06.09.2015 Views

สาหร่าย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่ 7<br />

<strong>สาหร่าย</strong>


<strong>สาหร่าย</strong><br />

เป็ นยูแคริโอติกเซลล์ : เซลล์เดียว กลุ่มของเซลล์ และพวกหลายเซลล์<br />

บางชนิดมีขนาดใหญ่คล้ายพืชชั ้นสูง<br />

มีโครงสร้างซับซ้อน ท าหน้าที่คล้ายราก ล าต้น และใบ แต่มิใช่ราก<br />

ล าต้น และใบที่แท้จริง<br />

ภายในเซลล์มี chlorophyll สังเคราะห์แสงได้คล้ายกับพืช<br />

แตกต่างที่ <strong>สาหร่าย</strong>มีโครงสร้างการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศอย่างง่าย ๆ<br />

ในการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ จะมีการสร้างสปอร์ที่มีแฟลเจลลา<br />

และ/หรือสปอร์ที่ไม่เคลื่อนที่อยูภายในสปอร์แรงเกียม<br />

แพร่กระจายทั ้งในน ้าจืด น ้าเค็ม น ้ากร่อย และที่ชื ้นแฉะ


สัณฐานวิทยา<br />

รูปร่างและขนาด<br />

มีหลายแบบ เช่น<br />

รูปทรงกลม ท่อน รูปคล้ายกระบอง<br />

รูปเกลียว รูปเรียวแหลม โค้งงอคล้ายพระจันทร์เสี ยว เป็ นต้น<br />

เซลล์เดี่ยว เคลื่อนที่ไม่ได้ เซลล์เดี่ยว เคลื่อนที่ได้<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 9)


ขนาดของ<strong>สาหร่าย</strong>จะแตกต่างกันไปขึ ้นอยู ่กับชนิดของ<strong>สาหร่าย</strong><br />

มีตั ้งแต่ 0.5 ไมครอน จนถึงประมาณ 100 ฟุต<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ขนาดเล็กที่ด ารงชีวิตแบบเซลล์เดียว อยู ่เป็ นอิสระ อาจเคลื่อนที่<br />

ตามกระแสน ้าหรือเกาะอยู ่กับวัตถุต่าง ๆ ในน ้า หรือมีแฟลเจลลาช่วยใน<br />

การเคลื่อนที่<br />

ส่วน<strong>สาหร่าย</strong>ที่มีขนาดใหญ่ จะเป็ น<strong>สาหร่าย</strong>ที่อยู ่รวมกันเป็ นโคโลนี เป็ น<br />

สาย หรือเรียงตัวกันเป็ นแผ่น บางชนิดอาจมีเมือกหุ้ม และสามารถ<br />

เคลื่อนที่ได้


กลุ่ม เคลื่อนที่ไม่ได้ กลุ่ม เคลื่อนที่ได้<br />

สาย ไม่แตกแขนง<br />

สาย แตกแขนง<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 9)


ท่อ หรือหลอด คล้ายพืชชั ้นสูง<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 9)


้<br />

แฟลเจลลา<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ที่เคลื่อนที่ได้ จะอาศัยแฟลเจลลาในการเคลื่อนที่<br />

อาจมีหนึ ่งเส้น สองเส้นคู่ หรือเป็ นกลุ่มที่ด้านในด้านหนึ ่งของเซลล์<br />

สามารถแบ่งออกเป็ นหลายชนิด ดังนี<br />

วิปแลป (whiplash) เป็ นเส้นหรือรูปทรงเป็ นกระบอกยาวและเรียบ<br />

ทินเซล (tinsel) เป็ นทรงกระบอกยาว และมีขนเล็ก ๆ ยื่นออกมาโดยรอบ<br />

ริบบอน (ribbon) เป็ นแถบแบนคล้ายริบบิน


tinsel<br />

whiplash<br />

whiplash


ผนังเซลล์และเยื่อหุ ้มเซลล์<br />

ผนังเซลล์ของ<strong>สาหร่าย</strong>มีลักษณะบาง แต่แข็งแรง อาจมี outer matrix ล้อมรอบ<br />

ส่วนเยื่อหุ้มเซลล์อาจยืดหยุ่นได้ เรียกว่า periplast เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ของยูกลีนา<br />

สารสี<br />

สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>มีหลายชนิดด้วยกัน อยู ่ในออร์แกเนลล์ “chloroplast”<br />

