06.09.2015 Views

การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่ 5<br />

<strong>การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์</strong>


การเพาะเลี ้ยงจุลินทรีย์<br />

ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญของจุลินทรีย์ที่ต้องการเลี ้ยง<br />

แหล่งคาร์บอน<br />

แหล่งพลังงาน<br />

ในรูปของสารอาหารที่จุลินทรีย์ใช้ในการเจริญได้<br />

สภาพทางกายภาพเหมาะสม : pH, temp. and O 2


การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ = การเพิ่มจ านวนของจุลินทรีย์<br />

*ไม่ใช่การเพิ่มขนาดเพียงอย่างเดียวเหมือนสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ<br />

growth


สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์<br />

อุณหภูมิ<br />

ออกซิเจน<br />

พีเอช<br />

แรงดันออสโมติก


อุณหภูมิ<br />

• ส าคัญต่อการเจริญของจุลินทรีย์อย่างยิ่ง<br />

• จุลินทรีย์แต่ละชนิดจะมีช่วงของอุณหภูมิในการเจริญแตกต่างกัน<br />

minimum temperature<br />

- อุณหภูมิต ่าสุดที่<br />

จุลินทรีย์เจริญได้<br />

- แต่มีการแบ่งเซลล์น้อย<br />

มาก<br />

optimum temperature<br />

- อุณหภูมิเหมาะสม<br />

ส าหรับการเจริญ<br />

- มีการแบ่งเซลล์ได้อย่าง<br />

รวดเร็วที่สุด<br />

maximum temperature<br />

- อุณหภูมิสูงสุดที่จุลินทรีย์<br />

เจริญได้<br />

- อุณหภูมิสูงกว่านี้จะไม่<br />

เจริญเติบโต<br />

ช่วงของอุณหภูมิทั ้งสาม เรียกว่า cardinal temperature


ช่วงอุณหภูมิที่จุลินทรีย์แต่ละชนิดสามารถเจริญได้<br />

จุลินทรีย์<br />

Bacillus psychrophilus<br />

Micrococcus cryophilus<br />

Staphylococcus aureus<br />

Enterococcus faecalis<br />

Escherichia coli<br />

Neisseria gonorrhoeae<br />

Thermoplasma acidophilum<br />

Thermus aquaticus<br />

Pyrococcus abyssi<br />

Pyrolobus fumarii<br />

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)<br />

ต ่าสุด เหมาะสม สูงสุด<br />

-10<br />

-4<br />

6.5<br />

0<br />

10<br />

30<br />

45<br />

40<br />

67<br />

90<br />

23-24<br />

10<br />

30-37<br />

37<br />

37<br />

35-36<br />

59<br />

70-72<br />

96<br />

106<br />

28-30<br />

24<br />

46<br />

44<br />

45<br />

38<br />

62<br />

79<br />

102<br />

113<br />

ที่มา (ดัดแปลงจาก Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 123)


ถ้าหากจ าแนกจุลินทรีย์ตามอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญ<br />

จะสามารถจ าแนกได้เป็ น 3 กลุ่ม<br />

psychrophile<br />

mesophile<br />

thermopile<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิ 0 C หรือต ่ากว่า<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิปานกลาง ~ 25-40 C<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิสูงระหว่าง 45-60 C


psychrophile จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิ 0 C หรือต ่ากว่า<br />

อุณหภูมิต ่าสุดในการเจริญ 0 C<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญ 15-20 C<br />

อุณหภูมิสูงสุดในการเจริญ 30 C<br />

Pseudomonas<br />

Achromobacter<br />

Flavobacterium<br />

Micrococcus


mesophile จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิปานกลาง ~ 25-40 C<br />

อุณหภูมิต ่าสุดในการเจริญ 5-25 C<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญ 37 C<br />

อุณหภูมิสูงสุดในการเจริญ 43 C<br />

จุลินทรีย์ที่ท าให้เกิดโรคในมนุษย์<br />

Neisseria gonorrhoea<br />

Treponema pallidum<br />

Salmonella typhosa<br />

Shigella dysenteriae<br />

จุลินทรีย์ที่มีถิ่นอาศัยอยู ่ในร่างกายมนุษย์<br />

E. coli<br />

Enterobacter aerogenes


thermopile จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิสูงระหว่าง 45-60 C<br />

