06.09.2015 Views

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที่ 3<br />

เทคนิคเบื้องต้นทางจุลชีววิทยา


์<br />

จุลินทรีย์เป็ นสิ่งมีชีวิตขนำดเล็ก<br />

ไม่สำมำรถมองเห็นได้ด้วยตำเปล่ำ<br />

ในธรรมชำติยังเจริญอยู ่ร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่น<br />

กำรศึกษำจุลินทรีย์จึงต้องอำศัยเทคนิคและวิธีกำรหลำย ๆ อย่ำง<br />

กล้องจุลทรรศน์<br />

กำรย้อมสี<br />

กำรแยกจุลินทรีย์ให้บริสุทธิ<br />

กำรเก็บรักษำจุลินทรีย์<br />

เพื่อท ำกำรศึกษำ


ดังนั ้นในกำรศึกษำทำงจุลชีววิทยำ :<br />

ต้องเรียนรู้เทคนิคต่ำง ๆ ให้มีควำมช ำนำญ<br />

เพื่อให้กำรศึกษำจุลินทรีย์เป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ


loop<br />

needle<br />

http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Inoculation_loop.JPG


การเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์<br />

• สำมำรถท ำได้ 2 วิธี<br />

แบบใช้แสงธรรมดา<br />

1) กำรศึกษำจุลินทรีย์จำกของเหลว<br />

เพื่อท ำสไลด์สดหรือใช้เทคนิคหยด<br />

แขวน<br />

2) กำรตรึงเซลล์จุลินทรีย์ให้อยู ่กับที่<br />

และย้อมสีเพื่อให้สำมำรถสังเกตเห็น<br />

ควำมแตกต่ำงได้ชัดเจนยิ่งขึ ้น


การเตรียมสไลด์สดและเทคนิคหยดแขวน<br />

การเตรียมสไลด์สด (wet mount)<br />

กำรหยดเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์ลงบนสไลด์<br />

ปิ ดทับด้วยกระจกปิ ดสไลด์<br />

(วำงให้ด้ำนใดด้ำนหนึ ่งของกระจกปิ ดสไลด์สัมผัสกับหยดของเหลว)<br />

เอียงกระจกปิ ดสไลด์ช้ำ ๆ<br />

(ระวังไม่ให้เกิดฟองอำกำศ)<br />

ที ่มา<br />

(Brown, 2005, p.116)


เทคนิคหยดแขวน<br />

(hanging drop technology)<br />

กระจกปิ ดสไลด์<br />

สไลด์หลุม<br />

หยดน ้ำตัวอย่ำง<br />

ที ่มา<br />

(Brown, 2005, p.116)


