06.09.2015 Views

บทที่ 8 ไวรัส

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>บทที่</strong> 8<br />

<strong>ไวรัส</strong>


่<br />

<strong>ไวรัส</strong><br />

• มีขนาดเล็กมาก : ตั ้งแต่ 20-300 นาโนเมตร<br />

• เป็ นปรสิตที่แท้จริง เจริญเพิ่มจ านวนได้เฉพาะเมื่อเข้าไปอาศัยอยู<br />

ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตอื่นเท่านั ้น<br />

<strong>ไวรัส</strong>เป็ นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ไม่มีองค์ประกอบเหมือนเซลล์สิ่งมีชีวิตอื่น<br />

จึงเรียกว่าอนุภาค


ใบที่เป็ นโรค ใบปกติ<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.382)


โครงสร้างของ<strong>ไวรัส</strong><br />

1. จีโนม (genome)<br />

เป็ นกรดนิวคลิอิกท าหน้าที่เป็ นสารพันธุกรรม<br />

อาจเป็ นDNA/RNA เพียงชนิดใดชนิดหนึ ่งเท่านั ้น<br />

อาจอยู ่ในรูปของสายคู่ สายเดี่ยว เส้นตรง หรือวงกลมก็ได้


2. แคปซิด (capsid)<br />

เป็ นส่วนที่ห่อหุ้มจีโนมของ<strong>ไวรัส</strong><br />

ท าให้<strong>ไวรัส</strong>เกิดเป็ นรูปร่างต่าง ๆ กัน<br />

เกิดจากการเรียงตัวกันของแคปโซเมอร์ (capsomer)<br />

ท าหน้าที่ป้ องกันจีโนม<br />

กลุ่มของโปรตีนจ านวนหลายหน่วย<br />

ส าหรับ<strong>ไวรัส</strong>ที่มี แคปซิดเป็ นส่วนประกอบชั ้นนอกสุดของอนุภาคจะท า<br />

หน้าที่เกาะติดกับที่รับ (receptor site) ที่ผิวของโฮสต์ (host) เพื่อให้อนุภาค<br />

ของ<strong>ไวรัส</strong>สามารถผ่านเข้าสู ่เซลล์ได้


3. เยื่อหุ ้มแคปซิด (envelop)<br />

พบใน<strong>ไวรัส</strong>บางชนิด<br />

อาจเรียก<strong>ไวรัส</strong>ที่มีเยื่อหุ้มแคปซิดว่าเอนวีลอป<strong>ไวรัส</strong> (envelop virus)<br />

และ<strong>ไวรัส</strong>ที่ไม่มีเยื่อหุ้มแคปซิดว่าเน็กซ์<strong>ไวรัส</strong> (naked virus)<br />

เยื่อหุ้มแคปซิดของ<strong>ไวรัส</strong>ประกอบด้วยชั ้นไขมันสองชั ้น (lipid<br />

bilayers)<br />

มีต้นก าเนิดมาจากเยื่อหุ้มของเซลล์โฮสต์ (host cell) โดยมีโปรตีนและ<br />

ไกลโคโปรตีนของ<strong>ไวรัส</strong>แทรกตัวอยู ่


4. อินเทอร์นัลโปรตีน (internal protein)<br />

เป็ นโปรตีนที่อยู ่ภายในอนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong><br />

มักท าหน้าที่เป็ นเอนไซม์ที่ใช้ในการเพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong> และอาจมี<br />

โปรตีนอื่น ๆ ด้วย<br />

แคปซิด<br />

อนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>มีส่วนประกอบ<br />

ต่าง ๆ ครบทั ้ง 4 ส่วน<br />

เรียกว่าวิริออน (virion)<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.378)<br />