อุณหภูมิต ่าสุดในการเจริญ<br />

25-45 C<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญ 50-55 C<br />

อุณหภูมิสูงสุดในการเจริญ 60-85 C<br />

Bacillus coagulans<br />

Bacillus stearothermophilus<br />

Lactobacillus delbruckii


ออกซิเจน<br />

มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์<br />

จ าแนกจุลินทรีย์ออกเป็ น 4 กลุ่ม ตามความต้องการออกซิเจนได้


obligate aerobes<br />

จุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนเพื่อใช้สร้างพลังงาน<br />

เนื่องจากไม่สามารถสร้างพลังงานโดยกระบวนการหมัก<br />

Bacillus and Pseudomonas<br />

facultative anaerobe<br />

สามารถสร้างพลังงานได้จากกระบวนการหายใจหรือกระบวนการหมัก<br />

ไม่จ าเป็ นต้องใช้ออกซิเจนในการสังเคราะห์ต่าง ๆ<br />

Escherichia, Proteus and Enterobacter


microaerophile<br />

ต้องการออกซิเจนน้อยกว่า 0.2 บรรยากาศ<br />

ถ้ามีออกซิเจนในปริมาณมากจะเจริญได้อย่างช้า ๆ<br />

Lactobacillus and Nessserria<br />

anaerobe<br />

เป็ นพิษกับเซลล์<br />

ไม่สามารถเจริญได้ในสภาวะที่มีออกซิเจน<br />

เนื่องจากขาด catalase ในการสลาย H 2 O 2 ที่เกิดจากO 2 +H 2 O<br />

Clostridium, Methanobacterium and Bacteroides


OBLIGATE<br />

AEROBE<br />

OBLIGATE<br />

ANAEROBE<br />

FACULTATIVE<br />

ANAEROBE<br />

AEROTOLERANT<br />

ANAEROBE


การเจริญในอาหารเหลวของจุลินทรีย์<br />

สามารถสังเกตปริมาณการเจริญเติบโตว่าอยู ่ในระดับมาก ปานกลาง หรือน้อย<br />

สังเกตการเจริญและกระจายตัวในอาหารเหลวว่าสม ่าเสมอหรือเฉพาะบางต าแหน่ง<br />

การเจริญของจุลินทรีย์ในอาหารเหลวนี ้ บอกความต้องการออกซิเจนในการเจริญ<br />

เจริญที่ผิวหน้าของอาหารเลี ้ยงเชื ้อ : ต้องการออกซิเจนในการเจริญ<br />

เจริญมากที่บริเวณก้นหลอดทดลอง :ไม่ต้องการออกซิเจนในการเจริญ<br />

เจริญกระจายตัวทั่วทั ้งหลอดทดลอง :เจริญได้ทั้งในที่มีและไม่มีออกซิเจน


pH<br />

ส่วนใหญ่ต้องการค่าพีเอชที่เหมาะสมในการเจริญอยู ่ในช่วง 6.5-7.5<br />

แต่อาจมีจุลินทรีย์บางชนิดที่สามารถเจริญได้ที่ช่วงพีเอชอื่น เช่น<br />

Thiobacillus thiooxidans เจริญได้ที่พีเอช 2<br />

Alcaligenes faecalis เจริญได้ที่พีเอช 8.5<br />

เมื่อเลี ้ยงจุลินทรีย์ในอาหารเลี ้ยงเชื ้อได้ระยะหนึ ่ง pH ของอาหารจะเปลี่ยนแปลง<br />

