรองรับผลกระทบจากสถานการณดังกลาว<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อระบุ สถานที่ เวลา ระดับความรุนแรง และการปรับตัวของผลกระทบจากภาวะโลกรอนตอการผลิตพืชไร<br />

ทั้ง 3 ชนิดของประเทศไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 ขอมูลที่ตองการในการนําเขาในแบบจําลอง ประกอบดวย<br />

1) ขอมูลสัมประสิทธิ ์พันธุกรรมพืช โดยในออย ใชพันธุ K84-200 (อรรถชัย และคณะ, 2540) เปนตัวแทน<br />

พันธุออยทั้งประเทศ มันสําปะหลังใชพันธุเกษตรศาสตร 50 (วินัย และคณะ, 2542) เปนตัวแทน และขาวโพด<br />

ใชพันธุสุวรรณ 1 เปนตัวแทน<br />

2) ขอมูลการจัดการ ใชขอมูลการจัดการในการปลูกพืชแตละชนิด ตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร<br />

(นิรนาม, 2545, 2547ก และ 2547ข)<br />

3) ขอมูลสภาพแวดลอม โดยการสรางหนวยยอยการผลิตพืช (SMU : Simulation Mapping Unit) ซึ่ง<br />

สรางขึ้นจากเทคนิคการซอนทับ (overlay technique) ของโปรแกรม ArcView (ESRI, 1996) โดยใชขอมูลพื้นที่ปลูก<br />

จากแผนที่การใชประโยชนที่ดินของโปรแกรม Agzone 1.0 (ศูนยสารสนเทศ, 2544) มาวิเคราะหเชิงซอน กับแผนที่<br />

กลุมชุดดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2543) และแผนที่ภูมิอากาศจากการประเมินของแบบจําลองภูมิอากาศระดับภูมิภาค<br />

(regional climate model) PRECIS ที่มีรายละเอียดของการประเมินเทากับ 25 x 25 กิโลเมตร และมีระดับการ<br />

เปลี่ยนแปลงความเขมขนของ CO 2 จาก 330 ppmv ในป 1980 เปน 833 ppmv ในป 2099 เปนไปตามคาภายใต<br />

เงื่อนไข A2 SRES IPCC (2007)<br />

686


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากนั้นนําขอมูลเขาในโปรแกรม CropDSS (อรรถชัย, 2551) ซึ่งเปนระบบการเชื่อมโยงแบบจําลองการ<br />

ผลิตพืช DSSAT (Tsuji และคณะ, 1994) เขากับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) ยกเวนในออยที่นําขอมูล<br />

เขาในโปรแกรม DSSAT ver. 3.5 แลวจึงนําผลที่ไดมาแสดงในโปรแกรม ArcView ภายหลัง (เนื่องจากมีปญหา<br />

เกี่ยวกับคาสัมประสิทธิ์พันธุกรรมพืชที่ยังไมไดรับการปรับปรุง) เมื่อไดผลลัพธจากการ simulate ในแตละ SMU<br />

แลว นํามาวิเคราะหถึงผลกระทบตอผลผลิตพืชในชวงเวลาตาง ๆ และในระยะยาว วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทั้ง<br />

ในเชิงเวลาและเชิงพื้นที่ วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเมื่อเทียบกับปฐาน รวมทั้งวิเคราะหหาพื้นที่ที่<br />

ไดรับผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (hotspots)<br />

3.2 การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเชิงเวลา คํานวณไดจากการนําผลผลิตในแตละ SMU มาหา<br />

คาเฉลี่ย ตั้งแตป ค.ศ.1980-2099 โดยมีการถวงน้ําหนักจากขนาดของพื้นที่ในแตละ SMU ดังสมการ<br />

Wy<br />

n<br />

∑<br />

i=<br />

1<br />

=<br />

n<br />

A y<br />

i<br />

i<br />

∑ Ai<br />

i=<br />

1<br />

เมื่อ Wy = ผลผลิตเฉลี่ยของแตละป<br />

A<br />

i<br />

= พื้นที่ของ SMU นั้น ๆ<br />

y<br />

i<br />

= ผลผลิตของ SMU นั้น ๆ<br />

พรอมกับหาคาความแปรปรวนของผลผลิต ของคาเฉลี่ยรายป (standard deviation)<br />

3.3 การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเชิงพื้นที่ คํานวณไดจาก<br />

เมื่อ Ws = ผลผลิตเฉลี่ยราย 10 ป,<br />

y<br />

i<br />

= ผลผลิตของปในชวง 10 ปนั้น ๆ<br />

จากนั้นหาคาคาความแปรปรวนเชิงพื้นที่ ของคาเฉลี่ยราย 10 ป<br />

3.4 การเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเมื่อเทียบกับปฐาน คํานวณไดจาก<br />

1) กําหนดใหผลผลิตเฉลี่ยของป ค.ศ.1980-1989 เปนผลผลิตเฉลี่ยปฐาน หาคาเฉลี่ยของผลผลิตเฉลี่ยปฐาน<br />

โดยถวงน้ําหนักจากขนาดของพื้นที่แตละ SMU คํานวณจาก<br />

y<br />

n<br />

∑<br />

i<br />

i=<br />

1<br />

b<br />

=<br />

n<br />

∑<br />

i=<br />

1<br />

AWs<br />

A<br />

i<br />

เมื่อ y<br />

b<br />

= ผลผลิตเฉลี่ยปฐาน<br />

Ai<br />

= พื้นที่ของ SMU นั้น ๆ<br />

Wsi<br />

= ผลผลิตเฉลี่ยราย 10 ป ของ SMU นั้น ๆ<br />

2) หาคารอยละของการเปลี่ยนแปลง ของผลผลิตจากปฐาน ( y d<br />

100Wsi<br />

ydi<br />

=<br />

yb<br />

เมื่อ y d i<br />

= รอยละของความแตกตางของผลผลิต SMU นั้นๆ<br />

Ws = ผลผลิตเฉลี่ยราย 10 ป ของ SMU นั้นๆ<br />

i<br />

Ws<br />

10<br />

∑<br />

i<br />

= 1<br />

= i<br />

10<br />

y<br />

i<br />

) จากสูตร<br />

687


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.5 การวิเคราะหหาพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (hotspots)<br />

ดําเนินการโดย คัดเลือกพื้นที่ที่มีผลผลิตต่ํากวา รอยละ 70 ของปฐาน โดยใช ป 1980-89, 2030-39 และ<br />

2090-99 เปนตัวแทนของ 3 ชวงระยะเวลาจาก ป 1980 ถึง 2099<br />

หาก A 1 คือพื้นที่ hotspots ในชวงเวลาที่ 1 และ A 2 คือพื้นที่ hotspots ในชวงเวลาที่ 2 เมื่อ intersect<br />

พื้นที่ทั้ง 2<br />

A1 ,2<br />

= A1<br />

∩ A2<br />

จะไดพื้นที่ A 1,2 ซึ่งเปนพื้นที่ hotspots ที่ปรากฏอยูทั้งในชวงเวลาที่ 1 และ 2 จากนั้น<br />

สามารถหาพื้นที่ใน A 1 ที่ไมปรากฏใน A 1,2 ( A<br />

1<br />

) ไดโดยการหา complement ของ A 1,2 ใน A 1<br />

A<br />

{ x∈<br />

A x∉<br />

}<br />

1<br />

= A 1<br />

− A 1,2<br />

= 1<br />

| A 1,2<br />

ในทํานองเดียวกันจะสามารถหา พื้นที่ใน A 2 ที่ไมปรากฏใน A 1,2 ( A<br />

2<br />

) ไดเชนกัน<br />

A<br />

1,2<br />

แสดงถึงพื้นที่ ๆ เปน hotspots ที่ผลผลิตไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศอยาง<br />

ตอเนื่องจากชวงเวลา 1 จนถึง ชวงเวลาที่ 2 สวน A 1<br />

คือพื้นที่ๆผลผลิตต่ําในชวงเวลาที่ 1 แตเมื่อเวลาผานไปการ<br />

เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศอาจทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้นและไมเปน hotspots อีก ตรงกันขามกับพื้นที่ A<br />

2<br />

ซึ่งเดิมไมมี<br />

ปญหาของผลผลิตต่ํา แตการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอาจทําใหผลผลิตในพื้นที่นั้นลดลงจนเปนปญหา<br />

เปน hotspots ที่เกิดขึ้นใหมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ผลกระทบตอผลผลิตของแตละพืชในระยะยาว<br />

4.1.1 ออย<br />

ออยที่ไดรับผลกระทบจากภาวะโลกรอน ใหผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 9.6 ตันตอไร (เฉลี่ย 10 ป ) ในป 1980-89<br />

เปน 10.2 ตันตอไร ในป 2090-99 โดยที่ผลผลิตเฉลี่ยของออยเพิ่มขึ้นหรือลดลงระหวางป อยูระหวางรอยละ 96-<br />

106 เมื่อเปรียบเทียบกับป 1980-1989 (ปฐาน) การเพิ่มขึ้นของผลผลิตออยอาจไมไดเปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของ<br />

CO 2 จากการศึกษาของ Joseph และ Leon (2009) พบวา การเพิ่มระดับ CO 2 จาก 360 เปน 720 ppmv มีผลตอ<br />

กระบวนการสังเคราะหแสงของออย (C 4 ) เพียงเล็กนอย แตพบวากระบวนการสังเคราะหแสงของออยจะไดรับ<br />

ผลกระทบจากการขาดน้ํามากกวา ขณะที่ Kim และคณะ (2007) ซึ่งศึกษาในขาวโพดซึ่งเปนพืช C 4 เชนเดียวกับ<br />

ออย พบวา การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ จะมีผลตอการเจริญเติบโต พัฒนาการและผลผลิต มากกวาการ<br />

เปลี่ยนแปลงของระดับ CO 2<br />

4.1.2 มันสําปะหลัง<br />

จากผลการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสําปะหลัง ภายใตสภาพ CO 2 ที่เพิ่มขึ้น พบวา<br />

ผลผลิตหัวสด ของมันสําปะหลังพันธุเกษตรศาสตร 50 ลดลง จากป 1980 ถึง ป 2099 ผลผลิตหัวสด ลดลงจาก<br />

4.1 ตันตอไร (เฉลี่ยระหวางป 1980-89) เปน 2.3 ตันตอไร (เฉลี่ยระหวางป 2090-99) หรือรอยละ 43 เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับป 1980-1989 (ปฐาน)<br />

4.1.3 ขาวโพด<br />

ผลการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวโพด ภายใตสภาพการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของ<br />

โลก จากป 1980 ถึง ป 2099 พบวา ผลผลิตเมล็ดแหงที่ความชื้นรอยละ 15 ของขาวโพดพันธุสุวรรณ 1 ลดลง<br />

จาก 525 กิโลกรัมตอไร ในชวงป 1980-1989 เหลือเพียง 445 กิโลกรัมตอไร ในชวงป 2090-2099 หรือลดลงรอยละ<br />

15 (ตารางที่ 3) แมวาสมการ linear regression จะแสดงใหเห็นแนวโนมของการลดลงของผลผลิตอยางตอเนื่อง แต<br />

688


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เนื่องจาก R 2 มีคาอยูในระดับที่ต่ํา คือมีคาเทากับ 0.0821 เทานั้น (ภาพที่ 3) ทําใหมีความเชื่อมั่นในแนวโนมของ<br />

การลดลงของผลผลิตดังกลาวคอนขางต่ํา จากรายงานของ Zaidi (2002) พบวา การจําลองการเจริญเติบโตของพืช<br />

โดยการเพิ่มระดับ CO 2 จาก 300 เปน 600 ppm ทําใหผลผลิตเมล็ดขาวโพด (C 4 ) เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยรอยละ 7<br />

ในขณะที่พืช C 3 (ขาว ขาวสาลี) ใหผลผลิตเมล็ดเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 25-40 ผลดังกลาวแตกตางจากการศึกษาครั้งนี้<br />

และชี้วาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมอื่น ๆ เชนการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและความแปรปรวนของฝนอาจมี<br />

ผลในทางลบมากกวา และสงผลทําใหผลผลิตพืชโดยรวมลดลง สอดคลองกับรายงานของ Kim และคณะ (2007)<br />

พบวา การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง มีผลกระทบตอการพัฒนาการและการ<br />

เจริญเติบโตของขาวโพดมากกวาการเพิ่มระดับความเขมขนของ CO 2<br />

4.2 ผลกระทบตอผลผลิตของแตละพืชในชวงเวลาตาง ๆ เปรียบเทียบเปนรอยละกับปฐาน<br />

4.2.1 ออย<br />

ผลการจําลองผลผลิตออยในแตละแหลงปลูกทั่วประเทศ สามารถแบงการเปลี่ยนแปลงผลผลิตไดเปน 3<br />

ชวง คือ<br />

1) เมื่อทําการเปรียบเทียบผลผลิตในชวงป 1990-2029 กับปฐาน พบวา ผลผลิตของออยในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ มีความแปรปรวนกระจัดกระจายไมเปนรูปแบบ ผลผลิตสวนใหญอยูในชวงรอยละ 40-80 เมื่อ<br />

เทียบกับปฐาน มีบางพื้นที่ผลผลิตอยูในชวงรอยละ 80-120 ในขณะที่เขตการปลูกในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค<br />

ตะวันออก ผลผลิตออยคอนขางดีกวาคาเฉลี่ยจากปฐาน สวนใหญอยูในชวงรอยละ 80-120 ของปฐาน และมีเขต<br />

การปลูกในชวงรอยตอระหวางจังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม ที่ไดผลผลิตมากกวารอยละ 120 ของป<br />

ฐาน<br />

2) ในชวงป 2030-2069 ผลผลิตออยสวนใหญอยูในชวงเดียวกันกับผลผลิตในชวงป 1990-2029 ยกเวน<br />

ในป 2060-69 การเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเมื่อเทียบกับปฐาน ในพื้นที่ปลูกออยจังหวัดเลยและชัยภูมิ เพิ่มขึ้นจาก<br />

เดิมรอยละ 80-120 เปน 120-160<br />

3) ในชวงป 2070-2098 ผลผลิตในแหลงปลูกออยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น<br />

โดยเฉพาะในเขตการปลูกออยจังหวัดเลย และจังหวัดชัยภูมิ ผลผลิตเมื่อเทียบกับปฐาน เพิ่มขึ้นในชวงแรกจากรอย<br />

ละ 80-120 เปนรอยละ 120-160 ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกโดยรวมสวนใหญเปลี่ยนเปนอยูในชวงรอยละ 80-120<br />

และยังมีพื้นที่บางสวนระหวางรอยตอจังหวัดอุดรธานี ขอนแกน และกาฬสินธุ ที่ผลผลิตยังอยูในชวงรอยละ 40-80<br />

ในขณะที่เขตการปลูกออยภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ไมมีการเปลี่ยนแปลง<br />

โดยรวมแลวผลจากการจําลองพบวา ผลผลิตของออยคอนขางดีเมื่อปลูกในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และ<br />

ภาคตะวันออกของประเทศ ซึ่งเปนการปลูกออยตนฤดูฝน ขณะที่ผลผลิตจะต่ําลงเมื่อปลูกในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือที่ปลูกออยในเดือนตุลาคม อยางไรก็ตามผลผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในเขตจังหวัดเลย และ<br />

ชัยภูมิ ในขณะที่เขตปลูกออยอื่น ๆ มีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก<br />

4.2.2 มันสําปะหลัง<br />

ผลการจําลองผลผลิตมันสําปะหลังในแตละแหลงปลูกทั่วประเทศ สามารถแบงการเปลี่ยนแปลงผลผลิตได<br />

เปน 3 ชวง คือ<br />

1) ชวง 40 ป จากปฐาน คือระหวางป 1990-2029 แหลงปลูกมันสําปะหลังบริเวณภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน แถบจังหวัดหนองคาย และตอนเหนือของจังหวัดอุดรธานี และนครพนม รวมทั้งปริ<br />

เวณตอนลางของจังหวัดชลบุรีตอกับระยอง ผลผลิตจะลดลงจาก 3-5 ตันตอไร มาอยูในระดับนอยกวา 3 ตันตอไร<br />

โดยผลผลิต ในชวง 20 และ 40 ปนี้ มีความแปรปรวนขึ้นๆ ลง ๆ คอนขางมาก โดยผลผลิตจากเดิมอยูในชวงรอย<br />

ละ 80-120 เมื่อเทียบกับปฐาน บางสวนจะเริ่มลดลงมาอยู ที่รอยละ 40-80 โดยเฉพาะอยางยิ่งทางภาค<br />

689


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน แตมีบางจุด เชนบริเวณตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดนครราชสีมาตอกับบุรีรัมย<br />

ผลผลิตยังคงอยูในชวงรอยละ 80-120 เมื่อเทียบกับปฐาน<br />

2) ชวง 50-80 ป จากปฐาน คือระหวางป 2030-2069 บริเวณที่เปนแหลงปลูกมันสําปะหลังสวนใหญของ<br />

ประเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งตอนบน ตอนกลาง และทางตะวันตก รวมทั้งในภาคตะวันตกของประเทศ<br />

แถบจังหวัดกาญจนบุรี ไปจนถึงกําแพงเพขร ผลผลิตสวนมาก จะลดลงมาอยูในระดับนอยกวา 3 ตันตอไร โดยจะ<br />

ลดลงมาอยูที่รอยละ 40-80 เมื่อเทียบกับปฐาน แตมีบางบริเวณของจังหวัดจันทบุรี ผลผลิตยังคงอยูที่รอยละ 80-<br />

120 และมีพื้นที่ปลูกบางจุดบริเวณทางใตของจังหวัดชลบุรีตอกับระยอง ผลผลิตลดลงนอยกวารอยละ 40<br />

3) ชวง 90 ป หลังจากปฐาน ในป 2070-79 และจากป 2080 จนถึง 2099 พื้นที่เกือบทั้งหมดที่มีการปลูก<br />

มันสําปะหลัง จะไดรับผลกระทบจากภาวะโลกรอน โดยใหผลผลิตในระดับต่ํากวา 3 ตันตอไร หรือจะใหผลผลิต<br />

ลดลงมาอยูที่รอยละ 40-80 เมื่อเทียบกับปฐาน โดยมีพื้นที่บางสวนทางเหนือของจังหวัดอุดรธานีตอกับหนองคาย<br />

และทางใตของจังหวัดหนองคายตอกับนครพนม รวมทั้งทางใตของจังหวัดกาญจนบุรีตอกับราชบุรี ใหผลผลิตนอย<br />

กวารอยละ 40 และพื้นที่ทางตอนใตของจังหวัดชลบุรีตอกับระยอง จะมีขอบเขตของพื้นที่ที่ไดผลผลิตนอยกวารอย<br />

ละ 40 เพิ่มมากขึ้น ขณะที่บางจุดบริเวณตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดนครราชสีมาตอกับบุรีรัมย ยังคงใหผลผลิต<br />

รอยละ 80-120 เมื่อเทียบกับปฐาน<br />

4.2.3 ขาวโพด<br />

ผลการจําลองผลผลิตขาวโพดในแตละแหลงปลูก แบงการเปลี่ยนแปลงผลผลิตไดเปน 3 ชวง คือ<br />

1) ชวงป 1990-2029 เปรียบเทียบกับป 1980-1989 ผลปรากฏวา พื้นที่ปลูกเขตภาคกลาง ซึ่งเปนแหลง<br />

ปลูกขาวโพดแหลงใหญของประเทศไทย (cornbelt) ไดแก จังหวัดนครสวรรค ลพบุรี เพชรบูรณ และจังหวัด<br />

อุทัยธานี ใหผลผลิตขาวโพดลดลงอยูระหวาง 320–480 กิโลกรัมตอไร หรือรอยละ 40-80 โดยใหผลผลิตเฉลี่ยต่ํา<br />

กวาป 1980-1989 ซึ่งใหผลผลิตเฉลี่ยอยูระหวาง 480–640 กิโลกรัมตอไร หรือรอยละ 80-120<br />

2) ชวงป 2030-2069 เปรียบเทียบกับป 1980-1989 ผลปรากฏวา พื้นที่ปลูกเขตภาคกลาง ไดแก จังหวัด<br />

นครสวรรค ลพบุรี และเพชรบูรณ รวมทั้งจังหวัดอุทัยธานี ไดขยายพื ้นที่ปลูกในสวนที่ใหผลผลิตขาวโพดลดลง<br />

นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ปลูกขาวโพดที่ใหผลผลิตลดลง อยูระหวาง 320–480 กิโลกรัมตอไร หรือระหวางรอยละ 40-80<br />

เพิ่มมากขึ้น สวนในภาคอื่น ๆ ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในจังหวัดนครราชสีมา และเลย ภาคเหนือที่<br />

จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร และกําแพงเพชร ใหผลผลิตลดลงจากรอยละ 120-160 เหลือผลผลิตอยูระหวางรอย<br />

ละ 80-120 นอกจากนี้ ดานตะวันตกของจังหวัดตาก และตอนกลางของจังหวัดเพชรบูรณ ใหผลผลิตนอยกวารอย<br />

ละ 40 เมื่อเทียบกับปฐาน<br />

3) ชวงป 2070-2099 เปรียบเทียบกับป 1980-1989 ผลปรากฏวา พื้นที่ปลูกขาวโพดทั้งหมด ใหผลผลิต<br />

ลดลง อยูระหวาง 320–480 กิโลกรัมตอไร หรือรอยละ 40-80 ยกเวนในบางพื้นที่ยังคงใหผลผลิตอยูในระดับ<br />

เดียวกับคาเฉลี่ยของป 1980-1989 ไดแก จังหวัดพิษณุโลก ตอนใตของจังหวัดนครราชสีมา ตอนกลางของจังหวัด<br />

เพชรบูรณ ตอนกลางของจังหวัดกําแพงเพชร ตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัดเลย และจังหวัดเชียงราย<br />

นอกจากนี้ พื้นที่ปลูกขาวโพดในบางจังหวัด ไดแก จังหวัดตาก ใหผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก ระหวาง 160–320 กิโลกรัม<br />

ตอไร มาอยูระหวาง 320–480 กิโลกรัมตอไร หรือจากนอยกวารอยละ 40 มาเปน รอยละ 40-80<br />

4.3 ความแปรปรวนของผลผลิตของแตละพืช เชิงเวลาและเชิงพื้นที่<br />

4.3.1 ออย<br />

จากผลการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิตของออย ระหวางป 1980 ถึง 2099 พบวาความแปรปรวน<br />

ของผลผลิตคอนขางสูงผลผลิตระหวาง 8.2 ถึง 10.8 ตันตอไร และ มีคา temporal SD เทากับ 1.8 ตันตอไร และ<br />

เมื่อประเมินในรูปของ normalized SD พบวามีคาเทากับ รอยละ 18 ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบคาความแปรปรวนของ<br />

690


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลผลิตกับการเพิ่มขึ้นของผลผลิตออย จากป 1980 ถึง 2099 จะเห็นวาการเพิ่มขึ้นของผลผลิต (0.6 ตันตอไร) นั้น<br />

เปนการเพิ่มขึ้นที่ไมมากนัก ดังนั้นผลของภาวะโลกรอนตอความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศจึงเปนประเด็นที่<br />

สําคัญตอระบบการผลิตออยและกอใหเกิดภาวะเสี่ยง<br />

เมื่อประเมินหาความแปรปรวนของผลผลิตระหวางพื้นที่ตางๆ (ระหวาง SMU) ภายในแตละป (รูปที่ 1)<br />

พบวา มีความแปรปรวนที่สูงกวาความแปรปรวนระหวางป โดยมีคา spatial SD เทากับ ± 2.3 ตันตอไร และมีคา<br />

normalized SD เทากับรอยละ 23 ซึ่งแสดงใหเห็นวา ผลกระทบของภาวะสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปโดย<br />

การเพิ่มระดับ CO 2 และอุณหภูมิ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตออยเพียงเล็กนอย เมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

ผลกระทบของผลผลิตที่เกิดขึ้นจากความแปรปรวนของสภาพแวดลอมที่อาจรุนแรงขึ้นจากภาวะโลกรอน นอกจาก<br />

ความแปรปรวนของภูมิอากาศจะเกิดขึ้นระหวางปแลวความแปรปรวนยังเกิดขึ้นระหวางพื้นที่ตางๆ อีกดวย<br />

ประกอบกับความหลากหลายของดินทําใหผลผลิตในพื้นที่ตางๆ มีความแปรปรวนที่สูงกวาความแปรปรวนระหวาง<br />

ป ดังนั้นพื้นที่บางแหงที่ไดรับผลกระทบที่รุนแรงและบอยครั้งจะเปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอระบบการผลิตสูง ตอง<br />

ไดรับการแกไข<br />

4.3.2 มันสําปะหลัง<br />

จากการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสําปะหลัง ระหวางป 1980 ถึง 2099 ดังแสดงในภาพที่<br />

1 ผลการศึกษา พบวา มีความแปรปรวนของผลผลิตมันสําปะหลังระหวางปในแตละชวง 10 ป ตั้งแตป 1980 ถึง<br />

2099 มีคาระหวาง 0.63 ถึง 4.07 ตันตอไร และเมื่อหาคาเฉลี่ยของความแปรปรวนระหวางป temporal SD จะมีคา<br />

±1.10 ตันตอไร โดยมีคา normalized SD เทากับรอยละ 34 เมื่อเปรียบเทียบระดับของผลผลิตที่ลดลง 1.8 ตันตอไร<br />

กับคา temporal SD จะเห็นวาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะยาวจะมีผลกระทบที่คอนขางรุนแรงตอ<br />

ผลผลิตของมันสําปะหลังซึ่งทําใหผลผลิตลดลงเหลือเพียงรอยละ 53 ของปจจุบันเทานั้น โดยที่ความแปรปรวนของ<br />

ผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ ซึ่งเปนผลมาจากสภาพภูมิอากาศก็ยังเปนปญหาที่สําคัญและทําใหผลผลิตระหวางป<br />

แปรปรวนถึง ±25 ตันตอไร<br />

เมื่อพิจารณาถึงความแปรปรวนของผลผลิตระหวาง SMU ในแตละป (รูปที่ 2) พบวา มีคา SD อยูระหวาง<br />

±0.69 ถึง ±1.55 ตันตอไร และเมื่อหาคาเฉลี่ยทั้งหมด spatial SD จะมีคาเทากับ 1.04 ตันตอไร โดยมีคา<br />

normalized SD เทากับรอยละ 33 และมีคาต่ํากวา temporal SD ซึ่งแสดงใหเห็นวา ภาวะสภาพภูมิอากาศที่<br />

เปลี่ยนแปลงไปในแตละป โดยมีการเพิ่มระดับ CO 2 อุณหภูมิ รวมทั้งปริมาณฝนที่เพิ่มขึ้นจากป 1980 ถึง 2099 มี<br />

ผลกระทบตอผลผลิตมันสําปะหลัง สูงกวาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความแปรปรวนของสภาพแวดลอมของแหลงปลูก<br />

ตาง ๆ ในปเดียวกัน ซึ่งเกิดจากคุณสมบัติของดิน เชน เนื้อดิน ความลึกของดินชั้นบน ซึ่งมีผลตอความซึมซาบน้ํา<br />

รวมทั้งความลาดเอียงของพื้นที่ การจัดการในแตละแหลงปลูก รวมถึงความแปรปรวนของภูมิอากาศระหวางพื้นที่<br />

ตาง ๆ เหลานั้นดวย<br />

4.3.3 ขาวโพด<br />

จากผลการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวโพด ภายใตการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม<br />

ของโลก ระหวางป 1980 ถึง 2099 พบวา ผลผลิตเฉลี่ยของทั้งประเทศของขาวโพดมีความแปรปรวนระหวางป<br />

คอนขางสูง ดังแสดงในภาพที่ 3 โดยใหผลผลิตเฉลี่ยอยูระหวาง 356 ถึง 695 กิโลกรัมตอไร โดยมีคา SD ในแตละ<br />

ชวง 10 ป อยูระหวาง ±68.7 ถึง ±365.3 กิโลกรัมตอไร และมีคาของ temporal SD สูงถึง ±205.8 กิโลกรัมตอไร<br />

คิดเปนรอยละ 41 ของผลผลิตเฉลี่ย ดังนั้นเมื่อนําแนวโนมของระดับผลผลิตที่ลดลง 80 กิโลกรัมตอไร จากชวงป<br />

1980 ถึง 2099 จะเห็นวาปญหาที่สําคัญตอระบบการผลิตขาวโพด คือความแปรปรวนของผลผลิตระหวางปตอป ซึ่ง<br />

ความแปรปรวนดังกลาวสวนหนึ่งอาจมาจากการเพิ่มขึ้นของ CO 2 และอุณหภูมิของโลก เมื่อ normalized คา<br />

temporal จะใหคา normalized SD สูงถึงรอยละ 42<br />

691


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อพิจารณาถึงความแปรปรวนของผลผลิตขาวโพด ระหวางแตละพื้นที่ปลูก (SMU) ภายในแตละป (รูปที่<br />

3) พบวา มีคาของ SD ในแตละชวง 10 อยูระหวาง ±132.7 ถึง ±353.8 กิโลกรัมตอไร และมีคา spatial SD<br />

เทากับ ±224.0 กิโลกรัมตอไร ผลดังกลาวชี้ใหเห็นวา ความแปรปรวนของผลผลิตขาวโพดระหวางพื้นที่ปลูก<br />

(SMU) ในแตละปมีความแปรปรวนมากกวาความแปรปรวนของผลผลิตระหวางปเพียงเล็กนอย และมีคา<br />

normalized SD เทากับรอยละ 45 ซึ่งอาจเกิดจากดินในพื้นที่ ที่ทําการปลูกขาวโพดนั้นไมกอใหเกิดความ<br />

แปรปรวนของผลผลิตที่มากนัก เมื่อเทียบกับสภาพภูมิอากาศ ดังนั้นปญหาหลักของการผลิตขาวโพดในอนาคต<br />

นาจะเกิดจากความแปรปรวนของภูมิอากาศ<br />

16<br />

14<br />

12<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

ผลผลิต (ตัน/ไร)<br />

1970 1980 1990 2000 2010 2020 2030 2040 2050 2060 2070 2080 2090 2100 2110<br />

ป<br />

รูปที่ 1. ความแปรปรวนของผลผลิตเฉลี่ยรายปที่ไดจากการจําลอง ออยพันธุK84-200 ทั้งประเทศ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในป 1980-2099<br />

ผลผลิต (ตัน/ไร)<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

1970 1980 1990 2000 2010 2020 2030 2040 2050 2060 2070 2080 2090 2100 2110<br />

ป<br />

รูปที่ 2. ความแปรปรวนของผลผลิตเฉลี่ยรายปที่ไดจากการจําลอง มันสําปะหลังพันธุเกษตรศาสตร 50<br />

ทั้งประเทศ ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในป 1980-2099<br />

692


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลผลิต (กก./ไร)<br />

1200<br />

1000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

1970 1980 1990 2000 2010 2020 2030 2040 2050 2060 2070 2080 2090 2100 2110<br />

ป<br />

รูปที่ 3. ความแปรปรวนของผลผลิตเฉลี่ยรายปที่ไดจากการจําลอง ขาวโพดพันธุสุวรรณ 1 ทั้งประเทศ<br />

ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในป 1980-2099<br />

4.4 พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบที่รุนแรง (Hotspots) ของแตละพืช<br />

4.4.1 ออย<br />

ผลผลิตเฉลี่ยปฐานของออยเทากับ 9.6 ตันตอไร ผลผลิตในพื้นที่ที่ต่ํากวารอยละ 70 ของผลผลิตเฉลี่ย<br />

หรือต่ํากวา 6.7 ตันตอไร ซึ่งถือวาเปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการผลิตออย ในชวงปฐาน (1980-89) พบวาพื้นที่ที่<br />

ใหผลผลิตต่ํา สวนใหญอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,599,995 ไร หรือประมาณรอยละ<br />

15 ของพื้นที่ปลูกออยทั้งประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยูระหวางรอยตอจังหวัดกาฬสินธุและอุดรธานี บางสวนของ<br />

จังหวัดมหาสารคาม ขอนแกน นครราชสีมา เลย และชัยภูมิ ขณะที่ในภาคอื่น ๆ มีบางเพียงเล็กนอย เมื่อเวลา<br />

ผานไป<br />

ในชวงป 2030-39 พบวาผลผลิตเฉลี่ยของออยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดีขึ ้น อยางเห็นไดชัด<br />

โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกออยในเขตจังหวัดขอนแกน และมหาสารคาม สวนพื้นที่ปลูกออยจังหวัดอุดรธานี และกาฬสินธุ<br />

ยังเหลือเพียงเล็กนอยที่ใหผลผลิตต่ํา และพื้นที่ปลูกจังหวัดชัยภูมิ และนครราชสีมาใกลเคียงกับปกอน แตเปนที่นา<br />

สังเกตวาในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือผลผลิตสูงขึ้น แตกลับมีพื้นที่ปลูกในบางจังหวัดกลับลดต่ําลง ที่เห็นได<br />

ชัดคือในจังหวัดเพชรบุรี และสุพรรณบุรี แตโดยรวมแลวพบวา พื้นที่ที่ผลผลิตต่ําเหลือเพียง 155,446 ไร หรือเหลือ<br />

เพียงรอยละ 1 ของพื้นที่ปลูกออยทั้งประเทศ<br />

ในป 2090-99 พบวา พื้นที่ปลูกออยที่ยังคงใหผลผลิตต่ํายังอยูในเขตพื้นที่ปลูกออยจังหวัดกาฬสินธุ<br />

สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธและในภาคเหนือไดแกอุตรดิตถ สุโขทัยและลําปาง แตเมื่อเทียบสัดสวนกับทั้ง 2<br />

ชวงเวลาที่ผานมา พบวา พื้นที่ที่ยังใหผลผลิตต่ําอยู เหลือเพียง 82,636 ไร หรือเพียงรอยละ 0.01 ของพื้นที่ปลูก<br />

ออยทั้งประเทศ<br />

จากการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ hotspots พบวา พื้นที่ที่ผลผลิตต่ําในชวงป 1980-89 จะมี<br />

ผลผลิตเพิ่มขึ้น และทําใหพื้นที่ที่เปน hotspots ในชวงป 2030-39 ลดลงอยางเห็นไดชัด และเมื่อวิเคราะหการ<br />

เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ hotspots จากชวงป 2030-39 ถึง 2090-99 พบวามีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก พื้นที่<br />

hotspots จะเพิ่มขึ้นในเขตจังหวัดกาฬสินธุ และสุพรรณบุรี<br />

693


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.4.2 มันสําปะหลัง<br />

เมื่อพิจารณาจากผลผลิตเฉลี่ยปฐานของมันสําปะหลังเทากับ 4.1 ตันตอไร พื้นที่ที่ผลผลิตต่ํากวา รอยละ<br />

70 ของผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ หรือต่ํากวา 2.9 ตันตอไร มีพื้นที่เพียง 91,776 ไร พบในจังหวัดหนองคาย ชัยภูมิ<br />

และ นครราชสีมา<br />

ในชวงป 2030-39 พื้นที่ที่ผลผลิตของมันสําปะหลังลดลงต่ํากวารอยละ 70 ของปฐาน มีพื้นที่เพิ่มขึ้นอยาง<br />

มากเปน 4,429,644 ไร พบมาก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแกจังหวัดหนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู<br />

ขอนแกน กาฬสินธุ สกลนคร นครราชสีมา สําหรับภาคกลางไดแก จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และอุทัยธานี สวน<br />

ภาคตะวันออก ไดแกจังหวัดระยอง<br />

ในป 2090-99 พื้นที่ดังกลาวเพิ่มขึ้นอีกเปน 10,064,926 ไร ปรากฏมากในพื้นที่ปลูกของภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแกจังหวัดหนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู ขอนแกน กาฬสินธุ สกลนคร นครราชสีมา<br />

รอยเอ็ด มหาสารคาม และบุรีรัมย ภาคกลางไดแก จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และอุทัยธานี และกําแพงเพชร สวน<br />

ภาคตะวันออก ไดแกจังหวัดสระแกว ฉะเชิงเทรา ระยอง และจันทบุรี นอกจากนี ้พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบที่รุนแรง<br />

ยังขยายไปสูภาคเหนือ ไดแกจังหวัดพิษณุโลก และเชียงรายอีกดวย<br />

เมื่อวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ hotspots พบวา พื้นที่ hotspots ที่เกิดขึ้นใหมในชวงป 2030-39<br />

จะกระจายอยูในพื้นที่ที่ปลูกมันสําปะหลังทั่วประเทศ แตพื้นที่ของ hotspots ในชวงป 2090-99 จะประกอบดวย<br />

hotspots เดิมจากป 2030-39 ซึ่งสวนใหญจะอยูในแถบจังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย นครพนม นครราชสีมา และ<br />

ระยอง สวน hotspots ที่เกิดขึ้นใหมในชวงป 2090-99 จะเห็นไดชัดในแถบจังหวัดขอนแกน กาฬสินธุ รอยเอ็ด<br />

มหาสารคาม นครราชสีมา บุรีรัมย สระแกว ฉะเชิงเทรา และจันทบุรี<br />

4.4.3 ขาวโพด<br />

เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตเปนรอยละของคาเฉลี่ยจากปฐาน (1980-89) กับป 2030 และป 2090 ในแตละ<br />

แหลงปลูกทั่วประเทศ พบวา ในป 2030 มีพื้นที่ปลูกขาวโพดที่มีผลผลิตต่ํากวารอยละ 70 ของผลผลิตเฉลี่ยในป<br />

ฐาน เทากับ 859,996 ไร หรือคิดเปนพื้นที่ลดลงรอยละ 21.24 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยปฐาน ซึ่งมีพื้นที่<br />

1,091,959 ไร แสดงวา พื้นที่ที่มีผลผลิตต่ํากวารอยละ 70 ของคาเฉลี่ยปฐานลดลง หรือมีพื้นที่ที่ใหผลผลิตเพิ่มขึ้น<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับปฐาน ในขณะที่ป 2090 มีพื้นที่ที่มีผลผลิตต่ํากวารอยละ 70 ของปฐาน เพิ่มขึ้นเปน 1,292,906<br />

ไร หรือเพิ่มขึ้นจากชวงป 2030 เทากับ 432,910 ไร หรือคิดเปนพื้นที่เพิ่มขึ้นรอยละ 50.34 และมีพื้นที่ที่มีผลผลิต<br />

ต่ํากวารอยละ 70 ของปฐาน เพิ่มขึ้น 200,947 ไร หรือคิดเปนพื้นที่เพิ่มขึ้นรอยละ 18.40 เมื่อเปรียบเทียบกับปฐาน<br />

โดยพื้นที่ที่มีผลผลิตต่ําดังกลาว สามารถแบงออกไดเปน 4 กลุมใหญๆ คือ กลุมที่ 1 คือ พื้นที่จังหวัดเลย<br />

เพชรบูรณ และนครราชสีมา กลุมที่ 2 คือ พื้นที่จังหวัดนครสวรรค อุทัยธานี กาญจนบุรี กําแพงเพชร ตาก และ<br />

ลําพูน กลุมที่ 3 คือ พื้นที่จังหวัดสระแกว และจันทบุรี กลุมที่ 4 คือ พื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา ลําปาง และแพร<br />

จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ hotspots พบวา hotspots ของป 1980-89 ไดลดลง ในป 2030-<br />

39 อยางเห็นไดชัดในภาคกลางบริเวณจังหวัดลพบุรี และนครสวรรค สวน hotspots ที่เกิดขึ้นใหม อยูในเขตจังหวัด<br />

ตาก สวนพื้นที่ที่ยังคงเปน hotspots อยูในเขตจังหวัดอุตรดิตถ ตาก และเพชรบูรณ เมื่อเปรียบเทียบระหวางป<br />

2030-39 กับ ป 2090-99 พบวา hotspots เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดในภาคกลางและภาคตะวันออก สวนพื้นที่ใน<br />

จังหวัดอุตรดิตถ ตาก และเพชรบูรณ ยังคงเปน hotspots อยางตอเนื่อง จากป 1980-89<br />

4.5 การปรับตัว (adaptation)<br />

เมื่อทราบสาเหตุที่ทําใหผลผลิตลดลงในเขตวิกฤต จึงหาแนวทางในการปรับตัว (adaptation) โดย<br />

กําหนดการจําลองสถานการณ 2 แนวทางคือ การปรับเปลี่ยนพันธุ และการปรับเปลี่ยนชวงเวลาปลูก<br />

694


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.5.1 ออย<br />

ผลจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศในระยะยาวไมสงผลกระทบตอการผลิตออย ทั้งนี้การเพิ่มของ CO 2<br />

กับการเพิ่มของอุณหภูมิ อาจจะใหผลแบบหักลางกันในระดับที่ใกลเคียงกัน ดังนั้นผลผลิตของออยในระยะยาวจะไม<br />

มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก อยางไรก็ตาม ปญหาที่เกิดกับการผลิตออยเปนปญหาเดิม ที่พบมากอนแลว และยังพบ<br />

อยูในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอาจทําใหปญหาดังกลาวรุนแรงขึ้นได ปญหาการผลิตออย<br />

เกิดขึ้นเนื่องจากดินมีสภาพที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการเก็บน้ํา<br />

และระบายน้ํา เห็นไดจากผลการทดลองที่ในสภาพอากาศเดียวกัน แตดินสองชนิดที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ<br />

ตางกัน มีผลตอการใหผลผลิตของออย ขณะเดียวกัน ออยเปนพืชอายุยาว การกระจายตัวของน้ําฝนจึงมี<br />

ความสําคัญตอการใหผลผลิตของออย ความตองการน้ําของออยประมาณ 4-5 มิลลิเมตรตอวัน ตลอดชวงฤดูปลูก<br />

ปริมาณน้ําฝนตอวันที่มากขึ้นไมไดทําใหออยเจริญเติบโตมากขึ้น แตในขณะเดียวกัน นาจะสงผลตอการเกิดน้ําขัง<br />

หากการระบายน้ําไมดี แตในแบบจําลองนี้ยังไมสามารถจําลองการเจริญเติบโตภายใตสภาพน้ําทวมขังได ดังนั้น<br />

แนวทางการปรับปรุงผลผลิตออยในเขตวิกฤต สามารถทําได 2 แนวทางคือการใหน้ําเสริมในชวงสามเดือนแรกหลัง<br />

ปลูก และการปรับปรุงดินใหมีความเหมาะสมตอความเปนประโยชนของน้ําใหมากขึ้น<br />

4.5.2 มันสําปะหลัง<br />

พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังทั้งประเทศประมาณ 11.6 ลานไร มีพื้นที่ปลูกที่เปนพื้นที่วิกฤต (hotspots) ทั้งสิ้น<br />

4.27 ลานไร หรือคิดเปนรอยละ 36.8 ของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังทั้งประเทศ จากการวิเคราะหพบวา ชุดดินที่พบ<br />

ในบริเวณที่เปนพื้นที่ในเขตวิกฤต มีทั้งหมด 24 ชุดดิน ที่พบมาก 5 ชุดดินแรก ไดแก ชุดดินวาริน จักราช โพน<br />

พิสัย เชียงคาน และทายาง โดยพื้นที่ในเขตวิกฤตทั้งหมดมีการกระจายอยูใน 5 เขตการผลิต และมีโอกาสเกิดขึ้นสูง<br />

ใน 2 ชวงป คือป 2030-39 และ 2090-99<br />

พบวาดินเปนปจจัยหลักที่เปนสาเหตุสําคัญในการทําใหผลผลิตของมันสําปะหลังลดลง เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับสภาพอากาศ และปจจัยดานกายภาพของดิน รวมทั้งระดับชั้นความลึกของดิน และปจจัยการเติบโตของราก<br />

เปนคุณสมบัติของดินที่เปนสาเหตุหลักของการลดลงของผลผลิตหัวสด และน้ําหนักสดมวลรวมชีวภาพของมัน<br />

สําปะหลัง ในเกือบทุกเขตการผลิต<br />

การปรับตัวในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง สามารถกระทําไดโดยการปรับเปลี่ยนวันปลูกจากชวงตนฤดูฝน<br />

วันที่ 15 พฤษภาคม มาเปนชวงปลายฤดูฝน วันที่ 15 ตุลาคม ถาหากยังปลูกโดยใชพันธุเกษตรศาสตร50 หรือมี<br />

การปรับเปลี่ยนพันธุใหม มาเปนพันธุระยอง9 หรือ CMR35-22-196 นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ในเขตวิกฤตของมัน<br />

สําปะหลัง ประมาณ 1.6 ลานไร ที่สามารถปรับเปลี่ยนมาปลูกออยได โดยผลผลิตของออยไมไดรับผลกระทบจาก<br />

สภาวะโลกรอน<br />

4.5.3 ขาวโพด<br />

พื้นที่ปลูกขาวโพดทั้งประเทศประมาณ 10.9 ลานไร มีพื้นที่ที่เกิดเขตวิกฤต 0.37 ลานไร หรือคิดเปนรอย<br />

ละ 3.66 เมื่อวิเคราะหผลพบวา ชุดดินที่พบเขตวิกฤต มี 18 ชุดดิน (soil series) ที่พบมาก ไดแก ชุดดินปาก<br />

ชอง รอยเอ็ด และปราณบุรี และมีการกระจายอยูในพื้นที่ทั้ง 5 เขตการผลิต โดยเกิดขึ้นใน 3 ชวงป ไดแก ป 1980-<br />

89, 2030-39 และ 2090-99<br />

พื้นที ่ที่เกิดเขตวิกฤต สวนใหญเปนชุดดินนา ไดแก ชุดดินรอยเอ็ด นครปฐม เชียงราย ซึ่งไมใชชุดดิน<br />

ตัวแทนของพื้นที่ปลูกขาวโพดของประเทศไทย ดังนั้นจึงเลือกจุดเพื่อหาสาเหตุและแนวทางการปรับตัวของขาวโพด<br />

ในเขตการผลิตที่ 4 ซึ่งพบการเกิดเขตวิกฤตในดินชุดปากชองมากที่สุด รวมทั้งเปนชุดดินที่เปนแหลงปลูกขาวโพด<br />

ที่สําคัญของประเทศไทย<br />

695


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สาเหตุที่ทําใหผลผลิตลดลงในป 2030-39 และ 2090-99 ในพื้นที่ที่เกิดเขตวิกฤต ของชุดดินปากชอง เกิด<br />

จากสภาวะเครียดของน้ํา (water stress) ในชวงออกดอกติดฝก โดยแสดงความสัมพันธแบบ polynomial ในทางลบ<br />

ระหวางผลผลิตเมล็ดกับดัชนีความเครียดน้ําในระดับที่สูง<br />

ดินเปนปจจัยหลักที่เปนสาเหตุของการเกิดเขตวิกฤต เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพภูมิอากาศ โดยดินมี<br />

ผลกระทบตอการลดลงของผลผลิตเมล็ดและน้ําหนักแหงรวมของขาวโพดที่ปลูกในพื้นที่เขตวิกฤต สูงกวาสภาพ<br />

ภูมิอากาศอยางชัดเจน และพบวาคาปจจัยการเจริญของราก (SRGF) เปนสาเหตุหลักของการลดลงของผลผลิต<br />

เมล็ด และน้ําหนักแหงรวมของขาวโพดที่ปลูกในชุดดินปากชอง<br />

การปรับตัวในพื้นที่ปลูกขาวโพดที่เกิดในเขตวิกฤต ในชุดดินปากชองทําไดโดยการเปลี่ยนวันปลูกจาก<br />

วันที่ 15 พฤษภาคม เปนวันที่ 15 มิถุนายน หรือ 15 กรกฎาคม สําหรับป 2530-39 สวนป 2090-99 ควรเปลี่ยน<br />

ชวงเวลาเปนวันที่ 15 กรกฎาคม ในขณะที่การปรับเปลี่ยนพันธุใหม ไมแสดงการตอบสนองตอผลผลิตและน้ําหนัก<br />

แหงรวมของขาวโพด<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ออย มันสําปะหลัง และขาวโพด เปนพืชอาหารมนุษย อาหารสัตว รวมทั้งยังเปนแหลงของพลังงาน<br />

เชื้อเพลิง ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย แตอยางไรก็ตามผลผลิตที่ไดของแตละพืชคอนขาง<br />

แปรปรวนในแตละพื้นที่ ซึ่งเปนผลมาจากความแตกตางของคุณสมบัติของดินและภูมิอากาศ เชน ปริมาณฝน<br />

อุณหภูมิ และปริมาณ CO 2 จึงไดนําขอมูลสภาพภูมิอากาศในอนาคตจากผลการประเมินโดยแบบจําลองภูมิอากาศ<br />

ระดับภูมิภาค PRECIS มาใชกับแบบจําลองพืช (DSSAT) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เพื่อจําลอง<br />

ผลผลิตพืชไรทั้ง 3 ชนิด ในทุกพื้นที่ปลูกของประเทศ ตั้งแตป ค.ศ. 1980 ถึง ป 2099 โดยใชขอมูลพื้นที่ปลูกจาก<br />

แผนที่การใชประโยชนที่ดิน ขอมูลชุดดินตัวแทนของแตละกลุมชุดดิน และขอมูลปริมาณ CO 2 ซึ่งคาดวาจะเพิ่มขึ้น<br />

จาก 330 ppmv ในป 1980 ถึง 833 ppmv ในป 2099<br />

ผลกระทบในระยะยาวตอผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดมีความแตกตางกัน ผลผลิตโดยรวมจากชวงป 1980-1989<br />

(ปฐาน) ถึง ชวงป 2090-2099 ในมันสําปะหลังและขาวโพดลดลงรอยละ 43 และ 15 ตามลําดับ สวนในออยเพิ่มขึ้น<br />

รอยละ 6 โดยภาพรวมการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตในระยะยาวจะมีคาลดลง โดยมันสําปะหลังเปนพืชที่ไดรับ<br />

ผลกระทบในระยะยาวมากที่สุด รองลงมา คือ ขาวโพด และออย และเมื ่อเปรียบเทียบผลกระทบระยะยาวของการ<br />

เปลี่ยนแปลงของผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดกับความแปรปรวนรายป พบวา ความแปรปรวนของผลผลิตรายปมีคาสูง<br />

สําหรับออยมีคารอยละ 18 สวนมันสําปะหลังและขาวโพดมีคารอยละ 34 และ 42 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาถึง<br />

ความแปรปรวนรายพื้นที่ พบวา นอกเหนือจากภูมิอากาศแลัว ยังถูกกําหนดโดยความหลากหลายของดิน พบวา<br />

ออยมีคาเทากับรอยละ 23 สําหรับมันสําปะหลังและขาวโพดมีคาเทากับรอยละ 33 และ 46 ตามลําดับ เมื่อนําแผน<br />

ที่ผลผลิตพืชทั้ง 3 ชนิดเฉลี่ยรายทศวรรษของทุกๆ SMU ในชวงป 2030-39 และ 2090-99 ซึ่งเปนตัวแทนของ<br />

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล และคอนขางไกล มาทําการคัดเลือกใหเหลือเฉพาะพื้นที่ๆ มีผลผลิตต่ํากวา<br />

หรือเทากับรอยละ 70 ของปฐาน (ในชวงป 1980-89) จะไดพื้นที่ที่มีผลผลิตในระดับที่วิกฤต ผลการศึกษา พบวา<br />

พื้นที่วิกฤตของการผลิตออยและมันสําปะหลัง สวนใหญอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่พื้นที่วิกฤต<br />

ของขาวโพด พบกระจายตัวอยูทุกภูมิภาค<br />

จากการวิเคราะหหาสาเหตุและแนวทางการปรับตัว พบวา คุณสมบัติของดินเปนสาเหตุหลักของการลดลง<br />

ของผลผลิตพืชไรทั้ง 3 ชนิด โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการเก็บน้ําและระบายน้ํา<br />

สําหรับการปรับตัวในพื้นที่ปลูกขาวโพดที่เกิดในเขตวิกฤต โดยการเปลี่ยนวันปลูกจากตนฤดูฝน (เดือน<br />

พฤษภาคม) เปนกลางฤดูฝน (เดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม) สวนการปรับตัวในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง โดยการ<br />

696


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปรับเปลี่ยนวันปลูกจากชวงตนฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม) มาเปนชวงปลายฤดูฝน (เดือนตุลาคม) ในกรณีใชพันธุ<br />

เกษตรศาสตร 50 หรือมีการปรับเปลี่ยนพันธุใหม มาเปนพันธุระยอง9 หรือ CMR35-22-196 นอกจากนี้ยังมีพื้นที่<br />

ในเขตวิกฤตของมันสําปะหลัง ประมาณ 1.6 ลานไร ที่สามารถปรับเปลี่ยนมาปลูกออยได โดยผลผลิตของออย<br />

ไมไดรับผลกระทบจากสภาวะโลกรอน สวนการปรับตัวในพื้นที่ปลุกออย สามารถทําได 2 แนวทาง คือ การใหน้ํา<br />

เสริมในชวงสามเดือนแรกหลังปลูก และการปรับปรุงดินใหมีความเหมาะสมตอความเปนประโยชนของน้ําใหมากขึ้น<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Anwar, M. R. et al. (2007), Climate change impact on rainfed wheat in south-eastern<br />

Australia. Field Crops Research. 104, pp. 139–147.<br />

- ESRI (1996), ArcView: The Geographic Information System for Everyone. Environmental<br />

Systems Research Institute, Inc., Redlands, CA.<br />

- IPCC (2007), Summary for Policymakers, Climate Change 2007: The Physical Science<br />

Basis Intergovernmental Panel on Climate Change, In Solomon, S., D. et al. (Eds.),<br />

Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the<br />

Intergovernmental Panel on Climate Change (2007-02-05). Cambridge University Press,<br />

Cambridge, NY.<br />

- Joseph, C.V.V. and Leon, H. A. Jr. (2009), Growth at elevated CO2 delays the adverse<br />

effects of drought stress on leaf photosynthesis of the C4 sugarcane. Journal of Plant<br />

Physiology. 166, pp.107-116.<br />

- Kim, S., et al. Temperature dependence of growth, development, and photosynthesis in<br />

maize under elevated CO 2 . Environmental and Experimental Botany. 61, pp. 224-236.<br />

- Tan, G., and Shibasaki, R. (2003), Global estimation of crop productivity and the<br />

impacts of global warming by GIS and EPIC integration. Ecological Modelling 168, pp.<br />

357–370.<br />

- Tsuji, G.Y. et al. (1994), DSSAT 3 vol 1-3. University of Hawaii, Honolulu, Hawaii.<br />

- Zaidi, P. (2002), Global climate change & problem of drought in maize. CIMMYT,<br />

Mexico. 3 pp.<br />

- กรมพัฒนาที่ดิน. ระบบฐานขอมูลกลุมชุดดิน Soil View version 2.0 ฝายระบบสารสนเทศ<br />

วิชาการ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2543.<br />

- เกรียงศักดิ์ สุวรรณธราดล, สองทศวรรษของธุรกิจเมล็ดพันธุขาวโพดไรลูกผสมในประเทศไทย.<br />

เอกสารประกอบคําบรรยายในการประชุมขาวโพดขาวฟางแหงชาติครั้งที่ 30. วันที่ 19-20<br />

สิงหาคม 2544 ณ โรงแรมเนวาดา แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี. 18 หนา, 2544.<br />

- ธีรศักดิ์ มานุพีรพันธ. สถานการณขาวโพด. รายงานการประชุมวิชาการขาวโพดขาวฟาง<br />

แหงชาติ ครั้งที่ 29. วันที่ 23-27 สิงหาคม 2542 ณ โรงแรมเฟลิกซ ริเวอรแคว จ.กาญจนบุรี. 10<br />

หนา, 2542.<br />

- นิรนาม. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง. เกษตรดีที่เหมาะสม ลําดับที่ 13. กรม<br />

วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 22 หนา. (พิมพครั้งที่ 1), 2545.<br />

697


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- นิรนาม. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับขาวโพดเลี้ยงสัตว. เกษตรดีที่เหมาะสม ลําดับที่ 17. กรม<br />

วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 23 หนา. (พิมพครั้งที่ 2), 2547ก.<br />

- นิรนาม. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับออย. เกษตรดีที่เหมาะสม ลําดับที่ 19. กรมวิชาการเกษตร<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 27 หนา. (พิมพครั้งที่ 2), 2547ข.<br />

- วินัย ศรวัต สุกิจ รัตนศรีวงษ และเพียงเพ็ญ ศรวัต. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมัน<br />

สําปะหลังพันธุแนะนํา. รายงานผลการวิจัยประจําป 2542 ศูนยวิจัยพืชไรขอนแกน สถาบันวิจัย<br />

พืชไร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. หนา 134-159, 2542.<br />

- ศูนยสารสนเทศ. โปรแกรมสนับสนุนการกําหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ (AgZone 1.0) กรม<br />

พัฒนาที่ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ, 2544.<br />

- ศูนยสารสนเทศการเกษตร. ขอมูลพื้นฐานการเศรษฐกิจการเกษตร. สํานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. หนา 15, 2551.<br />

- สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. รายงานผลการสํารวจขาวโพดเลี้ยงสัตว ปการเพาะปลูก<br />

2545/46. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 124 หนา, 2546.<br />

- สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. รายงานผลการสํารวจขาวโพดเลี้ยงสัตว ปการเพาะปลูก<br />

2549/50. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 120 หนา, 2550.<br />

- สถาบันวิจัยพืชไร. ผลงานวิจัยพืชไร ป 2546. สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. 276<br />

หนา, 2546.<br />

- อรรถชัย จินตะเวช สุวิทย เลาหศิริวงศ และเฉลิมพล ไหลรุงเรือง. การประมาณผลผลิตออย<br />

โดยใชแบบจําลองพัฒนาการและการเจริญเติบโตของออย. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัย<br />

การพัฒนาและการทดสอบแบบจําลองการเจริญเติบโตของออยในประเทศไทย. ศูนยวิจัยเพื่อ<br />

เพิ่มผลผลิตทางเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. หนา 56-65, 2540.<br />

- อรรถชัย จินตะเวช. วิธีการและเครื่องมือในการศึกษาผลกระทบโลกรอนตอระบบการผลิต<br />

อาหาร. ใน รายงานการประชุมวิชาการระบบเกษตรแหงชาติครั้งที่ 4 วันที่ 27-28 พฤษภาคม<br />

2551 ณ ศูนยประชุมนานาชาติเอ็มเพรส เชียงใหม. หนา 28-38, 2551.<br />

698


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 3 ผลกระทบและการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศ : การจัดการทรัพยากร และเทคโนโลยี<br />

(Session III Impact and Adaptation: Resources<br />

Management and Technology)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนและการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนใน<br />

ชุมชนยี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม และชุมชนบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี<br />

Exploitation of Mangrove Resources and Adaptation to Global Climate Changes of<br />

Yeesarn Community People, Songkhram province and Bangtaboon Community<br />

People, Petchaburi Province.<br />

ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล 1, 2<br />

1 สายวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

2 โครงการพัฒนาเสริมสรางความรูและงานวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก (ESS)<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ปาชายเลนเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคาและมีความสําคัญตอมนุษยหลากหลายรูปแบบ อาทิ<br />

เปนแหลงอาหาร เปนแหลงอาชีพ เปนแหลงอนุรักษพื้นที่ชายฝงทะเล และชวยปรับสมดุลของระบบนิเวศระหวาง<br />

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝง โดยแตละชุมชนในพื้นที่ปาชายเลนจะมีการนําทรัพยากรจากปาชายเลน<br />

มาใชใหเกิดประโยชนในการดํารงชีวิตหลากหลายรูปแบบ กอใหเกิดภูมิปญญาทองถิ่นอันทรงคุณคาและเปน<br />

ประโยชนตอมนุษยชาติมากมาย การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนและ<br />

การปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื ้นที่ปาชายเลน กลุมตัวอยางคือ คนในชุมชนพื้นที่ยี่สาร<br />

จํานวน 150 คน และคนในชุมชนพื้นที่บางตะบูน 200 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาประกอบดวย การ<br />

สัมภาษณ การสังเกต และแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวาคนในชุมชนทั้งสองพื้นที่สวนใหญใชประโยชนจากปา<br />

ชายเลนทั้งเปนแหลงอาหารในชีวิตประจําวันและเปนแหลงทํากิน อาทิ การจับสัตวน้ําไปขาย และปลูกปาโกงกาง<br />

เพื่อการเผาถาน เปนตนสําหรับสถานการณปาชายเลนในชวง 5 ปที่ผานมาคนในชุมชนเห็นวาพื้นที่สวนปามี<br />

เพิ่มขึ้น แตปาชายเลนธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณนอยลงเนื่องจากมีการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลน<br />

โดยปราศจากการอนุรักษ และการเกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกโดยพบวาคนในชุมชนบางตะบูนให<br />

ความสนใจตอสภาวะการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลกมากกวาคนในชุมชนยี่สาร ดานการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะ<br />

โลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน พบวาสวนใหญเห็นวาตองมีการจัดตั้งกลุมอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน<br />

ทําการปลูกปาใหมากขึ้น นอกจากนี้คนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลนควรตองปรับเปลี่ยนอาชีพที่พึ่งพิงทรัพยากรจาก<br />

ปาชายเลนเพียงแหลงเดียว รวมทั้งตองปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในชีวิตประจําวันโดยเฉพาะการใช<br />

เชื้อเพลิงตางๆ ควรใหลดนอยลง สําหรับปจจัยที่สง ผลตอความคิดเห็นดานการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอน<br />

ของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดแก อายุ อาชีพ สภาพพื้นที่<br />

ระยะเวลาที่พักอาศัยอยูในชุมชน ระดับความรูเกี่ยวกับปาชายเลน และการใชประโยชนจากปาชายเลน โดยตัว<br />

แปรทั้งหมดสามารถรวมกันอธิบายระดับความคิดเห็นตอการปรับ ตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่<br />

ปาชายเลนไดประมาณรอยละ 57.5<br />

700


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คําสําคัญ: ปาชายเลน การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน การปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอน<br />

Abstract<br />

Mangroves were valuable natural resources and had importance toward human variety, such as<br />

a food source, a source of career, a source of conservation of coastal areas, and help balance the<br />

ecosystem between life and coastal environment. Each community in the mangrove areas had using<br />

capitalize the mangrove resources on the diverse lifestyle, cause local wisdom were valuable and<br />

beneficial to many humanity. The purposes of this research were to study the exploitation of mangrove<br />

resources and adaptation to support Global Climate Changes of the community of mangrove areas. The<br />

sample groups were 150 of people living in the Yeesarn communities and 200 of people living in the<br />

Bangtaboon communities. Tools used in data collection were interviews, observation and questionnaires.<br />

The results showed that people in both areas, most people used the mangrove resources as a source of<br />

food in daily life and making a living source, such as catch fish to sell and planting mangroves for burning<br />

carbonaceous etc. The situation of mangroves in five years ago, found that forestry plantation areas were<br />

increased. However, the nature mangroves were less abundant due to used to mangrove resources<br />

without conservation and the conditions of Global Climate Change, and found that people of Bangtaboon<br />

communities had attention to the situation of Global Climate Changes than people in the Yeesarn<br />

communities. The adaptation to support Global Climate Changes of the community of mangrove<br />

areas, found that most people of mangrove areas need to set a group to mangrove conservation<br />

and reforestation was increased. In addition, the communities of mangrove areas should be adjusted<br />

careers that depend on mangrove resources only thing and to adjust changed consume behavior<br />

in daily life, especially using fuels should be reduced. The factors that effected to opinions concerning<br />

adaptation to support Global Climate Changes of the community of mangrove areas of statistically<br />

significant at the 0.05 level,were age, career, nature area, residence time in the community, knowledge<br />

about the mangrove forest and exploitation of mangrove resources. All variables could jointly explained<br />

the level of opinions concerning adaptation to support Global Climate Changes of the community of<br />

mangrove areas of approximately 57.5 percent.<br />

Key words: mangrove, exploitation of mangrove resources, adaptation to Global Climate Changes<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปาชายเลน เปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญและยังประโยชนนานัปการตอมนุษยทั้งในดานระบบ<br />

นิเวศน คุณคาทางเศรษฐกิจ การชวยปองกันการพังทลายของชายฝงจากคลื่นลมพายุ และชวยในการ<br />

กลั่นกรองมลพิษจากทางบกสูทะเล ที่สําคัญปาชายเลนถือเปนภูมิประเทศที่ชวยชะลอการเกิดผลกระทบจาก<br />

สภาวะโลกรอนหรือปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse effect)ที่ไดรับความสนใจอยางมากจากทั่วโลก<br />

เนื่องจาก ปรากฏการณภาวะโลกรอนมีกาซคารบอนไดออกไซดเปนกาซสําคัญที่ทําใหอุณหภูมิของโลกรอนขึ้น และ<br />

เปนกาซที่พืชดูดซับเพื่อนําไปใชในกระบวนการสังเคราะหแสงและเปลี่ยนสภาพใหเปนมวลชีวภาพ (biomass)<br />

701


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หรือที่เรียกวากระบวนการสะสมคารบอนหรือการกักเก็บคารบอน ซึ่งถือไดวาเปนกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูง<br />

ที่สุดในการลดกาซคารบอนไดออกไซด (ฐานนันท ประทุมมินทร, 2547) ปาชายเลนจึงมีบทบาทสําคัญในการลด<br />

กาซคารบอนไดออกไซดและการสะสมคารบอน เนื่องจากเปนปาที่มีผลผลิตสูงเมื่อเปรียบเทียบกับปาประเภทอื่น<br />

โดยผลการศึกษาปาชายเลนบริเวณอาวพังงา ซึ่งเปนผืนปาชายเลนที่ใหญที่สุดของประเทศไทยในชวงกลางวัน<br />

พบวาสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดในอัตราเฉลี่ยประมาณ 39 กิโลกรัมตอไร ซึ่งสูงกวาอัตราการ<br />

ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในชวงกลางคืนถึง 9 เทา<br />

ปจจุบันพบวากิจกรรมตางๆที่มนุษยเขาไปดําเนินการในพื้นที่ปาชายเลน อาทิ การทํานากุง การเปลี่ยน<br />

สภาพปาเปนที่อยูอาศัย เปนรานอาหาร เปนโรงงาน เปนทาเทียบเรือ และการตัดพันธุไมจนเกินกําลังที่ปาจะ<br />

ทด แทนไดเองตามธรรมชาติฯลฯ ทําใหพื้นที่ปาชายเลนมีจํานวนลดลงและมีสภาพเสื่อมโทรม แมนักวิชาการและ<br />

รัฐบาลจะเขาไปใหความชวยเหลือทั้งทางดานวิชาการและเทคโนโลยีสมัยใหมก็ตาม ก็ยังไมสามารถพื้นฟู<br />

ธรรมชาติของปาชายเลนใหอุดมสมบูรณไดดังเดิม<br />

เทศบาลตําบลบางตะบูน เปนพื้นที่ปาชายเลนแหงหนึ่งที่พบวายังมีความอุดมสมบูรณพอสมควร มีชุมชน<br />

อยูหนาแนน ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุมเมืองชายทะเล สภาพชายฝงเปนหาดโคลนเลนเกือบทั้งหมดไมมี<br />

หาดทราย อุดมไปดวยไมชายเลน อาทิ โกงกาง แสม ตะบูน ตะบัน ฯลฯ และสัตวนานาชนิด อาทิ หอยหลาย<br />

ชนิด ปูพันธุตางๆ และแมงดาทะเล เปนตน ทําใหวิถีชีวิตของคนในชุมชนมีความผูกพันและเกี่ยวของกับปาชายเลน<br />

ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน โดยพบวาพื้นที่แหงนี้จัดเปนแหลงเพาะเลี้ยงหอยแครงที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งของประเทศ<br />

ไทย คนในชุมชนรอยละ 80 ประกอบอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับการประมง เชน ฟารมหอยแครง การเลี้ยงหอยแมลงภู<br />

โดยการใชไมปก การเลี้ยงกุง การจับปลาและการทํานากุง เปนตน ที่เหลือรอยละ 20 ประกอบอาชีพการเกษตร<br />

การทําไมโกงกาง การตอเรือ และการเลี้ยงสัตว เปนตน จากเอกลักษณที่มีความโดดเดนของชุมชนชาวบาง<br />

ตะบูนทําใหเทศบาลตําบลบางตะบูนมีคําขวัญประจําถิ่นคือ " ถิ่นทะเลงาม ฟารมหอยแครง ไขเค็มแดง แหลงกุลา<br />

ปูมาสด กุเลาเลิศรส หอยเกาะหลัก แดนอนุรักษปาชายเลน" นอกจากนี ้เทศบาลตําบลบางตะบูนยังเปนพื้นที่ที่<br />

เปนศูนยอนุรักษและรักษาระบบนิเวศปาชายเลน โดยเปนสถานที่รักษาพันธุพืชและพันธุสัตวของปาชายเลน เชน<br />

ตนโกงกาง ตนแสม ตนถั่วขาว ตนแฝด ตนพังงา หัวสุม ตนตาตุมทะเล ปลาตีน ปูกามดาบ (ปูเปยว) ปูแสม<br />

ปูทะเล กาง กุงดีดขัน และหอย ฯลฯ รวมทั้งเปนสถานที่ทําการศึกษาและทําบทปฏิบัติการเรื่องระบบนิเวศปาชาย<br />

เลน เปนแหลง การทองเที่ยวและแหลงการเรียนรูพันธุไมและวงจรสิ่งมีชีวิตในปาชายเลนที่มีคณะบุคคล<br />

นักวิชาการ และสื่อมวลชนสาขาตางๆ แวะไปเยี่ยมชมทัศนียภาพของชายฝงทะเลและอาชีพของคนในชุมชน<br />

ทองถิ่น<br />

สวนปาชายเลนของพื้นที่ตําบลเขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม พบวามีความอุดมสมบูรณของปานอยกวา<br />

ปาชายเลนพื้นที่เทศบาลตําบลบางตะบูน แตเปนพื้นที่ปาชายเลนที่มีการจัดการสวนปาโดยราษฎรในชุมชนซึ่ง<br />

ถือเปนแหงแรกของประเทศไทยที่มีการริเริ่มการจัดการสวนปากอนโครงการสวนปาของรัฐ โดยชาวยี่สารไดรับเอา<br />

พันธุไมโกงกางใบเล็กมาทดลองปลูกเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจ (อภิญญา ตันทวีวงศ, 2543) ซึ่งสวนใหญเปน<br />

การปลูกโดยใชฝาก แตเดิมมีวัตถุประสงคเพื่อใชประโยชนเนื้อไมในการกอสรางบานเรือน ตอมาจึงไดมีการ<br />

นํามาใชเพื่อการเผาถานเปนหลัก ทําใหในชวงที่กิจการเตาถานเฟองฟูคนในชุมชนยี่สารมีเตาเผาถานถึง 60 เตา<br />

(วลัยลักษณ ทรงศิริ และคณะ, 2545) ตอมาประมาณป พ.ศ. 2529-2531 ธุรกิจเลี้ยงกุงกุลาดําเปนที่นิยมในจังหวัด<br />

สมุทรสงคราม ทําใหคนในชุมชนยี่สารหันมาทํานากุงกันมาก จนกระทั่งในเวลาตอมาเกิดปญหากุงราคาตกต่ําและ<br />

เกิดโรคระบาดในนากุง รวมทั้งประสบปญหาเรื่องมีการปลอยน้ําทิ้งจากนากุงอยางตอเนื่อง ทําใหน้ําทะเลบริเวณ<br />

กวางมีสภาพไมเหมาะสม ตอการดํารงอยูของสิ่งมีชีวิต และที่สําคัญก็คือเมื่อธุรกิจนากุงเกิดภาวะซบเซาทําใหนัก<br />

ลงทุนตางถิ่นทิ้งนากุงรางไว ชาวบานผูเลี้ยงกุงหลายรายที่ประสบภาวะขาดทุนไดขายที่ดินใหแกนายทุนทําใหขาด<br />

ที่ดินทํากิน (ฉัฐมา ฉัตรนาวิน, 2541) เปนเหตุใหปาชายเลนในจังหวัดสมุทรสงครามขาดความอุดมสมบูรณ และ<br />

702


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พื้นที่ปาลดลงจนถึงจุดต่ําสุดในป พ.ศ. 2529 คือเหลือเพียง 309 ไร (ธงชัย จารุพพัฒน, 2541) ดังนั้นหลังป<br />

พ.ศ. 2531 การนําที่ดินที่เปนสวนปาไปทํานากุงจึงมีคอนขางนอย ชาวบานบางรายที่ทํานากุงไดหันมาเลี้ยงปูทะเล<br />

และปลาทะเลบางชนิดแทน บางรายก็หันมาปลูกโกงกางใบเล็กเชนเดิม (ดุสิต เวชกิจ,2545) เพื่อนํามาเผาเปนถาน<br />

ซึ่งตอมาพบวาไดทํารายไดและชื่อเสียงดานถานไมโกงกางที่มีคุณภาพใหกับคนในชุมชนยี่สารอยามาก จนเปน<br />

สินคาสงออกตางประเทศ อาทิ ญี่ปุน เกาหลี ไตหวัน และสหรัฐอเมริกา ทําใหคนยี่สารเกิดภูมิปญญาการใช<br />

ทรัพยากรเพื่อประโยชนทางดานเศรษฐกิจดวยการทําสวนปาโกงกางแบบหมุนเวียน และการผลิตถานโกงกางแบบ<br />

ครบวงจร อีกทั้งยังสามารถรักษาสภาพปาชายเลนของพื้นที่ไวได โดยพบวาปจจุบันพื้นที่ตําบลยี่สารที่มีสวน<br />

ปาและปาธรรมชาติอยูประมาณรอยละ 22 ของพื้นที่ทั้งหมด (Hassan, 2006)<br />

การวิจัยครั้งนี้จึงสนใจศึกษาการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน และการปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลก<br />

รอนของคนในชุมชนยี่สาร จังหวัดสมุทรสงครามและชุมชนบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลพื้นฐาน<br />

ในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนของคนในชุมชนพื้นที่เขตองคการบริหารสวนตําบล<br />

เขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม และชุมชนพื้นที่เขตเทศบาลบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี<br />

2. เพื่อศึกษาการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

3.เพื่อศึกษาปญหาและความตองการในการมีสวนรวมจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลก<br />

รอนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 กลุมตัวอยางที่ใชศึกษา<br />

3.1.1 กลุมตัวอยางพื้นที่ยี่สาร<br />

กลุมตัวอยางคือคนที่อาศัยอยูใน 3 ชุมชนคือ หมูที่ 1 บานเขายี่สาร หมูที่ 2 บานคลองบานนอก และหมู<br />

ที่ 5 บานคลองขุดเล็ก ไดมาโดยวิธีการจับฉลาก ลักษณะทั่วไปของพื้นที่ศึกษาเปนดังนี้<br />

หมูที่ 1 บานเขายี่สาร และหมูที่ 2 บานคลองบานนอก ในอดีตเรียกรวมกันวาบานยี่สาร พื้นที่ตั้งอยูริม<br />