กรดนิวคลีอิก


SX18AC/SX20AC/SX28AC/SX18AC75/SX20AC75/SX28AC75<br />

3.1.1 Read-Modify-Write Considerations<br />

Caution must be exercised when performing two successive<br />

read-modify-write instructions (SETB or CLRB operations)<br />

on I/O port pin. Input data used for an instruction<br />

must be valid during the time the instruction is executed,<br />

and the output result from an instruction is valid only after<br />

that instruction completes its operation. Unexpected<br />

results from successive read-modify-write operations on<br />

I/O pins can occur when the device is running at high<br />

speeds. Although the device has an internal write-back<br />

section to prevent such conditions, it is still recommended<br />

that the user program include a NOP instruction<br />

as a buffer between successive read-modify-write<br />

instructions performed on I/O pins of the same port.<br />

Also note that reading an I/O port is actually reading the<br />

pins, not the output data latches. That is, if the pin output<br />

driver is enabled and driven high while the pin is held low<br />

externally, the port pin will read low.<br />

3.2 Port Configuration<br />

Each port pin offers the following configuration options:<br />

• data direction<br />

• input voltage levels (TTL or CMOS)<br />

• pullup type (pullup resistor enable or disable)<br />

• Schmitt trigger input (for Port B and Port C only)<br />

Port B offers the additional option to use the port pins for<br />

the Multi-Input Wakeup/Interrupt function and/or the analog<br />

comparator function.<br />

Port configuration is performed by writing to a set of control<br />

registers associated with the port. A special-purpose<br />

instruction is used to write these control registers:<br />

• mov !RA,W (move W to Port A control register)<br />

• mov !RB,W (move W to Port B control register)<br />

• mov !RC,W (move W to Port C control register)<br />

Each one of these instructions writes a port control register<br />

for Port A, Port B, or Port C. There are multiple control<br />

registers for each port. To specify which one you want to<br />

access, you use another register called the MODE register.<br />

3.2.1 MODE Register<br />

The MODE register controls access to the port configuration<br />

registers. Because the MODE register is not memory-mapped,<br />

it is accessed by the following specialpurpose<br />

instructions:<br />

• mov M, #lit (move literal to MODE register)<br />

• mov M,W (move W to MODE register)<br />

• mov W,M (move MODE register to W)<br />

The value contained in the MODE register determines<br />

which port control register is accessed by the “mov !rx,W”<br />

instruction as indicated in Table 3-3. MODE register values<br />

not listed in the table are reserved for future expansion<br />

and should not be used. Therefore, the MODE<br />

register should always contain a value from 08h to 0Fh.<br />

Upon reset, the MODE register is initialized to 0Fh, which<br />

enables access to the port direction registers.<br />

After a value is written to the MODE register, that setting<br />

remains in effect until it is changed by writing to the<br />

MODE register again. For example, you can write the<br />

value 0Eh to the MODE register just once, and then write<br />

to each of the three pullup configuration registers using<br />

the three “mov !rx,W” instructions.<br />

Table 3-3. MODE Register and Port<br />

Control Register Access<br />

MODE Reg. mov !RA,W mov !RB,W mov !RC,W<br />

08h not used CMP_B not used<br />

09h not used WKPND_B not used<br />

0Ah not used WKED_B not used<br />

0Bh not used WKEN_B not used<br />

0Ch not used ST_B ST_C<br />

0Dh LVL_A LVL_B LVL_C<br />

0Eh PLP_A PLP_B PLP_C<br />

0Fh RA Direction RB Direction RC Direction<br />

The following code example shows how to program the<br />

pullup control registers.<br />

mov M,#$0E ;MODE=0Eh to access port pullup<br />

;registers<br />

mov W,#$03 ;W = 0000 0011<br />

mov !RA,W ;disable pullups for A0 and A1<br />

mov W,#$FF ;W = 1111 1111<br />

mov !RB,W ;disable all pullups for B0-B7<br />

mov W,#$00 ;W = 0000 0000<br />

mov !RC,W ;enable all pullups for C0-C7<br />

First the MODE register is loaded with 0Eh to select<br />

access to the pullup control registers (PLP_A, PLP_B,<br />

and PLP_C). Then the MOV !rx,W instructions are used<br />

to specify which port pins are to be connected to the<br />

internal pullup resistors. Setting a bit to 1 disconnects the<br />

corresponding pullup resistor, and clearing a bit to 0 connects<br />

the corresponding pullup resistor.<br />

3.2.2 Port Configuration Registers<br />

The port configuration registers that you control with the<br />

MOV !rx,W instruction operate as described below.<br />

RA, RB, and RC Data Direction Registers (MODE=0Fh)<br />

Each register bit sets the data direction for one port pin.<br />

Set the bit to 1 to make the pin operate as a high-impedance<br />

input. Clear the bit to 0 to make the pin operate as<br />

an output.<br />

© 2000 Scenix Semiconductor, Inc. All rights reserved. - 9 - www.scenix.com


รูปร่าง<br />

รูปร่างของ<strong>ไวรัส</strong>มีได้หลายแบบด้วยกัน อาจกลม แท่ง เป็ นสายยาว หรือมี<br />

รูปร่างได้หลายแบบ (pleomorphism)<br />

ขึ ้นอยู ่กับการเรียงตัวของแคปซิด และการมีหรือไม่มีเยื่อหุ้มแคปซิด<br />

เฮลิคอล<strong>ไวรัส</strong><br />

(helical virus)<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.382)