จุลินทรีย์ที่เจริญปล่อยสารบางอย่างออกมา<br />

การย่อยสลายโปรตีนและสารประกอบไนโตรเจน จะปล่อยแอมโมเนีย/อัลคาไลน์อื่นๆออกมา<br />

การย่อยสลายคาร์โบไฮเดรตจะปล่อยสารอินทรีย์ออกมา


ในการเตรียมอาหารเลี ้ยงเชื ้อจึงต้องเติมสารที่ท าหน้าที่เป็ นบัฟเฟอร์<br />

เพื่อช่วยให้พีเอชของอาหารเลี ้ยงเชื ้อเปลี่ยนไปอย่างช้า ๆ<br />

การจัดแบ่งจุลินทรีย์โดยอาศัยคุณสมบัติในการเจริญที่พีเอชต่าง ๆ กัน<br />

แบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่ม<br />

alkaliphilic microorganism<br />

เจริญได้ในอาหาร<br />

เลี ้ยงเชื ้อที่เป็ นเบส :<br />

Vibrio cholerae<br />

acidophilic microorganism<br />

เจริญได้ในอาหาร<br />

เลี ้ยงเชื ้อที่เป็ นกรด :<br />

Lactobacillus<br />

Streptococcus


osmotic pressure<br />

มีผลต่อจุลินทรีย์แตกต่างกันไป<br />

ขึ้นอยู ่กับความเข้มข้นของสารละลายและชนิดของจุลินทรีย์


แรงดันออสโมซิสของเซลล์<br />

จุลินทรีย์>สารละลายภายนอก<br />

ท าให้น ้าไหลเข้าสู ่เซลล์เกิด<br />

การรเต่งบวมของเซลล์<br />

“plasmoptysis”<br />

อาจท าให้เซลล์แตกได้<br />

หากผนังเซลล์จุลินทรีย์ไม่แข็งแรงพอ<br />

จุลินทรีย์ใส่ในสารละลายของน ้าเกลือเข้มข้น 0.01 เปอร์เซ็นต์<br />

นาน 5-20 นาที<br />

น ้าจากภายนอกเซลล์จะไหลออกสู ่ภายในเซลล์<br />

ท าให้เซลล์เต่งบวม


ถ้าสารละลายภายนอกเซลล์มีแรงดัน<br />

ออสโมติกสูงกว่าภายในเซลล์<br />

น ้าจากภายในเซลล์จะไหลออกสู ่j<br />

ภายนอก ท าให้เซลล์เกิดการเหี่ยว<br />

“plasmolysis”<br />

น าจุลินทรีย์ใส่ในสารละลายของซูโครสเข้มข้น 12 เปอร์เซ็นต์<br />

นาน 5-20 นาที<br />

น ้าจากภายในเซลล์จะไหลออกสู ่ภายนอกเซลล์<br />

เซลล์เหี่ยว


http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Diffusion_Osmosis/Plasmolysis_and_recovery.html


การเลี ้ยงจุลินทรีย์ในที่มีแรงดันออสโมติกสูง<br />

จะท าให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือสมบัติทางสรีรวิทยาของเซลล์<br />

เช่น อาจมีรูปร่างที่ยาวกว่าปกติ หรือรูปร่างไม่แน่นอน


การจ าแนกจุลินทรีย์ตามความสามารถในการปรับตัวให้ทนต่อแรงดันออสโมติกสูง ๆ<br />

osmophile<br />

osmoduric bacteria halophile<br />

จุลินทรีย์ที่ปรับตัวให้เหมาะกับสภาพที่แรงดันออกโมติกสูง ๆ<br />

พร้อมทั ้งมีการเจริญและเพิ่มจ านวนด้วย<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถทนต่อแรงดันออสโมติกสูง ๆ ได้<br />

แต่ไม่เพิ่มจ านวน<br />

จุลินทรีย์ที่อาศัยอยู ่ในน ้าทะเล (ความเค็มประมาณ 3.5-<br />

4%)<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถเจริญได้ในทะเลที่มีความเค็มถึง 29%


อัตราการเจริญของจุลินทรีย์<br />

น าจุลินทรีย์มาเพาะเลี ้ยงในอาหารเลี ้ยงเชื ้อที่เหมาะสม<br />

บ่มไว้ในสภาพที่เหมาะสมต่อการเจริญ<br />

จุลินทรีย์จะเจริญเพิ่มจ านวนขึ ้นอย่างรวดเร็ว


จุลินทรีย์สร้างเอนไซม์ออกมาย่อยสารอาหารและน าเข้าสู ่เซลล์<br />

ใช้ในการสร้างพลังงานและส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์รวมถึงสารพันธุกรรมด้วย<br />