สองฝงคลองขุดยี่สารใกลกับเขาขนาดเล็กๆ ชื่อเดียวกับหมูบาน ลักษณะเปนพื้นที่ลุม มีเขายี่สารเปนศูนยกลาง<br />

ความสูงจากระดับน้ําทะเลราว ๒ เมตร บานยี่สารอยูหางจากชายฝง เขามาในแผนดินราว 5 กิโลเมตร มีเสนทาง<br />

น้ําตอกับอาวบางตะบูนซึ่งอยูระหวางปากน้ําแมกลองและปากน้ําเพชรบุรี นับเปนบริเวณที่ใกลศูนยกลางจังหวัด<br />

สมุทร สงครามที่สุดและสามารถติดตอกับจังหวัดเพชรบุรีไดสะดวก ประชากรหมูที่1บานเขายี่สารมีประมาณ 190<br />

ครัวเรือน จํานวน 619 คน เปนชาย 292 คนเปนหญิง 327 คน สวนหมูที่ 2 บานคลองบานนอก มีประชากร<br />

ประมาณ 107 ครัว เรือน จํานวน 334 คนเปนชาย 163 คนเปนหญิง 181 คน ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพ<br />

จับสัตวน้ํา ทําปาไมโกงกางใบเล็ก เผาถานไม ทํานากุง และรับจางทั่วไป สวนหมูที่ 5 บานคลองขุดเล็ก เดิม<br />

ชาวบานทําสวนตาลและเคี่ยวน้ําตาลเปนหลัก แตปจจุบันสวนใหญทําอาชีพรับจางตามโรงงานและบางสวนทํา<br />

อาชีพจับสัตวน้ํา และคาขาย มีประชากรประมาณ 539 คนจํานวน 146 ครัวเรือน เปนชาย 258 คนเปนหญิง<br />

281 คน<br />

การศึกษาครั้งนี้ทําการเก็บรวบรวมขอมูลหมูบานละ 50 ครัวเรือนๆ ละ 1 คน รวมจํานวนตัวอยาง<br />

ทั้งสิ้น 150 คน<br />

703


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.1.2 กลุมตัวอยางพื้นที่บางตะบูน<br />

กลุมตัวอยางคือคนที่อาศัยอยูในชุมชน 4 หมูบานคือหมูที่ 1 บานปากอาว หมูที่ 2 บานคุงใหญ หมูที่ 3<br />

บานคลองลัด และหมูที่ 5 บานทองคุมใหญ ไดมาโดยวิธีการจับฉลาก ลักษณะทั่วไปของพื้นที่กลุมตัวอยางเปนดังนี้<br />

บานปากอาว หมู 1 เปนหมูบานที่ตั้งอยูติดกับชายฝงทะเลบริเวณปากอาวแมน้ําบางตะบูนคาดวากอตั้ง<br />

บานเรือนมากกวา 100 ป คนในชุมชนมักจะกอสรางบานเรือนบริเวณฝงแมน้ําเปนแนวยาวไปตามลําน้ําเพื่อ<br />

ความ สะดวกในการดําเนินชีวิต มีประชากรประมาณ 816 คน จํานวน 157 ครัวเรือน เปนชาย 395 คน หญิง<br />

421 คน อาชีพหลักของคนในชุมชนคือการประมง<br />

บานคุงใหญ หมู 2 เปนหมูบานที่มีบานเรือนสวนใหญอยูติดริมแมน้ําบางตะบูน มีระบบ<br />

สาธารณูปโภค สะดวกสบาย มีทรัพยากรปาชายเลนติดกับถนนดานหนา มีประชากรประมาณ 380 คน เปนชาย<br />

170 คนหญิง 210 คน คนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับการประมง<br />

บานคลองลัด หมู 3 เปนหมูบานที่มีบานเรือนตั้งเรียงรายอยูริม 2 ฝงคลองปากลัด มีประชากร<br />

ประมาณ 436 คน จํานวน 101 ครัวเรือน คนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพรับจางและคาขาย รองลงมาคือ<br />

ทําการประมงชายฝงและทํานากุง<br />

บานทองคุมใหญ หมู 5 เปนหมูบานที่ลักษณะบานเรือนตั้งอยูริมน้ํา สภาพพื้นที่จะเปนเกาะ การ<br />

คมนาคมตองอาศัยทางน้ําเปนหลัก มีประชากรประมาณ 200 คน จํานวน 60 ครัวเรือน คนในชุมชนสวนใหญ<br />

ประกอบอาชีพการประมงและทํานากุง<br />

การศึกษาครั้งนี้ไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากหมูบานละ 50 ครัวเรือนๆ ละ 1 คนรวมจํานวนตัวอยาง<br />

ทั้งสิ้น 200 คน<br />

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา<br />

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาประกอบดวยการสังเกต การสัมภาษณ และแบบสอบถาม<br />

3.3 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล<br />

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ<br />

สถิติวิเคราะหการผันแปร (ANOVA) และนําเทคนิคการวิเคราะหจําแนกพหุ (Multiple Classification Analysis<br />

: MCA) มารวมวิเคราะหเพื่อดูวาตัวแปรอิสระทั้งหมดสามารถอธิบายตัวแปรตามไดมากนอยเพียงใด<br />

เกณฑการแปลความหมายของขอมูล<br />

ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.26 – 3.00 หมายถึงความคิดเห็น/ความตองการระดับมาก<br />

ชวงคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.25 หมายถึงความคิดเห็น/ความตองการระดับคอนขางมาก<br />

ชวงคะแนนเฉลี่ย 0.76 – 1.50 หมายถึงความคิดเห็น/ความตองการระดับคอนขางนอย<br />

ชวงคะแนนเฉลี่ย 0.00 – 0.75 หมายถึงความคิดเห็น/ความตองการระดับนอย<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง<br />

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางชุมชนยี่สารรอยละ 51.33 เปนเพศหญิง รอยละ 48.67 เปนเพศชาย<br />

อายุเฉลี่ย 34.38 ป โดยมีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน ระยะเวลาที่อาศัยอยูในพื้นที่เฉลี่ย 24.15 ป<br />

อาชีพหลักพบวา รอยละ 46.67 ประกอบอาชีพจับสัตวน้ํา อาทิ กุง ปู ปลา ฯลฯ รอยละ 19.33 ประกอบอาชีพ<br />

704


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปลูกปาโกงกางและเผาถาน รอยละ 15.33 ประกอบอาชีพรับจางตามโรงงานและรับจางทั่วไป รอยละ 8<br />

ประกอบอาชีพคาขาย รอยละ 6.67 ประกอบอาชีพอื่นๆ อาทิ การเพาะสัตวน้ํา และรอยละ 4 รับราชการ สวน<br />

อาชีพรองหรืออาชีพเสริมพบวาสวนใหญรอยละ 74 ไมมี รอยละ 9.3 ทําการเพาะสัตวน้ํา รอยละ 8.7 รับจาง<br />

ทั่วไป รอยละ 5.3 คาขาย และรอยละ 2.7 เผาถาน สําหรับสมาชิกในครอบครัวที่ทํางานนอกพื้นที่พบวาเฉลี่ย<br />

จํานวน 2.63 คน สวนรายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือนพบวารอยละ 40.67 มีรายไดประมาณ 10,001-15,000<br />

บาท รอยละ 28 มีรายไดนอยกวา 10,000บาท รอยละ 23.33 มีรายไดประมาณ15,001-20,000 บาท รอยละ 6<br />

มีรายไดประมาณ 20,001-25,000 บาท และรอยละ 2 มีรายไดมากกวา 25,000 บาทขึ้นไป ดานที่ดินทํากินพบวา<br />

รอยละ 57.3 มีที่ดินทํากินของตนเอง สวนหนี้สินพบวารอยละ 51.33 ไมมีหนี้สิน และพบวารอยละ 52 มีเงินออม<br />

สําหรับชุมชนบางตะบูนพบวากลุมตัวอยางรอยละ 51.5 เปนเพศชาย รอยละ 48.5 เปนเพศหญิง อายุ<br />

เฉลี่ย 35.48 ป โดยพบวามีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน ระยะเวลาที่อาศัยอยูในพื้นที่เฉลี่ย 26 ป<br />

อาชีพหลักพบวารอยละ 47 ประกอบอาชีพจับสัตวน้ํา อาทิ กุง ปู ปลา ฯลฯ รอยละ 16 คาขาย รอยละ 14.5<br />

ประกอบอาชีพรับจางตามโรงงานและรับจางทั่วไป รอยละ 11 ประกอบอาชีพอื่นๆ อาทิ การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

รอยละ 7 ประกอบอาชีพปลูกปาโกงกางและเผาถานและรอยละ 4.5 รับราชการ สวนอาชีพรองหรืออาชีพเสริม<br />

พบวาสวนใหญรอยละ 76.5 ไมมี รอยละ 10.5 รับจางทั่วไป รอยละ 7.5 คาขาย รอยละ 4.5 การเพาะสัตวน้ําและ<br />

รอยละ 1 เผาถาน สําหรับ สมาชิกในครอบครัวที่ออกไปทํางานนอกพื้นที่เฉลี่ยจํานวน 2.30 คน ดานรายไดของ<br />

ครอบครัวในแตละเดือนพบวารอยละ 38 มีรายไดประมาณ 10,001-15,000 บาท รอยละ 34.5 มีรายไดนอยกวา<br />

10,000 บาท รอยละ 20 มีรายไดประมาณ 15,001-20,000 บาท รอยละ 5 มีรายไดประมาณ 20,001- 25,000 บาท<br />

และรอยละ 2.5 มีรายไดมากกวา 25,000 บาทขึ้นไป ดานที่ดินทํากินพบวาสวนใหญรอยละ 61 ไมมีที่ดินทํากิน<br />

สวนหนี้สินพบวารอยละ 53.5 ไมมี และพบวารอยละ 51 มีเงินออม<br />

4.2 ดานความรูเกี่ยวกับปาชายเลนของคนในชุมชน<br />

จากตารางที่ 1 พบวากลุมตัวอยางพื้นที่ชุมชนยี่สารมีความรูเกี่ยวกับวิธีการจับสัตวน้ําอยูในระดับมาก<br />

(คาเฉลี่ย = 2.276 จากคะแนนเต็ม 3) มีความรูเกี่ยวกับชนิดของพรรณไม ชนิดของสัตวน้ํา วิธีการปลูกปาชายเลน<br />

และการใชประโยชนจากปาชายเลน อยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 2.027, 2.212, 2.113 และ 2.153) และมี<br />

ความรูเกี่ยวกับผลกระทบจากการทําลายปาชายเลนและวิธีการอนุรักษปาชายเลนอยูในระดับคอนขางนอย<br />

(คาเฉลี่ย = 1.473 และ 1.447) ทั้งนี้อาจเปนเพราะพื้นที่ปาชายเลนของชุมชนยี่สาสวนใหญเปนแปลงทํากินและ<br />

ตารางที่ 1 ระดับความรูเกี่ยวกับปาชายเลนของกลุมตัวอยาง<br />

ชุมชนยี่สาร (n=150) ชุมชนบางตะบูน (n=200)<br />

รายการ คาเฉลี่ย SD. แปลความ คาเฉลี่ย SD. แปลความ<br />

1.ชนิดของพรรณไมตางๆ<br />

2.ชนิดของสัตวน้ําตางๆ<br />

3.วิธีการจับสัตวน้ํา<br />

4.วิธีการปลูกปาชายเลน<br />

5.ประโยชนที่ไดรับจากปาชายเลน<br />

6.ผลกระทบจากการทําลายปาชายเลน<br />

7.วิธีการอนุรักษปาชายเลน<br />

2.027<br />

2.212<br />

2.276<br />

2.113<br />

2.153<br />

1.473<br />

1.447<br />

0.768<br />

0.778<br />

0.724<br />

0.815<br />

0.783<br />

0.787<br />

0.814<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

มาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางนอย<br />

คอนขางนอย<br />

2.130<br />

2.159<br />

2.286<br />

2.210<br />

2.235<br />

1.490<br />

1.830<br />

0.725<br />

0.792<br />

0.762<br />

0.774<br />

0.796<br />

0.823<br />

0.994<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

มาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางนอย<br />

คอนขางมาก<br />

705


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนพื้นที่สวน ตัวหรือมีเจาของไมใชพื้นที่สาธารณะ คนในชุมชนจึงตางคนตางดูแลพื้นที่ของตนเอง ทําใหไม<br />

สนใจหรือไมเห็นถึงความจําเปนที่ตองทําการอนุรักษ จึงอาจเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหคนในชุมชนยี่สารมีความรู<br />

เกี่ยวกับวิธีการอนุรักษปาชายเลนในระดับคอนขางนอย<br />

สวนชุมชนพื้นที่บางตะบูน พบวากลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับวิธีการจับสัตวน้ําอยูในระดับมาก<br />

เชนกัน (คาเฉลี่ย= 2.286 จากคะแนนเต็ม 3) มีความรูเกี่ยวกับชนิดของพรรณไม ชนิดของสัตวน้ํา วิธีการปลูกปา<br />

ชายเลน การใชประโยชนจากปาชายเลน และวิธีการอนุรักษปาชายเลนอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย =<br />

2.130, 2.159, 2.210, 2.235, และ 1.830 ) และมีความรูเกี่ยวกับผลกระทบจากการทําลายปาชายเลนอยูใน<br />

ระดับคอนขางนอย (คาเฉลี่ย=1.490) ทั้งนี้อาจเนื่องจากพื้นที่เขตเทศบาลบางตะบูนแมเปนศูนยอนุรักษและรักษา<br />

ระบบนิเวศปาชายเลนแตพบวาการฟนฟูสภาพปาชายเลนสวนใหญอยูในความดูแลของหนวยงานภาครัฐและ<br />

โรงเรียนโดยเนนผลทางเศรษฐกิจกลาวคือเปนแหลงการทองเที่ยวและแหลงการเรียนรูพันธุไมและวงจรสิ่งมีชีวิตใน<br />

ปาชายเลนที่มีคณะบุคคล นักวิชาการ และสื่อมวลชนสาขาตางๆ แวะไปเยี่ยมชมทัศนียภาพของชายฝงทะเลและ<br />

อาชีพของคนในชุมชนทองถิ่น ทําใหคนในชุมชนเขาไปมีสวนรวมในการดูแล/รักษา/ฟนฟูธรรมชาติของปาชายเลน<br />

นอยมาก จึงอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหคนในชุมชุนมีความรูเกี่ยวกับผลกระทบจากการทําลายปาชายเลนอยูใน<br />

ระดับคอนขางนอย<br />

4.3 การใชประโยชนจากปาชายเลนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

จากตารางที่ 2 พบวาชุมชนพื้นที่ยี่สาร กลุมตัวอยางมีการใชประโยชนจากปาชายเลนเปนแหลงอาหาร<br />

ในชีวิตประจําวัน เปนแหลงอาชีพหรือแหลงทํากิน การปลูกปาโกงกาง การเผาถาน และการแปรรูปอาหารจากสัตว<br />

น้ําและพืชพรรณตางๆ อยู ในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย=1.893,1.732, 1.687, 1.807 และ 1.653 จากคะแนน<br />

เต็ม 3)<br />

สวนชุมชนพื้นที่บางตะบูน พบวากลุมตัวอยางมีการใชประโยชนจากปาชายเลนเปนแหลงอาหารในชีวิต<br />

ประจําวัน เปนแหลงอาชีพหรือแหลงทํากิน การปลูกปาโกงกาง และการแปรรูปอาหารจากจากสัตวน้ําและพืชพรรณ<br />

ตางๆ อยูในระดับคอนขางมากเชนกัน (คาเฉลี่ย = 2.065, 2.015, 1.600 และ 1.671 จากคะแนนเต็ม 3 คะแนน)<br />

และมีการใชประโยชนจากปาชายเลนเพื่อการเผาถานอยูในระดับคอนขางนอย (คาเฉลี่ย= 1.070)<br />

ตารางที่ 2 การใชประโยชนจากปาชายเลนของคนในชุมชนยี่สารและชุมชนบางตะบูน<br />

ชุมชนยี่สาร (n=150) ชุมชนบางตะบูน (n=200)<br />

รายการ คาเฉลี่ย SD. แปลความ คาเฉลี่ย SD. แปลความ<br />

1. เปนแหลงอาหารในชีวิตประจําวัน<br />

2. เปนแหลงอาชีพหรือแหลงทํากิน<br />

3. ปลูกปาโกงกาง<br />

4. เผาถาน<br />

5. การแปรรูปอาหารจากสัตวน้ําและพืช<br />

1.893<br />

1.732<br />

1.687<br />

1.807<br />

1.653<br />

1.082<br />

1.189<br />

1.124<br />

1.252<br />

1.054<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

2.065<br />

2.015<br />

1.600<br />

1.070<br />

1.671<br />

1.057<br />

1.091<br />

1.125<br />

1.179<br />

1.077<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางนอย<br />

คอนขางมาก<br />

706


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.4 ความคิดเห็นตอสถานการณปาชายเลนของชุมชนพื้นที่ยี่สารและชุมชนพื้นที่บางตะบูน<br />

จากตารางที่ 3 พบวาชุมชนยี่สาร กลุมตัวอยางรอยละ 42.67เห็นวาสถานการณปาชายเลนยี่สารในชวง 5 ป<br />

ที่ผานมามีปาเพิ่มขึ้นจากการปลูกสวนปา รอยละ 31.33 เห็นวาปาชายเลนยี่สารในชวง 5 ปที่ผานมาไมแตกตาง<br />

จากเดิมและรอยละ 26 เห็นวาปาธรรมชาติของพื้นที่ยี่สารลดนอยลงเนื่องจากมีการใชประโยชนจากปาโดย<br />

ปราศจากการอนุรักษ โดยรอยละ 30.67 เห็นวาปาชายเลนยี่สารในปจจุบันมีความอุดมสมบูรณนอยลง และรอยละ<br />

26.67 เห็นวาสภาพปามีความเสื่อมโทรมนอย ขณะที่รอยละ 19.33 เห็นวาสภาพปามีความเสื่อมโทรมมาก<br />

อยางไรก็ตามพบวา กลุมตัวอยางจํานวนไมนอยคือรอยละ 23.33 เห็นวาปาชายเลนของยี่สารยังมีความอุดม<br />

สมบูรณอยู สวนผลกระทบกรณีทรัพยากรปาชายเลนลดนอยลง พบวากลุมตัวอยางรอยละ 38 เห็นวานาจะมี<br />

ผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูและสภาพเศรษฐกิจของคนในชุมชน รอยละ 32.67 เห็นวามีผลกระทบตอสภาพ<br />

เศรษฐกิจของคนในชุมชนไมวาจะเปนอาชีพหลัก อาชีพรอง และรายไดอื่นๆ และรอยละ 29.33 เห็นวานาจะมี<br />

ผลกระทบเฉพาะชีวิตความเปนอยูของคนในชุมชนดานแหลงอาหารและการใชประโยชนจากไมในปาเทานั้น<br />

สวนกลุมตัวอยางพื้นที่ชุมชนบางตะบูนพบวารอยละ 48.5 เห็นวาสถานการณปาชายเลนบางตะบูนในชวง<br />

5 ปที่ผานมามีปาเพิ่มขึ้นจากการปลูกสวนปา และรอยละ 33 เห็นวาปาชายเลนบางตะบูนลดนอยลงเนื่องจากมีการ<br />

ใชประโยชนโดยปราศจากการอนุรักษ และมีรอยละ 18.5 ที่เห็นวาปาชายเลนบางตะบูนในชวง 5 ปที่ผานมาไม<br />

แตกตางจากเดิม ดานสถานการณปาชายเลนบางตะบูนในปจจุบันพบวากลุมตัวอยางรอยละ 39 เห็นวาปามีความ<br />

ตารางที่ 3 ความคิดเห็นตอสถานการณปาชายเลนของชุมชนพื้นที่ยี่สารและชุมชนพื้นที่บางตะบูน<br />

รายการ<br />

สถานการณปาชายเลนในชวง 5 ปที่ผานมา<br />

- ไมแตกตางจากเดิม<br />

- มีปาชายเลนเพิ่มขึ้นจากการปลูกสวนปา<br />

- มีปาชายเลนลดลงเนื่องจากปราศจากการอนุรักษ<br />

สถานการณปาชายเลนในปจจุบัน<br />

- เสื่อมโทรมมาก<br />

- เสื่อมโทรมนอย<br />

- อุดมสมบูรณนอยลง<br />

- อุดมสมบูรณมาก<br />

ผลกระทบตอคนในชุมชนกรณีทรัพยากรปาชายเลนลดลง<br />

- ชีวิตความเปนอยู อาทิ แหลงอาหาร การใชประโยชนจากปา<br />

- สภาพเศรษฐกิจ อาทิ อาชีพหลัก อาชีพรอง และรายไดอื่นๆ<br />

- ชีวิตความเปนอยูและสภาพเศรษฐกิจ<br />

ชุมชนยี่สาร<br />

(n=150)<br />

ชุมชนบางตะบูน<br />

(n=200)<br />

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ<br />

47<br />

64<br />

39<br />

29<br />

40<br />

46<br />

35<br />

44<br />

49<br />

57<br />

31.33<br />

42.67<br />

26.0<br />

19.33<br />

26.67<br />

30.67<br />

23.33<br />

29.33<br />

32.67<br />

38.0<br />

37<br />

97<br />

66<br />

30<br />

60<br />

78<br />

32<br />

67<br />

64<br />

69<br />

18.5<br />

48.5<br />

33.0<br />

15.0<br />

30.0<br />

39.0<br />

16.00<br />

33.5<br />

32.0<br />

34.5<br />

707


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อุดมสมบูรณนอยลงและรอยละ 15 ที่เห็นวาปามีสภาพเสื่อมโทรมมาก ขณะที่รอยละ 16 กลับมีความเห็นวาปายังมี<br />

ความ อุดมสมบูรณมาก สวนผลกระทบกรณีทรัพยากรปาชายเลนลดลงพบวากลุมตัวอยางรอยละ 34.5 เห็นวา<br />

นาจะมีผล กระทบตอชีวิตความเปนอยูและสภาพเศรษฐกิจของคนในชุมชน รอยละ 33.5 เห็นวานาจะมีผลกระทบ<br />

ตอชีวิตความเปนอยูดานแหลงอาหารและการใชประโยชนจากไมในปา ขณะที่รอยละ 32 เห็นวานาจะมีผลกระทบ<br />

ตอสภาพเศรษฐกิจของคนในชุมชนดานอาชีพหลัก อาชีพรอง และรายไดอื่นๆ<br />

จากการสัมภาษณผูนําและผูแทนชุมชนเกี่ยวกับสภาพปาชายเลนของชุมชนในปจจุบัน ผูใหขอมูลมีความ<br />

เห็นวาปจจุบันสภาพความอุดมสมบูรณของพื้นที่ปาชายเลนบางตะบูนไดเปลี่ยนไปคอนขางมาก เนื่องจากคนใน<br />

ชุมชนใหความสําคัญในการดูแลทรัพยากรปาชายเลนไมมากเทาที่ควร โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่เศรษฐกิจการ<br />

เพาะเลี้ยงสัตวน้ําคือกุงกุลาดําไดเขามาในชุมชนประมาณป 2530-2540ทําใหหลายๆพื้นที่ของปาชายเลนบางตะบูน<br />

ไดเปลี่ยนสภาพเปนการทํานากุง ทั้งพื้นที ่ที่เปนของชาวบานเองและพื้นที่ที่เปนของนายทุนภายนอกที่เขามา<br />

กวานซื้อเพื่อทํานากุง ตอมาธุรกิจนากุงไมประสบความสําเร็จ นากุงจึงไดถูกทิ้งรางวางเปลา แตพื้นที่บางสวนได<br />

ถูกนํา มาใชปลูกสวนปาโกงกาง ซึ่งตอมาสวนปาไดรับความนิยมเนื่องจากความตองการถานมากขึ้นจึงทําใหคน<br />

ในชุมชนเริ่มปลูกปาเชิงธุรกิจเพิ่มขึ้น ปาชายเลนในพื้นที่นี้จึงถูกมองวาเปนกรรมสิทธิ์สวนบุคคล ชาวบานทั่วไปจึง<br />

ไมตองการ เขาไปยุงเกี่ยว จึงอาจทําใหการใหความสําคัญในการดูแลทรัพยากรปาชายเลนของคนในชุมชนมีไม<br />

มากเทาที่ควร<br />

4.5 ความคิดเห็นตอภาวะโลกรอนของคนในชุมชนยี่สารและชุมชนบางตะบูน<br />

จากตารางที่ 4 พบวากลุมตัวอยางของชุมชนยี่สารไดรับขาวสารเกี่ยวกับภาวะโลกรอนในระดับคอนขาง<br />

มาก (คาเฉลี่ย = 1.653 จากคะแนนเต็ม 3 ) โดยเห็นวาภาวะโลกรอนมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของคนในชุมชน<br />

ยี่สารในระดับคอนขางนอย (คาเฉลี่ย = 1.287) และมีผลกระทบตอปาชายเลนของพื้นที่ยี่สารในระดับคอนขาง<br />

นอยเชนกัน(คาเฉลี่ย=1.287) ทั้งนี้อาจเปนเพราะพื้นที่ปาชายเลนยี่สารสวนใหญเปนแปลงทํากินและเปนพื้นที่สวน<br />

บุคคลหรือมีเจาของ ดังนั้นตางคนตางดูแลพื้นที่ของตนเอง ประกอบกับสภาพพื้นที่โดยทั่วไปลอมรอบไปดวย<br />

ตนไมจึงทําใหกลุมตัวอยางเชื่อวาภาวะโลกรอนจะไมเปนปญหาหรือไมมีผลกระทบตอพื้นที่ของตนเองแตอยางไร<br />

สวนกลุมตัวอยางของชุมชนบางตะบูน พบวาไดรับขาวสารเกี่ยวกับภาวะโลกรอนอยูในระดับ<br />

คอนขางมากเชนกัน (คาเฉลี่ย = 1.940 จากการคะแนนเต็ม 3) และเห็นวาภาวะโลกรอนจะมีผลกระทบตอการ<br />

ดํารงชีวิตและทรัพยา กรปาชายเลนบางตะบูนในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 1.755 และ 1.770) ทั้งนี้อาจเปน<br />

ตารางที่ 4 ความคิดเห็นตอภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ยี่สารและชุมชนพื้นที่บางตะบูน<br />

ชุมชนยี่สาร (n=150) ชุมชนบางตะบูน (n=200)<br />

รายการ คาเฉลี่ย SD. แปลความ คาเฉลี่ย SD. แปลความ<br />

1. การไดรับขาวสารเกี่ยวกับภาวะโลกรอน<br />

2. ผลกระทบจากภาวะโลกรอนตอการ<br />

ดํารงชีพประจําวัน<br />

3. ผลกระทบจากภาวะโลกรอนตอ<br />

สภาพพื้นที่ปาชายเลน<br />

1.653<br />

1.287<br />

1.047<br />

0.897<br />

0.679<br />

0.583<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางนอย<br />

คอนขางนอย<br />

1.940<br />

1.755<br />

1.770<br />

0.761<br />

0.554<br />

0.546<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

คอนขางมาก<br />

708


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เพราะคนในชุมชนพื้นที่บางตะบูนสวนใหญดํารงชีวิตและประกอบอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับการประมงเปนหลัก จึงเปน<br />

หวงวาภาวะโลกรอนอาจทําใหปริมาณสัตวน้ําและพรรณไมตางๆ ในปาชายเลนลดจํานวนลง<br />

4.6 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

จากตารางที่ 5 พบวาพื้นที่ชุมชนยี่สาร กลุมตัวอยางรอยละ 56.67 เห็นวาจําเปนตองมีการอนุรักษปา<br />

ชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้น โดยรอยละ 82.67 เห็นวาปจจุบันชุมชนยี่สารยังไมมีการรวมกลุมทํา<br />

กิจกรรมเพื่อการอนุรักษปาชายเลน รอยละ 69.33 เห็นวายังไมมีหนวยงานของภาครัฐและเอกชนเขามาจัดกิจกรรม<br />

เกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลนในชุมชนยี่สาร และรอยละ 66 เห็นวาคนในชุมชนยี่สารยังไมพรอมที่จะเขารวมกรณี<br />

มีการจัด ตั้งกลุมอนุรักษปาชายเลนในชุมชน เมื่อสอบถามถึงผูมีหนาที่ในการอนุรักษปาชายเลนยี่สาร พบวา<br />

กลุมตัวอยางรอยละ 58.66 เห็นวาเปนหนาที่ของคนในชุมชนยี่สารทุกคน รอยละ 16 เห็นวาเปนหนาที่ของ<br />

หนวยงานรัฐ และรอยละ 12.67 เห็นวาเปนหนาที่ของผูนําชุมชนและนักวิชาการจากองคกรตางๆ<br />

สวนพื้นที่ชุมนุมบางตะบูน พบวากลุมตัวอยางรอยละ 74.5 เห็นวาจําเปนตองมีการอนุรักษปาชายเลน<br />

เพื่อรองรับภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นเชนกัน โดยรอยละ 70.5 เห็นวาชุมชนบางตะบูนมีการรวมกลุมทํากิจกรรมการ<br />

ตารางที่ 5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปา<br />

ชายเลน<br />

รายการ<br />

- ความจําเปนที่ตองทําการอนุรักษปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอน<br />

จําเปน<br />

ไมจําเปน<br />

- มีการรวมกลุมทํากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลน<br />

มี<br />

ไมมี<br />

- มีหนวยงานของรัฐเขามาจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลน<br />

มี<br />

ไมมี<br />

- ความตองการเขารวมกิจกรรมอนุรักษปาชายเลน<br />

เขารวม<br />

ไมเขารวม<br />

- ผูมีหนาที่ในการอนุรักษปาชายเลน<br />

ทุกคนในชุมชน<br />

ผูนําชุมชน<br />

หนวยงานของรัฐ<br />

นักวิชาการจากองคกรตางๆ<br />

ชุมชนยี่สาร<br />

(n=150)<br />

ชุมชนบางตะบูน<br />

(n=200)<br />

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ<br />

85<br />

65<br />

26<br />

124<br />

46<br />

104<br />

51<br />

99<br />

88<br />

19<br />

24<br />

19<br />

56.67<br />

43.33<br />

17.33<br />

82.67<br />

30.67<br />

69.33<br />

34.0<br />

66.0<br />

58.66<br />

12.67<br />

16.0<br />

12.67<br />

149<br />

51<br />

141<br />

59<br />

161<br />

39<br />

131<br />

69<br />

117<br />

21<br />

32<br />

30<br />

74.5<br />

25.5<br />

70.5<br />

29.5<br />

80.5<br />

19.5<br />

65.5<br />

34.5<br />

58.5<br />

10.5<br />

16.0<br />

15.0<br />

709


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อนุรักษปาชายเลนบางแลว และรอยละ 80.5 เห็นวามีหนวยงานของภาครัฐและเอกชนเขามาจัดกิจกรรมการ<br />

อนุรักษปาชายเลนบางตะบูนมากพอสมควร และรอยละ 65.5 เห็นวาคนในชุมชนมีความพรอมที่จะเขารวมกรณีมี<br />

การจัดตั้ง กลุมอนุรักษปาชายเลนบางตะบูน เมื่อสอบถามถึงผูมีหนาที่ในการอนุรักษปาชายเลนบางตะบูนพบวา<br />

กลุมตัวอยางรอยละ 58.5 เห็นวาเปนหนาที่ของคนในชุมชนบางตะบูนทุกคน รอยละ 16 เห็นวาเปนหนาที่ของ<br />

หนวยงานรัฐ รอยละ 15 เห็นวาเปนหนาที่ของนักวิชาการจากองคกรตางๆ และรอยละ 10.5 เห็นวาเปนหนาที่<br />

ของผูนําชุมชน<br />

4.7 การปรับตัวเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

ผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับตัวของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลก<br />

รอนที่เกิดขึ้น พบวากลุมตัวอยางเห็นวาสิ่งแรกที่พึ่งกระทําก็คือการรวมกันฟนฟูสภาพปาชายเลนใหมีความอุดม<br />

สมบูรณดังเดิมดวยการปลูกปาใหมากขึ้นและการจัดตั้งกลุ มอนุรักษปาชายเลนขึ้นในชุมชนเพื่อชวยกันดูแลผืนปา<br />

ชายเลนใหมีความอุดมสมบูรณ เพื่อใหปาชายเลนสามารถทําหนาที่ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ<br />

ไดมากขึ้น ประการตอมาคนในชุมชนตองรวมกันปรับเปลี่ยนอาชีพที่ตองพึ่งพิงทรัพยากรจากปาชายเลนเพียง<br />

แหลงเดียว ประการที่สี่ตองปรับพฤติกรรมการใชทรัพยากรจากปาชายเลนโดยเนนในเชิงอนุรักษ ประการที่หา<br />

ตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในชีวิตประจําวัน อาทิ การลดจํานวนขยะและการลดการใชน้ํามันเชื้อเพลิง<br />

ตางๆ (คาเฉลี่ย = 2.033, 1.767, 1.913, 1.673 และ 1.160 จากคะแนนเต็ม 3) สําหรับตัวแปรที่มีผลตอความ<br />

คิดเห็นดานการปรับตัว เพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

0.05 ไดแก อายุ (F= 3.964) อาชีพ (F= 6.469) สภาพพื้นที่ (F= 47.622) ระยะเวลาที่พักอาศัยอยูในชุมชน<br />

(F= 6.428) ระดับความรูเกี่ยวกับปาชายเลน (F= 5.847) และการใชประโยชนจากปาชายเลน (F= 190.257)<br />

โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถอธิบายความคิดเห็นดานการปรับตัวเพื่อรองรับสภาวะโลกรอนของคนในชุมชนพื้นที่ปา<br />

ชายเลนรวมกัน ไดประมาณรอยละ 57.5 ( R 2 = .575)<br />

4.8 ปญหาและความตองการมีสวนรวมในจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของคนใน<br />

ชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

ผลการศึกษาปญหาในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรวมกันของคนในชุมชนฯ<br />

พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเห็นวาเกิดจากการขาดผูนําในการริเริ่มดําเนินการอยางเปนรูปธรรม (คาเฉลี่ย 2.253<br />

จากคะแนนเต็ม 3) นอกจากนี้ยังประสบปญหาเรื่องคนในชุมชนไมยอมรับความรูความสามารถซึ่งกันและกัน และ<br />

คนในชุมชนสวนใหญยังไมเห็นความจําเปนที่ตองมีการจัดทรัพยากรปาชายเลนรวมกัน อีกทั้งยังขาดองคกรภาย<br />

นอกใหการสนับสนุนการจัดทรัพยากรปาชายเลนอยางจริงจังและตอเนื่อง (คาเฉลี่ย = 2.017, 2.211 และ 2.130)<br />

สวนปญหาที่วาคนในชุมชนไมมีเวลาวางเพียงพอในการเขาไปรวมทํากิจกรรมตางๆ นั้น พบวากลุมตัวอยางเห็น<br />

ดวยคอนขางนอย (คาเฉลี่ย = 1.074)<br />

อยางไรก็ตามจากการสัมภาษณผูนําและตัวแทนชุมชนเกี่ยวกับความตองการ หรือความพรอมในการ<br />

จัด การทรัพยากรปาชายเลนรวมกันของคนในชุมชน พบวาความตองการหรือความพรอมในการจัดการทรัพยากร<br />

ปาชายเลนรวมกันของคนในชุมชนตองคํานึงถึงเรื่องตอไปนี้<br />

ประการแรก ชวงเวลาที่ใชทํากิจกรรมเพื่อการจัดการทรัพยากรปาชายเลนรวมกันของคนในชุมชน กลาว<br />

คือกิจกรรมที่จัดขึ้นตองไมกระทบตอการประกอบอาชีพของคนในชุมชน ซึ่งชวงเวลาที่เหมาะสมของคนในชุมชน<br />

บางตะบูนคือชวงเย็นเพราะเปนชวงเวลาที่ชาวบานเลิกงานทั้งการทําประมงและการรับจาง อีกทั้งสภาพอากาศไม<br />

รอน ชาวบานจึงนาจะใหความรวมมือและมีความพรอมในการมีสวนรวมในการจัดการปาชายเลนคอนขางมาก<br />

710


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประการที่สอง สถานที่ที่ใชนัดพบชาวบานใหมารวมตัวกันตองเหมาะสม อาทิ วัด เนื่องจากวัดเปนศูนย<br />

กลางทางศาสนาและเปนศูนยกลางในการทํากิจกรรมรวมกันของคนในชุมชนบางตะบูน ดังนั้นหากใชวัดเปน<br />

สถานที่ในการจัดกิจกรรมการจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนรวมกัน ก็จะไดรับความรวมมือ<br />

จากคนในชุมชนคอนขางมาก<br />

ประการที่สาม ตองมีหนวยงานของรัฐ หรือนักวิชาการ หรือภาคเอกชนภายนอก เขามาจัดกิจกรรมนํา<br />

รองในการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับปาชายเลนและการจัดการทรัพยากรของปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลก<br />

รอนใหกับคนในชุมชน เพราะถาชาวบานไมรูหรือไมเขาใจเกี่ยวกับคุณคาและความสําคัญของระบบนิเวศปา<br />

ชายเลน รวมทั ้งวิธีการจัดการทรัพยากรปาชายเลนแลวก็จะเปนปญหาและอุปสรรคสําคัญตอการสรางกระบวนการ<br />

มีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนของคนในชุมชน นอกจากนี้กลุมเยาวชนในชุมชนพื้นที่ปาชายเลน<br />

ปจจุบันพบวาสวนใหญไดรับการศึกษาสูงขึ้น ทําใหเกิดคานิยมในการออกไปทํางานนอกชุมชนมากกวาการอยู<br />

ในชุมชนเพื่อสืบทอดอาชีพของพอแม จึงเกรงวาในอนาคตจะขาดผูสืบทอดในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน<br />

อยางตอเนื่อง<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลน การปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ<br />

ปญหาและความตองการในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อรองรับภาวะโลกรอนของชุมชนพื้นที่เขตองคการ<br />

บริหารสวนตําบลเขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงครามและชุมชนพื้นที่เขตเทศบาลบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี โดย<br />

ผูใหขอมูลเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง อายุเฉลี่ย 34 ปขึ้นไป ระยะเวลาที่อาศัยอยูในพื้นที่เฉลี่ย 24 ปขึ้นไป<br />

ประกอบอาชีพหลักคือประมงชายฝง ปลูกปาโกงกางและเผาถาน รับจาง และคาขาย รายไดเฉลี่ยของครอบครัว<br />

อยูระหวาง 10,001-15,000 บาทตอเดือน ผลการศึกษาไดขอสรุปดังนี้<br />

5.1 ความรูในเรื่องวิธีการจับสัตวน้ําพบวากลุมตัวอยางทั้งสองพื้นที่มีความรูในระดับมาก สวนความรู<br />

ในเรื่องชนิดของพรรณไม ชนิดของสัตวน้ํา วิธีการปลูกปา และการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนในดาน<br />

ตางๆ พบวาอยูในระดับคอนขางมาก<br />

5.2 การใชประโยชนทรัพยากรจากปาชายเลน พบวากลุมตัวอยางทั้งสองพื้นที่สวนใหญใชประโยชนจาก<br />

ปาชายเลนทั้งเปนแหลงอาหารในชีวิตประจําวันและเปนแหลงทํากิน อาทิ การจับสัตวน้ําไปขาย และปลูกปาโกงกาง<br />

เพื่อนําไปเผาถาน เปนตน โดยคนในชุมชนทั้งสองพื้นที่เห็นวาสถานการณปาชายเลนในชวง 5 ปที่ผานมามีปาชาย<br />

เลนเพิ่มขึ้นจากการปลูกสวนปา แตปาชายเลนธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณนอยลงเนื่องจากมีการใชประโยชนจาก<br />

ทรัพยากรปาชายเลนโดยปราศจากอนุรักษ ซึ่งคาดวาอาจมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูและสภาพเศรษฐกิจของ<br />

คนในชุมชนในอนาคตอันใกล<br />

5.3 การปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก พบวาคนในชุมชนยี่สารไมไดใหความสนใจ<br />

เกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นเทาใดนัก โดยใหเหตุผลวาภาวะโลกรอนมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตและ<br />

ทรัพยากรปาชายเลนในพื้นที่ยี่สารคอนขางนอยเนื่องจากสภาพพื้นที่ที่อาศัยอยูลอมรอบไปดวยตนไม จึงเชื่อ<br />

วาภาวะโลกรอนจะไมเปนปญหาหรือไมมีผลกระทบตอพื้นที่ของตนเอง อยางไรก็ตามคนในชุมชนก็เห็นดวยถาจะมี<br />

การจัดตั้งกลุมอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน หรือทําการปลูกปาใหมากขึ้นเพื่อรองรับภาวะโลกรอนที่จะเปนภัย<br />

คุกคามคุณภาพชีวิตของประชากรโลก สวนคนในชุมชนบางตะบูนใหความสนใจตอภาวะโลกรอนพอสมควรโดยเชื่อ<br />

วาภาวะโลกรอนจะมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตและทรัพยากรปาชายเลนในพื้นที่บางตะบูนคอนขางมาก และเห็น<br />

ดวยถาจะมีการจัดการทรัพยากรปาชายเลนหรือทําการปลูกปาใหมากขึ้นเพื่อรองรับภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้น<br />

711


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.4 ความตองการเขาไปมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน พบวาคนในชุมชนบางตะบูนมี<br />

ความพรอมที่จะเขารวมกิจกรรมการอนุรักษ และการจัดการทรัพยากรปาชายเลนมากกวาคนในชุมชนพื้นที่ยี่สาร<br />

และเห็นวากิจกรรมที่จัดทําขึ้นควรเนนไปที่กลุมเยาวชน เพราะเปนกลุมคนสําคัญในการผลักดันใหเกิดการมีสวน<br />

รวมในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนอยางยั่งยืน สวนปญหาในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนรวมกันของคน<br />

ในชุมชนบางตะบูนผลการศึกษาพบวามี 4 ประการคือ<br />

1. การขาดผูนําในการริเริ่มดําเนินการอยางเปนรูปธรรม<br />

2. คนในชุมชนรวมตัวกันคอนขางยากเนื่องจากไมยอมรับความรูความสามารถซึ่งกันและกันจึงตองพึ่งพา<br />

หนวยงานจากภายนอกใหเขามาเปนผูนําในเรื่องการจัดการทรัพยากรปาชายเลนของบางตะบูน<br />

3. คนในชุมชนบางกลุมยังไมเห็นความจําเปนที่ตองมีการจัดทรัพยากรปาชายเลนบางตะบูนรวมกัน<br />

เนื่องจากเห็นวาพื้นที่ปาชายเลนบางสวนเปนกรรมสิทธิ์สวนบุคคลจึงไมอยากเขาไปยุงเกี่ยว<br />

4. การขาดองคกรภายนอกเขามาใหการสนับสนุนการจัดทรัพยากรปาชายเลนอยางจริงจังและตอเนื่อง<br />

6. ขอเสนอแนะ<br />

จากผลการศึกษาพบวาคนในชุมชนพื้นที่ปาชายยังไมคอยใหความสําคัญกับกิจกรรมเกี่ยวกับปาชาย<br />

เลนเทาใดนักเนื่องจากเห็นวาเปนการรบกวนเวลาการทํากิน เพราะชาวบานมองวาเรื่องปากทองและครอบครัวมี<br />

ความ สําคัญมากกวาที่จะเอาเวลาไปทํากิจกรรมการจัดการทรัพยากรปาชายเลน ประกอบกับชาวบานยังเชื่อวา<br />

ทรัพยากรปาชายเลนมีใชไมหมดไมสิ้นไปจากธรรมชาติ จึงมองไมออกวาการจัดการทรัพยากรปาชายเลนเพื่อ<br />

รองรับภาวะโลกรอนมีความสําคัญอยางไร และจะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือความเปนอยูของพวกเขาอยางไร<br />

ผูวิจัยจึงมีขอเสนอ แนะดังนี้<br />

1. หนวยงานของรัฐหรือภาคเอกชน รวมทั้งนักวิชาการตางๆ ควรเขาไปใหความรูนํารองและเปนพี่เลี้ยง<br />

ในการใหคําแนะนํา/ชี้แนะในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ยั่งยืนแกคนในชุมชน โดยในชวงแรกตองมีกลยุทธ<br />

ในการสรางแรงจูงในใหคนในชุมชนสนใจเขารวมดวยการใหผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจที่สอดคลองกับวิถีชีวิตและ<br />

การทํามาหากินของคนในชุมชน กลาวคือถาทําใหชาวบานเห็นวาการเขามามีสวนรวมในอนุรักษหรือจัดการ<br />

ทรัพยากรปาชายเลนแลวจะทําใหเขามีรายไดในครัวเรือนเพิ่มขึ้นก็จะไดรับความรวมมืออยางดีจากคนในชุมชน<br />

2. ในระยะแรกของการเขารวมทํากิจกรรมควรมีคาตอบแทน เพื่อจูงใจใหชาวบานเกิดกระบวนการมีสวน<br />

รวมหรือเกิดการรวมกลุมตางๆ ไดอยางรวดเร็ว<br />

3. การจัดกิจกรรมการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนมีสวนรวมควรเนนไปที่กลุมเยาวชนเพราะถือเปนกําลัง<br />

สําคัญของชุมชนในการชวยผลักดันใหกิจกรรมการจัดการทรัพยากรปาชายเลนมีความยั่งยืนดังนั้นจึงตองมีกระบวน<br />

การที่สามารถสรางหรือกระตุนจิตสํานึกที่ดีเกี่ยวกับปาชายเลนใหเยาวชนของชุมชน เพื่อใหตระหนักถึงคุณคาและ<br />

ความสําคัญของปาชายเลนในดานตางๆ เพราะคนกลุมนี้จะตองทําหนาที่เปนผูสืบทอดในการจัดการทรัพยากร<br />

ปาชายเลนของชุมชนจากรุนสูรุนตอๆ ไป<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- Hassan, K. (2006). Management of Private Mangrove (Rhizophora apiculata) Plantatoin<br />

for Charcoal<br />

- Production at Yeesarn Sub-District, Samut Songkram Province. Master of Science,<br />

Thesis in Tropical Forestry, Kasetsart University.<br />

712


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- ฉัฐมา ฉัตรนาวิน. “บานยี่สาร ถานไมโกงกาง อีกหนึ่งบันทึกของการเปลี่ยนแปลง” เมืองโบราณ.<br />

24 (3) : 2541, 34-35.<br />

- ฐานนันทน ประทุมมินทร และคนอื่นๆ. “การสะสมคารบอนของพันธุไมปาชายเลนที่ปลูกบน<br />

พื้นที่นากุงรางอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช” ใน สนิท อักษรแกวและคณะ. การจัดการ<br />

สวนปาชายเลนแบบผสมผสานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝงทะเลของ<br />

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : หจก.ประสุขชัยการพิมพ, 2547.<br />

- ดุสิต เวชกิจ. การจัดการสวนปาชายเลนเอกชน: กรณีศึกษาที่บานยี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม.<br />

ในการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 12 “สรางเสริมประยุกตความรูสูชุมชน”<br />

ระหวางวันที่ 28-30 สิงหาคม 2545 ณ โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช, กรุงเทพฯ :<br />

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยหงชาติ, 2545.<br />

- ธงชัย จารุพพัฒน. สถานการณปาชายเลนของประเทศไทยในชวงระยะเวลา 35 ป (พ.ศ.2504-<br />

2539) : 47. เอกสารวิชาการ สวนวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักวิชาการปาไม. กรุงเทพฯ :<br />

กรมปาไม, 2545.<br />

- วลัยลักษณ ทรงศิริ และคนอื่นๆ. สังคมและวัฒนธรรมชุมชนยี่สาร. กรุงเทพฯ : เรือนแกวการ<br />

พิมพ, 2545.<br />

- อภิญญา ตันทวีวงศ. ความสืบเนื่องและเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจแบบยั่งยืน : กรณีศึกษา<br />

การทําถานไมโกงกางที่หมูบานยี่สาร. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา,<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.<br />

713


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การทํานาชลประทานที่ยั่งยืนภายใตความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

Sustainable Cultivation of Irrigated Rice Field under Climate Change Crisis<br />

ทัศนีย เจียรพสุอนันต<br />

1 , สิรินทรเทพ เตาประยูร 1,2 และ อํานาจ ชิดไธสง 1<br />

1 บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

และศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลอม<br />

2 โครงการพัฒนาและเสริมสรางความรูและวิจัยดานวิทยาศาสตรระบบโลก<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี<br />

เลขที่ 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

ในอนาคตการปลูกขาวภายใตความกดดันของการลดกาซเรือนกระจก ความไมแนนอนและการ<br />

เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ มีความเสี่ยงตอการลมเหลวของการจัดการนาขาวทั้งตอพื้นที่การเพาะปลูก วิธีการ<br />

เพาะปลูก ผลผลิต และความอุดมสมบูรณของดินในอนาคต การศึกษาการจัดการนาขาวจึงควรมองทั้งในดานการ<br />

เพาะปลูกที่ชวยเพิ่มความสมบูรณใหแกดินและการใชประโยชนจากเศษวัสดุรวมเขาดวยกัน เพื่อเปนการเกษตร<br />

แบบยั่งยืน โดยไมสงผลกระทบตอผลผลิต ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเพาะปลูกและลดมลพิษจาก<br />

การเผาไหม โดยทําการทดลองในแปลงนาแบบชลประทาน แบงการทดลองออกเปน 2 ชุดคือ ชุดแปลงนาที่มีการ<br />

จัดการฟางขาวกอนปลูกไดแก แปลงนาเผาตอซัง และแปลงนาไถกลบตอซังและฟางขาว และแบงชุดแปลงนาตาม<br />

การจัดการน้ํา ไดแก แปลงนาที่มีการปลอยน้ําจากนาปกติ คือระหวางชวงการใสปุยและยาฆาวัชพืช และแปลงนาที่<br />

มีการปลอยน้ําจากนาในชวงกอนออกรวง<br />

การศึกษาสมดุลยคารบอน (soil carbon budget) โดยคํานวณทั้งระบบของคารบอนที่ใสเขาไป (input)<br />

และคารบอนที่ออกมา (output) โดยมีขอบเขตเริ่มตั้งแตการเตรียมดินจนถึงการเก็บเกี่ยว พบวาในแปลงที่มีการเผา<br />

ตอซังนั้น มีการสูญเสียคารบอนออกจากระบบในรูปของฟางขาวที่ถูกเผา และไมมีการนําเขาฟางขาวกอนปลูก<br />

ปริมาณตอซังที่ถูกไถกลบในชวงเตรียมดินมีนอยจึงทําใหคาสมดุลยคารบอนมีคาติดลบมากที่สุด (-62 กรัมตอตร.<br />

ม.) สําหรับแปลงไถกลบตอซังและฟางขาวพบวาเพิ่มปริมาณคารบอนในดิน เนื่องจากมีการนําฟางขาวกลับเขาสู<br />

ระบบอีกครั้งหนึ่ง แมจะปลอยปริมาณมีเทนมากกวาแปลงอื่น ๆ แตปริมาณที่ปลอยออกจาก ระบบเปนปริมาณ<br />

นอยเมื่อเทียบกับคารบอนในสวนที่นําเขา ดังนั้นเมื่อมองในเชิงของการจัดการการเพาะปลูก และความอุดมสมบูรณ<br />

ของดิน ตลอดจนการทําตามนโยบายของรัฐในเรื่องของการเผาใหมเศษวัสดุการเกษตรแลวจะเห็นวา วิธีการ<br />

จัดการฟางขาวที่เหมาะสม คือการไถกลบตอซังควบคูกับการปลอยน้ํากลางฤดูกาล ซึ่งชวยลดการปลดปลอยมีเทน<br />

ลงไดประมาณรอยละ 35<br />

คําสําคัญ: มีเทนจากนาขาว สมดุลยคารบอน การจัดการฟางขาว การจัดการน้ํา<br />

714


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

The experiments were conducted in irrigated rice fields located in Samutsakorn province, central<br />

part of Thailand. The experimental design consisted of rice straw burning (B), and rice straw and stubble<br />

incorporated (I) plots applied with two different water drainage period, local (normally drain in vegetative<br />

period) and mid-season (additional drainage in flowering period) drainage. The result of study in soil<br />

carbon budget show the carbon addition in I plot and lost of carbon in B plots due to rice straw removal<br />

from field by burning. Although the higher methane emission was observed in residue incorporated (I plot)<br />

plots (20.20 and 12.92 gCH 4 /m 2 /crop), lower emission were recorded from burning plots (6.84 and 6.64<br />

gCH 4 /m 2 /crop). However methane emission was a small part of carbon emitted when compare with<br />

carbon emitted from rice straw burning. The present study suggests the suitable rice straw management<br />

as regard to greenhouse gas emission and potential of soil carbon budget (SCB). As a result the residue<br />

incorporated plot show the most suitable for sustainable irrigated rice cultivation practice. Moreover when<br />

the application of water drainage was introduced during flowering period, the methane emission can be<br />

decrease about 35%.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ประเทศไทยเปนประเทศที่ปลูกขาวเปนพืชหลักและสงออกขาวเปนอันดับหนึ่งของผลผลิตเกษตรใน<br />

ประเทศ และยังสงออกขาวอยูใน 5 อันดับของโลก พื้นที่การเพาะปลูกขาวประมาณ รอยละ 49 ของพื้นที่<br />

การเกษตรของประเทศ หรือประมาณ 21 ลานเฮกแตร<br />

จากรายงานการประเมินครั้งที่ 4 (Forth Assessment Report) ของคณะกรรมาธิการระหวางประเทศวา<br />

ดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะสงผลกระทบตอภาค<br />

เกษตรกรรม โดยเฉพาะแหลงอาหารของโลก ประเด็นของการปลูกขาวจึงไมใชแคเปนแหลงการปลอยกาซเรือน<br />

กระจก (ซึ่งเปนการปลอยเพื่อการดํารงชีวิตของมนุษย) หรือการปลอยมลพิษจากการเผาเทานั้น แตเปนแหลงที่จะ<br />

ถูกผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งนาขาวถือไดวาเปนแหลงอาหารที่สําคัญของโลก ดังนั้น<br />

การปลูกขาวในอนาคตภายใตความกดดันของการลดกาซเรือนกระจก ความไมแนนอนและการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ภูมิอากาศ จึงมีความเสี่ยงตอการลมเหลวของการจัดการนาขาวทั้งตอพื้นที่การเพาะปลูก วิธีการเพาะปลูก ผลผลิต<br />

และความอุดมสมบูรณของดินในอนาคต<br />

จากการที่เกษตรกรสวนใหญของประเทศนิยมจัดการนาขาวกอนและหลังการปลูกโดยการเผาตอซังฟาง<br />

ขาว เนื่องจากสะดวกในการจัดการ แตกิจกรรมดังกลาวทําใหเกิดมลพิษในรูปของ ควัน ฝุนละออง และ aerosol<br />

รวมทั้งทําใหเกิดหมอกควันที่เปนอุปสรรคตอวิสัยทัศน และสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของชุมชน จึงทําให รัฐ<br />

มีนโยบายหามการเผาตอซังฟางขาว และสงเสริมใหมีการไถกลบตอซังแทน ซึ่งเชื่อวาการเพิ่มสารอินทรียในรูปของ<br />

การไถกลบฟางขาว แตในขณะเดียวกันก็เปนธาตุอาหารอยางดีใหกับจุลินทรียที่สรางกาซมีเทนซึ่งเปนกาซเรือน<br />

กระจกที่สําคัญตัวหนึ่งเชนกัน นอกจากนี้การปลูกขาวมีการใชน้ําในปริมาณมาก ซึ่งการจัดการน้ําในนาขาวที่<br />

เหมาะสมนอกจากจะเปนการชวยบรรเทาปญหาการขาดแคลนน้ําในอนาคต ยังเปนการชวยลดการปลอยมีเทนให<br />

นอยลงดวย<br />

715


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

งานวิจัยนี้จึงนําการบูรณาการการศึกษาการจัดการนาขาวที่ไมสงผลกระทบกับผลผลิตหรือสงผลกระทบ<br />

นอยที่สุด ดวยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อลดกาซเรือนกระจก เขาดวยกันกับการจัดการวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่<br />

เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงมลพิษจากการเผาไหมในที่โลง และเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน<br />

2. วัตถุประสงค<br />

วัตถุประสงคเพื่อใหไดวิธีการจัดการการเพาะปลูกขาวและวัสดุเหลือทิ้งในนาขาว แบบบูรณาการเพื่อใหได<br />

ประโยชนสูงสุดพรอมทั้งลดกาซเรือนกระจกและมลภาวะ โดยไมสงผลลกระทบตอผลผลิต และเพิ่มความอุดม<br />

สมบูรณของดิน<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา แปลงทดลองแบบนาชลประทาน ตั้งอยูในเขตพื้นที่ ตําบลคลองมะเดื่อ อําเภอกระทุมแบน<br />

จังหวัดสมุทรสาคร พิกัด ละติจูด 13°37' ลองติจูด 100°16' ซึ่งแปลงนานี้มีการปลูกขาวอยางตอเนื่องมากวา 20<br />

ป ลักษณะเปนนาชลประทานที่สามารถปลูกขาวอายุ 120 วัน ไดปละ 2 ครั้ง ลักษณะดินเปนดินชุด Bangkok<br />

(Bk), Typic Tropaquepts ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพและทางเคมีดังตารางที่ 1 ในปพ.ศ.2550 มีปริมาณน้ําฝน<br />

เฉลี่ยทั้งป 1,128 มิลลิเมตร อุณหภูมิอากาศโดยเฉลี่ย 32.7 C แปลงทดลองมีขนาด 4 ไร ในเขตพื้นที่นาทั้งหมด<br />

25 ไร<br />

วิธีการปลูกขาวที่ใชโดยทั่วไป (Cultivation Practices) มีรายละเอียดดังนี้<br />

- เปนการปลูกขาวแบบหวาน นาน้ําตม พันธุขาวที่ใชปลูกเปนประจํา คือพันธุราชินี (สุพรรณบุรี 2) สลับ<br />

กับขาวเบอร 17 (ยังไมออกเปนพันธุรับรอง)<br />

- การจัดการฟางขาวโดยทั่วไป ใชการเผาในที่โลง เนื่องจากเปนวิธีที่เสียคาใชจายนอย ประหยัดเวลา<br />

สามารถทํานารอบตอไปไดหลังจากพักดินไวเพียง 1-2 สัปดาห<br />

- การจัดการน้ํา จะขึ้นอยูกับความสมบูรณของตนขาวเปนหลัก คือ ปลอยน้ําออกเมื่อตองการใสปุย หรือ<br />

ฉีดยากําจัดศัตรูพืชและวัชพืช และปลอยน้ําออกจากนาใหแหงกอนการเกี่ยวขาวประมาณ 2 สัปดาห เพื่อใหรถ<br />

เกี่ยวขาวสามารถลงไปในนาได<br />

- ปุยที่ใชเปนปุยเคมี สูตร 16-20-0 เปนปุยรองพื้นใสหลังจากหวานขาวแลวประมาณ 15 วัน สูตร 30-0-0<br />

เปนปุยแตงหนาใสหลังจากหวานขาวแลว ประมาณ 50-60 วัน และมีการใชปุยชีวภาพรวมดวยเล็กนอย<br />

ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพและทางเคมีของดินนาในแปลงทดลอง<br />

Soil property อ.กระทุมแบน จ.สมุทรสาคร<br />

pH<br />

6.1<br />

Organic matter (%)<br />

2.3<br />

%C (w/w)<br />

2.94<br />

%N (w/w)<br />

0.08<br />

Soil texture<br />

Clay<br />

% Sand : Silt : Clay<br />

22 :24:54<br />

716


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2 การออกแบบการทดลอง<br />

การศึกษาพฤติกรรมของการปลอยกาซเรือนกระจกจากนาชลประทาน ที่มีการจัดการน้ําและฟางขาว<br />

ตางกัน โดยแบงแปลงทดลองตามการจัดการฟางขาว และการจัดการน้ํา คือ<br />

1) Local drainage - Burn; (LB) การปลอยน้ําแบบปกติเปนชวงๆ ตามวิธีของเกษตรกร คือ ปลอยน้ํา<br />

ออกเมื่อตองการใสปุย หรือฉีดยากําจัดศัตรูพืชและวัชพืช และปลอยน้ําออกจากนาใหแหงกอนการเกี่ยวขาว<br />

ประมาณ 2 สัปดาห การจัดการฟางขาวแบบเผาฟางขาวและตอซังในนาขาวแลวไถกลบขี้เถาและเศษที่เหลือจาก<br />

การเผา<br />

2) Mid-season drainage - Burn; (MB) การปลอยน้ําแบบปกติและเพิ่มการปลอยน้ําในชวงตนขาวเริ่ม<br />

ออกดอก เพื่อชวยลดการปลอยกาซมีเทนจากนาขาว ซึ่งเปนการปลอยน้ําเพิ่มจากการปลอยน้ําตามปกติของ<br />

เกษตรกร การจัดการฟางขาวแบบเผาฟางขาวและตอซังในนาขาวแลวไถกลบขี้เถาและเศษที่เหลือจากการเผา<br />

3) Local drainage - Incorporate; (LI) การปลอยน้ําแบบปกติ การจัดการฟางขาวแบบทิ้งฟางขาวและตอ<br />

ซังไวในแปลงนาแลวไถกลบ<br />

4) Mid-season drainage - Incorporate; (LI) การปลอยน้ําแบบปกติและเพิ่มการปลอยน้ําในชวงตนขาว<br />

เริ่มออกดอก การจัดการฟางขาวแบบทิ้งฟางขาวและตอซังไวในแปลงนาแลวไถกลบ<br />

3.3 การเก็บตัวอยางกาซเรือนกระจก และการวิเคราะห<br />

การเก็บตัวอยางกาซใชวิธี Closed chamber โดยมีฐานทรงสี่เหลี่ยมขนาด 0.3*0.3*0.1 ม.(ก*ย*ส) ฝง<br />

อยูในดินนาตลอดฤดูกาลเพาะปลูกเพื่อลดการรบกวนระบบในขณะเก็บตัวอยางใชกลองเก็บตัวอยางทําจากอะคิลิก<br />

ทึบแสง ขนาด 0.3*0.3*0.8 ม. (ก*ย*ส) ครอบลงบนฐาน จากนั้นเก็บตัวอยางกาซจากกลองที่เวลา 0, 10, 20 และ<br />

30 นาที และบันทึกอุณหภูมิในกลองตามเวลาที่เก็บตัวอยางเพื่อใชในการคํานวนอัตราการปลดปลอยกาซเรือน<br />

กระจกตอไป ทําการเก็บตัวอยางกาซ 2 ครั้ง/สัปดาห ตั้งแตชวงเตรียมดินจนถึงเกี่ยวขาว ซึ่งในแตละกระทงนามี<br />

จุดเก็บตัวอยาง 3 จุด จึงมีจุดเก็บตัวอยางทั้งสิ้น 18 จุด<br />

การวิเคราะหกาซเรือนกระจกไดแก มีเทน (CH 4 ) และไนตรัสออกไซด (N 2 0) โดยใชเครื่อง Gas<br />

Chromatography (GC) FID detector วิเคราะห มีเทน และ ECD detector วิเคราะหไนตรัสออกไซด และคํานวณ<br />

อัตราการปลดปลอยจากความเขมขนของกาซเมื่อเวลาเปลี่ยนไปในกลอง<br />

3.4 การวิเคราะห Soil Carbon Budget (SCB)<br />

คารบอนในดินและตนขาว<br />

ตัวอยางดินที่ระดับความลึก 0-10 ซม. และตนขาวที่เจริญเติบโตเต็มที่ ถูกเก็บจากแปลงทดลองและทํา<br />

การเตรียมตัว จากนั้น ทําการวิเคราะหาคารบอนในตัวอยางดวยเครื่อง CN analyzer<br />

การประเมินพลวัตของปริมาณคารบอนในดินจากการคํานวณ Soil Carbon Budget (SCB)<br />

การประเมินปริมาณ Soil Carbon Budget (SCB) ในดินนา ครอบคลุมพลวัตของปริมาณคารบอนในดิน<br />

ชวงปลูกขาว โดยแบงเปนปริมาณคารบอนที่ใสเขาไปในระบบ input (I) และปริมาณคารบอนที่ออกจากระบบ<br />

output (O) (Nishimura, et al. 2008) ดังแสดงในสมการดานลาง ทั้งนี้ หากคาของ SCB มีคาเปนบวก แสดงวาใน<br />

การเพาะปลูกชวงนั้นเพิ่มคาคารบอนในดิน หากมีคาเปนลบ แสดงวาปริมาณคารบอนถูกเคลื่อนยายออกจากดินที่<br />

ทําการเพาะปลูก<br />

717


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 กรอบการประเมินพลวัตของปริมาณคารบอนในดินนา<br />

SCB = Ia + Ist + Isb + Ib + Ip – Og -Os - Ob – Om<br />

เมื่อ, SCB คือ soil carbon budget หรือคารบอนที่สะสมอยูในดิน<br />

Ia คือ คารบอนที่ใสเขาไปในนาขาวในรูปของเมล็ดพันธุขาว และปุยเคมี<br />

Ist คือ คารบอนที่ใสเขาไปในนาขาวในรูปของการไถกลบตอซังและฟางขาว<br />

Isb คือ คารบอนที่ใสเขาไปในนาขาวในรูปของการไถกลบตอซัง<br />

Ib คือ คารบอนที่ใสเขาไปในนาขาวในรูปของการไถกลบเศษวัสดุที่เหลือหลังจากการเผา<br />

Ip คือ คารบอนในตนขาวที่คงอยูในนาขาวเมื่อตนขาวเจริญเติบโตเต็มที่<br />

Og คือ คารบอนที่ถูกนําออกไปในรูปของเมล็ดขาวที่เปนผลผลิต<br />

Os คือ คารบอนที่ถูกนําออกไปในรูปของฟางขาวเพื่อนําไปใชประโยชนอื่น<br />

Ob คือ คารบอนที่ถูกปลอยออกไปในรูปของมลภาวะจากการเผานาในที่โลงในชวงเตรียมดิน<br />

Om คือ คารบอนที่ถูกปลอยออกไปในรูปของกาซมีเทน (CH 4 ) ในระหวางการเพาะปลูก<br />

การศึกษาในครั้งนี้คารบอนที่สะสมอยูในดินจะมีคา Soil carbon budget (SCB) เปนบวก ในทางตรงขาม<br />

หากมีการสูญเสียคารบอนจากดินจะมีคา SCB เปนลบ<br />

4.ผลการศึกษา<br />

4.1 การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากนาขาว<br />

- การปลดปลอยมีเทนจากนาขาวแบบชลประทาน<br />

718


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จากการศึกษาพบรูปแบบการปลอยมีเทนจากนาชลประทาน จ.สมุทรสาคร มีการปลดปลอยมีเทนสูง<br />

ในชวง 40 วัน และ 67 วันหลังหวาน คืออยูในชวงขาวแตกกอและขาวเริ่มออกรวง ดังนั้นชวงเวลาของการปลอย<br />

น้ําออกจากนาจึงมีความสําคัญตอความสามารถในการลดปริมาณมีเทนที่ปลอยออกจากนาขาว จากการทดลอง<br />

ปลูกขาวหนึ่งฤดูกาล (110 วัน) วัดการปลอยมีเทนไดสูงที่สุดจากแปลงที่มีการจัดการน้ําแบบปกติคูกับการไถกลบ<br />

ทั้งตอซังและฟางขาว (LI) เทากับ 20.20 g/m 2 และในแปลงที่มีการจัดการน้ําแบบปกติคูกับการเผาฟางขาว (LB)<br />

เทากับ 6.84 g/m 2 แสดงใหเห็นวาการจัดการฟางขาวมีผลตอการปลดปลอยมีเทน เนื่องจากการไถกลบฟางขาว<br />

และตอซังเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ซึ่งเปนแหลงคารบอนอยางดีใหแกจุลินทรีย<br />

เมื่อเปรียบเทียบระหวางการจัดการน้ําแบบปลอยน้ําออกกอนชวงขาวออกดอก (Mid-season drainage)<br />

กับการจัดการน้ําแบบปกติ (Local drainage) พบวามีการปลดปลอยมีเทนลดลงในทั้งแปลงที่ไถกลบทั้งตอซังและ<br />

ฟางขาว (I) โดยมีคาลดลงประมาณรอยละ 35 ในขณะที่แปลงที่มีการจัดการน้ําแบบปกติคูกับการเผาฟาง (LB) และ<br />

แปลงจัดการน้ําแบบปลอยน้ําออกกอนชวงขาวออกดอกคูกับการเผาฟางขาว (MB) มีคาการปลดปลอยมีเทนไม<br />

แตกตางกันมากนัก คือ 6.84 และ 6.64 g/m 2 ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 2 อัตราการปลดปลอยกาซมีเทน (CH 4 ) จากนาชลประทานจ.สมุทรสาคร<br />

Plot<br />

Total Seasonal<br />

(g /m 2 /crop)<br />

Daily average of CH 4<br />

flux<br />

(mg /m 2 /day 1 )<br />

Grain yield<br />

(g/m 2 )<br />

LB 6.84 62.18 362.53<br />

MB 6.64 60.36 345.54<br />

LI 20.07 182.45 232.35<br />

MI 12.92 117.45 339.04<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณคารบอน, ไนโตรเจนและไฮโดรเจน ในดินนาชลประทาน จ.สมุทรสาคร<br />

Carbon (%w/w) Nitrogen (%w/w) Hydrogen (%w/w)<br />

Plot กอนปลูก หลังปลูก กอนปลูก หลังปลูก กอนปลูก หลังปลูก<br />

B 3.27±0.34 2.58±0.30 1.45±0.04 1.42±0.16 0.21±0.03 0.19±0.04<br />

I 3.57±3.57 2.46±0.34 1.46±0.08 1.19±0.22 0.25±0.06 0.15±0.05<br />

หมายเหตุ: กอนปลูก คือ เก็บตัวอยางดินหลังจากเตรียมดินเรียบรอยแลว<br />

หลังปลูก คือ เก็บตัวอยางดินหลังจากเก็บเกี่ยวแลว<br />

719


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 ความอุดมสมบูรณและปริมาณคารบอนในดิน<br />

ผลการศึกษาความอุดมสมบูรณของดินนาในพื้นที่ศึกษานาชลประทาน จ.สมุทรสาคร โดยการเก็บ<br />

ตัวอยางดินมาวิเคราะหในหองปฏิบัติการ พบวาลักษณะของดินเปน ชุดดินบางกอก (Bk : Bangkok series) เปน<br />

ดินที่มีความอุดมสมบูรณคอนขางสูงถึงสูงมากเปนดินชั้นหนึ่ง ในการปลูกขาวถามีน้ําเพียงพอสามารถปลูกขาวครั้ง<br />

ที่สองในฤดูแลงได เนื่องจากดินชุดบางกอกเปนดินลึกการระบายน้ําเลวมีความสามารถในการอุมน้ําสูง ดินมี<br />

ความสามารถใหน้ําซึมผานไดชาตลอดทุกชั้น ดินชั้นบนลึกประมาณ 25 – 30 ซม. มีลักษณะเนื้อดินเปนดินเหนียว<br />

หรือดินเหนียวปนทรายแปงพื้นเปนสีเทาเขมถึงสีเขมของน้ําตาลปนเทามีจุดประเปนสีน้ําตาลแกหรือสีแดงปน<br />

ในการวิเคราะหคุณสมบัติทางเคมี พบวาความอุดมสมบูรณของดินอยูในระดับสูง มีปริมาณอินทรียวัตถุอยู<br />

ระหวาง 2.8-4.3 เปอรเซ็นต ปริมาณฟอสเฟอรัสที่เปนประโยชนอยูในระดับต่ํากวา 15 ppm (ปานกลาง) สวนคา<br />

ไนโตรเจนและโพแทสเซียมอยูในระดับสูงมาก pH ดินอยูในชวง 5.3 – 6.0 (กรดปานกลาง) ดินเปนกรดเล็กนอยถึง<br />

ปานกลาง มีคาความเค็ม (EC) ต่ํากวา 2 จัดอยูในระดับดินไมเค็ม<br />

4.3 การประเมินพลวัตของปริมาณคารบอนในดิน<br />

ผลการศึกษาปริมาณคารบอนในดินหรือ soil carbon budget จากแปลงทดลองที่มีการจัดการฟางขาว<br />

และการจัดการน้ํา 2 แบบ พบวา ในแปลงที่มีการเผาตอซังนั้น มีคา SCB ติดลบ (-46 และ -78 g/m 2 ) แสดงถึงการ<br />

สูญเสียคารบอนออกจากระบบ ในการเผาตอซังนั้น ปริมาณคารบอนถูกนําออกในรูปของฟางขาวที่ถูกเผา และไม<br />

มีการนําเขาฟางขาวเขากอนปลูก ปริมาณคารบอนที่ถูกไถกลบในชวงเตรียมดินมีนอย ถึงแมปริมาณการปลอย<br />

กาซมีเทนจะนอยกวาแปลงอื่น แตคิดเปนคารบอนสวนที่นอยเมื่อเทียบกับการนําคารบอนออกจากระบบในรูปของ<br />

ฟางขาว สวนแปลงไถกลบตอซังและฟางขาวพบวามีคา SCB เปนบวก (235 และ 199 g/m 2 ) เนื่องจากมีการนํา<br />

ฟางขาวกลับเขาสูระบบอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งถึงแมจะปลอยปริมาณมีเทนมากกวาแปลงอื่น ๆ แตปริมาณที่ปลอยออก<br />

จากระบบเปนปริมาณนอยเมื่อเทียบกับคารบอนในสวนที่นําเขา ทั้งนี้ปริมาณคารบอนของการปลอยกาซมีเทนที่<br />

เกิดจากการจัดการน้ําในชวงกอนขาวออกรวงมีนอยกวาการจัดการน้ําแบบปกติถึงครึ่งหนึ่ง ซึ่งหากการเพิ่มฟางขาว<br />

และผลผลิตอยูในระดับที่ใกลเคียงกัน ปริมาณการปลอยกาซมีเทนจะเปนตัวแปรที่สําคัญของคา SCB ในดิน<br />

รูปที่ 2 Soil Carbon Budget (SCB) จากการศึกษา<br />

720


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ในนาขาวที่มีการจัดการน้ําแบบปกติและการจัดการฟางขาวโดยการเผาตอซังในนาขาวกอนปลูก พบวา<br />

ปริมาณกาซมีเทนที่ ปลอยออกจากนาขาวมีปริมาณนอยเมื่อเทียบกับการจัดการฟางขาวแบบไถกลบทั้งตอซังและ<br />

ฟางขาว เนื่องจากการเพิ่มปริมาณคารบอนอันเปนแหลงอาหารของจุลินทรีย ประกอบกับสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะน้ํา<br />

ขังจึงเหมาะแกการเจริญเติบโตของจุลินทรียกลุมสรางมีเทน สงผลใหมีการปลดปลอยมีเทนสูงขึ้นกวาการจัดการ<br />