โพลิเฮดรัลวิริออน<br />

(polyhedral virion)<br />

<strong>ไวรัส</strong>โรคฝี ดาษ<br />

(smallpox virus)<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.382)


การเพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong><br />

<strong>ไวรัส</strong>จะเพิ่มจ านวนได้เฉพาะเมื่ออาศัยอยู ่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่<br />

เหมาะสมเท่านั ้น<br />

เนื่องจากอนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>ไม่สามารถมีเมแทบอลิซึมได้เอง ท าให้ต้อง<br />

อาศัยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ภายในเซลล์โฮสต์เป็ นตัวสร้างองค์ประกอบ<br />

ของ<strong>ไวรัส</strong>ขึ ้นมา<br />

จีโนมของ<strong>ไวรัส</strong>ท าหน้าที่ในการก าหนดสิ่งที่ต้องการสร้างเพื่อใช้ในการ<br />

เพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong>


เมื่อสร้างองค์ประกอบที่จ าเป็ นส าหรับการเพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong>ครบถ้วน<br />

ประกอบองค์ประกอบเหล่านั ้นเข้าเป็ นอนุภาคที่สมบูรณ์<br />

ที่มีองค์ประกอบและคุณสมบัติเหมือนเดิมทุกประการ<br />

<strong>ไวรัส</strong>จะออกจากเซลล์โฮสต์เดิม<br />

เข้าสู ่เซลล์ใหม่ที่เหมาะสม และเพิ่มจ านวนต่อไป


การเกาะติด (attachment)<br />

เป็ นกระบวนการแรกที่<strong>ไวรัส</strong>จะจับกับเซลล์โฮสต์ในต ต าแหน่งจ าเพาะบนผิวของเซลล์<br />

มีอยู ่ประมาณ 100,000-500,000 ต าแหน่งต่อหนึ ่งเซลล์<br />

มีมากที่สุดเมื่อเซลล์เจริญอยู ่ในช่วงเอ็กโพเนนเชียลเฟส


อัตราการเกาะติดของ<strong>ไวรัส</strong>กับเซลล์<br />

ไม่ขึ ้นอยู ่กับอุณหภูมิ<br />

ไม่ต้องการพลังงาน<br />

แต่เกิดได้ดีเมื่อมีเกลืออนินทรีย์ (inorganic salt) ที่มีประจุบวก : Ca 2+<br />

Mg 2+


การเข้าสู ่เซลล์ (penetration)<br />

เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็วหลังจากที่อนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>เกาะติดกับผิวของเซลล์<br />

ใช้เวลาน้อย และต้องอาศัยพลังงาน<br />

เซลล์กลืนอนุภาค<strong>ไวรัส</strong> (receptor-mediated endocytosis)<br />

การหลอมเชื่อมระหว่างเยื่อหุ้มแคปซิดของ<strong>ไวรัส</strong>กับเยื่อหุ้มเซลล์<br />

การแทรกผ่านเข้าเซลล์โดยตรง (direct penetration)


เซลล์กลืนอนุภาค<strong>ไวรัส</strong> (receptor-mediated endocytosis)<br />

พบบ่อยที่สุด<br />

<strong>ไวรัส</strong>จะถูกกลืนเข้าไปภายในเซลล์ และอยู ่ในรูปของแวคิวโอ<br />

หรือเอ็นโดโซม (endosome)<br />

เกิดขึ ้นได้ทั ้งกับเอนวีลอป<strong>ไวรัส</strong> และเน็กซ์<strong>ไวรัส</strong><br />

เอนวีลอป<strong>ไวรัส</strong>จะมีการหลอมรวม (fuse) ส่วนของเยื่อหุ้มแคปซิดเข้า<br />

กับเยื่อหุ้มของเอ็นโดโซม เพื่อปลดปล่อยนิวคลิโอแคปซิด<br />

(nucleocapsid) ซึ ่งประกอบด้วยแคปซิดและกรดนิวคลิอิกรวมกัน<br />

ออกมา


เซลล์กลืนอนุภาค<strong>ไวรัส</strong><br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.391)


การหลอมเชื่อมระหว่างเยื่อหุ ้มแคปซิดของ<strong>ไวรัส</strong>กับเยื่อหุ ้มเซลล์<br />

พบเฉพาะเอนวีลอป<strong>ไวรัส</strong>เท่านั ้น<br />

มักเกิดขึ ้นในลักษณะที่มีการหลอมรวมโปรตีนบนเยื่อหุ้มแคปซิด<br />

และปลดปล่อยนิวคลิโอแคปซิดเพื่อเข้าสู ่เซลล์<br />

จากนั ้นอาศัยไลโซไซม์ของเซลล์โฮสต์มาย่อยแคปซิด ให้เหลือแต่<br />

กรดนิวคลีอิก


ต าแหน่งจ าเพาะบน<br />

เยื่อหุ้มเซลล์โฮสต์<br />

ไกลโคโปรตีนของ<strong>ไวรัส</strong><br />

เยื่อหุ้มแคปซิด<br />

ไกลโคโปรตีนของ<strong>ไวรัส</strong>ที่ค้าง<br />

อยู ่บนเยื่อหุ้มเซลล์โฮสต์<br />

จีโนม<br />

ของ<strong>ไวรัส</strong><br />

การหลอมเชื่อมระหว่างเยื่อหุ้มแคปซิดของ<strong>ไวรัส</strong>กับเยื่อหุ้มเซลล์<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.391)


การแทรกผ่านเข้าเซลล์โดยตรง (direct penetration)<br />

ไม่พบบ่อยนัก<br />

มักเกิดขี ้นกับเน็กซ์<strong>ไวรัส</strong>เท่านั ้น<br />

<strong>ไวรัส</strong>เกาะเข้ากับเซลล์ที่ต าแหน่งเฉพาะ<br />

อนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>ทั ้งหมดหรือเฉพาะส่วนของจีโนมจะแทรกผ่าน<br />

เยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู ่ไซโทพลาสซึม


ต ำแหน่งเฉพำะบน<br />

เยื่อหุ ้มเซลล์โฮสต์<br />

แคปซิด<br />

จีโนม<strong>ไวรัส</strong><br />

ส่วนตัดของเยื่อหุ ้มเซลล์โฮสต์<br />

การแทรกผ่านเข้าเซลล์โดยตรงของ<strong>ไวรัส</strong><br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.391)


การปล่อยจีโนมออกจากแคปซิด<br />

อาจเกิดขึ ้นในเอนโดโซมในไซโตพลาซึม หรือบริเวณไซโทพลา<br />

ซึม หรือเยื่อหุ้มนิวเคลียส<br />

วิธีการจะแตกต่างกันไป<br />

ตามชนิดของ<strong>ไวรัส</strong><br />

อาจอาศัยไลโซไซม์ของเซลล์โฮสต์มาย่อยแคปซิด<br />

ให้เหลือแต่กรดนิวคลิอิก หรืออาศัยเอนไซม์ไลโซ<br />

โซมัล โปรทีเอส (lysosomal protease) เป็ นต้น<br />

HIV virus


การสังเคราะห์องค์ประกอบของ<strong>ไวรัส</strong> (synthesisi of viral components)<br />

* เริ่มด้วยการสังเคราะห์ mRNA โปรตีน และจีโนม<br />

* อาจเกิดขึ ้นที่นิวเคลียส หรือไซโทพลาซึมก็ได้ขึ ้นอยู ่กับชนิดของ<strong>ไวรัส</strong><br />

1. การถอดรหัสระยะต้น (early transcription)<br />

2. การแปรรหัสระยะต้น (early translation)<br />

3. การเพิ่มจ านวนจีโนมของ<strong>ไวรัส</strong> (replication of viral genome)<br />

4. การถอดรหัสและการแปรรหัสระยะหลัง (late transcription and late translation)


การถอดรหัสระยะต้น (early transcription)<br />

เป็ นการสร้าง mRNA จากกรดนิวคลิอิก<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่มีสารพันธุกรรมเป็ นดีเอ็นเอ จะใช้ RNA polymerase ของเซลล์ใน<br />

การสร้าง<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่มีสารพันธุกรรมเป็ นอาร์เอ็นเอสายลบ (negative sense RNA) จะ<br />

ใช้เอนไซม์พอลิเมอเรสที่มีอยู ่ในอนุภาค<strong>ไวรัส</strong> เรียกว่า transcriptase หรือ<br />

อาร์เอ็นเอโพลีเมอเรส เพื่อสร้าง mRNA สายบวก (positive sense RNA)<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่มีจีโนมเป็ น mRNA สายบวก จะสามารถเกิดการแปรรหัสเพื่อสร้าง<br />