และสารสีมีด้วยกันหลายชนิด<br />

มีคลอโรฟิ ลล์เป็ นสารสีส าคัญ


คลอโรฟิ ลล์เอ เป็ นคลอโรฟิ ลล์ที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>ทุกชนิด<br />

คลอโรฟิ ลล์บี : Division Euglenophycophyta and Chlorophycophyta<br />

คลอโรฟิ ลล์ซี : Division Xanthophycophyta, Bacillariophycophyta,<br />

Chrysophycophyta, Pyrrophycophyta, Cryptophycophyta<br />

and Phyophycophyta<br />

คลอโรฟิ ลล์ดี : Division Rhodophycophyta<br />

คลอโรฟิ ลล์อี พบเฉพาะสกุล Triboneaea และซูโอสปอร์ของ Vaucheria<br />

ในดิวิชันแซนโธไฟโคไฟตา<br />

รงควัถตุอื่น ๆ : carotenoid ซึ ่งประกอบด้วย<br />

carotene and xanthophyll กับ phycobilin หรือ biliprotein<br />

พบในดิวิชันโรโดไฟโคไฟตา และดิวิชันคริสโทไฟตาเท่านั ้น


ภายในเซลล์ของ<strong>สาหร่าย</strong>ยังมีนิวเคลียสที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน<br />

และมีเม็ดแป้ ง หยดน ้ามัน และแวคิวโอล อีกด้วย<br />

แฟลเจลลา<br />

ผนังเซลล์<br />

แป้ ง<br />

กอลจิบอดี<br />

ไมโทคอนเดรีย<br />

คอนแทรกไทล์แวควิโอล<br />

นิวเคลียส<br />

ร่างแหเอนโดพลาสซึม<br />

แวควิโอล<br />

ไพรินอยด์<br />

คลอโรพลาสต์<br />

เยื่อหุ ้มเซลล์<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p.556)


การสืบพันธุ ์<br />

มีทั ้งแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ<br />

บางชนิดอาจมีทั ้งสองแบบ<br />

บางชนิดอาจสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเพียงอย่างเดียว


การสืบพันธุ ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

การแตกเป็ นชิ้นส่วน (fragmentation)<br />

เป็ นการสืบพันธุ์ที่แทลลัสของ<strong>สาหร่าย</strong><br />

หัก หรือหลุดออกเป็ นท่อน<br />

พบใน<strong>สาหร่าย</strong>ที่อาศัยอยู ่รวมกันเป็ น<br />

สาย<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 11)


การแบ่งสองส่วน (binary fission)<br />

เป็ นการสืบพันธุ์ที่พบใน<br />

<strong>สาหร่าย</strong><br />

เซลล์เดียวเป็ นส่วนใหญ่<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 11)


การสร้างสปอร์ (sporulation)<br />

พบใน<strong>สาหร่าย</strong>หลายเซลล์<br />

สปอร์อาจเคลื่อนที่ได้ เรียก zoospore<br />

ซึ ่งพบใน<strong>สาหร่าย</strong>ที่อาศัยในน ้า<br />

สปอร์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เรียก<br />

aplanospore พบใน<strong>สาหร่าย</strong>ที่อาศัย<br />

อยู ่บนบก<br />

aplanospore บางชนิดอาจพัฒนาไป<br />

เป็ น zoospore ได้<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 11)


การแบ่งเซลล์สร้างโคโลนี<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 11)


การสืบพันธุ ์แบบอาศัยเพศ<br />

เป็ นการเพิ่มจ านวนโดยการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเมียขึ ้นมา<br />

เพศผู้ จ านวนโครโมโซม 1 ชุด (n)<br />

+<br />

เพศเมีย จ านวนโครโมโซม 1 ชุด (n)<br />

ไซโกต<br />

จ านวนโครโมโซม 2 ชุด<br />

(2n)


เซลล์สืบพันธุ์อาจมีรูปร่าง ขนาดเหมือน<br />

หรือต่างกันก็ได้ ขึ ้นอยู ่กับชนิดของ<br />

<strong>สาหร่าย</strong><br />

การรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่าง<br />

และขนาดเหมือนกัน เรียก isogamy<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 12)


อวัยวะสืบพันธุ ์เพศผู ้<br />

การรวมกันของเซลล์<br />

สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและ<br />

ขนาดแตกต่างกัน เรียกว่า<br />

heterogamy<br />

อวัยวะสืบพันธุ ์เพศเมีย<br />

ที่มา (มัณฑนา, 2547, หน้า 12)