กำรเสมียร์ (smear) เชื ้อ<br />

เกลี่ยจุลินทรีย์ให้กระจำยบำง ๆ บนสไลด์<br />

ทิ้งให้แห้ง<br />

ให้เชื ้อเรียงตัวกัน<br />

ในปริมำณที่<br />

พอเหมำะ ไม่แน่น<br />

จนเกินไป<br />

ควรเสมียร์ให้อยู ่ตรงกลำงสไลด์<br />

เพรำะจะท ำให้ง่ำยต่อกำรส่อง<br />

ดูภำยใต้กล้องจุลทรรศน์


กำรเสมียร์เชื ้อ (ต่อ)<br />

ต้องสเมียร์ให้เชื ้อกระจำยตัวบำง ๆ<br />

หำกหนำจะยำกต่อกำรสังเกตรูปร่ำง<br />

กำรจัดเรียงตัว และขนำดของเซลล์<br />

ยำกต่อกำรย้อมสีแบบ<br />

มำกกว่ำหนึ ่งสี<br />

กำรตรึงรอยสเมียร์ด้วยเปลวไฟ<br />

หำกให้ควำมร้อนนำนเกินไป จะเป็ นกำรท ำลำยรูปร่ำงของแบคทีเรีย


การตรึงรอยสเมียร์<br />

เพื่อให้เซลล์ของจุลินทรีย์ติดแน่นกับสไลด์<br />

เพื่อป้ องกันจุลินทรีย์หลุดออกจำกสไลด์ ระหว่ำงขั ้นตอนกำรย้อมหรือล้ำงสี<br />

น ำสไลด์ที่รอยสเมียร์แห้งแล้วมำลนผ่ำนเปลวไฟอย่ำงรวดเร็ว 2-3 ครั ้ง<br />

เพื่อดึงน ้ำออกจำกเซลล์ ท ำให้เซลล์ติดแน่นกับสไลด์


การตรึงรอยสเมียร์ (ต่อ)<br />

วำงสไลด์ที่รอยสเมียร์แห้งแล้วบนเครื่องอุ่นสไลด์<br />

ที่อุณหภูมิ 60 องศำเซลเซียส นำน 10 นำที<br />

หรือ<br />

หยดเมธำนอลเข้มข้น 95 เปอร์เซ็นต์<br />

ลงบนรอยสเมียรที่แห้ง นำน 1 นำที<br />

ล้ำงเมธำนอลออกด้วยน ้ำสะอำด


การตรึงรอยสเมียร์ (ต่อ)<br />

กำรสเมียร์เชื ้อจำกตัวอย่ำงทำงสิ่งแวดล้อม<br />

หรือตัวอย่ำงทำงกำรแพทย์ด้วยเทคนิคสวอป<br />

(swab)<br />

ใช้ส ำลีพันปลำยไม้ปลอดเชื ้อจุ่มตัวอย่ำงตรงกลำงสไลด์<br />

ทิ้งรอยสเมียร์ให้แห้งในอำกำศ<br />

ตรึงรอยสเมียร์


กรณีเพำะเลี้ยงเชื้อในอำหำรเหลว<br />

บริเวณสเมียร์เชื ้อ<br />

กรณีเพำะเลี้ยงเชื้อในอำหำรแข็ง<br />

การตรึงรอยสเมียร์<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 92)


การย้อมสีจุลินทรีย์<br />

ศึกษำรูปร่ำง ลักษณะ กำรจัดเรียงตัวของเซลล์<br />

และโครงสร้ำงบำงอย่ำงของจุลินทรีย์<br />

การย้อมสีแบบธรรมดา (simple stain)<br />

การย้อมสีแบบเนกาทีฟ (negative staining)<br />

การย้อมสีมากกว่าหนึ่งสี (differential stain)


การย้อมสีแบบธรรมดา (simple stain)<br />

ย้อมสีจุลินทรีย์ด้วยสีเพียงชนิดเดียว<br />

เซลล์ที่ย้อมจะติดสีเสมอกัน<br />

ช่วยให้ศึกษำรูปร่ำงและขนำดของเซลล์ได้ดียิ่งขึ<br />

้น<br />

ไม่สำมำรถบอกรำยละเอียดของโครงสร้ำงภำยในเซลล์ได้<br />

อำจเติมสำรเคมีลงไปในสีเพื่อให้สีจับวัตถุได้ดีขึ ้น “mordant”<br />

ไอโอดีน<br />

โปแตสเซียมไอโอไดด์<br />

ตัวอย่ำงสีย้อม : methylene blue<br />

crystal violet<br />

carbon fuchsin<br />

S. aureus


การย้อมสีแบบเนกาทีฟ (negative staining)<br />

ศึกษำลักษณะรูปร่ำงของจุลินทรีย์ โดยเซลล์ไม่ถูกย้อม<br />

แต่สีจะไปติดแน่นกับแผ่นสไลด์<br />

เมื่อส่องดูจะมองเห็นเซลล์ได้ชัดเจนขึ ้น<br />

ข้อดี ขนำดและรูปร่ำงของแบคทีเรียไม่เปลี่ยนแปลง<br />

ไม่มีควำมร้อน มำท ำให้รูปร่ำงผิดไปจำกควำมจริง<br />

Negatively Stained Cocci<br />

http://homepages.wmich.edu/~rossbach/bios312/LabProcedures/Negative%20stain%20results.html