โปรตีนได้เลย ไม่ต้องมีขั ้นตอนการถอดรหัส


การแปรรหัสระยะต้น (early translation)<br />

เป็ นการสร้างโปรตีน<br />

ในระยะต้นนี ้เป็ นการสร้างโปรตีนที่จ าเป็ นส าหรับการ<br />

เพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong> ซึ ่งส่วนใหญ่เป็ นเอนไซม์ต่าง ๆ ที่<br />

ใช้ในการเพิ่มจ านวนจีโนม ไม่ใช่โปรตีนที่เป็ น<br />

ส่วนประกอบของโครงสร้างของ<strong>ไวรัส</strong>


การเพิ่มจ านวนจีโนมของ<strong>ไวรัส</strong> (replication of viral genome)<br />

การเพิ่มจ านวนจีโนมนี ้อาจเกิดในนิวเคลียส หรือไซโทพลาซึม<br />

กลไกจะแตกต่างกันไปตามชนิดของ<strong>ไวรัส</strong> : สารพันธุกรรมเป็ น DNA/RNA<br />

ลักษณะของจีโนม : สายคู่ สายเดี่ยว<br />

สายบวก สายลบ


<strong>ไวรัส</strong>จะใช้จีโนมของตัวเองเป็ นต้นแบบเพื่อสร้างสายที่เข้าคู่กัน (complementary<br />

strand) ซึ ่งเป็ นสายของกรดนิวคลิอิกที่มีล าดับเบสตรงข้ามกับสายต้นแบบ<br />

จากนั ้นสายที่สร้างขึ ้นนี ้จะท าหน้าที่เป็ นแม่พิมพ์ส าหรับสร้างสายกรดนิวคลิอิกที่<br />

มีล าดับเบสเหมือนกับจีโนมเริ่มต้นของ<strong>ไวรัส</strong>ขึ ้นมาเป็ นจ านวนมาก


การถอดรหัสและการแปรรหัสระยะหลัง (late transcription and late translation)<br />

เป็ นขั ้นตอนการถอดรหัสและแปรรหัสเพื่อสร้างโปรตีนที่เป็ นโครงสร้างของ<strong>ไวรัส</strong><br />

ใช้ประกอบเป็ นอนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>


การประกอบเป็ นอนุภาคที่สมบูรณ์ (assembly หรือ maturation)<br />

เมื่อมีการสร้างจีโนม และโปรตีนต่าง ๆ เป็ นจ านวนมากพอแล้ว<br />

จะเกิดการรวมเป็ นอนุภาคของ<strong>ไวรัส</strong>ที่สมบูรณ์ขึ ้น<br />

(อาจเกิดในนิวเคลียสหรือไซโทพลาซึม)<br />

การประกอบเป็ นอนุภาคที่สมบูรณ์อาจมีขั ้นตอนแตกต่างกันไปตามชนิดของ<strong>ไวรัส</strong>


ฐำน หำง ชีส ดีเอ็นเอ แคปซิด ส่วนหัวที่สมบูรณ์ เส้นใยหำง วิริออนสมบูรณ์<br />

(sheath)<br />

(tail fiber)<br />

การประกอบเป็ นอนุภาคที่สมบูรณ์ของ<strong>ไวรัส</strong><br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.386)


การประกอบเป็ นอนุภาคที่สมบูรณ์อาจมีขั ้นตอนแตกต่างกันไปตามชนิดของ<strong>ไวรัส</strong><br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่มีแคปซิดเป็ นรูปร่างหลายเหลี่ยม (icosahedral capsid)<br />

พบว่ามีการประกอบเป็ นแคปซิดได้แม้ไม่มีจีโนมอยู ่ภายใน<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่มีแคปซิดรูปร่างท่อน (helical capsid) จะไม่สามารถ<br />

ประกอบกันเป็ นแคปซิดได้หากปราศจากจีโนม


<strong>ไวรัส</strong>ที่ก่อให้เกิดโรคในสัตว์ที่มีจีโนมเป็ นดีเอ็นเอ และแคปซิดมี<br />

รูปร่างหลายเหลี่ยม จะสร้างโปรตีนหน่วยย่อยส าหรับประกอบเป็ น<br />

แคปซิดในไซโทพลาซึม จากนั ้นจึงเคลื่อนเข้าสู ่นิวเคลียสและ<br />

ประกอบกันเป็ นแคปซิด<br />

เยื่อหุ้มแคปซิดที่ห่อหุ้ม<strong>ไวรัส</strong>บางชนิดอาจมาจากการแตกหน่อ<br />

(budding) ผ่านเยื่อหุ้มนิวเคลียส หรือเยื่อหุ้มเซลล์


เซลล์ที่ติดเชื ้อ<strong>ไวรัส</strong>บางชนิด เมื่อท าการย้อมสีและส่องดูด้วยกล้อง<br />

