06.09.2015 Views

พอล แอรดิช Paul Erdos

พอล แอร์ดิช

พอล แอร์ดิช

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>พอล</strong> <strong>แอรดิช</strong><br />

<strong>Paul</strong> <strong>Erdos</strong><br />

ค.ศ.1913<br />

– 1996<br />

นักคณิตศาสตรชาว ฮังการี<br />

รวบรวมโดย วราภรณ สุขสุชะโน<br />

<strong>พอล</strong> <strong>แอรดิช</strong> เปนนักคณิตศาสตรผูโดดเดน ผลงานตีพิมพของเขามีจํานวนมหาศาล<br />

เกี่ยวกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร เชน คณิตศาสตรเชิงการจัด(combinatorics) ทฤษฎีกราฟ<br />

(graph theory) ทฤษฎีจํานวน(number theory) การวิเคราะหแบบคลาสสิก(classical analysis)<br />

ทฤษฎีการประมาณ (approximation theory) ทฤษฎีเซต(set theory๗ และ ทฤษฎีความนาจะ<br />

เปน(probability theory)<br />

เมื่อ <strong>พอล</strong> <strong>แอรดิช</strong> ถึงแกกรรม หนังสือพิมพ The New York Times ฉบับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.<br />

2539 ลงขาวหนาหนึ่งวา วันนี้เปนวันที่เราไดสูญเสียนักคณิตศาสตรผูยิ่งใหญที่สุดคนหนึ่งของโลกไป<br />

วงการคณิตศาสตรรูดีวา <strong>แอรดิช</strong>เปนอัจฉริยะที่มีบุคลิกแปลกไมเหมือนใคร<br />

และไมมีใครจะมีวันเหมือน<br />

ตลอดชีวิตของเขา เขาไมเคยมีที่พักเปนหลักแหลง เขาชอบดื่มกาแฟรสจัดขณะทํางาน และติดยาอี แตใน<br />

ขณะเดียวกันเขาก็เปนนักคณิตศาสตรที่มีผลงานมากถึง 1,500 เรื่อง ซึ่งนับวามากกวานักคณิตศาสตรคนใด<br />

ในศตวรรษนี้<br />

แผนที่เมืองหลวงบูดาเปสต ของประเทศฮังการี อาคารรัฐสภาฮังการี


<strong>แอรดิช</strong> เกิดที่เมืองบูดาเปสต (Budapest) ประเทศฮังการี(Hungary) เมื่อป พ.ศ. 2456 ความเปน<br />

อัจฉริยะของเขาไดเริ่มฉายแสงตั้งแตสมัยที่เขาอายุยังนอย มารดาเขาเลาวา <strong>แอรดิช</strong> รูจักเลขลบ (negative<br />

number) เชน -3, -5, -12,… ตั้งแตมีอายุได 4 ขวบ เมื่ออยูชั้นประถมเขาสามารถคิดกําลังสองของเลขสี่หลัก<br />

ตัวอยาง ""ความงาม<br />

ความงามของ<br />

ของวิธี<br />

วิธีการ<br />

การพิสูจนทฤษฎี<br />

พิสูจนทฤษฎีปทา<br />

ปทากออรัส<br />

สําหรับสามเหลี่ยมมุมฉากวา เปนจริง ที่มีทั้งความเรียบงาย<br />

และสงางาม””<br />

ไดในใจ เมื่อยูชั้นมัธยมเขาสามารถแสดงวิธีพิสูจนสมการของ Pythagorus ที่วาดวยความสัมพันธระหวาง<br />

ดานของสามเหลี่ยมมุมฉาก คือ a 2 = b 2 + c 2 (เมื่อ a เปนดานตรงขามมุมฉาก และ b กับ c เปนดานที่<br />

ประกอบมุมฉากของสามเหลี่ยม) ไดถึง 37 วิธี และเมื่อ <strong>แอรดิช</strong> เขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยขณะมีอายุ 17<br />

ป เขาไดทําใหวงการคณิตศาสตรของโลกตองตะลึง เมื่อเขาสามารถพิสูจนทฤษฎีหนึ่ง ของ Chebyshev ได<br />

