13.07.2015 Views

ในระบบดิจิทัล - Nectec

ในระบบดิจิทัล - Nectec

ในระบบดิจิทัล - Nectec

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

§«“¡‡◊ ËÕ¡—Ëπ„π°“√”√–‡ß‘πç„π√–∫∫¥‘®‘∑—≈é®—¥∑”‚¥¬°√–∑√«ß‡∑§‚π‚≈¬’ “√ π‡∑»·≈–°“√ ◊ËÕ “√√Ë«¡°—∫”π—°ß“π‡≈¢“πÿ°“√§≥–°√√¡°“√∏ÿ√°√√¡∑“ßÕ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° å»Ÿπ¬Ï‡∑§‚π‚≈¬’Õ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° Ï·≈–§Õ¡æ‘«‡µÕ√Ï·ÀËß“µ‘”π—°ß“πæ—≤π“«‘∑¬“»“ µ√Ï·≈–‡∑§‚π‚≈¬’·ÀËß“µ‘°√–∑√«ß«‘∑¬“»“ µ√Ï·≈–‡∑§‚π‚≈¬’


ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล”โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติISBN 974-229-722-3พิมพครั้งที่ 1 (พฤษภาคม 2548)จํานวน 1,000 เลมเอกสารเผยแพรสงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2548 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกับศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติไมอนุญาตใหคัดลอก ทําซํ้า และดัดแปลง สวนใดสวนหนึ่งของหนังสือฉบับนี้นอกจากจะไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากเจาของลิขสิทธิ์เทานั้นCopyright©2005 by:Ministry of Information and Communication Technology andNational Electronics and Computer Technology CenterNational Science and Technology Development AgencyMinistry of Science and Technology112 Thailand Science Park, Phahon Yothin Road, Klong 1, Klong Luang,Pathumthani 12120, THAILAND.Tel. +66(0)2-564-6900 Fax. +66(0)2-564-6901..2จัดทําโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี73/1 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400โทรศัพท 02-644-8150-9 โทรสาร 02-644-6653URL: http://www.nectec.or.th/ e-mail: info@nectec.or.th


คํานําหนังสือความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” เปนการรวบรวมเนื้อหาสาระสําคัญเกี่ยวกับขอควรรูเบื้องตนในระบบการชําระเงินรูปแบบดิจิทัลสําหรับผูประกอบการและผูที่สนใจ โดยหนังสือเลมนี้เกิดจากการที่คณะอนุกรรมการสงเสริมและสนับสนุนการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสของผูประกอบการและภาครัฐ ภายใตคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ไดเล็งเห็นความสําคัญของขอมูลที่ผูประกอบการควรรูเพื่อใชในการพัฒนาธุรกิจของตนเองโดยนําระบบการชําระเงินในรูปแบบดิจิทัลเขามาชวยในการติดตอสื่อสารทางธุรกิจใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและทันตอสภาวะการแขงขันในปจจุบันหนังสือฉบับนี้จะประกอบดวยเนื้อหา 5 สวนดวยกัน โดยจะครอบคลุมเรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส วิวัฒนาการของระบบการชําระเงินและแนวโนมในอนาคต การกํากับและระบบการชําระเงินในการบริการของธนาคารแหงประเทศไทย กฎระเบียบเกี่ยวกับระบบการชําระเงิน และการจัดเก็บภาษีอากรในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกสหวังวาทานผูอานจะไดประโยชนจากเนื้อหาในหนังสือฉบับนี้เพื่อสรางความมั่นใจในการการชําระเงินในระบบดิจิทัล และกาวเขาสูการทําธุรกิจรูปแบบใหมอยางมั่นใจกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรวมกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติพฤษภาคม 2548


สารบัญบทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส.......................5โดย นางสาววิลาวรรณ วนดุรงควรรณกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสบทที่ 2 วิวัฒนาการของระบบการชําระเงินและแนวโนมในอนาคต.......................24โดย สายระบบการชําระเงินธนาคารแหงประเทศไทยบทที่ 3 การกํากับและระบบการชําระเงินในการบริการของธนาคารแหงประเทศไทย .................................................................27โดย สายระบบการชําระเงินธนาคารแหงประเทศไทยบทที่ 4 กฎระเบียบเกี่ยวกับระบบการชําระเงิน...................................................32โดย นางสาวอาวีวรรณ อินทกาญจนสายนโยบายสถาบันการเงินธนาคารแหงประเทศไทยบทที่ 5 การจัดเก็บภาษีสรรพากรในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ................42โดย นายสุภัทท บุญญานนทนักวิชาการคอมพิวเตอร 7 วช. กรมสรรพากร


สถิติและขอมูลที่นาสนใจเอกสารเลมนี้ปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมมาจากเอกสารบรรยายสําหรับคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชในการปรับเสริมองคความรูแกคณะกรรมการฯ ในความเขาใจเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสหรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเฉพาะเทคโนโลยีดานอินเทอรเน็ตมีความกาวหนาและการนําไปใชงานไดหลากหลายมากขึ้น ทั้งเพื่อความบันเทิง การศึกษาและเพื่อธุรกิจ จํานวนผูใชอินเทอรเน็ตจะสะทอนไดถึงความเติบโตในดานตางๆ ปจจุบันอัตราการเพิ่มของประชากรผูใชอินเทอรเน็ตในทวีปเอเชียมีอัตราการเพิ่มที่สูงแซงหนาภูมิภาคอื่นๆ ไปแลวสถิติจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตรายภูมิภาค (หนวย: พันคน)ภูมิภาค ค.ศ. 2000 ค.ศ. 2001 ค.ศ. 2002Africa 4,559 6,510 7,943Asia 109,257 150,472 201,079Europe 110,824 143,915 166,387Latin America & Caribbean 17,673 26,163 35,459North America 136,971 156,823 170,200Oceania 8,248 9,141 10,500Developing countries 93,161 135,717 189,882Developed countries 294,371 357,307 401,686World 387,531 493,024 591,567(ขอมูลจาก UNTAD : Ecommerce and Development Report 2003)ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 7


รูปที่ 1 สัดสวนผูใชอินเทอรเน็ตแบงตามภูมิภาค ป ค.ศ. 2002ประเภทของการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสและสถิติที่เกี่ยวของสําหรับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสนั้นอาจแบงออกเปนหลายประเภทกลาวคือการทําธุรกรรมระหวางธุรกิจและธุรกิจ (Business to Business : B2B) การทําการคาระหวางธุรกิจดวยกันเองโดยมีวัตถุประสงคเพื่อการคาขายหรือระบบเพื่อการจัดการการผลิตหรือวัตถุดิบ มูลคาการทําธุรกรรมตอครั้งคอนขางจะสูง และถือเปนหัวใจสําคัญในการผลักดันการพัฒนาการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใหขยายออกไปในวงกวาง เชน http://www.cementhaionline.com, http://www.value.co.th ทั้งสองเว็บไซตจะใชเปนชองทางการติดตอซื้อขายระหวางผูประกอบการกับตัวแทนจําหนายชวยอํานวยความสะดวกในเรื่องเวลาสั่งซื้อ ตัวแทนจําหนายสามารถสั่งซื้อไดทุกเวลาที่ตองการแมนอกเวลาทําการปกติการทําธุรกรรมระหวางธุรกิจกับผูบริโภค (Business to Customer: B2C)เปนธุรกรรมที่เกิดขึ้นระหวางผูประกอบการกับผูบริโภคโดยตรง แมวาจะมีมูลคานอยกวา B2B แตเปดโอกาสใหผูประกอบการทุกประเภทสามารถเริ่มหรือขยายฐานธุรกิจไดอยางกวางขวางทั่วโลก เหมาะอยางยิ่งสําหรับผูประกอบการรายเล็กและระดับกลางเชน amazon.com รานขายหนังสือออนไลนที่มีหนังสือมากที่สุดในโลก8 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


