16.07.2015 Views

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>Emergency</strong> <strong>Transfusion</strong> <strong>of</strong> <strong>Group</strong> O <strong>Red</strong> <strong>Blood</strong> <strong>Cells</strong> <strong>in</strong> <strong>Additive</strong> Solution229ผา ตัด สูติศาสตร ไดรับ เลือด O ตรง หมู 9 ราย (60%)และ ไมตรง หมู6 ราย (40%) การ ที่ผูปวย ซึ่ง ไมใชหมูOไดรับ เลือด ชนิด นี้ จึง อาจ มี อันตราย จาก anti-A และanti-B ได หาก ใช ใน ปริมาณ มาก สําหรับ หมู เลือดระบบ Rh ใน การ ศึกษา นี้ไมพบ ผูปวย ที่เปน Rh ลบ แตหาก มี ผูปวย Rh ลบ การ ไดรับ O-AS blood ซึ่ง เปนRh บวก อาจ กระตุน ใหผูปวย สราง anti-D ซึ่ง จะ มีผลตอ การ หา เลือด ใหใน ครั้ง ตอ ๆ ไป หรือ ถา เปน ผูหญิง ใน วัยเจริญพันธุ อาจ เกิด ปญหา จาก โรค hemolytic disease<strong>of</strong> the newborn ได แตการ แกปญหา โดย การ จัดหา O-AS blood ที่เปน Rh ลบ คง ทํา ไดยาก เพราะ ใน คน ไทยมีRh ลบ เพียง รอยละ0.3 เทานั้น 13 ดังนั้น เมื่อ ตรวจพบ วา ผูปวย เปน Rh ลบ ตอง รีบ เปลี่ยน เปน ใหเลือด Rhลบ พรอม ทั้ง ใหการ ปองกัน การ สราง anti-D ดวย การ ใหRh immune globul<strong>in</strong> (RhIG) IM ใน ขนาด 20 µg/ml-RBC หรือ ฉีด IV ใน ขนาด 18 µg/mL RBC โดยเฉพาะ อยาง ยิ่ง ใน หญิง วัย เจริญพันธุ14ความ เสี่ยง อีก ประการ หนึ่ง คือ การ ที่ผูปวย มี red cellalloantibody ตอ หมูเลือด ระบบ อื่น ๆ ซึ่ง O-AS bloodที่ให อาจ มีแอนติเจน ตรง กับ แอนติบอดีที่ผูปวย มีได แตความ เสี่ยง เชน นี้ เกิด ขึ้น ได เชน เดียว กับ การ ให เลือดwhole blood หรือ PRC ที่ เปน uncrossmatchedblood แกผูปวย ใน กรณีดวน ซึ่ง อาจ ปองกัน ไดโดย การไม ใช เลือด เหลา นี้ ถา ไม จําเปน ใน การ ศึกษา นี้ มี หญิง มีครรภ1 ราย ที่ตรวจ พบ anti-Le b แตบังเอิญ ไดรับ เลือดLe(a+b-) จึง ไม มี ปฏิกิริยา ใด ๆนอก จาก นี้ ใน กรณี ที่ ผูปวย ไดรับ O-AS blood ในปริมาณ มาก อาจ มี ความ เสี่ยง ที่ เกิด จาก สาร ที่ เปน สวนประกอบ ของ AS ไดโดย เฉพาะ ใน เด็ก 15 เชน dextroseใน ผลิตภัณฑของ บาง บริษัท จะ มีปริมาณ สูง จึง ควร ระวังใน การ ใหเด็ก หรือ ผูปวย โรค เบาหวาน สําหรับ aden<strong>in</strong>eซึ่ง ให ATP ทําใหเก็บ เม็ด เลือด แดง ไดนาน ถึง 42 วัน นั้นอาจ เกิด อันตราย ตอ ไต ไดเชน เดียว กับ mannitol ซึ่ง ทําหนาที่ปองกัน การ แตก ของ เม็ด