1 2<br />

3 4<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 97)


http://www.ruf.rice.edu/~bioslabs/studies/sds-page/bloodcytology.html


Negatively Stained Bacillus:<br />

(A) Vegetative Cell<br />

(B) Endospore<br />

http://homepages.wmich.edu/~rossbach/bios312/LabProcedures/Negative%20stain%20results.html


การย้อมสีมากกว่าหนึ่งสี (differential stain)<br />

เป็ นกำรย้อมสีจุลินทรีย์ด้วยสีย้อม >1 ชนิด<br />

สีย้อมต่ำงชนิดกันย้อมติดส่วนต่ำง ๆ ของเซลล์ไม่เท่ำกัน<br />

ท ำให้เห็นควำมแตกต่ำงของเซลล์หรือองค์ประกอบของเซลล์


การย้อมสีแบบแกรม (Grams’ stain)<br />

จ ำแนกแบคทีเรียเป็ น 2 กลุ่ม (ควำมแตกต่ำงของผนังเซลล์แบคทีเรีย)<br />

G+ มีผนังเซลล์เป็ น peptidoglycan<br />

ที่หนำกว่ำ<br />

มีกรดไทโชอิกซึ ่งมีประจุลบอยู ่ใน<br />

ชั ้นผนังเซลล์<br />

ไม่มีลิปิ ดเป็ นองค์ประกอบ<br />

มีชั ้นเพปติโดไกลแคนในผนังเซลล์บำงกว่ำ<br />

ผนังชั ้นนอกที่มีสำรประกอบเป็ นไขมัน<br />

(lipopolysaccharide)<br />

สีครัสตัสไวโอเลตที่ย้อมครั ้งแรกหลุดออก<br />

เมื่อชะสีด้วยสำรชะ<br />

เซลล์ติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเลต<br />

เซลล์จึงติดสีแดงของซำฟรำนิน<br />

ล้ำงไม่ออกเมื่อเติมสำรชะสี : อะซิโตน/เอธำนอล


สไลด์ที่ท ำกำรตรึงรอยสเมียร์ของแบคทีเรีย<br />

หยดสีคริสตัลไวโอเลตให้ท่วมเชื ้อที่เกลี่ย<br />

20 วินำที<br />

เทสีทิ้ง แล้วล้ำงด้วยน ้ำกลั่น<br />

หยดสำรละลำยลูกอลไอโอดีนหรือแกรมไอโอดีนบนรอยสเมียร์<br />

1 นำที


ล้ำงสำรละลำยลูกอลไอโอดีนหรือแกรมไอโอดีนออกด้วยน ้ำกลั่น<br />

เอียงสไลด์ 45º ล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ 95%<br />

ประมำณ 15 วินำที หรือจนกระทั่งไม่มีสีละลำยออกมำ<br />

ล้ำงด้วยน ้ำกลั่นทันที<br />

เพื่อหยุดปฏิริยำกำรล้ำงสี<br />

หยดสีซำฟรำนินบนรอยสเมียร์<br />

1 นำที<br />

ล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน ้ำกลั่น


ซับน ้ำให้แห้ง<br />

ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์<br />

G + G-


http://academic.pgcc.edu/~kroberts/Lecture/Chapter%204/gramstain.html


การย้อมสีแบบทนกรด<br />

ผนังเซลล์ของแบคทีเรียบำงชนิดมีไขมัน mycolic acid สูง<br />

ติดสีย้อมยำก<br />

แต่ติดสีแล้วไม่สำมำรถชะออกได้<br />

ด้วยสำรชะสีที่เป็ นกรดแอลกอฮอล์<br />

Mycobacterium tuberculosis<br />

ท ำให้เกิดโรควัณโรค<br />

http://pathmicro.med.sc.edu/infectious%20disease/<br />

mycobacterial%20diseases.htm