จุลทรรศน์ธรรมดา อาจมองเห็นองค์ประกอบต่าง ๆ ของอนุภาค<strong>ไวรัส</strong><br />

จ านวนมากสะสมอยู ่ที่ต าแหน่งใดต าแหน่งหนึ ่ง เรียกว่าอินคูชันบอดี<br />

(inclusion bodies)


การออกจากเซลล์<br />

<strong>ไวรัส</strong>มีการประกอบเป็ นองค์ประกอบครบสมบูรณ์<br />

<strong>ไวรัส</strong>ออกจากเซลล์โฮสต์<br />

วิธีการแตกต่างกัน ขึ ้นอยู ่กับชนิดของ<strong>ไวรัส</strong>


บางชนิดจะท าให้เซลล์โฮสต์แตก และ<strong>ไวรัส</strong>หลุดออกมา เช่น แบคเทอริโอ<br />

ฟาจ์กจะใช้เอนไซม์ไลโซไซม์ย่อยชั ้นมิวโคเพปไทด์ของผนังเซลล์แบคทีเรีย<br />

บางชนิดออกจากเซลล์โดยการแตกหน่อ เช่น เฮอร์เพส์<strong>ไวรัส</strong> (herpesviruses)<br />

หลังจากแตกหน่อจากเยื่อหุ้มนิวเคลียส จะออกจากเซลล์ผ่านทาง ซิสเทอร์นี<br />

(cisternae) ของร่างแหเอนโดพลาซึม ฟลาวิ<strong>ไวรัส</strong> (flaviviruses) โคโรนา<strong>ไวรัส</strong><br />

(coronaviruses) และบันยา<strong>ไวรัส</strong> (bunyaviruses) จะมีการแตกหน่อเข้าไปในเยื่อ<br />

หุ้มของกอลจิคอมเพล็กซ์ หรือร่างแหเอนโดพลาซึมในรูปของเวลซิเคิล<br />

จากนั ้นเยื่อหุ้มของเวลซิเคิลจะเกิดการหลวมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ แล้ว<br />

ปลดปล่อย<strong>ไวรัส</strong>ออกมาด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส (exocytosis)


การเกาะติด<br />

ชีส<br />

แบคเทอริโอฟำจ์กจีโนม<br />

เมมเบรนชั ้นนอก<br />

เพปทิโดไกแคน<br />

เยื่อหุ ้มเซลล์<br />

การปล่อยจีโนมเข้าสู ่เซลล์โฮสต์<br />

โครโมโซมของแบคทีเรีย<br />

ฟำจ์กดีเอ็นเอ<br />

กระบวนการไลโซจีนิกของแบคเทอริโอฟาจ์ก<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.389)<br />

ฟำจ์กโปรตีน


ไกลโคโปรตีนของ<strong>ไวรัส</strong><br />

แคปซิด<br />

ภำพตัดขวำงของเยื่อหุ ้ม<br />

เซลล์ของเซลล์โฮสต์<br />

เอนวีลอปวิริออน<br />

กระบวนการแตกหน่อของเอนวีลอป<strong>ไวรัส</strong><br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.393)


การจัดจ าแนก<strong>ไวรัส</strong><br />

เดิมการจ าแนกชนิดของ<strong>ไวรัส</strong>จะอาศัยโฮสต์ที่<strong>ไวรัส</strong>เข้าไปเจริญเป็ นส าคัญ<br />

ท าให้เรียกชื่อ<strong>ไวรัส</strong>ตามสิ่งมีชีวิตที่<strong>ไวรัส</strong>เข้าไปอาศัยอยู ่


<strong>ไวรัส</strong><br />

bacteriophage<br />

animal viruses<br />

plant viruses<br />

fungal viruses<br />

mycoplasmal viruses<br />

insect viruses<br />

algae viruses<br />

protozoan viruses<br />

host<br />

แบคทีเรีย<br />

คน และ/หรือสัตว์<br />

พืช<br />

รา<br />

ไมโครพลาสมา<br />

แมลง<br />

สาหร่าย<br />

โปรโตซัว


การเรียกชื่อ<strong>ไวรัส</strong>ตามลักษณะของการ<br />

ก่อให้เกิดโรคกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่ก่อให้เกิดโรคอหิวาต์ในหมู<br />