ซึ่งทฤษฎีดังกลาวนี้แถลงวา ถาเรามีเลขจํานวนเต็มสองจํานวนและจํานวนหนึ่งมีคาเปนสองเทาของอีก<br />

จํานวนหนึ่งแลว เราก็จะพบวา ในระหวางเลขสองจํานวนนั้นจะมี เลขเฉพาะ (prime number) อยางนอยก็<br />

หนึ่งจํานวนเสมอ (เลขเฉพาะ คือ เลขที่หารดวย 1 และตัวมันเองเทานั้นไดลงตัว ดังนั้น ตามคําจํากัดความนี้<br />

เลข 3, 5, 11, 13,… เปนเลขเฉพาะแต 8, 20, 32,… ไมเปนเลขเฉพาะ) เพื่อใหเห็นความจริงของทฤษฎีบทนี้<br />

สมมติวาเรามีเลข 7 อยูหนึ่งจํานวน สองเทาของ 7 คือ 14 ดังนั้น ทฤษฎี Chebyshev จึงแถลงวาระหวางเลข<br />

7 กับ 14 นั้น จะมีเลขเฉพาะอยางนอย 1 ตัว ซึ่งในที่นี้ก็คือ เลข 11 และ 13 เชนนี้เปนตน <strong>แอรดิช</strong> จึงเปนนัก<br />

คณิตศาสตรคนแรกที่พบวิธีพิสูจนทฤษฎีบทนี้และไดแสดงวิธีพิสูจนไวอยางสวยงามและกระชับยิ่ง<br />

แตถึงแม <strong>แอรดิช</strong> จะมีวิธีพิสูจนทฤษฎีตางๆ ทางคณิตศาสตรไดอยางสวยสดงดงามสักปานใด วิถีชีวิต<br />

ของ <strong>แอรดิช</strong> ก็หาไดงดงามไม นับตั้งแตวันแรกที่ไดอพยพออกจากประเทศฮังการี เขาไดยายที่ทํางานจาก<br />

มหาวิทยาลัยในประเทศหนึ่ง ไปตางมหาวิทยาลัยในอีกประเทศหนึ่งอยูเปนประจํา โดยมีกระเปาติดตัว<br />

เพียงสองใบเทานั้นเอง และถึงแมสมบัติในกระเปาจะไมมีคา แตสมองในกะโหลกศีรษะของเขามีคาควร<br />

เมืองยิ่ง<br />

<strong>แอรดิช</strong> ชอบใชคําวา "จากไป" แทนคําวา "ตาย" เพราะมีความเห็นวา นักคณิตศาสตรตายเมื่อใดก็<br />

ตามที่เขาหยุดคนควาคณิตศาสตร และความจริงก็มีวา <strong>แอรดิช</strong> "ตาย" กอนที่จะ "จากไป" เพียง 1 ชั่วโมง


เพราะเขาคนควาคิดคณิตศาสตรจนถึงชั่วโมงสุดทายของชีวิต เพราะเขามีปณิธานที่จะแสดงใหโลกรูวา ถึง<br />

จะมีอายุ 83 แลวก็ยังแจว และอายุมิไดเปนขอจํากัดในการทํางานคณิตศาสตรแตอยางใด ตลอดระยะเวลา<br />

25 ปสุดทายของชีวิต <strong>แอรดิช</strong> มักจะพูดเสมอวา คนเราจะเริ่มมีอาการความจําเสื่อม เมื่อ หนึ่ง ลืมทฤษฎี<br />

คณิตศาสตร สอง เมื่อ ลืมรูดซิปกางเกงลง และสาม เมื่อ ลืมรูดซิปกางเกงขึ้น ดังนั้น ตามความเห็นนี้<strong>แอรดิช</strong><br />

ไมมีอาการความจําเสื่อมแตอยางใด เพราะเขาไมเคยลืมทฤษฎีคณิตศาสตรตางๆ ที่ตนพบ เขาใชยาอีกระตุน<br />

ใหตนเองทํางานหนักถึง 19 ชั่วโมงตอวัน และ 7 วันใน 1 สัปดาห เขาทํางานหนักมากและไมคอยพักผอน<br />