mycolic acid ช่วยป้ องกันสำรล้ำงสีซึมเข้ำไป<br />

แบคทีเรียทนกรด<br />

(acid-fast bacteria)<br />

แบคทีเรียไม่ทนกรด<br />

(non acid-fast bacteria)<br />

Mycobacterium sp.: วัณโรค และโรคเรื ้อน<br />

Nocardia sp. : โรค mycetoma<br />

สำมำรถแยกแบคทีเรีย 2 จีนัสนี ้<br />

ออกจำกแบคทีเรียอื่น


1) วิธีของซีล-นีลเซน (Ziehl-Neelsen) :ใช้ควำมร้อน<br />

วำงสไลด์ที่มีรอยสเมียร์บนลวดรองสไลด์ที่พำดอยู ่บนบีกเกอร์ที่มีน ้ำต้มเดือด<br />

หยดสีคำร์บอลฟุคซินให้ท่วมรอยสเมียร์ นำน 3-5 นำที<br />

ผ่ำนน ้ำสะอำดเบำ ๆ หยดแอลกอฮอล์กรดลงบนรอยสเมียร์<br />

เพื่อล้ำงสี นำน 1-2 นำที หรือจนกระทั่งไม่มีสีละลำยออกมำ<br />

ล้ำงด้วยน ้ำสะอำด ซับให้แห้ง


ย้อมทับด้วยสีเมทิลีนบลู 2-5 นำที<br />

ล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน ้ำสะอำด ซับให้แห้ง<br />

ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ก ำลังขยำย 100 เท่ำ


2) วิธีของคินยูน (Kinyoun) :ไม่ใช้ควำมร้อน<br />

หยดสีคำร์บอลฟุคซินให้ท่วมรอยสเมียร์ นำน 3-5 นำที<br />

ผ่ำนน ้ำสะอำดเบำ ๆ หยดแอลกอฮอล์กรดลงบนรอยสเมียร์<br />

เพื่อล้ำงสี นำน 1-2 นำที หรือจนกระทั่งไม่มีสีละลำยออกมำ<br />

ล้ำงด้วยน ้ำสะอำด ซับให้แห้ง


ย้อมทับด้วยสีเมทิลีนบลู 2-5 นำที<br />

ล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน ้ำสะอำด ซับให้แห้ง<br />

ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ก ำลังขยำย 100 เท่ำ<br />

PLAY


การย้อมแคปซูล<br />

แคปซูลเป็ นโครงสร้ำงที่ห่อหุ้มอยู ่ด้ำนนอกของเซลล์พบในแบคทีเรียบำงชนิด<br />

แคปซูลของแบคทีเรียส่วนใหญ่เป็ นสำรโพลีแซคคำไรด์<br />

ซึ ่งเป็ นสำรละลำยน ้ำและไม่มีประจุ<br />

ท ำให้ยำกต่อกำรติดสีย้อมโดยตรง<br />

กำรย้อมสีที่ตัวเซลล์และบริเวณสไลด์<br />

ไม่ย้อมสีแคปซูล<br />

แคปซูลในลักษณะใสอยู ่รอบตัวเซลล์<br />

รูปร่ำงของแคปซูลจะขึ ้นอยู ่กับรูปร่ำงของแบคทีเรีย


ย้อมแบคทีเรียตำมวิธีเนกำทีฟ<br />

ทิ้งให้แห้ง<br />

หยดสีซำฟรำนินหรือคริสตัลไวโอเลตให้ทั่ว<br />

1 นำที<br />

ล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน ้ำสะอำด<br />

ซับน ้ำส่วนเกินออกให้แห้ง<br />

ตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ก ำลังขยำย 100 เท่ำ


การย้อมเอนโดสปอร์<br />

โครงสร้ำงพิเศษที่พบในแบคทีเรียแกรมบวกบำงชนิด<br />

ช่วยให้แบคทีเรียสำมำรถมีชีวิตรอดภำยใต้สภำวะที่ไม่เหมำะสมต่อกำรเจริญได้<br />

Thick outer spore coat<br />

protein coat<br />

ช่วยปกป้ องเอนโดสปอร์จำกสำรเคมีที่เป็ นพิษ<br />

Sporangium (mother cell)