การทําธุรกรรมระหวางธุรกิจกับภาครัฐ (Business to Government : B2G)เปนธุรกรรมระหวางภาคธุรกิจกับภาครัฐสวนใหญจะเปนเรื่องการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศที่รัฐบาลมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชอยางแพรหลาย เชน ระบบการจัดซื้อจัดจางภาครัฐหรือ G-Procurement ที่เปนนโยบายของรัฐบาลในปจจุบัน ระบบการยื่นเอกสารพีธีศุลกากรผานระบบอีดีไอของกรมศุลกากรที่ใชอยูในปจจุบันภาครัฐกับประชาชน (Government to Citizen: G2C)เปนการทําธุรกรรมในการใหบริการประชาชนโดยทั่วไป เพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับประชาชนไมตองเดินทางมาทําธุรกรรมหลายๆ ประเภทกับหนวยงานราชการเชน งานทะเบียนราษฎร การยื่นชําระภาษีกับกรมสรรพากรสถิติขอมูลในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสแบบ B2B และ B2C ซึ่งเปนขอมูลจาก UNTAD : Ecommerce and Development Report 2003 ไดประมาณการไวดังนี้ภูมิภาค ป ค.ศ. 2002 ป ค.ศ. 2006Developing Asia and Pacific 87.6 660.3Latin America 7.6 100.1Transition economies 9.2 90.2Africa 0.5 6.9North America 1,677 7,469Developed Europe 246.3 2458.6Developed Asia and Pacific 264.8 2052.1World total 2,293.50 12,837.30ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 9


ไมเห็นสินคา คิดเปนรอยละ 40.5, ไมไววางใจผูขาย คิดเปนรอยละ 36.4, ไมอยากใหขอมูลเกี่ยวกับเลขบัตรเครดิต คิดเปนรอยละ 27.3 เปนตนรูปที่ 4 เหตุผลที่ไมซื้อสินคาผานทางอินเทอรเน็ตการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐในระยะสองปที่ผานมาหนวยงานภาครัฐไดมีการดําเนินงานในโครงการที่เกี่ยวกับการนําเอาเทคโนโลยีเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตโดยเฉพาะเรื่องพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใหบริการกับประชาชน โดยในที่นี้นําเสนอถึงการดําเนินงานในสามกระทรวงคือกระทรวงพาณิชยการจัดตั้งกองพาณิชยอิเล็กทรอนิกสขึ้นภายใตกรมพัฒนาธุรกิจการคา เพื่อสงเสริมและพัฒนาผูประกอบการ เปนศูนยพาณิชยอิเล็กทรอนิกส สรางความเชื่อมั่นในการประกอบการ และสนับสนุนสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ในการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส และไดดําเนินงานในทางปฏิบัติ เชน การรับขึ้นทะเบียนผูประกอบการความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 11


พาณิชยอิเล็กทรอนิกส งานสรางความเชื่อมั่นใหแกผูประกอบการโดยการทํา TrustMark และมีการออกใบรับรอง (Certificate) เพื่อยืนยันตัวบุคคล โดยกองพาณิชยอิเล็กทรอนิกสจะทําหนาที่เปนหนวยงานรับลงทะเบียน (Registration Authority) ในการรับรองดั งกล าว ดู รายละเอี ยดเพิ่ มเติ มที่ http://www.dbd.go.th/thai/e-commerce/intro_main.phtmlกรมสงเสริมการสงออก ไดจัดทําโครงการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพื่ออํานวยความสะดวกในการติดตอผูผลิตและผูสงออกของไทย โดยมอบหมายใหเอกชน 5 รายรวมการดําเนินงาน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.depthai.go.thกระทรวงการคลังกรมสรรพากรใหบริการในการยื่นแบบและชําระภาษีผานเว็บไซต ของกรมสรรพากรและตัดเงินโดยตรงจากบัญชีของธนาคารที่เขารวมโครงการ นอกจากนี้ประชาชนยังสามารถชําระภาษีผานชองทางอื่นของธนาคาร เชนธนาคารทางอินเทอรเน็ต โครงการดังกลาวสามารถอํานวยความสะดวกใหกับภาคประชาชนและทําใหรัฐไดรับเงินชําระคาภาษีเร็วขึ้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.rd.go.thกรมศุลกากรไดใหบริการในการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส(Electronic Data Interchange: EDI) ผานเครือขายปด http://www.customs.go.thและผานอินเทอรเน็ตที่ http://www.mofedi.comกรมบัญชีกลางจัดทําเว็บไซตศูนยขอมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางและพัสดุภาครัฐ รวมทั้งการประมูลภาครัฐ (e-Procurement และ e- Auction) โดยไดทําการคัดเลือกเอกชนที่ใหบริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส จํานวน 9 ราย ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.gprocurement.or.th12 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


กระทรวงมหาดไทยการใหบริการงานทะเบียนราษฎรทางอิเล็กทรอนิกส และโครงการอินเทอรเน็ตตําบลเพื่อพัฒนาความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการและการวางแผนการทํางานและใหบริการกับประชาชน อีกทั้งยังเปนแหลงขอมูลในการติดตอซื้อขายสินคา ผลิตภัณฑ และแนะนําแหลงทองเที่ยว เปนตนhttp://www.mahadthai.comลักษณะทั่วไปของการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสนั้น อาจแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ คือเครือขายแบบปด (close network) เชน การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส(Electronic Data Interchange: EDI), Intranet, S.W.I.F.T เปนตน และการทําธุรกรรมผานเครือขายแบบเปด (open network) เชน เครือขายอินเทอรเน็ต เปนตนการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในเครือขายแบบปดการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส หรือ EDI นั้น หมายถึง การแลกเปลี่ยนขอมูลกันทางอิเล็กทรอนิกสโดยมีการตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานหรือกฎเกณฑกันไวลวงหนาเปนการเฉพาะ ซึ่งใชในการผานพิธีการทางศุลกากรความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 13


รูปที่ 5 การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสหรือ EDIการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสผานเครือขายแบบเปดการทําธุรกรรมออนไลนผานเครือขายแบบเปดนั้น ผูใชจะสามารถเขาไปทํารายการจากเครื่องคอมพิวเตอรใดก็ไดที่มีการตออินเทอรเน็ตโดยผานโปรแกรมเว็บบราวเซอร ตัวอยางเชน Internet Explorer หรือ Netscape หรือ Opera เปนตนอยางไรก็ตาม การทําธุรกรรมออนไลนเกี่ยวกับการเงินหรือตองการความปลอดภัยสูงนั้นจะตองทําผานเว็บไซตที่มีการเขารหัสเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการทํารายการการใช SSL อันเปนระบบกุญแจคูที่มีการติดตั้ง (builtin) เขาไปที่บราวเซอรเพื่อใหทําหนาที่ในการเขารหัสเปนสิ่งที่นิยมใชและเปนมาตรฐานในปจจุบัน เว็บไซตที่ใช SSL จะขึ้นตนที่อยูเว็บดวย https: แทนที่จะขึ้นตนดวย http: เชนเว็บไซตทั่วไป14 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


