06.09.2015 Views

ฟังไจ

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่ 6<br />

<strong>ฟังไจ</strong>


<strong>ฟังไจ</strong> (fungi)<br />

• จัดเป็ นจุลินทรีย์กลุ่มยูแคริโอต<br />

• สร้างอาหารเองไม่ได้ ไม่มีคลอโรฟิ ลล์<br />

• ได้อาหารจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่ อยให้มีขนาดเล็กลง เพื่อ<br />

น าเข้าสู ่เซลล์<br />

• สามารถใช้สารอาหารได้หลายชนิด<br />

• ส่วนใหญ่ต้องการอากาศในการเจริญ<br />

• บางชนิดเป็ นปรสิตของสิ่งมีชีวิตอื่น


<strong>ฟังไจ</strong> (fungi)<br />

• ทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมได้ดีกว่าจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ<br />

• เจริญได้ในที่มีความเข้มข้นของน ้าตาลสูง : แยม นมข้น<br />

• ทนต่อสภาพความเป็ นกรดได้ดีกว่าจุลินทรีย์อื่น ๆ


<strong>ฟังไจ</strong> (fungi)<br />

พวกที่เจริญในลักษณะหลาย<br />

เซลล์เรียงกันเป็ นเส้นใย<br />

(hypha)<br />

เจริญเป็ นเซลล์เดี่ยว


โครงสร้าง<br />

ผนังเซลล์<br />

ประกอบด้วยสารในกลุ่มไคทิน (chitin) หรือเซลลูโลสและไคทิน เป็ นส่วนหลัก<br />

อาจมีสารชนิดอื่น ๆ เป็ นส่วนประกอบ : แตกต่างกันไปตามชนิดของ<strong>ฟังไจ</strong>


Penicillium chrysogenum<br />

จะมี 6- ดีออกซีเฮกโซส (6-deoxyhexose) แรมโนส (rhamnose) และไซโลส<br />

(xylose) เป็ นส่วนประกอบด้วย<br />

Polysticus chrysogenum<br />

จะมีเฉพาะไซโลสเท่านั ้น<br />

Neurospora crassa<br />

จะมีสารที่เป็ นโพลิเมอร์ของกาแลกโทซามีน<br />

(galactosamine) ยึดเกาะกับพอลิฟอสเฟต<br />

Penicillium chrysogenum<br />

Neurospora crassa


ผนังเซลล์ของ<strong>ฟังไจ</strong>จะพบโปรตีนและไขมันน้อยมาก<br />

ในยีสต์ แคนดิดา อัลบิแคนส์<br />

จะพบโปรตีนรวมกับพอลิแซ็กคาไรด์ เกิดเป็ นโครงสร้างที่ซับซ้อน ที่<br />

เรียกว่า polysaccharide-protein complex<br />

ในยีสต์ แซ็กคาโรไมซีส<br />

โปรตีนจะรวมกับแมนแนน (mannan) เกิดเป็ นโครงสร้างที่เรียกว่า<br />

mannan-protein complex<br />

ในส่วนของไขมันจะพบเล็กน้อย


ในผนังเซลล์ของก้านชูสปอร์ (sporangiospore) ของรา Phycomyces<br />

พบไขมันเป็ นองค์ประกอบมากกว่า 25 เปอร์เซ็นต์ของน ้าหนักแห้ง<br />

นอกจากนี ้ที่ผนังเซลล์ของ<strong>ฟังไจ</strong>ยังอาจพบลิกนิน (lignin) ได้อีกด้วย


เยื่อหุ ้มเซลล์<br />

ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน ในรูปของสารประกอบเชิงซ้อนของ<br />

lipoprotein โดยมีจ านวนและชนิดของไขมันและโปรตีนแตกต่าง<br />

กันไปตามชนิดของ<strong>ฟังไจ</strong>


ร่างแหเอนโดพลาซึม<br />

เป็ นออร์แกเนลล์ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการล าเลียงสารภายในเซลล์<br />

พบกระจายอยู ่ทั่วไปในเซลล์<br />

มีลักษณะเป็ นเยื่อหุ้มแบบยูนิตเมมเบรน ลักษณะคล้ายท่อเล็ก ๆ แพร่กระจายทั่วไซ<br />