เอนโดสปอร์มีผนังหนำ มีน ้ำเป็ นองค์ประกอบน้อยมำกหรือไม่มีเลย<br />

กำรย้อมสี<br />

ต้องใช้ไอน ้ำร้อนช่วยท ำลำยพันธะที่ผนังสปอร์ (spore coat)<br />

ท ำให้ผนังสปอร์บวมและขยำยตัวออก<br />

สีย้อมผ่ำนเข้ำไปได้


วำงสไลด์ที่ตรึงรอยสเมียร์แล้วบนปำกบีกเกอร์<br />

ที่ใส่น ้ำต้มเดือด<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 108)


หยดสีมำลำไคท์-กรีนลงบน<br />

รอยสเมียร์ นำน 5-10 นำที<br />

คีบสไลด์ออก เทสีส่วนเกินทิ้ง<br />

ปล่อยให้เย็น<br />

ผ่ำนน ้ำสะอำดเบำ ๆ จนน ้ำล้ำงไม่<br />

มีสีติดออกมำ ซับให้แห้ง<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 108)


หยดสีซำฟรำนินให้ท่วมรอยสเมียร์<br />

นำน 1 นำที<br />

ล้ำงสีออกด้วยน ้ำสะอำด<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 108)


ซับให้แห้ง<br />

ที่มำ (Brown, 2005, p. 108)


การย้อมแฟลเจลลา<br />

‣แฟลเจลลำเป็ นโครงสร้ำงที่พบในแบคทีเรียที่<br />

เคลื่อนที่ได้<br />

‣มีลักษณะเป็ นเส้นขนำดเล็ก บำงมำก และเปรำะ<br />

ขำดง่ำย<br />

‣มักมีควำมยำวมำกกว่ำตัวเซลล์<br />

ต้องย้อมสีโดยใส่สำร “มอร์แดนท์”<br />

สีย้อมจับบนเส้นแฟลเจลลำ<br />

ขนำดใหญ่ขึ ้น


ซัสเพนชันของแบคทีเรียที่เลี้ยงบน slant agar<br />

อายุ 6-12 ชั่วโมง<br />

ท าความสะอาดสไลด์โดยแช่ใน chromic acid<br />

นาน 24 ชั่วโมง<br />

ค่อย ๆ หยดน ้ากลั่นปลอดเชื้อลงบนเชื้อ<br />

ล้างให้สะอาดด้วยน ้ากลั่น<br />

เอียงหลอดเบาๆ:เชื้อหลุดออกจากผิวหน้า slant<br />

ปิ เปตเชื้อบริเวณผิวหน้าของซัสเพนชัน 0.1 ml


่<br />

เทคนิคการถ่ายเชื้อจุลินทรีย์<br />

กำรศึกษำแบคทีเรียนั ้น จ ำเป็ นจะต้องมีกำรถ่ำยเชื ้ออยู<br />

เป็ นประจ ำ<br />

เริ่มตั ้งแต่กำรแยกเชื ้อให้บริสุทธิ ์ กำรเพำะเลี ้ยง กำร<br />

ทดสอบ และกำรเก็บรักษำ<br />

กำรถ่ำยเชื ้อจึงเป็ นเทคนิคเบื ้องต้นที่ส ำคัญ<br />

ส ำหรับผู้ปฏิบัติงำนทำงจุลชีววิทยำ<br />

ต้องทรำบเป็ นอย่ำงดี พร้อมทั ้งปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้อง


การท าให้ห่วงหรือลวดเขี่ยเชื้อปราศจากเชื้อ<br />

ถือห่วงหรือลวดเขี่ยเชื ้อในลักษณะคล้ำยดินสอ<br />

ลนผ่ำนเปลวไฟจนกระทั่งลวดกลำยเป็ นสีแดงตลอดทั ้งเส้น<br />

ทิ้งให้ห่วงเขี่ยเชื ้อเย็น (ห้ำมสัมผัสสิ่งใด)<br />

ที่มำ<br />

(http://www.rlc.dcccd.edu/MATHSCI/reynolds/<br />

MICRO/lab_manual/ transfers.html, 2007)


การถ่ายเชื้อจากอาหารเหลวลงสู ่อาหารเหลว<br />

เขย่ำเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์เบำ ๆ เพื่อให้เชื ้อกระจำยตัว<br />