นอกจากนั้น อาจมีการใชลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ในการยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคล โดยเมื่อใชลายมือชื่อดังกลาวแลว หากมีการแกไขขอความใดๆ ที่สงถึงกัน เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชลายมือชื่อดิจิทัลก็จะแจงใหผูใชทราบในทันทีวา ลายมือชื่อนั้นไมสมบูรณ (signature invalid) ปกติมักมีผูใหบริการซึ่งเปนบุคคลที่สามที่เปนผูประกอบการทําหนาที่ในการใหบริการดังกลาวโดยผูใหบริการจะทําหนาที่ในการตรวจสอบตัวตนผานทางเอกสารหรือขอมูลที่ผูใชบริการใชยื่นประกอบการขอรับบริการกอนเสมอ ดังนั้นความไววางใจในการใชลายมือชื่อดิจิทัลจึงมักอิงอยูกับความนาเชื่อถือของผูใหบริการดวยการพัฒนาระบบการชําระเงินสําหรับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสการทําธุรกรรมเริ่มตนพัฒนาจากการทําธุรกรรมแบบทั่วไปที่มีการชําระเงินคาสินคาหรือบริการดวยเงินสด อันมีความเสี่ยงในการพกพาเงินซึ่งไมสะดวกทั้งผูซื้อและผูขาย ทําใหอาจสูญเสียโอกาสในการไดรับดอกเบี้ยเงินฝาก และไมเหมาะกับการซื้อสินคาที่มีราคาสูง อยางไรก็ตามสังคมไทยในทุกวันนี้ก็ยังคงเปนสังคมที่ยังยึดติดอยูกับการใชเงินสด (cash society) เปนหลักอยูเชนเดียวกับที่ผานมารูปที่ 6 วิวัฒนาการของระบบการชําระเงินความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 15


ตอมาเริ่มมีการชําระเงินในการทําธุรกรรมกันโดยการหักบัญชีโดยอัตโนมัติซึ่งกอนจะดําเนินการหักเงินผานบัญชีไดนั้น ตองมีการทําสัญญารวมกันระหวางรานคา ลูกคา และธนาคารเสียกอน วิธีการดังกลาวจํากัดอยูแตเพียงกับรานคาที่เปดใหใชบริการเทานั้น โดยมากการใหบริการนี้มักใชเพื่อชําระคาบริการมากกวาชําระคาสินคา และในรูปแบบการชําระคาบริการดังกลาว ลูกคาอาจยังมีขอหวงกังวลอยูบางเกี่ยวกับยอดหักชําระโดยธนาคารวาจะถูกตองตรงกับคาใชจายที่เกิดขึ้นจริงหรือไมและตองกลับมาตรวจสอบรายการเดินบัญชีของธนาคารที่ใชหักเพื่อความมั่นใจในภายหลังจากนั้นเปนการชําระเงินคาสินคาหรือบริการดวยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต ซึ่งนับเปนกลไกสําคัญอันเปนที่ยอมรับกันในการชําระเงินคาสินคาหรือบริการเพราะมีเครือขายเชื่อมโยงถึงกันทั่วโลกระหวางรานคา ธนาคาร และบริษัทบัตรเครดิตโดยไดมีการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยีอยางตอเนื่องและพิสูจนความนาเชื่อถือแลว และในการใหบริการหรือใชบริการยังไดมีการจัดทําขอตกลงอันเปนมาตรฐานซึ่งคูสัญญาที่เกี่ยวของทุกฝายยอมรับ โดยทั่วไปรานคาที่จะรับบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิตตองมีบัญชีกับธนาคาร และติดตั้งเครื่องรับบัตรเครดิต (เครื่อง EDC) การตรวจสอบบัตรโดยสวนมากจะเปนแบบอัตโนมัติผานเครื่อง EDC แตก็มีบางกรณีซึ่งรานคาไมไดติดตั้งเครื่อง EDC ที่สามารถติดตอกับทางธนาคารไดโดยตรง ก็จะใชระบบการโทรศัพทในการตรวจสอบบัตรจากนั้นจึงเขาสูยุคการซื้อขายสินคาหรือบริการผานทางอินเทอรเน็ต(e-Commerce) ซึ่งรายการเกือบทั้งหมดเปนการชําระโดยผานบัตรเครดิต ในยุคแรกๆของการทํา e-Commerce ลูกคาเพียงใสหมายเลขบัตรเครดิตและวันหมดอายุของบัตรในหนาเว็บไซตของการชําระเงิน ทําใหเกิดการปลอมแปลงการซื้อโดยบุคคลไมประสงคดีที่รูขอมูลบัตรเครดิตของบุคคลใดบุคคลหนึ่งไดงาย จึงไดมีการพัฒนาใหเพิ่มหมายเลข CVV (Card Verification Value) ซึ่งเปนตัวเลข 3 หลักสุดทายที่พิมพไว16 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


นอกจากระบบ Internet Banking จะใหบริการเพื่อชําระเงินคาสินคาและบริการทางออนไลนแลว ยังใหบริการอื่นๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกใหกับลูกคาของธนาคารอีกดวย เชน การสรุปยอดบัญชี การเรียกดูรายการเดินบัญชี การโอนเงินระหวางบัญชี การโอนเงินไปตางประเทศ เปนตนรูปที่ 9 ขั้นตอนการชําระเงินโดยการหักเงินโดยตรงจากบัญชีของธนาคารอนึ่ง สําหรับการชําระคาสินคาหรือบริการผานระบบ Internet Banking นั้นผูชําระสามารถเก็บใบเสร็จรับเงินที่เปนอิเล็กทรอนิกส (Electronic Receipt) ไวเปนหลักฐานในการชําระได โดยธนาคารจะเก็บขอมูลการชําระเงินดังกลาวไวในระบบเพื่อยืนยันการชําระเงินจากลูกคาดวย ปญหาที่มีขอนาสงสัยอันเปนภารกิจของคณะกรรมการชุดนี้ดวย ก็คือ หลักฐานดังกลาวมีผลทางกฎหมายหรือไม อยางไร และโดยเหตุสงสัยขางตน ธนาคารจึงไดจัดทําสัญญามาตรฐานขึ้นเพื่อใหลูกคาของธนาคารตกลงยอมรับเงื่อนไขตางๆ ของสัญญาบนกระดาษเสียกอน เพื่อความสมบูรณของการทํารายการและความผูกพันจากการหักบัญชีของธนาคารความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 19


รูปที่ 10 ตัวอยางขั้นตอนการทําธุรกรรม m-commerceจากการทําธุรกรรมและการชําระเงินในรูปแบบตางๆ ผูนําเสนอไดชี้ใหเห็นถึงขอยุงยากสําคัญประการหนึ่งในการทําธุรกรรมดังกลาว คือ ขอกังวลอันเกิดจากผลผูกพันในทางกฎหมาย จึงสงผลใหธนาคารหรือผูใหบริการทางออนไลนมักกําหนดเงื่อนไขใหผูใชบริการหรือลูกคาของตน ยอมรับขอตกลงที่กําหนดไวในสัญญาที่ตนทําขึ้นเสียกอน อันอาจนับเปนขอยุงยากประการหนึ่งที่สรางภาระใหกับลูกคา ในขณะเดียวกันธนาคารเองก็ตองสรางความเชื่อมั่นในระบบความมั่นคง และความปลอดภัยของระบบ (Security) ตอลูกคา เชน การใชระบบการเขารหัสขอมูลของบริษัทที่มีความนาเชื่อถือสูง เชน Verisign SSL 128 บิต, ระบบการเขารหัสพิเศษของธนาคาร, ระบบไฟรวอลล, ระบบ Verified by VISA และ Master Card Secure Code และการจัดใหมีระบบตรวจสอบความปลอดภัยโดย Security Audit อยางสม่ําเสมอความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 21