โทพลาซึมและเชื่อมต่อกันเป็ นแขนง บางส่วนพองออกเป็ นถุงแบน ๆ เรียกว่าซิส<br />

เทอร์นี (cisternae) บางส่วนพองออกเป็ นถุงเล็ก ๆ (vesicle) ภายใน<br />

ท่อของร่างแหเอนโดพลาซึมจะมีของเหลวใสบรรจุอยู ่เรียกว่า เมทริกซ์<br />

(matrix) ของเหลวนี ้ประกอบด้วยสารหลายชนิด เช่น โปรตีน ลิพิด และ<br />

เอนไซม์ เป็ นต้น


ร่างแหเอนโดพลาซึม<br />

ร่างแหเอนโด พลาซึมชนิดขรุขระ<br />

(rough endoplasmic reticulum หรือ<br />

RER)<br />

ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดเรียบ<br />

(smooth endoplasmic reticulum<br />

หรือ SER)<br />

ที่ผิวด้านนอกมีไรโบโซมเกาะอยู ่เป็ นจ านวนมาก ไม่มีไรโบโซมเกาะ<br />

ท าให้มองเห็นลักษณะเป็ นผิว<br />

ขรุขระเมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน


ร่างแหเอนโด พลาซึมชนิดขรุขระ<br />

ร่างแหเอนโด พลาซึมชนิดเรียบ<br />

ร่างแหเอนโด พลาซึมชนิดเรียบ<br />

ไรโบโซมบนเยื่อของ<br />

ร่างแหเอนโด พลาซึม<br />

ไรโบโซม


กอลจิคอมเพล็กซ์ (golgi complx)<br />

กอลจิแอปพาราตัส (golgi apparatus)<br />

กอไจบอดี (golgi body)


มีลักษณะเป็ นเส้นเล็ก ๆ ติดสีด า เรียงตัวประสานกันเป็ นร่างแหอยู ่ตอนปลาย<br />

ของ ร่างแหเอนโดพลาซึมบริเวณรอบ ๆ นิวเคลียส<br />

ประกอบด้วยยูนิตเมมเบรน มีลักษณะเป็ นถุง แบน ๆ คล้ายจาน เรียกว่า ซิส<br />

เทอร์นา (cisterna) เรียงซ้อนกันหลายอันเป็ นตั ้ง ๆ แต่ละตั ้งเรียกว่า ซิสเทอร์นี<br />

(cisternae)<br />

ตอนปลายของถุงซิสเทอร์นาจะมีลักษณะพองออกเป็ นถุงเล็ก ๆ (golgi vesicle)<br />

จ านวนมาก ภายในซิสเทอร์นาและถุงเล็กดังกล่าวจะมีสารสะสมอยู ่<br />

ท าหน้าที่ร่วมกับร่างแหเอนโดพลาซึมในการสังเคราะห์สารต่าง ๆ


ก<br />

ข<br />

กลุ ่มของ<br />

กอลไจแอป<br />

พาราตัส<br />

ร่างแหเอน<br />

โดพลาซึม<br />

ชนิดขรุขระ<br />

ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน<br />

ภาพวาดกอลไจแอปพาราตัส


ไมโทคอนเดรีย<br />

พบในไซโทพลาซึมของเซลล์พวกยูแคริโอต ที่มีการหายใจแบบใช้<br />

ออกซิเจน (aerobic respiration)<br />

ประกอบด้วยยูนิตเมมเบรนสองชั ้น ชั ้นในจะพับยื่นเข้าข้างในเป็ นแผ่น<br />

หรือท่อ เรียกว่าคริสตี (cristae)<br />

เป็ นแหล่งที่อยู ่ของเอนไซม์เกี่ยวข้องกับการหายใจและสร้างพลังงาน<br />

ให้กับเซลล์ มีเอนไซม์ที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation)<br />