ฟางขาวแบบเผาตอซัง ปริมาณฟางขาวที่ใสลงไปมากสงผลใหการปลอยกาซมีเทนเพิ่มขึ้นดวย (Neue, et al.,<br />

1996) การปลอยน้ําในชวงกอนขาวออกดอก (mid-season drainage) ชวยลดการปลดปลอยมีเทนจากนาแปลงไถ<br />

กลบตอซังบวกฟางขาว ลงไดประมาณรอยละ 35 สวนนาแปลงเผาตอซังนั้นไมพบอิทธิพลของการจัดการน้ําตอการ<br />

ลดการปลอยกาซมีเทน อยางไรก็ตามการจัดการน้ําแบบ mid-season drainage ยังมีผลกระทบในแงของการเพิ่ม<br />

N 2 O เนื่องจากการปลอยน้ําออกจากนาทําใหเกิดสภาพมีอากาศชวงสั้นๆสลับกับสภาพไรอากาศซึ่งเหมาะแกการ<br />

เกิด N 2 O ทําใหตองคํานึงถึงปริมาณของ N 2 O ที่เพิ่มขึ้นดวย (Towprayoon, et al., 2005)<br />

อยางไรก็ตามการจัดการฟางขาวแบบไถกลบ เปนการหลีกเลี่ยงการปลอยมลพิษทางอากาศจากการ<br />

เผาในที่โลงลงได และสามารถเพิ่มปริมาณคารบอนในดินไดอีกดวย เมื่อพิจารณาความอุดมสมบูรณของดินที่รูป<br />

ของการศึกษาปริมาณคารบอนในดินหรือ soil carbon budget ในแปลงที่มีการเผาตอซังนั้น มีการสูญเสียคารบอน<br />

ออกจากระบบสวนใหญจากการเผาตอซัง สําหรับแปลงไถกลบตอซังและฟางขาว มีการเพิ่มปริมาณคารบอนในดิน<br />

ซึ่งหากมีการศึกษาอยางตอเนื่องนาจะเห็นแนวโนมการสะสมคารบอนในดินไดจากการไถกลบตอซังและฟางขาว<br />

ดังนั้นวิธีการจัดการการเพาะปลูกขาวและวัสดุเหลือทิ้งในนาขาว แบบบูรณาการเพื่อใหไดประโยชนสูงสุดพรอมทั้ง<br />

ลดกาซเรือนกระจกและมลภาวะ และเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน คือการไถกลบรวมกับการปลอยน้ํากลาง<br />

ฤดูกาลเพาะปลูก<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

[1] Neue, H. U., Wassmann, R., Lantin, S., Alberto, MA C. R., Aduna, J. B. and Javellana,<br />

A.M. (1996) Factors affecting methane emission from rice fields, Atmospheric<br />

Environment, 30, 1751-1754.<br />

[2] Shang, S. Y. and Hsiu, L. C. (1998) Effect of environmental conditions on methane<br />

production and emission from paddy soil, Agriculture, Ecosystems and Environment, 69,<br />

pp.69-80.<br />

[3] Sass, R. L., Fisher, F.M., Harcombe, P.S. and Turner, F.T. (1991) Mitigation of methane<br />

emissions from rice field: possible adverse effects of incorporated rice straw. Global<br />

Biogeochemical Cycles, 5, 275-287.<br />

[4] Office of Agricultural Economics (2007) Report of the second rice survey year 2007. p2.<br />

[5] Singh, Y., Singh, B., Ladha, J. K., Khind, C. S., Gupta, R. K., Meelu, O. P. and E.<br />

Pasuquin. (2004) Long-Term Effects of Organic Inputs on Yield and Soil Fertility in<br />

the Rice–Wheat Rotation, Soil Science Societies of American journal, 68, pp.845-853.<br />

[6] Towprayoon, S., Smakgahn, K., Poonkaew, S. (2005) Mitigation of methane and nitrous<br />

oxide emissions from drained irrigated rice fields, Chemosphere, 59, pp.1547-1556.<br />

721


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

[7] Yagi, K., Tsuruta, H., Kanda, K., Minami, K. (1996). Effect of water management on<br />

methane emission from a Japanese rice paddy field: automated methane monitoring,<br />

Global Biogeochemical Cycles, 10, pp.255-267.<br />

[8] Nishimura, S., Yonemura, S., Sawamoto, T., Shirato, Y., Akiyama, H., Sudo, S., et al.<br />

(2008). Effect of land use change from paddy rice cultivation to upland crop cultivation<br />

on soil carbon budget of a cropland in Japan. Agriculture, Ecosystems and Environment,<br />

125, 9-20.<br />

722


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การจัดการสภาพแวดลอมโดยใชประโยชนจากพรรณไมเพื่อปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

ใหเขาสูสภาวะสบาย<br />

Environmental Management for Micro-Climate Modifier to Thermal Comfort<br />

by Using Trees<br />

ธนาวุฒิ ขุนทอง<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาคารโรงงาน 3 (สถาปตยกรรมศาสตร ชั้น 3)<br />

เลขที่ 9 ถนนแจงวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220<br />

บทคัดยอ<br />

ปจจัยธรรมชาติ สามารถนํามาใชปรุงแตงสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการอยูอาศัยไดโดยเฉพาะการใช<br />

ประโยชนจากอิทธิพลของพรรณไมยืนตน ชวยลดความรุนแรงของอุณหภูมิอากาศในเวลากลางวันไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ (สุนทร บุญญาธิการ, 2539) ทําใหเกิดแนวคิดในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใชประโยชนจากพรรณไม<br />

ยืนตนโดยประยุกตใชใหเหมาะสมถูกตองเพื่อใหเกิดอิทธิพลตอการปรุงแตงสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการอยู<br />

อาศัย<br />

ดังนั้น เพื่อใหเกิดองคความรูในดานการจัดการสภาพแวดลอม โดยใชประโยชนจากพรรณไมเพื่อการปรุง<br />

แตงสภาพแวดลอมรอบที่อยูอาศัย ใหเขาสูเขตสบาย(Comfort zone) จึงตองการจะศึกษาใหทราบถึงคุณลักษณะตัว<br />

แปรของพรรณไมยืนตนที่มีอิทธิพลตอการปรุงแตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier) ครอบคลุมถึง<br />

การศึกษาปจจัย กลุมตัวแปรสําคัญ ของพรรณไมยืนตนที่มีศักยภาพสูงสุดในการนําไปปลูกเพื่อการปรุงแตง<br />

สภาพแวดลอมของที่อยูอาศัยใหเขาสูสภาวะสบาย สามารถลดอุณหภูมิสภาพอากาศในบริเวณที่มีการจัดการ<br />

สภาพแวดลอมใหต่ําลงและสราง Design guidelines เปนแนวทางเพื่อการจัดการสภาพแวดลอม โดยจะสามารถ<br />

กําหนดตัวแปรและปจจัยของพรรณไมยืนตน เพื่อนําไปใชปรุงแตงสภาพแวดลอมใหเกิดประโยชนสูงสุดดานสภาวะ<br />

สบายได<br />

คําสําคัญ : การปรุงแตงสภาพแวดลอม (micro- climate modifier) การเขาสูสภาวะความสบาย (Thermal<br />

comfort)<br />

1. ความสําคัญ<br />

ประเทศไทยตั้งอยูในสภาพภูมิอากาศเขตรอนชื้นแถบศูนยสูตร ทําใหสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงเกือบ<br />

ตลอดทั้งป มีปจจัยดานแสงแดด ลม อุณหภูมิและความชื้น ที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายนอก ความรอนแรงของ<br />

แสงแดดในสภาพภูมิอากาศเขตรอน เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่กอใหเกิดปญหาในเรื่องอุณหภูมิความรอน<br />

ภายในอาคารบานพักอาศัย และผูอยูอาศัยสวนใหญมักแกปญหาความรอนภายในอาคารโดยวิธีการใช<br />

เครื่องปรับอากาศ ซึ่งสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นไดตามที่ตองการและชวยทําใหภายในอาคารมี<br />

บรรยากาศอยูในสภาวะอุณหภูมิสบายได แตการควบคุมปองกันความรอนและแสงแดดจากดวงอาทิตย โดยการใช<br />

723


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ธรรมชาติและพืชพรรณมาเปนเครื่องมือในการปองกันแสงแดด ก็เปนแนวทางหนึ่งในการควบคุมสภาวะอุณหภูมิ<br />

(รศ.ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ, 2521) โดยไดมีการผลวิจัยของ IPCC (International Panel Climate Chance) พบวา<br />

- พืชพรรณมีประสิทธิภาพในการสกัดกั้นรังสีดวงอาทิตยไดดี<br />

- สามารถควบคุมไมใหอุณหภูมิอากาศในบริเวณเพิ่มขึ้นหรือลดลงไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

- เมื่อเพิ่มปริมาณพืชพรรณ จะสงผลตอเนื่องในการลดความรอนใหกับสภาพอากาศ<br />

จากขอมูลวิจัยเรื่องการใชพืชพรรณในการลดความรอนใหกับอาคารบานพักอาศัย (กาญจนา สิริภัทรวณิช<br />

,2540.) พบวา พืชพรรณมีประสิทธิภาพในการปรับปรุงสภาพอากาศเฉพาะที่ ใหกับอาคารได เมื่อใชใหเหมาะสมจะ<br />

เกิดผลในการชวยการปรับสภาพอุณหภูมิโดยคุณสมบัติของการลดปริมาณรังสีรวมภายใตรมเงาและการลดความ<br />

รอนจากการระเหยและการคายน้ําของพืชพรรณ โดยไดทําการทดลองวิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลระหวางบริเวณใต<br />

รมเงาตนไมใกลอาคารกับบริเวณกลางแจงรอบอาคาร พบวาพืชพรรณมีประสิทธิภาพในการในการสรางความสบาย<br />

ใหกับสภาพอากาศเฉพาะที่ ใตรมเงารอบอาคารบานพักอาศัยและประสิทธิภาพของสภาพอากาศเฉพาะที่ ที่ดีควร<br />

เริ่มจาการออกแบบ โดยใหรมเงาจากไมยืนตนแกสภาพแวดลอมอาคารและเพิ่มการระบายอากาศธรรมชาติที่<br />

เพียงพอ<br />

การวิจัยครั้งนี้จึงตองการที่จะทําการศึกษาแนวทางการจัดการสภาพแวดลอมโดยใชประโยชนจากพรรณ<br />

ไมเพื่อปรุงแตงสภาพแวดลอมใหเขาสูสภาวะสบาย<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อสรางแนวทางการจัดการสภาพแวดลอมในรูปแบบ Design guidelines โดยใชประโยชนจากพรรณไม<br />

ยืนตนที่มีศักยภาพเพื่อทําการปรุงแตงสภาพแวดลอม ใหเกิดประโยชนสูงสุดดานสภาวะสบาย<br />

3. ขอบเขตของการวิจัย<br />

มุงศึกษาอิทธิพลของตัวแปรสําคัญของรูปพรรณไมยืนตนที่มีผลตอการปรุงแตงสภาพแวดลอมใหกับ<br />

บานพักอาศัย โดย<br />

1) พรรณไม แบงออกเปน 3 ประเภทคือ ไมยืนตน (Tree), ไมพุม (Shrub) และพืชคลุมดิน (Low growing<br />

plant) (สมจิต โยธะคง, 2541:105) ในการวิจัยนี้ไดกําหนดขอบเขตของการศึกษาไวเฉพาะพรรณไมยืนตน (Tree)<br />

เทานั้น<br />

2) ชนิดของพรรณไมยืนตนที่ศึกษา คือ 1) กลุมของพรรณไมยืนตนที่ปลูกตามคติความเชื่อตามทิศ และ<br />

2) กลุมพรรณไมยืนตนที่มีในทองถิ่น โดยวิธีการกําหนดชนิดของพรรณไมยืนตนที่ใชในการทําวิจัย จะใชวิธีคัดเลือก<br />

โดยสรางเกณฑตารางจากการวิเคราะหคุณสมบัติพรรณไมยืนตนที่มีขนาดการเจริญเติบโตเต็มที่ (เอื้อมพร วี<br />

สมหมาย และคณะ, 2542.)<br />

3) ศึกษาเฉพาะกรณีบานพักอาศัยสองชั้น และมีที่ตั้งอยูในเขตภาคกลางภายใตเขตเสนรุง 14 องศาเหนือ<br />

4) ใช โตะแดด เปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลตัวแปร การวัดคา การทดสอบ และเปรียบเทียบ ในชวง<br />

ระยะเวลาของการทําวิจัย โดยใชประกอบกับหุนจําลองไมยืนตนแตละชนิด<br />

4. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย<br />

1) ตัวแปรทํานาย คือ ปจจัยรูปพรรณไมยืนตน ประกอบดวย<br />

1.1) ชนิดของพรรณไมยืนตน (Species)<br />

724


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. วิธีการศึกษา<br />

1.2) ปจจัยลักษณะทางกายภาพของพรรณไมยืนตน (Physical properties of plant)<br />

1.1.1) รูปทรงมาตรฐาน (Form)<br />

1.1.2) ความสูงเมื่อมีขนาดเจริญเติบโตเต็มที่ (Maturity)<br />

1.1.3) ความกวางพุมใบ (Spread)<br />

1.1.4) ความหนาแนนพุมใบ (Density)<br />

1.1.5) ชวงมีใบปกคลุม (Periodicity)<br />

1.1.6) ระยะความสูงโคนตนถึงใตพุม<br />

1.3) ลักษณะการแผรมเงา (Shade)<br />

1.4) ปจจัยสภาพแวดลอมของบานพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

1.4.1) อุณหภูมิอากาศ (Air temperature)<br />

1.4.2) ความชื้นสัมพัทธ (Relative humidity)<br />

1.4.3) อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิวโดยรอบ (Mean radiant temperature)<br />

1.4.4) ทิศทาง ความเร็วลม (Air velocity)<br />

1.4.5) ทิศทางแสงแดด (Sun path)<br />

2) ตัวแปรเกณฑ คือ ปจจัยในการกําหนดเขตสบาย (Comfort zone) ประกอบดวย<br />

2.1) อุณหภูมิอากาศ<br />

2.2) ความชื้นสัมพัทธ<br />

2.3) อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิวโดยรอบ<br />

2.4) ทิศทาง ความเร็วลม<br />

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเพื่อศึกษา ลักษณะทางกายภาพของพรรณไมยืนตน ที่มีศักยภาพสูงสุดในการปรุง<br />

แตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier) ของบานพักอาศัยใหเขาสูสภาวะสบาย และใหทราบถึงปจจัย กลุมตัว<br />

แปรสําคัญ ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของพรรณไมยืนตน ซึ่งเปนรูปแบบวิธีการหาความสัมพันธระหวางตัวแปรทํานาย<br />

กับตัวแปรเกณฑ และเปนการทดลองในสภาพที่เปนจริงตามธรรมชาติ โดยไมมีการควบคุมตัวแปรภายนอก<br />

รวมกับการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey studies) โดยศึกษาขอมูลปจจัยสภาพแวดลอมของบานพักอาศัยกรณีศึกษา ซึ่ง<br />

จะทําการทดลองตามกระบวนการที่สรางและพัฒนาขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลกลุมตัวอยางพรรณไมและ<br />

สภาพแวดลอมบานพักอาศัยกรณีศึกษา ซึ่งเปนตัวแปรทํานาย แลวนําผลที่ไดไปวิเคราะหเปรียบเทียบกับ ตัวแปร<br />

เกณฑ คือ ปจจัยในการกําหนดเขตสบาย (Comfort zone) โดยใชแผนภูมิไบโอไคลเมติก (Bioclimatic chart) เพื่อ<br />

เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเพื่อเขาสูเขตสภาวะสบาย จากปจจัยสําคัญของพรรณไมยืนตนที่มีอิทธิพลตอการปรุง<br />

แตงสภาพแวดลอมใหกับบานพักอาศัยและสรุปผลเพื่อสรางแนวทางการจัดการสภาพแวดลอมในรูปแบบ Design<br />

guidelines โดย มีขั้นตอนวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้<br />

1) ทบทวนทฤษฎี วรรณกรรมและเอกสารสําคัญที่เกี่ยวของกับการวิจัย ศึกษาขอมูลดานตางๆ<br />

2) ทําการเก็บขอมูลสําหรับการวิจัย ประกอบดวย<br />

2.1) เก็บขอมูลของพรรณไม<br />

2.1.1) ชนิดของพรรณไมยืนตน (Species)<br />

2.1.2) ปจจัยทางกายภาพของพรรณไมยืนตน (Physical properties of plant)<br />

2.1.3) ลักษณะการแผรมเงา (Shade)<br />

725


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2.1.4) ชวงมีใบปกคลุม (Periodicity)<br />

2.2) ทําการเก็บขอมูลวัดคาตัวแปรของพรรณไม ในชวงกลางวัน 6.00 ถึง18.00น. รายวันตอเดือน ใน<br />

รอบหนึ่งป<br />

2.3) เก็บขอมูลทิศทางแสงแดด (Sun Path) ในชวงกลางวันตั้งแตเวลา 6.00ถึง18.00น. รายวันตอ<br />

เดือน ในรอบหนึ่งป<br />

3) ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลจากการวัดคาตัวแปรที่เก็บได โดยทําการวิเคราะหเปรียบเทียบผล เพื่อ<br />

ทราบถึงปจจัยตัวแปรสําคัญของรูปพรรณไมยืนตนที่มีอิทธิพลตอการบังแดดและการใหรมเงา<br />

4) การสังเคราะห เพื่อหาปจจัยและกลุมตัวแปรสําคัญ ของรูปพรรณไมยืนตนมีศักยภาพสูงสุดในการบัง<br />

แดดและการใหรมเงากับบานพักอาศัย<br />

5.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง<br />

กลุมตัวอยางที่ใชในงานวิจัยเปนการเลือกโดยใชกลุมตัวอยางตามวัตถุประสงคแบบเจาะจง (Purposive<br />

sample) โดยกําหนดกลุมตัวอยางการศึกษาชนิดและลักษณะของพรรณไม ที่ศึกษา คือ<br />

- กําหนดเลือกตัวอยางไมยืนตนที่จะทําการศึกษาโดยวิเคราะหจากกลุมพรรณไมตามคติความเชื่อการ<br />

ปลูกไมมงคลตามทิศทั้ง 8 ทิศ<br />

- กําหนดเลือกตัวอยางจากกลุมพรรณไมยืนตนที่มีในทองถิ่นเขตภาคกลาง<br />

วิธีการกําหนดชนิดพรรณไมยืนตนที่ใชในการทําวิจัย ใชวิธีคัดเลือกโดยสรางเกณฑตารางจากการวิเคราะห<br />

คุณสมบัติพรรณไมที่มีขนาดการเจริญเติบโตเต็มที่ (เอื้อมพร วีสมหมาย และคณะ, 2542.) โดยศึกษาเฉพาะในดานที่<br />

สัมพันธกับการปรุงแตงสภาพแวดลอม มาเปนกลุมตัวอยางโดยใหเปนไปตามแบบกําหนดตนไม ที ่มีลักษณะทาง<br />

กายภาพที่ดีที่สุด เพื่อใชสําหรับการทําการวัดผลเพื่อเก็บขอมูลตัวแปรดานสภาพแวดลอมของพรรณไมเปนตัวอยาง<br />

กรณีศึกษา<br />

R&D<br />

ขอมูลไมยืนตนในงาน<br />

ภูมิสถาปตยกรรมของไทย<br />

ศึกษาสํารวจและรูปพรรณ R1A R1O ลักษณะรูปพรรณ<br />

ไมยืนตน<br />

ไมยืนตน<br />

ขั้น R1<br />

การใหรมเงาและการบังแดด<br />

คุณลักษณะในการ<br />

ของไมยืนตน (ขอมูล) D1A D1O บังแดด<br />

ของไมยืนตน<br />

ขั้น D1<br />

รูปพรรณไมยืนตน<br />

แบบรูปพรรณไมยืนตน<br />

ที่มีผลกับการบังแดด R2A R2O<br />

(ทดลอง)<br />

สรุปขนาดรูปพรรณไมยืนตน<br />

D2O ที่มีผลกระทบตอบานพักอาศัย<br />

ในดานการประหยัดพลังงาน<br />

แผนภูมิที่ 1.1 วิธีการและขั้นตอนของกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development, R&D)<br />

726


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล ไดแก เครื่องวัดอุณหภูมิอัตโนมัติ, อุปกรณวัดอุณหภูมิ, เครื่องวัดลม<br />

ภายนอกอาคารบานพักอาศัยและเครื่องมือที่เปนแบบตารางสํารวจ และจะตองทําการทดสอบตั้งมาตรฐานเครื่องมือ<br />

ที่ใชในการวิจัยเพื่อที่จะสามารถบอกไดวาเครื่องมือวัดทั้งหมดที่มีอยู สามารถอานคาไดเทาเทียมกันภายใตเงื่อนไข<br />

และสภาพแวดลอมเดียวกัน การตั้งมาตรฐานเครื่องมือ จะชวยใหสามารถนําคาที่วัดมาเปรียบเทียบกันไดอยาง<br />

ถูกตอง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยนี้ ประกอบดวย<br />

1. เครื่องวัดอุณหภูมิอัตโนมัติ คือ Temperature Data Logger (TDL) เครื่อง Temperature data<br />

logger ของ Energy expert Co., Ltd.เปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิประเภท ANALOG/DIGITAL CONVERTER<br />

เครื่องมือนี้จะแปลงคาความตานทานจากหัวเซนเซอร ซึ่งเปนหัว เทอรมิสเตอรขนาด 10 KILO-OHMS กลับมาเปน<br />

คาอุณหภูมิดวยโปรแกรมภายในเครื่องคอมพิวเตอรที่ตอเขากับ SYSTEM 200 ในการใชงานจึงจําเปนตองตั้ง<br />

มาตรฐานหัวเซนเซอรที่จะใชวัดอุณหภูมิทุกแชนแนลใหสามารถอานคาไดเทาเทียมกัน<br />

2. อุปกรณวัดอุณหภูมิ คือ เทอรโมมิเตอร (ทําการปรับเทียบแลว) เครื่องมือที่ใชในการบันทึกขอมูล<br />

อุณหภูมิในแตละสถานที่ และตําแหนง ในเวลาเดียวกันตองใหผลตรงกัน หรือสามารถนํามาปรับเทียบ (Calibrate)<br />

ใหอยูในมาตรฐานเดียวกัน<br />

3. เครื่องวัดลม คือ Testo เครื่อง Testo ประกอบดวย Instrument with digital display และ Airspeed<br />

probe ชนิดใบพัด เครื่องมือที่ใชในการวัดลมแตละสถานที่ ในเวลาเดียวกันตองใหผลตรงกัน<br />

4. ตารางการสํารวจและเก็บขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ที่ใชในงานวิจัย ประกอบดวย 3 สวน ดังนี้<br />

สวนที่ 1 คือ ตารางที่ใชเก็บบันทึกขอมูลลักษณะทางกายภาพของพรรณไม<br />

สวนที่ 2 ตารางสําหรับใชเก็บบันทึกขอมูลสภาพแวดลอมบานพักอาศัย<br />

สวนที่ 3 ตารางสําหรับใชเก็บบันทึกขอมูล เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศในวันที่ทําการทดลองวัด<br />

5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลมี 3 ขั้นตอน สําคัญ คือ<br />

ขั้นตอนที่ 1) การเก็บขอมูลดานพรรณไม ตามแผนภูมิที่ 1.2 ดังตอไปนี้<br />

1. การเก็บขอมูลดานพรรณไม<br />

ชนิด (Species)<br />

ลักษณะพรรณไมยืนตน<br />

1. รูปทรง (Form)<br />

2. ขนาด (Maturity)<br />

3 พุมใบ (Spread)<br />

4.หนาแนน (Density)<br />

5. ผลัดใบ (Periodicity)<br />

6. ความสูงโคนตน-พุม<br />

การแผรมเงา (Shade)<br />

ระยะเวลาการเก็บขอมูลวัดคาตัวแปรของพรรณไมยืนตน<br />

3 ฤดูกาล<br />

(ฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดูหนาว)<br />

เปนรายชั่วโมงตอวันตอเดือน ตอเนื่อง 12 ชั่วโมง<br />

ชวงเวลา 6.00-18.00น. (คิดเฉลี่ยเปนรายชั่วโมง)<br />

การวัดคาตัวแปร<br />

1.อุณหภูมิอากาศ<br />

2.ความชื้นสัมพัทธ<br />

3. อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิว<br />

4.อุณหภูมิภายในรมเงา<br />

เครื่องมือ<br />

Temperature data<br />

Globe temperature<br />

เทอรโมมิเตอร<br />

ตารางแบบสํารวจสวนที่ 1<br />

แผนภูมิที่ 1.2 ขั้นตอนวิธีการเก็บขอมูลของพรรณไม<br />

727


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ขั้นตอนที่ 2) การเก็บขอมูลบานพักอาศัยกรณีศึกษา ตามแผนภูมิที่ 1.3 ดังตอไปนี้<br />

2.การเก็บขอมูลบานพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

ตัวแปรสภาพแวดลอม<br />

บานพักอาศัย<br />

- อุณหภูมิอากาศ<br />

- ความชื้นสัมพัทธ<br />

- อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิว<br />

ระยะเวลาการเก็บขอมูลวัดคาตัวแปร<br />

3 ฤดูกาล<br />

(ฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดูหนาว)<br />

เปนรายชั่วโมงตอ<br />

วันตอเดือน ตอเนื่อง 12 ชั่วโมง<br />

ชวงเวลา 6.00-18.00น.<br />

(คิดเฉลี่ยเปนรายชั่วโมง)<br />

เครื่องมือ<br />

Temperature data logger<br />

Globe temperature<br />

เทอรโมมิเตอร<br />

ตารางแบบสํารวจ สวนที่ 2<br />

แผนภูมิที่ 1.3 ขั้นตอนวิธีการเก็บขอมูลของบานพักอาศัยกรณีศึกษา<br />

ขั้นตอนที่ 3) การเก็บขอมูลสภาพภูมิอากาศ ตามแผนภูมิที่ 1.4 ดังตอไปนี้<br />

3.การเก็บขอมูลสภาพภูมิอากาศ<br />

ตัวแปรสภาพภูมิอากาศ<br />

- ทิศทางแสงแดด<br />

- ทิศทาง ความเร็วลม<br />

แสดงผล 16 ทิศทาง<br />

ระยะเวลาการเก็บขอมูล<br />

3 ฤดูกาล<br />

(ฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดูหนาว)<br />

เปนรายชั่วโมง<br />

ชวงกลางวัน 6.00-18.00น.<br />

ตอวันตอเดือน<br />

เครื่องมือ<br />

Sun chart 14 o N<br />

Testo<br />

ตารางแบบสํารวจ สวนที่ 3<br />

แผนภูมิที่ 1.4 ขั้นตอนวิธีการเก็บขอมูลของสภาพภูมิอากาศ<br />

5.4 การเก็บขอมูลอุณหภูมิตาง ๆ ในสภาพอากาศจริง<br />

ในสภาพภูมิอากาศจริงจะมีความแปรปรวนสูง จึงกําหนดใหใชเครื่องคอมพิวเตอรทําการเก็บขอมูลใน<br />

ตําแหนงตางๆ ดวยโปรแกรมควบคุมอุณหภูมิ Temperature Data Logger V1.0 Beta เพื่อลดความผิดพลาดของ<br />

คาที่อานได จึงตองเก็บขอมูลทุก 15 นาที ขอมูลอุณหภูมิที่ทําการบันทึกตองเก็บรวบรวมอยางตอเนื่อง 12 ชั่วโมง<br />

(ชวงกลางวัน 6.00-18.00น.) ในชวง 3 ฤดูกาล จากนั้นจึงนํามาหาคาเฉลี่ยเปนรายชั่วโมงเพื่อใชเปนฐานขอมูลใน<br />

การวิจัย การเก็บขอมูล เปนการบันทึกผลขอมูล ในวันและเวลาเดียวกัน ซึ่งตองใชการวัดดวยเครื่องวัดอุณหภูมิ<br />

Temperature Data Logger และเทอรโมมิเตอร การบันทึกผลทุก ๆ ชั่วโมง ขอมูลอุณหภูมิตาง ๆ ที่ทําการบันทึก<br />

ในขั้นตอน ไดแก<br />

728


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- บันทึกอุณหภูมิกระเปาะแหง (อุณหภูมิอากาศ)<br />

- บันทึกอุณหภูมิกระเปาะเปยก<br />

- บันทึกอุณหภูมิอากาศ<br />

- บันทึกอุณหภูมิผิวพื้น<br />

ขอมูลความชื้นสัมพัทธ ไดจากการนําขอมูลของอุณหภูมิกระเปาะแหง (Dry-bulb Temperature) และ<br />

อุณหภูมิกระเปาะเปยก (Wet-bulb temperature) มาหาคาโดยใชแผนภูมิไซโครเมติก (Psychometric chart)<br />

การเก็บขอมูลความเร็วลม เปนการบันทึกความเร็วลมตามทิศหลัก 16 ทิศ ทําการเก็บขอมูลทุก 30<br />

นาที จากนั้นจึงนํามาหาคาเฉลี่ยเปนรายชั่วโมง<br />

การเก็บขอมูลสภาพภูมิอากาศ คือ บันทึกเกี่ยวกับการสังเกตทุกครั้งที่มีการทดลองโดยมีรายละเอียด<br />

เกี่ยวกับสภาพทองฟา แสงเงา ทิศทางลมภายนอกบานพักอาศัยทําการบันทึกทุกชั่วโมง<br />

5.5 การวิเคราะหขอมูล<br />

ทําการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลที่เก็บได โดยเปรียบเทียบผลที่ไดจากวิเคราะหขอมูล เพื่อทราบถึง<br />

ปจจัยตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการปรุงแตงสภาพแวดลอมบานพักอาศัยโดยจัดลําดับความสําคัญของตัวแปรและจัด<br />

หมวดหมูกลุมตัวแปร<br />

การสังเคราะหตัวแปร เพื่อหาปจจัยและกลุมตัวแปรสําคัญที่ทําใหพรรณไมยืนตนมีศักยภาพสูงสุดในการปรุง<br />

แตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier) ใหบานพักอาศัยเขาสูสภาวะสบาย โดยแสดงผลตอบานพักอาศัย<br />

กรณีศึกษาทั้ง 8 ทิศ ครบ 3 ฤดู คือ ฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดูหนาว เปนรายชั่วโมงตอวันตอเดือน<br />

สราง Model จาก ปจจัยตัวแปรและการผสมผสานกลุมตัวแปรของพรรณไมที่สําคัญ เพื่อใชทดสอบ อิทธิพล<br />

ตอการปรุงแตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier) ใหบานพักอาศัยเขาสูสภาวะสบาย (Comfort zone)<br />

ทดสอบและประเมินผล Model โดยใชแผนภูมิ Bioclimatic chart เปนเครื่องมือในการเปรียบเทียบขอ<br />

แตกตางระหวางผลตอการสรางสภาวะนาสบาย ของบานพักอาศัยกรณีศึกษา ที่มีการจัดการสภาพแวดลอมโดยใช<br />

ประโยชนจากพรรณไมเพื่อปรุงแตงสภาพแวดลอมบานพักอาศัยอยางถูกวิธี กับ บานพักอาศัยกรณีศึกษา ซึ่งไมมี<br />

การปลูกตนไม เปรียบเทียบจํานวนชวงเวลาที่อยูในเขตสบาย ระยะเวลา 3 ฤดูกาล คือฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดู<br />

หนาว เฉลี่ยเปนรายชั่วโมง ชวงกลางวัน 6.00-18.00น.<br />

สรุปผล ปจจัยตัวแปรของพรรณไมและจัดทําแบบ Guidelines เพื่อกําหนด ชนิด, ตําแหนงและทิศทาง ของ<br />

พรรณไม เพื่อไดผลในการปรุงแตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier) ใหเกิดประโยชนสูงสุดดานสภาวะ<br />

สบาย<br />

6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย<br />

ทราบถึงลักษณะรูปพรรณไมยืนตน (Physical properties of Trees) ที่มีอิทธิพลตอการบังแดดและใหรม<br />

เงากับบานพักอาศัย ซึ่งจะสงผลตอการเลือกใชไมยืนตนเพื่อใหไดรมเงาบังแสงแดด มีผลตอเนื่องในดานการ<br />

ประหยัดพลังงานในอาคารบานพักอาศัย เปนแนวทางการจัดการสภาพแวดลอมจากตนแบบ Design Guidelines<br />

เพื่อนําไปใชปรุงแตงสภาพแวดลอม ใหเกิดประโยชนสูงสุดดานสภาวะสบาย<br />

729


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิเคราะห<br />

เปรียบเทียบผล<br />

การวิเคราะหขอมูล<br />

ประมวลผล<br />

การสังเคราะหขอมูล<br />

ตัวแปร ลักษณะทางกายภาพที่สําคัญของไมยืนตน<br />

(Physical properties of plant)<br />

กลุมตัวแปร พรรณไมที่สําคัญและมีอิทธิพลตอการ<br />

ปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

(Micro-climate modifier)<br />

สรุปปจจัยสําคัญ พรรณไมที่มีศักยภาพสูงสุด<br />

ในการปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

(Micro-climate Modifier)<br />

ใหเขาสูสภาวะสบาย<br />

(Comfort zone)<br />

การทดสอบ<br />

Model<br />

การประเมินผล<br />

Model<br />

ไมผาน<br />

แกไข<br />

สราง Model<br />

จากปจจัยตัวแปรและการผสมผสาน<br />

กลุมตัวแปรของพรรณไมที่สําคัญ<br />

เพื่อใชทดสอบอิทธิพล<br />

ตอการปรุงแตงสภาพแวดลอม<br />

(Micro-climate modifier)<br />

ใหบานพักอาศัยเขาสูสภาวะสบาย<br />

(Comfort zone)<br />

ผาน<br />

สรุปผล<br />

แบบ Guidelines ปจจัยตัวแปรของพรรณไม เพื่อกําหนด ชนิด, ตําแหนงและทิศทาง ของ<br />

พรรณไมเพื่อไดผลในการปรุงแตงสภาพแวดลอม (Micro-climate modifier)<br />

ใหเกิดประโยชนสูงสุดดานสภาวะสบาย (Comfort zone)<br />

ตนแบบ<br />

Design guidelines<br />

แผนภูมิที่ 1.5 แสดงขั้นตอนวิธีการการวิเคราะหขอมูล<br />

730


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. นิยามศัพทเฉพาะ<br />

1. ภาคกลาง คือพื้นที่ที่อยูในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีที่ตั้งอยูภายใตเขตเสนรุง 14 องศาเหนือ<br />

(บริเวณระหวางเสนรุงที่ 3-16 องศาเหนือ และเสนแวงที่ 95-102 องศาตะวันออก แบงตามแบบ พ.ศ. 2500 มี 28<br />

จังหวัด) (ฤทัยใจจงรัก, 2535:2)<br />

2. ไมมงคล หมายถึง ตนไมที่ปลูกไวบริเวณบาน เพื่อประโยชนใชสอยในครัวเรือน และเอาเคล็ดจากชื่อใน<br />

การเรียกขาน มาเปนนามมงคลแกบานเรือน ตามตําราการปลูกตนไมเพื่อเปนมงคลแกเจาของเรือนและได<br />

ประโยชนครบทั้งปจจัย 4 คือที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม อาหารและยารักษาโรค<br />

3. พรรณไม หมายถึง ตนไมชนิดนั้น ๆ หรือพืชชนิดนั้น ๆ คํา พรรณไม ไม พรรณพืช พืช มีความหมาย<br />

เหมือนกัน คือ เปนคํารวมเรียกพืชทั่วไป และสามารถใชแทนกันได (คณะกรรมการจัดทําอนุกรมวิธานพืช แหง<br />

ราชบัณฑิตยสถาน, 2551.)<br />

4. ไมยืนตน (Trees) หมายถึง พรรณไมไมที่มีเนื้อไมมาก อาจเปนไมเนื้อออนหรือไมเนื้อแข็งก็ได มีลําตน<br />

ใหญเปนลําตนเดี่ยวตั้งตรงขึ้นไปจากพื้นดินระยะหนึ่งแลวจึงแตกกิ่งกานสาขาแผออกเปนทรงพุมทางดานบนของ<br />

ตน มีทรงพุมเปนรูปทรงแตกตางกัน สูงไดมากกวา 6 เมตร ลําตนเปนอิสระในการเจริญเติบโต (ศ.กสิน สุวตะพันธุ,<br />

2510.)<br />

5. ไมผลัดใบ (Deciduous Plants) หมายถึง พืชพรรณที่จะทิ้งใบรวงในชวงเวลาที่อากาศไมเหมาะสม ซึ่ง<br />

อาจเปนอากาศที่รอนหรือหนาวเย็นจนเกินไป และจะคงสภาพเชนนั้นไปจนกวาอากาศจะมีความพอเหมาะกับการ<br />

เจริญเติบโต<br />

6. ไมไมผลัดใบหรือไมที่มีสีเขียวตลอดป (Evergreen Plants) หมายถึง พืชพรรณที่สามารถเจริญเติบโต<br />

ไดตลอดป โดยไมมีการผลัดใบ<br />

7. ไมกึ่งผลัดใบ (Semi – Deciduous Plants) หมายถึง พืชพรรณที่มีการผลัดใบเปนชวงระยะเวลาหนึ่ง<br />

โดยมิไดขึ้นอยูกับฤดูกาลหรือสภาพอากาศ<br />

8. เอกสารอางอิง<br />

- กองอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน. คูมือการอนุรักษพลังงานในอาคาร,<br />

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538.<br />

- กาญจนา สิริภัทรวณิช. การใชไมยืนตนในการปรับแตงสถาพแวดลอมเพื่อลดการใชพลังงาน<br />

ภายในอาคาร, กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.<br />

- ตรึงใจ บูรณสมภพ. การออกแบบสถาปตยกรรมเมืองรอนในประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร:<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2521.<br />

- วิชัย อิทธิวิศวกุล. อิทธิพลของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติตออุณหภูมิบริเวณอาคาร,<br />

กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา<br />

สถาปตยกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.<br />

- ประวีวรรณ อมรพงศ. การปรับสภาพแวดลอมรอบอาคารดวยวัสดุพืชพรรณธรรมชาติเพื่อ<br />

สรางสภาวะนาสบาย, กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหา<br />

บัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 2544.<br />

731


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคการออกแบบบานประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกวา, พิมพ<br />

ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.<br />

- สมจิต โยธะคง. วัสดุพืชพรรณในการจัดภูมิทัศน, พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร:<br />

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.<br />

- สมสิตย นิตยะ. การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตรอนชื้น, กรุงเทพมหานคร: คณะ<br />

สถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.<br />

- สุดสวาด ศรีสถาปตย. การออกแบบวัสดุพืชพรรณเพื่อการประหยัดพลังงาน, กรุงเทพมหานคร:<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531.<br />

- วิเชียร สุวรรณรัตน. ภูมิอากาศและการออกแบบสถาปตยกรรม, พิมพครั้งที่ 2<br />

กรุงเทพมหานคร: มปส., 2538.<br />

- อุระคินทร วิริยะบูรณะ และคณะ, ตําราพรหมชาติฉบับหลวง, พระนคร: โรงพิมพลูก ส.ธรรม<br />

ภักดี, 2511.<br />

- เอื้อมพร วีสมหมาย และคณะ, พรรณไมในงานภูมิสถาปตยกรรม. กรุงเทพฯ : พิมพดี, 2542.<br />

732


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองตอการลดอุณหภูมิผิวพื้น :<br />

กรณีศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร<br />

Monitoring the Impact of Green Areas in Urban on the Land Surface Temperature<br />

Reduction: A Case Study in Bangkok Metropolitan Area<br />

ปริญญา ฉายะพงษ<br />

1 2<br />

และ ทรงกต ทศานนท<br />

1 นักศึกษาบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาเอก หลักสูตรภูมิสารสนเทศ สาขาวิชาการรับรูจากระยะไกล<br />

สํานักวิชาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

2 อาจารย สาขาวิชาการรับรูจากระยะไกล สํานักวิชาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

บทคัดยอ<br />

นักวิทยาศาสตรพบวาปจจุบันปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง (Urban heat island (UHI)) ไดเกิดขึ้น<br />

ในนครหลวงและเมืองใหญตางๆทั่วโลก สาเหตุหลักที่ทําใหพื้นที่ในเขตเมืองมีอุณหภูมิผิวพื้นสูงมากกวาเขตชนบท<br />

นั้น เนื่องมาจากการดูดซับรังสีจากดวงอาทิตยของวัตถุสิ่งปกคลุมบนผิวพื้นในเมืองมีมากกวาในชนบท วัตถุ<br />

เหลานั้นไดแก อาคาร บานเรือน ถนน และสิ่งกอสรางตางๆที่เกิดจากมนุษย ทั้งนี้การขยายตัวทางเศรษฐกิจเปน<br />

ตัวเรงใหเกิดความตองการในการใชพื้นที่เพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ในเขตเมือง<br />

ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตกรุงเทพมหานครตอการลดลง<br />

ของอุณหภูมิผิวพื้นและเพื่อศึกษาหาแนวทางในการแกไขปญหาและใชเปนขอเสนอแนะแกหนวยงานที่รับผิดชอบ<br />

ในการวางแผนบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานการวิจัยคือปจจัยสําคัญที่มีผลตอการ<br />

เพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นในเมืองเกิดจากการมีอยูของจํานวนและขนาดของพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง<br />

สําหรับขอบเขตของการวิจัยกําหนดพื้นที่ศึกษาโดยเลือกจากพื้นที่สวนสาธารณะขนาดเล็ก ขนาดกลาง<br />

และขนาดใหญเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครขนาดละหนึ่งตัวอยาง และเก็บบันทึกขอมูลอุณหภูมิผิวพื้นและคาพิกัด<br />

ทางภูมิศาสตรของจุดตรวจวัดโดยวิธีการเดินเทาเปนรัศมี 3 กิโลเมตรจากจุดศูนยกลางของสวนสาธารณะแตละแหง<br />

ใหไดขอมูลกระจายและครอบคลุมพื ้นที่ศึกษาอยางสม่ําเสมอทั่วทั้งพื้นที่ ในหวงเดือนพฤษภาคม 2552 ถึง ตุลาคม<br />

2552 โดยนําโปรแกรมประยุกตทางภูมิสารสนเทศมาเปนเครื่องมือในการสรางแผนที่อุณหภูมิ (Land Surface<br />

Temperature Map ) เพื่อวิเคราะหการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นจากอิทธิพลของสวนสาธารณะ<br />

จากการวิจัยสรุปไดวาพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองมีผลตอการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นอยางมีนัยสําคัญ โดย<br />

ลําดับของคาอุณหภูมิพื้นผิวที่ลดลงจากอิทธิพลของสวนสาธารณะจากมากไปหานอยเรียงตามลําดับไดดังนี้คือ<br />

สวนสาธารณะขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก และผูวิจัยมีขอเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาวาง<br />

แผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองใหมากขึ้นและเพียงพอเพื่อลดอุณหภูมิพื้นผิวในเขตเมือง<br />

คําสําคัญ: อุณหภูมิผิวพื้น การลดอุณหภูมิ พื้นที่สีเขียว LST UHI<br />

733


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Abstract<br />

Scientists found that the current urban heat island phenomenon has occurred in metropolitan and<br />

major cities around the world. The main reason that the urban areas of land surface temperature is higher<br />

than rural areas. Due to absorption of solar radiation from objects on the surface of the ground is covered<br />

in the more rural areas. These objects include buildings, roads and houses that caused by man. The<br />

growth of the economy is accelerating the demand for space to conduct activities in urban areas.<br />

In the study aims to examine the impact of green areas in Bangkok to a decrease in land surface<br />

temperature and to study the means to resolve the issue and used as feedback to the agencies<br />

responsible for planning, managing green areas in Bangkok.<br />

The scope of the research study area by choosing from a small park area, medium and large<br />

size only in Bangkok one example. Storage and land surface temperature and the geographic coordinates<br />

of the measurement by means of walking survey radius of three kilometers from the center of each park.<br />

To spread the information and coverage on a regular basis throughout the study area during the month in<br />

May 2009 to October 2009. And application of GIS as a tool to generate temperature maps. To analyze<br />

the reduction of land surface temperatures from the influence of the park.<br />

Research shows that green spaces in urban areas affecting a decrease in land surface<br />

temperature significantly. By order of the land surface temperature dropped from the influence of the park<br />

from the most to the least order is as follows, large park, medium park and small park. And research<br />

suggests that the agency plans to consider adding green space.<br />

1. ความสําคัญ<br />

1.1 ปญหาการเพิ่มขึ้นของประชากร<br />

การเพิ่มของจํานวนประชากรในประเทศกําลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทยมีจํานวนมากขึ้นอยางรวดเร็วหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่สองเปนตนมา โดยในป พ.ศ.2504 มีจํานวน 26 ลานคน และเพิ่มมากกวา 52 ลานคนในป พ.ศ.<br />

2529 คาดการณกันวาในป พ.ศ.2562 ประเทศไทยจะมีจํานวนประชากรมากกวา 70 ลานคน กรุงเทพมหานครใน<br />

ป พ.ศ. 2503 มีประชากร 2.13 ลานคน และเพิ่มเปน 6.35 ลานคนในป พ.ศ.2543 ดังตารางที่ 1 ในขณะที่จํานวน<br />

ประชากรตามหลักฐานทะเบียนบานและขอมูลจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นของกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2542-2549<br />

แสดงดังตารางที่ 2<br />

การอพยพของประชากรจากตางจังหวัดเขาสูเมืองหลวงดวยเหตุผลประการสําคัญคือการประกอบอาชีพ<br />

สงผลใหเกิดการเพิ่มขึ้นของประชากรทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยตรง ดังแสดงใหเห็นในตารางที่ 3<br />

การอุปโภคบริโภคของประชากรจํานวนมากมีความสัมพันธกับการใชพลังงานที่เพิ่มขึ้นโดยตรง ตัวอยางเชน การใช<br />

พลังงานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรมและแหลงที่อยูอาศัย การใชพลังงานเชื้อเพลิงสําหรับการคมนาคมในลักษณะ<br />

ตางๆ เปนตน นอกจากนี้ความตองการแหลงที่อยูอาศัยก็เปนปจจัยหลักที่ประชากรเหลานี้ตองการ การขยายตัว<br />

ของเมืองจึงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีการเชื่อมโยงถึงกันดวยเสนทางคมนาคมตางๆ<br />

734


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 จํานวนประชากรกรุงเทพมหานคร อัตราการเพิ่มตอป ป 2503 – 2543 (ที่มาดัดแปลงจาก:<br />

สํานักงานสถิติแหงชาติ 2503ก, 2503ข, 2513ก, 2513ข, 2523, 2533, และ 2543ก)<br />

ปสํามะโน จํานวนประชากร อัตราการเพิ่มตอป<br />

2503 2,136,435 -<br />

2513 2,495,312 3.46<br />

2523 4,697,071 4.22<br />

2533 5,882,411 2.26<br />

2543 6,355,144 1.95<br />

ตารางที่ 2 จํานวนประชากรในทะเบียนบาน และจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นของกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.<br />

2542-2549 (ที่มา: สํานักทะเบียนกลาง, 2550)<br />

ปพ.ศ. จํานวนประชากร จํานวนประชากรเพิ่ม<br />

2542 5,662,499 -<br />

2543 5,680,380 17,881<br />

2544 5,726,203 45,823<br />

2545 5,782,159 55,956<br />

2546 5,844,607 62,448<br />

2547 5,634,132 -210,475<br />

2548 5,658,953 24,821<br />

2549 5,695,956 37,003<br />

ตารางที่ 3 จํานวนผูยายถิ่นเขาสุทธิ จําแนกตามพื้นที่ ป พ.ศ. 2533-2553 (คาคาดประมาณของ TDRI) (ที่มา<br />

ดัดแปลงจาก: Krongkaew,1996)<br />

ชวงเวลา กรุงเทพมหานคร 5 จังหวัดปริมณฑล<br />

2533-2538 124,300 181,900<br />

2538-2543 115,000 194,900<br />

2543-2548 108,100 206,200<br />

2548-2553 103,500 213,400<br />

1.2 ปญหาสภาวะโลกรอน<br />

เกาะความรอนของเมือง เปนปรากฏการณที่ทําใหอุณหภูมิพื้นผิวในเมืองมีคาสูงกวาอุณหภูมิในพื้นผิวใน<br />

ชนบทโดยรอบ (Oke,1987) โดยอุณหภูมิอากาศเพิ่มสูงขึ้นไปเรื่อยๆจนสูงที่สุดบริเวณใจกลางเมืองซึ่งเต็มไปดวย<br />

อาคารสูง ลักษณะอุณหภูมิจึงคลายกับเกาะขนาดใหญเหนือเมือง (จารึก รัตนบูรณ,2545 อางอิงถึง สุจิตตรา เจริญ<br />

หิรัญยิ่งยศ,2545) เปนปญหาที่สําคัญอยางหนึ่งของเมืองที่สงผลกระทบตอมนุษย และระบบนิเวศ อันมีสาเหตุเกิด<br />

จากการขยายพื้นที่เมือง และความเจริญกาวหนาของเมืองในดานตางๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพสิ่งปก<br />

735


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คลุมดินของเมือง จากเดิมที่เคยปกคลุมดวยพืชพรรณ ดิน และน้ํา ถูกเปลี่ยนแปลงไปเปนสิ่งกอสรางตางๆ ลวน<br />

แลวแตเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และสิ่งกอสรางเหลานี้มีคุณสมบัติในการดูดซับความรอนไดดี (มนตรี ตั ้งศิริมงคล,<br />

2546) สภาวะอุณหภูมิที่สูงขึ้นยังสงผลกระทบใหเกิดการใชพลังงานเพิ่มขึ้นตามไปดวย สงผลตอภาวะเศรษฐกิจ<br />

และปญหามลพิษดานตางๆ ตามมา ในสภาวะการเชนนี้อาจสงผลใหเกิดการเจริญเติบโตของเชื้อโรคบางจําพวกทํา<br />

ใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัยของประชากรได อาทิทําใหเกิดอาการเจ็บปวยเกี ่ยวกับโรคทางเดินหายใจ ความ<br />

หงุดหงิดไมสบายตัว (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2542)<br />

รูปที่ 1 Typical temperature profile represents the urban heat island effect<br />

1.3 ผลกระทบของอุณหภูมิผิวพื้นที่เกิดจากพื้นที่สีเขียวและสิ่งกอสราง<br />

จากการศึกษาที่ผานมาจํานวนมากทําใหทราบวาสิ่งปกคลุมดินและการใชประโยชนที่ดิน (LULC) มี<br />

อิทธิพลกับปรากฎการณเกาะความรอนของเมิอง กลาวไดวาการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในเมือง อันไดแก<br />

สวนสาธารณะ สวนหยอม จะมีผลโดยตรงตอการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นในบริเวณนั้นและในทางตรงกันขามหาก<br />

พื้นผิวถูกปกคลุมดวยสิ่งกอสราง เชน อาคาร บานเรือน ถนน อุณหภูมิพื้นผิวในบริเวณนั้นก็จะสูง (รูปที่ 2)<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองตอการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นในพื้นที่<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

736


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 2 ตัวอยางความสัมพันธที่พบระหวางอุณหภูมิผิวพื้นกับพื้นที่ที่ปกคลุมดวยพืชพรรณ (ภาพซาย) และ<br />

ความสัมพันธที่พบระหวางอุณหภูมิผิวพื้นกับพื้นที่ที่ปกคลุมสิ่งกอสราง (ภาพขวา) ที่มาของภาพนํามาจาก<br />

Dousset and Gourmelon (2003) and Yuan and Bauer (2007)<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 พื้นที่ศึกษา กรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวงของประเทศไทยและเปนเมืองที่มีประชากรมากที่สุด เปน<br />

ศูนยกลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนสง การเงินการธนาคาร การพาณิชย การสื่อสาร และความ<br />

เจริญกาวหนาดานอื่น มีแมน้ําสําคัญคือ แมน้ําเจาพระยาไหลผานแบงเมืองออกเปน 2 ฝง คือฝงพระนครและฝง<br />

ธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตารางกิโลเมตร พิกัดทางภูมิศาสตรคือ ละติจูด 13° 45’ เหนือ<br />

ลองจิจูด 100° 31’ ตะวันออก<br />

รูปที่ 3 ภาพ Landsat TM5 Band 432 แสดงพื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร<br />

737


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3.2 เลือกพื้นที่สวนสาธารณะในใจกลางกรุงเทพมหานครที่มีความแตกตางดานพื้นที่ จํานวน 3 ขนาด<br />

ไดแก สวนขนาดใหญ สวนขนาดกลาง สวนขนาดเล็ก ในการศึกษาครั้งนี้ไดเลือกพื้นที่ อุทยานการเรียนรูจตุจักร มี<br />

พื้นที่ 705 ไร สวนลุมพินี มีพื้นที่ 360 ไร และสวนสันติภาพ มีพื้นที่ 20 ไร เปนตัวแทนในการศึกษา<br />

3.3 ทําการสํารวจและเก็บบันทึกขอมูลภาคสนามดวยการเดินเทา จากจุดศูนยกลางของสวนสาธารณะวัด<br />

ออกไปเปนระยะทาง 3 กิโลเมตร กระจายจุดวัดอยางสม่ําเสมอ โดยใชอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิที่มีความละเอียดสูง<br />

โดยอานคาไดระดับทศนิยม 1 ตําแหนง และอุปกรณ GPS (Global Positioning System) บันทึกพิกัดทาง<br />

ภูมิศาสตรของจุดตรวจวัดอุณหภูมิ ในหวงเดือนพฤษภาคม 2552 ถึง ตุลาคม 2552 โดยคัดเลือกเฉพาะวันที่มี<br />

ลักษณะสภาพอากาศใกลเคียงกันเทานั้น จัดเก็บขอมูลไดดังนี้ 1) อุทยานการเรียนรูจตุจักร จํานวน 1724 จุด 2)<br />

สวนลุมพินี จํานวน 1634 จุด 3) สวนสันติภาพ จํานวน 1249 จุด<br />

3.4 นําขอมูลที่ไดจากการสํารวจและเก็บบันทึกขอมูลภาคสนามมาประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป<br />

ทางภูมิสารสนเทศ โดยการทํา Interpolate ดวยเทคนิค kriging เพื่อใหไดภาพแผนที่อุณหภูมิ จากนั้นสรางเสนตรง<br />

8 ทิศทางออกจากจุดศูนยกลางของแตละสวนและจัดเก็บคาอุณหภูมิทุกระยะหาง 5 เมตร บนเสนตรงทั้ง 8 ทิศนั้น<br />

จนสิ้นสุดที่ปลายเสนตรง จะไดระยะทางเทากับ 3 กิโลเมตร และใชโปรแกรมสําเร็จรูปแบบตารางคํานวณ โดยนําคา<br />

อุณหภูมิที่ไดของทั้ง 8 ทิศไปคํานวณหาคาเฉลี่ยอุณหภูมิ และสรางกราฟการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเทียบกับ<br />

ระยะหางจากจุดศูนยกลางสวน จากนั้นทําการวิเคราะหผลที่ไดของแตละสวนสาธารณะเทียบเทียบกัน เพื่อหา<br />

ขอสรุปของการตรวจสอบผลกระทบจากพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองตอการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นในพื้นที่<br />

กรุงเทพมหานครตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 อุทยานการเรียนรูจตุจักร<br />

รูปที่ 4 แสดงการกระจายตัวของจุดตรวจวัดอุณหภูมิ (ซาย) และ ทิศทางยอย 8 ทิศ<br />

ของอุทยานการเรียนรูจตุจักร (ขวา)<br />

738


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 5 แสดงแผนที่อุณหภูมิผิวพื้นจากการทํา Interpolate วัดแบบกระเปราะแหง<br />

ของอุทยานการเรียนรูจตุจักร<br />

รูปที่ 6 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ยกับระยะหางจากจุดศูนยกลาง<br />

ของอุทยานการเรียนรูจตุจักร<br />

739


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.2 สวนลุมพินี<br />

รูปที่ 7 แสดงการกระจายตัวของจุดตรวจวัดอุณหภูมิ (ซาย) และ ทิศทางยอย 8 ทิศของสวนลุมพินี (ขวา)<br />

รูปที่ 8 แสดงแผนที่อุณหภูมิผิวพื้นจากการทํา Interpolate วัดแบบกระเปราะแหงของสวนลุมพินี<br />

740


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 9 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ยกับระยะหางจากจุดศูนยกลางของสวนลุมพินี<br />

4.3 สวนสันติภาพ<br />

รูปที่ 10 แสดงการกระจายตัวของจุดตรวจวัดอุณหภูมิ (ซาย)<br />

และ ทิศทางยอย 8 ทิศของสวนสันติภาพ (ขวา)<br />

741


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 11 แสดงแผนที่อุณหภูมิผิวพื้นจากการทํา Interpolate วัดแบบกระเปราะแหงของสวนสันติภาพ<br />

รูปที่ 12 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ยกับระยะหางจากจุดศูนยกลางของสวนสันติภาพ<br />

742


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย (C)<br />

รูปที่ 13 กราฟรวมแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ยของทุกสวน<br />

กับระยะหางจากจุดศูนยกลางของสวน<br />

อุทยานการเรียนรูจตุจักร ที่จุดศูนยกลางของสวนอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 32.01 องศาเซลเซียลและ<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิว มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามระยะหางออกไปจนถึง 700 เมตร อุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 34.82<br />

องศาเซลเซียล จากนั้นอุณหภูมิเฉลี่ยเริ่มมีแนวโนมคงที่อยูระหวาง 35.0 – 35.5 องศาเซลเซียลจนถึงระยะหาง 3<br />

กิโลเมตร ดังรูปที่ 6<br />

สวนลุมพินีที่จุดศูนยกลางของสวนคาอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 33.29 องศาเซลเซียล ทั้งนี้อุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยผิวพื้นมากกวาอุทยานการเรียนรูจตุจักร 1.28 องศาเซลเซียลแตนอยกวาสวนสันติภาพ 0.64 องศาเซลเซียล<br />

แนวโนมของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นไมคอยแตกตางกันโดยเพิ่มขึ้นเล็กนอยที่ระยะหาง 250 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยผิว<br />

พื้นเปน 33.71 องศาเซลเซียล จากนั้นอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเริ่มมีแนวโนมคงที่อยูระหวาง 33.5 – 34.0 องศาเซล<br />

เซียล จนถึงระยะหาง 3 กิโลเมตร ยกเวนที่ระยะหาง 2 กิโลเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 34.27 องศาเซลเซียล<br />

ดังรูปที่ 9<br />

สวนสันติภาพที่จุดศูนยกลางของสวนคาอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 34.02 องศาเซลเซียล พบวามี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นมากกวาทุกสวน มากกวาอุทยานการเรียนรูจตุจักร 2.01 องศาเซลเซียล และพบวาแนวโนม<br />

ของอุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามระยะหางออกไปจนถึง 350 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเปน 34.96 องศาเซลเซียล<br />

จากนั้นอุณหภูมิเฉลี่ยผิวพื้นเริ่มมีแนวโนมคงที่อยูระหวาง 34.8 – 35.2 องศาเซลเซียล จนถึงระยะหาง 3 กิโลเมตร<br />

ดังรูปที่ 12<br />

พื้นที่สีเขียวขนาดใหญดังเชน อุทยานการเรียนรูจตุจักรมีอิทธิพลตอการลดอุณหภูมิของพื้นผิวอยาง<br />

เห็นไดชัดเจน ทั้งดานระยะทางและความแตกตางของอุณหภูมิ ในขณะที่สวนสวนลุมพินีและสวนสันติภาพมีอิทธิพล<br />

ตอการลดอุณหภูมิของพื้นผิวทั้งดานระยะทางประมาณ 250 – 350 เมตร และความแตกตางของอุณหภูมิเพียง 0.5<br />

– 1 องศาเซลเซียลเทานั้น<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

ระยะทาง (กิโลเมตร)<br />

จากการวิจัยสรุปไดวาพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองมีผลตอการลดลงของอุณหภูมิผิวพื้นอยางมีนัยสําคัญ<br />

โดยลําดับของคาอุณหภูมิพื้นผิวที่ลดลงจากอิทธิพลของสวนสาธารณะจากมากไปหานอยเรียงตามลําดับไดดังนี้คือ<br />

สวนสาธารณะขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก อนึ่งในการศึกษาครั้งนี้ไมไดวิเคราะหในสวนของวัสดุ<br />

743


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สิ่งกอสรางที่ปกคลุมพื้นผิวภายในรัศมี 3 กิโลเมตรจากจุดศูนยกลางของสวน ซึ่งมีผลกระทบตอการเพิ่มขึ้นของ<br />

อุณหภูมิในพื้นที่นั้นโดยตรง<br />

ผูวิจัยมีขอเสนอแนะใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งที่เกี่ยวของโดยตรงและโดยออมตองทราบ<br />

และตระหนัก รวมทั้งสรางความรวมมือกันรณรงคเพิ่มและรักษาพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครไวในทุกมิติ โดย<br />

รัฐบาลตองมีนโยบายที่ผลักดันและสงเสริมมาตราการตางๆ อยางจริงจังและเปนรูปธรรมอยางตอเนื่อง อีกทั้งตอง<br />

ตั้งงบประมาณรายปที่เพียงพอสําหรับดําเนินการที่เกี่ยวของดวย เพื่อเปนการลดปญหาอุณหภูมิผิวพื้นในปจจุบัน<br />

และอนาคตตอไปอยางยั้งยืน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Anuchat Poungsomlee , and Ross, H. 1992. lmpacts of modernization&urbanizations<br />

Bangkok : An integrative ecological and biosocial study, Nakhan pathom : lnstitute for<br />

population and Social Research, Mahidol University.<br />

- Gallo, K.P., et al. 1993. The use of vegetation index for assessment of the urban heatisland<br />

effect lnternetional Journal of Ramote Sensing. 14(11):2223-2230<br />

- Heat lsland Group. Available from: http://EETD.LRT.gov/Heatlsland[2000,June10]<br />

- Nichol. J.E. 1995. Visualization of the Urban Thermal Environment in Singapore. GIS<br />

Asia Pacific. Pp 24-27 Ang 1995<br />

- Picjhakum , Nath and Maruta Yorikazu. 1995. An lnvertigation on the Distribution of Air<br />

Temperature and the Effect of Open Space on Mitigating Severe Climate in Bangkok,<br />

Thailand. Journal of Center for Envirmental lnformation Science.Vol 24,no.1 March<br />

- กนก วงษตระหงาน 2525. การเกิดและการขยายเมืองกรุงเทพ การศึกษาทางการ<br />

เปลี่ยนแปลง วารสารธรรมศาสตร 11(1):48-59<br />

- กนกวรรณ โกมลวีระเกตุ, 2541. ผลกระทบของสิ่งปกคลุมดินที่มีตอปรากฏการณเกาะความ<br />

รอนของกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธปริญญาโทสหสาขาสิ่งแวดลอม จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย<br />

- จารึก รัตนบูรณ, 2542. โดมความรอนจากมหานคร “บอลลูนตรวจมลพิษ” ฐานสัปดาหวิจารณ<br />

(258): 28-29<br />

- พิเชฐ สายพันธ, 2540. ชีวิตเมืองโลกทัศนที่แปรเปลี่ยน จากการขยายเมืองของกรุงเทพฯ.<br />

จุลสารไทยคดีศึกษา 15(1) :48-59<br />

- ลือชัย ครุธนอย , 2541. รายงานวิจัยเรื่องการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลง<br />

พื้นที่สีเขียวใหสิ่งปลูกสรางประเภททาวนเฮาสและอาคารพาณิชย กรณีศึกษา : ผังเมืองรวม<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

- สํานักงานนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร, 2540. แนะนํากรุงเทพมหานคร.<br />

- สํานักงานสวัสดิการสังคมกรุงเทพมหานคร,2542 พื้นที่สวนสาธารณะและสวนหยอมในความ<br />

รับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร<br />

744


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวสําหรับอนาคต ลดโลกรอน<br />

Modified Electric Vehicle from used ICE Vehicle to reduce Global Warming<br />

ชาญวิทย อุดมศักดิกุล<br />

คลัสเตอรพลังงานทดแทน ฝายบริหารจัดการคลัสเตอรและโปรแกรมวิจัย<br />

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ: สวทช.<br />

113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง<br />

อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120<br />

โทร 0-2564-7200 ตอ 5388 โทรสาร 0-2564-7201, E-mail: charnwit@nstda.or.th<br />

บทคัดยอ<br />

การผลิตพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เชน ถานหิน น้ํามัน และกาซธรรมชาตินั้น ทําใหเกิด<br />

กาซคารบอนไดออกไซดและกาซเรือนกระจกชนิดอื่นๆ ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเปนสาเหตุ<br />

หนึ่งของภาวะโลกรอน ดวยเหตุนี้โครงการรวมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ.-สวทช. จึงมีจุดมุงหมายสนับสนุน<br />

การพัฒนาตนแบบรถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวที่ใชเครื่องยนตสันดาปภายใน เนื่องจากรถยนตไฟฟา<br />

ดัดแปลงไมกอใหเกิดมลพิษ และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดังนั้นการใชรถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลว จะ<br />

ชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการเผาไหมของเครื่องยนตที่ใชกาซธรรมชาติ กาซปโตรเลียมเหลว<br />

และน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งจะเปนพลังงานทางเลือกสําหรับผูที่ตองการมีรถไฟฟาไวใชงานและตองการมีสวนรวมในการ<br />

รักษาสิ่งแวดลอมและชวยลดภาวะโลกรอนในอนาคตไดตอไป<br />

คําสําคัญ: รถยนตไฟฟาดัดแปลง เครื่องยนตสันดาปภายใน รถยนตใชแลว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

Abstract<br />

Energy production from fossil fuels such as coal, oil and natural gas creates carbon dioxide and<br />

other greenhouse gases that lead to the effects of climate change, causing global warming. The EGAT-<br />

NSTDA research and development promotion fund is intended to support the development of a prototype<br />

electric vehicle adapted from a used Internal Combustion Engine (ICE). This modified electric vehicle<br />

does not cause pollution (Zero emissions) and is environmentally friendly. The use of a modified electric<br />

vehicle adapted from a used car will help reduce carbon dioxide emissions from the combustion engine<br />

that uses Natural Gas (NG), Liquid Petroleum Gas (LPG) and fuel oil. This is a new form of alternative<br />

energy for the owners of old cars to use modified electric cars and who would like to work towards<br />

environmental protection and help reduce global warming in the future.<br />

Keywords: Modified electric vehicle, Internal combustion engine, Used car, Climate change<br />

745


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

ปจจุบันการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเชน น้ํามันเชื้อเพลิง ถานหิน และกาซธรรมชาติ ทําใหเกิดกาซเรือน<br />

กระจกเพิ่มขึ้นในบรรยากาศซึ่งเปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน จากการสํารวจของนักวิทยาศาสตร<br />

พบวา กาซคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศโลกเพิ่มขึ้นจาก 270 ppm ในชวงป 1750-1850 ซึ่งเปนชวงกอน<br />

ยุคอุตสาหกรรม เพิ่มเปน 380 ppm ในปจจุบัน แตถารวมกาซเรือนกระจกทั้ง 6 ชนิด ประกอบดวย<br />

คารบอนไดออกไซด (CO 2 ) มีเทน (CH 4 ) ไนตรัสออกไซด (N 2 O) ไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC s ) เพอรฟลูออโร<br />

คารบอน (PFC s ) และซัลเฟอรเฮกซารฟลูออไรด (SF 6 ) ซึ่งเพิ่มขึ้นโดยรวมประมาณปละ 2.3 ppm ทําใหมีปริมาณ<br />

กาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศสูงถึง 430 ppm ซึ่งเปนปริมาณมากที่สุดในรอบ 650,000 ป [1]<br />

ประเทศไทยมีปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ตั้งแตป พ.ศ. 2543 ถึงป พ.ศ. 2548 เฉลี่ยปละ<br />

266.63 MtCO 2 e โดยมีภาคพลังงานเปนภาคธุรกิจที่มีการปลดปลอยมากที่สุดเฉลี่ยปละ 70.71% ภาคการเกษตรมี<br />

การปลดปลอยมากเปนอันดับ 2 เฉลี่ยปละ 21.09% และในลําดับถัดไปคือ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการจัดการ<br />

ของเสีย เฉลี่ยปละ 8.34% และ 4.23% ตามลําดับ และมีการกักเก็บกาซเรือนกระจกของภาคการใชประโยชนที่ดิน<br />

และปาไม เฉลี่ยปละ 4.37% ดังแสดงในรูปที่ 1<br />

สําหรับการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคพลังงานโดยเฉพาะการคมนาคมขนสงนั้น มีรายงานจาก<br />

องคการพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agency, IEA) วาประเทศไทยมีการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

จากการเผาไหมของเชื้อเพลิงในเครื่องยนตตอหัวประชากรเทากับ 3,537 กิโลกรัมคารบอนไดออกไซดเทียบเทา [3]<br />

และเมื่อพิจารณาจากสถิติจํานวนรถยนตที่จดทะเบียนใหมกับกรมการขนสงทางบกในป 2552 ทั่วประเทศ มีจํานวน<br />

2,292,041 คัน [4] คิดเปนปริมาณกาซเรือนกระจกที่จะถูกปลดปลอยออกมาสูบรรยากาศถึง 8.1 ลานตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา จากปญหาเหลานี้ทําใหรัฐบาลและทุกฝายที่เกี่ยวของไดสรางความตระหนักใหกับ<br />

ประชาชนในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม รวมถึงมีมาตรการสงเสริมและผลักดันใหมีการ<br />

ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพในภาคคมนาคมขนสง เชน การใชเชื้อเพลิงชีวภาพแทนน้ํามัน หรือการใชรถยนตที่<br />

ไมกอใหเกิดมลพิษ (Zero Emission) ตอสิ่งแวดลอม เชน Eco-car รถยนตไฟฟา และรถยนตไฮบริด เปนตน แต<br />

รถยนตดังกลาวยังมีราคาคอนขางสูงเมื่อเทียบกับรถยนตใชน้ํามันเชื้อเพลิง ดวยเหตุผลนี้โครงการรวมสนับสนุนทุน<br />

วิจัยและพัฒนา กฟผ.-สวทช. จึงมีจุดมุงหมายสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาตนแบบรถยนตไฟฟาดัดแปลงจาก<br />

รถยนตใชแลวที่ใชเครื่องยนตสันดาปภายใน (ICE Engine) และมีอายุการใชงานระหวาง 5-10 ป เพื่อเปนทางเลือก<br />

รูปที่ 1 สัดสวนการปลดปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยระหวางปพ.ศ. 2543 ถึงป พ.ศ. 2548<br />

เปรียบเทียบกับขอมูลการปลอยเมื่อป 2537 [2]<br />

746


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ใหกับเจาของรถยนตเกาที่ตองการมีรถยนตไฟฟาราคาไมแพงไวใชงานและตองการมีสวนรวมในการรับผิดชอบตอ<br />

สังคมและสิ่งแวดลอม<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนารถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลว ครอบคลุมสหสาขาวิชาดาน<br />

เทคโนโลยีวัสดุ ไฟฟา เครื่องกล อิเล็กทรอนิกส และสิ่งแวดลอม<br />

2. ลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมของเครื่องยนตที่ใชกาซธรรมชาติ กาซปโตรเลียมเหลวและ<br />

น้ํามันเชื้อเพลิง<br />

3. เตรียมความพรอมดานบุคลากรและเทคโนโลยีในประเทศเพื่อรองรับแนวโนมการผลิตรถยนตไฟฟาใน<br />

อนาคต<br />

3. เปาหมาย<br />

1. ตนแบบรถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลว ขนาดน้ําหนัก 1-1.5 ตัน สามารถวิ่งไดระยะทาง 150<br />

กิโลเมตรตอการประจุหนึ่งครั้ง<br />

2. เทคโนโลยีที่พัฒนาไดสามารถนําไปปรับเปลี่ยนกับรถยนตใชแลวที่ใชเครื่องยนตสันดาปภายในและเปนมิตร<br />

กับสิ่งแวดลอม<br />

4. สถานการณรถยนตไฟฟาในปจจุบัน<br />

รถยนตที่ใชพลังงานไฟฟาทดแทนน้ํามันแบงเปน 2 ประเภทคือ<br />

ประเภทที่ 1 คือรถยนตที่ใชพลังงานไฟฟาและน้ํามัน เรียกวารถยนตลูกผสมหรือรถยนตไฮบริด (Hybrid<br />

Electric Vehicle, HEV) ซึ่งใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตสันดาปภายในและขณะที่เครื่องยนตทํางานก็จะ<br />

มีการประจุไฟเขาไปเก็บไวในชุดแบตเตอรี่ และใชพลังงานไฟฟาจากชุดแบตเตอรี่ในการขับเคลื่อนมอเตอรไฟฟา<br />

ในชวงที่รถวิ่งดวยความเร็วที่ต่ํา สวนรถยนตปลั๊กอิน (Plug-in Hybrid Electric Vehicle, PHEV) เปนรถยนตที่มี<br />

ลักษณะการทํางานเหมือนรถยนต HEV ทุกประการ แตกตางกันเพียงชุดแบตเตอรี่ที่สามารถประจุไฟไดอีกทาง<br />

หนึ่งโดยการเสียบปลั๊กเขากับไฟบาน<br />

ประเภทที่ 2 คือรถยนตไฟฟา (Electric Vehicle, EV) ที่ใชพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพียงอยางเดียว<br />

ในการขับเคลื่อนมอเตอรไฟฟา จึงเปนรถยนตที่ไมสรางมลพิษตอสิ่งแวดลอม (Zero Emission Vehicle) ปจจุบันมี<br />

หลายบริษัทกําลังพัฒนาและเริ่มมีจําหนายบางแลวจากผูผลิตรถยนตรายใหญ<br />

องคการพลังงานระหวางประเทศ (IEA) ไดมีการคาดการณจํานวนรถยนตไฟฟา PHEV และ EV ทั่วโลก<br />

ระหวางป 2010 – 2050 มีจํานวนเพิ่มขึ้นถึง 49.1 และ 52.2 ลานคันตอปตามลําดับ แสดงดังตารางที่ 1 สวนตาราง<br />

ที่ 2 แสดงรายละเอียดของรถยนตไฟฟา (EV) ที่จะเริ่มจําหนายในหลายประเทศ ซึ่งแตละประเทศจะมีเปาหมายการ<br />

พัฒนารถยนตไฟฟาระดับประเทศแสดงดังตารางที่ 3<br />

747


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 การคาดการณจํานวนรถยนต EV และ PHEV ทั่วโลกระหวางป 2010 - 2050 (หนวย: ลานคัน/ป)<br />

