16.07.2015 Views

นิยามศัพท์เฉพาะ - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นิยามศัพท์เฉพาะ - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นิยามศัพท์เฉพาะ - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>นิยามศัพท์เฉพาะ</strong>กระบวนการ (Process): กิจกรรม (Activity) หรือชุดของกิจกรรมที่สัมพันธ์กัน ที่ทําการเปลี่ยนปัจจัยนําเข้า(Input) ให้เป็นผลผลิต (Output) ที่มีมูลค่าเพิ่ม (Value-Added)กลไก (Mechanism): ส่วนย่อย (Parts) ของระบบที่มีองค์ประกอบจํานวนหนึ่งทําหน้าที่ร่วมกัน องค์ประกอบเหล่านี้หมายรวมถึง ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรทางกายภาพ วิธีปฏิบัติ (Operation Method) และ/หรือ ระเบียบปฏิบัติ(Procedures)กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์(Strategy): แนวทางหรือวิธีทํางานที่ดีที่สุด เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ ภารกิจและวิสัยทัศน์ที่กําหนดไว้ ตัวอย่าง เช่น "จัดทําระบบฐานข้อมูลและระบบเครือข่ายที่สมบูรณ์และทันสมัย" หรือ "พัฒนาวิธีการลดต้นทุนการบริหารจัดการ"การควบคุมคุณภาพ (Quality Control): การมีระบบและกลไกในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพ เพื่อกํากับการดําเนินงานของสถานศึกษา ให้ได้ผลตามรายการตรวจสอบและตัวบ่งชี้คุณภาพที่กําหนดการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit): กระบวนการในการศึกษาวิเคราะห์ว่าสถาบันมีระบบและกลไกกํากับและควบคุมคุณภาพ และมีการปฏิบัติตามระบบและกลไกดังกล่าวการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management): ศาสตร์และศิลป์ ในการดําเนินการในสามกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน คือ การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) การปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ (Strategic Implementation) และการควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic Control and Evaluation)การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance): การมีระบบและกลไกในการควบคุมตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพ ตามรายการตรวจสอบ (Audit Checklist) และตัวบ่งชี้คุณภาพ(Quality Indicators) ที่กําหนด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู ้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้มั่นใจว่าสถานศึกษาแห่งนั้นสามารถให้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพการประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance): การติดตามตรวจสอบและการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้นการประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance): การติดตามตรวจสอบและการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ สมศ. รับรองเพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment): กระบวนการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบผลการดําเนินงานของสถานศึกษาตามรายการตรวจสอบและตัวบ่งชี้คุณภาพที่กําหนดว่าอยู ่ในระดับใดการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning): การวางแผนที่ครอบคลุมถึงการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ และการกําหนดกลยุทธ์ การกําหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ที่จะนําไปสู ่การบรรลุวิสัยทัศน์การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis): การวิเคราะห์เพื่อค้นหาจุดแข็ง(Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ซึ่งเป็นสภาพภายในขององค์กร และวิเคราะห์โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค(Threat) ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร ซึ่งรวมถึงปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี


การวิเคราะห์ปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี (PEST Analysis): การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรที่จะมีผลกระทบต่อความอยู ่รอด และการเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมุ ่งเน้นปัจจัยทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีการวิจัยเพื ่อพัฒนาการเรียนการสอน: การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในชั้นเรียน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและสัมฤทธิผลการเรียนรู ้ของนักศึกษา อาทิ วิธีการสอน วิธีการเรียนรู ้ของนักศึกษาอุปกรณ์และสื่อการสอน แหล่งเรียนรู ้ วิธีวัดและประเมินผล เป็นต้น ผลการวิจัยจะช่วยให้อาจารย์ผู ้สอนสามารถพัฒนาการเรียนการสอน ได้อย่างเป็นระบบยิ่งขึ้นการประเมินหลักสูตร: การประเมินคุณค่า ความทันสมัยและความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานของหลักสูตรแต่ละสาขาวิชา โดยอาศัยการรวบรวม วิเคราะห์และสรุปผลการสํารวจความเห็นของผู ้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์บัณฑิต และผู ้ว่าจ้างบัณฑิตในสาขาวิชานั้นๆ การประเมินหลักสูตรควรมีการดําเนินการเป็นประจําอย่างน้อยหนึ่งครั้งในรอบ 5 ปี และอาจมีการเสนอปรับปรุงหลักสูตรในกรณีจําเป็นการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research): การวิจัยเพื่อหาแนวทางและนโยบายการดําเนินการที่จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศชาติ โดยอาจนําผลการวิจัยเสนอแนะต่อรัฐบาลหรือแหล่งทุนวิจัยอื่นๆ ซึ่งจะเป็นการสร้างโอกาสในการขอความสนับสนุนการวิจัยต่อเนื่องที่จะเป็นการสร้างองค์ความรู ้ใหม่หรือนวัตกรรมต่างๆ ต่อไปการศึกษา (Education): กระบวนการเรียนรู ้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อันเกิดจาก การจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรียนรู ้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตเกณฑ์เปรียบเทียบ (Benchmarks): กระบวนการและผลลัพธ์ ซึ่งแสดงการปฏิบัติงานและผลการดําเนินงานที่เป็นเลิศสําหรับกิจกรรมที่คล้ายคลึงกันทั้งภายในและภายนอกประชาคม วิชาการ องค์กรทําการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ เพื่อให้เข้าใจมิติใหม่ของการดําเนินงานในระดับโลก เพื่อให้บรรลุผลในการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดเกณฑ์เปรียบเทียบ เป็นรูปแบบหนึ่งของข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบ องค์กรอาจจะใช้ข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ข้อมูลที่รวบรวมโดยบุคคลที่สามซึ่งส่วนมากจะเป็ นค่าเฉลี่ยขององค์กรต่างๆ ข้อมูลด้านผลการดําเนินงานขององค์กรทางการศึกษาหรือคู ่แข่งที่นํามาเทียบกันได้ รวมทั้งการเปรียบเทียบกับองค์กรที่คล้ายคลึงกันในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เดียวกันคุณภาพ (Quality): ผลรวมของคุณลักษณะและคุณสมบัติของผลผลิตได้แก่ บัณฑิต ผลงานวิจัย บริการวิชาการ ที่ทําให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู ้มีส่วนเกี่ยวข้องตัวบ่งชี้คุณภาพ (Quality Indicators): ตัวบ่งชี้ว่าการดําเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์หรือมาตรฐานที่พึงประสงค์ธรรมาภิบาล (Good Governance): ระบบการจัดการและควบคุม ที่ใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร รวมถึงความรับผิดชอบของหน่วยที่ทําหน้าที่บริหารองค์กร ตัวอย่างเช่น คณะกรรมการการศึกษา คณะกรรมการอํานวยการ และผู ้นําระดับสูงขององค์กร สําหรับสถาบันการศึกษาเอกชนบางแห่งอาจรวมถึงเจ้าของหรือผู ้ถือหุ ้น ทั้งนี้ข้อบังคับต่างๆ กฎบัตรกฎหมายหรือกฎระเบียบที่บังคับใช้ตลอดจนนโยบายขององค์กร จะระบุถึงสิทธิและความรับผิดชอบของผู ้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละฝ่าย ตลอดจนอธิบาย ถึงวิธีการกําหนดทิศทางและควบคุมองค์กร เพื่อสร้างหลักประกันในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้(1) ความรับผิดชอบที่ตรวจได้ขององค์กรต่อผู ้มีส่วนได้ส่วนเสีย(2) ความโปร่งใสในการดําเนินงาน(3) การปฏิบัติต่อผู ้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ ่มด้วยความยุติธรรม74


่กระบวนการต่างๆ ทางด้านธรรมาภิบาลอาจได้แก่ การอนุมัติทิศทางเชิงกลยุทธ์ขององค์กร การวางนโยบายและการบังคับใช้ การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของผู ้นําระดับสูง การวางแผนการสืบทอดตําแหน่ง การตรวจสอบทางการเงิน การกําหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์ต่างๆ ของผู ้นําระดับสูง ตลอดจนการบริหารความเสี่ยง การสร้างความมั่นใจในระบบ ธรรมาภิบาลที่มีประสิทธิผลขององค์กร มีความสําคัญต่อความเชื่อถือและไว้วางใจของผู ้มีส่วนได้ส่วนเสียและสังคมโดยรวม ตลอดจนประสิทธิผลขององค์กรนโยบาย (Policy): แนวทางกว้างๆ ที่กําหนดขึ้นสําหรับการปฏิบัติและการควบคุม ที่จะทําให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปัจจัยหลักแห่งความสําเร็จ (Key Success Factors): ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีการรู ้จักใช้ความสามารถอันโดดเด่นหรือความสามารถหลัก (Core Competencies) ขององค์กรให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการสร้างความสําเร็จให้เกิดขึ้นภายใต้สภาวะการแข่งขันขององค์กรต่างๆ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางการบริหาร อาทิ การวางแผนองค์กรและโครงสร้าง ทรัพยากร บุคคล ระบบทํางาน ระบบบัญชีและการเงิน ระบบพัสดุ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สถานภาพในการแข่งขัน และการพัฒนาองค์กรปรัชญา (Philosophy): ระบบความเชื่อที่เป็นผลจากการแสวงหาความรู ้และความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและการแสวงหาความหมายของชีวิตและสรรพสิ่งต่างๆประสิทธิผล (Effectiveness): ผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามแผนดําเนินการ ที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประสิทธิภาพ (Efficiency): ผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามแผนดําเนินการ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรน้อยที่สุดปณิธาน (Will): ความตั้งใจหรือความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะบรรลุจุดมุ ่งหมายที่ตนเองให้คุณค่าและมีความเชื่อซึ่งก่อให้เกิดพลังจิต ที่จะกําหนดความคิดและการกระทําของตนเองแผน (Plan): ความคิดหรือวิธีการที่ได้ผ่านการคิดอย่างละเอียดมาแล้วล่วงหน้าสําหรับชี้นําการดําเนินการใดๆการวางแผนมักมีการกําหนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และกรอบเวลาของแผนอย่างชัดเจนแผนดําเนินการ (Operation Plan) / แผนปฏิบัติการ (Action Plan): ความคิดหรือวิธีการที่ได้ผ่านการคิดและวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ หรือ SWOT Analysis อย่างละเอียดมาแล้ว สําหรับชี้นําการดําเนินการตามกลยุทธ์ที่จะนําไปสูการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร การจัดทําแผนปฏิบัติการจะมีการระบุวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย การจัดสรรทรัพยากร และกรอบเวลาของแผนอย่างชัดเจนแผนดําเนินการประจําปี : แผนดําเนินการที่กําหนดขึ้นสําหรับชี้นําการดําเนินการในแต่ละปี โดยมีการระบุวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย การจัดสรรทรัพยากร และกรอบเวลาอย่างชัดเจนผลผลิตทางการศึกษา: ผลการดําเนินตามภารกิจหลักประกอบด้วยการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการทางวิชาการแก่ชุมชน การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและภารกิจอื่นๆ ของสถาบันอุดมศึกษาผู ้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders): ทุกกลุ ่มที่ได้รับผลประโยชน์ หรืออาจได้รับผลกระทบจากการดําเนินงานและความสําเร็จขององค์กร ตัวอย่างของผู ้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู ้ปกครอง สมาคมผู ้ปกครอง คณาจารย์ บุคลากรคณะกรรมการ ศิษย์เก่า นายจ้าง สถาบันการศึกษาอื่นๆ หน่วยงานด้านเงินทุน ตลอดจนชุมชนในท้องถิ่นหรือสมาคมวิชาชีพ แม้ว่าโดยปกติแล้วมักจะถือว่าผู ้เรียนคือผู ้มีส่วนได้ส่วนเสีย สําหรับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาจะกล่าวแยกผู ้เรียนออกจากกลุ ่มผู ้มีส่วนได้ส่วนเสียภารกิจ/พันธกิจ (Mission): ขอบเขตของงาน หรือ บทบาทหน้าที่ซึ่งองค์กรต้องทําในลักษณะอาณัติ(Mandate) เพื่อให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่กําหนดไว้ ตัวอย่าง "<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>พึงจัดการการเรียนการสอนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล"75


มาตรฐานการจัดการทางการเงิน Seven Hurdles: มาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการทางการเงินที่กําหนดให้หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีขีดความสามารถตามเงื่อนไขของ Seven Hurdles คือ การวางแผนงบประมาณ (BudgetPlanning) การคํานวณต้นทุนผลผลิต (Output Costing) การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Management)การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ (Financial Management and Fund Control) การบริหารสินทรัพย์ (AssetManagement) การรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน (Financial and Performance Reporting) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit)มาตรฐานการศึกษา (Education Standards): ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสําหรับการส่งเสริมและกํากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษารายงานการศึกษาตนเอง (Self-Study Report: SSR): รายงานที่แสดงผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ในรอบปีที ่ผ่านมาว่ามีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาหรือไม่ และมีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของหน่วยงาน ตลอดจนแนวทางแก้ไขรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR): รายงานที่แสดงผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ในรอบปีที่ผ่านมา และมีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน วางแผนการแก้ไขจุดอ่อน เสริมจุดแข็งของวิธีปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นรายงานการประเมินคุณภาพสถาบัน: รายงานประจําปีที่สถาบันจัดทําขึ้นเพื่อประเมินการดําเนินงานของสถาบันโดยภาพรวม เสนอสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อขอรับการประเมินสถาบันระบบ (System): สภาวะหรือสิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์ประกอบ (Components) ที่มีความเชื่อมโยงกัน (Interconnectedness) โดยมีรูปแบบ (Pattern) หรือโครงสร้าง (Structure) ที่ชัดเจน องค์ประกอบเหล่านี้ต่างมีหน้าที่(Function) ของตนเอง พร้อมกับมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) และการประสาน (Co-ordination) การทํางานกับองค์ประกอบอื่นๆ กระบวนการ (Processes) หรือระเบียบปฏิบัติ (Procedure) ที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระเบียบ มีรูปแบบ(Pattern) หรือโครงสร้าง (Structure) ที่ชัดเจนระบบงบประมาณแบบมุ ่งเน้นผลงาน (Performance-Based Budgeting System): ระบบงบประมาณที่ให้ความสําคัญกับการกําหนดภารกิจ (Mission) ขององค์กร วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน งาน/โครงการ อย่างเป็นระบบ มีการติดตาม และประเมินผลสมํ่าเสมอ เพื่อวัดผลสําเร็จของงาน เป็นระบบที่เชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากร การเงินและพัสดุ ที่สะท้อนให้เห็นถึงผลสําเร็จของงาน หรือภารกิจต่าง ๆ ขององค์กร หรือของรัฐภายใต้หลักธรรมาภิบาล (GoodGovernance) เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และทําให้ประเทศชาติมั่งคั่ง มั่นคง และพึ่งตนเองได้ระบบฐานข้อมูล (Database System): ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่สามารถทําการรวบรวม วิเคราะห์ประมวลผล และนําเสนอได้สะดวก รวดเร็ว และทันการณ์ โดยควรจัดทําเป็นระบบฐานข้อมูลออนไลน์ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System): ระบบบริหารจัดการเพื่อมุ ่งให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมุ ่งให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร ระบบบริหารคุณภาพมีหลายระบบ ได้แก่ ระบบ Input-Process-Output-Outcome (IPOO)ระบบ Total Quality Management (TQM) ระบบ ISO และระบบ Malcolm Bald ridge Quality Award (MBQA) ระบบของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>เป็นแบบผสมผสานระหว่าง ระบบ IPOO กับ TQM76


วัตถุประสงค์ (Objective): ความหมายเดียวกันกับ จุดมุ ่งหมาย (Aim) จุดประสงค์/ความประสงค์(Purpose) เป้ าประสงค์ (Goal)(1) สิ่งที่ต้องการจะบรรลุด้วยความมุ ่งมั่น ตั้งใจ และเพียรพยายาม(2) ผลสําเร็จที่ต้องการจะบรรลุภายในระยะเวลาที่กําหนดวิสัยทัศน์ (Vision): ความคาดหวังในอนาคตขององค์กรที่ต้องการจะเป็น (โดยมิได้กําหนดวิธีการไว้) เป็นข้อความซึ่งกําหนดทิศทางของภารกิจ ตัวอย่าง "<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>จักเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ ่งเน้นการวิจัย การมีคุณภาพ ความเป็นเลิศทางวิชาการ และการพึ่งพาตนเองได้ภายใน พ.ศ. 2549"สถานศึกษา: สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชน ที่มีอํานาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาองค์ประกอบคุณภาพ (Quality Factors): ปัจจัยหลักในการดําเนินงานของสถาบันที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษา ได้แก่ ปรัชญา ปณิธาน ภารกิจและวัตถุประสงค์ การเรียนการสอน การพัฒนาและสนับสนุนนักศึกษา การวิจัยการบริการวิชาการแก่ชุมชน การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การบริหารและจัดการ การเงินและงบประมาณ และการประกันคุณภาพ77


2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (individual study)เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และความสนใจในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีเทคนิคหลายวิธี เพื่อชวยใหการจัดการเรียนในกลุมใหญสามารถตอบสนองผูเรียนแตละคนที่แตกตางกันไดดวย อาทิ2.1 เทคนิคการใช Concept Mapping ที่มีหลักการใชตรวจสอบความคิดของผูเรียนวาคิดอะไร เขาใจสิ่งที่เรียนอยางไรแลวแสดงออกมาเปนกราฟฟก2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผูเรียนกับผูสอนรวมกันกําหนด เพื่อใชเปนหลักยึดในการเรียนวาจะเรียนอะไร อยางไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมิน2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม ผสมผสานกับการใช Mapping ความรูเดิม เทคนิคการรายงานหนาชั้นที่ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมานําเสนอหนาชั้นซึ่งอาจมีกิจกรรมทดสอบผูฟงดวย2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกันแลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสําเร็จตามวัตถุประสงค3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism)การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการอาศัยประสบการณแหงชีวิตที่ไดรับเพื่อคนหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลาย ซึ่งนักทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกลาวในรูปแบบและมุมมองใหม ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personalConstructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนการเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคล โดยมีความเชื่อวามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธีคิด เพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (Social constructivismor socially oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนวา ความรู คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสองประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน2) ปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู181