อยู ่เป็ นจ านวนมาก เอนไซม์ทุกชนิดในวัฏจักรเครบส์


พลาสทิด (plastid)<br />

• มีบทบาทในการสร้างและสะสมอาหาร<br />

• หากใช้สารสีที่เป็ นองค์ประกอบเป็ นเกณฑ์ในการจ าแนก สามารถแบ่ง<br />

ออกได้เป็ นสองกลุ่ม<br />

พลาสทิดที่ไม่มีสารสี พลาสทิดที่มีสารสีอยู ่ภายใน<br />

ลิวโคพลาสต์<br />

(leucoplast)<br />

พวกที่มีสีเขียว : คลอโรพลาสต์<br />

พวกที่มีสีอื่น ๆ : โครโมพลาสต์<br />

(chromoplast)<br />

ไม่พบใน<strong>ฟังไจ</strong><br />

สร้างอาหารเอง<br />

ไม่ได้


ไรโบโซม<br />

มีลักษณะเป็ นอนุภาคทรงกลมขนาดเล็ก ไม่มีเยื่อหุ้ม<br />

ประกอบด้วยสองหน่วยย่อยเช่นเดียวกับที่พบในแบคทีเรีย แต่มีขนาดที่<br />

แตกต่าง<br />

ไรโบโซมจากเซลล์ของสิ่งมีชีวิตพวกยูแคริโอตจะมีขนาด 80 S ประกอบด้วย<br />

หน่วยย่อยใหญ่ขนาด 60 S และหน่วยย่อยเล็กขนาด 40 S


นิวเคลียส<br />

สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยการย้อมสี<br />

แต่ละเซลล์อาจมีนิวเคลียสหนึ ่งอันหรือมากกว่า<br />

ในแต่ละนิวเคลียสจะมีนิวคลีโอลัส (nucleolus) 1 อัน ติดอยู ่กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส<br />

(nuclear membrane)


การแบ่งนิวเคลียสของราจะแตกต่างจากพืชและสัตว์ โดยพบมีเยื่อหุ้ม<br />

นิวเคลียสตลอดการแบ่งนิวเคลียส นิวเคลียสมีการยืดยาวออกเป็ น<br />

รูปดัมเบล (dumb-bell-shaped) และขาดออกเป็ นสองนิวเคลียส<br />

โครโมโซมของราส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็ นเส้นยาว (thread-like) แต่ใน<br />

ยีสต์และราบางชนิดอาจมีรูปร่างกลม (spherical chromosome) ก็ได้


เส้นใย (hypha)<br />

ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์เรียงต่อในแนวเดียวกัน<br />

เมื่อมีการเพิ่มจ านวนและรวมกลุ่มจนมีขนาดใหญ่ มองเห็นด้วยตาเปล่า จะ<br />

เรียกว่า ไมซีเลียม (mycelium)<br />

เส้นใยของรานี ้ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 กลุ่ม<br />

1. เส้นใยที่ไม่มีผนังกั ้น (nonseptate หรือ coenocytic hypha)<br />

2. เส้นใยมีผนังกั ้น (septate hypha)


ไมซีเลียม<br />

เส้นใย<br />

สปอร์


เส้นใยที่ไม่มีผนังกั ้น<br />

(nonseptate หรือ coenocytic hypha)<br />

กันตลอด<br />

ลักษณะของเส้นใยที่ไม่มีผนังกั ้นนี ้ท าให้เกิดเป็ นท่อทะลุถึง<br />

ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียสอยู ่ปะปนกัน<br />

นิวเคลียส


เส้นใยมีผนังกั ้น<br />

(septate hypha)<br />

เซลล์จะถูกแบ่งด้วยผนังกั ้นที่มีรูตรงกลาง<br />

ภายในมีนิวเคลียส ไซโทพาสซึมและออร์แกเนลล์ต่าง ๆ โดย<br />

แต่ละเซลล์อาจมีหนึ ่งหรือหลายนิวเคลียส


การเจริญ<br />

เป็ นแบบ 2 ทิศทาง คือ<br />

การเจริญตามขวาง ซึ ่งจะหยุดเมื่อมีการเจริญเต็มที่<br />

การเจริญตามยาว ซึ ่งจะเจริญทางด้านปลาย โดยเส้นใยจะเจริญและแตกแขนง<br />

ออกไปได้อย่างต่อเนื่องตราบเท่าที่มีสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม<br />

เส้นใยอาจเรียงตัวประสานกันในลักษณะอัดกันหลวม ๆ ตามยาว คล้ายเนื ้อเยื่อ<br />

เรียกว่า โพรเซนไคมา (prosenchyma) และในลักษณะอัดแน่นคล้าย เนื ้อเยื่อ<br />

พาเรงคิมาของพืชชั ้นสูง (parenchyma) เรียกว่า ซูโดพาเรงคิมา<br />

(pseudoparenchyma)


mycelium<br />

ส่วนที่ยึดเกาะกับอาหาร<br />

(somatic หรือ vegetative mycelium)<br />

ดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้วไปเลี ้ยงส่วน<br />

ต่าง ๆ<br />

ส่วนที่ยื่นไปในอากาศ<br />

(aerial หรือ reproductive mycelium)<br />

ท าหน้าที่เพื่อสร้างการสืบพันธุ์


นอกจากนี ้ยังมี<strong>ฟังไจ</strong>อีกหลายชนิดที่เส้นใยมีการเจริญและเปลี่ยนแปลงไปท าหน้าที่เฉพาะ<br />