การจัดจ าแนก<strong>สาหร่าย</strong><br />

จัดอยู ่ในอาณาจักรโพรทิสตา<br />

ประกอบด้วย 9 ดิวิชัน<br />

โรโดไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีแดง<br />

แซนโธไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียวแกมเหลือง<br />

คริสโทไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีทอง<br />

ฟี โอไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีน ้าตาล<br />

บาซิลลาริโอไฟโคตา หรือไดอะตอม<br />

ยูกลีโนไฟโคไฟตา หรือยูกลีนอยด์<br />

คลอโรไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียว<br />

คริปโทไฟโคไฟตา หรือคริปโทโมแนด<br />

ไฟร์โรไฟโคไฟตา หรือไดโนแฟลเจลเลต


หลักเกณฑ์ในการจัดจ าแนก อาศัย<br />

ชนิดและคุณสมบัติของสารสี<br />

องค์ประกอบทางเคมีของอาหารสะสม<br />

ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์แสง<br />

ชนิด รูปร่าง และจ านวนของแฟลเจลลา<br />

ต าแหน่งที่แฟลเจลลามาเกาะติด<br />

องค์ประกอบทางเคมีและกายภาพของผนังเซลล์<br />

ลักษณะรูปร่างและการจัดระเบียบของเซลล์และทัลลัส<br />

วงจรชีวิต โครงสร้างและวิธีการสืบพันธุ์


ดิวิชันโรโดไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีแดง<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ในกลุ่มนี ้เกือบทั ้งหมดอาศัยอยู ่ในน ้าเค็ม<br />

ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ (ไม่มีแฟลเจลลา)<br />

สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ :<br />

การสร้างสปอร์ที่ไม่เคลื่อนที่<br />

การแตกเป็ นชิ้นส่วน<br />

ส าหรับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ<br />

การผสมกันของแกมมีตของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่<br />

เคลื่อนที่ไม่ได้ เรียก spermatia และอวัยวะเพศเมีย<br />

เรียก carpogonia<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p. 369)


สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ phycoerythrin<br />

ไฟโคไซแอนิน<br />

ส่วนอาหารสะสมจะอยู ่ในรูปของ floridean strach และน ้ามัน<br />

ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

Porphyra หรือ จีฉ่าย (Gelidium) ใช้ผลิตวุ้น<br />

Chondrus crispus ซึ ่งเป็ นแหล่งของ caranginan<br />

Gelidium<br />

Chondrus crispus


ดิวิชันแซนโธไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียวแกมเหลือง<br />

เดิมจัดอยู ่ในดิวิชันคลอโรไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียว (green algae)<br />

พบได้มากในเขตอบอุ่น ทั ้งในน ้าจืด น ้าเค็ม และดิน<br />

ทั ้งในรูปเซลล์เดี่ยว โคโลนี เส้นสายที่แตกกิ่งก้านและไม่แตกกิ่งก้าน<br />

การสืบพันธุ์มีทั ้งแบบไม่อาศัยเพศ และอาศัยเพศ


การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

อาจเป็ นการสร้างซูโอสปอร์ที่เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลเจลลาซึ ่งมีขนาดยาวไม่เท่ากัน<br />

เส้นที่ยาวกว่ามักมีขนเล็ก ๆ อยู ่ 2 แถว<br />

บางชนิดสร้างสปอร์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้<br />

การแตกเป็ นชิ้นส่วน<br />

การแบ่งสองส่วน<br />

ขณะที่การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศไม่ค่อยพบมากนัก


สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ<br />

คลอโรฟิ ลล์ซี<br />

แคโรทีน<br />

ส่วนอาหารสะสม คือ น ้ามัน<br />

chrysolaminarin<br />

ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

Vaucheria<br />

Heterococcus<br />

Botryochloris<br />

Vaucheria<br />

Botryochloris


ดิวิชันคริสโทไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีทอง<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ในกลุ่มนี ้ส่วนใหญ่ด ารงชีวิตแบบเซลล์เดี่ยว<br />