เซลล์ยืดยาว<br />

สร้างเยื่อหุ้มเซลล์และผนังเซลล์มาแบ่งเซลล์ออกเป็ นสองส่วนเท่า ๆ กัน<br />

“binary fission”


การเจริญของจุลินทรีย์ในลักษณะนี ้ถือเป็ นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

เป็ นการเพิ่มจ านวนแบบอนุกรมเรขาคณิต<br />

1 2 4 8 16 32 64...<br />

หรือ 1 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 ...<br />

ระยะเวลาที่ใช้ในการแบ่งเซลล์แต่ละครั ้ งเพื่อท าให้จ านวนเซลล์เพิ่มขึ ้นเป็ นสองเท่า<br />

“generation time”<br />

จุลินทรีย์แต่ละชนิดจะใช้เวลาในการเพิ่มจ านวนประชากรไม่เท่ากัน


การหาระยะเวลาที่จุลินทรีย์ใช้ในการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจ านวนเป็ นสอง<br />

นับจ านวนจุลินทรีย์ด้วยกล้องจุลทรรศน์<br />

ทราบจ านวนจุลินทรีย์<br />

ทิ้งระยะให้จุลินทรีย์มีการเจริญ<br />

เลี ้ยงในสภาวะใดสภาวะหนึ ่ง<br />

นับจ านวนจุลินทรีย์อีกครั ้ง


ข้อมูลที่ได้<br />

จ านวนจุลินทรีย์เริ่มต้น (B)<br />

จ านวนจุลินทรีย์สุดท้าย (b)<br />

เวลาที่ใช้ในการเพิ่มจ านวนของจุลินทรีย์ (t)<br />

หาความสัมพันธ์ในรูปของสมการ โดยให้<br />

G = เวลาที่ใช้ในการแบ่งเซลล์เป็ นสองเท่าในแต่ละครั ้ ง<br />

N = จ านวนครั ้งของการเพิ่มจ านวนเป็ นสองเท่า (generation)


ถ้าเริ่มต้นจุลินทรีย์ 1 เซลล์<br />

เมื่อผ่านการแบ่งเซลล์ 1 ครั ้ง จะได้จ านวนเซลล์เป็ น 2 เซลล์<br />

2 ครั ้ง เป็ น 4 เซลล์<br />

3 ครั ้ง เป็ น 8 เซลล์<br />

4 ครั ้ง เป็ น 16 เซลล์ ...<br />

* แต่ละครั้งจ านวนจุลินทรีย์จะเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่าเสมอ<br />

หาความสัมพันธ์ในรูปของสมการได้ คือ<br />

b = 1 x 2 n<br />

ถ้าจุลินทรีย์เริ่มต้น เท่ากับ B เซลล์ จะได้<br />

b = B x 2 n


log b = log B x n log 2<br />

n = (log b – log B) / log 2<br />

แทนค่า log 2 = 0.30103<br />

n = 3.3 log b/B<br />

G =<br />

ระยะเวลาที่ใช้ในการเพิ่มจ านวน<br />

จ านวนครั ้งของการเพิ่มจ านวนเป็ นสองเท่า<br />

G = t / 3.3 log b/B = t / n


ลักษณะการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์<br />

เมื่อน าจุลินทรีย์ใส่ในอาหารเลี ้ยงเชื ้อแล้วศึกษาการเพิ่มประชากรจุลินทรีย์ที่เวลาต่าง ๆ<br />

น าข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ระหว่าง<br />

จ านวนล็อก (log) ประชากรของจุลินทรีย์กับระยะเวลาที่ใช้ในการทวีจ านวน<br />

แบ่งการเจริญของจุลินทรีย์ได้เป็ น 4 ระยะ ดังนี ้<br />

Lag phase<br />

Logarithmic phase<br />

Stationary phase<br />

Death phase


Lag phase<br />

จุลินทรีย์ยังไม่มีการเพิ่มจ านวน<br />

อยู ่ระหว่างการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่<br />

เซลล์จะมีการปรับตัว : สังเคราะห์โพรโทพลาสซึมใหม่ เอนไซม์<br />

โคเอ็นไซม์ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ<br />

เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับส าหรับการแบ่งเซลล์<br />