ไรซอยด์ (rhizoid)<br />

เป็ นเส้นใยที่มีลักษณะคล้าย<br />

รากพืชชั ้นสูง ช่วยในการยึด<br />

ติดกับผิวอินทรีย์วัตถุเพื่อดูด<br />

ซึมสารอาหาร


สเครอโรเทีย (sclerotia)<br />

เส้นใยที่อัดตัวกัน<br />

ท าให้ทนต่อสภาวะที่ไม่<br />

เหมาะสมได้ดี


ฮอสทอเรีย (haustoria)<br />

พบใน<strong>ฟังไจ</strong>ที่ด ารงชีวิตแบบ<br />

ปรสิต<br />

เป็ นเส้นใยที่แทรกเข้าไปใน<br />

เซลล์ของโฮสต์ เพื่อดูด<br />

สารอาหารมาใช้ส าหรับการ<br />

เจริญ


การสืบพันธุ ์<br />

แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)<br />

แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)<br />

เกิดขึ ้นได้อย่างรวดเร็ว<br />

คราวละมาก ๆ


การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

(asexual reproduction)<br />

การแตกหักเป็ นส่วน ๆ<br />

(fragmentation)<br />

เส้นใยที่ฉีดขาดสามารถเจริญเป็ นเส้นใยใหม่ได้<br />

ส่วนที่ฉีดขาดเป็ นชิ้นนี ้เรียกว่าออยเดีย (oidia)<br />

วิธีการนี ้เป็ นวิธีการที่ใช้<br />

ส าหรับการถ่ายเชื ้อ<strong>ฟังไจ</strong><br />

ในห้องปฏิบัติการทางจุล<br />

ชีววิทยา


การแตกหน่อ<br />

(budding)<br />

การที่เซลล์ยื่นออกเป็ นหน่อเล็ก ๆ นิวเคลียส<br />

ของเซลล์แม่มีการแบ่งออกเป็ นสองนิวเคลียส<br />

นิวเคลียสหนึ ่งเคลื่อนที่ไปบริเวณหน่อ<br />

เมื่อหน่อเจริญเต็มที่จะหลุดออกจากเซลล์แม่<br />

บางครั ้งหน่อไม่หลุดและมีการแบ่งเซลล์ไปเรื่อย ๆ จนเกิดการเรียงต่อกันเป็ น<br />

สายยาวคล้ายไมซีเลียม เรียกว่า ซูโดไมซีเลียม (pseudomycelium)<br />

พบในยีสต์บางชนิด เช่น แคนดิดา อัลบิแคนส์


หน่อ<br />

ก<br />

นิวเคลียส<br />

รอยแผล<br />

ข<br />

ซูโดไฮฟา<br />


การแบ่งตัว<br />

(fission)<br />

เป็ นการสืบพันธุ์โดยการคอดเว้าของผนังกั ้น<br />

บริเวณกลางเซลล์ เพื่อแบ่งออกเป็ นสองเซลล์<br />

พบในยีสต์บางชนิด<br />

การสร้างสปอร์<br />

(sporulation)<br />

เป็ นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่พบมากที่สุด<br />

ของ<strong>ฟังไจ</strong><br />

เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส และไม่มี<br />

การรวมกันของนิวเคลียสของเซลล์<br />

มีวิธีการสร้าง และเรียกชื่อแตกต่างกัน


โคนิดิโอสปอร์หรือโคนิเดีย (conidiospore หรือ conidia)<br />

เป็ นสปอร์ที่เกิดที่ปลายของเส้นใย<br />

มีทั ้งขนาดเล็ก เรียกว่าไมโครโคนิเดีย<br />

(microconidia) ซึ ่งมีรูปร่างแตกต่างกันไป เช่น<br />

กลม รูปไข่ รี และรูปท่อน เป็ นต้น มีหลายสี<br />

เช่น ด า น ้าตาล ส้ม แดง เหลือง และไม่มีสี<br />

พบใน<strong>ฟังไจ</strong>ทั่วไป ยกเว้นในกลุ่มของไซโกไม<br />

ซีทีส (Zygomycetes) และโคนิเดียขนาดใหญ่<br />

(macroconidia)<br />

พบในพวกที่ท าให้เกิดโรคผิวหนัง<br />

(dermatophyte)