[5]<br />

2012 2015 2020 2025 2030 2040 2050<br />

PHEV 0.05 0.7 4.7 12.0 24.6 54.8 49.1<br />

EV 0.03 0.5 2.5 4.4 9.3 25.1 52.2<br />

ตารางที่ 2 รายละเอียดของรถยนตไฟฟา (EV) ที่จะเริ่มจําหนายในหลายประเทศ [6]<br />

Motor<br />

Seating<br />

Mitsubishi-MiEV<br />

MiEV<br />

Permanent Magnet Synchronous<br />

Max. Power: 47 kW<br />

Max. Torque: 180 N-m<br />

4<br />

CITROEN C1<br />

Max. Power: 30 kW<br />

4<br />

Nissan Leaf<br />

Max. Power: 107 HP<br />

4<br />

MINI E<br />

Asynchronous motor<br />

Max. Power: 150 kW<br />

Max. Torque: 220 N-m<br />

2 (battery replaced backseats)<br />

Tesla Model S<br />

Max. Power: 30 kW<br />

5 adults + 2 child seats<br />

Range per full charge<br />

160 km<br />

(Japan 10-15 Mode Driving Pattern)<br />

100-120 km<br />

160 km<br />

(EPA LA-4 Driving Pattern)<br />

251 km – optimal conditions<br />

(175 km in city, 154 km on highway)<br />

260, 370, or 480 km<br />

(3 battery pack options)<br />

Top Speed<br />

130 km/hr<br />

96 km/hr<br />

140-145 km/hr<br />

120-153 km/hr<br />

192 km/hr<br />

Acceleration<br />

096 km/hr: < 9 sec.<br />

0100 km/hr: 15 sec.<br />

0100 km/hr: < 8.5 sec.<br />

096 km/hr: < 5.6 sec.<br />

Battery<br />

Li-ion (300V, 16 kW-h)<br />

Li-ion (330V)<br />

Li-ion (90 kW, 24 kW-h)<br />

Li-ion (35 kW-h, 259 kg)<br />

Li-ion (42 kW-h for 260 km; 65 kW-h for<br />

370 km; 85 kW-h for 480 km)<br />

Charging<br />

80% Charge: 30 mins (3-phase, 200V)<br />

Fully Charge: 7 hrs (200V, 15A)<br />

14 hrs (100V, 15A)<br />

80% Charge: 30 mins<br />

Fully Charge: 6-7 hrs (200V, 13A)<br />

Cost/Charge: ~US$1.20 (40 Baht)<br />

80% Charge: 30 mins<br />

Fully Charge: 8 hrs<br />

Quick Charge: 4.5 hrs (240V, 32A)<br />

Normal Charge: 20 hrs (120V, 12A)<br />

Quick Charge: 45 mins<br />

(3-phase, 480V, 100A for 42 kW-h pack)<br />

Battery Swap Time: 5 mins<br />

Availability<br />

End of 2009 – Japan (as planned)<br />

April 2010 – Thailand (as planned)<br />

2010 – UK<br />

(Produce about 2,000-4,000 cars)<br />

2010 – Japan<br />

2012 – USA<br />

2013 – UK<br />

June 2009 – LA, NY, NJ (field test)<br />

Dec. 2009 – UK (leased for field test)<br />

USA – 2012 (expected)<br />

Price<br />

US$ 24,000<br />

(792,000 Baht)<br />

US$ 25,000<br />

(825,000 Baht)<br />

US$ 25,000-33,000<br />

(825,000-1,089,000 Baht)<br />

US$ 850/month leasing<br />

(28,050 Baht)<br />

Starting at US$ 49,900<br />

($7,500 less with tax credit)<br />

748


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 แผนการพัฒนาและผลิตรถยนต EV และ PHEV ในประเทศตางๆ [5]<br />

749


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. วิธีการศึกษา<br />

โครงการรวมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ.-สวทช. มีเปาหมายในระยะเวลา 5 ป โดยภายใน 3 ปแรก<br />

จะศึกษาจากรถยนตไฟฟาที่มีขายในเชิงพาณิชยและพัฒนาอุปกรณตางๆ เชน วัสดุน้ําหนักเบา (Lightweight)<br />

ระบบควบคุม (Controller) ระบบการจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management System) และมอเตอรประสิทธิภาพ<br />

สูง (Advanced motor) เปนตน เพื่อดัดแปลงใสในรถยนตใชแลว สวนในปที่ 4 และปที่ 5 จะเปนการถายทอด<br />

เทคโนโลยีสูอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตไฟฟาภายในประเทศ และโครงการฯ มีวิธีการศึกษาดังนี้<br />

5.1 การศึกษารถยนตไฟฟา<br />

ปจจุบันมีรถยนตไฟฟาหลายรุนจากผูผลิตหลายบริษัท ดังนั้นการเลือกรถยนตไฟฟาเพื่อศึกษาจะตองมี<br />

ความสอดคลองกับเปาหมายของโครงการ ซึ่งคาดวาโครงการจะทําการศึกษาจากรถยนต Mitsubishi i-MiEV<br />

เนื่องจากเมื่อพิจารณาขอมูลทางดานเทคนิคของรถแลวพบวาครอบคลุมขอบเขตของงานวิจัยนี้ เชน ใชแบตเตอรี่ลิ<br />

เธียมอิออน สามารถชารทไฟไฟตามบานได วิ่งไดระยะทาง 160 กิโลเมตรตอการชารทไฟหนึ่งครั้ง มีความเร็วสูงสุด<br />

130 กิโลเมตร/ชั่วโมง และจากรายงานของสํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครโอซากา ไดทําการ<br />

เปรียบเทียบปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ของรถยนตไฟฟา รถยนตไฮบริดและรถยนตใชน้ํามัน พบวา<br />

รถยนตไฟฟามีการปลอยกาซ CO 2 เทากับ 0 กรัม ดังแสดงในตารางที่ 4<br />

ตารางที่ 4 ขอมูลปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ของรถยนตไฟฟา รถยนตไฮบริดและรถยนตใช<br />

น้ํามัน [7]<br />

รถยนตไฟฟา รถยนตไฮบริด รถยนตไฮบริด รถยนตใชน้ํามัน<br />

รุนรถยนต<br />

(ชื่อบริษัท)<br />

i MiEV<br />

(Mitsubishi)<br />

Insight<br />

(Honda)<br />

Prius<br />

(Toyota)<br />

FIT<br />

(Honda)<br />

ราคา 4,590,000 เยน 1,890,000 เยน 2,050,000 เยน 1,190,000 เยน<br />

(เหลือ 3,200,000 เยน ดวย<br />

เงินชวยเหลือจากรัฐฯ)<br />

คาไฟฟา/ น้ํามัน 10 เยน 40 เยน 32 เยน 50 เยน<br />

ปริมาณ CO 2<br />

0 774 กรัม 610 กรัม 967 กรัม<br />

ระยะทางวิ่ง 160 กิโลเมตร 1,200 กิโลเมตร 1,710 กิโลเมตร 1,008 กิโลเมตร<br />

ลักษณะเดน สามารถชารทไฟไดใน<br />

ครัวเรือน<br />

หมายเหตุ คาไฟฟา/น้ํามันและปริมาณ CO 2 ตอ 10 กิโลเมตร<br />

ไฮบริดราคาต่ํา รถยนตประหยัด<br />

พลังงานที่สุดใน<br />

โลก<br />

รถยนตขายดี<br />

อันดับ 1 ของ<br />

ญี่ปุน ในป 2008<br />

ถึงแมวา i-MiEV จะเปนรถประหยัดพลังงานที่เยี่ยมยอด ซึ่งสามารถแกไขปญหาทุกอยาง ไมวาจะเปน<br />

มลภาวะทางอากาศ ปญหาโลกรอนและการลดลงของน้ํามัน แตยังตองมีการพัฒนาในดานโครงสรางพื้นฐานตอไป<br />

750


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5.2 การเลือกรถยนตใชแลวมาดัดแปลงเปนรถยนตไฟฟา<br />

รถยนตไฟฟามีสวนประกอบที่สําคัญ 7 สวนคือ Li-Battery E-motor Inverter DC/DC Converter Charger<br />

Vehicle Control Unit (VCU) และ Power Distribution Unit (PDU) ดังรูปที่ 2 ดังนั้นการเลือกรถยนตใชแลวมา<br />

ดัดแปลงเปนรถยนตไฟฟาจะตองมีการวิเคราะหและออกแบบระบบตางๆ ใหทํางานรวมกันไดภายในพื้นที่จํากัดทั้ง<br />

ระบบทางกล (Mechanical system) ระบบขับเคลื่อนไฟฟา (Power system) และระบบควบคุมความรอน (Thermal<br />

management system) เปนตน เพื่อใหน้ําหนักรวมของรถยนตไฟฟาไมเกิน 1-1.5 ตัน กลาวคือการนํารถยนตเกา<br />

มาใสอุปกรณดัดแปลงใหเปนรถยนตไฟฟาและมีน้ําหนักไมเกิน 1-1.5 ตัน จะเทียบเทากับการนํารถยนตขนาด<br />

เครื่องยนตไมเกิน 1,500 ซีซี มาดัดแปลงนั่นเอง และโครงการนี้จะใชรถยนตเกาที่มีอายุการใชงานระหวาง 5-10 ป<br />

เนื่องจากสภาพรถยังทันสมัยไมเกาเกินไปและโครงสรางยังมีความปลอดภัยอยู<br />

จากขอมูลสถิติจํานวนรถยนตประเภทรถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกิน 7 ที่นั่ง ขนาด 1,301-1,600 ซีซี ที่จด<br />

ทะเบียนกับกรมการขนสงทางบกในป 2548 ทั่วประเทศ มีจํานวน 111,543 คัน พบวาเปนรถยนตโตโยตาถึง<br />

57,473 คัน คิดเปน 51.53% และรองลงมาเปนรถยนตฮอนดา 36,395 คัน คิดเปน 32.63% จะสังเกตุไดวารถยนต<br />

โตโยตาและฮอนดาไดรับความนิยมจากผูขับขี่ในประเทศเปนจํานวนมาก โดยสวนใหญจะเปนรุนโตโยตาวีออส<br />

และฮอนดาซิตี้ ดังแสดงในรูปที่ 3 โครงการพัฒนาตนแบบรถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลว จึงพิจารณา<br />

เลือกรถทั้งสองรุนมาดัดแปลงและหากสามารถดัดแปลงรถยนตใชแลวใหเปนรถยนตไฟฟาได 10% จากรถยนตทั้ง<br />

สองรุนจํานวน 93,868 คัน หรือประมาณ 9,387 คัน จะสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดถึง 33,201.11 ตัน<br />

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา<br />

รูปที่ 2 สวนประกอบของรถยนตไฟฟา<br />

CHEVROLET, 5,292 ,<br />

4.74%<br />

TOYOTA, 57,473 ,<br />

51.53%<br />

OTHER, 829 , 0.74%<br />

NISSAN, 3,667 , 3.29%<br />

FORD, 546 , 0.49%<br />

HONDA, 36,395 ,<br />

32.63%<br />

MITSUBISHI, 4,661 ,<br />

4.18%<br />

MAZDA, 2,680 , 2.40%<br />

CHEVROLET<br />

FORD<br />

HONDA<br />

MAZDA<br />

MITSUBISHI<br />

NISSAN<br />

TOYOTA<br />

OTHER<br />

รูปที่ 3 สถิติจํานวนรถยนตประเภทรถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกิน 7 ที่นั่ง ขนาด 1,301-1,600 ซีซี ที่จด<br />

ทะเบียนกับกรมการขนสงทางบกในป 2548 [8]<br />

751


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 5 เปรียบเทียบขอมูลทางเทคนิคของรถยนตใชแลวสําหรับดัดแปลงเปนรถยนตไฟฟา<br />

รายการ<br />

รถยนต - รุน<br />

Honda City (2005) Toyota Vios (2005)<br />

มิติ – น้ําหนัก<br />

มิติภายนอก - ยาวxกวางxสูง (มม.) 4,310 x 1,690 x 1,485 mm 4,300x1,700x1,460<br />

ความยาวชวงลอ (มม.) 2,450 2,550<br />

ความกวางชวงลอ หนา/หลัง (มม.) 1,454 /1,445 1,470/1,460<br />

ระยะต่ําสุดจากพื้น (มม.) 160 150<br />

น้ําหนักรถ(โดยประมาณ) (กก.) 1,067 1,020<br />

ความจุถังน้ํามัน (ลิตร) 42 42<br />

ระบบขับเคลื่อนและระบบชวงลาง<br />

ระบบสงกําลัง 5 M/T 5 M/T<br />

ระบบชวงลางหนา<br />

แม็กเฟอรสัน สตรัท อิสระ พรอมเหล็ก แมคเฟอรสันสตรัทพรอมเหล็กกันโคลง<br />

กันโคลง<br />

ระบบชวงลางหลัง ทอรชั่นบีมแบบ H-Shape พรอมเหล็ก<br />

ทอรชั่นบีม<br />

กันโคลง<br />

ระบบเบรค ดิสกเบรคแบบมีชองระบายความรอน /<br />

ดิสกเบรค<br />

ดิสกเบรคพรอมครีบระบายความรอน /<br />

ดรัมเบรค<br />

(2 วงจรไขว พรอมระบบ ABS)<br />

ยาง 175/65R14 185/60 R15<br />

ลอ 14 x 5.5 JJ อัลลอยด 15"<br />

ระบบพวงมาลัย<br />

แบบ<br />

แรคแอนดพีเนียน พรอมเพาเวอรผอน<br />

แรงแบบไฟฟา (EPS)<br />

รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด (ม.) 4.9 4.9<br />

แรคแอนดพีเนียนพรอมเพาเวอรผอน<br />

แรง<br />

จากการพิจารณาขอมูลทางเทคนิคของรถยนตทั้ง 2 รุน ที่จะนํามาใชสําหรับดัดแปลงเปนรถไฟฟา แสดงดัง<br />

ตารางที่ 5 พบวา มีความแตกตางในดานมิติ- น้ําหนักเพียงเล็กนอย สวนระบบเบรคฮอนดาซิตี้มี ระบบ ABS<br />

ติดตั้งมาพรอมกับตัวรถ ในขณะที่โตโยตาวีออสเลือกใชดรัมเบรคสําหรับลอหลัง<br />

ในดานระบบบังคับเลี้ยวฮอนดาซิตี้ไดติดตั้งพวงมาลัยเพาเวอรผอนแรงแบบไฟฟา ซึ่งจะชวยเพิ่มความ<br />

สะดวกใหกับผูขับในระหวางการใชงานไดดีกวา นอกจากนี้ไดมีการศึกษาตําแหนงที่เหมาะสมสําหรับการจัดวาง<br />

แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนน้ําหนักรวมประมาณ 150 กิโลกรัม พบวาสามารถทําการปรับปรุงใหมีพื้นที่เพียงพอสําหรับ<br />

การวางแบตเตอรี่ในระวางชวงลอหนาและหลังไดสะดวกและงายเหมือนกัน<br />

5.3 ความพรอมในการพัฒนารถยนตไฟฟาในประเทศ<br />

ประเทศไทยมีศักยภาพดานการพัฒนาและผลิตรถยนตไฟฟา เนื่องจากมีฐานการพัฒนาอุตสาหกรรม<br />

รถยนตที่ใชเครื่องยนตสันดาปภายในมาอยางตอเนื่องจนกลายเปนฐานการผลิตรถยนตประจําภูมิภาคเอเชีย-แป<br />

ซิฟค ดังนั้นหากมีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีเพื่อรองรับการพัฒนารถยนตไฟฟา ผูประกอบการก็มีความพรอมใน<br />

การดําเนินการไดและไมตองมีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีมากมาย หากพิจารณาความสามารถในการพัฒนาชิ้นสวน<br />

หลักของรถยนตไฟฟา ก็มีความเปนไปไดที่จะพัฒนาชุดควบคุมรถยนตไฟฟา ระบบการจัดการแบตเตอรี่ ระบบ<br />

752


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เบรค และมอเตอรไฟฟาประสิทธิภาพสูงสําหรับระบบขับเคลื่อนขึ้นเอง โดยใชวัสดุภายในประเทศและลดการนําเขา<br />

จากตางประเทศ<br />

6. ผลการศึกษา<br />

เนื่องจากโครงการพัฒนาตนแบบรถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวอยูระหวางการดําเนินงานศึกษา<br />

ขอมูลเพื่อพัฒนาอุปกรณตางๆ สําหรับดัดแปลงใสเขาไปในรถยนตเกายอดนิยมทั้งโตโยตาวีออส และฮอนดาซิตี้ ซึ่ง<br />

ผลที่คาดวาจะไดรับภายใน 3 ปแรกมีดังนี้<br />

- มอเตอรประสิทธิภาพสูงที่พัฒนาในประเทศขนาด 45 kW มีน้ําหนักไมเกิน 40 กิโลกรัมพรอมชุดระบาย<br />

ความรอน<br />

- ตนแบบระบบเบรคสําหรับรถยนตไฟฟาที่มีการนําพลังงานจากการเบรคมาใชใหม (Regenerative<br />

braking)<br />

- ไดชิ้นสวนรถยนตน้ําหนักเบา เชน ชุดจับยืด และอุปกรณเชื่อมตอทางกล ชวยลดน้ําหนักของรถยนตได<br />

ประมาณ 10%<br />

- อินเวอรเตอรที่พัฒนาขึ้นเอง แรงดันไฟฟา 300-330 โวลต<br />

- ชุดควบคุมการจัดการแบตเตอรี่ที่พัฒนาขึ้นเองสําหรับควบคุมแรงดันไฟฟา อุณหภูมิของแบตเตอรี่ให<br />

เหมาะสม<br />

- ชุดควบคุมทางไฟฟา (Electric Control Unit, ECU) สําหรับรถไฟฟาดัดแปลงที่เชื่อมโยง 6 ระบบหลัก<br />

คือ<br />

- ระบบขับเคลื่อนมอเตอร (Motor drive system)<br />

- ระบบการจัดการแบตเตอรี่ (Battery management system, BMS) สําหรับลิเทียมไอออน<br />

- ระบบเบรค (Brake system)<br />

- ระบบปรับอากาศ (Air-condition system)<br />

- ระบบแสดงผลหนาปด (Dashboard system)<br />

- ระบบติดตอกับผูขับขี่ (Driver interface)<br />

จากอุปกรณสําหรับดัดแปลงที่พัฒนาได เมื่อดัดแปลงใสเขาไปในรถยนตใชแลวจะไดตนแบบรถยนตไฟฟา<br />

จํานวน 2 คัน ขนาดน้ําหนัก 1-1.5 ตัน สามารถวิ่งไดระยะทาง 150 กิโลเมตรตอการประจุหนึ่งครั้ง และ<br />

เทคโนโลยีที่พัฒนาไดสามารถนําไปปรับเปลี่ยนกับรถยนตใชแลวรุนอื่นๆ ที่ใชเครื่องยนตสันดาปภายในได<br />

สําหรับในปที่ 4 จะเปนการถายทอดเทคโนโลยีและนําไปสูการผลิตในระดับอุตสาหกรรมในปที่ 5 ตอไป<br />

ในอนาคตชุดดัดแปลงนี้จะสามารถดัดแปลงไดทั้งรถยนตที่ใชน้ํามันเชื้อเพลิง หรือรถยนตที่ใชกาซ NGV<br />

และ LPG อยูแลว แตตองการดัดแปลงเปนรถยนตไฟฟา ซึ่งจะสามารถลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจาก<br />

การเผาไหมของเครื่องยนตที่ใชน้ํามันเบนซินเทากับ 2.18 kgCO 2 /L น้ํามันดีเซล 2.699 kgCO 2 /L กาซธรรมชาติ<br />

59.186 kgCO 2 /mmbtu และกาซปโตรเลียมเหลว 3.169 kgCO 2 /kg [10, 11]<br />

753


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. สรุปผลการศึกษา<br />

จากการสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนารถยนตไฟฟาดัดแปลงจากรถยนตใชแลวจะทําใหมีองคความรู<br />

ครอบคลุมสหสาขาวิชาดานเทคโนโลยีวัสดุ ไฟฟา เครื่องกล อิเล็กทรอนิกสและสิ่งแวดลอม ซึ่งรถยนตไฟฟา<br />

ดัดแปลงจากรถยนตใชแลวจะเปนทางเลือกสําหรับผูที่ตองการมีรถไฟฟาไวใชงานและตองการมีสวนรวมในการ<br />

รักษาสิ่งแวดลอมและชวยลดภาวะโลกรอนในอนาคต นอกจากนี้ยังเปนการสรางองคความรูและสรางความตระหนัก<br />

สําหรับคนรุนใหมที่ใหความสําคัญตอสภาพแวดลอมและตองการใชพลังงานสะอาด และเปนการเตรียมความพรอม<br />

เพื่อรองรับกฎเกณฑการปองกันมลพิษจากรถยนตที่จะทําลายสภาพแวดลอมของโลกจากประเทศผูนําตางๆ<br />

8. เอกสารอางอิง<br />

[1] สถานการณภาวะโลกรอนและผลกระทบ, สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2550<br />

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), 2553<br />

[2] CO 2 emissions from fuel combustion Highlight (2009 Edition), 122, pp 91-95.<br />

[3] ฝายสถิติการขนสง, กองวิชาการและวางแผน, กรมการขนสงทางบก<br />

[4] URL: http://apps.dlt.go.th/statistics_web/brandcar/car1/1b_whole.xls<br />

[5] Technology Roadmaps, Electric and plug-in hybrid electric vehicles, International Energy<br />

Agency, 47, pp15-19.<br />

[6] เอกรัตน ไวยนิตย, การพัฒนารถยนตไฟฟาตนแบบจากรถยนตใชแลว, ศูนยเทคโนโลยีโลหะ<br />

และวัสดุแหงชาติ, สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ.<br />

[7] รถยนตไฟฟาในฐานะรถยนตประหยัดพลังงาน (Eco Car), สํานักงานสงเสริมการคาใน<br />

ตางประเทศ,กรมสงเสริมการสงออก,2552URL:<br />

http://www.depthai.go.th/DEP/DOC/52/52002078.pdf<br />

[8] ฝายสถิติการขนสง, กองวิชาการและวางแผน, กรมการขนสงทางบก<br />

[9] URL: http://apps.dlt.go.th/statistics_web/newcar/n_whole.xls<br />

[10] URL: http://www.yopi.co.th/prd_13509<br />

[11] URL: http://en.wikipedia.org/wiki/Toyota_Vios<br />

[12] Intergovernmental Panel of Climate Change, 2009<br />

[13] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2553<br />

754


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Practitioners Approach Towards Information System of Studying Institute’s<br />

Environment Issues: A Case Study<br />

สุวัตร ปทมวรคุณ และ สุวรินทร ปทมวรคุณ<br />

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

คลองหก อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130<br />

ตําบล<br />

บทคัดยอ<br />

ความกาวหนาทางดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหนักวิทยาศาสตรสามารถพัฒนา<br />

เทคนิคและเครื่องมือใหมๆ ความสามารถของซอฟแวรถือเปนการวัดที่สําคัญสําหรับผูบริหารระดับสูง เพื่อใชในการ<br />

ตัดสินใจ ความสามารถของซอฟแวรเปนสวนสําคัญของความสําเร็จ ในการสรางซอฟแวรใหมในองคกร แมวา<br />

ความสามารถของซอฟแวรมีความหมายที่กวางขวาง แตนักวิจัยไดแนะนําวิธีการวัดความสามารถของซอฟแวร<br />

เนื่องจากเปนสิ่งที่สามารถอธิบายไดหลายแบบและยากในการวัด ปจจุบันมีการศึกษาและไดดําเนินการที่มีเนื้อหา<br />

วิชาการเกี่ยวกับการตระหนักรูเรื่องภาวะโลกรอน ทั้งในระดับทองถิ่นหรือของโลกโดยมุงประเด็นไปยังนักศึกษาวัย<br />

หนุมสาว นักสิ่งแวดลอมหลายคนกลาววางานวิจัยในมหาวิทยาลัย เปนเรื่องกิจกรรมของมนุษยที่มีผลตอภาวะโลก<br />

รอน แมวาการทําใหทุกคนมีสํานึกและเขาใจรวมกันในเรื่องภาวะโลกรอน จะตองใชเวลา แตทุกคนตองชวยกัน<br />

การศึกษานี้จึงเปนกรณีศึกษาดําเนินการพัฒนาซอฟแวร เรื่องสิ่งแวดลอมของมหาวิทยาลัยและวัดความสามารถ<br />

ของซอฟแวร โดยดําเนินการที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี<br />

Abstract<br />

Advances in computer and information technologies have allowed scientists to develop new<br />

techniques and tools. Software Productivity’ is a critical measure for senior management to make<br />

decisions. It forms the basis to assess the success of software process improvement initiatives in an<br />

organization. Even though Software Productivity is widely defined, researchers are coming out with new<br />

metrics for Software Productivity, because it is loosely defined and very difficult to measure. Since in<br />

recent years a number of studies have addressed the issue of culture in academic content where as the<br />

perception on regional or local global warming issue have been the main focal point of adolescent<br />

students. Many environmentalists says that university research should be listed among human activities<br />

that are contributing to global warming. Even this task force is to promote aware and understanding of<br />

global warming will take time but everybody must work together. This study consider a case study where<br />

a project team is developing software for its clients. To measure software productivity software for its<br />

clients. To measure software productivity on environment issues, the study has been carried out in a<br />

study sector undertaking located at Rajamangala University of Technology, Thanyaburi (RMUTT),<br />

Patoomthani Thailand.<br />

755


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คําสําคัญ : Global climate change, environment, information system, software productivity.<br />

1. Introduction<br />

Global climate change is an important ecological issue and has many negative effects upon our<br />

environment As Thai citizens, we are bombarded everyday with information about the world. Because<br />

global warming is one of the recent hot topics, it too has been incessantly reported on in the news. By<br />

being told the same thing about global warming day after day, the media is creating indifference. In fact,<br />

Rajamangala University of Technology has its strategies such as serve as the center of the body of<br />

knowledge by means of scientific and technological integration for the nation’s sustainable development.<br />

Proving that youth students given the right support, the students can create much for the benefit of the<br />

community about the global warming issue, RMUTT students from across of the field of the study have<br />

been persuaded to do the projects concerning the global warming reflecting their science and<br />

technological talent. Research study has reported the finding on the important data collection, information<br />

system of global warming issues which is the web based cosists of the databases of the advantage part<br />

(such as trees in RMUTT) and the affect part (such as the statistics about the electrical charges per<br />

month, the amount of plastic garbage and the number of vehicles in the university). Hence, researchers<br />

building the website to be the informational website that does little more than provide the information to<br />

the users about the organization (RMUTT) and its activities.<br />

Software Productivity’ is an important measure for senior management to make decisions for<br />

bidding projects and estimation. Organizations are adopting various quality models like ISO 9000:2000,<br />

SPICE, SW-CMM ® , CMMI SM to improve their processes and achieve competitive edge over its<br />

competitors. Productivity forms the basis to judge the process improvement activities in the organization.<br />

Thus, productivity is a primary health indicator of a software organization [1].<br />

Productivity analysis on the organization and country specific process databases are published<br />

[2] [3]. Organization can start up with such productivity analysis measurement for their planning. However,<br />

in the long run organizations need to have their own productivity measurements due to the varied<br />

environments in which the software is being developed. Then organizations will have a set of questions<br />

while computing Software productivity, What is the better way for an organization to define its<br />

productivity?. Is there any simple way of computing Software productivity? Many of questions are<br />

answered, but still computing productivity is ambiguous. The reasons for complexity in computing can be<br />

attributed to various types of projects with different technologies and tools, different size counting<br />

methods, reuse of code and process maturity. Katrina, Pekka [2] productivity analysis shows that the<br />

productivity depends upon the business domain. The factors, which affect the productivity as per the<br />

analysis on Experience database, are : (1) Company that developed software (2) Business sector of the<br />

client (3) Operating system (4) DBMS tools (5) Hardware platform (6) Centralization of database (7) User<br />

interface (8) Application type (9) DBMS Architecture (10) Development model. This paper review the<br />

definition of software productivity namely white-box approach to compute software productivity.<br />

756


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. Objectives<br />

2.1 RUMTT Profile<br />

The Institute humbly requested a grant from His Majesty the King to use His Majesty’s name, or<br />

an alternative, in the renaming of the institute. Thus, the name Rajamangala Institute of Technology (RIT)<br />

was granted as its name on 15 September 1988. The original campus located on Rangsit-Nakhon Nayok<br />

Road, Tambon Khlong Hok, Pathum Thani Province consisted of more than 750-rai in total land area was<br />

renamed on 18 January 2005 to Rajamangala University of Technology Thanyaburi (RMUTT). The<br />

university consists of 11 faculties. RMUTT as a university of science and technology professions of<br />

international standard provides the mission statements such as undertake research, and facilitate<br />

inventions and innovations based on science and technology of which the results could be transferred to<br />

increase the national productivity and other value-added benefits [4].<br />

2.2 Thailand’s Response Strategies to Global Climate Change<br />

Thailand has indicated its commitment to protecting the global climate by participating in many<br />

international forums. The country has been a contracting party to the Vienna Convention for the<br />

Protection of the Ozone Layer, as well as to the Montreal Protocol on Substances that Deplete the Ozone<br />

Layer (chlorofluorocarbon [CFC] control). As to carbon emission reduction, Thailand has also hosted<br />

international meetings including the Meeting of the Preparatory Committee: the Technical Workshop to<br />

Explore Options for Global Forest Management, the Technical Workshop on Legal Aspects of Global<br />

Warming, and the International Conference on Global Warming and Sustainable Development: An<br />

Agenda for the ‘90s. [5]. Some key considerations determining Thailand’s position are as follows [6] : (1)<br />

Thailand share of global greenhouse gas emissions, (2) Changes in land use patterns, (3) Energy use<br />

efficiency. Some Research efforts and preliminary findings are as follows: (1) Thailand’s greenhouse gas<br />

emission, (2) CO2 released through deforestation, (3) CO2 released through energy consumption, (4)<br />

CO2 reduction and Thailand’s energy system.<br />

2.3 A Framework to Measure Software Productivity: White-box Approach<br />

White-box approach [1] is a mathematical approach and considers all the inputs and outputs and<br />

converts them in to monetary values to compute productivity. Productivity will be computed as the ratio of<br />

output to input. By converting all the inputs and outputs to monetary values it becomes easy for<br />

computing and useful for the senior management to monitor the health of the organization. The study<br />

develop an information system for environment issues in RMUTT. The inputs for the project and output of<br />

the project are listed below [1]:<br />

757


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Inputs<br />

Resources<br />

Human resources<br />

Hardware & networking Tools<br />

RDBMS (ex : ORACLE) and MySQL)<br />

Front-end Tool (ex : VB)<br />

Change management tool (ex : PVCS<br />

Tracker)<br />

Version control system (ex : VSS)<br />

Outputs<br />

Software<br />

Increased competencies of the team<br />

The cost of inputs is a summation of cost of resources and tools, and can be computed as<br />

follows: The human resources cost can be computed using equation 1.<br />

n<br />

<br />

Human resources = E * C<br />

(1)<br />

i1<br />

i<br />

Where E is effort expended by a software developer<br />

C is the cost of the software developer per hour<br />

n is the number of project team members<br />

The hardware resource cost can be computed using equation 2.<br />

Hardware resource cost = CM<br />

* n <br />

(2)<br />

Where C m<br />

is the cost of the machine, which includes infrastructure cost<br />

n is the number of project team members<br />

Tools include CASE Tools, RDBMS tools (ex : ORACLE, SQL Server, MS-Access, VB etc.,). The<br />

Cost of the tools can be computed using equation 3.<br />

Tools =<br />

i<br />

<br />

t<br />

CT <br />

* NU<br />

P <br />

i1<br />

NU<br />

(3)<br />

o <br />

Where CT is Cost of the Tool<br />

NU o<br />

is the number of users in the organization<br />

NU<br />

P<br />

is the number of users in the project<br />

t is thetotal number of tools used in the organization<br />

The outputs of a project include the price of the software (PS) and the value of the increased<br />

competency of the team. If the team has developed the software in emerging technologies then the value<br />

of competency after executing the project will be higher than the software developed in a widely used<br />

technologies/tools. The value of competency can be represented by ‘VC’. VC can be computed as the<br />

change in system knowledge factor [7] and the price of the change in competency. So, the price of<br />

outputs can be represented using equation 4.<br />

Outputs = PS VC<br />

(4)<br />

758


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Thus, the software productivity of a project can be calculated using equation 5.<br />

Software Productivity (Project) =<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

n<br />

PS VC<br />

E<br />

t<br />

CT <br />

C NU<br />

NU <br />

C n<br />

i* i *<br />

P<br />

M<br />

*<br />

i1 i1 o <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

(5)<br />

The organization productivity can be computed using equation 6.<br />

Software Productivity (Organization) =<br />

np<br />

<br />

i1<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

n<br />

<br />

<br />

t<br />

PS VC<br />

CT<br />

NU<br />

<br />

Ei* Ci * NUPCM<br />

* n<br />

i1 i1 o <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

(6)<br />

3. Methodology<br />

Where np is the number of projects.<br />

3.1 Software production<br />

Production is an activity of converting the raw material to the final product. In software<br />

development the raw materials are knowledge and skills of the development team and the final product is<br />

software. The development tam includes the requirements analyst, designers, programmers and testers.<br />

The software includes code and its related artifacts such as macromedia Dneam weaver and Flash,<br />

Adobe IIustrator, Photoshop and Edit Plus. The other raw material includes tools Internet technologies<br />

and infrastructure.<br />

3.2 The practical implementation<br />

The researchers designed the database system using context diagram overviewing the works<br />

and persons concern of the system. Activity diagram were used to describe the steps of the system. The<br />

researchers wrote the PHP program on Windows XP Professional OS which is as the web server for<br />

making the website application. My SQL DBMS was used to create the database and then that database<br />

was intalled on the website. Beside that, the Macromedia Dreamveaoer 8, Macromedia Flash 8 and<br />

Adobe Photoshop CS2 were used to design and make the multimedia. The ODBC Appserv is for<br />

connecting the database and the website.<br />

Quality through Counseling: One of the imperative of total quality management is nourishing the<br />

human resource by establishing highly human compatible system [8]. This aspect has been directly and<br />

indirectly emphasized by the quality gurus. There are various types of counseling which on proper and<br />

correct application facilitate in shaping the human mind optimally. The project achieved this requirement<br />

and identified as a quality strategy under the name “quality through counseling”. Two experts by names of<br />

759


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

the office of Academic resource and Information Technology (RMUTT) have suggested the deployment of<br />

counseling for quality improvement.<br />

4. Results<br />

4.1 Software product<br />

รูปที่ 1 Home Page of the web site<br />

รูปที่ 2 Menu content of the inference of the advantage part<br />

760


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 3 Menu content of the disadvantage and affect part<br />

รูปที่ 4 Map of trees in RMUTT and affect part<br />

761


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

The information system of the major content of the affect and disadvantage part consists of 1)<br />

the map of the buildings of RMUTT faculties, 2) on each faculty, the system presents electricity used per<br />

month, the amount of plastic garbage and the number of vehicles in-out the University (as a sample<br />

shown in figures 5).<br />

รูปที่ 5 The map of RMUTT<br />

4.2 Software Productivity<br />

This approach eliminates the problem of considering various inputs and outputs in different units.<br />

Converting all the inputs and outputs to monetary figures allow the organizations to consider all the inputs<br />

and outputs resulting in providing a true image.<br />

The drawback of this approach is it becomes difficult for the organization to estimate the price of<br />

the software, which will be used for internal purposes of the organization. Also, some of the projects<br />

might be of low price than others, which might mislead the managers. To eliminate that, the organizations<br />

may have fixed price per size (price per number of features in project (FP) for internal purposes, so that<br />

the productivity figures will be unbiased on the revenue of the project.<br />

762


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. Conclusions<br />

Since the social and environmental responsibility is a strategy of RMUTT which its goal for be an<br />

academic resource center in technology-integrated profession with a well balance of knowledge ethics<br />

and happiness. A sample case where a project team is developing software on environmental issues at<br />

RMUTT is considered. A systematic survey converting quality strategy was exerted by using the<br />

identification quality strategy namely quality through counseling. The paper revieros definition of software<br />

productivity namely white-box approache. A framework to compute software productivity is presented. In<br />

Thailand, currently most of the university use the website as advertising media only. There has been a<br />

concrete effort of this project team to convert the enviroment issues website into knowledge portals and<br />

compute software productivity.<br />

6. References<br />

- Kuruba, M. and Verma, A.K. (2005). A framework to measure software productivity. In<br />

Quality, reliability and Information Technology : Trends and Future Directions. Kapur,<br />

P.K. and Verma, A.K (Eds) narosa Publishing house, New Delhi, India.<br />

- Katrina, D.M. and pekka, F, (2000). Benchmaking Software Development Productivity,<br />

IEEE Software, Jan/Feb 2000, pp. 80-88.<br />

- Boehm, B. (1987), Improving Software Productivity, IEEE Computer, Vol.20, pp.43-57.<br />

- Retrieved October 10, (2009). from the World Wide Web : http://www.rmutt.ac.th<br />

- Rising Environmental Concern in 47-Nation Survey-47-Nation Pew Global Attitudes<br />

Survey. Released June 27, 2007.<br />

- Colson, J. (2008). Global Warming in Thai education. www.Bangkok<br />

Post.comOnline.August 26, 2008.<br />

- Kumar, K, M., Keeni, G. Verma, A.K. and Srividya, A. (2003), Test Effort Gstimation<br />

using System Test Points, A New metric for Practitioners, Journal of Software Testing<br />

Professionals, pp. 40-48.<br />

- Kriiger, V.(1998). Total Quality management and Its Humanistic Orientation towards<br />

Organization Analysis, The TQM Magazine, Vol.10 (4), pp.283-307.<br />

763


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลตอพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณปากแมน้ําทาจีน<br />

Effect of Sea Water Level Change on the Farmlands in the Thachin Estuaries<br />

สนิท วงษา 1 และ ชัยวัฒน เอกวัฒนพานิชย2<br />

1 ภาควิชาครุศาสตรโยธา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี<br />

2 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้ไดศึกษาถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําทะเลอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง<br />

สภาพภูมิอากาศของโลกที่มีตอระดับน้ําและความเค็มบริเวณปากแมทาจีนโดยใชแบบจําลอง MIKE11 ไดกําหนด<br />

พื้นที่การศึกษาตั้งแตประตูระบายน้ําโพธิ์พระยา จ.สุพรรณบุรี ถึงปากแมน้ําทาจีนบริเวณอาวไทย จากผลการ<br />

ปรับแกแบบจําลองพบวาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ (Manning’s M) มีคาเทากับ 29.50-31.50 สัมประสิทธิ์การ<br />

แพรกระจายมวลสาร เทากับ 100-1000 เมตร 2 /วินาที และคาแฟกเตอรการแพรกระจายมวลสารเทากับ 1000 ที่<br />

ระดับความคาดเคลื่อน (RMSE) ของระดับน้ํากับความเค็มอยูในชวง 0.15-0.20 เมตร กับ 0.10-1.80 กรัมตอลิตร<br />

และเมื่อไดนําแบบจําลองที่ไดนี้ไปประยุกตใชศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลตอพื้นที่<br />

เกษตรกรรมบริเวณปากแมน้ําทาจีน พบวาไมมีผลกระทบตอพื้นที่เกษตรกรรมจนถึงปลายศตวรรษที่ 25<br />

คําสําคัญ: การเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเล, พื้นที่เกษตรกรรม, แมน้ําทาจีน, MIKE11<br />

Abstract<br />

Climate change and associated rise in sea level have affected the salinity levels in many rivers<br />

around the world. The objective of this study is to evaluate the effect of sea level change on salinity level<br />

in lower part of Thachin River, one of the important rivers in Thailand, by using MIKE11 model. The<br />

study covered the area from Phophraya Gate, Suphanburi Province to the Thachin River Estuary, Samut<br />

Sakhon Province. The model was divided into two parts, hydrodynamic module and advection-dispersion<br />

model. Calibration of each part was done by adjusting its important coefficients. It was observed that the<br />

coefficient dispersion of mass and manning (M) were in the range of 100-1,000 m 2 /s and 29.50-31.50,<br />

respectively. The value of 1,000 was suitable for factor distribution of mass. The results of comparison<br />

between models and observation data revealed order of forecasting error (RMSE) in the range of 0.15-<br />

0.20 m for water level and 0.10-1.80 g/l for salinity, respectively. In addition, it was indicated that sea<br />

water level at the Thachin estuary had rising and betaking tendency to intrusion of water level, and the<br />

salinity was also in the same manner. The results obtained from this study, It was indicated that sea<br />

water level at the Thachin estuaries will be not affected the agricultural areas till the end of B.E. 25.<br />

764


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1.ความสําคัญ<br />

ในปจจุบันปญหาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลกหรือภาวะโลกรอนทําใหน้ําแข็ง<br />

บริเวณขั้วโลกหรือภูเขาสูงละลายไดมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอการเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้ําทะเล ตลอดจนทําใหเกิด<br />

การกัดเซาะตามแนวชายฝงทะเล และพบวาระดับน้ําในบริเวณปากแมน้ําก็เพิ่มสูงขึ้นดวย ทําใหพฤติกรรมทางชล<br />

ศาสตรการไหลของบริเวณปากแมน้ํา เปลี่ยนแปลงไป แตอยางไรก็ตามผลกระทบตอลิ่มน้ําเค็มที่รุกคืบลึกเขาไปใน<br />

แมน้ําในพื้นทวีปวาถูกระทบอยางไรนั้นในปจจุบันยังไมมีขอสรุปที่ชัดเจน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลที่มีตอพฤติกรรมทางชลศาสตรและความเค็มโดยใชกรณีศึกษา<br />

ของแมน้ําทาจีนตอนลาง ซึ่งเปนลุมน้ําสาขาสําคัญแหงหนึ่งของแมน้ําเจาพระยา ไดประยุกตใชแบบจําลอง MIKE11<br />

เพื่อศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลที่มีตอพฤติกรรมทางชลศาสตรและความเค็มโดยใช<br />

กรณีศึกษาของแมน้ําทาจีนตอนลาง ไดกําหนดพื้นที่การศึกษาตั้งแตประตูระบายน้ําโพธิ์พระยา จ.สุพรรณบุรี ถึง<br />

ปากแมน้ําทาจีน จ.สมุทรสาคร รวมระยะทางประมาณ 202 กิโลเมตร (รูปที่ 1)<br />

รูปที่ 1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ลุมแมน้ําทาจีน<br />

แมน้ําทาจีนเปนลุมน้ําที่มีปญหาดานการรุกตัวของความเค็ม ซึ่งสงผลกระทบตอการบริหารจัดการ<br />

ทรัพยากรน้ําและสิ่งแวดลอมในลุมน้ําทาจีนตอนลาง เนื่องจากมีประชากรอาศัยบริเวณตอนลางของลุมน้ําและปาก<br />

แมน้ําอยางหนาแนน อีกทั้งยังเปนพื้นที่การเกษตรและเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญแหงหนึ่งของประเทศ ดังนั้นจึง<br />

จําเปนจะตองมีการศึกษาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหากมีการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลอันเนื่องมาจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ เพื่อเตรียมรับมือกับปญหาซึ่งอาจเกิดขึ้นไดในอนาคต<br />

งานวิจัยในอดีตที่ผานมาของประเทศไทยมีการศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพน้ําโดยใชแบบจําลองคณิตศาสตร<br />

อยางแพรหลาย อาทิเชน กรมควบคุมมลพิษ (2546) ไดศึกษาคุณภาพน้ําเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการดานคุณภาพน้ํา<br />

ในพื้นที่ลุมน้ําภาคตะวันออกโดยใชโปรแกรม MIKE11 ในการจําลองไดใชโมดูล HD, AD และ WQ ทําการปรับแก<br />

หาคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ ่งและคาสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารตางๆ พบวาไดผลเปนอยางดี<br />

Wassmann และคณะ (2004) ไดศึกษาถึงผลกระทบการเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้ําทะเลบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปาก<br />

765


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แมน้ําโขงในสวนของประเทศเวียดนามที่มีผลตอการทวมของน้ําในฤดูน้ําหลากกับผลผลิตขาวโดยใชแบบจําลอง<br />

VRSAP Model เปนแบบจําลองแบบ Quasi 2 มิติที่ทําการพัฒนาขึ้นเอง พบวาเมื่อระดับน้ําทะเลสูงเพิ่มขึ้นอีก 20<br />

กับ 45 เซนติเมตร ระดับเสนชั้นความสูงของน้ําที่ระดับเดียวกันจะรุกตัวเขาไปในพื้นทวีปประมาณ 25 กับ 50<br />

กิโลเมตร ตามลําดับ Wongsa และคณะ (2010a, b) ไดศึกษาถึงผลกระทบการเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้ําทะเลบริเวณ<br />

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําทาจีนกับแมน้ําแมกลองในฤดูน้ําแลงโดยใชแบบจําลอง MIKE11 พบวาเมื่อ<br />

ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 19-23 เซนติเมตร ระดับความเค็มจะเพิ่มขึ้นอยูในชวงประมาณ 0.10-1.80 กรัมตอลิตร<br />

ดังนั้นในการศึกษานี้ใหความสนใจในการศึกษาและวิเคราะหถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับน้ําทะเลที่มีตอการรุกตัวของความเค็มในแมน้ําทาจีนตอนลาง อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อระดับน้ําทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นโดยใชแบบจําลองคณิตศาสตร ซึ่งจะมีประโยชน<br />

ตอการบริหารจัดการความเสี่ยงน้ํา การจัดการทรัพยากรน้ํา และสิ่งแวดลอมของลุมแมน้ําทาจีนตอนลางตอไป<br />

2.วัตถุประสงค<br />

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลที่<br />

มีตอการรุกตัวของความเค็มในแมน้ําทาจีนตอนลางตั้งแตตั้งแตประตูระบายน้ําโพธิ์พระยาจนถึงบริเวณปากแมน้ํา<br />

อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อระดับน้ําทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นโดยใช<br />

ขอมูลของ IPCC SRES รวมกับแบบจําลอง MIKE11<br />

ปตร. โพธิ์พระยา (กม.116.91) (U/S)<br />

ปตร. บางยี่หน (กม.142)<br />

ปตร. สองพี่นอง (กม. 175)<br />

ปตร. พระยาบรรลือ (กม.176)<br />

ปตร. พระพิมล (กม.199)<br />

ปตร. บางปลา (กม.206.5)<br />

ปตร. มหาสวัสดิ์ (กม.233)<br />

ปตร. มหาสวัสดิ์ (กม.233)<br />

ปตร. บางยาง (กม.289)<br />

ปตร. กระทุมแบน (กม.294)<br />

ปากแมน้ําทาจีน (กม. 318.910) (D/S)<br />

รูปที่ 2 ผังจําลองของแมน้ําทาจีนตอนลาง<br />

3.วิธีการศึกษา<br />

ในงานวิจัยนี้ไดศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเล โดยพิจารณาตั้งแตประตูระบายน้ําโพธิ์<br />

พระยา ถึงปากแมน้ําทาจีน ระยะทางรวม 202 กิโลเมตร โดยกําหนดอัตราการไหลผานประตูระบายน้ําโพธิ์พระยา<br />

766


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เปนขอบเขตการไหลดานเหนือน้ํา (Upstream Boundary) สวนระดับน้ําทะเลที่ปากแมน้ําทาจีนเปนขอบเขตการ<br />

ไหลดานทายน้ํา (Downstream Boundary) และกําหนดอัตราการไหลผานประตูระบายน้ําบางยี่หน สองพี่นอง พระ<br />

ยาบรรลือ พระพิมล บางปลา มหาสวัสดิ์ บางยาง และกระทุมแบน รวมทั้งหมด 8 แหง เปนขอบเขตการไหลเขา<br />

ดานขาง ดังแสดงในรูปที่ 2 และขอมูลสํารวจของรูปตัดขวางลําน้ํา โดยทําการสอบเทียบแบบจําลองของแบบจําลอง<br />

ทางชลศาสตรโดยใชขอมูล 2 ชวงคือ ระหวางมีนาคมถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2543 และตรวจพิสูจนแบบจําลองโดยใช<br />

ขอมูลระหวางมกราคมถึงมิถุนายน พ.ศ.2547 จากนั้นจึงจําลองความเค็ม ซึ่งสอบเทียบระหวางมีนาคมถึง<br />

พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ในแบบจําลองความเค็ม และตรวจพิสูจนแบบจําลองระหวางมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ.<br />

2547 ระดับน้ําทะเลที่เปลี่ยนแปลงจาก IPCC SRES Scenarios โดยไดจากการจําลองภูมิอากาศของโลก<br />

กรณีศึกษา A1FI และB1 ในป พ.ศ.2603 เพื่อเปนขอมูลของระดับน้ําทะเลที่เพิ่มขึ้นในอนาคต และเพื่อศึกษาการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางดานชลศาสตรและการรุกตัวของความเค็มบริเวณปากแมน้ําทาจีนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต<br />

4. สมการที่ใชในการคํานวณ<br />

การศึกษานี้ไดนําเอาแบบจําลอง MIKE11 ซึ่งไดรับพัฒนาโดยสถาบันวิจัยทางดานแหลงน้ําของประเทศ<br />

เดนมารค (Danish Hydraulic Institute: DHI) เปนแบบจําลองทางคณิตศาสตรทางดานชลศาสตรวิศวกรรมสามารถ<br />

ใชวิเคราะหการไหลแบบคงที่และแบบไมคงที่ในแมน้ําชนิด 1 มิติ สําหรับแบบจําลอง MIKE11 ที่ใชในการศึกษาครั้ง<br />

นี้แบงออกเปน 2 โมดูล ดังนี้คือ<br />

4.1 โมดูลแบบจําลองชลพลศาสตร (Hydrodynamic Module: HD)<br />

เปนแบบจําลองที่สามารถจําลองสภาพการไหลในแมน้ําโดยใชสมการการไหลความตอเนื่องและสมการโมเมนตัม<br />

สามารถแสดงไดตามสมการที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้<br />

เมื่อ:<br />

(1)<br />

Q <br />

<br />

A q x<br />

t<br />

2<br />

Q <br />

<br />

<br />

Q<br />

A h<br />

gQ Q<br />

gA <br />

t x x C AR<br />

2<br />

0<br />

(2)<br />

Q = อัตราการไหล (ลูกบาศกเมตร/วินาที), A = พื้นที่หนาตัดของการไหล, q = อัตราการไหลเขาดานขาง,<br />

h = ความลึกของน้ํา, = คาสัมประสิทธิ์ปรับแกโมเมนตัม, C = คาสัมประสิทธิ์ของ Chezy (C = R 1/6 /n), R = รัศมี<br />

ชลศาสตร, n = คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่ง, g = ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง, x = ระยะทางตามทิศ<br />

ทางการไหล และ t = เวลา<br />

4.2 โมดูลแบบจําลองการพากับแพรกระจาย (Advection-Dispersion Module: AD)<br />

แบบจําลองที่สามารถจําลองการพาหรือการเคลื่อนยายของมวลสารในแมน้ําโดยใชหลักของกฎทรงมวล<br />

เมื่อพิจารณาใน 1 มิติ สามารถเขียนไดดังสมการที่ 3 ดังนี้คือ<br />

AC QC C<br />

<br />

AD<br />

AKC<br />

<br />

t x x<br />

x<br />

<br />

qC (3)<br />

2<br />

767


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เมื่อ:<br />

C = ความเขมขนของมวลสาร, D = สัมประสิทธิ์การแพรกระจายของมวลสาร, K = สัมประสิทธิ์การยอย<br />

สลายของมวลสาร และ C2 = ความเขมขนของ Source/Sink<br />

5.ผลการศึกษา<br />

5.1 ขอมูลการสอบเทียบและตรวจพิสูจนแบบจําลองทางชลศาสตร<br />

ในขั้นตอนการสอบเทียบแบบจําลองไดนําการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนระดับน้ําทะเลจาก<br />

แบบจําลองภูมิอากาศโลก ตามภาพจําลองปริมาณกาชเรือนกระจกในอนาคต IPCC SRES Scenarios แบบ A1FI<br />

และB1 ผลการสอบเทียบแบบจําลองชลศาสตรที่สถานีตางๆระหวางเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ที่ประตู<br />

ระบายน้ําบางยี่หนและ พระพิมล และสถานี T-1 ดังแสดงในรูปที่ 3 โดยไดทําการการปรับคาสัมประสิทธิ์ความ<br />

ขรุขระของแมนนิ่งเทากับ 0.033 ซึ่งในงานวิจัยนี้ไดใชคาเดียวกันตลอดทั้งความยาวแมน้ํา และเมื่อทําการตรวจ<br />

พิสูจนแบบจําลองทางชลศาสตรระหวางเดือนมกราคมถึงมิถุนายน พ.ศ.2547 ในตําแหนงเดียวกัน ดังแสดงในรูปที่<br />

4 จากกราฟนั้นเสนเต็มเปนคาของผลการคํานวณโดยแบบจําลองและเครื่องหมายกากบาทเปนคาที่ไดจากการ<br />

ตรวจวัดจริงในสนาม จะเห็นวาผลการคํานวณมีความใกลเคียงกับคาตรวจวัดจริง พบวาในชวงการสอบเทียบกับ<br />

การตรวจพิสูจนแบบจําลองชลศาสตรมีคา RSME อยูระหวาง 0.18 – 0.28 เมตร กับ 0.13 – 0.20 เมตร ตามลําดับ<br />

ซึ่งไดผลลัพธอยูในเกณฑที่ดีและยอมรับได<br />

5.2 การปรับเทียบและตรวจพิสูจนแบบจําลองความเค็ม<br />

แบบจําลองความเค็มไดปรับเทียบและตรวจพิสูจน เชนเดียวกับแบบจําลองทางชลศาสตรที่ สถานี<br />

สมุทรสาคร กระทุมแบน สามพราน และเจดียบูชาระหวางเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2543 ดังแสดงในรูปที่ 5<br />

และไดตรวจพิสูจนแบบจําลองที่สถานีเดียวกันระหวางมกราคมถึงมิถุนายน พ.ศ. 2547 โดยการปรับคาสัมประสิทธิ์<br />

การแพรกระจายมลสาร เทากับ 100-1000 เมตร 2 /วินาที และคาแฟกเตอรการแพรกระจายมวลสารเทากับ 1000 ดัง<br />

แสดงในรูปที่ 6 พบวาผลการคํานวณคาความเค็มที่ไดมีคาใกลเคียงกับคาที่ไดจากการตรวจวัดแตอยางไรก็ตามเมื่อ<br />

ขึ้นไปดานเหนือน้ําบริเวณสามพรานกับเจดียบูชาผลการคํานวณโดย MIKE11 มีคาเขาใกลศูนยซึ่งต่ํากวาผลการ<br />

ตรวจวัดจริง<br />

5.3 ผลการประยุกตใชแบบจําลอง<br />

จากขอมูลการเพิ่มของระดับน้ําทะเลของ IPCC ไดเลือกใชคาของขอมูลจากกราฟที่ไดจาการคํานวณโดย<br />

จําลองภูมิอากาศโลกในอนาคตกรณีศึกษา B1 และ A1FI โดยจากการพยากรณพบวาระดับน้ําทะเลจะสูงขึ้น 19<br />

และ 23 เซนติเมตร ตามลําดับ ในอีกประมาณ 50 ปขางหนา (ในป พ.ศ. 2603) มาวิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับน้ําโดยแบบจําลอง MIKE11 ที่สถานีวัดน้ํา T.1 ผลจากการคํานวณโดยใชแบบจําลอง MIKE11 พบวาเมื่อ<br />

ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 19 เซนติเมตร (B1) จะทําใหระดับน้ําสูงขึ้นเพียง 0.27 เซนติเมตร ดังแสดงในรูปที่ 7 (ก) และ<br />

ถาระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 23 เซนติเมตร (A1FI) จะทําใหระดับน้ําสูงขึ้นเพียงประมาณ 0.31 เซนติเมตร ดังแสดงในรูป<br />

ที่ 7 (ข) เทานั้น และในทํานองเดียวกับการศึกษาผลกระทบของระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นจากกราฟของแบบจําลอง<br />

ภูมิอากาศโลกในอนาคต ไดวิเคราะหถึงผลกระทบของระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นตอระดับความเค็มโดยแบบจําลอง MIKE11<br />

พบวาที่บริเวณสมุทรสาครและจุดอื่นๆ เมื่อระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 19 เซนติเมตร (B1) จะทําใหระดับของความเค็ม<br />

เพิ่มสูงขึ้น 0.401 กรัมตอลิตร และถาระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 23 เซนติเมตร (A1FI) ก็จะทําใหคาความเค็มเพิ่มสูงขึ้น<br />

0.502 กรัมตอลิตร ดังแสดงในรูปที่ 8 (ข)<br />

768


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

โดยใชขอมูลป พ.ศ.2543 เปนขอมูลในการวิเคราะหหาผลของการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลใน พ.ศ.<br />

2603 จากขอมูล IPCC SRES ตามสมมุติฐาน B1 ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 19 เซนติเมตร และ A1FI สูงขึ้น 23<br />

เซนติเมตร พบวาระดับน้ําในแมน้ําทาจีนสูงมีแนวโนมสูงขึ้น โดย B1 และ A1FI ทําใหระดับน้ํารุกตัว 11 และ 12<br />

กิโลเมตรตามลําดับ การวิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลงความเค็มในแมน้ําทาจีน พ.ศ.2603 ตามสมมุติฐาน B1 และ<br />

A1FI พบวาถาระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้นมีผลทําใหระดับน้ําในแมน้ําทาจีนมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น และมีการรุกตัวของ<br />

ความเค็มมากขึ้นดวยตามที่ไดกลาวขางตน โดยสมมุติฐาน B1 ทําใหมีระดับความเค็มน้ําในแมน้ําสูงกวา 1 กรัมตอ<br />

ลิตร ที่ตําแหนง 45 กิโลเมตรจากปากแมน้ํา และ A1FI ที่ตําแหนง 45.5 กิโลเมตรจากปากแมน้ํา โดยที่จากขอมูล<br />

พ.ศ. 2543 อยูที่ 44 กิโลเมตรจากปากแมน้ํา (ดังแสดงในรูปที่ 9)<br />

ตารางที่ 1 ความเค็มที่มีผลตอศักยภาพของการเจริญเติบโของพืชชนิดตางๆ (หนวย: กรัมตอลิตร)<br />

ชนิดของพืช<br />

ศักยภาพการเจริญเติบโต<br />

100% 90% 75% 50%<br />

ขาว 1.10 1.43 1.87 2.64<br />

ขาวโพด 0.61 0.94 1.38 2.15<br />

ฝาย 2.81 3.52 4.62 6.60<br />

ปอ 0.61 0.94 1.38 2.15<br />

หมายเหตุ: ขอมูลจาก: http://www.fao.org/docrep/003/T0234E/T0234E00.htm<br />

6. สรุปผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาพบวา เมื่อพิจารณาระดับน้ําทะเลจากแบบจําลอง MIKE11 จากขอมูลที่มีการปรับเทียบและ<br />

ตรวจสอบ โดยการปรับคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งเทากับ 0.033 คาสัมประสิทธิ์การแพรกระจายมลสาร<br />

เทากับ 100-1000 เมตร 2 /วินาที และคาแฟกเตอรการแพรกระจายมวลสารเทากับ 1000 ที่ระดับความคาดเคลื่อน<br />

RMSE อยูในชวง 0.15-0.2 เมตร ซึ่งอยูในเกณฑดี โดยใชขอมูลป พ.ศ.2543 เปนขอมูลในการวิเคราะหหาผลของ<br />

การเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลใน พ.ศ.2603 จากขอมูล IPCC SRES ตามสมมุติฐาน B1 ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 19<br />

เซนติเมตร และ A1FI สูงขึ้น 23 เซนติเมตร พบวาระดับน้ําในแมน้ําทาจีนสูงมีแนวโนมสูงขึ้น โดย B1 และ A1FI<br />

ทําใหระดับน้ํารุกตัว 11 และ 12 กิโลเมตรตามลําดับ การวิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลงความเค็มในแมน้ําทาจีน พ.ศ.<br />

2603 ตามสมมุติฐาน B1 และ A1FI พบวาถาระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้นมีผลทําใหระดับน้ําในแมน้ําทาจีนมีแนวโนมเพิ่ม<br />

สูงขึ้น และมีการรุกตัวของความเค็มมากขึ้นดวยตามที่ไดกลาวขางตน โดยสมมุติฐาน B1 ทําใหมีระดับความเค็มน้ํา<br />

ในแมน้ําสูงกวา 1 กรัมตอลิตร ที่ตําแหนง 45 กิโลเมตรจากปากแมน้ํา และ A1FI ที่ตําแหนง 45.5 กิโลเมตรจาก<br />

ปากแมน้ํา โดยที่จากขอมูล พ.ศ. 2543 อยูที่ 44 กิโลเมตรจากปากแมน้ํา เมื่อเปรียบกับความเค็มที่พืชชนิดตางๆ<br />

ยังสามารถเจริญเติบโตและ/หรือยังทนความเค็มไดจากตารางที่ 1 ซึ่งจากผลการศึกษาพบวาจนกระทั่งถึงป พ.ศ.<br />

2603 ความเค็มบริเวณปากแมน้ําทาจีนยังไมสงผลกระทบตอพืชจําพวกขาว ขาวโพด ฝาย และปอ ซึ่งจากผล<br />

การศึกษาของลุมน้ําทาจีนนี้สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อเปนแนวทางบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และสิ่งแวดลอม<br />

ของลุมแมอื่นๆ ตอไปได<br />

769


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

คณะผูวิจัยขอขอบคุณโครงการ Earth Systems Science (ESS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา<br />

ธนบุรีที่ไดสนับสนุนเงินวิจัยในโครงการวิจัยนี้ ขอขอบคุณกรมชลประทาน สํานักงานชลประทานที่ 13 และกรม<br />

ควบคุมมลพิษที่อนุเคราะหขอมูลในงานวิจัยนี้<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- กรมควบคุมมลพิษ. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการพื้นที่ลุมน้ําภาค<br />

ตะวันออก (รายงานหลัก: รางรายงานฉบับสุดทาย), กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ<br />

สิ่งแวดลอม, 2546.<br />

- เกรียงไกร ตรีฤทธิวิทยา, ชัยวัฒน เอกวัฒนพานิชย และ สนิท วงษา. ผลกระทบของการ<br />

เปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลที่มีตอแมน้ําทาจีนตอนลาง. รายงานการประชุมทางวิชาการวิศวกรรม<br />

โยธาแหงชาติครั้งที่14, 2552.<br />

- IPCC, (2001), Available online:<br />

http://www.grida.no/publications/other/ipcc_tar/?src=/climate/IPCC_tar/wg1/fig11-12.htm.<br />

- Wassmann, R., Hein, N.X., Hoanh, C.T., and Tuong, T.P., (2004), Sea Level Affecting<br />

Vietnamese Mekong Delta: Water Elevation in the Flood Season and Implications for<br />

Rice Production, Climate Change, 66, pp.89-107.<br />

- Wongsa S., Ekkawatapanit, C. and Treerittiwitaya K., (2010a), Effect of sea water level<br />

change on the management in the Lower Thachin River. Proceedings of the International<br />

Symposium on Coastal Zones and Climate Change: Assessing the Impacts and<br />

Developing Adaptation Strategies.<br />

- Wongsa S., Kamolsin, P. and Inkliang K. (2010b) Effect of Sea Water Level Change on<br />

the Estuaries Management in the Lower Thachin and Mae Klong Rivers. Proceedings of<br />

GMSTEC 2010: International Conference for a Sustainable Greater Mekong Subregion.<br />

770


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) บางยี่หน (RSME = 0.22) (ข) สองพี่นอง (RSME = 0.19)<br />

(ค) พระพิมล (RSME = 0.18) (ง) สถานี T-1 (RSME = 0.28)<br />

รูปที่ 3 ผลการปรับเทียบแบบจําลองระหวางมีนาคมถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2543<br />

(ก) บางยี่หน (RSME = 0.17) (ข) สองพี่นอง (RSME = 0.13)<br />

(ค) พระพิมล (RSME = 0.15) (ง) สถานี T-1 (RSME = 0.20)<br />

รูปที่ 4 ผลการตรวจพิสูจนแบบจําลองระหวางมกราคมถึงมิถุนายน พ.ศ. 2547<br />

771


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) สมุทรสาคร (ข) กระทุมแบน<br />

(ค) สามพราน<br />

(ง) เจดียบูชา<br />

รูปที่ 5 ผลการปรับเทียบความเค็มระหวางมีนาคมถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2543<br />

(ก) สมุทรสาคร (ข) กระทุมแบน<br />

(ค) สามพราน<br />

(ง) เจดียบูชา<br />

รูปที่ 6 ผลการตรวจพิสูจนความเค็มระหวางมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2547<br />

(ก) Scenario B1<br />

( ข) Scenario A1F1<br />

รูปที่ 7 ระดับทะเลที่สถานีวัดน้ํา T.1 จากกรณีศึกษา B1 และ A1FI<br />

772


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(ก) สมุทรสาคร (ข) กระทุมแบน<br />

(ค) สามพราน<br />

(ง) เจดียบูชา<br />

รูปที่ 8 ความเค็มจากกรณีศึกษา B1 และ A1FI ในป พ.ศ.2603<br />

(ก) Scenario B1<br />

( ข) Scenario A1F1<br />

รูปที่ 9 การรุกคืบของความเค็มกับปริมาณการปลอยน้ําจากดานเหนือน้ําเพื่อรักษาความเค็ม<br />

ตางๆ จากกรณีศึกษา B1 และ A1FI ในป พ.ศ.2603<br />

773


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

หัวขอที่ 4 เศรษฐศาสตรและนโยบาย<br />

(Session IV Economics and Policy)


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Economic Impact of Climate Change on Growth, Energy Usage and Food Security<br />

Risks: A Case Study of Thailand<br />

Tran Van Hoa 1 and Kitti Limskul 2<br />

1 Professor and Director, Vietnam and East Asia Summit Research Program<br />

Centre for Strategic Economic Studies. Victoria University, Australia<br />

Email: jimmy.tran@vu.edu.au; Website: http://www.staff.vu.edu.au/CSESBL/<br />

2 Director, EMF Research Program, Chulalongkorn University, Thailand<br />

Abstract<br />

In response to growing concerns about global warming and climate change, numerous energy<br />

scenario or CGE models have been developed worldwide to provide alerts, mitigation, adaptation,<br />

financial and sustainability policy options (UNFCCC, 2010; IPCC, 2010). However, rigorous evidencebased<br />

economic measurement and analysis of the trade-off between CO 2 emissions and economic<br />

growth and specially food security for credible climate change policies is still limited globally (Stern, 2004;<br />

Ruijven et al., 2008; WB, 2010). To improve analysis, debate and policies in this field with Thailand as a<br />

special case-study, the section develops a new “top down” endogenous growth-CO 2 emission multiequation<br />

model with an endogenous Kuznets environmental curve and classical food demand to provide<br />

robust empirical findings on the trade-off, its implications for climate change mitigation and food security,<br />

and subsequent credible national effective responses and policies. The findings importantly satisfy the<br />

Friedman (1953)-Kydland (2006) simplicity and realism criterion. A comparison of our findings and<br />

recommended policies with other well-known analyses will also be carried out and critically discussed.<br />

Keywords: CO 2 emissions, economic growth and food security, endogenous growth and<br />

trade theory, econometric modelling and forecasts, climate change policies.<br />

JEL: C51, C53, Q43, Q47, Q48, Q51, Q54<br />

1. Introduction<br />

In response to growing concerns about global warming and climate change, numerous energy<br />

scenario or CGE models such as the IPCC/SRES (International Panel on Climate Change/Special Report<br />

on Emission Scenarios) have been developed worldwide to provide alerts, mitigation, adaptation, financial<br />

and sustainability policy options (IPCC, 2010; UNFCCC, 2010). In the case of Thailand, some accounting<br />

work on the influencing factors of CO 2 emissions during the period 1981-2005 has also been reported<br />

775


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(WB, 2010). However, rigorous economic causal analysis of the trade-off between CO 2 emissions,<br />

economic growth and especially food security for credible climate change policies is still limited globally<br />

(Stern, 2004; Ruijven et al., 2008; IPCC, 2010; UNFCCC, 2010). To improve analysis, debate and policies<br />

in this important field with a focus on Thailand, the study develops a new “top down” endogenous growth-<br />

CO 2 (GCO 2 ) multi-equation model with an endogenous environmental Kuznets curve (EKC) and food<br />

demand and, using historical data, to provide robust empirical findings on the trade-off, CO 2 mitigation<br />

options, implications for food security, and subsequent credible climate change responses and policies.<br />

The outcomes are useful to global warming researchers and analysts, national climate change negotiators<br />

and policy-makers.<br />

The plan of the study is as follows. Section 2 briefly surveys the recent trend in economic growth<br />

and its associated energy uses (via CO 2 emissions) of Thailand and other major Asian economies. This<br />

section also focuses on the pattern of Thailand’s food demand and prices and their relation to energy<br />

prices. Section 3 describes a new GCO 2 model incorporating the food sector and its theoretical structure<br />

within a system framework and with a focus on Thailand. A unique feature of the model is the explicit<br />

incorporation of (a) an endogenous EKC and extensions and the testing for their validity (Stern, 2004), (b)<br />

enhanced technology innovation usage (Liu, 2005) or energy ladder ascension (Ruijven et al. 2008), and<br />

(c) food demand determination in the case of Thailand. Section 4 reports the model’s empirical findings<br />

and their credibility or realism-consistency features. In Section 5, substantive policy implications for<br />

international UNFCC/IPCC climate change and domestic reform and food security policy analysis are<br />

discussed. Some comparison with other relevant climate change analyses is also carried out in this<br />

section. Conclusion and suggestions for further research are given in Section 6.<br />

2. Trends in per Capita Growth and CO 2 -Emissions in the World’s Major Economies<br />

The historical trend of real GDP per capita (RGDPH) and its growth for 1990-2009, and per<br />

capita CO 2 -emissions (in metric tons) for 1980-2008 of Thailand and eight major East and South East<br />

Asian economies are given in Charts 1-5. These eight economies consist of Indonesia, Malaysia,<br />

Philippines, Singapore, and Vietnam in the ASEAN, and China, Korea and Japan in East Asia. Chart 1<br />

shows that, in terms of RGDPH among the nine countries and consistently during 1990-2009, Japan<br />

ranked first, followed by Singapore (second), Korea (third), Malaysia (fourth) and Thailand (fifth). In 2009,<br />

the RHDPH for these five countries was $US32,818, $US28,031, $US19,113, $US3035 and $US2494<br />

respectively. In the decades before the 1997 Asia crisis, Thailand was considered one of the “great<br />

miracle economies” in the Asian region with an annual growth rate of up to 11.66 per cent in 1988.<br />

However, as a result of this crisis and other regional and global meltdowns during 1990-2009, it had an<br />

average annual growth (Chart 3) of only 3.48 per cent. This average growth achievement was reasonable<br />

when it is compared to 0.93 per cent for Japan (which had decades-old economic management problems)<br />

and 3.33 per cent for Singapore (which suffered seriously during the SARS outbreak in the early 2000s).<br />

Chart 1 also shows that, as expected, the RGDPH of these nine countries had been adversely affected<br />

by the 1997/98 Asia crisis and apparently more by the global financial crisis (GFC) of 2008/09. Chart 2<br />

776


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

indicates however that, in terms of these countries’ RGDPH growth rates, the adverse impact of the<br />

1997/98 Asia crisis, the 2001 terrorist attacks in New York and Washington D. C. , and the 2008/09 GFC<br />

was found to be more severe. More specifically, in 1998 for example, growth after the emergence of the<br />

Asia crisis was -2.37, -3.46, -7.55, -9.29 and -11.44 per cent for Japan, Singapore, Korea, Malaysia, and<br />

Thailand respectively. In 2009, this growth after the GFC development and contagion was -5.84, -7.77, -<br />

3.66, -5.65 and -6.20 per cent for these countries respectively. When we include the food sector in the<br />

analysis, the picture is more illuminating from the data (Chart 4) on the pattern of Thailand’s per capita<br />

demand (expenditure) for food, food and energy prices and the GDP implicit price deflector. These data<br />

indicate the different temporal effects of say the 1997/98 Asia crisis on Thailand’s demand for food, food<br />

and energy prices. More significant is the overtaking of energy prices over food prices and of food prices<br />

over the national price deflator since the 1997/98 crisis. Due to these observed ‘structural change’<br />

country-specific and commodity effects (see Johansen, 1982, for the importance of these factors in<br />

economic policy modelling), a study on economic growth, CO 2 emissions, food demand and their causal<br />

factors in Thailand (and other developed and developing Asian countries) that overlooks these shocks<br />

and their damaging general and commodity impact (or policy reforms with their beneficial outcomes) is<br />

clearly inadequate. As a result, its outcomes are not credible for serious policy considerations.<br />

Chart 1 Real Per Capita GDP - Thailand and Major Asian Economies, 1990-2009<br />

Chart 2 Per Capita Output Growth Trend - Thailand and Major Asian Economies, 1990-2009<br />

777


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Chart 3 Average Per Capita Output Growth - Thailand and Major Asian Economies, 1990-2009<br />

Source of data to Charts 1-2: US Department of Agriculture (2010). Own calculations in Chart 3.<br />

Chart 4 Thailand - Food Demand, Price Indexes of Energy and Food, and GDP Implicit Deflator, 1990-<br />

2008<br />

Note: OILP90, IDP90, FDP90 and FDH denote, respectively, energy prices, GDP deflator, food prices (all<br />

with 1990=1), and food excluding tobacco etc. expenditure in Bhat (right axis).<br />

The pollution picture is different in a complex way for the nine countries in terms of annual metric<br />

tons (MT) per capita CO 2 emissions (Charts 5-6). For example, Singapore had consistently produced the<br />

greatest and still rising CO 2 emissions per head over the period 1980-2008 (Chart 5) and averaged at<br />

22.12MT annually (Chart 6). This is compared to an average of 8.71MT for the next large polluter Japan<br />

and 7.28MT for Korea during the same period. In comparison, two high-growth Asian transition<br />

economies, namely China and Vietnam, produced only an average of 2.51MT and 0.48MT respectively<br />

during 1980-2008. The data in Chart 5 also indicate interestingly that Thailand’s CO 2 emissions per capita<br />

fell by 9.12 per cent in 1998 after the Asia financial crisis that started in Thailand on 2 July 1997, but they<br />

had increased markedly since the country’s World bank-inspired openness policy reform in the early<br />

2000s.<br />

778


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Chart 5 Trend of Per Capita CO 2 Emissions (Metric Tons) by Thailand and Major Asian Economies,<br />

1980-2008<br />

Chart 6 Average Per Capita CO 2 Emissions (Metric Tons) by Thailand and Major Asian Economies,<br />