แมจะมีความพยายามในการแกปญหาการขาดความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมทางออนไลนที่เกิดขึ้นดวยระบบความมั่นคงตางๆ ขางตน แตการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสในปจจุบันยังมีขอจํากัดบางประการที่ตองเรงแกไขและเปนภาระของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ปญหาดังกลาวคือการทําธุรกรรมชําระเงินที่มีมูลคาสูง เชน B2B นั้น สวนมากยังเปนการหักและเขาบัญชีเพียงเฉพาะผูเปดบัญชีกับธนาคารเดียวกันเทานั้น อยางไรก็ตามธนาคารแหงประเทศไทยกําลังอยูระหวางการจัดทําโครงการเพื่อรองรับการทํารายการขามธนาคารอยูในขณะนี้ ปญหาประการถัดไป คือ ประชาชนยังขาดความรูความเขาใจในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสอยางเพียงพอ และประการสุดทาย คือ กฎหมายที่สงเสริมการทําธุรกรรมดังกลาว อันไดแก กฎหมายลําดับรองภายใตกฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสและกฎหมายที่เกี่ยวของยังไมสมบูรณครบถวนอันจะใชเปนกลไกสําคัญในการสงเสริมการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสใหมีความนาเชื่อถือมากขึ้น22 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


บทที่ 2วิวัฒนาการของระบบการชําระเงินและแนวโนมในอนาคตโดย สายระบบการชําระเงิน ธนาคารแหงประเทศไทยจากความรูเบื้องตนที่เกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสที่นําเสนอในบทที่ 1 ไดมีการนําเสนอเกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางออนไลนที่มีความหลากหลายมากขึ้น รูปแบบการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสที่นิยมใชในปจจุบัน คือ การชําระเงินผานบัตรเครดิตและพัฒนาสูการชําระเงินผานโทรศัพทมือถือ อยางไรก็ตาม การชําระเงินที่กลาวถึงบทที่ 1 นั้น มักเปนการชําระเงินที่นิยมทํากันในการทําธุรกรรมแบบ B2C หากแตจริงๆ แลวการชําระเงินในกลุม B2B หรือระหวางผูประกอบการหรือสถาบันการเงินหรือการโอนเงินรายใหญและรายยอย ก็นับเปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญที่จําเปนตองกลาวถึงในบทนี้และบทถัดไปธนาคารแหงประเทศไทย ไดตระหนักถึงความสําคัญของระบบการชําระเงินที่จะเปนโครงสรางพื้นฐานรองรับการโอนเงินระหวางธนาคาร เพื่อใหการชําระเงินในระบบเศรษฐกิจ เกิดความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จึงไดจัดตั้งคณะทํางานพัฒนาระบบการชําระเงินขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2535 ซึ่งคณะทํางานฯ ไดศึกษาและพัฒนาระบบการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสที่เปนโครงสรางพื้นฐานระหวางธนาคารที่สําคัญความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 23


3 ระบบ ไดแก ระบบ BAHTNET (Bank of Thailand Automated High-ValueTransfer Network) ระบบ ECS (Electronic Cheque Clearing System) และระบบSMART (System for Managing Automated Retail Funds Transfer) โดยไดเปดใหบริการตั้งแตป พ.ศ. 2538-2539 และ 2540 ตามลําดับ ระบบ BAHTNET จะรองรับการโอนเงินรายใหญหรือการโอนเงินมูลคาสูงขามธนาคาร โดยมีลักษณะเปนการโอนเงินทันทีทีละรายการ (Real Time Gross Settlement) โดยธนาคารผูรับจะไดรับเงินจากธนาคารผูสงทันที ระบบ ECS จะรองรับการชําระดุลและการหักบัญชีเช็คระหวางธนาคาร เพื่อใหการเรียกเก็บเงินตามเช็ค มีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น สวนระบบ SMART จะรองรับการโอนเงินรายยอยขามธนาคาร สําหรับรายการโอนเงินที่มีมูลคาไมสูง แตมีปริมาณมาก และเกิดขึ้นเปนประจํา เชน การจายเงินเดือน เงินปนผลและการจายคาสินคาและบริการ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกภาคธุรกิจปจจุบันเทคโนโลยีไดกาวหนาไปมาก การคาและธุรกิจดําเนินไดอยางรวดเร็วผานเครือขายอินเทอรเน็ตโดยไมจํากัดสถานที่และเวลา การโอนชําระเงินขามธนาคารผานระบบเครือขายจึงเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยสนับสนุนและสงเสริมใหการคาทางอินเทอรเน็ตหรือการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสขยายตัวออกไปไดอยางกวางขวางปจจุบันธนาคารพาณิชยไดนําเสนอบริการโอนเงินที่หลากหลาย เพื่อสนองตอบความตองการของลูกคาและธุรกิจไดแก การโอนเงินผานระบบ Internet Banking การโอนเงินในระบบ B2Be-payment และการโอนเงินผานระบบ ORFT (Online Retail Funds Transfer) หรือการโอนเงินขามธนาคารผานเครื่องเอทีเอ็ม แตการโอนดังกลาวยังคงมีขอจํากัดอยูที่ผูโอนเงินและผูรับเงินจะตองมีบัญชีอยูในธนาคารเดียวกันหรืออยูในกลุมธนาคารที่24 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


เปนสมาชิกของระบบเทานั้น ซึ่งยังคงเปนอุปสรรคที่สําคัญของการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกสธนาคารแหงประเทศไทย ไดตระหนักถึงความสําคัญของการโอนเงินขามธนาคารผานระบบเครือขายดังกลาว จึงไดกําหนดวัตถุประสงคเชิงกลยุทธหลัก โดยมุงเนนสงเสริม และผลักดันใหมีระบบการชําระเงินที่สมบูรณแบบ สามารถรองรับธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสไดภายในป พ.ศ. 2550ธนาคารแหงประเทศไทยโดยคณะกรรมการระบบการชําระเงิน (กรช.) จึงไดมีมติเห็นชอบใหคณะอนุกรรมการความรวมมือเพื่อการชําระเงินแหงชาติ (อชช.) ซึ่งประกอบดวยตัวแทนจากภาคเอกชน ธนาคารพาณิชยไทย ธนาคารพาณิชยตางประเทศ และ ธนาคารแหงประเทศไทย จัดตั้งคณะทํางานดานโครงสรางพื้นฐานระบบการชําระเงิน เพื่อรวมกันผลักดันใหเกิดระบบการชําระเงินผานระบบเครือขายระหวางธนาคาร หรือระบบ ITMX (Interbank Transaction Management andExchange) ขึ้นเพื่อรองรับการโอนเงินระหวางธนาคารทุกๆ ชองทาง ซึ่งจะชวยใหการชําระเงินระหวางธนาคารมีความสะดวก คลองตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้นระบบ ITMX จะเปนโครงสรางที่มีมาตรฐานกลางเอื้อตอการใชงานรวมกันของระบบตางๆ (interoperability) และมีโครงสรางทางเทคนิคที่เปนมาตรฐานเปด(open platform) ชวยอํานวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนขอมูลการโอนเงินขามระบบ โดยมีมาตรฐานระบบการรักษาความปลอดภัยที่เชื่อถือได สามารถรองรับการทําธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งยังเปนโครงสรางที่เอื้อตอการทําธุรกรรมโอนเงินระหวางประเทศไดในอนาคต ทั้งนี้ คาดวาระบบ ITMX จะสามารถเปดใหบริการไดในป พ.ศ. 2548 โดยภาคเอกชนเปนผูดําเนินการระบบ และ ธนาคารแหงประเทศไทย จะทําหนาที่ในการกํากับดูแลระบบเพื่อสรางความเชื่อมั่นดานความปลอดภัยแกผูใชบริการความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 25


นอกจากความรวมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนาระบบ ITMX เพื่อรองรับธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสดังกลาวแลว ธนาคารแหงประเทศไทย ยังมีนโยบายสนับสนุนการใชสื่อชําระเงินอิเล็กทรอนิกสอื่นๆ เพื่อทดแทนการใชเงินสดและเช็คในอนาคตอันใกลนี้ เพื่อสงเสริมใหการชําระเงินในระบบมีประสิทธิภาพ มีความสะดวกรวดเร็ว และปลอดภัย เพื่อลดตนทุนการชําระเงินของระบบเศรษฐกิจโดยรวมซึ่งจะชวยเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการแขงขันของธุรกิจ และสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจของประเทศตอไป26 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


บทที่ 3การกํากับและระบบการชําระเงินในการบริการของธนาคารแหงประเทศไทยโดย สายระบบการชําระเงิน ธนาคารแหงประเทศไทยระบบการชําระเงินถือเปนโครงสรางพื้นฐานทางดานการเงินที่สําคัญของประเทศ และเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเงิน และการขยายตัวของภาคการคาและบริการภายในประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งจะทวีความสําคัญและความซับซอนขึ้นตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ธนาคารแหงประเทศไทย จึงตองใหความสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาระบบการชําระเงิน โดยเฉพาะระบบการชําระเงินที่มีความสําคัญยิ่งยวด เพื่อใหมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพบริการระบบการชําระเงินของธนาคารแหงประเทศไทยธนาคารแหงประเทศไทยใหบริการระบบการชําระเงินที่เปนโครงสรางพื้นฐาน ระหวางธนาคารที่สําคัญ 3 ระบบ ไดแก ระบบ BAHTNET (Bank ofThailand Automated High-Value Transfer Network) ระบบ ECS (ElectronicCheque Clearing System) และระบบ SMART (System for Managing AutomatedRetail Funds Transfer) ระบบบาทเน็ตเปนระบบโอนเงินรายใหญหรือการโอนเงินมูลคาสูงขามธนาคาร โดยมี 2 บริการหลักคือโอนเงินระหวางบัญชีเงินฝากกระแสรายวันที่ธนาคารแหงประเทศไทยที่ครอบคลุมทั้งการโอนเงินระหวางสถาบัน และการโอนเงินเพื่อบุคคลที่ 3 อีกบริการหนึ่งคือโอนตราสารหนี้ภาครัฐที่ฝากไวที่ธนาคารแหงประเทศไทย ซึ่งใหบริการโอนตราสารระหวางบัญชีตราสารหนี้และโอนตราสารหนี้ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 27


พรอมการชําระราคา เพื่อลดความเสี่ยงในการสงมอบหลังการตกลงซื้อขาย โดยการโอนกรรมสิทธิ์ของผูขายตราสารหนี้และการชําระเงินของผูซื้อจะเกิดในเวลาเดียวกันระบบ ECS หรือระบบการหักบัญชีเช็คดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส เปนการหักบัญชีเช็คและชําระดุลโดยใชขอมูลเช็ค ที่นําระบบอิเล็กทรอนิกสและเครือขายสื่อสารมาใชในการรับสงขอมูลเช็คแทนการใชตัวเช็คเพื่อคํานวณและชําระดุลการหักบัญชีระหวางธนาคารสวนตัวเช็คใชเปนหลักฐานการหักบัญชีระหวางธนาคารและลูกคาผูสั่งจายเช็ค ทําใหธนาคารขยายเวลาการรับฝากเช็คในระหวางวันไดนานขึ้นและใชเวลาในการคัดแยกเช็ค เพื่อคํานวณดุลระหวางธนาคารนอยลง ระบบนี้ใชสําหรับการเรียกเก็บเงินตามเช็คของธนาคารและสาขาในกรุงเทพปริมณฑลและบางสาขาในจังหวัดใกลเคียง ทําใหมีความสะดวกและรวดเร็วในการเรียกเก็บมากขึ้นระบบ SMART ระบบการโอนเงินรายยอยระหวางลูกคาที่มีบัญชีอยูตางธนาคาร มีงวดการชําระเงินที่แนนอน มีปริมาณรายการพอสมควรและจํานวนเงินของแตละรายการไมเกิน 500,000 บาท ปจจุบันใหบริการเฉพาะบริการโอนเงินจาก ผูจายไปใหผูรับ (Credit Transfer) บริษัทหางราน องคกรธุรกิจหรือนักธุรกิจ ที่เปนลูกคาธนาคารพาณิชยและประสงคจะสงคําสั่งโอนเงินเพื่อธุรกิจใหกับคูคาหรือพนักงานของตนเองซึ่งมีบัญชีตางธนาคาร ระบบนี้ก็จะชวยอํานวยความสะดวก ลดขั้นตอนการจายเงิน เชน การเขียนเช็ค การนับเงินสด เปนตน ประหยัดตนทุนคาใชจาย และแรงงาน ลักษณะธุรกรรมที่เหมาะสมไดแกการจายเงินเดือน เงินปนผล และการจายคาสินคาและบริการนอกจากนี้ยังใหบริการชําระบัญชีระหวางสถาบัน เชน การชําระบัญชีเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยของตลาดหลักทรัพยอีกดวย และจะผลักดันใหธุรกรรมอื่นๆ ที่มีการชําระบัญชีระหวางสถาบันมาใชบริการมากขึ้นดวย28 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


การกํากับระบบการชําระเงิน1. วัตถุประสงคในการกํากับระบบการชําระเงินการกํากับระบบการชําระเงินมีวัตถุประสงคเพื่อใหระบบการชําระเงินของประเทศสามารถดําเนินการไปไดอยางราบรื่นและตอเนื่องมีความปลอดภัยมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับสากลในการเปนโครงสรางพื้นฐานทางการเงินที่มีเสถียรภาพของประเทศ2. หลักการการกํากับ (oversight) ระบบการชําระเงินธนาคารแหงประเทศไทย จะกํากับทั้งระบบที่ธนาคารแหงประเทศไทยดําเนินการเอง ไดแก ระบบบาทเน็ต ระบบ ECS ระบบ SMART และระบบที่เอกชนดําเนินการเชน ระบบ ITMX ระบบการชําระดุลหลักทรัพย ระบบ ORFT (ATM) ระบบ CreditCards และอื่นๆโดยในสวนของธุรกรรมการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ธนาคารแหงประเทศไทย จะอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติธนาคารแหงประเทศไทยและพระราชกฤษฎีกาที่ออกตามความมาตรา 32แห งพระราชบั ญญั ติ ว าด วยธุ รกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 กํากับธุรกรรมการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งปจจุบันพระราชกฤษฎีกาดังกลาวอยูระหวางการดําเนินการของคณะอนุกรรมการกํากับดูแลธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสและธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐและคณะอนุกรรมการโครงสรางพื้นฐานทางกฎหมายภายใตคณะกรรมการธุรกรรมทางอิ เล็ กทรอนิ กส ในการกํ าหนดนโยบายและมาตรการการกํ ากั บความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 29