สปอแรงจิโอสปอร์ (sporangiospore)<br />

เป็ นสปอร์ที่เกิดภายในถุงหรืออับสปอร์<br />

(sporangium)<br />

เกิดจากปลายเส้นใยที่พองออก แล้วสร้าง<br />

ผนังกั ้นภายใน<br />

มีทั ้งแบบที่เคลื่อนโดยอาศัยแฟลเจลลา<br />

เรียกว่าซูโอสปอร์ (zoospore) และแบบ<br />

เคลื่อนที่ไม่ได้ เรียกว่าอะพลาโนสปอร์<br />

(aplanospore)<br />

พบในกลุ่มของไซโกไมซีทีส เช่น ไรโซปัส<br />

(Rhizopus) และมูคอร์ (Mucor) เป็ นต้น


แคลมิโดสปอร์ (chlamydospore)<br />

เป็ นสปอร์ที่เกิดจากเซลล์ของเส้นใยสร้างผนังขึ ้นมาห่อหุ้ม<br />

ช่วยให้สามารถมีชีวิตอยู ่ในสภาพที่ไม่เหมาะสมได้เป็ นเวลานาน


อาร์โธรสปอร์หรือออยเดีย (arthrospore หรือ oidia)<br />

เป็ นสปอร์เซลล์เดียวที่เกิดจากการที่เส้นใยหลุดออกมากลายเป็ นสปอร์<br />

บลาสโทสปอร์ (blastospore)<br />

เป็ นสปอร์ที่เกิดจากการแตกหน่อของสปอร์เดิม<br />

blastospore<br />

arthrospore


การสืบพันธุ ์แบบอาศัยเพศ<br />

พลาสโมแกมี (plasmogamy)<br />

การที่ไซโทพลาสซึมของเซลล์สองเซลล์เกิดการรวมกัน กลายเป็ นเซลล์ที่มีสอง<br />

นิวเคลียส เรียกเซลล์ในระยะนี ้ว่าไดแคริออน (dikaryon)<br />

ทั ้งสองนิวเคลียสมีโครโมโซมเป็ นแฮปพลอยด์ (haploid)


แคริโอแกมี (karyogamy)<br />

นิวเคลียสทั ้งสองเกิดการรวมกัน ได้นิวเคลียสที่มีโครโมโซมเป็ นดิพลอยด์<br />

(diploid)<br />

สุดท้ายจะเกิดไมโอซิส (meiosis) เพื่อลดจ านวนโครโมโซมที่เป็ นดิพลอยด์ ให้<br />

เหลือเป็ นแฮปพลอยด์อีกครั ้ง


่<br />

ระยะไดแคริโอทิก (dikaryotic stage)<br />

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ<strong>ฟังไจ</strong><br />

แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ<br />

เป็ นระยะที่ไซโทพลาซึมของทั ้งสองเซลล์มารวมกัน มองเห็นนิวเคลียส 2 อัน อยู<br />

รวมกันด้วย<br />

นิวเคลียสทั ้งสองนี ้มีโครโมโซมแบบแฮพลอยด์ (haploid) เรียกเซลล์ในระยะนี ้ว่า<br />

ไดแคริออน


ระยะดิพลอยด์ (diploid stage)<br />

เป็ นระยะที่นิวเคลียสทั ้งสองเกิดการรวมกัน ท าให้นิวเคลียสมี<br />

โครโมโซมแบบดิพลอยด์ (2n)<br />

ใน<strong>ฟังไจ</strong>ชั ้นต ่าระยะนี ้จะเกิดทันทีหลังจากมีการรวมกันของไซโทพลาซึม<br />

ขณะที่<strong>ฟังไจ</strong>ชั ้นสูงจะเกิดขึ ้นอย่างช้า ๆ<br />

ระยะแฮพลอยด์ (haploid stage)<br />

เป็ นระยะที่นิวเคลียสซึ ่งมีโครโมโซมแบบดิพลอยด์เกิดการแบ่งตัวแบบ<br />

meiosis<br />

เกิดเป็ นสปอร์ที่มีโครโมโซมแบบแฮพลอยด์


การหลอมรวม<br />

นิวเคลียส<br />

การหลอมรวม<br />

ไซโทพลาสซึม<br />

ระยะไดคาริโอทิก<br />

(n+n)<br />

ระยะดิพลอยด์<br />

(2n)<br />

ระยะแฮพลอยด์<br />

(n)<br />

ไมโอซิส


สปอร์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศนี ้จะมีจ านวนน้อยกว่าสปอร์ที่ได้จาก<br />