(hog cholera virus)<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่ก่อให้เกิดโรคด่างในแตงกวา<br />

(cucumber mosaic virus)<br />

เพล็ค<strong>ไวรัส</strong>ในสัตว์ปี ก<br />

(flowl plaque virus)<br />

การเรียกชื่อ<strong>ไวรัส</strong>ตามชนิดของ<br />

เนื ้อเยื่อที่<strong>ไวรัส</strong>เข้าไปอาศัย<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่ชอบอาศัยที่เนื ้อเยื่อประสาท<br />

(neurotropic virus)<br />

<strong>ไวรัส</strong>ที่ชอบอาศัยที่เนื ้อเยื่อผิวหนัง<br />

(dermatotropic virus)


<strong>ไวรัส</strong>ชนิดเดียวกันอาจมีชื่อเรียกต่างกันไป<br />

จึงได้มีการจัดจ าแนกโดยอาศัยสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของ<strong>ไวรัส</strong><br />

รูปร่างและขนาดของ<strong>ไวรัส</strong> ลักษณะของแคปซิด<br />

การมีหรือไม่มีเยื่อหุ้มแคปซิด การมีสไปก์ (spike)<br />

คุณสมบัติทางกายภาพ และเคมีกายภาพของ<strong>ไวรัส</strong>


คุณสมบัติทางกายภาพ และเคมีกายภาพของ<strong>ไวรัส</strong><br />

น ้าหนักโมเลกุล ความสามารถในการตกตะกอน ความทนกรด<br />

ทนความร้อน สารละลาย และรังสีต่าง ๆ ลักษณะ รูปร่าง และ<br />

ความยาวของจีโนม ล าดับนิวคลีโอไทด์ ปริมาณเบสกัวนัน<br />

(guanine) และไซโทซีน (cytosine) เป็ นต้น


คุณสมบัติของโปรตีน ได้แก่ ขนาด จ านวน และหน้าที่ของโปรตีนทั ้งที่<br />

เป็ นโครงสร้าง (structural protein) และไม่เป็ นโครงสร้าง (non-structural<br />

protein) การมีโปรตีนชนิดพิเศษ และล าดับของกรดอะมิโนในโปรตีน เป็ น<br />

ต้น<br />

คุณสมบัติของไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ชนิด ปริมาณ และอื่น ๆ


การเรียงตัวของยีนในจีโนม และการเพิ่มจ านวน ทั ้งการจัดล าดับยีน วิธีการ<br />

เพิ่มจ านวน การถอดรหัส การแปรรหัส ขั ้นตอนหลังการแปรรหัส<br />

ต าแหน่งภายในเซลล์ที่โปรตีนของ<strong>ไวรัส</strong>สะสมอยู ่ ต าแหน่งภายในเซลล์ที่<br />

<strong>ไวรัส</strong>ประกอบเป็ นอนุภาค ต าแหน่งและวิธีการที่<strong>ไวรัส</strong>เกิดเป็ นอนุภาคที่<br />

สมบูรณ์ ตลอดจนวิธีการออกจากเซลล์


คุณสมบัติการเป็ นแอนติเจน และคุณสมบัติทางชีววิทยา เช่น ชนิดของ<br />

โฮลต์ วิธีการติดต่อในธรรมชาติ การมีพาหะ แห่งที่พบ<strong>ไวรัส</strong>ใน<br />

ธรรมชาติ การก่อโรค ความจ าเพาะต่อเนื่อเยื่อ และชนิดของสิ่งมีชีวิต


ไวรอยด์ (viroid)<br />

เป็ นกรดนิวคลิอิกแบบอาร์เอ็นเอที่มีน ้าหนักโมเลกุลประมาณ 1.1-1.3 x 10 5 ดาล<br />

ตัน ไม่มีเปลือกโปรตีนหุ้ม<br />

สามารถเพิ่มจ านวนตัวเองได้เมื่อเข้าไปอยู ่ภายในเซลล์โฮสต์<br />

ไวรอยด์ไม่สามารถสร้างโปรตีนได้ด้วยตัวเอง จึงเชื่อกันว่าการสังเคราะห์อาร์<br />

เอ็นเอของไวรอยด์ต้องอาศัยเอนไซม์จากเซลล์โฮสต์ ท าให้สารที่มีฤทธิ ์ ยับยั ้ง<br />

เอนไซม์พอลิเมอเรส (polymerase) ของเซลล์โฮสต์จะสามารถยับยั ้งการเพิ่ม<br />

จ านวนของไวรอยด์ได้


ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของไวรอยด์และอาร์เอ็นเอ<strong>ไวรัส</strong><br />