4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พีการสอนแบบเอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝกทักษะทางการสอนใหกับผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาใหมีความรูความเขาใจ และความสามารถเกี่ยวกับทักษะการสอน โดยผลที่เกิดกับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการเรียนรู และความพึงพอใจในการเรียนรูวิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขน ตอเนื่อง และเปนระบบโดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคนมีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝก ขั้นตอนการสอน คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะขั้นฝกทักษะ ขั้นประเมินผล โครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูในระดับปานกลางถึงต่ําในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอนตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิดสิ่งที่จะทําใหการฝกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุน ไดแก หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ5) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-Study)การเรียนรูแบบนี้เปนการใหผูเรียนศึกษาและแสวงหาความรูดวยตนเอง เชน การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction) การเรียนแบบคนพบ (Discovery Learning) การเรียนแบบแกปญหา (Problem Solving) การเรียนรูเชิงประสบการณ (Experiential Learning) ซึ่งการเรียนการสอนแบบแสวงหาความรูดวยตนเองนี้ใชในการเรียนรูทั้งที่เปนรายบุคคล และกระบวนการกลุม6) การเรียนรูจากการทํางาน (Work-based Learning)การเรียนรูแบบนี้เปนการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมผูเรียนใหเกิดพัฒนาการทุกดานไมวาจะเปนการเรียนรูเนื้อหาสาระ การฝกปฏิบัติจริง ฝกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษามักรวมมือกับแหลงงานในชุมชนรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนรวมกัน ตั้งแตการกําหนดวัตถุประสงค การกําหนดเนื้อหากิจกรรม และวิธีการประเมิน7) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research–based Learning)การเรียนรูที่เนนการวิจัยถือไดวาเปนหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเปนการเรียนที่เนนการแสวงหาความรูดวยตนเองของผูเรียนโดยตรง เปนการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน โดยรูปแบบการเรียนการสอนอาจ182


3) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บคาลงทะเบียน4) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบใหเปลา5) บริการจัดฝกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะการวาจาง6) บริการเกี่ยวกับสุขภาพที่นอกเหนือจากหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงของหนวยงานที่เกี่ยวของ7) บริการศึกษา วิจัย สํารวจ การวางแผน การจัดการ8) บริการศึกษาความเหมาะสมของโครงการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม9) บริการวางระบบ ออกแบบ สราง ประดิษฐ และผลิต10) บริการอื่นๆ ทั้งนี้ไมนับรวมการเปนวิทยากรที่ไมไดอยูในแผนของสถาบันโครงการ/กิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรม 1 หมายถึง1. โครงการ/กิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาไทย กิจกรรมที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางสิ่งแวดลอมและบรรยากาศทางวัฒนธรรม ซึ่งจะนําไปสูการเกิดความเขาใจและภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาไทย ซึ่งเกี่ยวของกับปจจัย 4ในการดํารงชีวิต คือ อาหารพื้นบาน ยารักษาโรคและการรักษาโรคแบบพื้นบาน เสื้อผาเครื่องนุงหมตลอดจนเครื่องใชในชีวิตประจําวัน บานเรือนหรือการตกแตงอาคาร สถานที่ โดยเนนวัฒนธรรมไทยหรือวัฒนธรรมทองถิ่น อาจเปนกิจกรรม/โครงการ ที่หนวยงานจัดขึ้นเองโดยตรงเชน การจัดงานหรือนิทรรศการทางวัฒนธรรม กิจกรรมการประกวดที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต เชน การประกวดนกเขาชวา นกกรงหัวจุก การประกวดทําอาหารไทย เปนตน หรือกิจกรรมที่หนวยงานจัดสอดแทรกเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมหลักอื่น ๆ เชน การจัดเลี้ยงอาหารพื้นบาน ในงานสัมมนาระดับตาง ๆ หรือ การรณรงคใหบุคลากรและนักศึกษาแตงกายชุดพื้นบาน การนําผาพื้นบานมาตัดเปนเสื้อ 5 ส หรือแบบฟอรมประจําหนวยงาน เปนตน ตลอดจนการสนับสนุนใหมีกลุมหรือชมรมผูสนใจกิจกรรมทางวัฒนธรรมดานตางๆ ขึ้นในหนวยงาน เชนกลุมดนตรีไทย กลุมวรรณกรรม เปนตน2. โครงการกิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทยทั้งของทองถิ่นและของชาติขนบธรรมเนียมประเพณี หมายถึง แบบแผนการประพฤติปฏิบัติในโอกาสหรือเทศกาลตาง ๆ ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษของชุมชนทองถิ่น ภายใตความเขาใจที่ถูกตองถึงศรัทธาความเชื่อและคานิยม เพื่อใหสามารถนํามาปฏิบัติอยางเหมาะสมกับยุคสมัย1ดูเพิ่มเติม “คูมือการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง : ธันวาคม 2549)” สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน). หรือ http : // www. onesqa. or. th184