ใช้ห่วงเขี่ยเชื ้อที่ปรำศจำกเชื ้อถ่ำยเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์<br />

ลงในหลอดอำหำรเหลวที่ปรำศจำกเชื ้อ<br />

ที่มำ<br />

(http://www.rlc.dcccd.edu/MATHSCI/reynolds/<br />

MICRO/lab_manual/ transfers.html, 2007)


การถ่ายเชื้อจากอาหารเหลวลงสู ่อาหารแข็งผิวหน้าเอียง<br />

เขย่ำเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์เบำ ๆ เพื่อให้เชื ้อกระจำยตัว<br />

ใช้ห่วงเขี่ยเชื ้อที่ปรำศจำกเชื ้อถ่ำยเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์<br />

ลงในหลอดอำหำรผิวหน้ำเอียงที่ปรำศจำกเชื ้อในลักษณะ<br />

ซิกแซกจนสุดควำมยำวของผิวหน้ำอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ


การถ่ายเชื้อจากอาหารเหลวลงสู ่อาหารแข็งผิวหน้าตรง<br />

เขย่ำเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์เบำ ๆ เพื่อให้เชื ้อกระจำยตัว<br />

ใช้ลวดเขี่ยเชื ้อที่ปรำศจำกเชื ้อถ่ำยเซลล์แขวนลอยของจุลินทรีย์ลง<br />

ในหลอดอำหำรแข็งผิวหน้ำตรงที่ปรำศจำกเชื ้อในลักษณะแทง<br />

ตรง ๆ ลงไปลึกประมำณ ¾ ของควำมยำวของอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ<br />

ที่มำ<br />

(http://www.rlc.dcccd.edu/MATHSCI/reynolds/MICRO/<br />

lab_manual/ transfers.html, 2007)


การถ่ายเชื้อจากจานเพาะเชื้อลงสู ่อาหารแข็งผิวหน้าเอียง<br />

เปิ ดฝำจำนเพำะเชื ้อที่มีแบคทีเรียเจริญอยู ่ขึ ้นเล็กน้อย<br />

ใช้ห่วงเขี่ยเชื ้อที่ปรำศจำกเชื ้อเขี่ยเชื ้อจำกโคโลนีเดี่ยว<br />

ที่เจริญบนผิวหน้ำอำหำรแข็งในจำนเพำะเชื ้อ<br />

ถ่ำยเชื ้อลงบนอำหำรแข็งผิวหน้ำเอียงที่ปรำศจำกเชื ้อ<br />

ในลักษณะซิกแซกจนสุดควำมยำวของอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ


้<br />

การแยกเชื้อจุลินทรีย์<br />

กำรแยกเชื ้อจุลินทรีย์เป็ นกำรแยกจุลินทรีย์ที่เจริญอยู ่ร่วมกับ<br />

สิ่งมีชีวิตอื่นออกให้เป็ นเชื ้อบริสุทธิ ์ (pure culture)<br />

เพื่อใช้ในกำรศึกษำลักษณะและคุณสมบัติต่ำง ๆ ของเชื เชื ้อ ้อชนิดเดียวกัน<br />

สำมำรถท ำได้หลำยวิธีดังนี<br />

ทุกเซลล์เหมือนกันทุกประกำร<br />

http://www.dwscientific.co.uk/whitley_workstations.php


การขีดเชื้อในจานเพาะเชื้อ (streak plate)<br />

ลดจ ำนวนจุลินทรีย์โดยกำรใช้ห่วงเขี่ยเชื ้อลำกเซลล์จุลินทรีย์<br />

บนผิวหน้ำของอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ<br />

จนกระทั่งกระจำยเป็ นเซลล์เดี่ยว ๆ<br />

เมื่อเวลำผ่ำนไปเจริญเพิ่มจ ำนวนเป็ นโคโลนีเดี่ยว<br />

สำมำรถย้ำยและถ่ำยต่อเพื่อศึกษำลักษณะของจุลินทรีย์


http://diverge.hunter.cuny.edu/~weigang/Lecture-syllabus.html


การเทเพลทแบบเจือจางด้วยห่วงเขี่ยเชื้อ (pour plate technique)<br />

กำรนับจ ำนวนจุลินทรีย์หรือกำรแยกแบคทีเรียที่อยู ่ปะปนกันหลำยชนิดออกจำกกัน<br />

โดยผสมจุลินทรีย์เข้ำกับอำหำรเลี ้ยงเชื ้อจุลินทรีย์แบบแข็ง<br />

ในระหว่ำงที่อุณหภูมิของอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ อยู ่ที่ประมำณ 45-50ºC<br />