เพราะ <strong>แอรดิช</strong> มีความคิดวาเมื่อตายไป ทุกคนจะมีเวลาพักผอนอยางเต็มที่ตามที่ตนตองการ <strong>แอรดิช</strong><br />

เดินทางติดตอขามทวีปไปทํางานรวมกับนักคณิตศาสตรตางๆ ทั่วโลกตลอดเวลา เขาไมเคยแตงงาน เพราะ<br />

ไมมีจิตใจจะหลงรักสตรีใดๆ และมีความประสงคลึกๆ วาจะตองตัดขาดจากความรูสึกดานนี้ <strong>แอรดิช</strong> จึง<br />

แตงกับงานจริงๆ แตถาเขาแตงงาน สตรีศรีภริยาของเขาก็จะมีปญหาสมรสแนนอน เพราะเขาขับรถไมเปน<br />

ซักผารีดผาก็ไมเปน วิธีหุงหาอาหารก็ไมเคยเรียน พูดสั้นๆ คือเขาดูแลตนเองแทบไมไดเลย และเธอตอง<br />

ดูแลเขาตลอดเวลา เมื่อเขา "ไรความสามารถ" เชนนี้นักคณิตศาสตรคนใดที่ตองการ <strong>แอรดิช</strong> มารวมงานก็<br />

ตองดูแลเขามาก และตองเสียเงินคาเดินทางให แตถึงแมจะรูสึกอึดอัดและเหนื่อยหนายกับเขามากสักปาน<br />

ใด นักคณิตศาสตรเหลานี้ก็ยอม (ชั่วคราว) เพราะแนวคิดและความรูที่ <strong>แอรดิช</strong> จะถายทอดใหนั้นมีคา<br />

มหาศาลยิ่ง<br />

<strong>แอรดิช</strong> มีความสามารถมากในการคิดโจทยและแกโจทย เขามีปณิธานแนวแนที่จะสราง<br />

นักคณิตศาสตรรุนเยาว เขาจะสนับสนุนและใหกําลังใจนิสิตและนักศึกษาที่กําลังศึกษาระดับปริญญาโท<br />

และเอกเนืองๆ<br />

เมื่อถึงบั้นปลายของชีวิต ตาขางหนึ่งของเขาบอดจึงตองมีการผาตัด ขณะที่หมอจะผาตัดหมอไดหรี่<br />

ไฟทําให<strong>แอรดิช</strong>อานหนังสือไมได เขาขอรองใหหมอโทรศัพทไปยังภาควิชาคณิตศาสตรจัดสง<br />

ศาสตราจารยทางคณิตศาสตรมาพูดคุยกับ<strong>แอรดิช</strong> ขณะรับการผาตัดตาเพื่อเขาจะไดใชเวลาใหเปน<br />

ประโยชน<br />

<strong>แอรดิช</strong> เคยรวมงานกับนักคณิตศาสตรทั่วโลกจํานวนมากถึง 4,500 คน เขามีผลงานทางดาน<br />

คณิตศาสตรเชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจํานวน การวิเคราะหแบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ<br />

ทฤษฎีเซต และเรขาคณิต<br />

เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2540 <strong>Paul</strong> Hoffman ไดเรียบเรียงชีวประวัติของ <strong>แอรดิช</strong> ลงในหนังสือชื่อ<br />

The man Who loved Only Numbers : The Story of <strong>Paul</strong> <strong>Erdos</strong> and the Search for Mathematical<br />

Truth หนังสือเลมนี้หนา 302 หนา และมีราคา $23 อันที่จริงแลวชื่อหนังสือเลมนี้ไมสมบูรณนัก เพราะ<br />

นอกจากคณิตศาสตรแลว <strong>แอรดิช</strong> ยังรักเด็กและแมของเขามาก เมื่อเขา "จากไป" เถากระดูกของเขาถูก<br />

นําไปฝงใกลเถาของแมเขาในประเทศฮังการี<br />

และเมื่อเขา "จากไป" ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2539 อายุ 83 ป ที่กรุงวอรซอ (Warsaw)ประเทศ<br />

โปรแลนด (Poland) สมาคมคณิตศาสตรของอเมริกัน (The American Mathematical Society and the