แคปซิด<br />

อำร์เอ็นเอ<br />

ลักษณะของอำร์เอ็น<br />

เอ<br />

นิวคลิโอไทด์<br />

ไวรอยด์<br />

ไม่มี<br />

ขนำดเล็กมำก<br />

วงกลมสำยเดี่ยวหรือ<br />

เส้นตรงสำยเดี่ยวเท่ำนั ้น<br />

มำตรฐำน 4 ชนิด<br />

อำร์เอ็นเอ<strong>ไวรัส</strong><br />

มี<br />

ใหญ่กว่ำไวรอยด์อย่ำง<br />

น้อย 10เท่ำ<br />

มีหลำยรูปแบบ<br />

อำจมีกำรดัดแปลง


ไวรอยด์พบก่อโรคในพืชเท่านั ้น ยังไม่พบการก่อโรคในคนหรือสัตว์<br />

ปกติ<br />

ผิดปกติ<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p.398)


พรีออน (Prion)<br />

มาจาก proteinaceous infection agent<br />

ส่วน on เป็ นค าลงท้าย หมายถึง อนุภาค (particle)<br />

ถูกค้นพบในปี ค.ศ.1982 โดยสแตนสย์ พรูสิเนอร์ Stanley Prusiner<br />

ท าให้ได้รับรางวัลโนเบลใน ค.ศ. 1987


พรีออน (Prion)<br />

ประกอบด้วยโปรตีนเพียงอย่างเดียว ไม่มีกรดนิวคลิอิก<br />

ทนต่ออุณหภูมิสูง 90 องศาเซลเซียส เป็ นอุณหภูมิที่สามารถท าลาย<strong>ไวรัส</strong><br />

ทนต่อรังสีที่ท าลายจีโนมของ<strong>ไวรัส</strong><br />

ไม่ถูกย่อยท าลายโดยเอนไซม์ที่ย่อยสลายดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ แต่ถูกท าลาย<br />

ได้โดยสารเคมีและเอนไซม์ที่ท าลายโปรตีน เช่น ฟี นอล ยูเรีย เอสดีเอส (SDS) ทริ<br />

ปซิน (trypsin) และโปรตีเนส เค (proteinase K)


พรีออนเป็ นจุลินทรีย์ที่ท าให้เกิดโรคในมนุษย์และสัตว์ โดยในมนุษย์ท าให้เกิด<br />

โรค Creutzfeld-Jakob disease (CJD) ซึ ่งผู้ที่ป่ วยด้วยโรคนี ้สมองจะถูกท าลาย<br />

อย่างช้าๆ โดยใช้เวลานานหลายเดือนหรือหลายปี<br />

อาการที่พบคือ สติปัญญาเสื่อมลง ควบคุมการเคลื่อนไหวล าบากและเสียชีวิต<br />

ในที่สุด พบลักษณะพยาธิสภาพคือเนื ้อสมองจะมีรูพรุนคล้ายฟองน ้า<br />

(spongiform encephalopathy)


ในสัตว์พบว่าท าให้เกิดโรค Scrapie ในแพะและแกะ โรควัวบ้า (mad<br />

cow disease) ซึ ่งเรียกอีกชื่อว่าโรค Bovine spongiform encephalopathy<br />

(BSE) ในวัว ซึ ่งเกิดการระบาดในประเทศอังกฤษและติดต่อมายังผู้ที่<br />

รับประทานเนื ้อวัวที่เป็ นโรค โรค feline spongiform encephalopathy<br />

ในแมว โรค chronic wasting disease ในกวาง โรค transmissible<br />

mink encephalopathy ในตัวมิงค์ (mink)


ค าถามท้ายบท<br />

1. จงยกตัวอย่างชื่อของ<strong>ไวรัส</strong>ที่เรียกตามสิ่งมีชีวิตที่เข้าไปอาศัยมา 3 ชื่อ พร้อม<br />

อธิบาย<br />

2. โครงสร้างของ<strong>ไวรัส</strong>ประกอบด้วยอะไรบ้าง อธิบาย<br />

3. จงยกตัวอย่างรูปร่างของ<strong>ไวรัส</strong> มา 3 แบบ<br />

4. จงอธิบายกลไกในการเพิ่มจ านวนของ<strong>ไวรัส</strong>มาพอเข้าใจ<br />

5. ไวรอยด์คืออะไร อธิบาย<br />

6. พรีออนคืออะไร อธิบาย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!