เขย่ำเบำ ๆ เพื่อให้จุลินทรีย์กระจำยตัวอยู ่ในอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ ของเหลว<br />

ปล่อยให้เชื ้อเจริญในสภำวะที่เหมำะสม<br />

โคโลนีของจุลินทรีย์เจริญกระจำยอยู ่ทั่วไปทั ้งบนผิวหน้ำและในอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ<br />

อำจต้องท ำกำรเจือจำงจุลินทรีย์ให้พอเหมำะก่อน<br />

ท ำให้ไม่สำมำรถแยกให้บริสุทธิ ์ ได้


ที่มำ (Cowan and Talaro, 2002, p. 63)


http://www.agro.kmutnb.ac.th/e-learning/521302/1.php


กำรให้เชื ้อกระจำยในจำนเพำะเชื ้อ (spread plate)<br />

เป็ นเทคนิคท ำให้ของเหลวที่มีแบคทีเรียไม่บริสุทธิ ์ ปนอยู ่กระจำยบนผิวหน้ำ<br />

ของอำหำรแข็งในจำนเพำะเชื ้อ และปล่อยให้เจริญเป็ นโคโลนีเดี่ยว<br />

ถ่ำยเชื ้อจำกตัวอย่ำง 0.1ml ลงตรงกลำงผิวหน้ำอำหำรเลี ้ยงเชื ้อ<br />

ใช้ spreader ปรำศจำกเชื ้อกระจำยเชื ้อแบคทีเรีย<br />

ให้ทั่วผิวหน้ำอำหำรเลี ้ยงเชื ้อในจำนเพำะเชื ้อ<br />

บ่มที่อุณหภูมิที่เหมำะสม นำน 24-48 ชั่วโมง<br />

PLAY


ตัวอย่างจุลินทรีย์<br />

1 มิลลิลิตร 1 มิลลิลิตร 1 มิลลิลิตร 1 มิลลิลิตร<br />

น ้าเกลือ<br />

0.85 เปอร์เซ็นต์<br />

0.1 มิลลิลิตร<br />

0.1 มิลลิลิตร 0.1 มิลลิลิตร 0.1 มิลลิลิตร 0.1 มิลลิลิตร<br />

อาหารเลี ้ยงเชื ้อ<br />

ที่มำ (Bauman, 2003, p. 190)


http://www.thirteen.org/edonline/lessons/sci_bacteria/b.html


ค าถามท้ายบท<br />

• กำรเตรียมสไลด์สดและเทคนิคกำรหยดแขวนต่ำงจำกวิธี<br />

กำรศึกษำด้วยสไลด์ธรรมดำอย่ำงไร<br />

• เพรำะเหตุใดจึงต้องท ำกำรตรึงรอยสเมียร์<br />

• จงบอกข้อดีของกำรศึกษำจุลินทรีย์ด้วยกำรย้อมสีแบบเนกำทีฟ<br />

• ในกำรย้อมสีแบบแกรมสำมำรถแยกจุลินทรีย์ออกเป็ นกี่กลุ่ม<br />

สังเกตได้อย่ำงไร<br />

• เพรำะเหตุใดกำรย้อมเอนโดสปอร์จึงต้องอำศัยควำมร้อน<br />

• จงอธิบำยควำมแตกต่ำงระหว่ำงเทคนิคกำรเทเพลทและกำรท ำ<br />

ให้เชื ้อกระจำยในจำนเพำะเชื ้อ


บทที่ 3<br />

เทคนิคเบื้องต้นทางจุลชีววิทยา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!