ระยะนี ้เป็ นระยะที่เซลล์มีกิจกรรมทางสรีรวิทยาสูง<br />

ขนาดของเซลล์จะเพิ่มขึ ้น โดยเซลล์จะยาวขึ ้น<br />

โปรตีนและน ้าหนักแห้งของเซลล์จะเพิ่มขึ ้น


ระยะแลกเฟสจะยาวนานเพียงใดขึ้นกับ<br />

สภาพแวดล้อมในการเพาะเลี ้ยง<br />

ชนิดของจุลินทรีย์<br />

ระยะเวลาในการเก็บรักษาจุลินทรีย์<br />

ระยะแลกเฟสจะสั ้น<br />

<br />

หากน าจุลินทรีย์ไปเพาะเลี ้ยงใน<br />

อาหารชนิดเดิม<br />

ระยะแลกเฟสจะยาว<br />

หรือใส่จุลินทรีย์ที่พร้อมจะแบ่งตัวลงไปในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ<br />

หากจุลินทรีย์ที่น ามาเพาะเลี ้ยงมีความ<br />

ผิดปกติหรือ<br />

เชื ้อมีการเก็บรักษาไว้เป็ นเวลานาน<br />

ต้องใช้เวลาในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่


ช่วงปลายของระยะนี ้จุลินทรีย์จะเริ่มมีการแบ่งตัว<br />

แต่เนื่องจากการแบ่งตัวของจุลินทรีย์ไม่ได้เกิดขึ ้นพร้อมกัน<br />

จ านวนประชากรของจุลินทรีย์จึงเพิ่มขึ ้นอย่างช้า ๆ<br />

บางครั ้งถือว่าระยะแลกเฟสเป็ นระยะการปรับตัวของจุลินทรีย์<br />

ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ก่อนที่จะมีการเพิ่มจ านวนประชากร


Logarithmic phase<br />

บางครั ้งเรียก Exponential phase or Log phase<br />

ระยะที่จุลินทรีย์มีอัตราการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว<br />

ถือเป็ นระยะที่มีการแบ่งเซลล์สูงสุด<br />

สารอาหารถูกใช้อย่างรวดเร็ว<br />

เซลล์มีกระบวนการเมแทบอลิซึม<br />

ตลอดจนสรีรวิทยาไม่แตกต่างกัน<br />

จ านวนจุลินทรีย์<br />

เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว<br />

การแบ่งเซลล์แต่ละครั ้งจะใช้เวลาเท่า ๆ กัน<br />

ระยะเวลาการเพิ่มประชากรเป็ นสองเท่าจะเร็วหรือช้าขึ ้นอยู ่กับชนิดของจุลินทรีย์


Stationary phase<br />

ระยะที่จ านวนประชากรของจุลินทรีย์สูงที่สุด และคงที่<br />

จุลินทรีย์ยังคงมีการแบ่งเซลล์ แต่จ านวนประชากรไม่เพิ่มขึ ้น<br />

อัตราการแบ่งเซลล์<br />

=<br />

อัตราการตาย<br />

สภาวะแวดล้อมเปลี่ยนแปลง<br />

จากการสะสมสารพิษจาก<br />

เมแทบอลิซึมของจุลินทรีย์<br />

สารอาหารถูกใช้ไปอย่าง<br />

รวดเร็วใน log phase


ระยะนี ้จะคงอยู ่นานหรือไม่ขึ ้นกับ<br />

ความสามารถในการทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมของจุลินทรีย์<br />