เลือด แดง นอก จาก นี้การที่ผูปวย ไดรับ O-AS blood ใน ปริมาณ มาก อาจ มีความเสี่ยง จาก การ มี coagulation factors และ โปรตีน ต่ํา กวาปกติได เพราะ ใน O-AS blood มีปริมาณ พลาสมา นอยมาก จึง ควร ใช เฉพาะ เมื่อ จําเปน จริงๆ หลัง จาก นั้น จึงเปลี่ยน เปน เลือด ที่ธนาคาร เลือด จัด เตรียม ใหตาม ปกตินอก จาก นี้ถา ผูปวย มีปญหา จาก ภาวะ เลือด ออก เนื่อง จากการ ลดลง ของ coagulation factors ตอง พิจารณา ใหทดแทน ดวยสําหรับ ปญหา ที่ พบ ใน ดาน การ บริหาร จัดการ พบ วาใน ระยะ แรก มี ปญหา เกี่ยว กับ ชนิด ตูเย็น ที่ ใช เก็บ เลือดรวม ทั้ง เรื่อง การ ควบคุม อุณหภูมิและ การ ดูแล ตูเย็น ที่ใชควร เปน <strong>Blood</strong> Bank refrigerator แตเนื่อง จาก มีราคาแพง อาจ ใช ตูเย็น ธรรม ดา ได แต จะ ตอง มี การ อาน และบันทึก อุณหภูมิทุก วัน วัน ละ2 -3 ครั้ง ตาม ผลัด การ อยูเวรของ ผู ไดรับ มอบ หมาย ให ดูแล เรื่อง ตูเย็น หาก พบ การเปลี่ยน แปลง ของ อุณหภูมิตูจาก ที่กําหนด จะ ตอง รีบ แจงธนาคาร เลือด เพื่อ นํา เลือด ไป เก็บ ใน อุณหภูมิ ที่ ถูก ตองพรอม กับ ตาม บริษัท ใหมา แกไข ตอไป นอก จาก นี้จะ ตองวาง ตูใน บริเวณ ที่สะดวก ใน การ หยิบ ใชและ สามารถ ไดยินเสียง สัญญาณ เตือน ถา มีการ เปลี่ยน แปลง ของ อุณหภูมิตูสําหรับ ที่ โรงพยาบาล ศิริราช ที่ หอง ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ ใช<strong>Blood</strong> Bank refrigerator (Jewett, USA) แต ที่ หองคลอด และ หอง ผา ตัด สูติศาสตรใชตูเย็น ธรรม ดา (Songserm Intercool, ประเทศ ไทย) พบ วา ทั้ง 2 ตู เคย มีปญหา เรื่อง การ รักษา อุณหภูมิ ให คงที่ ซึ่ง เมื่อ ไดรับ การแกไข แลว สามารถ ใช ตอ ได ตาม ปกติจาก การ ศึกษา นี้จะ เห็น ไดวา แพทยไดเลือก ใช O-ASblood อยาง เหมาะสม คือ เฉพาะ ราย ที่เสีย เลือด มาก และมี ความ จําเปน ที่ ตอง ใช เลือด ชนิด นี้ จริง ดัง ขอมูล การวินิจฉัย โรค ของ ผูปวย ซึ่ง แสดง ใน ตาราง ที่ 5 ใน กลุมผูปวย อุบัติเหตุพบ วา ผูปวย สวน ใหญ ( 67.31 %) ที่ไดรับO-AS blood เปน ผูปวย ที่ไดรับ อุบัติเหตุทาง รถยนตหรือรถ จักรยานยนต ซึ่ง เมื่อ เปรียบ เทียบ ระหวาง ประโยชน ที่ผูปวย จะ ไดรับ กับ ความ เสี่ยง ที่ อาจ เกิด ขึ้น แลว นับ ได วาวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 15 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2548

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!