บางชนิดที่มีลักษณะเป็ นโคโลนี หรือมีรูปร่างกลม เป็ นเส้นสายที่ไม่<br />

เคลื่อนที่<br />

บางชนิดเคลื่อนที่โดยอาศัยแฟลเจลลา<br />

บางชนิดเป็ นอะมีบอยด์ที่มีขาเทียม (pseudopod)<br />

สามารถกินอาหารด้วยขาเทียมได้


การสืบพันธุ์มีทั ้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ<br />

ส่วนใหญ่จะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งสองส่วน<br />

อาจมีการผสมกันของแกมีตแบบไอโซแกมัส<br />

สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์ซี<br />

แคโรทีน ฟิ วโคแซนทิน (flucoxanthin)<br />

ส่วนอาหารสะสม คือ น ้ามัน และคริสโซลามินาริน


ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

โอโชรโมแนส (Ochromonas)<br />

<strong>สาหร่าย</strong>เซลล์เดียว ที่มีแฟลเจลลาที่ยาวไม่เท่ากัน<br />

ไครซามีบา (Chrysamoeba)<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ที่มีเซลล์คล้ายอะมีบา<br />

มีไรโซโพเดียมยื่นออกมาจากโพรโทพลาซึม<br />

Ochromonas<br />

Chrysamoeba


ดิวิชันฟี โอไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีน ้าตาล<br />

มีขนาดใหญ่ที่สุด<br />

ส่วนใหญ่อาศัยอยู ่ในทะเล และมักอยู ่ในน ้าเย็น<br />

มีแฟลเจลลา 2 เส้น ขนาดไม่เท่ากันอยู ่ด้านข้างของเซลล์<br />

มีโครงสร้างที่ซับซ้อน<br />

หลายชนิดมีส่วนยึดเกาะคล้ายรากพืช (holdfast)<br />

บางชนิดมีถุงอากาศ (air bladder)<br />

หรือเคลบ(kelp) ขนาดใหญ่<br />

เคลบ<br />

ที่มา (Bauman, 2003, p. 369)<br />

ลอยตัวอยู ่ในน ้าได้


การสืบพันธุ์มีทั ้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ<br />

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ<br />

ไอโซแกมัส<br />

เฮเทอโรแกมัส<br />

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

ซูโอสปอร์


้ สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์ซี<br />

คาโรทีน ฟิ วโคแซนทิน<br />

ส่วนอาหารสะสม คือ<br />

น ้าตาลลามินาริน (lamiinarin)<br />

คาร์โบไฮเดรตที่ละลายน ้า และน ้ามัน<br />

ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

เพอริสปอโรชนัส (Perisporochnus)<br />

ซาร์กาสซัม (Sargassum)<br />

แลนด์สเบอเกีย (Landsburgia)


ดิวิชันบาซิลลาริโอไฟโคตา หรือไดอะตอม<br />

การเจริญเป็ นเซลล์เดี่ยว โคโลนี หรือเส้นสายที่มีรูปร่างแตกต่างกัน<br />

หลายแบบ<br />

เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้มีแฟลเจลลาหนึ ่งเส้นที่ด้านหน้าเซลล์<br />

<strong>สาหร่าย</strong>ในกลุ่มนี ้ถูกน ามาใช้ประโยชน์เป็ นสารขัดต่าง ๆ เช่น<br />

ยาสีฟัน น ้ายาขัดรถ และน ้ายาขัดโลหะ


้ สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์ซี<br />

แคโรทีน ฟิ วโคแซนทิน (fucoxanthin)<br />

ส่วนอาหารสะสม คือ น ้ามัน และคริสโซลามินาริน (chrysolaminarin)<br />

ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

Cocconeis placentula<br />

Melosira varians<br />

Cocconeis placentula


ดิวิชันยูกลีโนไฟโคไฟตา หรือยูกลีนอยด์<br />

เป็ น<strong>สาหร่าย</strong>เซลล์เดียว สีเขียวอ่อน ที่มีลักษณะคล้ายพืชและสัตว์<br />

ลักษณะที่คล้ายเซลล์สัตว์คือ<br />

เป็ นเซลล์เดี่ยว<br />

เคลื่อนโดยใช้แฟลเจลลา : อาจมีหนึ ่ง สอง หรือสามเส้น<br />

ที่ปลายด้านบนของเซลล์<br />

ผนังเซลล์ไม่มีเซลลูโลสเป็ นส่วนประกอบ<br />

มีจุดรับแสง (eyespot หรือ stigma)<br />

คอนแทรกไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole)<br />

และไฟบริลภายในเซลล์<br />

ลักษณะที่แต่จะคล้ายพืช คือมีคลอโรพลาสต์ สังเคราะห์แสงได้


สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี<br />

เบตาคาโรทีน (-carotene)<br />

ส่วนอาหารสะสม: แป้ งที่ไม่ละลายน ้าชื่อพาราไมลอน (paramylon)<br />

น ้ามัน


ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

ยูกลีนา แอสคัส (Euglena ascus)<br />

ทราชีโลโมแนส (Trachelomonas)