1980-2008<br />

Source of data to Charts 4-5: IEA (2010) and own calculations.<br />

A casual observation of the historical data and their informational content in the charts above<br />

indicates paradoxically that, in the context of simple descriptive, statistical association and static (survey)<br />

analysis, low CO 2 -emitting countries achieve higher growth and, conversely, higher CO 2 -emitting countries<br />

are somehow characterised by lower economic performance (see Tran Van Hoa, 2009c, for similar<br />

findings for China and other major developed countries). This finding of the data association or<br />

accounting approach may be questioned as unacceptable by serious economic and climate change<br />

researchers, analysts and policy-makers. A more appropriate approach is to build theoretically plausible<br />

GCO 2 dynamic single or simultaneous structural equation models that assume and test for the possibility<br />

of causality and reverse causality (endogeneity) of growth and CO 2 emissions (e.g., Tran Van Hoa et al.,<br />

1982, 1983a, 1993; Tran Van Hoa, 1992b, 1993, 2009c; Holz-Eakin and Selden, 1995; and Liu, 2005;<br />

see also Kilian, 2009, for this strict requirement in analytical, empirical and policy research). As a result,<br />

such well-known approaches as (a) the casual graphical, association, accounting or non-hysteresis<br />

779


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

approach, (b) the pure time-series methods and extensions of Granger (1969) and Engel and Granger<br />

(1987), (c) the CGE/GTAP or scenario approach, and (d) growth/panel regression, while used extensively<br />

in the energy and climate change literature, will not be attempted in this study. Instead, in the sections<br />

below, we develop, more appropriately, a dynamic system policy modelling approach to study more<br />

rigorously the reverse causality and direction between growth, CO 2 emissions, food demand, and the<br />

related EKC issues, and with a special focus on Thailand. The findings and analysis will be substantive or<br />

empirical and ‘explaining the data or reality well’, and these unique features are appropriate in the context<br />

of the recent emphasis by the international and institutional organisations (e.g., the IMF, the WB, and<br />

even aid donors) for practical and evidence-based policy analysis. More specifically, the findings will<br />

provide quantitative outcomes to measure efficiently and robustly the trade-off between CO 2 emissions<br />

and economic growth, food security, and enhanced technology innovation adoption and penetration in a<br />

major developing country in Asia, namely Thailand. These three focuses are lacking or having inadequate<br />

research at the present world-wide (Stern, 2004; Ruijven et al. 2008; IPCC, 2010; UNFCCC, 2010; WB<br />

2010).<br />

Before embarking on our research, we noted that there is a vast literature on the many plausible<br />

causal factors contributing to (and theories explaining) steady and non-steady-state output growth in open<br />

economies (e.g., see Levine and Renelt, 1992; Easterly, 2007; McMahon et al., 2009). Their theoretical<br />

structure ranges from the neo-classical production, translog factor price, income distribution, gravity<br />

theory, management, or political economy perspective. The paper is focused chiefly however on the<br />

expenditure aspect of the System of National Accounts 1993 (SNA93) framework, and especially on<br />

openness, transnational factors-of-production flows, and CO 2 consumption (as a good proxy for industrial<br />

production, consumer consumption and transport, see Stern, 2004. For a related structural decomposition<br />

of CO 2 in China, see Guan et al., 2008; and for a Divisia decomposition of CO 2 in major Asian economies<br />

including Thailand, see WB, 2010), and their possible contribution to growth in Thailand. In terms of<br />

structural specification, the study will focus on econometric modelling and testing of the nexus between<br />

endogenous CO 2 emissions, growth and food demand in which, in addition, commodity and<br />

decommoditised (i.e., FDI and financial services) trade, the economy’s prevailing conditionality<br />

environment (Tran Van Hoa, 2005; Krueger, 2007; Kilian, 2009; Bernanke, 2010), and policy reform and<br />

crises (in the form of multiple structural break of unit-root time-series analysis) also play an important role<br />

(Johansen, 1982; Edwards, 2007). All these growth and CO 2 -emission related factors are all explicitly<br />

incorporated in the model and give the model its unique features.<br />

These features that arise from a full-endogenising synthesis of contemporary growth, energy,<br />

institutions and trade theories (see Kong, 2007, and McMahon et al., 2009, for a recent survey) are<br />

consistent with a number of recent developments in Thailand. These include (a) Thailand’s development<br />

and openness (i.e., exports-led growth) policy since 1990, (b) the scope of liberalised merchandise trade<br />

embodied in Thailand’s ASEAN free trade agreement and World Trade Organisation (WTO)<br />

memberships, (c) decommoditised trade and competitiveness coverage of regional trade agreements<br />

780


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

(RTAs) in force in Asia, (d) recent domestic reforms, contemporary regional and global economic and<br />

financial crises, and (e) data availability of the unified SNA93 and related national and international<br />

databases through the NSEDB and ADB.<br />

3. An Endogenous Growth-Co 2 Emission-Food Model of Thailand for Policy Analysis<br />

Theoretical Rationale - A new endogenous growth-energy theory (or GCO 2 for short) model (including<br />

the food sector) for Thailand’s open economy, built on the work of Holz-Eakin and Selden (1995), Arrow<br />

et al. (1995), Frankel and Romer (1999), Stern (2004), Tran Van Hoa (2004), and endogenous growth<br />

and institutions theories (see Kong, 2007) and with significant improved modelling features in comparison<br />

with existing approaches is developed for the present study. The major and unique structural and<br />

modelling features of the GCO 2 can be briefly described as follows.<br />

First, it importantly incorporates explicitly the endogeneity or circular causality between growth,<br />

CO 2 emissions, trade, agriculture (food) and major macroeconomic conditions or activities in the economy<br />

(Krueger, 2007; Kilian, 2009). Second, it recognises country-specific or heterogeneity characteristics of<br />

each economy in response to each of its causal or impact factor (UNFCCC, 2010). Third, it covers RTAscoped<br />

comprehensive trade in goods and other factors of production (i.e., FDI and services) (see<br />

ASEAN, 2010). Fourth, it includes other policy reforms, crises and non-economic events (Johansen, 1982;<br />

Tran Van Hoa, 2004; Edwards, 2007) that have affected growth, CO 2 emissions and trade (including food<br />

exports) globally or in the region in recent years. Fifth, unlike other modelling studies in this genre (eg,<br />

CGE/GTAP and growth or panel regression), the GCO 2 model assumes no a priori (e.g., linear or loglinear)<br />

functional form and allows nonlinearity (see Tran Van Hoa, 1992, Jimerez-Rodriguez, 2009, and<br />

Kyrtsou et al., 2009, for related issues).<br />

The theoretical structure and approach of a GCO 2 model is therefore a full-endogenising synthesis of<br />

growth, energy, trade, agriculture and institutions theories (e.g., Levine & Renelt, 1992; Frankel & Romer,<br />

1999; Stern, 2004; Eichengreen et al. 2007; Kong, 2007), and derived utility-maximising-under-constraints<br />

commodity demand theory. Significantly, it also incorporates multiple structural change (Tran Van Hoa,<br />

2004; Edwards, 2007; Cerra and Saxena, 2008) and emerging thinking on interdependent economic<br />

policy modelling in non-steady-state developing economies (Kong, 2007; Krueger, 2007; Kilian, 2009).<br />

Other existing modelling approaches for this kind of GCO 2 impact study are inappropriate or not<br />

credible (or reality-consistent) for policy analysis and uses, because of their theoretical structural and<br />

econometric limitations and subsequently less acceptable outcomes. For example, the CGE/GTAP (the<br />

framework for UNFCCC/IPCC models) is essentially confirmatory or scenarios-setting by simulation in<br />

nature with its assumed causal and functional relationships and given impact parameters (see Bruvoll et<br />

781


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

al., 2003, for a CGE study of emissions and exports and imports). The gravity theory (Frankel and Romer,<br />

1999) dealing principally with panel data and is beset with serious cross-country heterogeneity impact<br />

bias when fixed-effect panel regression is used for all diverse countries in the sample (see also Hineline,<br />

2008, for outcome sensitivity to sample sizes). Growth regression is econometrically fragile (Levine and<br />

Renelt, 1992) and lacks the well-known reverse causality (endogeneity) in the sense of Marshall or<br />

Haavelmo among economic activities (e.g., growth, CO 2 emissions, trade, energy usage, monetary, fiscal<br />

and industry policies) (see also Krueger, 2007; Kilian, 2009). The specification of a linear function for<br />

empirical growth-related studies has been increasingly regarded as unsuitable (Minier, 2007; Jimerez-<br />

Rodriguez, 2009; and Kyrtsou et al., 2009).<br />

Previous variations of the GCO 2 models in endogenous trade gravity-related theory studies have<br />

also demonstrated the excellent modelling performance of the models when this performance is assessed<br />

by the Friedman ‘simplicity and fruitfulness’ (1953) or Kydland data-model consistency (2006) criteria<br />

(Tran Van Hoa, 2004, 2008, 2009a, 2009b). Finally, as the economic variables in the GCO 2 model (being<br />

planar approximations to any functional form) are expressed as their rates of change (or equivalently log<br />

differences when the changes are small), the model’s findings can be regarded in a dynamic context as<br />

long-run outcomes in the sense of Engle and Granger causality if all of these variables are integrated of<br />

degree one or I(1), or as short-term Granger causality if they are I(0), the field extensively studied in the<br />

energy literature (see Keppler et al., 2006).<br />

The Model – A simple GCO 2 model for Thailand to empirically explore the causal and directional aspects<br />

of CO 2 emissions, trade, food, crisis and growth relationships, and with features relevant to its<br />

development and energy usage in the past 18 years (where data are available) can be written arbitrarily<br />

as four normalised implicit functions [for GDP, CO 2 emissions, food (FD), and food prices (FDP)] and their<br />

testable determinants of trade (T), FDI, financial services (SV), crisis or reform (CR), energy usage or oil<br />

price (OIL), squared GDP (GDP2), and economic ‘conditionality’ (representing the country’s economic,<br />

financial and industrial structure but not given here. See below) as<br />

GDP=GDP(+CO 2 , +T, +FDI, +SV, -CR) (1)<br />

CO 2 =CO 2 (+GDP, -GDP2, -OIL, -CR) (2)<br />

FD=FD(+GDP,-OIL,-FDP,-CR) (3)<br />

FDP=FDP(+GDP,-OIL,+IPD,-CR) (4)<br />

where the signs reflect the expected impact direction (first differentials) currently assumed or found in<br />

previous studies in the literature. As they stand, (1)-(4) are not statistically estimable. Using Taylor’s<br />

series expansions for the functions and neglecting second and higher-order differentials (see Tran Van<br />

Hoa, 1992, 2004; See also Baier and Berstrand, 2008, for a recent use of this approach with<br />

782


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

nonlinearity), the representative two-simultaneous equation model above can be written mathematically<br />

equivalently (with Y for GDP) for empirical implementation as<br />

Y%= 1 + 2 CO 2 % + 3 T% + 4 FDI% + 5 SV% + 6 CR + u 1 (5)<br />

CO 2 %= + Y% + Y2% + OIL% + CR + u 2 (6)<br />

FD%= + Y% + OIL% + FDP% + CR + u 3 (7)<br />

FDP%= + Y% + OIL% + IPD% + CR + u 4 (8)<br />

Where % denotes the rate of change, the u’s represent error terms or omitted and neglected<br />

determinants (Frankel and Romer, 1999), and the structural parameters are simply the elasticities (for 2 -<br />

5 , 2 - 4, 2 - 4, 2 - 4 ), and crisis or reform impact ( 6, 5, 5 , and 5 ). The model’s economic-theoretic<br />

rationale and testable hypotheses can be briefly described as follows.<br />

In the model, endogeneity or reverse causality between Y, CO 2 , FD, FDP, T, FDI and SV is<br />

assumed (see Arrow et al., 1995, for this crucial theoretical requirement). In Eqt. (5), Thailand’s growth is<br />

assumed to be affected by CO 2 emissions (representing the economy’s consumption, production and<br />

transportation intensity), trade or openness (e.g., ASEAN and WTO memberships), other factors of<br />

production (Stern, 2004), and multiple structural change – see Johansen, 1982; Tran Van Hoa, 2004;<br />

Edwards, 2007; Cerra and Saxena, 2008) in Thailand. Eqt. (6) for CO 2 , in its structural form of our foursimultaneous<br />

equation model, is simply the so-called endogenous EKC with the additional incorporation of<br />

oil consumption (representing oil usage technology innovation, see Liu, 2005, or ‘energy ladder’<br />

ascension, see Ruijven et al., 2008) and multiple structural change. Eqts. (7) and (8) are simply two<br />

utility-maximising demand equations for food and its inverse food prices with income, energy price and<br />

general inflationary or production cost pressure in the country, and reform or crises as the principal<br />

determinants.<br />

In addition, GDP, CO 2 , FD and FDP (and T, FDI and SV) are assumed to be affected by the<br />

‘economic conditionality’ factors such as Thailand’s fiscal policy, monetary policy, inflation pressure – see<br />

Romer (1993), exchange rates – see Rose (2000), industry policy – see Otto et. al. (2002), population, a<br />

gravity theory factor (POP) – see Frankel and Romer (1999), and CR – see Johansen (1982) and Tran<br />

Van Hoa (2004). These factors, while conceptualised as crucial in contemporary economy-wide modelling<br />

and policy analysis (see e.g., Krueger, 2007; Kilian, 2009), have not been explicitly incorporated in<br />

previous econometric modelling studies in this genre either in the CO 2 emissions-oriented context (see<br />

Keppler, 2006; Keppler et al. 2006) or in trade-growth and food studies (see however Tran Van Hoa, op.<br />

cit.). The tests for significant and efficient causality of Thailand’s growth, food demand, food prices and<br />

CO 2 emissions in a system (economy-wide) framework are then based on testing the parameters of the<br />

structural equations (5)-(8) above by appropriate statistical instrumental-variables (IV) and system<br />

estimation (e.g., 3SLS and the generalised method of moments or GMM) and testing procedures.<br />

783


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

It should be noted that when the ordinary least-squares for example is used in estimating Eqts.<br />

(5)-(8)), these equations are treated as conventional growth regression, EKC and food equations without<br />

endogeneity and, as a result, with biased and unreliable empirical findings. In addition, when Eqts (5)-(8)<br />

are assumed non-stochastic and all their elasticities and impact parameters are a priori assumed or given,<br />

the model is a simplified version of the CGE or IPCC scenario approach for energy study. These two<br />

subsets of the GCO 2 model can be generated for a comparative analysis of alternative impact modelling<br />

studies (e.g., growth regression, UNFCCC-CGE and IPCC-CGE) and climate change policies.<br />

The Data – CO 2 emission, economic, trade, food, food prices and other relevant data for the models’<br />

estimation were obtained from the databases of the Asian Development Bank, US-IEA (International<br />

Energy Administration), USDA macroeconomics statistics, US-DOE-Energy Information Administration<br />

(EIA), and the NSEDB. For consistency with previous studies, all economic data (except real GDP for<br />

growth and real FD for food demand) are in current value. In our study, all original data are obtained as<br />

annual and per capita and then transformed to their ratios (when appropriate). The ratio variables include<br />

merchandise trade (T), FDI, financial services, money supply, and government budget, all divided by<br />

Thailand’s current GDP. Data for other non-ratio variables include population, inflationary pressure, and<br />

binary variables representing the occurrence of the economic, financial and other major crises, policy<br />

shifts or reforms in Thailand over the period 1990 to 2008 (where all continuous data for all specified<br />

variables are available). All non-binary variables are then converted to their percentage rates of change.<br />

The use of this percentage measurement is a unique feature of our GCO 2 approach, and it posits a<br />

nonlinear relationship (see above) and avoids the problem of a priori known functional forms (see above)<br />

and also of logarithmic transformations for negative data [such as budget (fiscal) or current account<br />

deficits]. In this paper, we focus on a bidirectional direction of CO 2 emissions, growth, food and food<br />

prices, that is, the determination of Thailand’s CO 2 emissions, endogenous EKC or food demand and<br />

price, and their possible causal impact on Thailand’s growth and vice versa, and within Thailand’s<br />

openness and prevailing economic environment. In addition to the endogeneity of Y, CO 2 , FD, T, FDI and<br />

SV, this ‘conditionality’ causality transmission mechanism is a fundamental foundation of our specification<br />

and testing hypothesis.<br />

4. Evidence-Based Findings and Their Modelling Properties<br />

The empirical findings for the structural equations (5)-(8) in the four-simultaneous equation<br />

GCO 2 -agriculture model of Thailand, as estimated by the GMM, are given in the table below.<br />

Conceptually interpreted, Eqts. (5)-(8) can be implicitly regarded as a growth, EKC and food regression<br />

when they are separately estimated by the ordinary least-squares (OLS) or maximum-likelihood (ML)<br />

method. This approach will however produce biased impact or elasticity parameters. More appropriately,<br />

they are regarded as structural equations in a system model with reverse causality or endogeneity and<br />

with appropriate instrumental variables (IV) influence if they are estimated by IV or system methods. As a<br />

result and for statistical consistency in efficient impact studies, an IV estimator such as the 2SLS or a<br />

784


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

system estimator such as the 3SLS or GMM has to be used for this estimation. As mentioned earlier, the<br />

IV in this case are all the exogenous variables explicitly incorporated or assumed (reflecting the<br />

economy’s structure) for the model (see Frankel et al., 1996, for the use of gravity factors only as IV for<br />

this structure). When the OLS or ML is applied separately to Eqts. (5)-(8), endogeneity between Y, CO 2 ,<br />

T, FD, FDP, FDI and SV is not assumed and these variables are also not functionally affected by the IV.<br />

As discussed above, the IV reflect Thailand’s relevant micro and macroeconomic conditioning<br />

environment.<br />

Table 1 Thailand Per Capita CO 2 Emissions-Growth Trade-offs, Food Demand and Food Prices<br />

GCO 2 Modelling in Flexible Structural Form: GMM Estimates, 1993-2008<br />

Endogenous Endogenous EKC Food Demand Food Price<br />

Growth<br />

Const 3.078** 9.478** 3.712** 1.560<br />

CO 2 emissions/POP 0.243** 0.118<br />

Trade/GDP 0.005<br />

FDI/GDP -0.020**<br />

Services/GDP -0.002**<br />

Thailand growth 0.853** 0.192**<br />

Thailand growth deepening -0.050*<br />

Oil price -0.226** -0.012 0.127**<br />

Food price -0.124**<br />

Inflation pressure 0.966**<br />

1997/98 Asia crisis -10.406** -2.756**<br />

Late 1999s reform 9.051** -6.297** -3.829**<br />

Early-2000s reform 2.046** 4.548* 1.968** 4.806**<br />

Crisis late-2000s -0.650 -5.976** 5.259**<br />

R-squared 0.913 0.841 0.882 0.904<br />

DW 2.261 1.955 1.817 2.933<br />

Note: **=Significant at 5%, *=Signigicant at 10%. p-value for the over-identifying restriction test= 0.061.<br />

Judged from the table, the standard statistical performance of the GMM-estimated GCO 2 model for<br />

Thailand’s per capita growth, CO 2 emissions, food consumption and food prices above are acceptable in<br />

terms of the R 2 and DW values, and the over-identifying restriction test. The performance of the model<br />

can also be evaluated further and more appropriately by the Friedman (1953)-Kydland (2006) data-model<br />

realism criterion where the trend gap (or discrepancy) between historical data and model predictions have<br />

to be tight and small. The criterion was advocated earlier by Milton Friedman (1953) in the sense of<br />

model (theory) and reality consistency, but it seems to had been overlooked by modellers and policymakers<br />

alike until recent years. However, the current evidence-based requirement by the IMF, WB and<br />

DAC-OECD agencies for their funded studies can be interpreted as a demand that this modelling realism<br />

criterion be satisfied in policy analysis. This performance is given in Charts 7-10 for Thailand’s observed<br />

785


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

growth, CO 2 emissions, food consumption, food prices, and their GMM-based GCO 2 predictions. A visual<br />

here indicates that the model emulates well the troughs, peaks and turning points of Thailand’s per capita<br />

growth, CO 2 emissions and food demand even during the highly volatile period of late 1990s (the Asia<br />

crisis) to early-2000s (terrorist attacks) and late-2000s (the GFC) in the global economy. Deterministic or<br />

stochastic ex ante simulation or extrapolation of the estimated model for different scenarios of climate<br />

change and energy technology innovation policy analysis, domestic policy reforms, regional and global<br />

crises, and their claimed reliability are based on these substantive findings.<br />

Chart 7 Friedman-Kydland Modelling Performance of Thailand’s Per Capita GDP Growth Rate – GMM<br />

Chart 8 Friedman-Kydland Modelling Performance of Thailand’s Per Capita<br />

CO 2 Emission (Metric Tons) Growth – GMM<br />

Chart 9 Friedman-Kydland Modelling Performance of Thailand’s Per Capita<br />

Food Expenditure Growth – GMM<br />

786


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Chart 10 Friedman-Kydland Modelling Performance of Thailand’s Food Price Growth – GMM<br />

Note to Charts 7-10: YC, YCGF, CO2H, CO2HGF, FD, FDGF, FDP and FDPGF denote respectively Thailand’s actual per<br />

capita growth, its GCO2-GMM predicted value, Thailand’s actual CO 2 per capita emissions, and its GCO 2 -GMM predicted<br />

value, Thailand’s food demand and its GCO 2 -GMM predicted value, and Thailand’s food prices and its GCO 2 -GMM<br />

predicted value.<br />

5. Major Policy Implications for Thailand’s Growth-CO 2 Emission Trade-Off, Food Security, Global<br />

Climate Change, and Regional Co-Operation<br />

This section discusses some major policy implications of our simple GCO 2 model’s substantive<br />

empirical findings for informed climate change analysis and debate. More significantly, it deals with<br />

possible policy uses in the context of Thailand’s CO 2 emissions, growth, food security, food inflation and<br />

risks, energy pricing, regional and global co-operation on climate change and global warming issues, and<br />

crisis management in the face of present and future regional or global economic and financial crises. In<br />

addition, it suggests how these implications can be fruitfully used beyond Kyoto Protocol and towards<br />

Copenhagen Accord 2009 or Cancun 2010. Other important implications include UNFCCC/IPCC<br />

negotiations or economic and trade policy formulation relevant to Thailand’s economic and trade relations.<br />

Thailand’s Growth and CO 2 Emission Trade-Offs Policy in UNFCCC/IPCC Climate Change<br />

Negotiations<br />

As discussed earlier, while the debate on the effects of CO 2 (and related SO 2 , NOx, and other<br />

water pollutant) emissions on climate change and global warming has been extensive (see UNFCCC,<br />

2010, IPCC, 2010, WB, 2010, and cited publications therein), a substantive empirical measurement in a<br />

system framework (see Stern, 1996) and with credible Friedman-Kydland data-model consistency of the<br />

growth-CO 2 emission trade-off including the food sector has not been widely attempted or reported<br />

generally or more specifically in the case of Thailand (see however Liu, 2005 for use of 1975-90 panel<br />

data for industrial CO 2 emissions for 24 OECD countries; Keppler, 2006, for use of Granger bivariate tests<br />

on GDP and oil causality in 10 developing countries; and Yoo and Ku, 2009, in the case of nuclear<br />

energy). Our GCO 2 findings (see Table 1) show a statistically significant positive elasticity of 0.243 per<br />

787


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

capita CO 2 emissions on per capita growth. This is compared to 0.13 in the Liu (2005) study based on the<br />

log-linear production and CO 2 emission functions and OECD panel data. This indicates that in global<br />

(UNFCCC/IPCC)-mandated climate change reduction negotiations, a reduction, for Thailand, of one<br />

percentage point in per capita CO 2 emissions will reduce its per capita growth by only 0.243 per cent.<br />

This is a substantial damage to growth as a result of CO 2 reduction policy of almost twice that to the<br />

OECD, and much more than that when compared to China and Vietnam (Tran Van Hoa, 2009c). The<br />

effect of say one per cent uniformly mandated (if accepted) CO 2 emission reduction policy as predicted in<br />

our study is therefore more painful for Thailand’s growth than the serious economic slow-down suffered<br />

by the 24 OECD countries or China and Vietnam as a result of a similar trade-off in pollution controls<br />

through for example an internationally (e.g., UNFCCC/IPCC) agreed CO 2 emission reduction policy.<br />

Whether a BAU policy is more acceptable here depends on the reaction of the UNFCCC community.<br />

Thailand and Its Endogenous Environmental Kuznets Curve<br />

The empirical GCO 2 findings for Thailand’s endogenous EKC are also given in Table 1. We note<br />

three important results. First, as in most previous studies (see for example Shafik, 1994; Holtz-Eakin and<br />

Selden, 1996; Liu, 2005), there is an increasing linear relation between Thailand’s higher growth and its<br />

higher energy consumption and CO 2 emissions (with a high and significant elasticity of 0.853). Second,<br />

the usual postulate in the EKC that only developed countries such as those in the OECD will attain a<br />

negative impact between their high trigger-off levels of income and subsequent CO 2 emissions is<br />

statistically not confirmed in the case of Thailand, a major developing country in Asia (See similar findings<br />

for China and Vietnam in Tran van Hoa, 2009c). The impact parameter of the squared (or deepening)<br />

income variable in this case is only -0.050 and statistically significant at the 10% level. An important<br />

policy implication is that despite its developing status and political and development problems in recent<br />

years, Thailand’s high economic achievements have resulted remarkably in its efforts to improve<br />

efficiency to some meaningful way in energy usage in its industries. Third, the empirical finding is<br />

statistically consistent and efficient, and robust with different Kydland (2006)-type ‘computational<br />

experiments’ we have carried out in our study.<br />

Thailand’s Growth and Energy Pricing Policy<br />

In our GCO 2 model, oil or energy prices have been incorporated in the endogenous EKC function<br />

to represent the energy-consumption pricing structure of an economy in which energy prices and CO 2<br />

emissions are expected to be highly correlated. The findings in Table 1 show that, over the sample period<br />

1993-2008, there is statistically significant evidence (with the elasticity of -0.226) to lend support to the<br />

hypothesis that Thailand can effectively use its energy pricing policy to control energy consumption and<br />

usage and therefore CO 2 emissions. Oil usage (see Liu, 2005 for justification) had also been specified but<br />

its findings were economically implausible, implying in this case a lack of effective innovation and<br />

adaptation policy in Thailand to reduce CO 2 emissions during the sample period.<br />

788


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Energy, Food Security and Food Inflation in Thailand<br />

The findings given in Table 1 also provide statistical evidence to support the view that, in a<br />

classical demand equation with energy prices as a determinant, high energy prices in Thailand will<br />

adversely affect the country’s food security situation by suppressing its demand but higher growth creates<br />

higher food demand. The direct effects are however small (with an elasticity of -0.012) and statistically<br />

insignificant. If however, higher energy prices are transmitted to higher costs of production and<br />

transportation of foodstuffs and ultimately to food expenditure via higher food prices, then the risk of food<br />

security is also high. The food risk elasticity due to higher food prices in Table 1 is -0.124 and highly<br />

significant.<br />

The finding on the nexus between energy prices and food prices is also given in Table 1. Here,<br />

higher CO 2 emissions and higher energy prices will generate higher food prices although the CO 2<br />

emission impact is not significant. However, higher food prices appear to be chiefly influenced by the<br />

country’s inflationary pressure or, equivalently, high production costs (with a statistically significant<br />

elasticity of 0.966). Higher inflation as transmitted to higher food prices that can dampen demand for food<br />

is another risk for Thailand that needs serious study and consideration.<br />

Thailand’s Growth, CO 2 Emissions, Food Security, Domestic Policy Reform, and Regional and<br />

Global Crises<br />

Unlike other studies on energy and economic development using growth and panel regressions<br />

and the CGE/GTAP methods, the GCO 2 approach and the scope we have adopted in this study<br />

incorporates in the model what has been recommended by the pioneer in CGE modelling (see Johansen,<br />

1982) and others (Edwards, 2007; Cerra and Saxena, 2008), and known as multiple structural change in<br />

the autocorrelation-based cointegration and unit-root literature. This structural change includes regional<br />

crises (the 1997 Asia economic meltdown and the pre-GFC) and domestic policy reforms (e.g., Thailand’s<br />

post-Asia crisis and early-2000s reforms) which we have seen in the charts above as having diverse<br />

effects on growth, CO 2 emissions, food demand and food prices. Our finding confirms the positive<br />

benefits of these reforms on growth, CO 2 emissions, food expenditure and prices. The adverse effects of<br />

other structural change or regional financial crises (e.g., the 1997 Asia crisis) and the ‘soft or pre-GFC’<br />

world market in late 2000s on Thailand’s growth and CO 2 emissions (or production, consumption and<br />

transport activities), as observed, have also been validated in our empirical study. The effects of these<br />

crises and reforms on Thailand’s growth, CO 2 emissions, food demand and food prices are seen to be<br />

much larger than those from global warming, CO 2 emissions, energy prices, inflation and globalisation.<br />

These call for appropriate national policies that can mitigate the impact of crises and global warming, and<br />

that, from a positive side, are conducive to promoting growth, food security, and to reducing food price<br />

explosions to maintain the living standard of the population especially the poor population.<br />

789


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. Conclusion<br />

The study provides a new rigorous quantitative system modelling perspective and credible policy<br />

analysis on the growth-CO 2 emission and food security causality nexus in general and on a major<br />

developing country in Asia, namely Thailand. The so-called endogenous and reverse causality growth<br />

(including food consumption and prices)-energy approach adopted in the study has unique structural and<br />

modelling features and more credible policy outcomes when compared to other conventional growth and<br />

panel regressions and CGE/GTAP studies and analyses, and as evaluated, in addition, by Friedman<br />

(1956)-Kydland (2006) data-model realism or reliability. The substantive or evidence-based findings<br />

provide strong statistical support to the growth-pollution trade-off and appropriate climate change policy in<br />

Thailand and in assessment of its alternative appropriate options in domestic reforms, food security,<br />

energy-induced food inflation, regional crisis mitigation, and global UNFCCC/IPCC climate change debate,<br />

adaptation and negotiations. The study also shows that some pertinent adverse problems with growth,<br />

CO 2 pollution and food supply/demand can be mitigated to some meaningful extent by appropriate<br />

enhanced domestic development, energy and food security policies and regional and international cooperation.<br />

7. References<br />

- Agras, J. and Chapman, D. (1999), “A Dynamic Approach to the Environmental Kuznets<br />

Curve Hypothesis”, Ecological Economics, Vol. 28(2): 267-277.<br />

- Antweiler, W., Copeland, B. R. and Taylor, M. S. (2001), “Is Free Trade Good for the<br />

Environment?”, American Economic Review, 91(4): 877-908.<br />

- Arrow, K., Bolin, B., Costanza, R., Dasgupta, P., Folke, C., Holling, C. S., Jansson, B.-<br />

O., Levin, S., Maler, K.-G., Perrings, C. A., and Pimentel, D. (1995) “Economic Growth,<br />

Carrying Capacity, and the Environment”, Science, 268(5210): 520-521.<br />

- Asian Development Bank (2010), “The Economics of Climate Change in Southeast Asia:<br />

A Regional Review”, http://www.adb.org/economics., accessed 20 April 2010.<br />

- Baier, S L and Bergstrand, J H (2008), “Bonus Vetus OLS: A Simple Method for<br />

Approximating International Trade-Cost Effects using the Gravity Equation”,Journal of<br />

International Economics, Vol. 77(10; 77-85<br />

- Bernanke, B (2010), “Monetary Policy and the Housing Bubble”, American Economic<br />

Association Meeting, 3 Jan 2010, Denver.<br />

- Bruvoll, A., Faehn, T. and Strom, B. (2003), “Quantifying Central Hypotheses on<br />

Environmental Kuznets Curves for a Rich Country: A Computable General Equilibrium<br />

Study”, Scottish Journal of Political Economy, Vol. 52(2): 149-173.<br />

- Cerra, V. and Saxena, S. C. (2008), “Growth Dynamics: The Myth of Economic<br />

Recovery”, American Economic Review, 98(1): 439-57.<br />

- DFAT (2010), http://www.dfat.gov.au/geo/rok/index.html, accessed 20 April 2010.<br />

790


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Easterly, W. (2007), “Was Development Assistance a Mistake?”, American Economic<br />

Association Meeting, 5-7 January 2007, Chicago.<br />

- Edwards, S (2007), “Globalization, Crises and Growth”, 2007 Max Corden Lecture,<br />

11 October 2007, University of Melbourne.<br />

- Eichengreen, B, Rhee, Y and Hui Tong (2007), “China and the Exports of Other Asian<br />

Countries”, Review of World Economics, Vol. 143: 201-226.<br />

- Energy Information Administration (2010), http://www.eia.doe.gov/iea/wecbtu.html,<br />

accessed 20 April 2010.<br />

- Engle, R.F. and Granger, C.W.J. (1987), "Co-integration and Error Correction:<br />

Representation, Estimation and Testing", Econometrica, Vol. 55: 251-276.<br />

- Frankel, J.A., Romer, D. and . Cyrus, T. (1996), “Trade and Growth in East Asian<br />

Countries: Cause and Effect ?”, NBER Working Paper No. 5732, Cambridge, Mass,<br />

August 1996.<br />

- Frankel, J.A. and D. Romer (1999), “Does Trade Cause Growth?”, American Economic<br />

Review, Vol. 89: 379-99.<br />

- Friedman, M. (1953), Essays in Positive Economics, Chicago: Chicago University Press.<br />

- Granger, C.W.J. (1969), “Investigating Causal Relations by Econometric Models and<br />

Cross-Spectral Methods”, Econometrica, Vol. 37: 424-438.<br />

- Guan, D., Hubacek, K. , Weber, C. L., Peters, G. P. and Reiner D. M. (2008), “The<br />

Drivers of Chinese CO 2 Emissions from 1980 to 2030”, Global Environmental Change,<br />

Vol. 18(4): 626-634.<br />

- Hineline, D.R. (2008), “Parameter Heterogeneity in Growth Regression”, Economics<br />

Letters, Vol. 101(2): 126-129.<br />

- Holtz-Eakin, D. and Selden. T. M. (1995), “Stoking the Fires: CO 2 Emissions and<br />

Economic Growth”, Journal of Public Economics, Vol. 57: 85-101.<br />

- IPCC (2010),<br />

http://www.google.com.au/search?q=ipcc+ch+scoping+meeting+AR5+expert+report+scen<br />

arios&channel=linkdoctor, accessed 20 April 2010.<br />

- Jimerez-Rodriguez, R. (2009), “Oil Price Shocks and Real GDP Growth: Testing for<br />

Nonlineairy”, Energy Journal, Vol. 30(1): 1-23.<br />

- Johansen, L. (1982), “Econometric Models and Economic Planning and Policy: Some<br />

Trends and Problems,” in M. Hazewinkle and A. H. G. Rinnooy Kan (eds.), Current<br />

Developments in the Interface: Economics, Econometrics, Mathematics, Boston: Reidel,<br />

1982, 91-122.<br />

- Keppler, J. H., Bourbonnais, R. and Girod, J. (eds.) (2006), The Econometrics of Energy<br />

Systems, London: Palgrave/Macmillan.<br />

- Keppler, J.H. (2006), “Economic Development and Energy Intensity: A Panel Data<br />

Analysis”, in Keppler, J.H., Bourbonnais, R. and Girod, J. (eds.), The Econometrics of<br />

Energy Systems,, London: Palgrave/Macmillan, 2006.<br />

791


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Krueger, A. O. (2007), “Understanding Context and Interlinkagess in Development<br />

Policy: Policy Formulation and Implementation”, American Economic Association<br />

Meeting, 5-7 January 2007, Chicago.<br />

- Kydland, F. E. (2006), “Quantitative Aggregate Economics”, American Economic Review,<br />

Vol. 96(5): 1373-1383.<br />

- Kyrtsou, C., Malliaris, A.G. and Sertellis, A. (2009), Energy Sector Pricing: On the Role<br />

of Neglected Nonlinearity”, Energy Economics, Vol. 31(3): 492-502.<br />

- Levine, R. and Renelt, D. (1992), “A Sensitivity Analysis of Cross-Country Growth<br />

Regressions”, American Economic Review, Vol. 82(4): 942-963.<br />

- Liu, X. (2005), “ Explaining the Relationship between CO 2 Emissions and National<br />

Income – The Role of Energy Consumption”, Economics Letters, Vol. 87: 325-328.<br />

- McMahon, G., Esfahani, H.S. and Squire, L. (eds) (2009), Diversity in Economic Growth,<br />

Cheltenham: Edward Elgar.<br />

- Minier, J. (2007), “Nonlinearities and Robustness in Growth Regressions”, American<br />

Economic Association Meeting, 5-7 January 2007, Chicago.<br />

- Oh, Ilyoung (2008), “Status of Climate Change Policies in South Korea”, in EK2008<br />

Proceedings of the EU-Korea Conference on Science and Technology, Heidelberg:<br />

Springer Verlag, 485-493.<br />

- Otto, G., G. Voss and L Willard (2002), “Understanding OECD Output Correlation”,<br />

Seminar paper, Department of Economics, University of Wollongong, May 2002.<br />

- Romer, D. (1993), “Openness and Inflation: Theory and Evidence”, Quarterly Journal of<br />

Economics, Vol. 108: 869-903.<br />

- Rose, A.K. (2000), “One Money, One Market: The effects of Common Currencies on<br />

Trade”, Economic Policy, Vol. 30: 9-30.<br />

- Ruijven, B. V., Urban, F., Benders, R.M.J., Moll, H.C., Van Der Sluijs, J.P., and Vries, B.<br />

(2008), “ Modelling Energy and Development: An Evaluation of Models and Concepts”,<br />

World Development, Vol. 36(12), 2801-2821.<br />

- Shafik, N. (1994), “Economic Development and Environmental Quality: An Econometric<br />

Analysis”, Oxford Economic Papers, Vol. 46: 757-773.<br />

- Stern, D. I., Common, M. and Barbier, E. (1996), “Economic Growth and Environment<br />

Degradation: The Environmental Kuznets Curve and Sustainable Development”, World<br />

Development. Vol. 24(7): 1151-60.<br />

- Stern, D. I. (2004), “The Rise and Fall of the Environmental Kuznets Curve”, World<br />

Development, Vol. 32(8): 1419-1439.<br />

- Tran Van Hoa (1992a), "Modelling Output Growth: A New Approach", Economic<br />

Letters, Vol. 38: 279-284.<br />

- Tran Van Hoa (1992b) "Energy Consumption in Thailand: Estimated Structure and<br />

Improved Forecasts to 2000" (in Thai), Thammasat Economic Journal (Thailand), Vol.<br />

10: 55-63.<br />

792


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Tran Van Hoa (1992c), "A Multi-equation Model of Energy Consumption in Thailand",<br />

International Journal of Energy Research, Vol. 16: 381-385.<br />

- Tran Van Hoa (1993), "Effects of Oil on Output Growth and Inflation in Developing<br />

Countries: The Case of Thailand 1966:1 to 1991:1", International Journal of Energy<br />

Research, Vol. 17: 29-33.<br />

- Tran Van Hoa (2004), “Korea’s Trade, Growth of Trade and the World Economy in<br />

Post-crisis ASEAN+3 Free Trade Agreement: An Econometric and Policy Analysis,<br />

Journal of the Korean Economy, Vol. 5(2): 73-108.<br />

- Tran Van Hoa (2008), “Australia-China Free Trade Agreement: Causal Empirics and<br />

Political Economy”, Australian Economic Papers, Vol. 27(1): 19-29.<br />

- Tran Van Hoa (2009a), “Impact of Official Development Assistance on Developing<br />

Asia’s Growth: A Substantive Econometric Study for Policy Analysis”,<br />

Journal of Quantitative Economics, forthcoming.<br />

- Tran Van Hoa (2009b), “Impact of the WTO Membership, Regional Economic<br />

Integration and Structural Change on China’s Trade and Growth”,<br />

Review of Development Economics, forthcoming<br />

- Tran Van Hoa (2009c) “CO 2 Emissions and Economic Growth in China”, Seminar Paper,<br />

School of Economics, University of Wollongong, 16 April 2009.<br />

- Tran Van Hoa (with Ironmonger, D.S. and Manning, I.G.) (1983), "Energy Consumption<br />

in Australia: Evidence from a Generalized Working Model", Economics Letters, Vol. 12:<br />

363-389.<br />

- Tran Van Hoa (with Ironmonger, D.S., and Manning, I.G.) (1984a), "Longitudinal<br />

Working Models: Estimates of Household Consumption of Energy in Australia", Energy<br />

Economics, Vol. 6: 41-46.<br />

- Tran Van Hoa (with Ironmonger, D.S., Manning, I.G.) (1984b), "Modelling Consumer<br />

Behaviour: A Power Modulus Transformation Analysis of Metropolitan, Urban and Rural<br />

Consumption of Energy in Australia", in Kissling, C.C., Thrift, N.J., Taylor, M.J. and<br />

Adrian, C (eds.), Papers of the 7th Australian and New Zealand Regional Science<br />

Association Conference, Regional Science Association, Canberra, December 1984.<br />

- Tran Van Hoa (with C. Harvie) (1993), "Long Term Relationships of Major<br />

Macrovariables in a Resource Related Economic Model of Australia: A Cointegration<br />

Analysis", Energy Economics, Vol. 15: 257-262.<br />

- Tran Van Hoa (with C Harvie) (1994), “Oil and Economic Development: The Case<br />

of Indonesia”, The World Oil & Gas Industries in the 21st Century: Conference<br />

Proceedings, United States and International Association for Energy Economics and<br />

Association for Energy Economics, 1994, 472-481.<br />

- World Bank (2010), “Why Have CO 2 Emissions Increased in the Transport Sector in<br />

Asia?”http://www.wds.worldbank.org/external/default/WDSContentServer/IW3P/IB/2009/1<br />

0/27/000158349_20091027103858/Rendered/PDF/WPS5098.pdf, accessed 11 May<br />

793


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2010.<br />

- UNFCCC (2010), http://unfccc.int/documentation/documents/items/3595.php#beg<br />

- USDA (2010), http://www.ers.usda.gov/Data/Macroeconomics/, accessed 20 April 2010.<br />

- Yoo, S-H. and Ku, S-J. (2009), “Causal Relationship between Nuclear Energy<br />

Consumption and Economic Growth: A Multi-country Analysis”, Energy Policy, Vol 37(5):<br />

1905-1913.<br />

794


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิจัยและพัฒนา : ปจจัยสูความสําเร็จในการดําเนินงานคารบอนฟุตพริ้นท<br />

Key Success Factors to Success Carbon Footprint Implementation; Experience of EU<br />

กุลวรางค สุวรรณศรี, ยุวนันท สันติทวีฤกษ และ กฤษดา บํารุงวงศ<br />

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

บทคัดยอ<br />

ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของกาซ<br />

เรือนกระจกโดยเฉพาะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจของมนุษย เปนแรงผลักดันสําคัญที่นําไปสูการ<br />

พัฒนา “คารบอนฟุตพริ้นท” (Carbon Footprint) เพื่อใหเปนเครื่องมือสําหรับการประเมินปริมาณการปลอยกาซ<br />

เรือนกระจกจากภาคการผลิตและบริการ ซึ่งคาคารบอนฟุตพริ้นทที่วัดไดชวยกระตุนใหภาคผลิตหาแนวทาง<br />

ปรับปรุงกระบวนการผลิต ลดการปลอยกาซเรือนกระจก และในขณะเดียวกันก็มีการสื่อสารแสดงคาคารบอนฟุตพ<br />

ริ้นทใหผูบริโภคไดทราบในรูปแบบของ “ฉลากคารบอน” (Carbon Label) เพื่อสรางความตระหนักใหผูบริโภคมีสวน<br />

รวมชวยลดปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เลือกซื้อสินคาที่มีคารบอนฟุตพริ้นทต่ํา โดยที่ผานมา เปนที่<br />

ยอมรับวา กลุมประเทศสหภาพยุโรปเปนผูนําในการดําเนินงานดานคารบอนฟุตพริ้นทมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

ประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ทั้งดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท และการออกฉลากคารบอน ในขณะที่ประเทศอื่นๆ<br />

เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลี แมวาเริ่มมีการดําเนินงานคารบอนฟุตพริ้นไดไมนานนัก<br />

แตมีการพัฒนาที่รวดเร็ว ซึ่งความสําเร็จของประเทศเหลานี้ ลวนแตอาศัยการวิจัยและพัฒนาที่เขมแข็งเปนปจจัย<br />

สําคัญในการพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทและฉลากคารบอน<br />

การศึกษาวิจัยนี้จึงไดประมวลงานวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศเหลานี้ โดยอาศัย<br />

แหลงขอมูลทุติยภูมิ และทําการวิเคราะหสรุปรูปแบบการวิจัยและพัฒนาที่มีผลตอความสําเร็จในการดําเนินงาน<br />

รวมทั้งวิเคราะหเปรียบเทียบกับงานวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยในปจจุบัน ซึ่งผลการศึกษาที่<br />

ไดจะเปนประโยชนตอการกําหนดทิศทางและวางแผนวิจัยและพัฒนา และการดําเนินงานดานคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ของประเทศไทยในระยะตอไป<br />

คําสําคัญ : คารบอนฟุตพริ้นท ฉลากคารบอน สหภาพยุโรป ปจจัยแหงความสําเร็จ<br />

Abstract<br />

A rapid increase of greenhouse gas from the human activities and industries affects directly to<br />

the climate change. This effect has led to the development of carbon footprint as a measuring tool. The<br />

number of total carbon footprint released to the atmosphere throughout each product life cycle is shown<br />

as a carbon label. The label can enhance consumer awareness on environmental changes. An<br />

acceptance of low carbon footprint leads to an improvement of producers’ manufacturing activities to<br />

795


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

mitigate the quantity of greenhouse gas. European Union is accepted as a leader to develop the carbon<br />

footprint activities such as measurement technique, evaluation, and labeling. Meanwhile, there has been<br />

a rapid growth of carbon footprint activities in USA, Australia, New Zealand, Japan and Korea. Research<br />

and Development is agreed as one of the key success factors.<br />

This study reviews global status on carbon footprint R&D projects compared to Thailand. A suitable R&D<br />

model and policy recommendation for Thailand is also provided.<br />

1. ความสําคัญ<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น เปนปญหาระดับโลกที่มีสาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นอยาง<br />

รวดเร็วของกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจของมนุษย ทําใหสังคมโลก<br />

พยายามหาแนวคิดที่ชวยบรรเทาและลดการปลอยกาซเรือนกระจก แนวคิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจและกลาวถึง<br />

อยางกวางขวางคือการแสดงคา “คารบอนฟุตพริ้นท” (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑสินคาและบริการ ซึ่งเปน<br />

ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในรูปของคารบอนไดออกไซด (เทียบเทา) ที่ครอบคลุมตลอดวัฏจักรชีวิตของ<br />

ผลิตภัณฑ ตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบจนถึงการกําจัดการซากผลิตภัณฑหลังใชงาน โดยคาดหวังวา คาคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทที่วัดไดชวยกระตุนใหภาคอุตสาหกรรมและการคา หาแนวทางปรับปรุงกระบวนการผลิต ลดการปลอย<br />

กาซเรือนกระจก รวมมือรับกันผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สนับสนุนใหมีการสื่อสาร<br />

ขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทใหผูบริโภคไดทราบในรูปแบบของ “ฉลากคารบอน” (Carbon Label) เพื่อสรางความ<br />

ตระหนักใหประชาชนผูบริโภคมีสวนรวมชวยลดปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตัดสินใจเลือกซื้อสินคา/<br />

บริการที่สงผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศนอยที่สุด และนําพาสังคมโลกไปสูการเปนเศรษฐกิจคารบอนต่ํา (Low<br />

carbon Economy) ในที่สุด<br />

ที่ผานมา เปนที่ยอมรับวาสหภาพยุโรปเปนกลุมประเทศที่เปนผูนําในการดําเนินงานดานคารบอน<br />

ฟุตพริ้นท โดยเริ่มมีการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทบนผลิตภัณฑครั้งแรกในสหราชอาณาจักรเมื่อป 2550 จากนั้น<br />

การติดฉลากก็แพรหลายไปทั่วยุโรป สวนประเทศอื่นๆ เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน เกาหลีใต และไตหวัน<br />

แมวาเริ่มดําเนินงานดานคารบอนฟุตพริ้นทไดไมนานนัก แตมีการพัฒนาที่รวดเร็วภายในชวงเวลาสั้นๆ ซึ่งหาก<br />

วิเคราะหความสําเร็จทั้งดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท และการดําเนินการติดฉลากคารบอนของประเทศ<br />

เหลานี้ พบวาการวิจัยและพัฒนาที่เขมแข็งเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ชวยสรางความรูและเตรียมขอมูลที่จําเปน<br />

ตอการพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทและการออกฉลากคารบอน<br />

การศึกษาวิจัยนี้จึงวิเคราะหใหเห็นทิศทางและแนวโนมการวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นทของ<br />

ตางประเทศ พรอมทั้งเปรียบเทียบกับสถานภาพงานวิจัยของประเทศไทย ซึ่งผลการศึกษาที่ไดจะเปนประโยชนตอ<br />

การวางแผนวิจัยและพัฒนา และการพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยใหกาวทันกับตางประเทศ<br />

2. วัตถุประสงค<br />

1) เพื่อวิเคราะหทิศทางและแนวโนมการวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศ<br />

2) เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบการวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศกับประเทศไทย<br />

796


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การวิเคราะหทิศทางและแนวโนมการวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศ เปนการ<br />

วิเคราะหเชิงบรรยาย (Descriptive Analysis) โดยอาศัยการประมวลขอมูลและขอคิดเห็นจากแหลงขอมูลทุติยภูมิที่<br />

ประกอบดวย เอกสารงานวิจัยจากฐานขอมูลวิจัย ScienceDirect แผนงานวิจัยและพัฒนาของประเทศตางๆ และ<br />

หนวยงาน/องคกรที่เกี่ยวของ<br />

ขอมูลการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย รวบรวมจากฐานขอมูลงานวิจัยของหนวยงานวิจัยที่มีการ<br />

สนับสนุนงานวิจัยและดําเนินงานวิจัยดานคารบอนฟุตพริ้นท ไดแก สวทช. สกว. และและมหาวิทยาลัยตางๆ<br />

รวมทั้งองคกรเอกชนที่เกี่ยวของ<br />

4. ผลการศึกษา<br />

4.1 แนวโนมและทิศทางการวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศ<br />

ปจจุบันมีหลายประเทศ เชน สหราชอาณาจักร เยอรมันนี สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน เกาหลีใต และ<br />

ไตหวัน ที่เริ่มมีการดําเนินการออกฉลากคารบอนสําหรับใชครอบคลุมผลิตภัณฑทุกชนิด เชน สินคาอุปโภคบริโภคที่<br />

ใชในชีวิตประจําวัน เครื่องใชไฟฟา วัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม จากการศึกษา พบวาประเทศเหลานี้ใหความสําคัญ<br />

อยางยิ่งกับการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางความสามารถดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท หากประมวลสถานภาพ<br />

งานวิจัยในปจจุบัน พบวาวิจัยดานนี้จําแนกไดเปน 4 กลุม ตามวัตถุประสงคของการศึกษา ไดแก 1) งานวิจัยเพื่อเพิ่ม<br />

ความสามารถดานการประเมิน 2) งานวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคาและบริการ 3)<br />

งานวิจัยเพื่อประยุกตใชประโยชนคารบอนฟุตพริ้นท และ 4) งานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการสื่อสารตอสังคม โดยแต<br />

ละกลุมวิจัยมีรายละเอียด แนวโนมและทิศทางการวิจัยดังนี้<br />

กลุมที่ 1 งานวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ประกอบดวย การวิจัยเพื่อพัฒนาฐานขอมูลวัฏจักรชีวิตของวัสดุพื้นฐานและพลังงาน (Life Cycle<br />

Inventory: LCI) และการวิจัยพัฒนาวิธีการ/มาตรฐานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ซึ่งเปนงานวิจัยสําคัญที่ชวยให<br />

การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส รวดเร็ว และเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ<br />

งานวิจัยกลุมนี้สวนใหญริเริ่มโดยหนวยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาครัฐเปนผูสนับสนุนงบประมาณวิจัยใหแก<br />

สถาบันการศึกษา บริษัทที่ปรึกษา และองคกรเอกชนเปนผูทําการวิจัย เนื่องจากภาครัฐตองการฐานขอมูลและวิธีการ<br />

ประเมินที่เปนมาตรฐานของประเทศ<br />

: การวิจัยเพื่อพัฒนาฐานขอมูล LCI ปจจุบันใหความสําคัญกับการจัดทํามาตรฐาน LCI ใหเปน<br />

มาตรฐานเดียวกัน (harmonized LCI data sets) โดยเฉพาะประเทศในกลุมสหภาพยุโรป มีการแลกเปลี่ยนและ<br />

เชื่อมโยงฐานขอมูล LCI ไวดวยกัน เรียกวา “European Reference Life Cycle Data System ELCD” ที่พรอม<br />

เผยแพรสูสาธารณะและสามารถเขาถึงไดงาย มีการพัฒนาโปรแกรมสําหรับประเมินคาคารบอนฟุตพริ้นท<br />

(European Carbon calculator) ที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และงายตอการปรับใช ในขณะที่การวิจัยพัฒนาฐานขอมูล<br />

LCI ของประเทศในเอเชีย เชน ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน เริ่มตนชากวาประเทศในสหภาพยุโรป แตจากความ<br />

ตองการใชฐานขอมูลที่มีมากขึ้น เนื่องจากเอเชียเปนแหลงผลิตวัตถุดิบสําคัญของโลก จึงทําใหเอเชียมีความรวมมือ<br />

ดานเทคนิคและแลกเปลี่ยนขอมูล LCI ระหวางประเทศในกลุม โดยมีประเทศญี่ปุนเปนแกนนําหลักในการพัฒนา<br />

ฐานขอมูล LCI ของภูมิภาค<br />

797


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

: การศึกษาและพัฒนาวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ประเทศที่ศึกษาและพัฒนาวิธีการตรวจ<br />

ประเมินเปนกลุมแรก ไดแก ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักร โดยเนนการวิจัยพัฒนาวิธีการประเมินตามหลัก LCA<br />

ซึ่งประเทศเหลานี้ไดประยุกตและพัฒนาวิธีการคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทของตนเอง ไดแก Bilan Carbone®,<br />

Climate declaration และ BSI PAS 2050 รวมถึง GHG Protocol ซึ่งเปนวิธีการที่พัฒนาโดยองคกรภาคเอกชน<br />

แตจากขอจํากัดที่วิธีการประเมินตามหลัก LCA คอนขางซับซอน และไมสามารถใหภาพการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

ในภาพกวางของทั้งระบบเศรษฐกิจ จึงมีการวิจัยพัฒนาวิธีการประเมินที่ประยุกตใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรมา<br />

ชวยในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทอีกทางหนึ่ง โดยปจจุบันการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการประเมินมี 3 วิธี ดังนี้<br />

1) วิธีประเมินที่พัฒนามาจากการประเมินกระบวนการผลิตตลอดวัฏจักรชีวิต (Process-based LCA)<br />

เปนแนวทางที่หนวยงานทั่วโลกใชมากที่สุด เนื่องจากไดขอมูลที่ละเอียดและสามารถนําไปใชตัดสินใจลดการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตไดดี แตเนื่องจากผลิตภัณฑและบริการตางๆ มีจํานวนมากและมีความ<br />

หลากหลาย การวิจัยและพัฒนาในปจจุบันจึงมุงไปที่การพัฒนามาตรฐานวิธีการคํานวณที่เหมาะสมกับแตละกลุม<br />

ผลิตภัณฑสินคา รวมทั้งการพัฒนา PCR เพื่อใหการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของแตละผลิตภัณฑอยูภายใตระเบียบ<br />

เดียวกัน โดยสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรเปนสินคาที่ประเทศพัฒนาแลวใหความสําคัญ เนื่องจากประเทศกลุม<br />

นี้ตองนําเขาผลิตภัณฑอาหารจํานวนมากจากประเทศกําลังพัฒนา ประกอบกับไดรับแรงกดดันจากแนวคิดเรื่อง Food<br />

mileage แตเนื่องจากสินคาเกษตรมีความซับซอนทั้งในเรื่องขั้นตอนการปลูกพืช พันธุ ระบบการเพาะปลูก การจัดการ<br />

ระหวางปลูก การเก็บเกี่ยว และพื้นที่ปลูก รวมถึงมีวัสดุพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการเกษตรจํานวนมาก เชน ปุย วัสดุปลูก<br />

ฯลฯ การวิจัยพัฒนาวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทใหครอบคลุมและเหมาะสมกับชนิดผลิตภัณฑสินคาเกษตรทุก<br />

ประเภทจึงเปนเรื่องที่ตองใชเวลา งานวิจัยและพัฒนาวิธีประเมินในชวงแรกจึงมุงไปที่การประเมินปจจัยที่สงผลกระทบ<br />

ตอการปลอยกาซเรือนกระจกหลักๆ เชน การผลิตปุย การจัดการปุยคอก การปลอย N 2 O จากการผลิตปุยสังเคราะห<br />

ฯลฯ จากนั้นจึงจึงเริ่มมีการพัฒนาการประเมินใหมีความถูกตองและเปนมาตรฐานมากยิ่งขึ้น<br />

2) วิธีประเมินที่พัฒนามาจากการประเมินดวยแบบจําลอง Economic Input Output (EIO)<br />

เปนการใหภาพการปลอยกาซเรือนกระจกโดยรวมของทั้งระบบเศรษฐกิจ วิธีการนี้มีจุดเดนที่การคํานวณทํา<br />

ไดรวดเร็ว มีตนทุนต่ํา ใหภาพของการผลิตและบริโภคที่เกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เปรียบเทียบการปลอยมลพิษ<br />

จากสินคาตางชนิดได เชน เปรียบเทียบการปลอยมลพิษจากการปลูกขาวกับการผลิตเหล็ก แตไมสามารถเปรียบเทียบ<br />

ภายในสินคาชนิดเดียวกันได อยางไรก็ตาม เนื่องจากการประเมินวิธีนี้เริ่มมีการศึกษาวิจัยมาไมนาน (ในชวงป 2550-<br />

2552) ทําใหยังตองการการปรับปรุงอีกมาก โดยเฉพาะดาน 1) คุณภาพฐานขอมูล 2) ความไมสอดคลองกันของ<br />

ขอมูลแตละประเทศ และ 3) ความแมนยําของแบบจําลอง (Model) อยางไรก็ตาม ปจจุบันมีการวิจัยนําวิธีประเมิน<br />

คารบอนฟุตพริ้นทดวยการแบบจําลองปจจัยการผลิต-ผลผลิต มาคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อใชเปน<br />

ขอมูลในการกําหนดนโยบายมากขึ้น เชน UNFCCC นําวิธีประเมินนี้มาใชคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกจาก<br />

การบริโภคในระดับประเทศ เพื่อขอมูลที่ไดนํามาใชกําหนดนโยบายระหวางประเทศ เปนตน<br />

3) วิธีประเมินและมาตรฐานที่พัฒนามาจากการประเมินดวยแบบจําลอง Hybrid-EIO-LCA<br />

ในป 2549 Heijungs and Suh เสนอวิธีการประเมิน Carbon Footprint แบบใหม ที่เรียกวา “Hybrid-EIO-LCA”<br />

โดยรวมเอาขอดีของวิธีประเมินดวยหลัก LCA และ EIO ไวดวยกัน วิธีการนี้วิเคราะหภาคการผลิตดวยวิธีการ LCA<br />

สวนภาคการบริโภคใชการวิเคราะหดวย EIO โดยการศึกษาวิจัยสวนใหญเปนการประยุกตใช Hybrid-EIO-LCA<br />

ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกของเมือง/ชุมชนตางๆ แตเนื่องจากวิธีการนี้เพิ่งเริ่มมีการศึกษาไมนาน จึงยัง<br />

ตองการการพัฒนาเพิ่มเติม ตัวอยางการศึกษาวิจัย เชน สหรัฐอเมริกา (ป 2551) ศึกษาการปลอยกาซเรือนกระจกของ<br />

เมือง Denver รัฐ Colorado สหรัฐอเมริกา โดยใชหลัก Hybrid-EIO-LCA การประเมินปริมาณการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกจากการบริโภคอาหารใชฐานขอมูล EIO สวนการปลอยกาซเรือนกระจกจากการคมนาคมขนสงทางบก การใช<br />

798


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พลังงานในอาคาร/อุตสาหกรรมใชหลัก LCA ซึ่งการใชหลัก Hybrid-EIO-LCA เชนนี้ชวยใหประเมินการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกในระดับเมืองมีความถูกตองมากขึ้น เนื่องจากเปนการประเมินที่คํานึงทั้งภาคการผลิตและบริโภค<br />

โดยสรุปแลว กลุมงานวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท งานวิจัยยังคงมุงไปที่<br />

การเตรียมฐานขอมูล LCI และการประเมินดวยวิธีการ LCA ในขณะที่งานวิจัยดานการประเมินดวยวิธี EIO และ Hybrid<br />

EIO-LCA มีจํานวนงานวิจัยอยูไมมากนักเนื่องจากงานวิจัยดานนี้ยังอยูในระยะเริ่มตน (รูปที่ 1)<br />

(จํานวนงานวิจัย)<br />

700<br />

จํานวนงานวิจัยเพื่อสรางความสามารถดานการประเมิน Carbon Footprint<br />

ระหวางป 2543-2553<br />

600<br />

635<br />

500<br />

400<br />

300<br />

312<br />

200<br />

100<br />

28 17<br />

0<br />

การเตรียม<br />

ฐานขอมูล LCI<br />

การประเมิน<br />

ดวย LCA<br />

การประเมิน<br />

ดวย EIO<br />

1 2 3 4<br />

การประเมินดวย<br />

Hybrid EIO-LCA<br />

รูปที่ 1 จํานวนงานวิจัยเพื่อสรางความสามารถดานการประเมิน Carbon Footprint<br />

ระหวางป 2543-2553 จําแนกตามกลุมงาน<br />

ที่มา: สืบคนจากฐานขอมูลงานวิจัย ScienceDirect (เม.ย. 2553)<br />

กลุมที่ 2 งานวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการ<br />

การวิจัยและพัฒนากลุมนี้จําเปนตองอาศัยความรูในหลายสาขาในการพัฒนาเทคโนโลยี/วิธีลดการปลอยกาซ<br />

เรือนกระจก จากการศึกษา สรุปประเด็นที่เกี่ยวของกับการลดการปลอย CO 2 ตามกลุมประเภทผลิตภัณฑหรือบริการที่<br />

เปนประโยชนตอประเทศไทยไดดังนี้<br />

: ผลิตภัณฑเกษตรและอาหาร<br />

จากขอมูลงานวิจัยของกลุมสหภาพยุโรป บงชี้วาการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตวเปนกระบวนการที่ปลอย กาซ<br />

เรือนกระจกมากที่สุดตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑเกษตรและอาหาร การวิจัยศึกษาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

สวนใหญจึงมุงไปที่การปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงกระบวนการดังกลาว โดยในอนาคต เมื่อจํานวนประชากรและความ<br />

ตองการอาหารเพิ่มขึ้น การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวตองดําเนินการภายใตแนวคิด 1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยไม<br />

สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2) การผลิตภายใตทรัพยากรที่จํากัด ใชประโยชนสูงสุดและบริโภคตามความจําเปน<br />

799


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

มากกวาความตองการ นอกจากนี้ ยังพบวางานวิจัยเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกในกลุมผลิตภัณฑเกษตรและ<br />

อาหาร มุงไปที่ภาคปศุสัตวมากกวาการเพาะปลูก โดยเฉพาะกาซเรือนกระจกจากการเลี้ยงสัตวเคี้ยวเอื้อง อาหารเลี้ยง<br />

สัตว การใชปุยเคมีหรือสารเคมีในการปลูกพืชอาหารสัตวและการเลี้ยงสัตว และการใชพลังงานในการเลี้ยงและขนสง<br />

เปนตน<br />

: ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม<br />

การศึกษาวิจัยเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกรจะกจากภาคอุตสาหกรรมมุงไปที่เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน<br />

(energy efficiency) การใชพลังงานทดแทน การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและน้ํา การหาสารชีวภาพ<br />

ทดแทนการใชสารเคมี เปนตน<br />

กลุมที่ 3 งานวิจัยเพื่อประยุกตใชประโยชนคารบอนฟุตพริ้นท<br />

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การผลิต/ซื้อขายสินคาและบริการ กิจกรรมการพัฒนาและใชเทคโนโลยี นอกจาก<br />

ตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดทางเศรษฐกิจและสังคมแลว ยังตองเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การประเมิน<br />

คารบอนฟุตพริ้นทนอกจากมีวัตถุประสงคเพื่อใหไดขอมูลสําหรับแสดงปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของสินคา/<br />

บริการตอผูบริโภค และบงชี้ขั้นตอนที่ควรลดการปลอยกาซเรือนกระจกแลว ปจจุบันคารบอนฟุตพริ้นทยังถูก<br />

ประยุกตใชเปน 1) ตัวชี้วัดการจัดการมลพิษและสิ่งแวดลอม จากการใชเทคโนโลยี/นโยบายใหม และ 2) ขอมูล<br />

เปรียบเทียบความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของกิจกรรมที่สังคมมีขอสงสัย เพื่อใหมีขอมูลการตัดสินใจเชิงนโยบาย<br />

: การประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนตัวชี้วัดการจัดการมลพิษและสิ่งแวดลอม จากการใช<br />

เทคโนโลยี/ นโยบายใหม<br />

เปนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้น หากมีการปรับเปลี่ยนนโยบาย หรือพัฒนา<br />

เทคโนโลยีใหม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสังคม โดยใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนตัวชี้วัด ผลการวิจัยชวย<br />

ในการกําหนด/ตัดสินใจเชิงนโยบาย เชน ประเทศเดนมารกศึกษาผลกระทบของระบบผลิตสินคาภายใตกระแส<br />

โลกาภิวัฒน (globalised manufacturing system) ที่คาดวาจะมีตอคารบอนฟุตพริ้นท ในกรณีการยายฐานการผลิต<br />

สินคาจากประเทศอังกฤษหรือเดนมารกไปยังประเทศจีน โดยใชวิธีการวิเคราะห input-output analysis คํานวณ<br />

คารบอนฟุตพริ้นท<br />

: การเปรียบเทียบคาคารบอนฟุตพริ้นทของกิจกรรมที่สังคมมีขอสงสัย หรือตองการเปรียบเทียบ<br />

เพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย<br />

การวิจัยกลุมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของสินคา/บริการ โดยใชคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทเปนเครื่องมือชี้วัด ซึ่งขอมูลที่ไดชวยในการตอบขอสงสัยของสังคม เชน การวิจัยเปรียบเทียบ<br />

คารบอนฟุตพริ้นทของเชื้อเพลิงหุงตมแตละประเภท บานที่สรางจากวัตถุดิบที่แตกตางกัน สารทําความเย็นที่ตางชนิด<br />

กัน หรือใชในการตัดสินใจเชิงนโยบาย เชน การสงเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพที่ผลิตจากวัตถุดิบที่ไมใชอาหาร การวางแผน<br />

เพื่อจัดทําระบบสําหรับน้ําอุปโภคและสาธารณสุขพื้นฐานสําหรับเขตเทศบาล/เมือง การพัฒนาเมืองปลอดคารบอน<br />

(Carbon neutral) เปนตน อยางไรก็ตาม เงื่อนไขของการเปรียบเทียบตองอยูภายใตขอบเขตการประเมิน (Boundary<br />

system) ที่เหมือนกัน เชน ตั้งแตการผลิตวัตถุดิบจนถึงการจัดการซาก/ของเสีย (cradle to grave) หรือตั้งการการผลิต<br />

วัตถุดิบจึงถึงผลิตเสร็จพรอมใชงาน (cradle to gate) เปนตน<br />

นอกจากนี้ จากกระแส Food miles ซึ่งเปนแนวคิดที่เกิดจากความตองการลดการปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด ที่เกิดจากการขนสงสินคาเกษตรและอาหารจากตางประเทศที่อยูหางไกล สูกลุมประเทศสหภาพ<br />

ยุโรปเนื่องจากภาคการขนสงมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจํานวนมาก ซึ่งแนวคิดนี้อาจนําไปสูการซื้อสินคา<br />

เกษตรและอาหารภายในสหภาพยุโรปดวยกัน กลุมประเทศผูสงออกสินคาเกษตรไปยังสหภาพยุโรปจึงใหความสําคัญ<br />

กับการวิจัยศึกษาเปรียบเทียบการปลอยกาซเรือนกระจกของสินคาเกษตรและอาหารที่ผลิตในประเทศของตนกับที่ผลิต<br />

จากประเทศกลุมสหภาพยุโรป โดยการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทครอบคลุมตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ อาทิเชน<br />

800


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประเทศนิวซีแลนด แมวายังไมไดมีการเปรียบเทียบคารบอนฟุตพริ้นทโดยตรง แตเริ่มมีการวิจัยเปรียบเทียบการปลอย<br />

คารบอนไดออกไซดของผลิตภัณฑเกษตรและอาหารที่เปนสินคาสงออกหลักไปยังสหภาพยุโรปกับผลิตภัณฑประเภท<br />

เดียวกันที่ผลิตในประเทศอังกฤษ และในอนาคต นิวซีแลนดมีแผนวิจัยที่จะเปรียบเทียบคารบอนฟุตพริ ้นทของการ<br />

ขนสงสินคาเกษตรและอาหารระหวางทางเรือและเครื่องบิน และรายละเอียดการปลดปลอยของการเก็บรักษาสินคาใน<br />

หองเย็น ซึ่งเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับการขนสงสินคา เพื่อใหไดขอมูลสําหรับการพัฒนารูปแบบการขนสงสินคาที่<br />

เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากที่สุด และชวยแกไขปญหากีดกันสินคาเกษตรและอาหารในอนาคต ซึ่งการวิจัยเปรียบเทียบ<br />

รูปแบบการขนสงสินคาเกษตรและอาหารเปนประเด็นที่มีการศึกษาวิจัยอยางกวางขวางในสหภาพยุโรปเชนกัน<br />

กลุมที่ 4 งานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการสื่อสารตอสังคม<br />

ขอมูลสํารวจผลการตอบรับ/ความคิดเห็นของสังคมเปนสิ่งที่จําเปนตอการกําหนดนโยบาย<br />

คารบอนฟุตพริ้นททั้งในระดับรัฐและระดับองคกร เพื่อใหกําหนดนโยบายบนพื้นฐานของขอมูลจริง และไดรับการ<br />

ยอมรับเมื่อนําไปปฏิบัติ ที่ผานมา การศึกษาวิจัยเพื่อสํารวจผลตอบรับ/ความคิดเห็นของสังคมจึงเปนงานที่นานา<br />

ประเทศใหความสําคัญและมีการศึกษาวิจัยอยางกวางขวาง จากการประมวลขอมูลงานวิจัยในตางประเทศ พบวา<br />

งานวิจัยเพื ่อวัดการตอบรับ/ความคิดเห็นของสังคมในปจจุบันแบงไดเปน 3 กลุม ไดแก 1) งานวิจัยสํารวจผลตอบ<br />

รับของสังคมตอสินคาที่ติดฉลากคารบอน 2) งานวิจัยพัฒนาวิธีการสื่อสาร/สรางความตระหนักตอสังคม รวมทั้ง 3)<br />

งานวิจัยวัดการยอมรับของสังคม/องคกรที่มีตอวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท<br />

: งานวิจัยสํารวจผลตอบรับของสังคมตอสินคาที่ติดฉลากคารบอน<br />

งานวิจัยสวนใหญเปนการดําเนินงานโดยภาคเอกชน เปนการสํารวจเพื่อประเมินทัศนคติ/ผลตอบรับของ<br />

ผูบริโภคตอผลิตภัณฑที่ติดฉลากคารบอน (Commercial studies) ผลการวิจัยที่ไดมักใชเปนขอมูลสําหรับวางแผน<br />

การตลาดหรือสรางภาพลักษณของบริษัท (Corporate Social Responsibility) เชน งานวิจัยของบริษัท Boots,<br />

PepsiCo, TESCO เปนตน สวนภาครัฐใหความสําคัญกับการประเมินความคิดเห็นที่มีตอรูปแบบ/ขอมูลที่ตองการ<br />

สื่อสารของฉลาก รวมทั้งการประเมินทัศนคติและพฤติกรรมของผูบริโภคที่เปลี่ยนไป เพื่อนําขอมูลที่ไดไปใช<br />

ปรับเปลี่ยนแนวนโยบาย/โครงการฉลากคารบอน ใหสอดคลองกับพฤติการบริโภคและความสนใจจากผูบริโภคมากขึ้น<br />

: งานวิจัยพัฒนาวิธีการสื่อสาร/สรางความตระหนักตอสังคม<br />

งานวิจัยกลุมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวัดทัศนคติของผูบริโภคที่เปลี่ยนไปหลังจากไดรับทราบขอมูลการปลอย<br />

กาซเรือนกระจกของสินคาแตละประเภทผานสื่อประเภทตางๆ เชน เว็บไซต หนังสือพิมพ อยางไรก็ดี มีงานศึกษา<br />

หลายโครงการที่ชี้ใหเห็นถึงขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได หากมุงเนนสื่อสารผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกเพียงอยางเดียว เนื่องจากผูบริโภคเกิดความสับสนและไมรูวาควรปฏิบัติตนอยางไร เพื่อชวย<br />

แกปญหาสิ่งแวดลอมหรือปญหาสังคมอื่นๆ<br />

: งานวิจัยวัดการยอมรับของสังคม/องคกรที่มีตอวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท<br />

งานวิจัยกลุมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจาก<br />

ปจจุบัน หรือหาขอตกลงเลือกวิธีการ/ขอบเขตการประเมินรวมกัน ทั้งนี้ จากการประมวลขอมูล พบวางานวิจัยกลุมนี้มีอยู<br />

ไมมากนัก ตัวอยางเชน สถาบัน Sustainable Consumption Institute (SCI) มหาวิทยาลัย Manchester รวมกับ<br />

มหาวิทยาลัย Minnesota ประเทศอังกฤษ (ป2550) สํารวจความคิดเห็นผูเชี่ยวชาญนานาชาติ รวมกับทบทวน<br />

วรรณกรรม (literature review) วิธีประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่ใช ณ ขณะนั้น (2550) เพื่อเปนขอมูลสนับสนุนการ<br />

พัฒนามาตรฐาน PAS2050 ผลการศึกษาสรุปวา วิธีการประเมินที่เหมาะสมกับมาตรฐาน PAS ซึ่งมีการใชงานที่<br />

หลากหลาย ไมใช Process LCA แตเปนวิธี Input output (IO) LCA และ Hybrid LCA ซึ่งเปนวิธีการประเมินที่ใชทั้ง<br />

หลัก LCA และการใช IO LCA รวมกัน<br />

จากการประมวลขอมูลงานวิจัยตางประเทศ ชี้ใหเห็นวา ตางประเทศมีงานวิจัยที่ครอบทั้งในเรื่องของการสราง<br />

ความสามารถในการประเมิน การลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการ<br />

801


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเพื่อตอบขอสงสัยของสังคมและตัดสินใจเชิงนโยบาย รวมถึงการศึกษาการตอบรับ<br />