ระยะสเทชันนารีเฟสสั ้น<br />

จุลินทรีย์ที่ทนต่อสภาพแวดล้อมที่<br />

ไม่เหมาะสมได้ไม่ดี<br />

ระยะสเทชันนารีเฟสยาว<br />

จุลินทรีย์ที่สามารถสร้างสปอร์<br />

หรือ cyst


Death phase<br />

หรือ Decline phase<br />

เป็ นระยะที่จุลินทรีย์มีอัตราการตายอย่างรวดเร็ว<br />

ท าให้จ านวนประชากรของจุลินทรีย์ลดลงอย่างรวดเร็ว<br />

ขาดสารอาหารส าหรับเซลล์<br />

การสะสมของสารพิษมากเกินกว่า<br />

จะมีชีวิตอยู ่ได้<br />

อาจใช้เวลานาน 2-3 วัน เป็ นสัปดาห์ หรือเป็ นเดือน<br />

ขึ ้นอยู ่กับจุลินทรีย์แต่ละชนิด


การวัดการเจริญของจุลินทรีย์<br />

การวัดการเจริญของจุลินทรีย์สามารถท าได้หลายวิธีด้วยกัน<br />

การนับจ านวนเซลล์<br />

การนับมวลของเซลล์ในรูปของน ้าหนัก<br />

การวัดความขุ ่น<br />

การวัดกิจกรรมทางชีวเคมีของเซลล์<br />

เป็ นต้น


การนับจ านวนเซลล์ของจุลินทรีย์<br />

การนับจ านวนเซลล์จุลินทรีย์โดยตรงจากล้องจุลทรรศน์<br />

Petroff-Hausser chamber : สไลด์พิเศษที่มีความหนา 3-5 mm<br />

ตรงกลางสไลด์เป็ นร่อง<br />

เมื่อปิ ดทับด้วยกระจกปิ ดสไลด์ชนิดพิเศษ จะมีพื ้นที่เท่ากับ 1 mm 2<br />

และมีความลึก 0.02 mm (ปริมาตร 2x10 -5 mm)<br />

ที่มา (http://www.hausserscientific.com/petroffhausser.htm, 2007)


แบ่งเป็ นช่องใหญ่ 25 ช่อง<br />

แต่ละช่องมีพื ้นที่เท่ากับ 0.04 mm 2<br />

(ปริมาตร 8x10 -7 ml)<br />

ภายในช่องใหญ่แบ่งออกเป็ น 16 ช่องเล็ก<br />

แต่ละช่องมีพื ้นที่ 0.0025 mm 2<br />

(ปริมาตร 5x10 -8 ml)<br />

ที่มา (http:// www.emsdiasum.com/microscopy/products/magnifier/counting. aspx, 2007)


หยดตัวอย่างจุลินทรีย์ที่ต้องการทราบจ านวนลงบนสไลด์<br />

นับจ านวนภายใต้กล้องจุลทรรศน์<br />

ทราบจ านวนจุลินทรีย์ต่อปริมาตรของสไลด์<br />

ค านวณหาปริมาณของจุลินทรีย์ต่อcm 3 หรือml


การนับจ านวนเซลล์ ท าได้โดยสมการต่อไปนี ้<br />

เซลล์ต่อมิลลิลิตร = v<br />

xy 1<br />

v<br />

เมื่อ x = จ านวนเซลล์ที่นับได้ต่อ 16 ช่องเล็ก<br />

y = ระดับความเจือจางที่ใช้<br />

1<br />

v = ปริมาตรของตัวอย่างในปริมาตร<br />

(กรณีนับ 16 ช่องเล็ก พื ้นที่ = 8x10 -7 มิลลิลิตร)<br />

= 1.25 x 10 6<br />

* ในทางปฏิบัติจะสุ่มนับจ านวนจุลินทรีย์จาก 5 ช่องใหญ่<br />

แล้วหาค่าเฉลี่ยมาแทนค่าเป็ นค่า x


ที่มา (Bauman, 2003, p. 192)


ค านวนหาปริมาณจุลินทรีย์ต่อมิลลิลิตรได้จากสมการ<br />

เซลล์ต่อมิลลิลิตร v = xy 1<br />

v<br />

= 15 x 1 x 1.25 x 10 6<br />

= 18.75 x 10 6<br />

= 1.88 x 10 7<br />

15 เซลล์<br />

หมายเหตุ กรณีนี ้ไม่ได้ท าการเจือจาง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!