ตัวอยางกิจกรรมไดแก วันไหวครู วันลอยกระทง วันสงกรานต วันทําบุญเดือนสิบ การทําบุญวันวาง เปนตน3. โครงการ/กิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดความเขาใจและศรัทธาในสถาบันทางศาสนา โดยใหนับไดทุกศาสนาที่มุงเนนเปาหมายเพื่อกอใหเกิดสันติสุขในปจเจกบุคคลและสังคมโลกตัวอยางกิจกรรม ไดแก กิจกรรมการสวดมนตและการตักบาตร การปฏิบัติธรรมในวันสําคัญทางศาสนาตาง ๆ เชน งานหลอเทียนพรรษา การทอดกฐิน การทอดผาปา วันคริสตมาส วันฮารีรายอ การสงเสริมการปฏิบัติศาสนกิจตลอดจนการสรางบรรยากาศที่สนับสนุนการปฏิบัติศาสนกิจ เชน หองละหมาด หองฝกสมาธิ เปนตน4. โครงการ/กิจกรรมที่กอใหเกิดระบบคุณคาหรือคานิยมที่นับถือความดีงามและคุณธรรมจริยธรรมในยุคปจจุบัน ซึ่งตองคํานึงถึงบริบทและเงื่อนไขตาง ๆ ที่เรื่องนั้นตั้งอยูในยุคปจจุบันดังนั้น จึงควรสงเสริมใหมีการทํากิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งอยูนอกขอบเขต รูปแบบงานในเรื่องวิถีชีวิตของไทย หรือประเพณีไทย หรือที่เกี่ยวของกับสถาบันทางศาสนา ซึ่งนอกจากเปนการสงเสริมใหเกิดการสรางสรรค ใหเกิดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ แลวยังชวยสรางกิจกรรมเพื่อการดึงดูดใหเยาวชนไทยเกิดความตระหนักในเรื่องระบบคุณคาและคุณธรรม จริยธรรมมากยิ่งขึ้นตัวอยางกิจกรรม ไดแก กิจกรรมคายพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม คายพัฒนาทักษะชีวิตการเขาคาย/กิจกรรมพัฒนาจิต เปนตน ซึ่งอาจจัดสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ เชน นักเรียนนักศึกษา เยาวชน บุคลากร สมาชิกในชุมชน เปนตน5. โครงการ/กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย เชน ดนตรีไทยและพื้นบานศิลปะการแสดงของไทยและพื้นบาน ประดิษฐศิลปไทยและพื้นบาน งานหัตถกรรมกีฬาและการละเลนพื้นบานตาง ๆ อาจเปนโครงการ/กิจกรรม ทั้งในสวนที่จัดขึ้นเองโดยตรง หรือการใหบริการการแสดงแกหนวยงานตาง ๆ หรือการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การแสดงนาฏศิลปดนตรีไทย การแสดงโนรา การแสดงหนังตะลุง และการละเลนพื้นบานตาง ๆ เชน ตะกรอไทยสะบา หมากขุม เปนตน หรือการนํากลุมนักศึกษา/บุคลากร ไปรวมกิจกรรมดังกลาวที่หนวยงานอื่นจัดขึ้น เพื่อสรางโอกาสในการมีสวนรวมทางศิลปะและวัฒนธรรมขึ้นเปนตน6. การแสดงศิลปวัฒนธรรมสากลและของชาติอื่น ๆ อันเปนการแสดงถึงความเขาใจวัฒนธรรมของชาติตาง ๆ ซึ่งมีความสําคัญตอการอยูรวมกันอยางสันติ ดังนั้นการจัดใหนักศึกษาเยาวชน ประชาชน มีประสบการณและการเรียนรูวัฒนธรรมนานาชาติผานกิจกรรมรูปแบบตางๆนั้นมีความสําคัญตอการดํารงอยูอยางมีความเขาใจที่ชัดเจนตอวัฒนธรรมของตนเองและวัฒนธรรมของชาติอื่น ๆ อันเปนวัฒนธรรมโดยรวมของโลก185


SCH = ∑ n i c iเมื่อ n i = จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในวิชาที่ iC i = จํานวนหนวยกิตของวิชาที่ i2) คํานวณคา FTES โดยใชสูตรคํานวณดังนี้SCHFTES =จํานวนหนวยกิตตอปการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริญญานั้น ๆ1นักศึกษาภาคปกติ หมายถึง นักศึกษาที่เรียนในชวงเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันไดมีการคํานวณเปนภาระงานสอนของอาจารย และไมมีการจายคาตอบแทนเปนการพิเศษนักศึกษาภาคพิเศษ 1 หมายถึง นักศึกษาที่เรียนในชวงเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันมิไดนับวาการสอนดังกลาวเปนภาระงานสอนของอาจารย และ/หรือไดมีการจายคาตอบแทนใหกับการสอนของอาจารยเปนการพิเศษนักวิจัย หมายถึง ขาราชการที่เปนเจาหนาที่วิจัยและนักวิจัย หรือเปนพนักงานหรือบุคลากรที่มีสัญญาจางกับสถาบันหรือสถานศึกษาทั้งปการศึกษา ที่มีระยะเวลาทํางานไมต่ํากวา 9 เดือน โดยมีภาระหนาที่ในการวิจัย ในกรณีที่นักวิจัยมีระยะเวลาทํางาน 6 เดือน ใหนับเปน 0.5 คนระบบและกลไก 4 หมายถึง ขั้นตอนการดําเนินงานตางๆ ที่มีความสัมพันธและเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ โดยอาศัยบุคลากร ทรัพยากร กฎเกณฑ มาตรการ แนวปฏิบัติ และปจจัยตางๆเปนกลไกใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมาย1รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณยกยองระดับชาติหรือนานาชาติ หมายถึง รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณของตางหนวยงาน เชน หนวยงานของรัฐในระดับกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด หนวยงานของรัฐและเอกชนที่เปนองคกรทางวิชาการ หรือวิชาชีพ หรือเปนองคกรที่มีหนาที่เกี่ยวของกับประเภทของรางวัลที่มอบ ที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ1ดูเพิ่มเติม “คูมือการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง : ธันวาคม 2549)” สํานักงานรับรองมาตรฐาน4และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน). หรือ http : // www. onesqa. or. thดูเพิ่มเติม “นโยบาย แนวทาง และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา” สํานักมาตรฐานอุดมศึกษา187