ของสังคม/องคกร แตหากพิจาณาถึงลําดับความสําคัญ พบวาในชวง 10 ปที่ผานมา งานวิจัยและพัฒนาดานคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทมุงไปที่การสรางความสามารถในการประเมิน และการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ<br />

สินคา/บริการ เปนลําดับแรก ดังเห็นไดจากจํานวนงานวิจัยที่มากกวากลุมอื่นๆ (รูปที่ 2) ในขณะที่งานวิจัยดานการ<br />

ประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเพื่อตอบขอสงสัยของสังคมและกําหนดนโยบาย และการวิจัยเพื ่อพัฒนากระบวนการ<br />

สื่อสารตอสังคม ยังมีจํานวนไมมากนัก ทั้งนี้ เนื่องจากการพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศตางๆ สวนใหญเริ่มตน<br />

ขึ้นไมนานนัก การดําเนินงานยังคงเปนเรื่องของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑตางๆ และการลดการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจก<br />

(จํานวนงานวิจัย)<br />

1,400<br />

จํานวนงานวิจัยดาน Carbon Footprint ระหวางป 2543-2553<br />

1,200<br />

1,000<br />

800<br />

992<br />

1,169<br />

600<br />

400<br />

200<br />

0<br />

งานวิจัยเพื่อเพิ่ม<br />

ความสามารถดาน<br />

การประเมิน<br />

งานวิจัยเพื่อลด<br />

การปลอย GHG<br />

1 2 3 4<br />

53<br />

งานวิจัยเพื่อ<br />

ประยุกตใชประโยชน<br />

Carbon Footprint<br />

รูปที่ 2 จํานวนงานวิจัยดาน Carbon Footprint ระหวางป 2543-2553<br />

จําแนกตามกลุมวัตถุประสงคของการวิจัย<br />

ที่มา: สืบคนจากฐานขอมูลงานวิจัย ScienceDirect (เม.ย. 2553)<br />

77<br />

งานวิจัยเพื่อพัฒนา<br />

กระบวนการสื่อสาร<br />

ตอสังคม<br />

4.2 ผลวิเคราะหเปรียบเทียบการวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศกับประเทศไทย<br />

ผลการศึกษาพบวา งานวิจัยของประเทศไทยมุงไปที่การวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถดานการประเมิน คารบอน<br />

ฟุตพริ้นทเปนสวนใหญ โดยเฉพาะในกลุมผลิตภัณฑสินคาอาหารที่เปนสินคาสงออกหลักของประเทศ ในขณะที่มี<br />

งานวิจัยอีกจํานวนไมนอย ที่แมวามีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาพลังงานและสิ่งแวดลอม แตงานวิจัยดังกลาวเองก็<br />

สอดรับกับการลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการ อยางไรก็ดี จากการรวบรวมขอมูล พบวา<br />

ประเทศไทยมีงานวิจัยการประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนขอมูลตอบขอสงสัยของสังคมหรือการตัดสินใจเชิง<br />

นโยบายตางๆ อยูไมมากนัก และยังไมมีงานวิจัยเพื่อวัดการตอบรับของสังคมที่มีตอคารบอนฟุตพริ้นทและฉลาก<br />

คารบอน ทั ้งนี้อาจเนื่องมาจากงานวิจัยคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยยังอยูในระยะเริ่มตน<br />

สถานภาพการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยดานคารบอนฟุตพริ้นท ตามการจัดกลุมวิจัยและพัฒนาของ<br />

ตางประเทศทั้ง 4 กลุม เปนดังนี้<br />

802


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

กลุมที่ 1 งานวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถดานการวิเคราะหคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ปจจุบันการวิจัยจัดเตรียมฐานขอมูล LCI ของประเทศไทยมีการพัฒนาที่รวดเร็ว ถึงแมเริ่มตนชากวา<br />

ประเทศอื่นๆ เนื่องจากประเทศไทยมีการรวมมือเปนเครือขายวิจัยระหวางภาครัฐ อุตสาหกรรม และ<br />

สถาบันการศึกษา รวมถึงมีความรวมมือกับตางประเทศ อาทิ ประเทศญี่ปุน และสหภาพยุโรป โดยปจจุบัน<br />

(กุมภาพันธ 2553) ประเทศไทยมีฐานขอมูลที่ดําเนินการแลวเสร็จในระดับ Gate to Gate จํานวน 331 ฐานขอมูล<br />

และอยูระหวางการจัดทําฐานขอมูลอีก 73 ฐานขอมูล ครอบคลุม 10 กลุมผลิตภัณฑหลัก ไดแก ผลิตภัณฑจากกาซ<br />

ธรรมชาติ ผลิตภัณฑจากโรงกลั่นน้ํามัน ปโตรเคมี โลหะใน/นอกกลุมเหล็ก โครงสรางพื้นฐาน/ขนสง วัสดุกอสราง<br />

เกษตรกรรม/ผลิตภัณฑการเกษตร สารเคมี การรีไซเคิล/จัดการขยะ และอื่นๆ อยางไรก็ดี แมวาประเทศไทยเปนผู<br />

สงออกสินคาและเกษตรและอาหารสําคัญของโลก แตเนื่องจากฐานขอมูล LCI ของสินคาเกษตรมีความซับซอนทั้ง<br />

ในเรื่องขั้นตอนการปลูกพืช พันธุ ระบบการเพาะปลูก และมีวัสดุพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการเกษตรจํานวนมาก เชน<br />

ปุย วัสดุปลูก ฯลฯ ประเทศไทยจึงมีการจัดทําฐานขอมูล LCI สินคาเกษตรอยูไมมากนัก<br />

สําหรับการพัฒนาโปรแกรม ขณะนี้ยังไมมีการวิจัยพัฒนาโปรแกรมสําหรับใชเปนเครื่องมือคํานวณคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑที่เชื่อมโยงกับฐานขอมูล LCI ของประเทศไทย<br />

งานวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่มีการศึกษาวิจัยสวนใหญในประเทศไทย เปนการ<br />

ประเมินโดยใชหลัก LCA โดยเริ่มศึกษาวิธีการประเมิน LCA และการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑนํารอง<br />

25 รายการ ในขณะที่งานวิจัยประเมินดวยการประยุกตใชฐานขอมูล EIO เพื่อใหภาพโดยรวมการปลอย กาซเรือน<br />

กระจกของทั้งระบบเศรษฐกิจ พบวามีการศึกษาวิจัยอยูนอยมาก ประมาณ 3 โครงการ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากงานวิจัย<br />

ปจจุบันมุงไปที่การสรางความสามารถในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ สินคาและบริการเปนหลัก ยัง<br />

ไมไดมุงไปที่การใชขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทเปนขอมูลในการตัดสินใจเชิงนโยบาย อยางไรก็ดี ประเทศไทยควรมีการ<br />

สรางความสามารถในการวิจัยประยุกตใชแบบจําลองปจจัย EIO เพิ่มขึ้น<br />

กลุมที่ 2 งานวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการ<br />

ประเทศไทยยังไมมีโครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการลดกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการ<br />

โดยตรง แตจากการประมวลสถานภาพงานวิจัยไทย พบวา มีงานวิจัยอีกจํานวนมากที่มีวัตถุประสงคสอดรับกับการลด<br />

การปลอยกาซเรือนกระจกทั้งจากภาคการเกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน/การคมนาคมขนสง โดยที่งานวิจัยเหลานี้แบง<br />

ไดเปน 2 ระดับ ไดแก 1) เปนงานวิจัยที่ดําเนินการเสร็จแลวและพรอมนําไปขยายผล และ 2) เปนงานวิจัยที่ตองการ<br />

การศึกษาเพิ่มเติมเพื่อกาวไปสูการใชจริง<br />

งานวิจัยในกลุมที่พรอมตอการขยายผลไปใช ตองการการเชื่อมโยงไปสูการใชจริง จึงตองมีการผนวก<br />

เทคโนโลยีในกลุมนี้เปนขอแนะนําในการลดกาซเรือนกระจกที่เกิดจากกระบวนการผลิตสินคา/บริการ รวมกับงาน<br />

ประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่มีการดําเนินการอยูในปจจุบัน (Technology package) การจัดทําเปนคูมือเทคโนโลยี<br />

(Catalog Technology) ที่รวบรวม Best Available Technology ที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนจากกระบวนการผลิต<br />

สินคา/บริการ เพื่อใชในงานสงเสริมการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในภาคเอกชน<br />

งานวิจัยที่ตองการการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อกาวไปสูการใชจริง เปนกลุมงานวิจัยที่ตองการการสนับสนุนการ<br />

วิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่อง และความรวมมือแลกเปลี่ยนความรูที่เปนสหสาขา รวมทั้งความรวมมือระหวาง<br />

หนวยงาน<br />

กลุมที่ 3 งานวิจัยเพื่อประยุกตใชประโยชนคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ที่ผานมา ประเทศไทยยังไมมีงานวิจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนตัวชี้วัดการ<br />

จัดการมลพิษและสิ่งแวดลอมจากการใชเทคโนโลยี/นโยบายใหม รวมทั้งการเปรียบเทียบคาคารบอนฟุตพริ้นทของ<br />

กิจกรรมที่สังคมมีขอสงสัย หรือตองการเปรียบเทียบเพื่อใหมีขอมูลสําหรับการตัดสินใจเชิงนโยบายโดยตรง แตมี<br />

งานวิจัยจํานวนหนึ่งที่ผลการศึกษามีประโยชนตอการตัดสินใจเชิงนโยบาย เชน การศึกษาคารบอนฟุตพริ้นทของการ<br />

803


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ผลิตน้ํามันดีเซลจากน้ํามันใชแลว ซึ่งขอมูลที่ไดเปนขอมูลที่มีประโยชนตอการกําหนดนโยบายพลังงานทดแทนของ<br />

ประเทศ<br />

กลุมที่ 4 งานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการสื่อสารตอสังคม<br />

จากการรวบรวมขอมูลการศึกษาวิจัยในปจจุบัน พบวาประเทศไทยไมมีการศึกษาวิจัยดานนี้ เนื่องมาจาก<br />

การวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นท และงานดานฉลากคารบอนของประเทศไทยยังอยูในระยะเริ่มตน<br />

อยางไรก็ดี ประเทศไทยควรเริ่มสรางความสามารถในการวิจัยดานนี้ ใหครอบคลุมทั้ง 1) งานวิจัยสํารวจผลตอบรับ<br />

ของสังคมตอสินคาที่ติดฉลากคารบอน 2) งานวิจัยพัฒนาวิธีการสื่อสาร/สรางความตระหนักตอสังคม รวมทั้ง 3)<br />

งานวิจัยวัดการยอมรับของสังคม/องคกรที่มีตอวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท<br />

จากการเปรียบเทียบขอมูลสถานภาพงานวิจัยคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศและประเทศไทย สรุปได<br />

วา แมวาประเทศไทยมีการศึกษาวิจัยครอบคลุมทุกกลุมวิจัย ยกเวนในเรื่องของงานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการ<br />

สื่อสารตอสังคม (ตารางที่ 1) แตงานวิจัยคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยยังอยูในระยะเริ่มตน มีจํานวนการ<br />

ศึกษาวิจัยไมมาก การศึกษาวิจัยยังไมครอบคลุมกลุมผลิตภัณฑสินคา และไมมีการศึกษาวิจัยเชิงลึก งานวิจัยที่<br />

ประเทศไทยจําเปนตองสรางความสามารถจึงครอบคลุมทั้งเรื่องการพัฒนาฐานขอมูล LCI ของประเทศ การพัฒนา<br />

วิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่เปนมาตรฐานใหครอบคลุมสินคาสงออกที่สําคัญ โดยเฉพาะสินคาเกษตรของ<br />

ไทย การเตรียมความพรอมดานฐานขอมูลและเริ่มสรางความชํานาญในการวิจัยประเมินคารบอนฟุตพริ้นทดวย<br />

วิธีการ EIO–LCA เพื่อใชประโยชนในเวทีตอรองทางการคาระหวางประเทศ รวมทั้งควรเริ่มศึกษาวิจัยการ<br />

ประยุกตใชประโยชนคารบอนฟุตพริ้นทเปนตัวชี้วัดการจัดการมลพิษและสิ่งแวดลอม และเปนขอมูลเพื่อตอบขอ<br />

สงสัยของสังคมหรือตัดสินใจเชิงนโยบาย รวมทั้งงานวิจัยดานการสํารวจผลตอบรับของสังคมตอสินคาที่ติดฉลาก<br />

คารบอน การพัฒนาวิธีการสื่อสาร/สรางความตระหนักตอสังคม เปนตน<br />

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบสถานภาพการวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทระหวางตางประเทศและ<br />

ประเทศไทย<br />

เปรียบเทียบสถานภาพการวิจัยและพัฒนา Carbon Footprint<br />

กลุมงานวิจัย ตางประเทศ ประเทศไทย<br />

1. งานวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถ<br />

ดานการประเมิน<br />

การเตรียมฐานขอมูล และพัฒนา<br />

<br />

<br />

โปรแกรม/การพัฒนาชุดเครื่องมือ<br />

วิธีประเมิน process-based LCA <br />

วิธีประเมิน EIO <br />

วิธีประเมิน Hybrid-EIO-LCA <br />

2. งานวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอย GHG <br />

3. งานวิจัยเพื่อประยุกตใชประโยชน<br />

carbon footprint<br />

4. งานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการ<br />

สื่อสารตอสังคม<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

804


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

4.3 ขอเสนอะแนะการวิจัยและพัฒนาคารบอนฟุตพริ้นทที่ประเทศไทยควรดําเนินการ<br />

จากการที่ประเทศไทยเริ่มดําเนินการดานคารบอนฟุตพริ้นทไมนานนัก และการผลิตสินคาสงออก<br />

สวนใหญเปนรูปแบบของการรับจางผลิต ดังนั้น งานวิจัยที่ประเทศไทยควรเรงดําเนินการมีดังนี้<br />

- งานวิจัยในระยะสั้น (1-3 ป)<br />

ประเทศไทยยังจําเปนตองเริ่งเพิ่มความสามารถดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ซึ่งไดแก การเตรียม<br />

ฐานขอมูล LCI การพัฒนาวิธีการคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทที่เปนมาตรฐาน ครอบคลุมทั้งการประเมินคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทดวยวิธีการ LCA และ EIO–LCA รวมทั้งงานวิจัยที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยมุงไปที่สินคา<br />

สงออกสําคัญเปนลําดับแรก อยางไรก็ดี เนื่องจากที่ผานมา ประเทศไทยยังไมมีการจัดทําคาฐาน (Baseline) การ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการสําคัญของประเทศ เพื่อเปนเกณฑสําหรับลดการปลอยกาซเรือน<br />

กระจกของผลิตภัณฑสินคา/บริการแตละกลุม ดังนั้น การจัดทําคาฐานการปลอยกาซเรือนกระจกจึงเปนงานวิจัยอีก<br />

เรื่องที่ประเทศไทยตองดําเนินการเปนลําดับตนๆ โดยเริ่มตนจากกลุมสินคาที่ไทยติดฉลากแลวเปนลําดับแรก เพื่อ<br />

เปนขอมูลฐานสําหรับดําเนินการลดการปลอยกาซเรือนกระจกของแตละผลิตภัณฑสินคา และเปนขอมูลเพื่อใชใน<br />

การเจรจาในเวทีการคา นอกจากนี้ ยังควรมีการจัดทํา catalog technology ที่รวบรวม best available technology<br />

ที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อสงเสริมใหผูประกอบการใชเทคโนโลยี<br />

- งานวิจัยระยะยาว (มากกวา 3 ป)<br />

จากขอมูลสถานภาพงานวิจัยตางประเทศ ชี้ใหเห็นวาการวิจัยและพัฒนาเรื่องของการประยุกตใชคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจหรือจัดทํานโยบาย และการสื่อสารขอมูลกับผูบริโภคเปนประเด็นวิจัยที่มี<br />

แนวโนมสําคัญมากขึ้นในอนาคต แตประเทศไทยยังไมมีงานวิจัยในกลุมนี้ เนื่องจากเปนงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ<br />

สังคมโดยตรง ทั้งการตอบขอสงสัยและการวัดการตอบรับของสังคม ดังนั้นระยะยาว ประเทศไทยตองสราง<br />

ความสามารถการวิจัยในเรื่องการประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจหรือจัดทํานโยบาย<br />

และการสื่อสารขอมูลกับผูบริโภคมากขึ้น<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

งานวิจัยและพัฒนาดานคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศ แบงไดเปน 4 เรื่องหลัก ไดแก 1) งานวิจัยเพื่อ<br />

เพิ่มความสามารถดานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท 2) งานวิจัยเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

3) งานวิจัยเพื่อประยุกตใชประโยชนคารบอนฟุตพริ้นทเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจหรือจัดทํานโยบาย และ<br />

4) งานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการสื่อสารตอสังคม ซึ่งประเทศไทยควรสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาใหครบ<br />

ทั้ง 4 กลุม เพื่อรับมือกับมาตรการดานคารบอนฟุตพริ้นทที่มีความเปนไปที่จะกลายเปนมาตรการกีดกันทางการคา<br />

ที่มิใชภาษีรูปแบบใหม แตที่ผานมา งานวิจัยของประเทศไทยจํากัดอยูเฉพาะงานวิจัยเพื่อเพิ่มความสามารถดาน<br />

การประเมินคารบอนฟุตพริ้นท และงานวิจัยเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกเทานั้น<br />

อยางไรก็ดี จากกระแสโลกเรื่องการบริโภคสินคาและบริการที่ปลอยคารบอนต่ํากวาเดิม (Lower Carbon)<br />

และการดําเนินงานคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยที่เริ่มตนไดไมนานนัก งานวิจัยกลุมแรกที่ประเทศไทยซึ่งเปน<br />

ประเทศผูสงออกสินคาที่สําคัญ ตองเรงวิจัยและพัฒนาในระยะสั้นจึงยังคงเปนเรื่อง 1) การเพิ่มความสามารถดาน<br />

การประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ซึ่งไดแก การเตรียมฐานขอมูล LCI การพัฒนาวิธีการคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทให<br />

มีประสิทธิภาพและเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และ 2) งานวิจัยที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยมุงไป<br />

ที่สินคาสงออกสําคัญเปนลําดับแรก แตขณะเดียวกันก็ตองมีการเตรียมความพรอมสําหรับงานวิจัยในระยะยาว ซึ่ง<br />

เปนเรื่องการประยุกตใชคารบอนฟุตพริ้นทเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจหรือจัดทํานโยบาย และการสื่อสาร<br />

ขอมูลกับผูบริโภค<br />

805


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- PCF Pilot Project Germany. (2009), Product Carbon Footprinting : The Right Way to Promote<br />

Low Carbon Products and Consumption Habits? Experiences, findings and recommendations<br />

from the Product Carbon Footprint Pilot Project Germany. Project Results Report. Berlin.<br />

- Toshiki Mashimo. (2008), To what level could Japan’s food self-sufficiency recover with<br />

more local-oriented dietary consumption and more productive organic agriculture? A<br />

quantitative analysis based on ‘Food Demand-Supply Table,’ ‘Guideline of Nutritional<br />

Requirement for the Japanese’ and ‘Local Production-Local Consumption’ principle” (in<br />

Japanese), The Kokugakuin University Econoic Review, Kokugakuin University, Tokyo,<br />

Vol. 56, November 2008, pp. 217-240.<br />

- G. Flachowsky and S. Hachenberg. (2009), CO 2 -footprint for food of animal origin<br />

present stage and open questions. Journal Verbr. Lebensm. 4, pp. 190-198.<br />

- Defra. (n/d), Scenario building to test and inform the development of a BSI method for<br />

assessing GHG emissions from food. Research project final report.<br />

- Defra. (n/d), Greenhouse gas impacts of food retailing. Research project final report.<br />

- Defra. (n/d), Understanding the GHG impacts of food preparation and consumption in the<br />

home. Research project final report.<br />

- Defra. (n/d), Scenario building to test and inform the development of a BSI method for<br />

assessing GHG emissions from food. Research project final report.<br />

- Defra. (2009), Environmental impact of food: Lifecycle greenhouse gas assessments.<br />

- Kenny T. and Gray F.N. (2009) Comparative performance of six carbon footprint models<br />

for use in Ireland. Environmental Impact Assessment Review 29, pp.1-6.<br />

- Thomas Wiedmann. (2009), A review of recent multi-region input-output models used for<br />

consumption-based emission and resource accounting, Ecological Economics 69, pp.<br />

211-222.<br />

- Edgar G. Hertwich and Glen P. (2009), Peters Carbon Footprint of Nations: A Global,<br />

Trade-Linked Analysis, Environ. Sci. Technol., 2009, 43 (16), pp. 6414–6420.<br />

- Anu Ramaswami and Tim Hillman. (2008), A Demand-Centered, Hybrid Life-Cycle<br />

Methodology for City-Scale Greenhouse Gas Inventories Environ. Sci. Technol., 2008,<br />

42 (17), pp. 6455–6461.<br />

- Tara Garnett. (2009), Livestock & Climate Change. Food Climate Research Network. Slide<br />

presentation for FCRN-LIDC workshop. 12 June 2009.<br />

- Seong-Rin Lim and Jong Moon Park. (2008), Cooperative Water Network System to Reduce<br />

Carbon Footprint. Environ. Sci. Technol., 42 (16), pp. 6230–6236.<br />

- I.T. Herrmann and M.Z. Hauschild. (2009), Effects of globalisation on carbon footprints of<br />

products, CIRP Annals Manufacturing Technology, 58, pp. 13–16.<br />

806


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- David Browne et al. (2009), Use of carbon footprinting to explore alternative household<br />

waste policy scenarios in an Irish city-region. Resource, conservation and recycling, 54,<br />

pp.113-122.<br />

- Eric Johnson. (2008), Disagreement over carbon footprints: A comparison of electric and<br />

LPG forklifts, Energy Policy Journal, 36, pp. 1569–1573.<br />

- Eric Johnson. (2009), Charcoal versus LPG grilling: A carbon-footprint comparison,<br />

Environmental Impact Assessment Review, 29, pp. 370–378.<br />

- James S. and Jamie M. (2009) Prospects for carbon-neutral housing: the influence of<br />

greater wood use on the Carbon Footprint of a single-family residence, Journal of<br />

Cleaner Production ,17, pp. 1563–1571.<br />

- Upham Paul and Bleda Mercedes, (2009).Carbon Labelling: Public Perceptions of the<br />

Debate.<br />

- ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. โครงการจัดทําฐานขอมูลวัฏจักรชีวิตของวัสดุพื้นฐานและ<br />

พลังงานของประเทศรวมทั้งการประยุกตใช, 2553.<br />

- ชยันต ตันติวัสดาการและคนอื่นๆ. โครงการพัฒนาวิธีการประเมินความรับผิดชอบรวมในการ<br />

ปลอยกาซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมระหวางประเทศที่พัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา,<br />

2553.<br />

- รัตนวรรณ มั่งคั่ง และคนอื่นๆ. โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมอาหารไทยเกี่ยวกับฉลาก<br />

คารบอน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการคาที่ลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ระหวาง<br />

ประเทศ ในกลุมสหภาพยุโรปและประเทศไทย อันเปนการสงเสริมการบรรเทาผลกระทบจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, 2552.<br />

- รัตนวรรณ มั่งคั่ง และคนอื่นๆ. โครงการวิเคราะหและจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ<br />

ขาวสําหรับการติดฉลากคารบอน, 2552.<br />

807


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

Carbon footprint มาตรการสิ่งแวดลอมใหมที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได<br />

ของภาคการสงออกไทย<br />

Carbon Footprint: An Impending Environmental Measurement for<br />

Thai Exporter<br />

ยุวนันท สันติทวีฤกษ, กุลวรางค สุวรรณศรี และ กฤษดา บํารุงวงศ<br />

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

73/1 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

บทคัดยอ<br />

ปจจุบันการลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Green House Gas; GHG) เปนแนวทางหลักที่นานาชาติเห็น<br />

พองรวมกันในการบรรเทาปญหาสภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในประเทศพัฒนาแลวที่มี<br />

พันธกรณีในการลดการปลอย GHG ภายใตพิธีสารเกียวโตไดกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อลดการปลอย GHG จาก<br />

ภาคการผลิตและการบริโภคภายในประเทศ หนึ่งในนั้นคือการแสดงคา Carbon footprint (CF) หรือปริมาณรวม<br />

ของ GHG ที่แสดงในรูปกาซคารบอนไดออกไซดเทียบเทาซึ่งปลอยออกมาตลอดวัฏจักรของผลิตภัณฑหรือบริการ<br />

เพื่อสงเสริมใหผูผลิตและผูบริโภคเลือกใชสินคาและบริการคารบอนต่ําอันนําไปสูการลดการปลอย GHG ของ<br />

ประเทศนั้น ดวยเหตุนี้ประเทศไทยในฐานะผูรับจางผลิตและผูสงออกสินคาจึงไดรับผลกระทบจากมาตรการ CF<br />

อยางไมอาจหลีกเลี่ยงได<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาสถานภาพการดําเนินงาน CF และการออกฉลาก Carbon Footprint ของ<br />

ผลิตภัณฑและบริการของประเทศตาง ๆ ทั่วโลก โดยประมวลขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของรวมกับการสัมภาษณ<br />

ผูเชี่ยวชาญและหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษาและวิเคราะหผลกระทบของ CF และฉลาก Carbon Footprint<br />

ตอสินคาอุตสาหกรรมและเกษตรสงออกสําคัญ 20 รายการที่สงไปยังประเทศพัฒนาแลวที่มีความตื่นตัวเรื่อง CF<br />

รวมทั้งโอกาสและศักยภาพในการสรางความสามารถในการแขงขันในดานสินคาคารบอนต่ําของสินคาสงออกของ<br />

ไทยในตลาดดังกลาว ซึ่งผลการศึกษาพบวาในป 2553-2554 มีสินคาสงออกสําคัญถึง 13 รายการที่จะไดรับ<br />

ผลกระทบจาก Carbon footprint คิดเปนมูลคาการสงออกรวมในป 2552 มากกวา 6.3 แสนลานบาทตอป และมี<br />

ความเปนไปไดที่ CF จะเปนมาตรการกีดกันทางการคาที่มิใชภาษีรูปแบบใหมที่ประเทศคูคาหลักของไทยรายอื่นๆ<br />

นํามาใชในการพิจารณาสั่งซื้อสินคาตอไป<br />

คําสําคัญ : Carbon footprint ฉลากคารบอน สินคาสงออก<br />

Abstract<br />

At present a major approach to mitigate effects from climate change and global warming is a<br />

reduction of Greenhouse Gas (GHG) emission. Due to the Kyoto Protocol, many developed countries<br />

commit to decrease their GHG emission from production and consumption sectors. Carbon footprint (CF)<br />

808


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

is a tool to measure a total amount of GHG emitted from a whole life cycle of products or services and<br />

shown as a quantity of carbon dioxide equivalent. Although nowadays CF activities are on voluntary<br />

basis, consumer acceptance on low CF products and services becomes a driving force for the<br />

development. Therefore, Thailand as agricultural producers, food exporters, and Original Equipment<br />

Manufacturers (OEM) receives inevitably consequence.<br />

This paper reviews the worldwide status of CF development and analyzes the CF effect on Thai<br />

agricultural products exported to the developed countries. The secondary data and in-dept interview are<br />

adopted to show the CF effect on the 20 major products. The result shows that 13 export products with<br />

total export value in 2009 more than 630 billion Baht have affected from CF. Therefore, it is possible that<br />

CF could be a new non-tariff barrier for these main importers.<br />

1. ความสําคัญ<br />

รายงานของ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) ระบุวาแหลงกําเนิด GHG ที่สําคัญ<br />

ในชวงป 2004 เกิดจากกระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจของมนุษยเปนหลัก ปจจุบันจึงมีแนวคิดในการลดผลกระทบ<br />

จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศผานการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน แนวคิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจและ<br />

กลาวถึงอยางกวางขวางทั่วโลก คือ เศรษฐกิจคารบอนต่ํา (Low carbon Economy) ที่เนนใหมีการปรับเปลี่ยนการผลิต<br />

ใหปลอย GHG โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ใหนอยที่สุด ดังเห็นไดจากกรณีที่หลายประเทศมี<br />

นโยบายสนับสนุนใหมีการผลิตและใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเพิ่มขึ้น เลือกใชแหลงพลังงานที่ปลอย<br />

คารบอนต่ํา สนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมใหใชสินคาภายในประเทศทั้งอาหาร วัตถุดิบ<br />

และพลังงาน นอกจากนี้ยังกระตุนใหภาคอุตสาหกรรม ภาคการคา และภาคประชาชนใหมีความตระหนักและ<br />

รวมมือในการรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมมากขึ้น (LowCarbonEconomy.com, n/d)<br />

นอกจากนี้ ยังมีการสงเสริมแนวคิดเรื่องสังคมคารบอนต่ํา เพื่อกระตุนใหเกิดการบริโภคผลิตภัณฑหรือ<br />

บริการที่ปลอย GHG นอยกวาสินคาปกติหรือเรียกอีกชื่อวา “สินคาและบริการคารบอนต่ํา” เพื่อใหผูบริโภคไดมีสวน<br />

รวมในการรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม โดยสินคาและบริการดังกลาวตองผานการประเมินปริมาณการปลอย GHG ที่<br />

เกิดตลอดวงจรชีวิตของสินคาหรือบริการ ตั้งแตขั้นตอนการจัดหาวัตถุดิบ การผลิตและแปรรูป การบริโภค และการ<br />

กําจัดของเสีย แสดงคาในรูป CO 2 เทียบเทา (Carbon Footprinting) (Carbon Trust, n/d) ซึ่งขอมูลดังกลาวตอง<br />

ผานการทวนสอบและรับรองโดยหนวยงานรับรองและแสดงขอมูลผานฉลาก Carbon Footprint เพื่อบงบอกให<br />

ผูบริโภคทราบถึงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและใชประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ<br />

ตอไป<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาและวิเคราะหผลกระทบของ Carbon Footprint และการออกฉลาก Carbon Footprint ตอ<br />

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมและเกษตรสงออกของไทย ตลอดจนจัดกลุมของผลิตภัณฑสงออกตามความเรงดวนในการ<br />

บังคับใชมาตรการ Carbon Footprint ของตลาด เพื่อใหอุตสาหกรรมไทยเตรียมความพรอมในการพัฒนาสินคาให<br />

ตรงตามความตองการของตลาดรวมทั้งรักษาระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ<br />

809


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาสถานภาพการดําเนินงานและมาตรการบังคับใชที่เกี่ยวของกับ Carbon Footprint<br />

และการออกฉลาก Carbon Footprint ของผลิตภัณฑและบริการของประเทศตางๆ 14 ประเทศทั่วโลก ที่มี<br />

ผลกระทบตอการสงออกสินคาของประเทศไทยในอนาคตอันใกล ไดแก ประเทศสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส<br />

เยอรมันนี สวิสเซอรแลนด สวีเดน สเปน เนเธอรแลนด สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลีใต จีน<br />

และไตหวัน รวมถึงประเทศไทย โดยการประมวลขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของ การสัมภาษณ และการจัดประชุมระดม<br />

ความเห็นจากกลุมผูประกอบการ ผูเชี่ยวชาญ และหนวยงานสงเสริมของทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี ่ยวของกับ<br />

Carbon Footprint<br />

4. ผลการศึกษา<br />

จากการศึกษาพบวา ประเทศพัฒนาแลวสวนใหญเริ่มทดลองใช Carbon Footprint และมีการออกฉลาก<br />

Carbon Footprint ตั้งแตป 2550-2551 เพื่อสงเสริมผูประกอบการและผูบริโภคภายในประเทศใชสินคาและบริการ<br />

คารบอนต่ํา อันนําไปสูการลดปริมาณการปลอย GHG รวมของประเทศตามที่ระบุไวในพันธกรณีภายใตพิธีสาร<br />

เกียวโต ทั้งนี้ หากพิจารณาตามประเภทสินคา สามารถแบงฉลาก Carbon Footprint ที่มีอยูออกเปน 2 ประเภท<br />

ไดแก<br />

ฉลากCarbon Footprint สําหรับผลิตภัณฑทั่วไป เปนฉลากที่ใชครอบคลุมผลิตภัณฑทุกชนิด เชน<br />

สินคาอุปโภคบริโภคที่ใชในชีวิตประจําวัน เครื่องใชไฟฟา วัสดุตกแตงบาน วัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม เปนตน พบใน<br />

ประเทศสหราชอาณาจักร เยอรมันนี สวิสเซอรแลนด สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน เกาหลีใต จีน ไตหวัน และ<br />

ไทย<br />

ฉลาก Carbon Footprint สําหรับผลิตภัณฑเฉพาะ เปนฉลากที่พัฒนาขึ้นสําหรับใชเฉพาะกับ<br />

ผลิตภัณฑกลุมใดกลุมหนึ่ง เพื่อประชาสัมพันธและทําการตลาดผลิตภัณฑ ซึ่งเปนสินคาหลักขององคกรหรือสินคาที่<br />

ภาครัฐตองการกระตุนใหเกิดการผลิตและการบริโภคสินคาและบริการคารบอนต่ําเพิ่มขึ้น ขณะนี้มีการพัฒนาฉลาก<br />

Carbon Footprint ประเภทนี้ใน 3 กลุมผลิตภัณฑ ไดแก ผลิตภัณฑเกษตรและอาหาร พบในประเทศฝรั่งเศส สวีเดน<br />

สเปน และเนเธอรแลนด ผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส พบในประเทศไตหวัน และผลิตภัณฑน้ํามัน<br />

เชื้อเพลิง พบในสหภาพยุโรป โดยมีการศึกษานํารองในประเทศเยอรมันนี เนเธอรแลนดและมอลตา<br />

นอกจากนี้ ยังพบวาในประเทศที่มีความตื่นตัวในเรื่อง Carbon Footprint และฉลาก Carbon Footprint มี<br />

การดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและเอกชน รายละเอียดดังตารางที่ 1<br />

ภาครัฐ พบในกลุมประเทศสหภาพยุโรป (European Union; EU) ญี่ปุน และออสเตรเลีย มีการ<br />

กําหนดนโยบายและแผนลดการปลอย GHG ครอบคลุมทั้งภาคการผลิต การขนสง และการบริโภค เชน การ<br />

สงเสริมใหผูบริโภคมีความรูเกี่ยวกับ Carbon Footprint ในผลิตภัณฑและบริการ การออกระเบียบใหอุตสาหกรรม<br />

หนักที่ใชพลังงานจํานวนมากในการผลิตตองจัดทํารายงานประจําปการปลอย CO 2 (US-EPA, n/d) การใช<br />

มาตรการทางภาษีประเภทตาง ๆ เชน ภาษีคารบอนในน้ํามันเชื้อเพลิง (Bengt Johansson, 2000) ภาษี Bonus-<br />

Malus ในรถยนตนั่งสวนบุคคล (Ministry of ecology, energy, sustainable development and the sea, 2010)<br />

การออกใบอนุญาตสําหรับดําเนินธุรกิจเชา-ซื้อบานและอาคาร (Carbon Trust, n/d) การออกกฎหมายบังคับให<br />

ผูผลิตใชสินคาคารบอนต่ําหรือใหแสดงขอมูลการปลอยคารบอนบนฉลากสินคา โดยประเทศฝรั่งเศสเปนประเทศ<br />

แรกของโลกที่ประกาศใหสินคาที่จําหนายในประเทศตองแสดงขอมูล Carbon Footprint ใหผูบริโภคทราบในวันที่ 1<br />

810


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

มกราคม 2554 (Julian Carroll, 2009) ทั้งนี้ เพื่อสงเสริมและขับเคลื่อนใหภาคเอกชนและภาคสังคมรวมกันลดการ<br />

ปลอย GHG ผานการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน<br />

ภาคเอกชน เนนการจัดทําและเผยแพรรายงานการปลอยและผลการลดการปลอย CO 2 ประจําปของ<br />

กลุมอุตสาหกรรมและบริการใหแกสถาบันการเงินและหนวยงานรัฐ เพื่อใชประกอบการพิจารณาลงทุนหรือจัดซื้อ<br />

สินคาเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Carbon Disclosure Project, 2010) การสงเสริมการจําหนายสินคาและบริการ<br />

คารบอนต่ําและสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Takaki Ikezuki, 2009) การทําขอตกลงของกลุมธุรกิจในการลด<br />

การใชบรรจุภัณฑ (Environment leader, 2010) พบในกลุมประเทศสหภาพยุโรป ญี่ปุน ออสเตรเลีย รวมถึง<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา การดําเนินการดานนี้สวนใหญจะขับเคลื่อนโดยหางคาปลีกขนาดใหญ เชน TESCO, Mark &<br />

Spencer, Casino group และ Wallmart เปนผูนําในการลดการปลอย CO 2 ของธุรกิจ และมีบทบาทสําคัญในการผลักดัน<br />

ใหผูผลิตสินคา (Suppliers) ที่จําหนายในหางตองติดฉลากแสดงคา Carbon Footprint ที่ผานการรับรองจากหนวยงานใน<br />

ประเทศนั้น<br />

ตารางที่ 1 ตัวอยางมาตรการและกรอบเวลาบังคับติดฉลาก Carbon Footprint ของประเทศตางๆ<br />

ประเทศ<br />

ฝรั่งเศส<br />

สหราชอาณาจักร<br />

มาตรการ<br />

กฎหมาย Grenelle2 ระบุใหผูบริโภคตองไดรับขอมูลเกี่ยวกับปริมาณ Carbon<br />

Footprint ของสินคาอุปโภคบริโภคทุกชนิดและบรรจุภัณฑ การใชทรัพยากรหรือ<br />

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตลอดวัฏจักรของสินคาจากฉลากเครื่องหมาย หรือสื่ออื่นๆ<br />

ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554<br />

การขยายมาตรการ Bonus-Malus ของภาครัฐจากรถยนต01 ไปสูผลิตภัณฑอื่นๆ 20<br />

ชนิด เชน ยางรถยนต โทรทัศน คอมพิวเตอร หลอดไฟ ตูเย็น ขณะนี้ อยูระหวาง<br />

การผลักดันใหสภาพิจารณา (Julie Chauveau, 2008)<br />

ประกาศนียบัตรรับรองประสิทธิภาพการใชพลังงานของบานและอาคารที่ตองการขาย<br />

หรือใหเชา Energy Performance Certificate (EPC) และ Display Energy Certificate<br />

(DEC) และมาตรการ Zero Carbon ในบานและอาคารใหมที่สรางตั้งแตป 2559 และ<br />

2562 ตามลําดับ<br />

Food strategy 2030 - อาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดที่จําหนายในสหราชอาณาจักร<br />

ตองติดฉลากเพื่อแสดงปริมาณ Carbon Footprint มาตรฐานถิ่นกําเนิดสินคา และ<br />

มาตรฐานอนามัยสัตว ภายในป 2573 (Defra, 2010)<br />

Courtauld Commitment 2 กลุมธุรกิจคาปลีกและผูผลิตสินคาอุปโภคบริโภครายใหญ<br />

29 ราย มีขอตกลงรวมกันวาภายในป 2555 ตองลด Carbon Footprint ของบรรจุ<br />

ภัณฑรอยละ 10<br />

หางคาปลีก Tesco ลดการนําเขาสินคาดวยวิธีขนสงทางอากาศใหต่ํากวารอยละ<br />

1 ของสินคาทั้งหมด โดยจะติดสัญลักษณเครื่องบินบนสินคานําเขาที่ขนสงทาง<br />

อากาศทุกชนิด และติดฉลาก Carbon Footprint ในผลิตภัณฑอาหาร 70,000<br />

รายการ (Terry Leahy, 2007) (Chris Goodall, 2007)<br />

1<br />

Bonus เปนมาตรการทางภาษีที่ใหเงินภาษีคืนประมาณ 200-1,000 ยูโร แกผูซื้อรถยนตที่ปลอย CO 2 นอยกวา 125 กรัม/กิโลเมตร Malus<br />

เปนมาตรการที่ผูซื้อรถยนตที่ปลอย CO 2 มากกวา 160 กรัม/กิโลเมตรตองเสียภาษีเพิ่ม 200-2,600 ยูโร<br />

811


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประเทศ<br />

สหภาพยุโรป<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

นานาชาติ<br />

มาตรการ<br />

มาตรฐานการปลอย CO 2 ของรถยนตนั่งสวนบุคคลใหม โดยตองปลอย CO 2 ไมเกิน<br />

130 กรัม/ก.ม .ภายในป 2558 และปลอย CO 2 ไมเกิน 95 กรัม/ก.ม. ภายในป 2563<br />

(European Commission. n/d.)<br />

หางคาปลีก Walmart ขอขอมูลการปลอย GHG การใชน้ํา พลังงาน วัตถุดิบ ของ<br />

เสีย แหลงวัตถุดิบ จากผูผลิตสินคาจากทั่วโลก จํานวน 100,000 ราย เพื่อพัฒนา<br />

Worldwide sustainable product index ที่แสดงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับ<br />

ผลิตภัณฑที่จําหนาย ภายในป 2557 (Stephanie Rosenbloom, 2009)<br />

Carbon Disclosure Project (CDP) ขอขอมูลการปลอย GHG และแผนการลดการ<br />

ปลอย GHG ขององคกรธุรกิจกวา 5,500 แหงทั่วโลก เพื่อเปนขอมูลใหสถาบัน<br />

การเงินและหนวยงานจัดซื้อสินคาของรัฐและเอกชนประกอบการตัดสินใจในป 2552<br />

มีบริษัทผูผลิต 44 แหง ไดขอขอมูลการปลอย GHG จาก supplier ในหวงโซการ<br />

ผลิตมากกวา 1,400 ราย โดยมี supplier รอยละ 51 รวมสงขอมูลคืน<br />

องคกรระหวางประเทศวาดวยมาตรฐาน (International Organization for<br />

Standardization: ISO) อยูระหวางการพัฒนามาตรฐานสําหรับการคํานวณ Carbon<br />

Footprint ของผลิตภัณฑ (ISO 14067) คาดวาจะแลวเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2554<br />

(PCF World Forum, n/d.)<br />

ประเทศไทยเริ่มดําเนินกิจกรรมดาน Carbon Footprint ของประเทศไทยใน 2 รูปแบบ คือ การวิจัยเพื่อ<br />

พัฒนาการวิเคราะห Carbon Footprint ในผลิตภัณฑขาว ไกแปรรูป และทูนากระปอง โดยสถาบันอุดมศึกษาในชวง<br />

ปลายป 2551 และการออกฉลาก Carbon Footprint มีองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)<br />

(อบก.) เปนหนวยงานหลักที่ขับเคลื่อนการออกฉลากและการรับรองผลการประเมินการปลอย GHG โดยมี<br />

ผูเชี่ยวชาญจากศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติหรือ MTEC สถาบันอุดมศึกษาตางๆ และองคกรเอกชน ทํา<br />

หนาที่ใหคําปรึกษาการประเมินการปลอย GHG แกภาคอุตสาหกรรมไทย ภายใตชื่อโครงการสงเสริมการใช<br />

คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑ ซึ่งเริ่มดําเนินการเมื่อเดือนเมษายน 2552 มีโรงงานนํารองที่<br />

ไดรับคัดเลือกเขารวมประเมิน Carbon Footprint ผลิตภัณฑสินคา ตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบ-กระบวนการผลิต (Cradleto-Gate)<br />

จํานวน 25 แหง ทั้งนี้ ในเดือนเมษายน 2553 มี 22 ผลิตภัณฑนํารองที่เขารวมโครงการไดรับฉลาก<br />

Carbon Footprint (รูปที่ 1) จาก อบก. (อบก., 2553)<br />

ประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการผลิตสินคาเพื่อการสงออก ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง<br />

ชาติฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520-2524 โดยในป 2552 การสงออกทั้งหมดของประเทศไทยมีมูลคาประมาณ 5.2 ลานลานบาท<br />

หรือคิดเปนรอยละ 57 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) สินคาอุตสาหกรรมมีสัดสวนการสงออก<br />

ประมาณรอยละ 76 ของมูลคาการสงออกรวมของประเทศ สินคาสงออกที่สําคัญ ไดแก แผงวงจรไฟฟา เครื่อง<br />

คอมพิวเตอรอุปกรณและสวนประกอบ เครื่องใชไฟฟาและสวนประกอบ ขณะที่สินคาเกษตรและอุตสาหกรรม<br />

เกษตรมีสัดสวนเพียงรอยละ 18 สินคาสงออกที่สําคัญ ไดแก ไกแปรรูป อาหารทะเลกระปองและแปรรูป เปนตน<br />

(กระทรวงพาณิชย, 2552) โดยการสงออกสินคาไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป (27 ประเทศ) ญี่ปุน และ<br />

ออสเตรเลีย ที่มีการตื่นตัวในเรื่อง Carbon Footprint และเริ่มใชฉลาก Carbon Footprint ในสินคาหลายชนิด อาทิ<br />

อาหารและเครื่องดื่ม เสื้อผา เฟอรนิเจอร คิดเปนมูลคา 2 ลานลานบาทหรือรอยละ 39 ของมูลคาการสงออก<br />

การเติบโตของการผลิตเพื่อการสงออกสงผลใหประเทศไทยมีการปลอย GHG ผานการผลิตเพื่อการ<br />

สงออกมากกวาการนําเขาสินคา เชนเดียวกับประเทศผูผลิตสินคาสงออกสําคัญของภูมิภาคเอเชีย เชน จีนและ<br />

812


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อินเดีย ดังรูปที่ 2 (Peters GP and Hertwich EG., 2008) ดังนั้นหากการสงออก GHG สุทธิถูกนํามาเปนประเด็นใน<br />

การเจรจาการคาระหวางประเทศหรือระหวางธุรกิจที่นําเขา เชนเดียวกับมาตรฐานการจัดสิ่งแวดลอมในระดับนานาชาติ<br />

อื่น ๆ ที่ผานมา เชน ISO series14000 ซึ่งแมจะกําหนดใหเปนมาตรการแบบสมัครใจใหปฏิบัติตาม แตขอเท็จจริงที่<br />

เกิดขึ้นพบวาบริษัทธุรกิจที่ผานการรับรองตามมาตรฐาน ISO จะไดรับการยอมรับจากประเทศตาง ๆ มากขึ้น<br />

โดยเฉพาะกลุมประเทศพัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน เปนตน สงผลใหในที่สุดมาตรฐาน Carbon<br />

Footprint จะกลายเปนเสมือนขอบังคับ (virtually mandatory) ที่ทุกประเทศและอุตสาหกรรมตองทําเชนเดียวกับ<br />

มาตรฐาน ISO 14000 (The North Carolina Division of Pollution Prevention and Environmental Assistance,<br />

รูปที่ 1 สัญลักษณฉลาก Carbon Footprint ของไทย<br />

Malaysia<br />

Indonesia<br />

Thailand<br />

Taiwan<br />

China<br />

Korea<br />

Australia<br />

France<br />

UK<br />

Germany<br />

Japan<br />

US<br />

Export<br />

Import<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Percentage of total domestic emission (Production)<br />

รูปที่ 2 ปริมาณรอยละของ GHG ที่เกิดขึ้นจากการผลิตในรูปการนําเขา-สงออกสินคา<br />

ของประเทศตาง ๆ ในป 2544<br />

2000) นอกจากนั้นแนวโนมการบังคับใชฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 312 ที่ตองนําเสนอขอมูลผลกระทบของผลิตภัณฑ<br />

ดวยวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment; LCA) 3 อาจสงผลกระทบคอนขางมากสําหรับผู<br />

2 ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 3 เปนฉลากสิ่งแวดลอมที่แสดงขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในเชิงปริมาณของผลิตภัณฑหรือบริการ ซึ่งขอมูลที่<br />

ไดมาจากการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑหรือบริการ ปจจุบันฉลากสิ่งแวดลอมและคําประกาศสิ่งแวดลอมประเภทที่ 3 อยูในมาตรฐาน<br />

ISO 14025:2006 (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2552)<br />

813


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

สงออกในประเทศกําลังพัฒนา เนื่องจากการประเมินผลกระทบดวยวิธีการ LCA ตองอาศัยผูเชี่ยวชาญและมีคาใชจาย<br />

สูง ทําใหอาจกลายเปนการกีดกันทางการคาได (Lim Lee Fang, n.d.)<br />

ดวยเหตุผลขางตน ประเทศไทยในฐานะผูสงออกสินคาและเปนผูรับจางผลิต (Original Equipment<br />

Manufacturer; OEM) สําคัญในหวงโซการผลิตสินคาของโลก ไมวาจะเปนสินคาเกษตรและอาหารและสินคา<br />

อุตสาหกรรม จึงมีความเสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบจาก Carbon Footprint คอนขางสูง และจําเปนตองเตรียมความ<br />

พรอมในการประเมิน Carbon Footprint เนื่องจากประเทศผูวาจางผลิตตองการใชเปนขอมูลประกอบการประเมินและ<br />

ขอการรับรองฉลาก Carbon Footprint เพื่อจําหนายสินคาติดฉลาก Carbon Footprint ของตนตอไป คณะผูวิจัยจึงทํา<br />

การประเมินกลุมสินคาสงออกที่จะไดรับผลกระทบมากที่สุด เพื่อเปนขอมูลสําหรับการเตรียมรับและปรับตัวของภาค<br />

อุตสาหกรรม<br />

ผลการศึกษาพบวา ในจํานวนผลิตภัณฑสงออกที่สําคัญของไทย 20 รายการที่สงออกไปยังตลาดที่มีการ<br />

รณรงคเรื่องสินคาคารบอนต่ํา เชน สหภาพยุโรป ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย ในป 2552 มีสินคาที่ผูผลิตของ<br />

ไทยเริ่มมีการศึกษาและติดฉลาก Carbon Footprint ทั้งสิ้น 7 รายการ ไดแก เครื่องปรับอากาศ เสื้อคอกลม T-shirts<br />

สินคาทูนากระปอง ผลิตภัณฑไกแปรรูป ผลไมกระปองและน้ําผลไม ผลิตภัณฑยางสําหรับเครื่องจักรกลการเกษตร<br />

และขาว<br />

จากขอมูลดังกลาวแสดงเห็นไดวา ผูประกอบการผลิตและสงออกสินคาเกษตรและอาหารของไทย<br />

คอนขางมีการเตรียมความพรอมในเรื่อง Carbon Footprint มากกวาผูประกอบการผลิตสินคาอุตสาหกรรม<br />

ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากมาตรการดานสิ่งแวดลอมและพลังงานที่ประเทศคูคาบังคับใชในการนําเขาสินคากลุมเกษตรและ<br />

อาหาร เชน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Standard : SPS) การอนุรักษและ<br />

ปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดลอม เปนตน มีความยุงยากในการดําเนินการนอยกวามาตรการดานสิ่งแวดลอมและพลังงาน<br />

ของสินคาอุตสาหกรรม เชน การใชสารที่เปนอันตรายในอุปกรณเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (RoHS) และความ<br />

ปลอดภัยในการการใชสารเคมีในการผลิตผลิตภัณฑ การสื่อสารขอมูลและใหคําแนะนําการใชสารเคมีอยางปลอดภัย<br />

(REACH) กฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส และอุปกรณไฟฟา การออกแบบใหอุปกรณและเครื่องใชไฟฟาตางๆ ประหยัด<br />

พลังงานมากยิ่งขึ้น (EuP) ฯลฯ นอกจากนี้ ผลจากการประชุมระดมสมองผูประกอบการผลิตเครื่องใชไฟฟาและ<br />

อิเล็กทรอนิกส เพื่อกําหนดทิศทางการรับมือกับมาตรการของประเทศคูคา ซึ่งจัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรมเมื่อ<br />

เดือนกุมภาพันธ 2553 ชี้ใหเห็นวาผูประกอบการผลิตสินคาอุตสาหกรรมยังใหความสําคัญกับกฎระเบียบขางตนซึ่งมี<br />

การปรับปรุงเพิ่มเติมมากกวาเรื่อง Carbon Footprint และมีผูประกอบการ 2-3 รายที่ระบุวามีลูกคาบางรายเริ่มขอ<br />

ขอมูลเกี่ยวกับ Carbon Footprint ของสินคา<br />

ผลการวิเคราะหนโยบายและกรอบเวลาที่ประเทศตางๆ บังคับใชฉลาก Carbon Footprint ในผลิตภัณฑตางๆ<br />

และสถานภาพการทําฉลาก Carbon Footprint สําหรับผลิตภัณฑระหวางไทยกับตางประเทศพบวา ผูประกอบการ<br />

ไทยนาจะมีขอไดเปรียบในการประเมิน Carbon Footprint และการสงออกสินคาคารบอนต่ํา คือ ใชเวลาในการ<br />

ประเมินสั้นและไมตองเสียคาใชจายมากในการขออนุญาตใชฉลาก เนื่องจากผูประกอบการไทยที่สงออกสินคาเปน<br />

OEM การประเมินจึงอาจเนนเฉพาะการจัดหาวัตถุดิบจนถึงการแปรรูป ไมจําเปนตองทําครบวงจร (ยกเวนในกรณีที่<br />

รับจางผลิตทุกขั้นตอน หรือบริษัทที่จางผลิตเรียกรองเพิ ่มเติม) ทําใหเสียคาใชจายเพื่อขอการรับรองผลเฉพาะแบบ<br />

3 การประเมินวัฏจักรชีวิต คือกระบวนการวิเคราะหและประเมินคาผลกระทบของผลิตภัณฑที่มีตอสิ่งแวดลอมตลอดชวงชีวิตของผลิตภัณฑ<br />

ตั้งแตการสกัดหรือการไดมาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนสงและการแจกจาย การใชงานผลิตภัณฑ การใชใหม / แปรรูป และการจัดการ<br />

เศษซากของผลิตภัณฑหลังการใชงาน (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ, n/d)<br />

814


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

B2B (Business to business) จากองคกรรับรองฉลาก Carbon Footprint เทานั้น นอกจากนี้สินคาสงออกไทยหลาย<br />

ชนิดมีโอกาสและศักยภาพในการแขงขันในตลาดที่มีความตื่นตัวในการบริโภคสินคาคารบอนต่ํา หากผูประกอบการ<br />

ผลิตและสงออกสินคาไทยมีการศึกษาและเตรียมความพรอมดาน Carbon footprint<br />

เมื่อพิจารณาผลกระทบของมาตรการ Carbon Footprint ตอผลิตภัณฑสงออกของไทยที่มีมูลคาสูง 20<br />

รายการ ตามเงื่อนไขตางๆ ไดแก 1) ความพรอมดานการประเมินและการจัดทําฉลาก Carbon Footprint ของ<br />

ผลิตภัณฑของประเทศไทยและประเทศคูแขง 2) ความตองการของตลาด และ 3) เวลาที่เริ่มมีการบังคับใหสินคาติด<br />

ฉลากในตลาด ตามลําดับ อาจแบงสินคาดังกลาวออกเปน 3 กลุม ตามเงื่อนไขดังตารางที่ 3 และตารางที่ 4 ตามลําดับ<br />

โดยสินคาใน 2 กลุมแรกจะพิจารณาจากเงื่อนไขที่ 1 และ 2 เปนหลัก ขณะที่สินคาในกลุมที่ 3 เปนกลุมสินคาที่ยังไมมี<br />

ความตองการของตลาดที่ชัดเจน แตเปนสินคาที่ไทยสงออกมากและมีศักยภาพในการผลิตเปนสินคาคารบอนต่ํา<br />

ตารางที่ 3 เงื่อนไขที่ใชในการพิจารณาแบงกลุมสินคาสงออกที่ไดรับผลกระทบจาก Carbon Footprint<br />

กลุมสินคา<br />

ประเทศไทย ประเทศคูคา ประเทศคูแขง<br />

ติดฉลาก ติดฉลาก ติดฉลาก<br />

1. กลุมสินคาที่ไทย/ประเทศคูคามีการติด / <br />

ฉลากแลว<br />

2. กลุมสินคาที่มีแนวโนมตองการฉลาก / / <br />

3. กลุมสินคาที่ไทยควรเตรียมความพรอม <br />

1. กลุมสินคาที่ไทยมีการติดฉลากแลว มีมูลคาสงออกรวมประมาณ 2.5 แสนลานบาท เปนกลุมสินคาที่<br />

ประเทศคูคามีสินคาที่ติดฉลาก Carbon Footprint บางแลว สินคาที่อยูในกลุมนี้สวนใหญเปนสินคาเกษตรและ<br />

อุตสาหกรรมเกษตร ไดแก ทูนากระปอง ผลิตภัณฑไกแปรรูป ผลไมกระปอง น้ําผลไม (น้ําสับปะรด) และขาว และ<br />

สินคาอุตสาหกรรม เชน เครื่องปรับอากาศและเสื้อผาสําเร็จรูป ซึ่งในกลุมนี้ผูประกอบการไทยมีความพรอมในระดับ<br />

หนึ่งเนื่องจากเขารวมโครงการนํารอง Carbon Footprint ของไทย<br />

ดังนั้น ในระยะสั้นควรมีการสงเสริมใหผูประกอบการรายอื่นๆ เตรียมความพรอมในเรื่องการแสดงขอมูล<br />

Carbon Footprint ของสินคาใหแกลูกคาโดยเฉพาะหางคาปลีกขนาดใหญตางๆ ที่มีนโยบายจําหนายสินคาคารบอนต่ํา<br />

เพิ่มขึ้น เพื่อรักษาฐานตลาดที่มีอยูเดิม ซึ่งอาจนําไปสูโอกาสในการขยายตลาดใหม และควรพัฒนาหาแนวทางในการ<br />

ลดการปลอย GHG จากกระบวนการผลิตเพื่อรักษาความสามารถในการแขงขันในระยะกลางและยาวตอไป<br />

2. กลุ มสินคาที่มีแนวโนมตองการฉลาก มีมูลคาสงออกรวมประมาณ 3.7 แสนลานบาท โดยที่ผูซื้อยังไมมี<br />

นโยบายที่ชัดเจนในการบังคับการติดฉลากสินคา แตมีแนวโนมวาบริษัทรายใหญตองการสินคาคารบอนต่ําเพิ่มขึ้น<br />

ขณะเดียวกันประเทศคูแขงมีสินคาที่ติดฉลาก Carbon Footprint บางแลว สินคาที่อยูในกลุมนี้ ไดแก เครื่อง<br />

คอมพิวเตอร อุปกรณ เครื่องรับวิทยุโทรทัศน สวนประกอบ กุงแชเย็น แชแข็ง และแปรรูป น้ําตาลทราย ผักสดแชเย็น<br />

แชแข็ง และผลไมสดแชเย็น แชแข็ง<br />

สําหรับสินคาในกลุมนี้ ผูผลิตของไทยคอนขางขาดความพรอม เนื่องจากยังไมไดเขารวมโครงการนํารองฯ<br />

ดังนั้น จึงควรเตรียมความพรอมในเรื่อง Carbon Footprint เพื่อใหยังคงเปนสวนหนึ่งของหวงโซการผลิต หรือขยายไป<br />

ยังหวงโซการผลิตของผูผลิตรายใหญรายใหม<br />

3. กลุมสินคาที่ไทยควรเตรียมความพรอม มีมูลคาสงออกรวมประมาณ 3.3 แสนลานบาท สินคาใน<br />

กลุมนี้เชน รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ยางพาราและผลิตภัณฑยาง เนื่องจากภาคขนสงเปนภาคที่ปลอย<br />

GHG มากเปนอันดับ 3 ของการปลอย GHG ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษย (IPCC, 2007) ปจจุบัน<br />

815


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ประเทศพัฒนาแลว เชน กลุม EU และสหรัฐอเมริกาไดออกกฎระเบียบบังคับเพื่อลดการปลอย GHG ในภาคขนสง<br />

นอกเหนือจากการสงเสริมการใชเชื้อเพลิงชีวมวลแลวและการพัฒนารถยนตที่ใชพลังงานทางเลือกอื่นๆ ในสวนของ<br />

เครื่องยนตมีการออกกฏใหผูผลิตรถยนตตองปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนตใหปลอย CO 2 ต่ํา และการออกแบบ<br />

ใหรถยนตมีน้ําหนักเบาเพื่อประหยัดเชื้อเพลิง นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาชิ้นสวนเพื่อสรางพาหนะน้ําหนักเบา รวมถึง<br />

การใชยางประหยัดเชื้อเพลิงในรถชนิดตางๆ เพิ่มขึ้น เชน ในรัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา ออกกฎหมายบังคับใชยาง<br />

ประหยัดเชื้อเพลิงเมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 (Lascelles Linton, 2008) และประเทศสหราชอาณาจักรจะบังคับใหรถ<br />

ใหมทุกคันที่ผลิตขึ้นในป 2560 ตองใชยางประหยัดเชื้อเพลิง (CBI, 2009)<br />

อยางไรก็ดี ผูประกอบการไทยในกลุมนี้มีศักยภาพในการผลิตสินคาที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศไดใน<br />

ระดับหนึ่ง ไมวาจะเปนอุตสาหกรรมรถยนตที่สามารถผลิตรถยนตเพื่อการสงออกของไทยไดตามมาตรฐานการ<br />

ปลอยไอเสียของสหภาพยุโรป จึงตอบสนองความตองการของตลาดโดยไมจําเปนตองใชฉลาก Carbon Footprint<br />

แตอยางใด หรือผูผลิตยางรถยนตสําหรับเครื่องจักรกลการเกษตรที่ไดรับฉลาก Carbon Footprint ของไทยแลว<br />

หรือผูผลิตยางพาราสงออกที่สามารถคํานวณหาคาชดเชยการปลอย CO 2 (Carbon offset) จากการปลูกยางพารา<br />

และการใชพลังงานจากกาซชีวภาพที่ผลิตจากน้ําเสียของโรงงานในกระบวนการผลิต หรือการเริ่มปรับปรุงและวิจัย<br />

พัฒนาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาดใหม เชน การผลิตชิ้นสวนและอุปกรณดวยวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับ<br />

ใชในการผลิตรถยนตน้ําหนักเบา ยางพาราคารบอนต่ํา เปนตน<br />

ตารางที่ 4 กลุมสินคาสงออกสําคัญของไทย ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน และ<br />

ออสเตรเลีย 20 รายการในป 2552<br />

ลําดับที่ สินคา<br />

มูลคาการ<br />

สงออก<br />

(ลานบาท)<br />

สวนแบง<br />

ตลาด<br />

การติดฉลาก Carbon<br />

Footprint<br />

ไทย คูคา คูแขง<br />

กลุมสินคาที่ไทย/ประเทศคูคามีการติดฉลากแลว<br />

1 เสื้อผาสําเร็จรูป 71,000 48% <br />

2 เครื่องปรับอากาศ และสวนประกอบ 39,000 46% <br />

3 ไกแปรรูป 44,000 94% <br />

4 ผลไมกระปองและแปรรูป 30,000 71%<br />

สับปะรดกระปอง <br />

<br />

น้ําผลไม<br />

(น้ําสับปะรด) <br />

5 ทูนากระปอง 27,000 52% <br />

6 ขาว 31,000 18% <br />

7 อาหารสัตวเลี้ยง 15,000 65% <br />

กลุมสินคาที่มีแนวโนมตองการฉลาก<br />

เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและ<br />

8 สวนประกอบ 225,000 41% <br />

816


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ลําดับที่ สินคา<br />

มูลคาการ<br />

สงออก<br />

(ลานบาท)<br />

สวนแบง<br />

ตลาด<br />

การติดฉลาก Carbon<br />

Footprint<br />

ไทย คูคา คูแขง<br />

9 เครื่องรับวิทยุโทรทัศน สวนประกอบ 57,000 53% <br />

10 ผลิตภัณฑกุง <br />

กุงแชเย็น แชแข็ง 37,000 80% <br />

กุงแปรรูป 38,000 91% <br />

11 น้ําตาลทราย 8,800 14% <br />

12 ผักสดแชเย็น แชแข็งและแหง 4,800 72% <br />

13 ผลไมสดแชเย็น แชแข็งและแหง 2,500 14% <br />

กลุมสินคาที่ไทยควรเตรียมความพรอม<br />

14 รถยนตอุปกรณและสวนประกอบ 120,000 31%<br />

รถยนตนั่ง <br />

ชิ้นสวนครบชุดรถยนตนั่ง <br />

15 เครื่องใชไฟฟาและสวนประกอบอื่นๆ 68,000 60% <br />

16 ผลิตภัณฑยาง 67,000 44%<br />

ยางยานพาหนะ <br />

ถุงมือยาง <br />

17 ยางพารา 36,000 24% <br />

18 รองเทาและชิ้นสวน 17,000 62% <br />

19 เฟอรนิเจอรและชิ้นสวน 25,000 73% <br />

20 กลวยไม 1,800 69% <br />

มูลคาการสงออกรวม 965,000 <br />

นอกจากนี้ การวิจัยยังพบวา การตลาดในกลุมประเทศ ASEAN เปนอีกกลุมหนึ่งที่ควรทําการศึกษา<br />

เพิ่มเติม แมวา ASEAN ยังไมมีความตื่นตัวในสินคารักษสิ่งแวดลอม แตเนื่องจากเปนกลุมประเทศคูคาอันดับหนึ่ง<br />

ของไทยหากพิจารณาในเชิงมูลคารวมการสงออก เพราะเปนฐานการผลิตสําคัญของหวงโซการผลิตของโลกที่<br />

สงออกไปยังกลุมประเทศที่มีความตื่นตัวเรื่องสินคาคารบอนต่ํา ขณะเดียวกันก็เปนแหลงผลิตวัตถุดิบที่สําคัญ<br />

สําหรับอุตสาหกรรมไทย เชน ขาวโพด จึงควรมีการศึกษาประเภทสินคาพื้นฐานที่ไทยนําเขาจาก ASEAN เพื่อใช<br />

เปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาสงออก 20 รายการ เพื่อเตรียมสรางความรวมมือในการจัดทําบัญชีรายการสิ่งแวดลอม<br />

(Life Cycle Inventory; LCI) 4 และการประเมิน Carbon Footprint รวมกันในภูมิภาคตอไป<br />

4<br />

คือ ขอมูลบัญชีรายการ (Inventory data) ที่แสดงถึงปริมาณสารขาเขา (Input) และสารขาออก (Output) รวมถึงมลภาวะของกระบวนการ<br />

ผลิต/ระบบผลิตภัณฑที่เลือกศึกษา (สถาบันพัฒนาวิชาชีพ สวทช., n/d)<br />

817


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

Carbon Footprint มีแนวโนมที่จะเปน NTB รูปแบบใหมที่ประเทศพัฒนาแลวที่มีภาระตองลด GHG ผลักดัน<br />

ใหประเทศกําลังพัฒนาที่เปนผูผลิตสินคาสงออกตองผานการรับรองมาตรฐานและติดฉลาก Carbon Footprint<br />

เชนเดียวกับฉลากสิ่งแวดลอมอื่นๆ เพื่อใหประเทศพัฒนาแลวสามารถลดการปลอย GHG ผานการสงเสริมใหผูบริโภค<br />

ในประเทศเลือกซื้อสินคาที่ติดฉลาก Carbon Footprint สงผลใหปจจุบันการสงออกสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมของ<br />

ประเทศไทยเริ่มไดรับผลกระทบจากมาตรการ Carbon Footprint เนื่องจากประเทศคูคาสําคัญ เชน สหภาพยุโรป<br />

ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย เริ่มสงเสริมใหผูบริโภคภายในประเทศของตนใชสินคาและบริการคารบอนต่ํา<br />

มากขึ้น ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสินคาที่มีมูลคาสงออกสูงไปยังประเทศขางตน 20 รายการ พบวาสินคาสงออกทุก<br />

รายการไดรับผลกระทบจากมาตรการ Carbon Footprint โดยมีสินคาสําคัญ 13 รายการที่มีมูลคาสงออกประมาณ<br />

5.9 แสนลานบาท (ป 2552) จะเปนสินคากลุมแรกๆ ที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากมาตรการติดฉลาก Carbon<br />

Footprint ในป 2553-2554 เนื่องจากประเทศคูคามีนโยบายชัดเจนในเรื่องดังกลาว และมีสินคา 7 รายการที่มีมูลคา<br />

สงออกรวมในป 2552 ประมาณ 3.3 แสนลานบาทอาจไดรับผลกระทบภายในป 2553-2558 แตยุทธศาสตรในการ<br />

รับมือและเตรียมความพรอมดาน Carbon Footprint ใหแกสินคาดังกลาวยังตองคํานึงถึงมาตรการหรือขอบังคับดาน<br />

สิ่งแวดลอมอื่นที่เกี่ยวของดวย<br />

Carbon Footprint เปนเรื่องคอนขางใหมในประเทศไทย การดําเนินงานในเรื่องนี้จึงอยูในขั้นเริ่มตน<br />

โดยเฉพาะดานการพัฒนาวิธีประเมิน Carbon Footprint ของผลิตภัณฑและฐานขอมูล LCI ของวัสดุพื้นฐานที่<br />

เกี่ยวของ และมีผูประกอบการที่อยูในกลุมที่คาดวาจะไดรับผลกระทบเขารวมโครงการสงเสริมการใช Carbon<br />

Footprint เพียง 7 รายการ นอกจากนี้ ยังขาดความเชื่อมโยงกับนโยบายหรือแผนงานของประเทศที่เกี่ยวของกับ<br />

การลดการปลอย GHG การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรม และการเจรจาตอรองทาง<br />

การคาระหวางประเทศ รวมถึงขาดการประชาสัมพันธใหประชาชนมีความเขาใจและตื่นตัวในการเลือกใชสินคาที่<br />

เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงจําเปนตองเรงสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ Carbon Footprint ใหแกหนวยงาน<br />

ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ เพื่อสงเสริมใหเกิดการลดการปลอย GHG ของประเทศเปนไปในทิศทางเดียวกันและ<br />

บรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว และรักษาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจกับ<br />

ประเทศคูแขง ไมวาจะผานการรักษาตลาดสินคาเดิม หรือขยายตลาดสินคาใหม<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- About a low carbon economy. (n/d). Available:<br />

http://www.lowcarboneconomy.com/LCE/AboutALowCarbonEconomy<br />

- Bengt Johansson. (2000), Sweden Workshop on Innovation and the Environment:<br />

Economic Instruments in Practice 1: Carbon Tax in Sweden. Available:<br />

http://www.oecd.org/dataoecd/25/0/2108273.pdf<br />

- Carbon Disclosure Project (2010), Supply Chain Report 2010. Available :<br />

https://www.cdproject.net/CDPResults/CDP-Supply-Chain-Report_2010.pdf<br />

- Carbon Trust. (n/d). Carbon footprinting. Available: http://www.carbontrust.co.uk/cutcarbon-reduce-costs/calculate/carbon-footprinting/Pages/carbon-footprinting.aspx<br />

818


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Carbon Trust. (n/d), Low Carbon Buildings Accelerators. Available:<br />

http://www.carbontrust.co.uk/emerging-technologies/current-focusareas/buildings/pages/buildings.aspx<br />

- CBI. (2009), Going the distance: the low-carbon transport roadmap. CBI on climate<br />

change, April 2009. Available:<br />

http://climatechange.cbi.org.uk/uploaded/CCT_010_03%20TRANS%20v4.pdf<br />

- Chris Goodall. (2007). Tesco vs. Wal-Mart vs. carbon emissions. Newsletter #2. Carbon<br />

commentary. Available: http://www.carboncommentary.com/category/newsletter-2<br />

- Defra. (2010), Food 2030. January 2010. Available:<br />

http://www.defra.gov.uk/foodfarm/food/pdf/food2030strategy.pdf<br />

- Environment leader. (2010). Asda, Tesco, Sainsbury’s to Cut Packaging Carbon<br />

Footprint 10% by 2012. Available: http://www.environmentalleader.com/2010/03/05/asdatesco-sainsburys-to-cut-packaging-carbon-footprint-10-by-2012/<br />

- European Commission. (n/d), Reducing CO 2 emissions from light-duty vehicles.<br />

Environment. Available: http://ec.europa.eu/environment/air/transport/co2/co2_home.htm<br />

- IPCC; Solomon, S., D. Qin, M. Manning, Z. Chen, M. Marquis, K.B. Averyt, M. Tignor<br />

and H.L. Miller (eds.). (2007), "Chapter 7. Couplings Between Changes in the Climate<br />

System and Biogeochemistry". Climate Change 2007: The Physical Science Basis.<br />

Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the<br />

Intergovernmental Panel on Climate Change. Cambridge, United Kingdom and New<br />

York, NY, USA: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-88009-1. Available:<br />

http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-chapter7.pdf.<br />

- Julian Carroll. (2009), The EU sustainable consumption and production policy:<br />

implications for packaging entering EU markets. Presentation of the Food Innovation Asia<br />

- PROPAK ASIA, Bangkok, Thailand, 19 June 2009.<br />

- Julie Chauveau. (2008), Bonus-malus écologique : après l'auto, d'autres produits<br />

seraient concernés. LesEchos.fr. 14 August 2008. Available :<br />

http://www.lesechos.fr/patrimoine/famille/300286339- bonus-malus-ecologique-apres-lauto-d-autres-produits-seraient-concernes.htm<br />

- Lim Lee Fang. (n.d), Emerging ISO standards on environmental labelling and life cycle<br />

assessment -a barrier to trade?. Association of Southeast Asian Nations. Available:<br />

http://www.aseansec.org/7013.htm<br />

- Lascelles Linton. (2008), California has low-resistance tire laws. Autoblog green, 3 rd<br />

January, 2008. Available: http://green.autoblog.com/2008/01/03/california-has-lowresistance-tire-laws/<br />

- Ministry of ecology, energy, sustainable development and the sea. (2010), Tout ce que<br />

vous voulez savoirsur le bonus écologique. Available : http://www.developpementdurable.gouv.fr/Tout-ce-que-vous-voulez-savoir-sur,13044.html<br />

819


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- PCF World Forum. (n/d), ISO 14067 - Carbon Footprint of Products. Available:<br />

http://www.pcf-world-forum.org/partner/iso-14067-carbon-footprint-of-products/<br />

- Peters GP and Hertwich EG. (2008), CO 2 embodied in international trade with<br />

implications for global climate policy. Environ Sci Technol. March 2008, 1;42(5):1401-7.<br />

- Stephanie Rosenbloom. (2009), At Wal-Mart, labeling to reflect green intent. The New<br />

York Times. 15 July 2009. http://www.nytimes.com/2009/07/16/business/energyenvironment/16walmart.html?_r=2<br />

- Takaki Ikezuki. (2009), International Trade Center (ITC) the OECD, Japan’s carbon<br />

footprint system. Global Forum on Trade. Trade and Climate Change 9-10 June 2009.<br />

- Terry Leahy. (2007), TESCO, Carbon and the Consumer. 18 January 2007. Available:<br />

ttp://www.tesco.com/ climatechange/speech.asp<br />

- The North Carolina Division of Pollution Prevention and Environmental Assistance.<br />

(2000), A fact sheet for the ISO 14000 family of standards: environmental management<br />

systems, March 2000.<br />

- US-EPA. (n/d). Greenhouse Gas Reporting Program. Available:<br />

http://www.epa.gov/climatechange/ emissions/ghgrulemaking.html<br />

- ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. (n/d). การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment<br />