3. การกํากับตามมาตรฐานที่กําหนดไวธนาคารแหงประเทศไทยดําเนินการกํากับใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลโดยจะมีการประเมินมาตรฐานและตรวจสอบระบบการชําระเงินตางๆ ตามแนวทางดังตอไปนี้1. Core Principles for Systemically Important Payment Systemsproduced by the Committee on Payment and Settlement Systems (CPSS)2. The International Monetary Fund (IMF) Code of Good Practiceson Transparency in Monetary and Financial Policies3. Recommendations for Securities Settlement Systems (CPSSand IOSCO)4. การประเมินผลประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการชําระเงินหนึ่งๆ จะเนนที่การจัดการบริหารความเสี่ยงและจุดออนของระบบการชําระเงินโดยเจาของ หรือผูดําเนินงานระบบการชําระเงินนั้นๆ มีหนาที่และความรับผิดชอบในการจัดใหมีการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบดวยการกําหนดลักษณะของความเสี่ยง การวัดระดับความเสี่ยงและการควบคุมดูแลความเสี่ยง โดย ธปท. จะทําหนาที่ในการประเมินวาระบบการชําระเงินนั้นๆ มีการจัดการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและเปนไปอยางตอเนื่องหรือไมโดยมีการประเมินผลอยางสม่ําเสมออยางนอยปละครั้งหรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบที่สําคัญ30 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


5. การติดตามการดําเนินงานของระบบอยางสม่ําเสมอในการกํากับระบบการชําระเงินควรจะมีการติดตามการดําเนินงานอยางสม่ําเสมอเพื่อใหระบบการชําระเงินเปนไปอยางราบรื่นและไมสงผลกระทบตอระบบการชําระเงินอื่น (BIS Core Principles for SIPS) จึงจําเปนตองมีระบบการติดตามดวยวิธีการตรวจสอบระบบการชําระเงินเพื่อนําขอมูลมาใชในการติดตามการดําเนินงานอยางสม่ําเสมอโดย ธปท. จะทําการประเมินระบบการชําระเงินตางๆอยางตอเนื่อง โดยใชขอมูลจากรายงานการดําเนินงานที่ไดรับเปนประจําตามกําหนด(Off-site Inspections) ควบคูไปกับขอมูลที่ไดรับจากการตรวจสอบการดําเนินงานจริงณ ที่ทําการ (On-site Inspections)ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 31


บทที่ 4กฎระเบียบเกี่ยวกับระบบการชําระเงินโดย นางสาวอาวีวรรณ อินทกาญจนสายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทยสืบเนื่องจากกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับระบบการชําระเงินเปนกฎหมายที่สําคัญ เรงดวน และจําเปนตอการพัฒนาการพาณิชยแบบใหมในประเทศไทย โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้กฎหมายที่เกี่ยวของกับระบบการชําระเงิน1. พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544มีผลบังคับใชตั้งแตเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหเสมอดวยกระดาษ อันเปนการรองรับนิติสัมพันธตางๆ ซึ่งแตเดิมอาจจะจัดทําขึ้นในรูปแบบของหนังสือใหเทาเทียมกับนิติสัมพันธรูปแบบใหมที่จัดทําขึ้นใหอยูในรูปแบบของขอมูลอิเล็กทรอนิกส รวมตลอดทั้งการลงลายมือชื่อในขอมูลอิเล็กทรอนิกส และการรับฟงพยานหลักฐานที่อยูในรูปแบบของขอมูลอิเล็กทรอนิกส กฎหมายนี้เปนกฎหมายเสริมเขากับประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และกฎหมายอื่นๆ ผลของกฎหมายนี้จะทําใหการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสมีความนาเชื่อถือ และกอใหเกิดความเชื่อมั่น กฎหมายฉบับนี้สอดคลองกับมาตรฐานที่นานาประเทศยอมรับ32 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


2. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอรเปนกฎหมายที่ชวยลดความเสี่ยงของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพราะในปจจุบันการลักลอบเขาสูระบบคอมพิวเตอร หรือขอมูลคอมพิวเตอรโดยไมไดรับอนุญาต หรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร หรือขอมูลคอมพิวเตอร และการปลอมแปลงขอมูลคอมพิวเตอร อันเปนฐานความผิดหลักๆ ที่จะบัญญัติไวในกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร นับเปนการกระทําความผิดรูปแบบใหมที่อาจอยูนอกเหนือขอบเขตของกฎหมายปจจุบันที่ใชบังคับ ดังนั้น ผูประกอบการตางๆ แมจะลงทุนดานระบบรักษาความปลอดภัย แตก็ยังขาดความมั่นใจ วาระบบของตนเองไดรับการคุมครองจากกฎหมาย ซึ่งอยางนอยก็ควรกําหนดความผิดของผูกระทําไดกฎหมายฉบับนี้มีความเรงดวน ที่จําเปนตองตราขึ้นใชบังคับตอไปในอนาคต3. กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคลมีวัตถุประสงคในการคุมครองความเปนสวนตัว(privacy) ในขอมูลสวนบุคคลจากการคุกคามของบุคคลอื่นที่ฉวยโอกาสนําเอาขอมูลสวนตัวของบุคคลของผูอื่นไปใชในทางที่มิพึงปรารถนา ในยุคคอมพิวเตอร ขอมูลสวนบุคคลจะเก็บรวบรวมไวไดงาย และสงกระจายไดอยางรวดเร็ว ยิ่งไปกวานั้น การทําธุรกรรมผานคอมพิวเตอร จะเกิดการบันทึกขอมูลสวนบุคคลใหมๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของแตละคนขึ้น ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรสามารถบันทึกไวตลอดทุกรายการ ดังนั้น จึงตองมีการหามปรามและกําหนดโทษการนําขอมูลสวนบุคคลไปใชในทางที่มิชอบกันอยางชัดเจนความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 33


4. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อวางกฎเกณฑใหธุรกรรมทางการเงินสามารถดําเนินไดอยางสะดวกคลองตัวและมีความปลอดภัยบนพื้นฐานของการพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศอันจะสงผลใหผูบริโภคไดรับความคุมครองยิ่งขึ้นอนึ่ง ตามพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 ไดกําหนดใหมีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบาย กํากับดูแล ธุรกิจบริการ ภาคเอกชน หรือการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ เสนอแนะการตราพระราชกฤษฎีกา กฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวของรวมทั้งเสนอแนะมาตรการในการแกปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อสงเสริมสนับสนุน และพัฒนาการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาคเอกชนและภาครัฐ ใหกลายเปน ยุทธศาสตรสําคัญประการหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศและไดมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานขึ้นเพื่อดําเนินภารกิจตางๆ ใหบรรลุผลในทางปฏิบัติซึ่งปจจุบัน คณะอนุกรรมการอยูระหวางการรางพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวของกับธุรกิจการชําระเงินเพื่อกํากับดูแลธุรกิจบริการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามความในมาตรา 32 ของพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544อยางไรก็ตาม ผูประกอบการควรศึกษากฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการชําระเงิน ซึ่งมีผลบังคับใชในปจจุบัน ดังนี้34 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน1. พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 24852. กฎกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2497)3. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน4. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคําสั่งรัฐมนตรีใหไวแกตัวแทนรับอนุญาต5. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคําสั่งรัฐมนตรีใหไวแกบุคคลรับอนุญาต6. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคําสั่งรัฐมนตรีใหไวแกบริษัทรับอนุญาต7. ประกาศเจาพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินกฎระเบียบเกี่ยวกับการโอนเงินระหวางประเทศระเบียบทั่วไป- การซื้อ ขาย ฝาก ถอน กูยืม แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศตองทํากับตัวแทนรับอนุญาตหรือบุคคลรับอนุญาตเทานั้น- การนําเขาเงินตราตางประเทศหรือเงินบาททําไดไมจํากัดจํานวน ทั้งนี้เงินตราตางประเทศตองขายใหกับตัวแทนรับอนุญาตหรือบุคคลรับอนุญาต หรือฝากไวกับตัวแทนรับอนุญาต ภายใน 7 วัน นับแตวันที่ไดรับเงิน- การโอนเงินออกนอกประเทศ ตองปฏิบัติตามระเบียบควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน- การประกอบธุรกิจปจจัยชําระเงินตางประเทศตองไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง- ผูใดฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินมีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือจําคุกไมเกิน 3 ป หรือทั้งจําทั้งปรับความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 35


- การลักลอบสงหรือนําเงินบาท เงินตราตางประเทศ ธนาคารบัตรตางประเทศ หรือ หลักทรัพยของไทยหรือตางประเทศออกไปนอกหรือเขามาในประเทศไทย โดยฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินถือเปนการกระทําผิดกฎหมายศุลกากรดวยระเบียบเกี่ยวกับเงินบาทที่ควรทราบการนําเขา ไมมีระเบียบควบคุมการสงออก มีระเบียบควบคุม ดังนี้1. นําหรือสงออกไปเวียดนามและประเทศที่มีพรมแดนติดไทยไดครั้งละไมเกิน 500,000 บาท2. นําหรือสงออกไปประเทศอื่นๆ ไดครั้งละไมเกิน 50,000 บาท3. สงออกโดยธนาคารพาณิชย ไดเทาที่ธนาคารตางประเทศนําเงินตราตางประเทศหรือเงินบาทเขามาแลกระเบียบเกี่ยวกับเงินตราตางประเทศที่ควรทราบการนําเขา ไมมีระเบียบควบคุมแตเมื่อนําเขามาแลวตองแลกเปนเงินบาท หรือฝากไวในบัญชีเงินฝากเงินตราตางประเทศภายใน 7 วัน นับจากวันที่ไดรับ ยกเวนบุคคลที่มีถิ่นที่อยูนอกประเทศ ชาวตางประเทศที่เขามาในไทยไมเกิน 3 เดือนสถานทูตตางประเทศและผูไดเอกสิทธิ์ทูต ทบวงการชํานัญพิเศษและผูที่ไดรับเอกสิทธิ์และความคุมครองในไทยการสงออกแตกรณีทุกกรณีตองขออนุญาตจากธนาคารพาณิชย หรือเจาพนักงานแลว36 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


ธุรกรรมการสงเงินออกที่ธนาคารพาณิชย อนุญาตได มี 2 ประเภท คือ1. ประเภทจํากัดวงเงิน ไดแก1.1. การลงทุนในกิจการที่ตางประเทศ (ถือหุนไมต่ํากวารอยละ 10)วงเงินไมเกิน 10 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอป1.2. การใหกูยืมแกกิจการในเครือที่ตางประเทศ (ถือหุนไมต่ํากวารอยละ 10) วงเงินไมเกิน 10 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอป1.3. ซื้ออสังหาริมทรัพยในตางประเทศเพื่อเปนที่พักอาศัยวงเงินไมเกิน500,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอราย1.4. ซื้อหุนบริษัทในเครือเดียวกันที่ตางประเทศในลักษณะที่เปนการใหสวัสดิการแกพนักงานไมเกิน 100,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอรายตอป1.5. สงเงินกรรมสิทธิ์ของคนไทยที่ยายถิ่นฐานไปอยูตางประเทศเปนการถาวรไมเกิน 1 ลานเหรียญสหรัฐหรือเทียบเทาตอผูรับแตละรายตอป1.6. สงเงินมรดกใหผูรับมรดกซึ่งมีถิ่นพํานักถาวรในตางประเทศไมเกิน 1ลานUSD หรือเทียบเทาตอผูรับแตละรายตอป1.7. สงเงินไปใหครอบครัวหรือญาติพี่นอง ซึ่งมีถิ่นพํานักถาวรในตางประเทศไมเกิน 100,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอผูรับแตละรายตอป1.8. สงเงินไปบริจาคเพื่อสาธารณประโยชน วงเงินไมเกิน100,000เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอรายตอป2. ประเภทไมจํากัดวงเงิน (ตามภาระผูกพัน ความจําเปนและเหมาะสม)ไดแก2.1. การคืนตนเงินกูและดอกเบี้ยจากตางประเทศ (เงินกูบาทและเงินกูเงินตราตางประเทศ)2.2. การสงคืนเงินจาการขายหุนหรือหนวยลงทุนความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 37


ไทยประเทศ2.3. การสงคืนเงินลงทุนในตราสารทางการเงินที่ออกโดยสถาบันการเงินใน2.4 การสงคืนเงินทุนของสาขา หรือสํานักงานผูแทนในไทย2.5 การสงคืนเงินลงทุนของกองทุนรวม2.6 การสงคืนทุนกรณีเลกกิจการ ลดทุนหรือลดมูลคาหุน2.7 การสงเงินคาเชา คาขายอสังหาริมทรัพยของชาวตางชาติ2.8 การสงคืนเงินของชาวตางชาติที่เคยนําเงินเขามาในไทย2.9 การสงเงินปนผลและกําไรใหสํานักงานใหญในตางประเทศ2.10 การสงเงินออมของชาวตางชาติที่ทํางานในไทย2.11 การชําระคาของ2.12. คาใชจายเดินทางไปตางประเทศ2.13. คาใชจายในการศึกษา2.14. การสงเงินคาใชจายตางๆ ที่มีเอกสารหลักฐานเรียกเก็บเงินจากตางธุรกรรมที่ตองขออนุญาตเจาพนักงานหากตองการสงเงินไปตางประเทศในเรื่องที่ไมไดมอบหมายใหธนาคารพาณิชยอนุญาต หรือวงเงินสูงกวาที่ธนาคารพาณิชยอนุญาตได หรือไมมีเอกสารหลักฐานตามที่เจาพนักงานกําหนด จะตองสงเรื่องพรอมเอกสารประกอบมาขออนุญาตเจาพนักงาน โดยยื่นผานธนาคารพาณิชยเจาพนักงานจะใชเวลาพิจารณาประมาณ 5-7 วันทําการ นับจากวันที่เอกสารหลักฐานครบถวนพรอมที่จะพิจารณา ในกรณีเปนคําขอที่ไมซับซอน38 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