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ แต่มีหลายชนิด<br />

แอสโคสปอร์ (ascospore) เป็ นสปอร์ที่เกิดขึ ้นภายในถุงแอสคัส<br />

(ascus) โดยภายในถุงแอสคัสจะประกอบด้วย 8 แอสโคสปอร์<br />

ลักษณะสปอร์แบบนี ้พบในคลาสแอสโคไมซีตีส (Ascomycetes)


โอโอสปอร์ (oospore) เป็ นสปอร์ที่เกิดภายในโอโอโกเนียม<br />

(oogonium) เกิดจากการรวมนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่<br />

สร้างจากแอนเทอริเดียม (antheridium) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย<br />

พบในคลาสโอโอไมซีทีส (Oomycetes)


เบสิดิโอสปอร์ (basidiospore) เป็ นสปอร์ที่เกิดที่ส่วนปลายของเบสิเดียม<br />

(basidium) โดยมีการสร้างสเตอริกมา (sterigma) ขึ ้น และนิวเคสียสที่<br />

เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสแทรกตัวเข้าไปอยู ่ภายใน มักมี 4<br />

เบสิดิโอสปอร์ต่อหนึ ่งก้านสเตอริกมา พบในคลาสเบสิดิโอไมซีทิส<br />

(Basidiomycetes)<br />

เบสิดิโอสปอร์


ไซโกสปอร์ (zygospore) เป็ นสปอร์ขนาดใหญ่ที่เกิดจากการรวมตัวของ<br />

นิวเคลียสจากเส้นใย 2 สายที่มาพบกัน แล้วสร้างผนังหนาขึ ้นมา<br />

ห่อหุ้ม เพื่อให้ทนต่อสภาวะแวดล้อม พบในไรโซปัส และมูคอร์


การด ารงชีวิต<br />

<strong>ฟังไจ</strong>ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จึงจะต้องได้อาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น และ<br />

อินทรีย์วัตถุต่าง ๆ ดังนั ้นการด ารงชีวิตของ<strong>ฟังไจ</strong>จึงอยู ่ในรูปของปรสิต หรือ<br />

แซโพรไฟต์ (saprophyte)


การด ารงชีวิตในรูปแบบของปรสิต<br />

เจริญบนเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอื่น โดยอาจเป็ นพืชหรือสัตว์<br />

สามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม<br />

กลุ่มที่เจริญได้เฉพาะเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตเท่านั ้น<br />

กลุ่มที่ตามปกติจะเจริญบนเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต<br />

แต่สามารถปรับตัวให้เจริญบนซากสิ่งมีชีวิต<br />

หรืออาหารเลี ้ยงเชื ้อในห้องปฏิบัติการได้


การจัดจ าแนกหมวดหมู ่ของ<strong>ฟังไจ</strong><br />

ลักษณะของสปอร์แบบมีเพศ และการ<br />

สร้างฟรุติงบอดี (fruiting body) ใน<br />

วงจรชีวิตแบบอาศัยเพศ เป็ นส าคัญ<br />

ในกรณีที่ไม่ทราบวงจรชีวิตที่สมบูรณ์<br />

หรือมีการสร้างสปอร์และฟรุตทิบอดี<br />

เฉพาะในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม<br />

เท่านั ้น การจัดจ าแนกก็จะใช้ลักษณะ<br />

ทางสัณฐานวิทยาของสปอร์แบบไม่<br />

อาศัยเพศ โครงสร้าง การเจริญเติบโต<br />

และการด ารงชีวิตเข้ามาประกอบ


ค าถามท้ายบท<br />

• จงยกตัวอย่างออร์แกเนลล์ของ<strong>ฟังไจ</strong>ที่ไม่พบในแบคทีเรียมา 3 ชนิด<br />

• เส้นใยของเชื ้อรามีกี่แบบ อธิบาย<br />

• การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ<strong>ฟังไจ</strong>มีกี่แบบ อธิบาย<br />

• จงยกตัวอย่างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศของ<strong>ฟังไจ</strong>มา 3 ชนิด พร้อมอธิบาย<br />

• จงยกตัวอย่างสปอร์แบบอาศัยเพศของ<strong>ฟังไจ</strong>มา 3 ชนิด พร้อมอธิบาย<br />

• การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ<strong>ฟังไจ</strong> มีกี่ระยะ อธิบาย<br />

• จงอธิบายหลักเกณฑ์ในการจัดจ าแนกหมวดหมู ่ของ<strong>ฟังไจ</strong>มาพอเข้าใจ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!