: LCA) คือ อะไร. สืบคนจาก :<br />

http://www.mtec.or.th/ecodesign2010/index.php?option=com_content&view= article&id<br />

=6:-life-cycle-assessment-lca&catid=1:-ecodesign&Itemid=5.<br />

- สถาบันพัฒนาวิชาชีพ. การประเมินวัฏจักรชีวิต. สไลดประกอบหลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ<br />

อยางยั่งยืน. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, ม.ป.ป. สืบคนจาก :<br />

http://www.qlickbranding.com/learn/chap6/slide4/presentation.html<br />

- กระทรวงพาณิชย. สถิติการคาระหวางประเทศของไทยป 2552, 2552.<br />

- สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 14025-<br />

2552 ISO 14025: 2006. ฉลากสิ่งแวดลอมและคําประกาศสิ่งแวดลอม: คําประกาศสิ่งแวดลอม<br />

ประเภทที่ 3: หลักการและขั้นตอนการปฏิบัติ. กระทรวงอุตสาหกรรม, 2552.<br />

- อบก. การสงเสริมการใชคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑ, 2553. Available :<br />

http://www.tgo.or.th/index.php?option=com_content&task=category&sectionid=8&id=44&It<br />

emid=68<br />

820


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท คําตอบสุดทายของสินคารักษสิ่งแวดลอม?<br />

Carbon Footprint Final Solution for Green Products?<br />

กฤษดา บํารุงวงศ, กุลวรางค สุวรรณศรี และ ยุวนันท สันติทวีฤกษ<br />

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

73/1 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

บทคัดยอ<br />

ปจจุบันมาตรการการใชฉลากคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) บนผลิตภัณฑและบริการ เพื่อ<br />

กระตุนใหเกิดการผลิตและการบริโภคสินคาคารบอนต่ํา และสื่อถึงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของสินคา เริ่มเปนที่<br />

รูจัก และยอมรับมากขึ้นจากทั้งผูผลิตและผูบริโภค โดยเฉพาะในกลุมสหภาพยุโรปและประเทศพัฒนาแลวอื่นๆ<br />

ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทเปนการใหขอมูลปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก ที่เกิดขึ้นตลอดวัฏจักรชีวิตของ<br />

ผลิตภัณฑ คือ ตั้งแตกระบวนการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การขนสง การใชงาน จนถึงการจัดการซากผลิตภัณฑ<br />

แมวาการแสดงขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทบนฉลากเปนมาตรการโดยสมัครใจ แตในบางประเทศเริ่มมีการระบุไวใน<br />

กฎหมายและแผนยุทธศาสตรของประเทศ เชน กฎหมาย Grenelle 2 ของประเทศฝรั่งเศสระบุใหผูผลิตตองแจงให<br />

ผูบริโภครับทราบขอมูลปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทของสินคาจากฉลากเครื่องหมายหรือสื่ออื่นๆ ตั้งแตวันที่<br />

1 มกราคม ป 2554<br />

อยางไรก็ตาม การแสดงขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทบนผลิตภัณฑเพียงอยางเดียวอาจไมเพียงพอตอการ<br />

สื่อสารวาเปนสินคารักษสิ่งแวดลอมและอาจนําไปสูคําแนะนําในการเลือกซื้อผลิตภัณฑรักษสิ่งแวดลอมที่<br />

คลาดเคลื่อน เนื่องจากผูบริโภคไมไดพิจารณาขอมูลสิ่งแวดลอมและสังคมอื่น เชน การใชน้ําและที่ดิน การปลอย<br />

สารพิษสูดินและน้ํา สวัสดิภาพสัตว การคาที่เปนธรรม เพื่อใชในการตัดสินใจซื้อสินคา การศึกษานี้ไดประมวล<br />

มาตรการการใชคารบอนฟุตพริ้นทและงานวิจัยจากประเทศตางๆ เพื่อแสดงใหเห็นถึงขอจํากัดของการใชคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทในการสื่อสารเพื่อสงเสริมการบริโภคสินคารักษสิ่งแวดลอม เพื่อเปนขอมูลสําหรับผูประกอบการและ<br />

ผูจัดทํานโยบายของไทยตระหนักถึงปญหาและเตรียมพรอมสําหรับการสงเสริมการผลิตสินคาสําหรับสังคมคารบอน<br />

ต่ําตอไป<br />

คําสําคัญ : คารบอนฟุตพริ้นท ฉลากคารบอน การสื่อสารขอมูล<br />

Abstract<br />

Carbon footprint label, used as a communication media between producers and consumers,<br />

shows the quantity of greenhouse gas released to environment throughout the product life cycle.<br />

Therefore, the label demonstrates how the product or service is environmental friendly. Nowadays the<br />

label is rapidly accepted especially in the European Union and other developed countries. Although the<br />

labeling is on the voluntary basis, some countries indicate in regulation and national strategy. For<br />

821


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

example, France, launched Grenelle 2 law, forces producers show the carbon footprint label starting on<br />

January, 2011.<br />

However, the carbon footprint label has some limitation as a communication media showing the<br />

efficiency of environmental friendly. There are other data that are not included in the label such as land<br />

and water management, animal welfare, and fair trade. This paper reviews the use of carbon footprint<br />

label in developed countries and its limitations. It also shows the suitable suggestion for Thai producers<br />

and industries.<br />

1. ความสําคัญ<br />

กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจของโลกที่ผานมาในอดีตมาจากการผลิตสินคาและบริการโดยใช<br />

ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณมากเพื่อใชตอบสนองกิจกรรมของมนุษย กอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจก<br />

(Green House Gas: GHG) จํานวนมากออกมาดวย มีผลใหในปจจุบันโลกเกิดปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศที่สงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชากรทั่วโลก จึงมีความสนใจในการแกไขปญหานี้ในทาง<br />

เศรษฐกิจและสังคม แนวคิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจและกลาวถึงอยางกวางขวางทั่วโลกคือ เศรษฐกิจคารบอนต่ํา<br />

(Low carbon Economy) 5 ที่เนนใหมีการปรับเปลี่ยนการผลิตและการบริโภคใหปลอย GHG โดยเฉพาะกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ใหนอยที่สุด การกระตุนใหผูบริโภคมีสวนรวมในการรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม ดวยการ<br />

สรางคานิยมการบริโภคผลิตภัณฑหรือบริการที่ปลอยคารบอนต่ํา จําเปนตองมีการประเมินปริมาณการปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด ที่เกิดจากการผลิตสินคาหรือบริการ แนวคิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจและไดรับการกลาวถึงคือ<br />

การแสดงคา “คารบอนฟุตพริ้นท” (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑสินคาและบริการ<br />

การแสดงขอมูลคารบอนฟุตพรินทบนผลิตภัณฑไดรับการยอมรับถึงรอยละ 82 จากการสํารวจทัศนคติ<br />

ของคนยุโรป56 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 ใน 27 ประเทศสวนใหญเปนผูมีอายุระหวาง 15-24 ป อยูในวัยเรียนแสดง<br />

ใหเห็นถึงแนวโนมการยอมรับฉลากคารบอน (Carbon Label) มากขึ้น อยางไรก็ตาม คาคารบอนฟุตพริ้นทเปนการ<br />

แสดงคาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในรูปของคารบอนไดออกไซด (เทียบเทา) ตลอดวัฏจักรชีวิตของ<br />

ผลิตภัณฑ ซึ่งอาจไมเพียงพอตอการสื่อสารวาเปนสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 67 ที่ตองคํานึงการประหยัด<br />

พลังงาน การใชน้ํา การกําจัดของเสียดวย<br />

รายงานนี้ศึกษาผลการใชคารบอนฟุตพริ้นทและผลการสํารวจจากประเทศตางๆ เพื่อแสดงใหเห็นถึง<br />

ขอจํากัดของการใชคารบอนฟุตพริ้นทในการสื่อสารเพื่อสงเสริมการบริโภคสินคาเพื่อสิ่งแวดลอม และ การสื่อสาร<br />

ฉลากสิ่งแวดลอมของไทยในอดีตที่ประสบความสําเร็จในปจจุบัน เพื่อเปนขอมูลใหผูเกี่ยวของกับการออกฉลาก<br />

เตรียมพรอมในการรณรงคใหฉลากคารบอนฟุตพริ้นทเปนที่รูจักตอสาธารณะทั่วไปในการเตรียมพรอมเขาสูยุค<br />

สังคมคารบอนต่ําของไทย<br />

5 http://www.lowcarboneconomy.com/LCE/AboutALowCarbonEconomy<br />

6 European Commission. 2009. Europeans’ attitudes towards the issue of sustainable consumption and production: analytical report.<br />

Flash Eurobarometer. July 2009.<br />

7 ฉลาดเลือกสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดล<br />

822


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัตถุประสงค<br />

เพื่อศึกษาการออกฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของตางประเทศที่ใชสื่อสารการบริโภคสินคา และเสนอขอมูล<br />

ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทอื่นๆ ของไทยในอดีตที่ไดรับการยอมรับจากประชาชนทั่วไป<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การศึกษานี้ไดประมวลผลการใชคารบอนฟุตพริ้นทและผลสํารวจจากประเทศตางๆ โดยเฉพาะกลุม<br />

สหภาพยุโรป เพื่อแสดงใหเห็นผลของการใชคารบอนฟุตพริ้นทในการสื่อสารเพื่อสงเสริมการบริโภคสินคา<br />

สิ่งแวดลอมรวมถึงขอจํากัดที่เกิดขึ้น และขอมูลฉลากที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมของไทยในปจจุบันที่ประสบ<br />

ความสําเร็จในการสื่อสารตอสาธารณะใหตระหนักถึงสิ่งแวดลอม ขอมูลการศึกษานี้ไดมาจากการประมวลขอมูล<br />

ทุติยภูมิที่เกี่ยวของจากเอกสารงานวิจัยและสํารวจในตางประเทศ และขอมูลฉลากสิ่งแวดลอมของไทย<br />

4. ผลการศึกษา<br />

การสื่อสารขอมูลฉลากคารบอนฟุตพริ้นทในตางประเทศ<br />

ประเทศชั้นนําในกลุมสหภาพยุโรป เปนผูนําในการทดลองใชฉลากคารบอนฟุตพริ้นทกับสินคาที่ขาย<br />

ภายในประเทศและสื่อสารขอมูลเหลานั้นใหกับผูบริโภค พบวายังคงมีปญหาในการทําความเขาใจกับผูบริโภคใน<br />

ประเด็นสิ่งแวดลอม และยังมีการพัฒนาฉลากสิ่งแวดลอมอื่นๆ ควบคูไปดวยกัน ดังนี้<br />

1) ฝรั่งเศส<br />

ภาคธุรกิจของประเทศฝรั่งเศสไดริเริ่มพัฒนาและติดฉลากเพื่อแสดงคุณภาพของสินคาและ<br />

ความรับผิดชอบตอสังคม รวมถึงสิ่งแวดลอม ตั้งแตป 2532 เนื่องจากเปนการดําเนินการโดยสมัครใจ ทําใหขอมูลที่<br />

แสดงบนฉลากมีความหลากหลายและไมไดเปนมาตรฐานเดียวกันขึ้นอยูกับประเภทของสินคา 78 เชน แบตเตอรี่<br />

โทรศัพทเคลื่อนที่ตองมีการคํานวณ การใชทรัพยากรสิ้นเปลือง ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และสวนประกอบที่<br />

เปนวัตถุอันตรายดวย อยางไรก็ตาม เมื่อเริ่มมีการสงเสริมการใชฉลากสิ่งแวดลอมประเภทใหม นั่นคือ ฉลาก<br />

คารบอนฟุตพริ้นท โดยในชวงปลายป 2550 รัฐบาลฝรั่งเศสไดมีขอตกลงรวมกับภาคธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ<br />

Casino Groupe เพื่อทดลองออกฉลากสิ่งแวดลอมที่แสดงคาคารบอนฟุตพริ้นทในสินคาอุปโภคบริโภคตั้งแตเดือน<br />

มกราคม 255189 ดังนั้นเพื่อปองกันความสับสนในการแสดงขอมูลดานสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑและบริการที่มี<br />

ความหลากหลายและในรูปแบบที่แตกตางกัน รัฐบาลฝรั่งเศสจึงไดออกกฎหมายสิ่งแวดลอม (The Grenelle<br />

Environment) ที่ระบุใหผูบริโภคควรไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมทั้งหมดเพื่อที่จะสามารถแยกแยะ<br />

ความแตกตางของแตละสินคาและบรรจุภัณฑไดชัดเจน<br />

แนวทางการออกฉลากสิ่งแวดลอมของฝรั่งเศส ในป2554 คือการทําใหฉลากสิ่งแวดลอมหลายประเภท<br />

เปนมาตรฐานเดียวกัน (Harmonization) ประการแรกกําหนดวิธีการที่เกี่ยวของในการวัดผลกระทบของสินคาตอ<br />

สิ่งแวดลอมทําใหเห็นผลกระทบในขั้นตอนตางๆ ตลอดวัฏจักรชีวิต ประการที่สองกําหนดวาผลกระทบสิ่งแวดลอมที่<br />

8 Carbon Footprint and Environment Labelling A case study from France Bio Intelligence Service -Scaling sustainable development<br />

9 n/a. 2009. It’s a wrap. Next Generation Food. Issue 7. http://www.nextgenerationfood.com/magazine/Issue-7/<br />

823


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

แสดงตอผูบริโภคตองครอบคลุมดัชนีบงชี้ผลกระทบสิ่งแวดลอมตางๆ เชน การใชน้ํา สารพิษ โดยคาคารบอนฟุตพริ้นท<br />

เปนเพียงดัชนีหนึ่งเทานั้น ประการที่สาม แยกแยะฐานขอมูลที่ใชในการคํานวณใหชัดเจน และประการสุดทาย<br />

จัดทําวิธีคํานวณที่ถูกตองบนพื้นฐานวิทยาศาสตรและสามารถใชไดกับทุกผลิตภัณฑเพื่อใหเกิดการเปรียบเทียบได<br />

รูปที่ 1 แสดงสัญลักษณะคาคารบอนฟุตพริ้นทและใบเสร็จสินคาที่แสดงคาคารบอนฟุตพริ้นท<br />

2) สหราชอาณาจักร<br />

เมื่อป 2549 The Carbon Trust รวมกับบริษัทเอกชนชั้นนํา 20 ราย ในการทดลองใช PAS 2050 ในการ<br />

ประเมินการลดและการสื่อสารเกี่ยวกับการปลดปลอยคารบอนตลอดหวงโซอุปทานของผลิตภัณฑและบริการกวา<br />

75 รายการ และไดทําการสํารวจความคิดเห็นประชาชนตอการติดฉลากลดคารบอน ความเขาใจในผลกระทบของ<br />

คารบอนฟุตพริ้นทและการติดฉลากบนสินคาและบริการ 10 พบวาผูบริโภคมีทัศนคติเชิงบวกตอการติดฉลากลด<br />

คารบอน โดยผลการวิจัยตลาดระบุวามีผูบริโภครอยละ 67 ตองการซื้อสินคาติดคารบอนฟุตพริ้นทต่ําและ<br />

เมื่อเลือกซื้อสินคาตองการทราบถึงวิธีการเลือกซื้อสินคาสีเขียวที่ถูกตอง มีผูบริโภครอยละ 44 จะเปลี่ยน<br />

ไปซื้อสินคาที่มีคารบอนฟุตพริ้นทต่ํากวาแมจะไมใชตัวเลือกแรกก็ตามและรอย 43 มีความยินดีที่จะ จายเงินเพิ่มขึ้น<br />

เพื่อซื้อสินคานั้น<br />

เทสโกซึ่งเปนหางคาปลีกอันดับ 1 ของสหราชอาณาจักรไดทํางานรวมกับ Carbon Trust โดย<br />

ทดสอบวิธีการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทตาม วิธีการ BSI PAS 2050 และฉลากลดคารบอนในสินคานํารอง 20<br />

รายการในผลิตภัณฑ 4 ประเภท ไดแก หัวมันฝรั่ง หลอดไฟ ผงซักฟอก และน้ําสม เมื่อปลายป 2550 และทดลอง<br />

ออกฉลากคารบอนที่ใหขอมูลและความรูเกี่ยวกับคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ และการเปรียบเทียบกับสินคา<br />

ประเภทเดียวกันชนิดอื่นแกผูบริโภคผานสื่อรูปแบบตางๆ เชน ฉลากลดคารบอนบนผลิตภัณฑ สื่อประชาสัมพันธ<br />

เพื่อหาวิธีการที่ผูบริโภคยอมรับและมีความเขาใจรวมกันในการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทในทุกสินคาที่เทสโกขาย<br />

ผลการสํารวจที่ไดรับจะถูกนําไปประยุกตใชกับท ุกสินคาเพื่อใหเกิดการเรียนรูและใหการศึกษากับผูบริโภคไดมาก<br />

ที่สุด ผลการสํารวจระบุวาผูบริโภครอยละ 97 จะซื้อสินคาคารบอนฟุตพริ้นทต่ําหากมีราคาถูกและหาซื้อไดงาย<br />

ขณะที่อีกรอยละ 35 จะพิจารณาเปรียบเทียบระหวางตนทุนและความสะดวกในการซื้อสินคา ดังนั้นเทสโก<br />

จึงไดใชกลยุทธใหผูผลิตสินคา (Suppliers) แขงขันกันใหขอมูลการปลอยคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑตนเอง<br />

10 Product Carbon Footprint: the new business opportunity experience from leading companies. http://www.carbonlabel.com/casestudies/Opportunity.pdf<br />

824


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

เพื่อสรางความแตกตางของสินคา (Product Differentiataion) จากคูแขงใหผูบริโภคไดรับทราบ จากนั้น เทสโกนํา<br />

ขอมูลที่ไดมาใสไวในฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของตนเองเพื่อเปนขอมูลแกผูบริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคา<br />

นอกจากนี้ผลวิจัยระบุวาผูบริโภคมีความยินดีที่จะมีสวนรวมในการชวยลดการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศ โดยการบริโภคสินคาที่มีคารบอนฟุตพริ้นทต่ํา แตมีขอสังเกตุบางประการคือ หนึ่ง) ขาดความเขาใจ<br />

ในขอมูลที่ไดรับวาควรซื้อผลิตภัณฑใดและใชอยางไร สอง) ตองการแนใจวาการเปลี่ยนแปลงของรายยอย เปนสวนหนึ่ง<br />

ในการชวยลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสาม) การเปลี่ยนแปลงมาใชสินคาคารบอนต่ําจะไมสงผล<br />

กระทบใหตองบริโภคสินคาแพงขึ้น ทั้งนี้ผูผลิตอาจใหขอมูลเพิ่มเติมแกผูบริโภคเพื่อใหเกิดการเปรียบเทียบความ<br />

แตกตางกับสินคาประเภทเดียวกัน หรือสินคาคนละชนิดจากผูผลิตหรือผูจําหนายรายเดียวกัน หรือผลิตจาก<br />

เทคโนโลยีที่แตกตางกัน<br />

รูปที่ 2 ฉลากลดคารบอนที่เทสโกใหขอมูลเพิ่มเติมสําหรับการเปรียบเทียบในการซื้อสินคา<br />

3) สวีเดน<br />

the Swedish food consumer organization (KRAV), Swedish Seal (Svenskt Sigill), Milko,<br />

Lantmännen, the Federation of Swedish Farmers, Scan and Skånemejerier ไดเริ่มดําเนินโครงการ The<br />

Swedish Climate Label ตั้งแตป 2549 โดยเนนการศึกษาขอเท็จจริงและรายงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหมในหวงโซ<br />

การผลิตอาหารที่สงผลกระทบตอสภาพอากาศ ตลอดจนพัฒนามาตรฐาน Climate Labeling for Food (ปจจุบันเปน<br />

มาตรฐาน version no 2009:1) ดวยวิธีการวิเคราะหของการประเมินตลอดวัฏจักรชีวิตรวมกับวิธีที่พัฒนาขึ้นโดย<br />

KRAV และ Swedish Seal<br />

มาตรฐาน Climate Labeling for Food 2009:1 11 ไดออกกฎเพื่อลดการปลอยคารบอนฟุตพริ้นในการผลิต<br />

อาหารตั้งแตฟารมจนถึงรานคา กฎที่ออกมาตั้งอยูบนพื้นฐานของขอมูลทางวิทยาศาสตร โดยมีจุดมุงหมายให<br />

ผูบริโภคเลือกซื้อสินคาที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ําที่สุด ทั้งนี้กฎดังกลาวเนนเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการใช<br />

พลังงาน การลดการใชพลังงาน การเปลี่ยนมาใชพลังงานหมุนเวียน โดยภาคธุรกิจเองยังคงตองคํานึงถึง<br />

11 Climate labeling for food. 2009. Standards for reducing climate impact in the production and distribution of food version 2009:1,<br />

adopted by the project’s steering group on 17-06-2009. http://www.klimatmarkningen.se/wp-content/uploads/2009/02/climate-labellingfor-food-2009-1.pdf<br />

825


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คุณภาพของอาหาร ครอบคลุมไปถึงการปกปองสิ่งแวดลอม สวัสดิภาพในสัตวและสังคม จริยธรรม ไปพรอมๆ กัน<br />

โดยมองวาประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาสที่ไดรับผลกระทบจากการบริโภคไมสามารถแยกออกมาจากแ<br />

นวคิดเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมในระยะยาวได การติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของสวีเดนเนนไปที่<br />

ผลิตภัณฑอาหารทั้งนําเขาและผลิตเองเทานั้น อยางไรก็ตาม ฉลากรับรองนี้จะไมแสดงตัวเลขการปลอยคารบอน<br />

แตจะแสดงวาการผลิตสินคานี้ปลอยกาซเรือนกระจกนอยกวาวิธีผลิตแบบปกติของสินคาประเภทเดียวกันอยางนอย<br />

รอยละ 251112 และผลิตภัณฑที่ผานการรับรองมาตรฐาน Climate Labeling for Food 2009:1 สามารถใชขอความ<br />

“Climate-certified production” ในการประชาสัมพันธหรือทําการตลาดของผลิตภัณฑ<br />

4) เยอรมันนี<br />

ภาคธุรกิจชั้นนําของเยอรมันนี 10 แหงไดรวมกับหนวยงานวิจัยและองคกรสิ่งแวดลอม เชน Öko-Institut -<br />

Institute for Applied Ecology, Potsdam Institute for Climate Impact Research (PIK) และ THEMA 1 ดําเนิน<br />

โครงการนํารอง Product Carbon Footprint (PCF) ระยะที่ 1 เมื่อป 2551 เพื่อทดลองประเมินคาคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ของสินคาและบริการ โดยเฉพาะกลุมสินคาอุปโภคบริโภคหลากหลายชนิด 15 รายการ เชน กระดาษชําระ แชมพู<br />

ผงซักฟอก ไขออรแกนิค เปนตน และศึกษารูปแบบการสื่อสารขอมูลการปลอยคารบอนที่นาเชื่อถือใหแกผูบริโภค<br />

และลูกคา เพื่อกระตุนใหเกิดความตระหนักถึงปญหาสิ่งแวดลอมและตัดสินใจเลือกบริโภคแบบคารบอนต่ํา<br />

นอกจากนี้ ยังพัฒนาและปรับปรุงวิธีการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท และรวมขับเคลื่อนใหเกิดการพัฒนามาตรฐาน<br />

การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของสินคาที่เปนที่ยอมรับในระดับสากล<br />

จากขอมูลผลการวิจัยของ PCF ระบุวาผูบริโภคมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในการบริโภคสินคาคารบอน<br />

ต่ํา โดยไมเขาใจวาการบริโภคสินคาที่มีคารบอนต่ําสงผลกระทบอยางไรตอสิ่งแวดลอม ดังนั้น PCF มองวาฉลาก<br />

ที่จะติดบนสินคาเพื่อสื่อถึงสิ่งแวดลอมควรมีเงื่อนไขตางๆ คืองายตอการตัดสินใจของผูบริโภค ขอมูลมีความนา<br />

เชื่อถือ เพื่อใหประชาชนสามารถตัดสินใจเลือกซื้อสินคาไดอยางถูกตอง สามารถสื่อสารเขาใจไดงายมีความ<br />

สอดคลองกันระหวางสินคาและบริการในประเภทเดียวกันและสามารถนําสินคามาเปรียบเทียบกันได<br />

ในที่สุดโครงการนํารอง PCF ไมมีการออกฉลากคารบอนสําหรับสินคานํารองที่เขารวมโครงการฯ แตใช<br />

สัญลักษณของโครงการฯ และนําเสนอขอมูลของสินคาที่ไดจากโครงการฯ ในอินเทอรเน็ต (www.pcf-project.de)<br />

เทานั้น เนื่องจากตองการศึกษาเกี่ยวกับความตองการในการออกฉลากดานภูมิอากาศและการสื่อสารขอมูล ซึ่ง<br />

ขอเสนอแนะที่ไดจากโครงการฯ เห็นวาการนําเสนอตัวเลขของการปลอยคารบอนไดออกไซด ไมไดชวยผูบริโภคใน<br />

การตัดสินใจไดมากนัก นอกจากนี้ เนื่องจากวิธีการในการคํานวณยังอยูระหวางการพัฒนา จึงจําเปนที่จะตองสราง<br />

ความโปรงใสในการจัดทําเอกสารเพื่อแสดงความนาเชื่อถือในการคํานวณ รวมถึงการพิจารณานําเงื่อนไขผลกระทบ<br />

13<br />

ดานสิ่งแวดลอมอื่นๆ เขามาประกอบดวยหรือไม12<br />

รูปที่ 3 สัญลักษณของโครงการนํารอง PCF<br />

12 Tidaker and Richert. Climate labeling of food-a Swedish initiative for climate mitigation!. Leaflet. http://www.klimatmarkningen.se/wpcontent/uploads/2009/02/climate-leaflet.pdf<br />

13 http://www.pcf-projekt.de/files/1241103260/lessons-learned_2009.pdf<br />

826


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของไทย<br />

การดําเนินการออกฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศไทยอยูภายใตความรับผิดชอบขององคการ<br />

บริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) (อบก.) เปนหนวยงานหลักที่ขับเคลื่อนการออกฉลาก และการ<br />

รับรองผลการประเมินการปลอย GHG โดยมีศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ หรือ MTEC สถาบันอุดมศึกษา<br />

ตางๆ และองคกรเอกชน ทําหนาที่เปนผูเชี่ยวชาญและใหคําปรึกษาการประเมินการปลอย GHG แก<br />

ภาคอุตสาหกรรมไทย ในปจจุบันมีโรงงานนํารองเขารวมประเมินคารบอนฟุตพริ้นทจํานวน 25 ผลิตภัณฑตัวอยาง<br />

แลว ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใชฉลากคารบอนฟุตพริ้นทสําหรับสินคาภายในประเทศพบวา ยังไมเห็นการ<br />

รณรงคที่ชัดเจนใหผูบริโภคซื้อผลิตภัณฑที่ติดฉลาก แตสําหรับภาคการสงออกนั้นฉลากคารบอนฟุตพริ้นทกลาย<br />

เปนสัญลักษณที่สําคัญที่ ชวยใหผูสงออกสินคาที่ติดฉลากสามารถนําไปสรางความแตกตางในสินคาชวยเพิ่ม<br />

ความสามารถในการแขงขันได โดยประเทศคูคาที่เปนประเทศพัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน<br />

ออสเตรเลีย ใหความสําคัญกับการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทบนผลิตภัณฑอยางมาก<br />

การสื่อสารขอมูลฉลากสิ่งแวดลอมของไทย<br />

บทเรียนในอดีตที่ผานมาของการติดฉลากที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมที่นํามาเปนกรณีศึกษาถึงความสําเร็จ<br />

ของการรณรงคใหผูบริโภคหันมาสนใจผลิตภัณฑที่ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอม พบวาสวนใหญเกิดจากการ<br />

ประชาสัมพันธอยางตอเนื่องเปนเวลานาน สัญลักษณมีความเขาใจไดงาย สื่อสารไดตรงกับสิ่งที่ผูบริโภคตองการ<br />

โดยเฉพาะเรื่องการประหยัดพลังงาน หรือชวยลดคาใชจายเปนตน ทําใหฉลากเหลานั้นเปนที่ตองการของผูผลิต<br />

เกิดการพัฒนาสินคาใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ตัวอยางฉลากเชน<br />

1) ฉลากประหยัดไฟเบอร 513<br />

14<br />

รูปที่ 4 สัญลักษณฉลากประหยัดไฟเบอร 5<br />

ดําเนินการโดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เริ่มตั้งแตป 2536 จนถึงปจจุบันเปนระยะเวลา<br />

17 ป จุดประสงคของฉลากเพื่อรณรงคใหประชาชนใชไฟฟาอยางประหยัดและใชเครื่องใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ<br />

ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ประสบความสําเร็จได เนื่องมาจาก กฟผ. ไดสรางการรับรู และความเขาใจที่ถูกตองในการ<br />

ใชพลังงานไฟฟาอยางรูคุณคาภายใตกลยุทธใชวิธีจูงใจไมมีการบังคับ เพื่อใหผูใชไฟฟาไดรับประโยชนจากการใช<br />

ไฟฟาเทาเดิมหรือมากขึ้น แตปริมาณการใชไฟฟานอยลงและจายคาไฟฟาลดลง จากนั้น กฟผ. รณรงคใหครัวเรือน<br />

เปลี่ยนมาใชอุปกรณไฟฟาที่มีประสิทธิภาพสูงโดยไดรับความรวมมืออยางดีทั้งจากผูผลิต/ผูนําเขา และทําให<br />

14 http://www2.egat.co.th/labelNo5/index.htm<br />

827


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

อุปกรณไฟฟาที่ไมมีประสิทธิภาพ เชน หลอดไฟชนิดอวนหมดไปจากตลาดเมืองไทยไดอีกดวย ตัวอยางอุปกรณ<br />

ไฟฟาในครัวเรือนที่เปนอุปกรณไฟฟาประสิทธิภาพสูง เชน เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น หลอดผอม พัดลม หมอหุงขาว<br />

เปนตน ที่ขายในตลาดเครื่องใชไฟฟาปจจุบันติดฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ทั้งหมด ซึ่งถือเปนการเปลี่ยนแปลงดวย<br />

วิธีการใชกลไกการตลาด เพราะทั้งผูผลิต ผูจัดจําหนาย และประชาชน ผูบริโภคใหการยอมรับในผลิตภัณฑที่ติด<br />

ฉลากเบอร 5<br />

ขอมูลสถิติการติดฉลากเบอร 5 15 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2552 มีการแจกจายฉลากไปจํานวนทั้งสิ้น<br />

121,371,258 ฉลาก สงผลใหโครงการผลิตภัณฑเบอร 5 สามารถดําเนินการใหประเทศลดคาพลังไฟฟาสูงสุดลงได<br />

1,709.8 เมกะวัตต ประหยัดไฟฟาใหกับประเทศ 9,929 ลานหนวย คิดเปนเงินคาไฟฟาที่ประหยัดได 29,787 ลานบาท<br />

และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดได 6.45 ลานตัน เปนความสําเร็จของการรณรงคโดยการไฟฟา<br />

ฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ทําใหประชาชนทุกคนมีสวนรวม และเกิดความยอมรับในการรวมกันประหยัดพลังงาน<br />

อยางตอเนื่องจนทําใหฉลากเบอร 5 เปนสัญญลักษณของความมีประสิทธิภาพ และการประหยัดไฟฟาของเครื่อง<br />

ใชไฟฟาในประเทศ<br />

ปจจัยแหงความสําเร็จของการติดฉลากเบอร 5 จากความเห็นของ ดร.พงษวิภา หลอสมบูรณ<br />

ผูอํานวยการสํานักสงเสริมการลงทุนและพัฒนาการตลาด องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) มี 2<br />

ปจจัยดวยกัน คือ 1) การโฆษณาประชาสัมพันธใหประชาชนไดรับทราบขอมูลอยางตอเนื่อง ซึ ่งตองอาศัย<br />

งบประมาณจํานวนมากและ 2) การทําใหเปนเรื่องใกลตัวประชาชนการประหยัดไฟฟาสามารถเห็นผลไดทันทีในรูป<br />

ตัวเงินที่มีคาใชจายลดลง ในขณะที่ฉลากสิ่งแวดลอมอื่นๆเปนการออกฉลากเพื่อเปนขอมูลใหกับผูบริโภคเทานั้นวา<br />

ผลิตภัณฑนี้ ดีตอสิ่งแวดลอมหรือไมอยางไร เพื่อใหผูบริโภคแสดงความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม<br />

ทําใหดูเปนเรื่องไกลตัว นอกจากนี้ ดร.พงษวิภา ยังกลาววา ตอนนี้การทําฉลากเขียว ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท และ<br />

ฉลากสิ่งแวดลอมอื่นๆนั้น แมความตั้งใจจริงๆ ของคนทําฉลาก จะอยากใหฉลากเหลานี้ใชไดแพรหลายและมี<br />

บทบาทในสังคมไทย แตดวยปญหาที่กลาวมาทําใหตองเนนไปที่การสงออกกอน เพราะเปนที่ตองการของ<br />

ตางประเทศมากกวา<br />

16<br />

2) ฉลากเขียว15<br />

รูปที่ 5 สัญลักษณฉลากเขียว ของไทย<br />

15 กระทรวงพลังงาน กฟผ. รวมกับผูประกอบการอุปกรณไฟฟาเปดตัวผลิตภัณฑเบอร5 ใหม3ชนิด<br />

http://www.egat.co.th/thai/images/stories/pdf/Product_category_number5.pdf<br />

16 คูมือเลือกซื้อผลิตภัณฑคุณภาพเพื่อสิ่งแวดลอม ป2550 และ 2553 สํานักงานเลขานุการโครงการฉลากเขียว สถาบันสิ่งแวดลอมไทย สํานักงาน<br />

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม<br />

828


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คือ ฉลากที่มอบใหแกผลิตภัณฑที่มีคุณภาพไดมาตรฐานและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาเมื่อ<br />

เทียบกับผลิตภัณฑที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑนั้นๆ ผลิตภัณฑหมายถึง สินคา และ<br />

บริการ ไมรวม ยา เครื่องดื่ม และอาหาร<br />

โครงการฉลากเขียวริเริ่มขึ้นโดยคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย (Thailand Business Council<br />

for Sustainable Development, TBCSD) ตุลาคม 2536 โดยเปนความรวมมือกันระหวาง กระทรวงอุตสาหกรรม<br />

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ<br />

เปนการรวมมือกันระหวางสวนราชการและองคกรกลางตางๆ โดยมีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมและ<br />

สถาบันสิ่งแวดลอมไทยทําหนาที่เปนเลขานุการ วัตถุประสงคหลักของโครงการฉลากเขียวมาจากแนวความคิดและ<br />

ความตองการใหประเทศไทยมีการพัฒนาอยางยั่งยืน ยึดหลักการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศควบคูไปกับการ<br />

ปองกันรักษาสิ่งแวดลอม โดย 1) ลดมลภาวะทางสิ่งแวดลอมโดยรวมภายในประเทศ 2) ใหขอมูลที่เปนกลางตอ<br />

ผูบริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย และ 3) ผลักดันใหผูผลิตใชเทคโนโลยีหรือวิธีการผลิต<br />

ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย<br />

ผลการสํารวจโดยสํานักงานเลขานุการโครงการฉลากเขียวในชวงป 2545-46 พบวาผูบริโภครับทราบและ<br />

เขาใจถึงขอมูลสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสูงถึงรอยละ 49-51 ตามลําดับ แตมีการจัดซื้อเพียงรอยละ 13 และ 14<br />

เทานั้น สาเหตุสําคัญมาจากความหลากหลายและปริมาณสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในตลาดยังมีอยูนอยและ<br />

ไมทราบแหลงจําหนาย ตลอดจนขาดขอมูลขาวสารที่เปนแนวทางใหเห็นความสําคัญเพื่อการบริโภคที่เปนมิตรตอ<br />

สิ่งแวดลอม และปจจัยทางดานสิ่งแวดลอมไมใชทางเลือกที่มีนัยสําคัญตอการดํารงใชชีวิตประจําวัน ปจจุบันในป<br />

2552 มีขอกําหนดฉลากเขียวสําหรับผลิตภัณฑแลว 39 กลุมผลิตภัณฑ ตัวอยางเชน กระดาษชําระ ตูเย็น หลอด<br />

ฟลูออเรสเซนซ เครื่องสุขภัณฑ<br />

ดังนั้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 คณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบแผนการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปน<br />

มิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Procurement) 17 ของหนวยงานภาครัฐทั้งหมดจะตองดําเนินการภายในป 2554 ได<br />

กําหนดสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 14 ประเภท และบริการ 3 ประเภท เชน กระดาษคอมพิวเตอร<br />

เครื่องถายเอกสาร บริการทําความสะอาดเปนตน เพื่อทําใหฉลากสีเขียวประสบความสําเร็จในการสรางความรับรู<br />

ใหกับผูบริโภคและผูผลิตใสใจกับสิ่งแวดลอม ตัวอยางของภาคเอกชนขนาดใหญของไทย คือ กลุมเครือ<br />

ปูนซีเมนตไทย 18 โดยนายแพทยกิจจา เรืองไทย ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยสงเสริมคุณภาพงาน ใหแนวคิด Green<br />

supply chain เปนการสรางความเปนหุนสวนกับคูคา ตองมีการกําหนดแนวทางเลือกคูคาที่มีศักยภาพ ทําแผน<br />

ปฏิบัติการที่ชัดเจน เรื่องการใชน้ํา พลังงาน การลดความสูญเสียจากการผลิต ทําใหกลายเปนคูคากับเครือฯ<br />

ในระยะยาวผานกลไกการจัดซื้อและนโยบายสิ่งแวดลอมของบริษัทที่มองวาการผลิตสินคาในเครือฯ ใหเปนมิตรตอ<br />

สิ่งแวดลอมตองสรางใหสินคาของผูผลิตวัตถุดิบเปนสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมดวยเพราะ หากวัตถุดิบที่นํามา<br />

ผลิตไมเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว จะทําใหสินคาของเครือปูนซีเมนตไทยที่ผลิตออกไปไมใชสินคาที่เปนมิตรตอ<br />

สิ่งแวดลอมอยางแทจริง โครงการเริ่มขึ้นในป 2546 จุดมุงหมายที่พยายาม สรางใหเกิดขึ้นคือ Green Market<br />

เมื่อภาคอุตสาหกรรมผลิตสินคาที่เปนสินคาและบริการสีเขียวได หากประชาชนไมใหความสนใจหรือความตองการ<br />

ยังนอยจะทําใหไมสามารถแขงขันกับสินคาทั่วไปได ที่ผานมาภาครัฐทําฉลากเขียวแตมีการประชาสัมพันธนอย<br />

แตเมื่อรัฐออกนโยบายการจัดซื้อจัดจางสินคาที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมจะทําใหสินคาเหลานี้มีความตองการมากขึ้น<br />

และภาครัฐตองใหความรูกับประชาชนมากขึ้น<br />

17 http://teenet.tei.or.th/news/feb08_10.html<br />

18 SCG ใช “Green Procurement” รองรับ 5ธุรกิจในเครือพัฒนาอยางยั่งยืน<br />

http://www.measwatch.org/autopage/show_page.php?t=20&s_id=1166&d_id=1167<br />

829


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ใหความสําคัญกับการซื้อสินคาที่ติดฉลากเขียวสรางใหเกิดความตองการสินคา เชนเดียวกับสินคาติดฉลาก<br />

ประหยัดไฟเบอร 5 หากทําไดทําใหสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสามารถเติบโตได<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทในกลุมประเทศสหภาพยุโรปดังที่ยกตัวอยางในการศึกษา มีทั้งในรูปแบบ<br />

ของการออกกฎหมายบังคับ หรือการริเริ่มโดยภาคธุรกิจ ทั้งสองรูปแบบขางตนนั้นเปนผลสืบเนื่องมาจากขอตกลง<br />

พิธีสารเกียวโตที่ระบุใหประเทศที่พัฒนาแลวตองลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหได ทําใหเกิดการนําวิธีการติด<br />

ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทบนสินคาและบริการเพื่อใหผูบริโภคเลือกใชสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม<br />

สิ่งสําคัญที่ทําใหการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทประสบความสําเร็จคือ การสื่อสารขอมูลใหกับผูบริโภค<br />

ผู ผลิตสินคา และผูมีสวนเกี่ยวของทั้งหมดเห็นความสําคัญ จากขอมูลวิจัยของสหภาพยุโรป1819 พบวาองคกรที่ออก<br />

ฉลากสิ่งแวดลอม ภาคธุรกิจคาปลีก องครกรผูบริโภค ภาคอุตสาหกรรม สวนใหญเห็นวาขอมูลคารบอนฟุตพริ้นท<br />

ควรผนวกเปนสวนหนึ่งของขอมูลฉลากสิ่งแวดลอมของสหภาพยุโรป หรือ เครื่องหมาย EU Flower ที่ใหแกสินคา<br />

และบริการที่ผานเงื่อนไขดานสิ่งแวดลอมที่คณะกรรมาธิการยุโรปกําหนดขึ้นมา เพื่อปองกันความสับสนของ<br />

ผูบริโภค และขอมูลควรนําเสนอเนื้อหาเชิงบวกเขาใจไดงาย<br />

เมื่อมองกลับมาที่ประเทศไทยที่เริ่มดําเนินการดานคารบอนฟุตพริ้นทไดเพียง 1 ป การติดฉลากคารบอน<br />

ฟุตพริ้นทบนสินคาเปนการติดฉลากสําหรับสินคาสงออก จึงเปนโอกาสที่หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน<br />

ควรเตรียมความพรอมในการสื่อสารทําความเขาใจใหกับประชาชนทั่วไป ผูบริโภค และผูผลิตสินคารับทราบ<br />

ความหมายของฉลากคารบอนฟุตพริ้นทที่กําลังติดบนสินคาอาหารและไมใชอาหารหลายประเภทเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

เพื่อใหเกิดความตระหนักในการผลิตและบริโภคสินคาและบริการที่ปลอยกาซเรือนกระจกนอย โดยนําตัวอยางการ<br />

ประสบความสําเร็จของฉลากที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมที่ผานมา เชน ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ที่ใชรูปแบบการ<br />

จูงใจไมใชการบังคับใหติดฉลาก ประชาสัมพันธใหผูบริโภคมีความสนใจหันมาซื้อสินคาที่ฉลากเหลานั้น ทําให<br />

ผูผลิตตองปรับปรุงการผลิตใหไดมาตรฐานตามที่ผูบริโภคตองการ<br />

นอกจากนี้หนวยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของอาจตองพิจารณาถึงความรวมมือกันในการออกแบบ<br />

ฉลากสิ่งแวดลอมที่สามารถระบุขอมูลคารบอนฟุตพริ้นท การประหยัดไฟ หรือการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ<br />

รวมอยูในฉลากเดียวกัน โดยที่สามารถสื่อสารเขาใจไดงาย ปองกันความสับสนแกสาธารณชน ในอีกสวนหนึ่งตองมี<br />

การใหความรูแกประชาชนถึงขอมูลสิ่งแวดลอมประเภทอื่นที่สื่อสารถึงการเปนมิตรสิ่งแวดลอมและสังคมในดาน<br />

อื่นๆดวย เชน สวัสดิภาพการใชแรงงาน สวัสดิภาพของสัตว การคาที่เปนธรรมอีกสวนหนึ่งดวยเชนกัน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Afnor. 2009. Summary repository BPX30-323. Viewing environmental of consumer<br />

products. 24 March 2009. Available: http://affichage-environnemental.afnor.org/<br />

actualites/resume-bpx30-323/resume-bpx30-323<br />

19 European Commission. 2008. Commission coordination meeting on the carbon footprint measurement of products. Meeting report.<br />

DG Environment. http://ec.europa.eu/environment/ecolabel/about_ecolabel/carbon/carbon_footprint_report.pdf<br />

830


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

- Climate labeling for food. 2009. Project description: standards for climate label for food<br />

version no 2009:1 Available: http://www.klimatmarkningen.se/wp-content/ uploads/2009/<br />

02/project-description-english.pdf<br />

- Climate labeling for food. 2009. Standards for reducing climate impact in the production<br />

and distribution of food version 2009:1, adopted by the project’s steering group on 17-<br />

06-2009. Available: http://www.klimatmarkningen.se/wp-content/uploads/2009/02/climatelabelling-for-food-<br />

2009-1.pdf<br />

- Carbon Trust. n/d. Developing the standard. Available: http://www.carbontrust.co.uk/<br />

carbon/briefing/developing_the_standard.htm<br />

- Carbon Trust. n/d. About the Carbon Label Company. Available: http://www.carbonlabel.com/business/about.htm<br />

- European Commission. 2009. Europeans’ attitudes towards the issue of sustainable<br />

consumption and production: analytical report. Flash Eurobarometer. July 2009.<br />

- French Ministry of Ecology, Energy, Sustainable Development. 2009. Grenelle<br />

Environment bill guidance and programming. Press Release Available:http://<br />

translate.google.co.th/translate?hl=th&sl=fr&tl=en&u=http%3A%2F%2Fwww.developpem<br />

ent-durable.gouv.fr%2FIMG%2Fpdf%2FDP_definitif_ cle7deb66.pdf<br />

- Julian Carroll. (2009), The EU sustainable consumption and production policy:<br />

implications for packaging entering EU markets. Presentation of the Food Innovation<br />

Asia – PROPAK ASIA, Bangkok, Thailand, on 19 June 2009.<br />

- PCF Pilot Project Germany. (2009), Product Carbon Footprinting : The Right Way to Promote<br />

Low Carbon Products and Consumption Habits? Experiences, findings and recommendations<br />

from the Product Carbon Footprint Pilot Project Germany. Project Results Report. Berlin.<br />

- Product Carbon Footprint: the new business opportunity experience from leading<br />

companies. Available: http://www.carbon-label.com/casestudies/ Opportunity.pdf<br />

- Rikki Stancich. (2009). Which carbon label is best?. ClimateChangeCorp. 24 April 2009.<br />

Available: http://www.climatechangecorp.com/content.asp? ContentID=6115<br />

- SCG ใช “Green Procurement” รองรับ 5ธุรกิจในเครือพัฒนาอยางยั่งยืน ประชาชาติธุรกิจ วันที่<br />

11 กันยายน 2551 ปที่32 ฉบับที่ 4035 Available: http://www.measwatch.org/<br />

autopage/show_page.php?t=20&s_id=1166&d_id=1167<br />

- กรองยุโรปเพื่อไทย 31 สิงหาคม 2009. Available: http://news.thaieurope.net/<br />

content/view/3422/247/<br />

- คูมือเลือกซื้อผลิตภัณฑคุณภาพเพื่อสิ่งแวดลอม ป2550 และ 2553 สํานักงานเลขานุการ<br />

โครงการฉลากเขียว สถาบันสิ่งแวดลอมไทย สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม<br />

- คูมือผูบริโภคสีเขียวสําหรับผูใหญในอนาคต Available: http://www.tei.or.th/<br />

GreenLabel/pdf/gl%20manual%20proactive%20version.pdf<br />

- โครงการประหยัดไฟเบอร 5 7http://www2.egat.co.th/labelNo5/index.htm<br />

- อบก. ฉลากคารบอน, 2553. Available: 8http://www.tgo.or.th/index.php?option=com<br />

_content&task=blogcategory&id=31&Itemid=42<br />

831


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การวิเคราะหความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดของไทย<br />

โดยใชขอมูลระดับจังหวัด<br />

An analysis of Thailand’s Carbon Dioxide Emission Inequality<br />

Using Provincial Information<br />

จิระ บุรีคํา และ ชัยนันท ใจวังเย็น<br />

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยพายัพ<br />

เลขที่ 272 ถนนซุปเปอรไฮเวย หมู 2 ตําบลหนองปาครั่ง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจภูมิภาคกับการ<br />

แพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอม โดยประยุกตใชดัชนีความไมเสมอภาคของไทล(Theil inequality index) เปน<br />

เครื่องมือในการวิเคราะหความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงในความไมเสมอภาคในการกระจายรายไดและการ<br />

แพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2544 ถึงป พ.ศ. 2551 ผลการศึกษาพบวาการเติบโต<br />

ของรายไดเฉลี่ยตอหัวและปริมาณการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวของจังหวัดตางๆทั่วประเทศ<br />

มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ความไมเสมอภาคในการกระจายรายไดและการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในภาพรวมมีแนวโนมลดลง อยางไรก็ตามยังคงมีความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเนื่องจากมีการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมการผลิตใน<br />

พื้นที่ดังกลาว<br />

คําสําคัญ: การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด ความไมเสมอภาค ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ดัชนีไทล<br />

ไทย<br />

Abstract<br />

The main purpose of this study was to examine the relationship between regional economic<br />

development and distribution of environmental pollution. The application of the Theil inequality index as a<br />

tool to analyze the relationship between changes in income inequality and carbon dioxide emission of<br />

province across of Thailand that among 2001 -2008. The results showed that the growth of per capita<br />

GPP and the amount of per capita carbon dioxide emissions of the province across the country are<br />

increasing. Meanwhile, inequality in income distribution and the carbon dioxide emission as a whole has<br />

decreased. However, there is still inequality in the carbon dioxide emission in the Bangkok Metropolitan<br />

area due to the concentration of manufacturing industries in the region.<br />

832


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1. ความสําคัญ<br />

การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยในชวงกวาหาทศวรรษที่ผานมา นับตั้งแตชวงแรกภายใตแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 และ 2 ที่มุงเนนการสงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนําเขา ไปสูการ<br />

สงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 เปนตนมา ซึ่งนัยของ<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจก็เพื่อมุงเนนอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกใหเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก โดยมุงหวังผลของรายได<br />

จากการสงออกที่นอกจากทําใหผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) เพิ่มขึ้นแลว ยังมีเปาหมายที่สําคัญคือ สราง<br />

การจางงาน และสรางมูลคาเพิ่มใหกับวัตถุดิบในประเทศ นอกจากนี้ยังไดมีการกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาค<br />

โดยปรากฎอยางเดนชัดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 - 2519) ที่ระบุถึงนโยบาย<br />

การกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาคอยางชัดเจนวา “...รัฐจะสงเสริมอุตสาหกรรมที่จัดตั้งในภูมิภาคใหมากขึ้น ทั้ง<br />

ใหความชวยเหลือในดานการเงินจากสถาบันเงินกูของรัฐ ใหบัตรสงเสริมตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน และ<br />

โดยความชวยเหลือเกี่ยวกับการพิจารณาลดอัตราคาไฟฟา ประปาและบริการอื่นๆ เปนกรณีพิเศษใหแก<br />

อุตสาหกรรมที่ประสงคจะตั้งในชนบทที่หางไกล...” (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,<br />

2515 หนา 277 - 278) ซึ่งมาตรการสําคัญที่รัฐบาลใชในการสงเสริมการกระจายตัวของอุตสาหกรรมสูภูมิภาค<br />

ไดแก มาตรการสงเสริมการลงทุนและการกอตั้งนิคมอุตสาหกรรมในภูมิภาค<br />

อนึ่งนโยบายการกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาคและชนบทนั้นนับเปนนโยบายที่สงเสริมการกระจาย<br />

รายไดดานหนึ่ง ซึ่งผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากนโยบายดังกลาวทําใหอุตสาหกรรมกระจายไปสูตางจังหวัด<br />

(ทั้งที่แตเดิมเคยกระจุกตัวอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) โดยเฉพาะโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเล<br />

ตะวันออก รวมไปถึงพื้นที่หลักของการกอตั้งนิคมอุตสาหกรรมในภูมิภาคทั่วประเทศ ในขณะที่มาตรการสงเสริม<br />

การลงทุนเพื่อกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาค ที่คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ไดใหสิทธิประโยชนดาน<br />

ภาษี โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตที่ 3 ที่เปนจังหวัดที่มีรายไดต่ําและมีปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการลงทุนนอย ทั้งสิทธิในการ<br />

ยกเวนอากรขาเขาเครื่องจักร การยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนระยะเวลา 8 ป และไดรับการยกเวนอากรขาเขา<br />

สําหรับวัตถุดิบหรือวัสดุจําเปนสําหรับสวนที่ผลิตเพื่อการสงออกเปนระยะเวลา 5 ป<br />

อยางไรก็ตามเปนที่ทราบกันดีวาการพัฒนาอุตสาหกรรมมิเพียงแตทําใหเกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจ<br />

แตยังมีผลกระทบตอการเสื่อมสภาพของคุณภาพสิ่งแวดลอมดวย ดังนั้นการสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและการ<br />

กระจายความจําเริญสูภูมิภาคดวยการมุงสงเสริมการกระจายตัวของอุตสาหกรรมสูภูมิภาคเพื่อเปาหมายในการ<br />

สรางมูลคาเพิ่มของวัตถุดิบในพื้นที่ การจางงาน การเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑมวลรวมของพื้นที่ ตลอดจนความ<br />

พยายามลดความเหลื่อมล้ําของการกระจายไดระหวางพื้นที่นั้น ยอมตองแลกมาดวย(trade off) การแพรกระจาย<br />

มลพิษสิ่งแวดลอมไปสูภูมิภาคดวยเชนเดียวกัน ซึ่งปญหาของการขยายตัวของมลพิษสิ่งแวดลอมที ่เกิดจากการ<br />

เติบโตของอุตสาหกรรมยังไมไดรับการกลาวถึงอยางกวางขวางและถือเปนวาระเรงดวนแตอยางใดในชวงเวลากวาสี่<br />

ทศวรรษภายหลังการพัฒนาเศรษฐกิจภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 เปนตนมา ความตื่นตัวและ<br />

ตระหนักในผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจกับปญหามลพิษสิ่งแวดลอมไดเริ่มเกิดขึ้นอยางจริงจังภายหลังพิธี<br />

สารเกียวโต(Kyoto Protocol) ที ่กําหนดใหประเทศสมาชิกตองลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่มีผลทําให<br />

อุณหภูมิของโลกรอนขึ้น ดังนั้นการศึกษาการแพรกระจายมลพิษสูภูมิภาคอันสืบเนื่องมาจากนโยบายการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจของประเทศที่มีเปาหมายกระจายอุตสาหกรรมออกสูภูมิภาคจึงเปนสิ่งที่นาสนใจยิ่ง เพราะนอกเหนือจาก<br />

เปนสอบทานนโยบายการพัฒนาประเทศวาเปนไปตามเปาหมายของการลดความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได<br />

ตามแนวคิดการปรับตัวของดุลยภาพแบบแนวโนมเขาหากัน(convergence)ของรายไดภูมิภาคมานอยเพียงใดแลว<br />

ในทํานองเดียวกันยังเปนการสะทอนถึงผลของการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาความีความเชื่อมโยงตอความ<br />

เสื่อมสภาพของคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางไรดวย<br />

833


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2. วัตถุประสงค<br />

วัตถุประสงคการศึกษาในครั้งนี้ตั้งอยูบนคําถามหลักที่วา การกระจายตัวของอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาคมี<br />

ผลตอความเหลื่อมล้ําเชิงพื้นที่อยางไร ซึ่งหากการกระจายตัวมีลักษณะเปนดุลยภาพแบบแนวโนมเขาหากัน<br />

(convergence) ของรายไดภูมิภาคในระยะยาวแลว ผลของกระจายตัวของอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาคจะทําใหความ<br />

เหลื่อมล้ําของการกระจายรายไดของภูมิภาคลดต่ําลง และความเทาเทียมกันของการกระจายรายไดของภูมิภาคที่<br />

เพิ่มขึ้นนี้จะมีสวนในการลดความไมเทาเทียมกันของการแพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอมดวย ซึ่งเปนไปตามแนวคิด<br />

สมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส (the environmental Kuznets curve hypothesis : EKC) แตหากวา<br />

เปนไปในทางตรงกันขามแลวการกระจายตัวของอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาคของไทยที่ผานมาเปนไปในลักษณะของ<br />

ดุลยภาพยาวที่มีแนวโนมออกจากกัน (divergence)<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

การวัดความเหลื่อมล้ําของการกระจายผลการพัฒนาสูภูมิภาค เปนการศึกษาที่มุงเนนความจําเริญของง<br />

ภูมิภาค (regional growth) อันหมายถึงการเพิ่มขึ้นเชิงปริมาณของตัวแปรทางเศรษฐกิจตางๆ ในภูมิภาค โดยการ<br />

ขยายความสามารถในการผลิตของภูมิภาคที่ผานกระบวนการกระจายอุตสาหกรรมสูภูมิภาค ซึ่งตัวแปรหลักทาง<br />

เศรษฐกิจที่ใชชี้วัดความจําเริญของภูมิภาค คือ การเติบโตของรายไดหรือผลผลิตมวลรวมของภูมิภาค สําหรับ<br />

แนวคิดการพัฒนาความจําเริญของภูมิภาคมักถูกอธิบายผานกระบวนการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตในระยะยาว ทั้ง<br />

แนวของ 1) ดุลยภาพแบบแนวโนมเขาหากัน (convergence) ของรายไดภูมิภาค ซึ่งแนวคิดนี้จะอธิบายผานการ<br />

เคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางภูมิภาค การจัดสรรทรัพยากรภายในภูมิภาค และการพัฒนาในระดับสูงมาเปน<br />

เวลานานของภูมิภาค โดยในระยะยาวแลวจะทําใหความแตกตางของรายไดตอบุคคลระหวางภูมิภาคลดลง<br />

ตามลําดับ และ 2) แนวคิดดุลยภาพแบบโนมออกจากกัน (divergence) ที่อธิบายวาดุลยภาพในระยะยาวของรายได<br />

ภูมิภาคมีแนวโนมออกจากกันอันเปนผลมาจากการกระจาย (spread effects) และผลยอนกลับหลัง (backwash<br />

effects) โดย แนวโนมของรายไดภูมิภาคจะยิ่งมีความแตกตางกันมากขึ้นในแตละภูมิภาคในระยะยาว<br />

อยางไรก็ตามถึงแมจะมีความเชื่ออันเกิดจากผลการศึกษาเชิงประจักษ (empirical evidence) ที่แตกตาง<br />

กันระหวางแนวคิดดุลยภาพที่มีแนวโนมเขาหากันและแนวโนมออกจากกัน แตฐานคิดที่เหมือนกันในการวิเคราะห<br />

คือ ผลของการกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาค โดยเฉพาะอุตสาหกรรมแรกที่มุงใหการสงเสริม คือ อุตสาหกรรม<br />

พื้นฐานและอุตสาหกรรมขั้นกลาง ที่เปนอุตสาหกรรมที่สามารถชักนําใหอุตสาหกรรมอื่นๆเกิดขึ้นมาเปนจํานวนมาก<br />

ในพื้นที่ จะทําใหเกิดผลเชื่อมโยงไปขางหลังและขางหนา โดยการเชื่อมโยงไปขางหลัง (backward linkage) เปน<br />

ความสัมพันธระหวางอุตสาหกรรมหนึ่งกับผูขายปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมนั้น การเปลี่ยนแปลงจํานวนผลผลิต<br />

ของอุตสาหกรรมยอมสงผลสะทอนกลับไปยังผูขายปจจัยการผลิต เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในระดับอุปสงคของ<br />

ปจจัยการผลิต สวนผลการเชื่อมโยงไปขางหนา (forward linkage) เปนความสัมพันธระหวางอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่<br />

ใชผลผลิตของอุตสาหกรรมนั้นเปนปจจัยการผลิต ซึ่งผลการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมจะสงผลตอความจําเริญของ<br />

ภูมิภาค โดยมีทั้งผลกระทบที่นาพอใจหรือผลกระจายออกจากศูนย (trickledown effects) โดยหากภูมิภาคที่มี<br />

ความจําเริญเติบโตสูงมีการเคลื่อนยายการลงทุนซื้อขายในภูมิภาคที่มีความจําเริญเติบโตต่ําหรือลาหลังแลว ยอม<br />

ทําใหรายไดและการจางงานในภูมิภาคที่ลาหลังเพิ่มขึ้น โดยในระยะยาวแลวการเคลื่อนยายทุนและการบริโภคจะทํา<br />

ใหภูมิภาคลาหลังมีความจําเริญเติบโตทัดเทียมกับภูมิภาคที่มีความจําเริญเติบโตสูงแลว ผลที่เกิดขึ้นจะเปนดุลย<br />

ภาพแบบแนวโนมเขาหากัน แตหากเปนไปในทางตรงกันขาม คือไมมีการเคลื่อนยายการลงทุนการซื้อขายออกจาก<br />

ภูมิภาคที่มีความจําเริญเติบโตสูงไปสูภูมิภาคลาหลัง และความรุงเรืองของเศรษฐกิจยังคงกระจุกตัวอยูในภูมิภาคที่<br />

834


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

มีความจําเริญเติบโตสูงแลว จะทําใหเกิดการเคลื่อนยายแรงงานและการลงทุนจากภูมิภาคลาหลังเขาสูภูมิภาคที่<br />

เจริญแลว การสะสมหรือการกระจุกตัวของความเจริญจะเรียกวาเปนผลที่ไมนาพอใจ หรือผลที่ยอนกลับเขาหาศูนย<br />

(polarization effects) โดยในระยะยาวหากยังคงกระจุกตัวของความจําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคใด<br />

ภูมิภาคหนึ่ง ยอมทําใหเกิดความแตกตางของความจําเริญระหวางภูมิภาคเพิ่มขึ้น หรือเปนดุลยภาพในระยะยาว<br />

แบบมีแนวโนมออกจากกันนั่นเอง<br />

ความพยายามในการอธิบายผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจกับการแพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอมใน<br />

ระดับประเทศอยางกวางขวางทั้งการศึกษาในตางประเทศ อาทิ แนวทางในการศึกษาความเชื่อมโยงระหวางการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมกับความจําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการแพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอมในระดับภูมิภาค มัก<br />

ไมไดอธิบายความอธิบายความสัมพันธอยางชัดเจน งานวิจัยโดยทั่วไปมักเปนการศึกษา ผลกระทบที่แยกเปนสอง<br />

สวน คือ 1) การพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีสวนกําหนดการขยายตัวของเศรษฐกิจที่มีเปาหมายทําใหความเหลื่อมล้ํา<br />

ของการกระจายรายไดลดลง อาทิ ดิเรก ปทมสิริวัฒน และศิรินภา ปาเฉย (2542) และ ปราณี ทินกร (2545) โดย<br />

ในการศึกษาของดิเรก ปทมสิริวัฒน และศิรินภา ปาเฉย ไดอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางเศรษฐกิจจาก<br />

เกษตรกรรมไปสูอุตสาหกรรมนั้นสงเสริมความไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาคและจังหวัด โดยมีเหตุผลสนับสนุนคือ<br />

ประการแรก การเลือกทําเลที่ตั้งของภาคอุตสาหกรรมของภาคเอกชน ยอมคํานึงถึงความไดเปรียบและกําไร เชน<br />

การเลือกทําเลที่ตั้งบริเวณเมืองชายทะเลเพื่อความสะดวกการขนสงสินคา (ปจจัยการผลิตและผลผลิต) มีตนทุนการ<br />

ผลิตต่ํา หรือเลือกตั้งโรงงานใกลแหลงของปจจัยการผลิต (กาซธรรมชาติจากอาวไทย เปนตน) สิ่งเหลานี้เปน<br />

“สภาพจริง” ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ และเราคงจะคาดหวังใหภาคเอกชนเลือกทําเลที่ตั้งเพื่อเปาหมาย “สราง<br />

ความเทาเทียมกัน” ไมได เพราะมิใชหนาที่และความรับผิดชอบของภาคเอกชน และประการที่สอง ยุทธศาสตรการ<br />

พัฒนาของภาครัฐเปนปจจัยหนึ่งที่สงเสริมความไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาค เครื่องมือที่รัฐบาลใชในการสงเสริม<br />

ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมแบงออกเปนสองประเภท ประเภทแรก การลงทุนของภาครัฐในปจจัยขั้น<br />

พื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการทํางานของโรงงานอุตสาหกรรม ประเภทที่สอง การใหสิทธิประโยชนของภาครัฐดาน<br />

ภาษีอากร ตามนโยบายคุมครองภาคอุตสาหกรรม ทําใหโรงงานอุตสาหกรรมมีอัตรากําไรที่สูงขึ้น (เทียบกับ<br />

ปราศจากการคุมครอง) และ 2) การพัฒนาเศรษฐกิจที่มีสวนแพรตอการแพรกระจายมลพิษของสิ่งแวดลอม โดยใน<br />

แนวคิดหลังนี้ มีความพยายามในการเชื่อมโยงผลการพัฒนาเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการเติบโตของ<br />

ภาคอุตสาหกรรมกับการเสื่อมสภาพของคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยกรอบการใชแนวคิดสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอม<br />

ของคุซเน็ตส (the environmental Kuznets curve hypothesis : EKC) อาทิ การศึกษาของ นิรมล สุธรรมกิจ<br />

(2548) หรือ จิระ บุรีคํา (2553) แตไมไดมีการวิจัยที่ศึกษาถึงขอมูลในระดับจังหวัดที่เปนความเชื่อมโยงของ<br />

ความสัมพันธระหวางผลของการพัฒนาภูมิภาคที่มีเปาหมายในการลดความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายไดกับ<br />

ผลกระทบที่มีตอความเหลื่อมล้ ําในการแพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย<br />

การวัดความเหลื่อมลํ้าเชิงพื้นที่ การศึกษาที่ผานมาสวนใหญไดประยุกตใชแนวคิดและวิธีการที่มีอยูแลวใน<br />

การวัดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ทั้งที่เปนการวัดเชิงสถิต (static) ซึ่งแสดงภาพตัดขวางเปรียบเทียบแตละพื้นที่ ณ<br />

จุดเวลาหนึ่ง และการวัดเชิงพลวัต (dynamic) ซึ่งแสดงภาพแนวโนมการเปลี่ยนแปลงภายในหนึ่งชวงระยะเวลา<br />

อยางไรก็ตามอุปสรรคสําคัญในการวิเคราะหเรื่องความเหลื่อมล้ําเชิงพื้นที่คือการวัด ซึ่งขึ้นอยูกับคําจํากัดความของ<br />

คําวาความเหลื่อมล้ําที่มีอยูมากมายและมีรายละเอียดครอบคลุมหลายดานหลายแงมุม ทั้งในดานเศรษฐกิจและ<br />

สังคม อีกทั้งยังมีประเด็นดานเกณฑการวัด และระดับของหนวยการวิเคราะห ในการศึกษาครั้งนี้จะใชการวัดความ<br />

แตกตางในเชิงพื้นที่ดวยมิติทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม โดยประยุกตใชคาดัชนีความไมเทาเทียมกันของไทล<br />

(Theil inequality index) มาใชอธิบายความไมเสมอภาคของผลลัพธของการพัฒนา โดยใชความไมเสมอภาคของ<br />

การกระจายรายไดระดับจังหวัด และความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเปนตัวแทน<br />

ผลลัพธทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ตามลําดับ<br />

835


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ดัชนีความไมเทาเทียมกันของไทล ถึงแมวาดัชนีไทลไมสามารถสรางภาพประกอบใหเห็นไดดังในกรณี<br />

ของคาสัมประสิทธจีนี (Gini coefficient) ซึ่งแสดงใหเห็นไดในรูปของเสนโคงลอเรนส (Lorenz curve) และมีความ<br />

ซับซอนในการคํานวณมากกวาการหาคาพิสัยหรือคาสัดสวน แตดัชนีไทลก็มีคุณสมบัติหลายประการที่เหมาะสม<br />

คือ สามารถใชไดดีกับกลุมขอมูล โดยเฉพาะกลุมขอมูลที่มีระดับขั้น(hierarchical) และมีคุณสมบัติในการแยกสวน<br />

ได (decomposability) ทําใหดัชนีไทลมีประโยชนในการวิเคราะหความเหลื่อมล้ําระหวางพื้นที่ในระดับตางๆ ดัชนี<br />

ไทลของหนวยประชากรหรือพื้นที่ที่เปนหนวยวิเคราะหจะขึ้นอยูกับระยะหางจากคาเฉลี่ย โดยแตละหนวยประชากร<br />

หรือพื้นที่จะมีองคประกอบ (element) หรือสัดสวนของผลกระทบ (contribution) ซึ่งสูตรคณิตศาสตรของดัชนีไทล<br />

สามารถแสดงไดดังนี้<br />

ความไมเทาเทียมกันของรายไดระหวางจังหวัด (Total inequality)<br />

I Theil GPP = (y i / Y) log [ (y i / Y) / ( p i / P) ] (1)<br />

I GPP = คาดัชนีความไมเทาเทียมกันของรายได (Theil inequality index)<br />

y i = ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด(gross provincial product : GPP)ของจังหวัด i<br />

Y = ผลรวมของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดทั่วประเทศ<br />

p i = จํานวนประชากรของจังหวัด i<br />

P = ผลรวมของประชากรทั่วประเทศ<br />

i = 1,2,3,…,76<br />

โดยคาดัชนีไทลเทากับศูนยเมื่อสัดสวนรายไดเทากับสัดสวนประชากร และคาดัชนีไทลจะเปนบวก (Theil<br />

Inequality > 0) เมื่อสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนประชากร ในทางตรงกันขามหากคาดัชนีไทลเปนลบ (Theil<br />

Inequality < 0) แสดงถึงสัดสวนของรายไดต่ํากวาสัดสวนของประชากร ดังนั้นหากเลขดัชนีไทลที่แสดงคาบวกและ<br />

เพิ่มขึ้น แสดงวา มีความไมเทาเทียมกันอีกทั้งความไมเทาเทียมนี้มีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม เราสามารถ<br />

จําแนกความไมเทาเทียมกันรวมออกเปนสองสวน สวนแรก คือความไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาค และสวนที่สอง<br />

คือ ความไมเทาเทียมกันภายในภูมิภาค โดยสมการที่ (2) อธิบายวา เลขดัชนี้จําแนกออกเปนสองสวน คือ ความไม<br />

เทาเทียมระหวางกลุม และความไมเทาเทียมกันระหวางจังหวัดภายในกลุมเดียวกัน สมการที่ (3) หมายถึง ความ<br />

ไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาค และ สมการที่ (4) หมายถึง ความไมเทาเทียมกันภายในภาค ซึ่งมีสูตรคํานวณเปน<br />

ดังนี้<br />

I GPP = I GPP (inter) + Y I I I GPP (intra) (2)<br />

ความไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาค (interregional inequality )<br />

I GPP (inter) = (y k / Y) log [ (y k / Y) / ( p k / P) ] (3)<br />

I GPP (inter) = คาดัชนีความไมเทาเทียมกันของรายไดระหวางภาค<br />

y k = ผลรวมผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด(gross provincial product : GPP)ของภูมิภาค k<br />

Y = ผลรวมของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดทั่วประเทศ<br />

p k = ผลรวมจํานวนประชากรของจังหวัดในภูมิภาค k<br />

P = ผลรวมของประชากรทั่วประเทศ<br />

k = 1,2,3,…,7<br />

ความไมเทาเทียมกันภายในภูมิภาค (intraregional inequality )<br />

836


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

I GPP (intra) = (y i / Y k )* log [ (y i / Y k ) / ( p i / P k ) ] (4)<br />

I GPP (intra) = คาดัชนีความไมเทาเทียมกันของรายไดระหวางจังหวัดภายในภาค<br />

y i = ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด(gross provincial product : GPP)ของจังหวัด i<br />

Y k = ผลรวมของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดของภูมิภาค k<br />

p i = จํานวนประชากรของจังหวัด i<br />

P k = ผลรวมจํานวนประชากรของจังหวัดในภูมิภาค k<br />

ในการวัดความเหลื่อมล้ําของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระดับจังหวัดจะประยุกตใชดัชนี<br />

ไทลมาวัดความไมเทาเทียมกันของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเชนเดียวกัน โดยพิจารณาทั้งความไม<br />

เทาเทียมกันของการกระจายรวม ความไมเทาเทียมกันระหวางภูมิภาคและความไมเทาเทียมกันระหวางจังหวัด<br />

ภายในภูมิภาค<br />

สําหรับขอมูลที่ใชในการศึกษาเชิงประจักษในครั้งนี้ ประกอบดวยขอมูล ผลิตภัณฑมวลรวมรายจังหวัด<br />

(gross provincial product : GPP) ปริมาณการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดรายจังหวัด และจํานวน<br />

ประชากรรายจังหวัด ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 จากฐานขอมูลพลังงานของประเทศของกระทราวงพลัง<br />

พลังงานที่รวบรวมโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

4. ผลการศึกษา<br />

ผลการศึกษาประกอบดวย 3 สวนหลักคือ การวิเคราะหความไมเสมอภาคของการกระจายรายได การ<br />

วิเคราะหความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด และ การวิเคราะหอัตราการเจริญเติบโต<br />

ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดและการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด ดังนี้<br />

1) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายได<br />

1.1) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัด<br />

ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดมีแนวโนมลดลงในชวง 8 ป ที่ผานมา (พ.ศ.<br />

2544 - 2551) โดยคา ดัชนีไทล ลดลงจาก 0.207788 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.194935 ในป พ.ศ. 2551 เมื่อ<br />

พิจารณาความไมเทาเทียมกันของรายได พบวา จังหวัดที ่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนของประชากร (theil<br />

inequality > 0)ทั้งในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 มีจํานวน 12 จังหวัดไดแก กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา<br />

ชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ภูเก็ต ระยอง ลําพูน สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสระบุรี สวน<br />

จังหวัดที่เหลือมีสัดสวนที่ต่ํากวาสัดสวนของประชากร เปนที่นาสังเกตวา จังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวน<br />

ประชากร จะเปนจังหวัดที่อยูในภูมิภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดที่มีการสงเสริมการจัดตั้งนิคม<br />

อุตสาหกรรม (ตารางที่ 1)<br />

1.2) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางภูมิภาค<br />

ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางภูมิภาคมีแนวโนมลดลงโดยคาดัชนีไทล ลดลงจาก<br />

0.164955 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.143845 ในป พ.ศ. 2551 สําหรับภูมิภาคที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนของ<br />

ประชากร ทั้งในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภูมิภาคกรุงเทพมหานคร<br />

และปริมณฑล (ตารางที่ 2)<br />

837


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

1.3) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค สามารถจําแนกไดดังนี้<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก 0.013058 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.013647 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวน<br />

รายไดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ขอนแกน นครราชสีมา<br />

อุดรธานีและ เลย ภาคเหนือ ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนม<br />

ลดลง โดยคาดัชนีไทลลดลงจาก 0.021954 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.020346 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มี<br />

สัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก กําแพงเพชร พิษณุโลก<br />

ลําพูน และ เชียงใหม<br />

ภาคใต ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมลดลง โดยคาดัชนีไทล<br />

ลดลงจาก 0.030824 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.022450 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวน<br />

ประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก กระบี่ พังงา ภูเก็ต สงขลา และ สุราษฎรธานี ภาค<br />

ตะวันออก ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนี<br />

ไทลเพิ่มขึ้นจาก 0.145173 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.153494 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวา<br />

สัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ชลบุรี และ ระยอง ภาคตะวันตก ความไม<br />

เสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมลดลง โดยคาดัชนีไทลลดลงจาก<br />

0.013888 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.011622 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนประชากร<br />

ในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ประจวบคีรีขันธ ราชบุรี และ เพชรบุรี ภาคกลาง ความไม<br />

เสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก<br />

0.086852 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.122489 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนประชากร<br />

ในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก พระนครศรีอยุธยา ภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ความ<br />

ไมเสมอภาคของการกระจายรายไดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก<br />

0.023366 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.030567 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนรายไดสูงกวาสัดสวนประชากร<br />

ในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ขอนแกน สมุทรปราการ และ สมุทรสาคร (ตารางที่ 3)<br />

2) ความไมเสมอภาคของการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด<br />

2.1) ความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัด<br />

ความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดมีแนวโนมลดลงในชวง 8<br />

ป ที่ผานมา (พ.ศ. 2544 - 2551) โดยคา ดัชนีไทล ลดลงจาก 0.252475 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.224516 ในป พ.ศ.<br />

2551 เมื่อพิจารณาความไมเทาเทียมกันของการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด พบวา จังหวัดที่มี<br />

สัดสวนการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนของประชากร (theil inequality > 0)ทั้งในป<br />

พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 มีจํานวน 14 จังหวัดไดแก กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี<br />

ประจวบคีรีขันธ พระนครศรีอยุธยา ภูเก็ต ระยอง สงขลา สมุทรปราการ สมุทรสาคร สุราษฎรธานี และเพชรบุรี<br />

สวนจังหวัดที่เหลือมีสัดสวนที่ต่ํากวาสัดสวนของประชากร เปนที่นาสังเกตวาจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของ<br />

กาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากร จะเปนจังหวัดที่อยูในภูมิภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ<br />

จังหวัดที่มีการสงเสริมการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม (ตารางที่ 1)<br />

838


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2.2) ความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระหวางภูมิภาค<br />

ความไมเสมอภาคของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระหวางภูมิภาคมีแนวโนมลดลงโดยคา<br />

ดัชนีไทล ลดลงจาก 0.178851 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.173426 ในป พ.ศ. 2551 สําหรับภูมิภาคที่มีสัดสวนการ<br />

แพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนของประชากร ทั้งในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก<br />

ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภูมิภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ตารางที่ 2)<br />

2.3) ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัด<br />

ภายในภูมิภาค<br />

ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายใน<br />

ภูมิภาค สามารถจําแนกไดดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจายของ<br />

กาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก 0.045306 ใน<br />

ป พ.ศ. 2544 เปน 0.054771 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด<br />

สูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ขอนแกน นครราชสีมา และ อุดรธานี<br />

ภาคเหนือ ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายใน<br />

ภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก 0.020966 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.023589 ในป พ.ศ. 2551<br />

โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ.<br />

2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก กําแพงเพชร นครสวรรค พิษณุโลก ลําพูน และ เชียงใหม ภาคใต ความไมเสมอภาค<br />

ของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดย<br />

คาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก 0.071334 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.080798 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการ<br />

แพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551<br />

ไดแก ชุมพร ภูเก็ต สงขลา และ สุราษฎรธานี ภาคตะวันออก ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจาย<br />

ของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดัชนีไทลเพิ่มขึ้นจาก<br />

0.072450 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.144921 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ชลบุรี และ ระยอง<br />

ภาคตะวันตก ความไมเสมอภาคของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัด<br />

ภายในภูมิภาคมีแนวโนมลดลง โดยคาดัชนีไทลลดลงจาก 0.027739 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.016910 ในป พ.ศ.<br />

2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป<br />

พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก ประจวบคีรีขันธ สมุทรสงคราม และ เพชรบุรี ภาคกลาง ความไมเสมอภาค<br />

ของการกระจายการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมลดลง โดยคา<br />

ดัชนีไทลลดลงจาก 0.150997 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.117124 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการ<br />

แพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551<br />

ไดแก พระนครศรีอยุธยา และสระบุรี ภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ความไมเสมอภาคของการกระจายการ<br />

แพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาคมีแนวโนมลดลง โดยคาดัชนีไทลลดลงจาก<br />

0.080382 ในป พ.ศ. 2544 เปน 0.012136 ในป พ.ศ. 2551 โดยจังหวัดที่มีสัดสวนการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดสูงกวาสัดสวนประชากรในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2544 และป พ.ศ. 2551 ไดแก กรุงเทพมหานคร<br />

และ สมุทรสาคร (ตารางที่ 3)<br />

839


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

3) การเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมรายจังหวัด และ การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ย<br />

ตอหัว<br />

การพิจารณาอัตราการการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมรายจังหวัดเฉลี่ยตอหัว และ อัตราการการ<br />

เจริญเติบโตของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวในชวงระหวางป พ.ศ. 2544 ถึงป พ.ศ. 2551<br />

ก็เพื่อตองการตรวจสอบวาผลของนโยบายการพัฒนาความจําเริญของภูมิภาคดวยการกระจายอุตสาหกรรมออกสู<br />

ภูมิภาคจะมีผลตอการสรางความเติบโตทางเศรษฐกิจแกภูมิภาคซึ่งจะนําไปสูการลดความไมเสมอภาคของการ<br />

กระจายรายไดระหวางภูมิภาคมากนอยเพียงใด จากการวิเคราะหอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมราย<br />

จังหวัดเฉลี่ยตอหัวพบวาในชวงระหวางปพ.ศ. 2544 ถึงป พ.ศ. 2551 จังหวัดที่มีรายไดเฉลี่ยตอหัว(วัดจาก<br />

ผลิตภัณฑมวลรวมรายจังหวัดเฉลี่ยตอหัว)สูงที่สุดสิบอันดับแรกยังคงเปนกลุมจังหวัดเดิมไมมีการเปลี่ยนแปลงแต<br />

อยางใด ไดแก ระยอง สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ ชลบุรี กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี<br />

สระบุรี และ ภูเก็ต และกลุมจังหวัดเหลานี้มีการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวสูงอยูในลําดับ<br />

ตนๆเชนเดียวกัน ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาจังหวัดที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเหลานี้เกือบทั้งหมดเปนจังหวัดที่<br />

กระจุกตัวในเขตภูมิภาคกรุงเทพและปริมณฑล และจังหวัดโดยรอบที่ไมหางไกลจากภูมิภาคนี้มากนัก<br />

ปรากฏการณดังกลาวยอมเปนสิ่งชี้วัดไดวานโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุงกระจายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ<br />

ไปยังภูมิภาคลาหลัง อาทิ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ยังหางไกลจากผลของความสําเร็จใน<br />

การสรางความเทาเทียมกันของการกระจายรายไดอยางมาก (ตารางที่ 4)<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

การศึกษาความไมเสมอภาคในเชิงพื้นที่ที่สืบเนื่องมาจากความพยายามของสวนกลางที่จะสรางความ<br />

จําเริญแกภูมิภาคดวยการใชนโยบายสงเสริมการกระจายอุตสาหกรรมออกสูภูมิภาคนั้น ผลการศึกษาที่ไดถึงแมวา<br />

จะสะทอนใหเห็นถึงดุลยภาพในระยะยาวของรายไดภูมิภาคมีแนวโนมเขาหากัน(convergence)โดยแนวโนมของ<br />

รายไดภูมิภาคและการแพรกระจายมลพิษสิ่งแวดลอมจะมีความไมเสมอภาคของการกระจายลดนอยลงในแตละ<br />

ภูมิภาคในระยะยาว แตปรากฏการณดังกลาวมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงอยางชาๆ และไมประสบความสําเร็จในแง<br />

ของการสรางความจําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหแกภูมิภาคลาหลังเชนในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

และภาคใต อยางเดนชัดมากนัก ทั้งนี้ความเจริญทางเศรษฐกิจยังคงกระจุกตัวอยูในภูมิภาคกรุงเทพและปริมณฑล<br />

และแผขยายมายังจังหวัดใกลเคียงโดยรอบ ซึ่งผลของการเติบโตอยางรวดเร็วของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่<br />

โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมไดเกิดการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเพิ่มสูงขึ้นดวยเชนเดียวกัน<br />

6. กิตติกรรมประกาศ<br />

ผูเขียนขอขอบพระคุณเปนอยางสูงสําหรับองคความรูในการศึกษาครั้งนี้จาก รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ รศ.ดร.สิรินทรเทพ เตาประยูร บัณฑิต<br />

วิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม(JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และฐานขอมูลที่ใช<br />

ในการศึกษาจากสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

840


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

- จิระ บุรีคํา (2553) “ปจจัยกําหนดการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) ในประเทศ<br />

ไทย : การทดสอบสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส” การประชุมวิชาการระดับชาติ<br />

เครือขายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศประจําป พ.ศ. 2553 : การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก<br />

ดวยแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค 27 พฤษภาคม 2553<br />

- ดิเรก ปทมสิริวัฒน และศิรินภา ปาเฉย (2542) “การกระจายความเจริญระหวางภูมิภาคในปะ<br />

เทศไทยยิ่งนานยิ่งไมเทาเทียมกัน”,วารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร 17/2(มิ.ย.) 2542 , 5-32<br />

- ปราณี ทินกร (2545) “ความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายไดในชวงสี่ทศวรรษของการพัฒนา<br />

ประเทศ : 2504 – 2544” บทความเสนอในการสัมมนาทางวิชาการประจําป 2545 คณะ<br />

เศรษฐศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : หาทศวรรษภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แหงชาติของไทย12 มิถุนายน 2545<br />

- นิรมล สุวรรณกิจ (2548) “การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับมลพิษทางอากาศ” บทความเสนอ<br />

ตอที่ประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร ครั้งที่1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 28<br />

ตุลาคม 2548<br />

ตารางที่ 1 ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

จังหวัด<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.กระบี่ -0.000624 -0.000169 -0.000848 -0.000752<br />

2.กรุงเทพมหานคร 0.159253 0.098077 0.109742 0.126675<br />

3.กาญจนบุรี -0.001311 -0.001367 -0.001430 -0.001007<br />

4.กาฬสินธุ -0.002305 -0.002354 -0.002207 -0.002137<br />

5.กําแพงเพชร -0.001624 -0.000785 -0.001728 -0.001702<br />

6.ขอนแกน -0.004394 -0.004051 -0.004422 -0.004371<br />

7.จันทบุรี -0.001152 -0.001110 -0.000764 -0.001032<br />

8.ฉะเชิงเทรา 0.002758 0.010079 0.003088 0.004083<br />

9.ชลบุรี 0.021880 0.024392 0.016992 0.030609<br />

10.ชัยนาท -0.000752 -0.000662 -0.000876 -0.000862<br />

11.ชัยภูมิ -0.002811 -0.002771 -0.002463 -0.002515<br />

12.ชุมพร -0.000976 -0.000665 -0.000261 -0.000608<br />

13.ตรัง -0.001366 -0.001038 -0.001561 -0.001596<br />

14.ตราด -0.000366 -0.000429 0.000540 -0.000471<br />

15.ตาก -0.001256 -0.001173 -0.001246 -0.001257<br />

16.นครนายก -0.000523 -0.000565 -0.000510 -0.000557<br />

17.นครปฐม 0.001206 0.000156 0.003362 0.038541<br />

18.นครพนม -0.001728 -0.001657 -0.001318 -0.001314<br />

19.นครราชสีมา -0.006635 -0.006648 -0.006031 -0.005394<br />

20.นครศรีธรรมราช -0.003379 -0.003581 -0.002711 -0.003864<br />

21.นครสวรรค -0.002775 -0.002554 -0.002682 -0.002656<br />

22.นนทบุรี 0.000002 -0.000593 0.003469 0.002795<br />

23.นราธิวาส -0.001752 -0.001732 -0.001556 -0.001411<br />

841


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

จังหวัด<br />

2544 2551 2544 2551<br />

24.นาน -0.001191 -0.001168 -0.001153 -0.001061<br />

25.บุรีรัมย -0.003666 -0.003702 -0.003572 -0.003856<br />

26.ปทุมธานี 0.009579 0.006216 0.015748 0.016615<br />

27.ประจวบคีรีขันธ -0.000511 -0.000205 0.000740 0.000371<br />

28.ปราจีนบุรี -0.000308 0.000747 -0.000070 0.000500<br />

29.ปตตานี -0.001318 -0.001602 -0.001531 -0.001473<br />

30.พระนครศรีอยุธยา 0.016851 0.027934 0.004447 0.006427<br />

31.พะเยา -0.001305 -0.001275 -0.001269 -0.001164<br />

32.พังงา -0.000383 -0.000165 -0.000481 -0.000351<br />

33.พัทลุง -0.001306 -0.001283 -0.001147 -0.001194<br />

34.พิจิตร -0.001492 -0.001391 -0.001490 -0.001429<br />

35.พิษณุโลก -0.001956 -0.001837 -0.001952 -0.001841<br />

36.ภูเก็ต 0.002128 0.001534 0.001949 0.002352<br />

37.มหาสารคาม -0.002359 -0.002340 -0.002094 -0.002186<br />

38.มุกดาหาร -0.000811 -0.000802 -0.000698 -0.000745<br />

39.ยะลา -0.001050 -0.000847 -0.001101 -0.001093<br />

40.ยโสธร -0.001384 -0.001389 -0.001227 -0.001201<br />

41.ระนอง -0.000229 -0.000319 -0.000386 -0.000332<br />

42.ระยอง 0.037693 0.057275 0.012750 0.043780<br />

43.ราชบุรี 0.000057 -0.000015 -0.000894 -0.000945<br />

44.รอยเอ็ด -0.003164 -0.003150 -0.002801 -0.002720<br />

45.ลพบุรี -0.000881 -0.001231 -0.001662 -0.001292<br />

46.ลําปาง -0.001885 -0.001940 -0.001601 -0.001721<br />

47.ลําพูน 0.000493 0.000531 -0.000808 -0.000763<br />

48.ศรีสะเกษ -0.003400 -0.003355 -0.003293 -0.002927<br />

49.สกลนคร -0.002566 -0.002626 -0.002322 -0.002488<br />

50.สงขลา -0.000383 -0.001274 0.002410 0.000449<br />

51.สตูล -0.000340 -0.000460 -0.000618 -0.000682<br />

52.สมุทรปราการ 0.040590 0.039862 0.028808 0.013882<br />

53.สมุทรสงคราม -0.000458 -0.000432 0.001031 -0.000211<br />

54.สมุทรสาคร 0.018837 0.025646 0.118558 0.015826<br />

55.สระบุรี 0.002027 0.004464 0.026702 0.019809<br />

56.สระแกว -0.001270 -0.001272 -0.001268 -0.001293<br />

57.สิงหบุรี -0.000428 -0.000312 -0.000305 -0.000073<br />

58.สุพรรณบุรี -0.002107 -0.001881 -0.002100 -0.002047<br />

59.สุราษฎรธานี -0.001412 -0.000154 0.000468 0.000022<br />

60.สุรินทร -0.003251 -0.003221 -0.002894 -0.002945<br />

61.สุโขทัย -0.001548 -0.001499 -0.001545 -0.001504<br />

62.หนองคาย -0.002174 -0.002233 -0.001921 -0.001917<br />

63.หนองบัวลําภู -0.001112 -0.001163 -0.000934 -0.000928<br />

64.อํานาจเจริญ -0.000866 -0.000870 -0.000674 -0.000735<br />

65.อุดรธานี -0.003817 -0.003858 -0.003758 -0.003864<br />

66.อุตรดิตถ -0.001207 -0.001139 -0.001203 -0.001164<br />

67.อุทัยธานี -0.000785 -0.000728 -0.000753 -0.000747<br />

68.อุบลราชธานี -0.004337 -0.004325 -0.004242 -0.004043<br />

842


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

จังหวัด<br />

2544 2551 2544 2551<br />

69.อางทอง -0.000585 -0.000507 -0.000615 -0.000591<br />

70.เชียงราย -0.002945 -0.002876 -0.002932 -0.002864<br />

71.เชียงใหม -0.003235 -0.003243 -0.003256 -0.003238<br />

72.เพชรบุรี -0.000450 -0.000303 0.000407 0.000218<br />

73.เพชรบูรณ -0.002524 -0.002332 -0.002387 -0.002349<br />

74.เลย -0.001592 -0.001568 -0.001378 -0.001314<br />

75.แพร -0.001285 -0.001233 -0.001286 -0.001181<br />

76.แมฮองสอน -0.000555 -0.000550 -0.000494 -0.000465<br />

รวม 0.207788 0.194931 0.252475 0.224516<br />

ตารางที่ 2 ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดระหวาง<br />

ภูมิภาค<br />

I Theil, GPP<br />

I Theil, CO2<br />

ภาค<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.ตะวันออกเฉียงเหนือ -0.053721 -0.053874 -0.052384 -0.052904<br />

2. เหนือ -0.028968 -0.027014 -0.029468 -0.028863<br />

3.ใต -0.015186 -0.013832 -0.014122 -0.017493<br />

4. ตะวันออก 0.039540 0.064522 0.022929 0.053567<br />

5.ตะวันตก -0.005369 -0.004623 -0.003571 -0.004356<br />

6.กลาง 0.010362 0.020143 0.016084 0.014895<br />

7. กรุงเทพและปริมณฑล 0.218297 0.158532 0.239382 0.208581<br />

รวม 0.164955 0.143854 0.178851 0.173426<br />

ตารางที่ 3 ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาค<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 2544 2551 2544 2551<br />

1.กาฬสินธุ -0.002351 -0.001106 -0.002730 -0.004334<br />

2.ขอนแกน 0.024098 0.034284 0.032721 0.028422<br />

3.ชัยภูมิ -0.000422 -0.002282 -0.005490 -0.005471<br />

4.นครพนม -0.001522 -0.003032 -0.004956 -0.005032<br />

5.นครราชสีมา 0.024930 0.019853 0.077609 0.091297<br />

6.บุรีรัมย -0.005436 -0.005628 -0.004628 0.001941<br />

7.มหาสารคาม -0.002450 -0.002999 -0.005055 -0.004372<br />

8.มุกดาหาร -0.000025 -0.000319 -0.001691 -0.001208<br />

9.ยโสธร -0.002004 -0.002071 -0.003243 -0.003628<br />

10.รอยเอ็ด -0.002624 -0.002479 -0.006578 -0.007504<br />

11.ศรีสะเกษ -0.005954 -0.006795 -0.005490 -0.009392<br />

12.สกลนคร -0.003522 -0.003086 -0.005475 -0.004250<br />

13.สุรินทร -0.004857 -0.005352 -0.007590 -0.007426<br />

14.หนองคาย -0.003100 -0.002253 -0.005122 -0.005546<br />

843


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาค<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 2544 2551 2544 2551<br />

15.หนองบัวลําภู -0.002773 -0.002398 -0.003493 -0.003601<br />

16.อํานาจเจริญ -0.001623 -0.001770 -0.002664 -0.002550<br />

17.อุดรธานี 0.001605 0.002662 0.002550 0.007848<br />

18.อุบลราชธานี -0.001193 -0.003049 -0.000434 -0.006722<br />

19.เลย 0.002283 0.004168 -0.002936 -0.003702<br />

รวม 0.013058 0.016347 0.045306 0.054771<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาคเหนือ<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.กําแพงเพชร 0.003534 0.018941 0.000657 0.000395<br />

2.ตาก -0.000833 0.000028 0.001122 -0.000866<br />

3.นครสวรรค -0.001073 0.000512 0.007082 0.006650<br />

4.นาน -0.004352 -0.004654 -0.005084 -0.005831<br />

5.พะเยา -0.004865 -0.004924 -0.005491 -0.006281<br />

6.พิจิตร -0.003670 -0.002067 -0.001965 -0.000898<br />

7.พิษณุโลก 0.002392 0.001545 0.005273 0.010488<br />

8.ลําปาง 0.003999 -0.004445 0.017163 0.013020<br />

9.ลําพูน 0.036104 0.029746 0.010198 0.012437<br />

10.สุโขทัย -0.003738 -0.004369 -0.001801 -0.002411<br />

11.อุตรดิตถ -0.002399 -0.001670 -0.003557 -0.003281<br />

12.อุทัยธานี -0.000929 -0.000542 -0.003538 -0.002737<br />

13.เชียงราย -0.009397 -0.008636 -0.008935 -0.007894<br />

14.เชียงใหม 0.020157 0.009204 0.026791 0.029781<br />

15.เพชรบูรณ -0.007052 -0.000964 -0.011421 -0.010728<br />

16.แพร -0.003914 -0.005068 -0.002657 -0.005273<br />

17.แมฮองสอน -0.002009 -0.002292 -0.002868 -0.002983<br />

รวม 0.021954 0.020346 0.020966 0.023589<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาคใต<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.กระบี่ 0.000188 0.005931 -0.004697 -0.000290<br />

2.ชุมพร -0.002630 0.001467 0.007833 0.006953<br />

3.ตรัง -0.004770 -0.000141 -0.010354 -0.008376<br />

4.นครศรีธรรมราช -0.010049 -0.015792 -0.001069 -0.015464<br />

5.นราธิวาส -0.012215 -0.009706 -0.012858 -0.012301<br />

6.ปตตานี -0.003644 -0.010090 -0.011776 -0.011755<br />

7.พังงา 0.001008 0.003348 -0.001188 0.003018<br />

844


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ภาคใต<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

8.พัทลุง -0.009024 -0.007353 -0.009527 -0.009655<br />

9.ภูเก็ต 0.037765 0.025589 0.032449 0.047082<br />

10.ยะลา -0.005400 -0.001873 -0.007621 -0.008146<br />

11.ระนอง 0.001306 -0.000543 -0.001806 0.000465<br />

12.สงขลา 0.032268 0.013068 0.066018 0.058233<br />

13.สตูล 0.002220 -0.000385 -0.003251 -0.004325<br />

14.สุราษฎรธานี 0.003800 0.018930 0.029181 0.035360<br />

รวม 0.030824 0.022450 0.071334 0.080798<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาคตะวันออก<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.จันทบุรี -0.018172 -0.017470 -0.018510 -0.018233<br />

2.ฉะเชิงเทรา -0.014618 0.000261 -0.003225 -0.014614<br />

3.ชลบุรี 0.055852 0.025465 0.073289 0.064929<br />

4.ตราด -0.008668 -0.008278 -0.004214 -0.008291<br />

5.นครนายก -0.009354 -0.008382 -0.009509 -0.008656<br />

6.ปราจีนบุรี -0.015778 -0.014922 -0.013458 -0.014774<br />

7.ระยอง 0.173023 0.192810 0.066359 0.160006<br />

8.สระแกว -0.017111 -0.015989 -0.018282 -0.015446<br />

รวม 0.145173 0.153494 0.072450 0.144921<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาคตะวันตก<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.กาญจนบุรี -0.005833 -0.011754 -0.017507 -0.002268<br />

2.ประจวบคีรีขันธ 0.006075 0.012625 0.029456 0.026935<br />

3.ราชบุรี 0.040381 0.032049 -0.002039 0.001401<br />

4.สมุทรสงคราม -0.005071 -0.005351 0.029786 0.001235<br />

5.สุพรรณบุรี -0.028919 -0.024786 -0.033009 -0.032345<br />

6.เพชรบุรี 0.007253 0.008839 0.021053 0.021953<br />

รวม 0.013886 0.011622 0.027739 0.016910<br />

845


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

ภาคกลาง<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

2544 2551 2544 2551<br />

1.ชัยนาท -0.019379 -0.019309 -0.019476 -0.018616<br />

2.พระนครศรีอยุธยา 0.168841 0.205523 0.003714 0.025525<br />

3.ลพบุรี -0.035546 -0.040781 -0.040951 -0.040375<br />

4.สระบุรี -0.000278 0.003843 0.234533 0.175545<br />

5.สิงหบุรี -0.012202 -0.012291 -0.012123 -0.010499<br />

6.อางทอง -0.014585 -0.014495 -0.014701 -0.014456<br />

รวม 0.086852 0.122489 0.150997 0.117124<br />

ตารางที่ 3 (ตอ) ความไมเสมอภาคของการกระจายรายไดและการแพรกระจายของกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดระหวางจังหวัดภายในภูมิภาค<br />

กรุงเทพมหานครและ<br />

I Theil,GPP<br />

I Theil, CO2<br />

ปริมณฑล 2544 2551 2544 2551<br />

1.กรุงเทพมหานคร 0.024408 0.005405 -0.035710 0.001789<br />

2.นครปฐม -0.012728 -0.013210 -0.012170 0.024410<br />

3.นนทบุรี -0.012831 -0.013415 -0.012141 -0.012627<br />

4.ปทุมธานี -0.004867 -0.006015 -0.000270 0.001870<br />

5.สมุทรปราการ 0.019623 0.031440 0.003737 -0.009402<br />

6.สมุทรสาคร 0.009760 0.026361 0.136936 0.006095<br />

รวม 0.023366 0.030567 0.080382 0.012136<br />

ตารางที่ 4 ผลิตภัณฑมวลรวมรายจังหวัด การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด อัตราการ<br />

เปลี่ยนแปลง(คาเฉลี่ยระหวางป 2544-2551) และ คาความยืดหยุนของการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวตอผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว<br />

จังหวัด ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว 1 การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดตอหัว 2 คาความ<br />

2544 2551 เปลี่ยนแปลง 2544 2551 เปลี่ยนแปลง<br />

ยืดหยุน 3<br />

ตอป (%)<br />

ตอป (%)<br />

1.กระบี่ 56131.42857 126989.6373 21.03937448 1026.872029 1497.652021 7.641003927 0.07215897<br />

2.กรุงเทพมหานคร 254063.3997 334037.1937 5.246314772 5437.779234 6735.814691 3.978448433 0.01449986<br />

3.กาญจนบุรี 57021.16402 91396.66239 10.04758466 1396.453161 1881.179332 5.785206222 0.03425304<br />

4.กาฬสินธุ 21368.03365 40412 14.85393763 476.1214196 507.63499 1.103134941 0.00987459<br />

5.กําแพงเพชร 42566.47399 110971.9888 26.7837997 929.1054335 1010.658782 1.462936732 0.01873125<br />

6.ขอนแกน 37950.70028 74470.14925 16.0381094 959.7668347 1122.33839 2.823108516 0.02536408<br />

7.จันทบุรี 43210.10101 78078.94737 13.4493423 1562.34196 1502.518289 -0.63818369 -0.00561149<br />

8.ฉะเชิงเทรา 122547.2561 333946.0993 28.7506564 3278.504207 4104.800241 4.200574315 0.05182663<br />

9.ชลบุรี 231119.8885 400389.6872 12.20649305 5277.086097 8038.89776 8.722653666 0.05559302<br />

10.ชัยนาท 50769.02174 89246.57534 12.63157213 1072.233859 1065.405808 -0.10613434 -0.00087779<br />

11.ชัยภูมิ 24143.48981 38416.31623 9.852777794 401.9953942 493.4352649 3.791082854 0.02329797<br />

12.ชุมพร 49043.38395 104674 18.9052398 1932.253818 1919.52364 -0.10980422 -0.00119609<br />

846


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จังหวัด ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว 1 การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดตอหัว 2 คาความ<br />

2544 2551 เปลี่ยนแปลง 2544 2551 เปลี่ยนแปลง<br />

ยืดหยุน 3<br />

ตอป (%)<br />

ตอป (%)<br />

13.ตรัง 46469.15584 98309.52381 18.59311014 840.2905844 1034.526905 3.852562513 0.03709666<br />

14.ตราด 59066.37168 90760.33058 8.943035322 2754.691858 1500.038678 -7.59100742 -0.06237907<br />

15.ตาก 35944.334 69868.32061 15.72987211 959.2828827 948.5236832 -0.18693129 -0.00180806<br />

16.นครนายก 49266.12903 73753.84615 8.284162501 1305.213468 1342.323269 0.473866311 0.00279009<br />

17.นครปฐม 97212.33689 139866.3883 7.312866655 3122.873072 10332.50985 38.47758466 0.09640177<br />

18.นครพนม 21825.10578 32399.73082 8.075275895 282.3893371 328.9513997 2.74810085 0.01485304<br />

19.นครราชสีมา 34394.53718 56873.4767 10.89268886 1150.381764 1507.909086 5.179835848 0.03312561<br />

20.นครศรีธรรมราช 48183.43949 76669.03073 9.853174847 1478.62035 1189.906531 -3.25431541 -0.02468448<br />

21.นครสวรรค 36678.6034 70625.98082 15.42560433 1050.537055 1145.311221 1.503582787 0.01365449<br />

22.นนทบุรี 81725.11848 122902.1852 8.39747263 3149.769751 3353.255702 1.076723947 0.00629666<br />

23.นราธิวาส 28631.88406 65657.37052 21.55259639 438.6423913 370.3640637 -2.59430494 -0.03314129<br />

24.นาน 26389.83051 47012.32033 13.02426568 570.5470127 536.1888296 -1.00366205 -0.00872204<br />

25.บุรีรัมย 19813.4715 34305.57257 12.19044415 471.8509262 731.8850276 9.184896012 0.05784692<br />

26.ปทุมธานี 190369.8435 255008.589 5.659049794 6285.145804 7083.008712 2.115736937 0.00866204<br />

27.ประจวบคีรีขันธ 67280.77754 127232.2176 14.85105707 2558.236004 2702.772887 0.94164418 0.00846760<br />

28.ปราจีนบุรี 72469.04762 167955.3571 21.96025123 2061.425857 2815.064704 6.093184197 0.06137880<br />

29.ปตตานี 48832.25806 57341.75334 2.904328551 599.1555484 543.6444279 -1.54414883 -0.00389309<br />

30.พระนครศรีอยุธยา 243835.3414 548571.2418 20.82935003 3536.326546 4713.010183 5.545696556 0.05485500<br />

31.พะเยา 26115.83012 47907.72128 13.90720435 578.2416988 546.5589642 -0.91319179 -0.00829224<br />

32.พังงา 59843.6214 122633.5878 17.48723448 1349.367654 1856.640076 6.265557307 0.05444503<br />

33.พัทลุง 29087.54864 64285.19856 20.16764994 426.588677 519.8916968 3.645315528 0.03716016<br />

34.พิจิตร 30591.1414 62656.04027 17.46959926 819.8549915 952.7583893 2.701766352 0.02578197<br />

35.พิษณุโลก 40555.28256 73242.28029 13.43310319 1053.489828 1298.485582 3.875939242 0.02992043<br />

36.ภูเก็ต 153667.9537 222945.3925 7.513759068 3844.740965 4628.707952 3.39843869 0.01701898<br />

37.มหาสารคาม 21306.98152 35739.47111 11.28932753 387.8311704 510.3008717 5.263016084 0.03449856<br />

38.มุกดาหาร 24507.69231 40808.82353 11.08572431 387.2311385 546.2095 6.842526584 0.04250559<br />

39.ยะลา 39658.19861 90126.84989 21.20984355 780.8423095 657.5879493 -2.63079921 -0.03332042<br />

40.ยโสธร 19932.98969 34483.66013 12.16632215 370.1350687 410.3800327 1.812174679 0.01378737<br />

41.ระนอง 63369.04762 92443.24324 7.646792011 1141.212202 1600.462919 6.707059908 0.03125646<br />

42.ระยอง 470419.5933 1011263.959 19.16177152 6454.58403 15083.96871 22.28231555 0.14624470<br />

43.ราชบุรี 82520.93596 136121.6867 10.82568728 1742.060382 1956.003325 2.046838194 0.01418272<br />

44.รอยเอ็ด 21992.28395 38625.18519 12.60510374 392.8428935 436.4008741 1.847981355 0.01441304<br />

45.ลพบุรี 66579.08497 96855.29716 7.579009786 1233.168654 1677.524793 6.005614593 0.02828087<br />

46.ลําปาง 42457.60599 58182.37454 6.172733244 1340.055524 1372.992069 0.409641544 0.00189685<br />

47.ลําพูน 94513.00236 160147.4654 11.57415055 1387.175792 1623.359078 2.83769954 0.02021975<br />

48.ศรีสะเกษ 18888.50654 31179.25148 10.84499447 444.3651067 391.4919764 -1.98309638 -0.01552826<br />

49.สกลนคร 20188.83721 36372.48028 13.36022386 392.0968279 537.9818843 6.201064211 0.04487948<br />

50.สงขลา 78127.02079 116286.9139 8.140566639 2623.644804 2543.105101 -0.51162732 -0.00305965<br />

51.สตูล 64119.69112 95887.32394 8.257378316 1065.965367 866.87 -3.11291174 -0.02045088<br />

52.สมุทรปราการ 320692.8702 499171.7172 9.275689377 6848.650704 5229.850039 -3.93946373 -0.02917594<br />

53.สมุทรสงคราม 47157.89474 79815.16588 11.5418183 3326.296077 2021.394171 -6.53831306 -0.06275956<br />

54.สมุทรสาคร 330506.2241 623408.1272 14.77036749 28796.9539 8388.733339 -11.811562 -0.16851638<br />

55.สระบุรี 115896.7851 251651.8152 19.52240377 9314.570305 9158.297442 -0.27962081 -0.00312457<br />

56.สระแกว 33751.49105 59518.58736 12.72392987 879.5648907 902.1393494 0.42775807 0.00350029<br />

57.สิงหบุรี 55831.93277 104847.4576 14.63186699 1671.299412 2311.763347 6.386886068 0.04905135<br />

847


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

จังหวัด ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว 1 การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดตอหัว 2 คาความ<br />

2544 2551 เปลี่ยนแปลง 2544 2551 เปลี่ยนแปลง<br />

ยืดหยุน 3<br />

ตอป (%)<br />

ตอป (%)<br />

58.สุพรรณบุรี 40673.12073 76565.31532 14.70758163 1059.714715 1161.078378 1.594197345 0.01397346<br />

59.สุราษฎรธานี 59923.24805 133206.6869 20.38258418 2266.992647 2437.371398 1.252604789 0.01374265<br />

60.สุรินทร 19775.91241 33440.95038 11.51656764 371.6859708 459.7945702 3.950853065 0.02720995<br />

61.สุโขทัย 30737.27422 54376.99681 12.81816252 830.4099507 882.0317252 1.036070085 0.00837253<br />

62.หนองคาย 20006.57174 37343.361 14.44257873 368.3291019 423.0373029 2.475512649 0.02089828<br />

63.หนองบัวลําภู 16243.51297 30943.28922 15.08271463 284.0033533 323.8286011 2.337134837 0.02041104<br />

64.อํานาจเจริญ 18461.12601 31116.4557 11.42520567 267.4399196 365.4281519 6.106557346 0.03952290<br />

65.อุดรธานี 25860.25049 46528.57143 13.32052122 608.4725181 848.8552795 6.584322606 0.04709553<br />

66.อุตรดิตถ 32102.94118 62754.09836 15.9129538 696.7056303 785.2379098 2.117878669 0.019304<br />

67.อุทัยธานี 34500 66374.21384 15.39817094 543.3983654 712.1889623 5.177006031 0.04247766<br />

68.อุบลราชธานี 23756.15341 39090.85992 10.75841015 556.3656783 542.2683126 -0.42230515 -0.00313094<br />

69.อางทอง 48781.81818 87916.05839 13.37050076 1189.382727 1327.169526 1.930788623 0.01567461<br />

70.เชียงราย 28088.71662 53809.16667 15.26143658 689.2533161 790.4691583 2.447475644 0.02148197<br />

71.เชียงใหม 49367.36021 80252.83019 10.42708848 1268.553414 1430.66095 2.129821449 0.01431025<br />

72.เพชรบุรี 68684.56376 121833.698 12.89691389 2376.367875 2600.747484 1.573687386 0.01257665<br />

73.เพชรบูรณ 29472.30614 67919.2607 21.74185396 535.2321954 628.3326362 2.899067035 0.03158651<br />

74.เลย 28712.91866 55527.43902 15.56472465 409.4579904 430.6727134 0.863528676 0.00803785<br />

75.แพร 28598.81423 46089.32039 10.19302526 766.0536561 638.2586214 -2.78037606 -0.02131086<br />

76.แมฮองสอน 26527.27273 45673.91304 12.02953184 434.1155 439.1994348 0.195183647 0.00154375<br />

รวม 81690.40913 136500.3535 11.18245192 2113.365576 2428.92722 2.488618532 0.01745147<br />

1 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว : หนวย (บาทตอป)<br />

2 การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด : หนวย (กิโลกรัมตอป)<br />

3 ความยืดหยุนของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวตอผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว<br />

( CO2 = % per capita CO 2 / % per capita GPP)<br />

848


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การศึกษาทางเศรษฐมิติของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด<br />

การบริโภคพลังงาน รายได และระดับการเปดทางการคาของประเทศไทย<br />

An Econometric Study of CO 2 Emissions, Energy Consumption, Income<br />

and Trade Openness in Thailand<br />

นิสิต พันธมิตร 1 และ จิระ บุรีคํา 2<br />

1 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

เลขที่ 239 ถนนหวยแกว ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200<br />

2 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยพายัพ<br />

เลขที่ 272 ถนนซุปเปอรไฮเวย หมู 2 ตําบลหนองปาครั่ง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000<br />

บทคัดยอ<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตางๆในระยะเวลาที่ผานมา กอใหเกิดผลตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศโลก (Global climate change) โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด<br />

อันเนื่องมาจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจเปนปจจัยสําคัญกอใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน ซึ่งมีผลกระทบที่รายแรงตอ<br />

คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมของทุกประเทศ การศึกษานี้มุงทดสอบผลของการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีตอคุณภาพ<br />

สิ่งแวดลอมของไทยโดยเฉพาะการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาประเทศ<br />

โดยขอมูลที่ใชในการศึกษาแบบจําลองเศรษฐมิติที่กําหนดขึ้นเปนขอมูลอนุกรมเวลารายป ตั้งแตป พ.ศ. 2523 –<br />

2551 ผลการศึกษาเชิงประจักษ พบวา การเปลี่ยนแปลงปริมาณการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด มี<br />

ความสัมพันธในทิศทางทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงในการบริโภคพลังงานและรายไดเฉลี่ยตอหัว และมี<br />

ความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับระดับการเปดทางการคาของประเทศ ซึ่งจะเห็นไดวาความสัมพันธที่เกิดขึ้น<br />

ระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจกับคุณภาพสิ่งแวดลอมของไทยมีลักษณะที่เปนการแลกได-เสีย (trade off) ดังนั้นการ<br />

กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาจึงควรมีความเชื่อมโยงระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจกับความสามารถในการจัดการ<br />

มลพิษที่จะนําไปสูการรักษาสมดุลของสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน<br />

คําสําคัญ: การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด การบริโภคพลังงาน รายได ระดับการเปดทางการคา<br />

ประเทศไทย<br />

Abstract<br />

Economic development of countries in the past period which cause of global climate change.<br />

Especially the increase in the carbon dioxide emissions by economic activities are important factors<br />

causing global warming that has a serious impact on quality of life and environment of each country. This<br />

study aimed to investigate the impact of economic development on environmental quality of Thailand. The<br />

data used for the study of econometrics model defined as a time series annual data from year 2523 to<br />

849


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

2551. Empirical study found that changing the amount of carbon dioxide distribution correlated with the<br />

direction of changes in energy consumption, per capita income and opposite of degree of trade openness.<br />

The findings indicate that the relationship between economic development and environmental quality in<br />

Thailand is trade-off. Therefore, the development strategy should be links between economic development<br />

and the ability to manage pollution that will lead to the balance of the environment for sustainable<br />

development.<br />

1. ความสําคัญ<br />

ความพยายามในการอธิบายผลที่เกิดกับคุณภาพของสิ่งแวดลอมที่สืบเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

ของนักเศรษฐศาสตรไดเกิดงานศึกษาจํานวนมากในชวงสองทศวรรษที่ผานมาที่พยายามอธิบายการพยากรณการ<br />

เปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดลอมหากการขยายตัวทางเศรษฐกิจยังคงดําเนินไปอยางตอเนื่อง โดยอาศัยทฤษฎีทาง<br />

เศรษฐศาสตรมาเปนพื้นฐานรองรับในเชิงวิชาการ ทั้งนี้ในงานศึกษาของธนาคารโลกในตนทศวรรษ 1990 ที่<br />

ไดใชแนวคิดสมมติฐานของคุซเน็ตสในการอธิบายความสัมพันธระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจกับคุณภาพของ<br />

สิ่งแวดลอม เปนแรงผลักดันที่สําคัญที่ไดกอใหเกิดความสนใจอยางแพรหลายในหมูนักวิชาการทางดาน<br />

เศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมในการการที่จะไดใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดลอมอันเปนผล<br />

สืบเนื่องมาจาการเรงขยายการพัฒนาเศรษฐกิจของแตละประเทศ โดยธนาคารโลกไดเผยแพรรายงานดานคุณภาพ<br />

สิ่งแวดลอม ซึ่งมีดัชนีชี้วัดคุณภาพของสิ่งแวดลอมบางอยางไดแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงในรายได อาทิ การแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซด และ ปริมาณขยะมูลฝอย เปนตน สวน<br />

ดัชนีชี้วัดดานอื่น ๆ เชน การขาดแคลนน้ําสะอาดสําหรับการอุปโภคบริโภค และการสุขาภิบาลของเมืองมีคุณภาพ<br />

ต่ําลงเมื่อรายไดเพิ่มขึ้น (World Bank: 1992)<br />

ความตื่นตัวของประเทศตางๆ ในการใหความสําคัญกับปญหาสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะอยางยิ่งตามพิธีสาร<br />

เกียวโต (Kyoto Protocol) ป ค.ศ.1997 ที่กําหนดใหประเทศสมาชิกตองลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกที่มีผลทํา<br />

ใหอุณหภูมิของโลกรอนขึ้น ซึ่งกาซคารบอนไดออกไซดถูกพิจารณาวาเปนสาเหตุหลักของการเกิดภาวะโลกรอน<br />

เพราะเปนองคประกอบสูงถึงรอยละ 53 ของกาซเรือนกระจก สําหรับในประเทศไทยนั้นปริมาณการแพรกระจาย<br />

กาซคารบอนไดออกไซดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยตลอดในชวงกวาสามทศวรรษที่ผานมายกเวนในชวงป พ.ศ. 2543-<br />

2546 ที่ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (รูปที่ 1) ซึ่งการเติบโตของการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดที่มีความสัมพันธในทิศทางเดียวกับการเติบโตของเศรษฐกิจนี้ ยอมบงชี้ถึงสัญญานเตือนภัยที่<br />

นากังวลจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไมไดดําเนินการไปควบคูกับการสรางภูมิคุมกันที่ดีทางดานสิ่งแวดลอมอันจะ<br />

สงผลเสียในระยะยาวตอเศรษฐกิจ<br />

850


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

รูปที่ 1 การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดในประเทศไทย<br />

จากเหตุผลดังกลาวเปนที่มาของการทดสอบผลของการพัฒนาเศรษฐกิจมีสวนในการทําลายสิ่งแวดลอม<br />

โลกมากนอยเพียงใด โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนาเฉกเชนประเทศไทย ซึ่งผลการศึกษาที่ไดจะเปน<br />

ขอมูลสําคัญในการบูรณาการการวางแผนเศรษฐกิจกิจที่ควบคูไปกับการสรางความยั่งยืนของสภาวะแวดลอมของ<br />

ประเทศในอนาคต<br />

2. วัตถุประสงคการศึกษา<br />

การศึกษานี้มุงพิจารณาความสัมพันธของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด การบริโภคพลังงาน<br />

รายได และระดับการเปดทางการคาของประเทศไทย ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย<br />

3. วิธีการศึกษา<br />

3.1 แนวคิดทฤษฎีและการทบทวนวรรณกรรม<br />

การวิเคราะหโดยทั่วไป เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การบริโภคพลังงาน<br />

และมลพิษสิ่งแวดลอม มักปรากฎสองรูปแบบหลักในรูปแบบแรกจะใหน้ําหนักความสําคัญของความเชื่อมโยง<br />

ระหวางมลพิษสิ่งแวดลอมกับผลผลิต โดยใชกรอบการวิเคราะหตามสมมติฐานสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส (the<br />

environmental Kuznets curve hypothesis : EKC) ซึ่งความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงในระดับมลพิษกับ<br />

ผลผลิตหรือรายไดประชาชาติตามสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตสไดอธิบายความสอดคลองกับการ<br />

พัฒนาเศรษฐกิจใน 3 ระยะคือ ในระยะแรกหรือ ชวงของการเติบโตทางเศรษฐกิจ (stages of economic growth)<br />

ซึ่งเปนการพัฒนาจากโครงสรางเศรษฐกิจที่มีภาคเกษตรเปนพื้นฐานมาสูโครงสรางเศรษฐกิจที่เนนหนัก<br />

ภาคอุตสาหกรรมเพื่อที่จะเปลี่ยนผานไปสูโครงสรางเศรษฐกิจที่พึ่งพาภาคบริการโดยอาศัยความกาวหนาทาง<br />

เทคโนโลยีเปนตัวขับเคลื่อน โดยผลจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจดังกลาวทําใหคุณภาพของ<br />

สิ่งแวดลอมมีแนวโนมเสื่อมโทรมมากขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับคุณภาพสิ่งแวดลอมนี้ Grossman และ Krueger<br />

(1995) อธิบายวาเปนผลกระทบจากขนาดการผลิต (scale effect) ซึ่งเมื่อมีการขยายตัวของกิจกรรมการผลิตมิ<br />

เพียงแตสงผลตอการใชทรัพยากรการผลิตที่เพิ่มขึ้น แตยังทําใหปริมาณผลผลิตและการบริโภคผลผลิตเพิ่มขึ้น จาก<br />

851


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

การขยายตัวของกิจกรรมการผลิตและการบริโภคยอมสงผลตอการปลดปลอยมลพิษสูสิ่งแวดลอมที่ทําใหคุณภาพ<br />

สิ่งแวดลอมดอยลง หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือการปลดปลอยมลพิษและของเสียเปนผลพลอยได (by-product) ของ<br />

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในระยะเวลาตอมา ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของระบบเศรษฐกิจจากภาค<br />

ชนบทมาเปนภาคเมือง หรือการเปลี่ยนแปลงโครงสรางพื้นฐานจากภาคเกษตรมาสูภาคอุตสาหกรรม หรือที่เรียกวา<br />

ผลจากการเปลี่ยนโครงสรางการผลิต (composition effect) มีสวนทําใหผลผลิตมวลรวมเพิ่มสูง ซึ่งนอกจากจะสงผล<br />

ตอการเพิ่มขึ้นของรายไดและการบริโภคของประชากรในประเทศแลว ผลของการเพิ่มขึ้นของรายไดดังกลาวยังมี<br />

สวนที่เพิ่มความสามารถในความเต็มใจจาย (willingness to pay) เพื่อการเสริมสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น<br />

ดวยอันเปนผลทําใหคุณภาพสิ่งแวดลอมดีขึ้น จากสถานการณการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ Panayotou( 1993) ได<br />

ตั้งขอสังเกตวาการเปลี่ยนผานของเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมสูภาคอุตสาหกรรมของประเทศใดก็ตามนั้น ผล<br />

ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นยอมตองแลกเปลี่ยนดวยความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดลอมดวยเสมอ สวน<br />

ใน ระยะสุดทายเปนระยะที่เปนจุดวกกลับของเสนโคงของคุซเน็ตส ซึ่งผลทางดานเทคนิคอันเนื่องจาก<br />

ความกาวหนาทางเทคโนโลยีจะทําใหประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น ลดการใชทรัพยากรการผลิตและมีของเสียจาก<br />

กระบวนการผลิตลดลง โดยในกิจกรรมการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเดิมที่เคยเนนหนักในการใชทรัพยากรที่เปนการ<br />

เพิ่มการผลิตมลพิษ ไดเปลี่ยนมาสูกิจกรรมที่เนนหนักการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (information-intensive<br />

activities) มากขึ้น( ตัวอยางเชน ระบบการสื่อสารที่กาวหนามากขึ้น ชวยลดการใชทรัพยากรในการเดินทางเพื่อ<br />

ติดตอสื่อสาร เปนตน) นอกจากนี้เทคโนโลยีที่กาวหนามากขึ้นยังสงผลทําใหเกิดการทําเอาของเสียที่เกิดขึ้นจาก<br />

กระบวนการผลิตและการบริโภคแปรสภาพนํากลับมาใชใหม (recycle) ซึ่งสวนหนึ่งเปนไปโดยความสมัครใจของ<br />

ผู ผลิตในการลดตนทุนการผลิต และอีกสวนหนึ่งเปนผลกระทบเชิงนโยบายบนพื้นฐานการขับเคลื่อนของกลไกตลาด<br />

ดวยการบังคับใชของกฏหมายที่เกี่ยวของกับผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการทําลายสิ่งแวดลอมตองเปนผูรับภาระ<br />

คาใชจาย ผลกระทบเหลานี้มีสวนทําใหการปลดปลอยมลพิษจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจลดลงดวยเชนกัน ในอีก<br />

ดานหนึ่งของผลลัพธจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่ทําใหรายไดประชากรเพิ่มสูงขึ้น กอใหเกิดความตองการคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งคือผลกระทบมาอันเนื่องจากความปรารถนาในการบริโภค (preference-drive effect) จะ<br />

สงผลตออุปสงคในคุณภาพสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะเปนสินคาฟุมเฟอย (luxury good) ซึ่งความตองการสินคา<br />

ดังกลาวจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกวารายไดที่เพิ่มขึ้น (Hill R.J. and Magnani E., :2002 ) จากขั้นตอนของการ<br />

พัฒนาเศรษฐกิจซึ่งในที่สุดแลวผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจ ถึงแมวาจะทําใหระดับมลพิษเพิ่มขึ้นในชวงแรกของการ<br />

พัฒนาแตจะลดต่ําลงในภายหลัง ดังนั้นความสัมพันธระหวางคุณภาพสิ่งแวดลอมกับระดับรายไดเฉลี่ยที่เปนผลมา<br />

จากกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจจะมีลักษณะเปนเสนโคงรูประฆังคว่ําที่เปนไปตามการประยุกตใชสมมติฐานของ<br />

คุซเน็ตสนั่นเอง นอกจากนี้ยังไดมีความพยายามขยายกรอบการศึกษาเพื่อจะอธิบายความสัมพันธของการคา<br />

ระหวางประเทศที่มิเพียงแตมีผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยทฤษฎีการคาของ Hecksher – Ohlin ได<br />

เสนอแนะวาภายไดการคาเสรี ประเทศกําลังพัฒนาควรจะผลิตสินคาที่ตนเองมีความไดเปรียบ ซึ่งขึ้นอยูกับความ<br />

เขมขน (intensive) ของปจจัยการผลิตที่มีความไดเปรียบ ไมวาจะเปนแรงงานหรือทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะที่<br />

ประเทศที่พัฒนาแลวยอมผลิตสินคาที่มีความไดเปรียบในทุนมนุษยและสินคาทุน การแลกเปลี่ยนสินคาที่เกิดขึ้น<br />

ยอมสะทอนกับการกอใหเกิดมลพิษของประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธกับการผลิตและการบริโภคของประเทศคูคา<br />

Wyckoff และ Roop (1994) ประมาณวารอยละ 13 ของการปลดปลอย กาซคารบอนไดออกไซด ของหกประเทศ<br />

หลักในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว (OECD) มาจากการนําเขาสินคา<br />

การศึกษาที ่ใชกรอบการวิเคราะหตามสมมติฐานสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส อาทิ Shafik (1994) หรือ<br />

Holtz-Eakin และ Selden (1995) พบวาการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดเปนไปในทิศทางเดียวกับการ<br />

เพิ่มขึ้นของรายไดเฉลี่ยตอหัว ในขณะที่การศึกษาของ Soytas และคณะ (2007) ที่พิจารณาการบริโภคพลังงานใน<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา พบวา การแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดไมเปนไปตามเสนโคงสิ่งแวดลอมของ<br />

852


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

คุซเน็ตสแตอยางใด สวน Lui (2005) ไดศึกษาการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดจากการบริโภคพลังงาน<br />

กับการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุมประเทศที่พัฒนา(OECD) จํานวน 24 ประเทศ โดยใชขอมูลตัดขวางทางยาว<br />

(panel data) ผลการศึกษาพบวา ความสัมพันธของการแพรกระจายของกาซคารบอนไดออกไซดกับรายไดเฉลี่ย<br />

ตอหัวในแตละประเทศเปนไปตามสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส<br />

แนวทางที่สองเปนการศึกษาความสัมพันธระหวางความเชื่อมโยงของการบริโภคพลังงานกับการผลิต ซึ่ง<br />

ความเชื่อมโยงนี้สะทอนใหเห็นถึงการพัฒนาเศรษฐกิจกับการเจริญเติบโตของผลผลิตมวลรวม โดยการขยายตัว<br />

ของเศรษฐกิจนี้จะมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการบริโภคพลังงาน ซึ่งหากเศรษฐกิจขยายตัวอยางรวดเร็วยอม<br />

สงผลตอการบริโภคพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้นความสัมพันธที่เชื่อมโยงเปนลูกโซกอนและหลัง<br />

กลาวคือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําใหความตองการบริโภคพลังงานเพิ่มขึ้น และการเพิ่มขึ้นของการใชพลังงาน<br />

ยอมมีสวนผลักดันทําใหเกิดการเติบโตของเศรษฐกิจในรอบตอไปอยางตอเนื่อง ความสัมพันธซึ่งกันและกันของการ<br />

เติบโตของเศรษฐกิจและการบริโภคพลังงานจึงไมสามารถกําหนดความสัมพันธระหวางเหตุและผล (causality)<br />

กอนหลังไดอยางเดนชัด ซึ่งการศึกษาความสัมพันธในทางที่สองนี้ ปรากฎชัดในงานของ Masih และ Masih<br />

(1996) Yang (2000) Walde-Rufael (2006) รวมถึง Narayan และคณะ (2008)<br />

สวนการศึกษาที่ผนวกรวมทั้งแนวทางแรกและแนวทางที่สองรวมกัน เปนการศึกษาความสัมพันธของการ<br />

เติบโตทางเศรษฐกิจ การบริโภคพลังงานและการเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม มักปรากฎในชวงเวลาที่ผานมาไมนานนี้<br />

อาทิ ในงานของ Ang (2007) และ Soytas และคณะ (2007)<br />

สําหรับแนวทางในการวิเคราะหนั้น เทคนิคทางเศรษฐมิติมักเปนที่นิยมใชในการทดสอบความเที่ยงตรง<br />

ของความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางผลผลิตกับพลังงาน และผลผลิตกับมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งผลการศึกษาที่ไดรับ<br />

และการอธิบายผลการศึกษาจะขึ้นอยูกับจํานวนตัวแบบ จํานวนความถี่ของขอมูลที่ไช และระดับชั้นของการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจของประเทศเหลานั้น<br />

3.2 แบบจําลองและระเบียบวิธีทางเศรษฐมิติ<br />

แบบจําลองตามการทบทวนวรรณกรรมเชิงทฤษฎี เศรษฐศาสตรพลังงาน มักปรากฎความสอดคลองของ<br />

รูปแบบความสัมพันธในระยะยาว (long - run) ระหวางการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 ) การบริโภค<br />

พลังงาน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการคาระหวางประเทศในรูปแบบของฟงกชั่นเชิงเสนลอการิทึ่มกําลัง<br />

สอง (linear logarithmic quadratic) ซึ่งจะมีประโยชนในการทดสอบสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส รวม<br />

ดวย โดยรูปสมการเปนดังนี้<br />

2<br />

Ct= β<br />

0+<br />

β1et+<br />

β2y<br />

t+<br />

β3y<br />

t<br />

+ β4ot+<br />

ε<br />

t<br />

......()<br />

1<br />

โดยที่ C t คือ ปริมาณการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )เฉลี่ยตอหัว(กิโลกรัม) e t คือ การ<br />

บริโภคพลังงานเฉลี่ยตอหัว(กิโลกรัมเทียบเทาน้ํามันดิบ :Kgoe) y t คือ ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัว<br />

(บาท) y t 2 คือ ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัวยกกําลังสอง(บาท) o t คือ ระดับการเปดทางการคา<br />

(trade openness) (รอยละ) ซึ่งใชเปนตัวแทนของการคาระหวางประเทศ และ t คือ เทอมรบกวน โดยคาของตัว<br />

แปรในสมการที่ (1) นี้จะอยูในรูปของลอการิทึ่มธรรมชาติ (natural logarithms)<br />

สมมติฐานความสัมพันธระหวางปจจัยกําหนดในแบบจําลองกับการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ตามสมการที่ (1) ที่คาดวาจะเกิดขึ้น ดังนี้<br />

1) การบริโภคพลังงานโดยปกติแลว การบริโภคพลังงานปนตัวสะทอนถึงการเติบโตของกิจกรรมทาง<br />

เศรษฐกิจเชื่อมโยงถึงการเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนผลพลอยได (by product) ไดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม<br />

853


920<br />

CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

วาจะเปนการผลิตหรือการบริโภคก็ตาม ความสัมพันธระหวางการบริโภคพลังงานและการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด คาดวาจะมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ( 1 > 0)<br />

2) ผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัว การเติบโตของผลิตภัณฑประชาชาติตอหัว แสดงถึงพัฒนาการทาง<br />

เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ความเติบโตทางเศรษฐกิจดังกลาวจะกอใหเกิดผลกระทบตอมลพิษ<br />

สิ่งแวดลอม มากนอยเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับลําดับขั้นของการเปลี่ยนผานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ<br />

เหลานั้น การทดสอบความสัมพันธระหวางการเติบโตทางเศรษฐกิจ (โดยใชผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัวเปน<br />

ตัวแทน) กับการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด จะใชแนวคิดสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส<br />

(EKC) ในการทดสอบ ซึ่งคาดวาความสัมพันธของผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัวกับการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด จะเปนไปตามสมมติฐานเสนโคงของคุซเน็ตส โดย คาสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑประชาชาติ<br />

เฉลี่ยตอหัว ( 2 ) และผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัวยกกําลังสอง ( 3 ) มีคาเปนบวกและลบตามลําดับ ( 2 > 0 ,<br />

3 < 0)<br />

3) การคาระหวางประเทศ (ในการศึกษาครั้งนี้ไดใชระดับการเปดประเทศเปนตัวแทน 1 ) ซึ่ง<br />

ความสัมพันธของปจจัยดังกลาวกับการแพรการจายกาซคารบอนไดออกไซดมีนัยผูกโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศ โดยในประเทศที่พัฒนาแลว ความสัมพันธระหวางประเทศกับการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด จะแปรผันในทิศทางตรงกันขาม ( 4 < 0) ทั้งนี้เนื่องจากประเทศเหลานี้มีความกาวหนาทาง<br />

เทคโนโลยีการผลิตที่มีแนวโนมการปลดปลอยมลพิษจากกระบวนการผลิตลดลง และพยายามเลือกการผลิตสินคาที่<br />

มีมูลคาเพิ่มสูงเหลานี้เปนสินคาออก ในขณะที่จะนําเขาสินคาที่มีกระบวนการผลิตที่กอใหเกิดมลพิษสูงจาก<br />

ตางประเทศแทน ในขณะเดียวกันกฎระเบียบในประเทศเหลานี ้มีความเขมงวดและมีจํากัดการปลดปลอยมลพิษ ทํา<br />

ใหอุตสาหกรรมลาสมัยกอใหเกิดมลพิษสูงที่ไดมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีในประเทศเหลานี้จําเปนตองปดตัวลง<br />

เนื่องจากตนทุนการกําจัดมลพิษที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามการลดลงของสินคาของอุตสาหกรรมที่มีความลาหลังใน<br />

เทคโนโลยีที่กอใหเกิดมลพิษสูงนี้ กลับเติบโตไดดีในประเทศกําลังพัฒนาและประเทศดอยพัฒนา เพราะจะเปน<br />

แหลงนําเขาสินคาจากประเทศที่พัฒนาแลว ดังนั้นความสัมพันธระหวาประเทศกับการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในกลุมประเทศกําลังพัฒนาและประเทศดอยพัฒนา จะมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ( 4 ><br />

0) (Grossman และ Krueger : 1995)<br />

4. ผลการศึกษา<br />

การวิเคราะหเพื่อหาความสัมพันธในระยะยาวดวยวิธีการใชการรวมกันไปดวยกัน (cointegration) เริ่ม<br />

จากการวิเคราะหความนิ่ง (stationarity) ของตัวแปรดวยการทดสอบ unit root เพื่อพิจารณาการรวมกัน<br />

(integration) และการรวมกันไปดวยกันของสมการ(1) จากการทดสอบ unit root ของตัวแปรในแบบจําลองที่<br />

ประกอบดวย การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด (c t ) การบริโภคพลังงานเบื้องตน (primary energy<br />

consumption) เฉลี่ยตอหัว (e t ) ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัว (y t ) ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ<br />

เฉลี่ยตอหัวยกกําลังสอง (y t 2 ) และการคาระหวางประเทศ (o t ) ปรากฎวาตัวแปรทั้งหมดไมมีการรวมกัน<br />

(integration) ดังนั้นจึงไมตองมีการทดสอบการรวมกันไปดวยกัน (ตารางที่ 1)<br />

20 ระดับการเปดประเทศ (degree of trade openness) คือ สัดสวนผลรวมของมูลคาการสงออก (export) และมูลคาการนําเขา (import) สินคา<br />

และบริการตอผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP)<br />

854


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 1 การทดสอบ unit root แบบวิธี Augmented Dickey-Fuller test<br />

Variables ln(c t ) ln(e t ) ln(y t ) ln(y t ) 2 ln(o t )<br />

No intercept<br />

Level 2.1765** 1.3224 1.2426 2.1497** 2.0545**<br />

1st diff -1.5334 -1.2343 -1.2821 -1.4655 -2.7198***<br />

Intercept<br />

Level -1.1431 -0.7845 -0.7604 -0.8260 -0.8692<br />

1st diff -2.8802* -2.5865 -2.9080* -3.5470** -3.9978***<br />

Trend and intercept<br />

Level -1.3492 -2.4052 -2.8448 -1.8430 -1.9700<br />

1st diff -3.1816 -2.8236 -3.0332 -3.7076** -4.0346**<br />

หมายเหตุ: *** ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 1% **ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 5% และ *ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่<br />

10%<br />

ผลการประมาณแบบจําลองดวยเทคนิคการถดถอยกําลังสองอยางงาย (ordinary least square<br />

regression : OLS) พบวามีปญหาอัตตสหสัมพันธของเทอมรบกวน (autocorrelation) จึงแกปญหาดวย<br />

กระบวนการอัตตถดถอยลําดับหนึ่ง (first order autoregressive : AR(1)) ซึ่งผลของการเปลี่ยนรูปสมการใหม<br />

สามารถแกไขปญหาอัตตสหสัมพันธได (ตารางที่ 2) ความสัมพันธระหวางปจจัยกําหนดการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในแบบจําลองสอดคลองกับสมมติฐานการศึกษาที่กําหนด กลาวคือ การแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด(c t ) มีความสัมพันธในทิศทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของการบริโภคพลังงานเบื้องตนเฉลี่ย<br />

ตอหัว (e t ) และผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัว (y t ) และ มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับ<br />

ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัวยกกําลังสอง (y t 2 ) และการคาระหวางประเทศ (o t )<br />

ผลการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในชวงเวลา 3 ทศวรรษที่ผานมาบงชี้ถึงการแลกไดเสีย (trade off)<br />

ของทรัพยากรและมลพิษสิ่งแวดลอมอยางเดนชัด โดย ผลของการพัฒนาเศรษฐกิจกอใหเกิดความตองการบริโภค<br />

พลังงานเพิ่มสูงขึ้นและผลเชื่อมโยงที่เกิดขึ้นตามมาคือการปลดปลอยมลพิษสิ่งแวดลอมจากการบริโภคพลังงาน<br />

กลาวคือ การบริโภคพลังงานเบื้องตนเฉลี่ยตอหัวที่เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1 จะทําใหเกิดการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1.019 และเมื่อพิจารณาการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ<br />

เฉลี่ยตอหัว พบวามีผลกระทบตอการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในระดับสูง โดยการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ<br />

มวลรวมประชาชาติเฉลี่ยตอหัวที่เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1 จะกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของการแพรกระจายกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดสูงถึงรอยละ 3.050 และเมื่อทดสอบความสัมพันธของการเติบโตทางเศรษฐกิจกับมลพิษ<br />

สิ่งแวดลอมตามสมมติฐานเสนโคงสิ่งแวดลอมของคุซเน็ตส พบวา ความสัมพันธของการเติบโตทางเศรษฐกิจกับ<br />

การแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดมีลักษณะเปนเสนโคงระฆังคว่ํา (คา 2 > 0 และ 3 < 0) สําหรับ<br />

การคาระหวางประเทศที่ใชระดับการเปดประเทศเปนตัวแทนพบวา ระดับการเปดประเทศที่เพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะทํา<br />

ใหเกิดการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดลดลงในอัตรารอยละ 0.047<br />

855


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ตารางที่ 2 ผลการประมาณแบบจําลองการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด การบริโภคพลังงาน<br />

รายได และระดับการเปดทางการคาของประเทศไทย<br />

ตัวแปร (Variables) Coefficient Coefficient<br />

คาคงที่ (Constant) -10.35611<br />

(-4.563216)<br />

-15.07438<br />

(-6.410127)<br />

การบริโภคพลังงานเฉลี่ยตอหัว (e t ) 1.104637**<br />

(7.160803)<br />

1.019159**<br />

(9.093623)<br />

ผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัว(y t ) 2.105200**<br />

(5.127388)<br />

3.050911**<br />

(6.859730)<br />

ผลิตภัณฑประชาชาติเฉลี่ยตอหัวกําลังสอง ( y t ) 2 -0.101520**<br />

(-4.623366)<br />

-0.137212**<br />

(-6.707832)<br />

ระดับการเปดทางการคา(o t ) -0.047894<br />

(-0.499496)<br />

-0.222172**<br />

(-2.915037)<br />

AR(1) 0.436395**<br />

(4.051035)<br />

R 2 0.997596 0.999154<br />

Adjusted R 2 0.997178 0.998953<br />

Log likelihood 59.16337 71.86352<br />

F-statistic 2386.557 4961.137<br />

Durbin-Watson stat 0.682885 1.877056<br />

Inverted AR Roots .44<br />

หมายเหตุ: ** ระดับนับสําคัญทางสถิติที่ 0.01<br />

5. สรุปผลการศึกษา<br />

จากผลการศึกษาสะทอนใหเห็นถึงการเติบโตของเศรษฐกิจที่มีสวนทําใหการการบริโภคพลังงานของภาค<br />

การผลิตและการบริโภคเพิ่มสูงขึ้นแลวยังมีสวนสําคัญตอการขยายตัวของการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด<br />

ที่เปนสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่เปนปจจัยสําคัญกอใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน<br />

อยางไรก็ตามสิ่งที่นาสังเกตความสัมพันธระหวางระดับการเปดประเทศที่เปนตัวแทนของการคาระหวางประเทศ<br />

ของไทย มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนไปในลักษณะ<br />

เดียวกับประเทศที่พัฒนาแลว แตอยางไรก็ตามในกรณีของประเทศไทยที่ไมไดมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีการ<br />

ผลิตสูงและไมไดผลิตสินคาที่มีมูลคาเพิ่มสูงเปนสินคาออกนั้นปรากฏการณนี้นับวามีความนาสนใจยิ่ง ทั้งนี้อาจ<br />

เปนไปไดวาประเภทการสงออกของไทยที่มีมูลคาสูงเปนลําดับตนๆ (ไดแก เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและ<br />

สวนประกอบ รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ แผงวงจรไฟฟา ยางพารา เม็ดพลาสติก และ อัญมณีและ<br />

เครื่องประดับ เปนตน) ถึงแมเปนอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีไมสูงแตมีมูลคาเพิ่มสูงอีกทั้งเปนอุตสาหกรรมที่มีการ<br />

856


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ปลดปลอยมลพิษต่ํา รวมถึงการผลิตในภาคเกษตรของไทยที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตที่มุงเนนการทํา<br />

การเกษตรอินทรียมากขึ้นจึงมีสวนชวยในการลดการแพรกระจายกาซคารบอนไดออกไซดในที่สุด อยางไรก็ตาม<br />

แนวทางการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาในอนาคตของประเทศควรมีความเชื่อมโยงระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

กับความสามารถในการจัดการมลพิษที่จะนําไปสูการรักษาสมดุลของสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

- Ang, J. B., (2007), “CO 2 emissions, energy consumption, and output in France”, Energy<br />

Policy, 5, 4772-4778.<br />

- Grossman G.G. and Krueger A., (1995), “Economic Growth and the Environment”,<br />

Quarterly Journal of Economics, 110 (2), 353-377.<br />

- Hill R.J. and Magnani E., (2002), “An exploration of the conceptual and Empirical Basis<br />

of the Environmental Kuznets Curve”, Australian Economic Papers, 41(2), 239-254.<br />

- Holtz-Eakin, D. and Selden, T. M., (1995) “Stoking the fires? CO 2 Emissions and<br />

economic growth”, Journal of Public Economics, 57, 85-101.<br />

- Liu, X., (2005), “Explaining the relationship between CO 2 emissions and national income<br />

- the role of energy consumption”, Economic Letters, 87, 325-328.<br />

- Masih, A. M. M. and Masih, R.,(1996). “Energy consumption, real income and temporal<br />

causality result from a multi-country study based on cointegration and error correction<br />

modeling techniques”. Energy Economics 18, 165-183.<br />

- Narayan, P. K., Smyth, R., (2006). “Higher education, real income and real investments<br />

in China: evidence from Granger causality tests”. Education Economics 14, 107-125.<br />

- Panayotou, T., (1993), “Empirical tests and policy analysis of environmental degradation<br />

at different stages of economic development”, World Employment Programme Research,<br />

Working Paper 238, International Labour Office, Geneva.<br />

- Shafik N., (1994), “Economic Development and Environmental Quality: An Econometric<br />

Analysis”. Oxford Economic Papers, vol.46, pp.757-73.<br />

- Soytas, U., Sari, R. and Ewing, T., (2007), “Energy consumption, income, and carbon<br />

emissions in the United States”, Ecological Economics, 62, 482-489.<br />

- Wyckoff, A. M., and Roop, J. M., (1994). “The embodiment of carbon in imports of<br />

manufactured products : implications for international agreements on greenhouse gas<br />

emissions.” Energy Policy 22, 187-194.<br />

- Wolde-Rufael, Y., (2006). “Electricity consumption and economic growth: a time series<br />

experience for 17 African countries”. Energy Economics 34, 1106-1114.<br />

- World Bank, (1992), “World Development Report 1992”, Oxford University Press, New<br />

York, USA.<br />

857


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

ก<br />

ดัชนี<br />

กมลทิพย อรัญศิริ 118<br />

กฤษดา บํารุงวงศ 821<br />

กัลยาณี ฟูสุวรรณกายะ 404<br />

กําธร แสงฤทธิ์ 138<br />

กิตติ มั่นสกุล 775<br />

กุลวรางค สุวรรณศรี 795<br />

เกื้อกูล การเจน 253<br />

ข<br />

ขนิษฐา กนกกาญจนา 442<br />

ค<br />

คมศิลป วังยาว 247<br />

จ<br />

จอมภพ แววศักดิ์ 126<br />

จิระ บุรีคํา 832<br />

จิราวรรณ สุรโชติ 148<br />

จีรณัทย สุทธวารี 84<br />

ช<br />

ชาญวิทย อุดมศักดิกุล 745<br />

ชาตรี ตั้งอมตะกุล 281<br />

ณ<br />

ณภัทร จักรวัฒนา 503<br />

ต<br />

ตนสกุล ศานติบูรณ 33<br />

ท<br />

ทัศนีย เจียรพสุอนันต 714<br />

ธ<br />

ธนนภัทร บุญมั่น 484<br />

ธนาวุฒิ ขุนทอง 723<br />

น<br />

นพฤทธิ์ สุทธศิลป 258<br />

นพวรรณ สุนทรโชติ 111<br />

นัฐศิพร แสงเยือน 667<br />

นิตยา ชาอุน 378<br />

นิสิต พันธมิตร 849<br />

บ<br />

บัญจรัตน โจลานันท 593<br />

บุญรอด เยาวพฤกษ 343<br />

ป<br />

ปริญญา ฉายะพงษ 733<br />

ประจวบ พีระพงศ 355<br />

ประดิพัทธ ตั้งนรกุล 92<br />

ประทีป ชวยเกิด 295<br />

ปวีณสุดา รามนัฏ 412


CTC<br />

2010<br />

การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1:<br />

ความเสี่ยง และโอกาสทาทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิอากาศโลก วันที่ 19 - 21 สิงหาคม 2553<br />

พ<br />

พงษเทพ หาญพัฒนากิจ 220<br />

พรพิมล วิญูชาคริต 267<br />

พิศุทธ วิเชียรฉันท 640<br />

เพ็ญวดี ชีวพงศพันธุ 431<br />

ภ<br />

ภูกิจ พันธเกษม 172<br />

ม<br />

มณฑิรา ยุติธรรม 268<br />

มนตรี แสนวังสี 232<br />

มานัส ศรีวณิช 44<br />

ย<br />

ยศสรัล พิเชียรสุนทร 497<br />

ยุวนันท สันติทวีฤกษ 808<br />

ร<br />

ระวี เจียรวิภา 217<br />

รัฐพล อนแฉง 70<br />

ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล 700<br />

ว<br />

ศ<br />

ศศิธร พุทธวงษ 606<br />

ศุภิกา วานิชชัง 335<br />

ส<br />

สนิท วงษา 764<br />

สมชาย บุญประดับ 683<br />

สลักใจ เจนจริยโกศล 278<br />

สาพิศ ดิลกสัมพันธ 198<br />

สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ 20<br />

สายันต โพธิ์เกตุ 2<br />

สุภาวรรณ เพ็ชศรี 369<br />

สุวัตร ปทมวรคุณ 755<br />

ห<br />

หญิง ผโลปกรณ 651<br />

อ<br />

อรชร กําเนิด 618<br />

อนุสรณ บุญปก 513<br />

อัศมน ลิ่มสกุล 10<br />

อาทิตย พัฒนพงศชัย 307<br />

อุบลวรรณ ไชโย 100<br />

เอกพล จันทรเพ็ญ 458<br />

เอกอนงค ฟุงลัดดา 391<br />

วรรัตน ปตรประกร 54, 289<br />

วรวุฒิ ถุงทรัพย 158<br />

วสันต จันทรแดง 183<br />

วาริท เจาะจิตต 303<br />

วาสินี ชื่นบาน 468<br />

วิเชียร เกิดสุข 630<br />

วิไล เสาธงนอย 424<br />

วิทยา ยงเจริญ 323<br />

859

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!