Mathematics Association of America) ไดจัดงานประชุมไวอาลัย <strong>แอรดิช</strong> ที่ประชุมไดกลาวถึงผลงานของ<br />

เขา และเลาเกร็ดชีวิตดานความเฉลียวฉลาดวองไวของ <strong>แอรดิช</strong> วาในประวัติของการเลนเบสบอล Babe<br />

Ruth ไดเคยสรางสถิติที่ home run = 714 ครั้ง และเมื่อ Hank Aaron ทําลายสถิติ = 715 ครั้ง <strong>แอรดิช</strong> ได<br />

กลาววา<br />

714 = 2 3<br />

7 17<br />

ซึ่ง 2 + 3 + 7 + 17 = 29<br />

และ 715 = 5 1113<br />

ซึ่ง 5 + 11 + 13 = 29<br />

แลว <strong>แอรดิช</strong> ก็ไดแสดงวิธีพิสูจนวา หากเรามีเลข 2 จํานวนเรียงกัน (714, 715) ที่สามารถแยกตัวประกอบ<br />

(factor) ไดและตัวประกอบเหลานี้เปนเลขเฉพาะ ผลบวกของตัวประกอบจะเทากันเสมอ ปจจุบันนัก<br />

คณิตศาสตรรูจักเลขชุดนี้วา Ruth-Aaron number<br />

แผนที่กรุงวอรซอ ประเทศโปรแลนด สถานที่สวยงามในกรุงวอรซอ<br />

ป ค.ศ. 1951<br />

<strong>แอรดิช</strong>ไดรับเกียรติรรับรางวัลที่มีชื่อเสียงWolf Prize 1 ป ค.ศ. 1983/84 และ AMS Cole Prize 2<br />

ประวัติศาสตรของนักคณิตศาสตรนั้น มักจะไมคอยไดรับการกลาวถึงไมเหมือนกับประวัติศาสตร<br />

ของดาราภาพยนตรหรือนักการเมือง แตหนังสือเลมนี้ไดบอกคนอานวา นักคณิตศาสตรที่ยิ่งใหญนั้น เขาใช<br />

ชีวิตอยางไร และถึงแมสังคมจะไมสนใจเขาเลย เขาก็มีความสุขมากจากการแกปญหาคณิตศาสตรแลวครับ<br />

_______________________________________<br />

1 รางวัลที่ไดรับของประเทศอิสราเอลโดยมูลนิธิ Wolf ที่กอตั้งป ค.ศ. 1978 โดย ดร. Ricardo Wolf นักประดิษฐ<br />

เยอรมันที่เกิดในคิวบาและอดีตเคยเปนทูตที่ประเทศอิสราเอล เพื่อสงเสริม สนับสนุนและคัดเลือกบุคคลที่มี<br />

ความสามารถเสนอผลงานวิจัยและผลงาน 6 สาขา ไดแก การเกษตร เคมี คณิตศาสตร การแพทย ฟสิกส และ<br />

รางวัลศิลปะดานสถาปตยกรรม ดนตรี ภาพวาด การศึกษาการทําอาหารและงานประติมากรรม


2 รางวัลโคล (Cole Prize) หรือมีชื่อเต็มวา รางวัลแฟรงคโคลเนลสัน (The Frank Nelson Cole Prize) ของมูลนิธิ<br />

คณิตศาสตรอเมริกัน(American Mathematical Society) มอบใหแกผูที่เผยแพรการทํางาน ผลงานและผลงานวิจัย<br />

ที่โดดเดนในวารสารชั้นนําของอเมริกา (leading American journals)<br />

ที่มา : 1. ศาสตราจารย ดร. สุทัศน ยกสาน (ภาคีสมาชิก ราชบัญฑิตยสถาน) , สสวท.<br />

2.http://en.wikipedia.org/wiki/<strong>Paul</strong>_Erd%C5%91s<br />

3.http://en.wikipedia.org/wiki/Mathematical_beauty<br />

4.http://en.wikipedia.org/wiki/Wolf_Prize<br />

5.http://en.wikipedia.org/wiki/Cole_Prize<br />

Modified: 06 November 2011

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!