Trachelomonas<br />

ที่มา (Perry and Morton, 1996, p. 18)


Euglena ascus<br />

ที่มา (Perry and Morton, 1996, p. 18)


ดิวิชันคลอโรไฟโคไฟตา หรือ<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียว<br />

ถือเป็ น<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มใหญ่ที่สุดใน<strong>สาหร่าย</strong>ทั ้งหมด<br />

พบอาศัยอยู ่ในน ้าจืด น ้าเค็ม และบนบก<br />

มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน เช่น รูปถ้วย ตาข่าย และขดดาว<br />

อาจอยู ่ในลักษณะเซลล์อิสระ อยู ่รวมกันเป็ นโคโลนี เป็ นกลุ่มหรือเป็ นสาย<br />

มีทั ้งที่เคลื่อนที่ได้ โดยแฟลเจลลา :อาจมีหนึ ่ง สอง สี่เส้น หรือมากกว่า<br />

พวกเคลื่อนที่ไม่ได้


การสืบพันธุ์มีทั ้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ<br />

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ<br />

ไอโซแกมัส<br />

เฮเทอโรแกมัส<br />

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ<br />

ซูโอสปอร์<br />

สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>สีเขียว ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี และแคโรนีน<br />

ส่วนอาหารสะสมจะอยู ่ในรูปของแป้ ง และน ้ามัน


ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้


Volvox


Chlamydomonas


Acetabularia


Micrasterias


Spirogyra


ดิวิชันคริปโทไฟโคไฟตา หรือคริปโทโมแนด<br />

ด ารงชีวิตแบบเซลล์เดี่ยว<br />

มีรูปร่างแบนทั ้งด้านบนและล่างคล้ายรองเท้าแตะ<br />

อาจมีผนังเซลล์ หรือไม่มีก็ได้ขึ ้นอยู ่กับแต่ละชนิด<br />

มีแฟลเจลลาสองเส้นออกจากฐานร่อง (groove)<br />

สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ : ซูโอสปอร์ ซีสต์ หรือแบ่งสองส่วนตามยาว


สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์ซี<br />

แคโรทีน ไฟโคอิริทริน<br />

ไฟโคไซแอนิน<br />

อาหารสะสมอยู ่ในรูปของแป้ ง และน ้ามัน


ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้<br />

Cryptomonas similis<br />

Chilomonas paramecium


ดิวิชันไฟร์โรไฟโคไฟตา หรือไดโนแฟลเจลเลต<br />

ด ารงชีวิตแบบเซลล์เดี่ยว<br />

พบทั ้งในน ้าเค็ม น ้ากร่อย และน ้าจืด<br />

ส่วนมากไม่มีผนังเซลล์<br />

บางชนิดอาจมีแผ่นเซลลูโลส (cellulose plate) ในเยื่อหุ้มเซลล์<br />

ท าให้มีลักษณะคล้ายเกราะ เรียกว่าธีคัลเพลท (thecal plates)<br />

มีลักษณะรูปร่างแบน มีร่องตามขวางและตามยาว<br />

มีแฟลเจลลาสองเส้นอยู ่ในร่องทั ้งสองนี ้


สารสีที่พบใน<strong>สาหร่าย</strong>กลุ่มนี ้ ประกอบด้วย<br />

คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์ซี และแคโรทีน<br />

ส่วนอาหารสะสมอยู ่ในรูปของแป้ ง และน ้ามัน


ตัวอย่างของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันนี ้


Ceratium


ค าถามท้ายบท<br />

1. จงยกตัวอย่างรูปร่างของ<strong>สาหร่าย</strong>มา 3 แบบ<br />

2. แฟลเจลลาของ<strong>สาหร่าย</strong>มีกี่แบบ จงอธิบาย<br />

3. จงอธิบายการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ<strong>สาหร่าย</strong> พร้อมยกตัวอย่าง<br />

4. จงอธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ<strong>สาหร่าย</strong> พร้อมยกตัวอย่าง<br />

5. คุณลักษณะที่ใช้ในการจัดจ าแนก<strong>สาหร่าย</strong>มีอะไรบ้าง อธิบาย<br />

6. จงอธิบายลักษณะที่ส าคัญของ<strong>สาหร่าย</strong>ในดิวิชันต่าง ๆ พร้อมยกตัวอย่าง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!