วารสารระดับนานาชาติที่อยูในฐานขอมูลสากล 1 หมายถึง วารสารที่ปรากฏในฐานขอมูลวารสารที่เปนที่ยอมรับระดับนานาชาติ เชน ฐานขอมูล Science Citation Index (SCI)ฐานขอมูล Ei Compendex ฐานขอมูล INSPEC ฐานขอมูล ScienceDirect ฐานขอมูล PUBMEDฐานขอมูล AGRICOLA (AGRICultural Online Access) ฐานขอมูล ERIC (EducationDatabase) หรือ ฐานขอมูล PUBSCIENCE เปนตนตัวอยางแหลงสืบคนฐานขอมูลมาตรฐานสากล1) ISI = http://portal.isiknowledge.com/2) MathSciNet = http://www.ams.org/mathscinet3) ScienceDirect = http://www.sciencedirect.com/4) Agricola = http://agricola.nal.usda.gov/5) Biosis = http://www.biosis.org/6) Scopus = http://www.info.scopus.com/7) Pubmed = http://www.pubmed.gov/8) Academic Search Premium = http://www.ebsco.com/home/ (select ebscohostand then academic search premium)9) Infotrieve = http://www.infotrieve.com10) Wilsom = http://www.nova.edu/library/dils/lessons/wilsonweb/วารสารระดับนานาชาติที่ไมอยูในฐานขอมูลสากล 1 หมายถึง วารสารที่คณะบรรณาธิการตองเปนชาวตางประเทศ อยางนอย 1 คน และวารสารตองมีบทความวิจัยจากตางประเทศลงตีพิมพดวย1วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารที่ตีพิมพบทความจากนักวิชาการกลุมตาง ๆ จากสถาบันตาง ๆ และคณะบรรณาธิการจะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับวารสาร และกองบรรณาธิการจะตองมาจากสถาบันอื่น ๆ ไมนอยกวารอยละ 50หลักธรรมาภิบาล 5 มาจากคําวา ธรรมะ + อภิบาล หมายความวาหลักการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) ประกอบดวยหลักพื้นฐาน 6 ประการ ดังนี้1. หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัยและเปนธรรมเปนที่ยอมรับทั้งผูออกกฎและผูปฏิบัติตาม ตลอดจนทุกคนในสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตาม1ดูเพิ่มเติม “คูมือการประมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง : ธันวาคม 2549)” สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน). หรือ http : // www. onesqa. or. th5 ดูเพิ่มเติม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 และhttp://leadership.50g.com/ggovern.html188


2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกันแลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสําเร็จตามวัตถุประสงค3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism)การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการอาศัยประสบการณแหงชีวิตที่ไดรับเพื่อคนหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลาย ซึ่งนักทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกลาวในรูปแบบและมุมมองใหม ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personalConstructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนการเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคล โดยมีความเชื่อวามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธีคิดเพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (Social constructivism orsocially oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนวา ความรู คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสองประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน2) ปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พีการสอนแบบเอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝกทักษะทางการสอนใหกับผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาใหมีความรูความเขาใจ และความสามารถเกี่ยวกับทักษะการสอน โดยผลที่เกิดกับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการเรียนรูและความพึงพอใจในการเรียนรูวิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขน ตอเนื่อง และเปนระบบ โดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคนมีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝกขั้นตอนการสอน คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะขั้นฝกทักษะ ขั้นประเมินผล โครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูในระดับปานกลางถึงต่ําในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอนตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิดสิ่งที่จะทําใหการฝกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุนไดแก หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณตาง ๆที่เกี่ยวของ


5) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-Study)การเรียนรูแบบนี้เปนการใหผูเรียนศึกษาและแสวงหาความรูดวยตนเอง เชน การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction) การเรียนแบบคนพบ (Discovery Learning) การเรียนแบบแกปญหา (Problem Solving) การเรียนรูเชิงประสบการณ (Experiential Learning) ซึ่งการเรียนการสอนแบบแสวงหาความรูดวยตนเองนี้ใชในการเรียนรูทั้งที่เปนรายบุคคล และกระบวนการกลุม6) การเรียนรูจากการทํางาน (Work-based Learning)การเรียนรูแบบนี้เปนการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมผูเรียนใหเกิดพัฒนาการทุกดาน ไมวาจะเปนการเรียนรูเนื้อหาสาระ การฝกปฏิบัติจริง ฝกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษามักรวมมือกับแหลงงานในชุมชน รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนรวมกัน ตั้งแตการกําหนดวัตถุประสงค การกําหนดเนื้อหากิจกรรม และวิธีการประเมิน7) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research–based Learning)การเรียนรูที่เนนการวิจัยถือไดวาเปนหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเปนการเรียนที่เนนการแสวงหาความรูดวยตนเองของผูเรียนโดยตรง เปนการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน โดยรูปแบบการเรียนการสอนอาจแบงไดเปน 4 ลักษณะใหญ ๆ ไดแก การสอนโดยใชวิธีวิจัยเปนวิธีสอน การสอนโดยผูเรียนรวมทําโครงการวิจัยกับอาจารยหรือเปนผูชวยโครงการวิจัยของอาจารย การสอนโดยผูเรียนศึกษางานวิจัยของอาจารยและของนักวิจัยชั้นนําในศาสตรที่ศึกษา และการสอนโดยใชผลการวิจัยประกอบการสอน8) การเรียนรูที่ใชวิธีสรางผลงานจากการตกผลึกทางปญญา (Crystal-BasedApproach)การจัดการเรียนรูในรูปแบบนี้ เปนการสงเสริมใหผูเรียนไดสรางสรรคความรูความคิดดวยตนเองดวยการรวบรวม ทําความเขาใจ สรุป วิเคราะห และสังเคราะหจากการศึกษาดวยตนเองเหมาะสําหรับบัณฑิตศึกษา เพราะผูเรียนที่เปนผูใหญ มีประสบการณเกี่ยวกับศาสตรที่ศึกษามาในระดับหนึ่งแลววิธีการเรียนรูเริ่มจากการทําความเขาใจกับผูเรียนใหเขาใจวัตถุประสงคของการเรียนรูตามแนวนี้ จากนั้นทําความเขาใจในเนื้อหาและประเด็นหลัก ๆ ของรายวิชา มอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาวิเคราะหเอกสาร แนวคิดตามประเด็นที่กําหนด แลวใหผูเรียนพัฒนาแนวคิดในประเด็นตาง ๆ แยกทีละประเด็น โดยใหผูเรียนเขียนประเด็นเหลานั้นเปนผลงานในลักษณะที่เปนแนวคิดของตนเองที่ผานการกลั่นกรอง วิเคราะหเจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเปนของตนเอง จากนั้นจึงนําเสนอใหกลุมเพื่อนไดชวยวิเคราะห วิจารณอีกครั้ง


การนําไปใชประโยชนระดับชาติ หมายถึง การนําไปใชประโยชนนอกสถาบันโดยหนวยงานราชการระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองคการมหาชน หรือองคกรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน เชน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาไทยการนําไปใชประโยชนระดับชาติ ไมวาผลงานจะเกิดขึ้นในปใดก็ตามหากนํามาใชประโยชนในปนั้นสามารถนํามานับได แตการนับจะไมนับซ้ํางานสรางสรรค หมายถึง ผลงานประดิษฐคิดคนหรืองานสรางสรรคทางศิลปกรรมและจิตรกรรม หรือผลงานแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี อันเปนที่ยอมรับระดับนานาชาติและระดับชาติ หรืองานที่ไดรับสิทธิบัตรเปนการแสดงความกาวหนาทางวิชาการ เสริมสรางองคความรูหรือวิธีการที่เปนประโยชนตอสาขาวิชา หรือแสดงความเปนตนแบบ ตนความคิดของผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานั้นรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ หมายถึง ผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพที่ผานการแขงขันหรือไดรับการคัดเลือกในระดับชาติหรือนานาชาติระดับชาติ หมายถึง ระดับหนวยงานราชการ ที่เปนระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจหรือองคการมหาชน หรือองคกรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชนระบบและกลไกระบบ (system) ประกอบดวย วัตถุประสงค(objective) ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ(process) และผลผลิต (output) แตในการประเมินตามคูมือของ สกอ. คําวาระบบ (system) จะเนนที่กระบวนการ ซึ่งหมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกําหนดอยางชัดเจนวาตองทําอะไรบางเพื่อใหไดผลออกมาตามที่ตองการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะตองปรากฏใหทราบโดยทั่วกันไมวาจะในรูปของเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสหรือโดยวิธีการอื่นๆกลไก (mechanism) หมายถึง สิ่งที่ทําใหระบบมีการขับเคลื่อนหรือดําเนินอยูได โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองคกร หนวยงาน หรือ กลุมบุคคลเปนผูดําเนินงานวารสารระดับนานาชาติที่ไมอยูในฐานขอมูลสากล หมายถึง วารสารที่คณะบรรณาธิการจะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับวารสาร โดยตองเปนชาวตางประเทศ อยางนอย 1คน และตองมีผูทรงคุณวุฒิรวมกลั่นกรองตนฉบับกอนตีพิมพ (Peer Review) นอกจากนั้นวารสารตองมีบทความวิจัยจากตางประเทศลงตีพิมพดวยวารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารที่ตีพิมพบทความจากนักวิชาการสถาบันตาง ๆและคณะบรรณาธิการจะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับวารสาร โดยจะตองมาจากสถาบันอื่น ๆ ไมนอยกวารอยละ 25 และตองมีผูทรงคุณวุฒิรวมกลั่นกรองตนฉบับกอนตีพิมพ (Peer Review)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!