ขอแนะนําสําหรับผูประกอบการเพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนผูประกอบการสามารถติดตอธนาคารพาณิชย เพื่อขอทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา หรือขอซื้อผลิตภัณฑ (Product) ตางๆ จากธนาคารพาณิชย เพื่อคุมครองความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน โดยมีเงื่อนไข คือ ผูที่จะทําการคุมครองความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนตองมีรายรับหรือรายจายเปนเงินตราตางประเทศในอนาคต และทําไดไมเกินจํานวนเงินและระยะเวลาของรายรับหรือรายจายนั้นกฎหมายคุมครองผูบริโภคอาจกลาวไดวามีการนําหลักการคุมครองผูบริโภคมาบัญญัติไวเปนครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ฉบับปจจุบัน) ในมาตรา 57“สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองบัญญัติใหมีองคการอิสระซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความ เห็นในการตรากฎหมาย กฎ และขอบังคับและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค”กฎหมายสําคัญที่วางหลักการพื้นฐานเรื่องการคุมครองสิทธิของผูบริโภคในเรื่องการซื้อขายสินคาและบริการคือ “พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522”แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2541 ซึ่งวางหลักการสําคัญเรื่องคุมครองสิทธิของผูบริโภค5 ประการ คือสิทธิที่จะไดรับขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่ถูกตอง, สิทธิที่จะเลือกซื้อสินคาและบริการ, สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาและบริการ, สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา และสิทธิที่จะไดรับการชดเชยความเสียหาย หลักการทั้ง 5 ประการนี้มีบัญญัติไวในมาตราตางๆ ของกฎหมายฉบับนี้ แตก็ไมมีบทบัญญัติที่ใหความคุมครองแกผูบริโภคที่ซื้อสินคาและบริการทางอินเทอรเน็ตโดยเฉพาะ ซึ่งในเรื่องนี้มีผูใหความเห็นวา กฎหมายไดใหความคุมครองความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 39


แก ผูบริโภคทุกกรณี โดยไมคํานึงวาจะเปนการทําธุรกรรมผานสื่อประเภทใด แตยังมีปญหาเกี่ยวเนื่องเรื่องการใชบังคับกฎหมายกฎหมายการฟอกเงินกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินมีวัตถุประสงคเพื่อสกัดกั้นมิใหมีการนําเงินไดจากการกระทําความผิดไปฟอก โดยมีมาตรการการจัดการกับเงินหรือทรัพยสินทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิด เปนการทําลายวงจรอาชญากรรม ทําใหอาชญากรไมสามารถดําเนินการตางๆ กับเงินหรือทรัพยสินเหลานั้นไดในปจจุบันประเทศไทยไดตรากฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินขึ้นมาบังคับใชแลว คือพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 โดยกําหนดความผิดมูลฐานไวรวมทั้งสิ้น 7 มูลฐานความผิด ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใชเมื่อวันที่20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 และตอมากฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ไดออกมามีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2543 อันมีผลทําใหกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินของไทย มีสภาพบังคับใชโดยสมบูรณคําศัพทที่ควรทราบ1. ตัวแทนรับอนุญาต ไดแก- ธนาคารพาณิชย- บริษัทเงินทุนสินเอเซีย จํากัด (มหาชน)- ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย- บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย40 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


- ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทยตัวแทนรับอนุญาตสามารถทําการ ซื้อ ขาย รับฝาก ถอน ใหกูยืม แลกเปลี่ยน โอน รับโอน เงินตราตางประเทศไดทุกกรณีตามเอกสารหลักฐานที่เจาพนักงานกําหนด2. บุคคลรับอนุญาต- สามารถรับซื้อธนบัตร เช็คเดินทางตางประเทศโดยจายเปนเงินบาทใหลูกคาไดไมจํากัดจํานวน- สามารถขายธนบัตรตางประเทศไดไมเกิน 5,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอคนตอครั้ง3. บริษัทรับอนุญาต- สามารถซื้อเช็คเดินทาง จายเงินบาทตามบัตรเครดิตตางประเทศ- สามารถขายเช็คเดินทางไมเกิน 5,000 เหรียญสหรัฐ หรือ เทียบเทาตอคนตอครั้ง4. ตัวแทนโอนเงินระหวางประเทศ- สามารถรับโอนเงินตราตางประเทศจากบุคคลในตางประเทศเพื่อจายเงินบาทใหผูรับในประเทศไดไมจํากัดจํานวน- สามารถโอนเงินตราตางประเทศออกนอกประเทศไมเกิน 2,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาตอคนตอวัน5. เจาพนักงาน หมายถึง เจาพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินซึ่งเปนพนักงานธนาคารแหงประเทศไทยที่ไดรับการแตงตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 41


บทที่ 5การจัดเก็บภาษีสรรพากรในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสโดย นายสุภัทท บุญญานนทนักวิชาการคอมพิวเตอร 7 วช. กรมสรรพากรในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งมีพัฒนาการและความซับซอนมากขึ้นจนตองสรางโครงสรางพื้นฐานหลายดานรองรับ เชน โครงสรางพื้นฐานทางการเงิน ทางกฎหมาย เปนตน แมตัวเลขหรือสถิติการเพิ่มมูลคาในการทําธุรกรรมทางออนไลนจะเพิ่มสูงมากขึ้น หากแตโครงสรางพื้นฐานหนึ่งที่มักมีคําถามบอยครั้งคือ การจัดเก็บภาษีสําหรับการทําธุรกรรมเปนอยางไรนับตั้งแต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสถาปนากรมสรรพากรขึ้นเปนทางการ เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2458 และไดแตงตั้งมหาอํามาตยโท พระยาอินทรมนตรีศรีจันทรกุมาร (มิสเตอร เอฟ.เอช.ไยล) เปนอธิบดีกรมสรรพากรคนแรกเปนตนมา และสืบตอมาถึงปจจุบัน พ.ศ. 2547 นี้ อธิบดีกรมสรรพากรคนปจจุบันในลําดับที่ 19 คือ นายศิโรตม สวัสดิ์พาณิชย นับเวลาเริ่มตั้งแตสถาปนาถึงปจจุบันนี้รวม 89 ป กรมสรรพากรไดผานการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการกาวหนามาโดยลําดับอยางตอเนื่อง ดังเปนที่ทราบกันดีแลววา กรมสรรพากร เปนหนวยงานสวนราชการสังกัดกระทรวงการคลัง ที่มีบทบาทภารกิจเปนหนวยงานจัดเก็บรายไดของประเทศ มีหนาที่ในการจัดเก็บภาษีอากร ไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินไดปโตรเลียม อากรแสตมป และรายไดอื่นๆ เพื่อนําไปใชเปนงบประมาณในการบริหารประเทศ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2543และกฎกระทรวง แบงสวนราชการกรมสรรพากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2545รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังไดประกาศลงนามไว ณ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545ซึ่งกําหนดภารกิจของกรมสรรพากร ใหมีภารกิจเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี42 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


การเสนอแนะและการใชนโยบายทางภาษีอากรเพื่อใหไดภาษีตามเปาหมายอยางทั่วถึง และเปนธรรม เปนกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และเกิดความสมัครใจในการเสียภาษี โดยใหมีอํานาจหนาที่สามประการคือ หนึ่ง จัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ สอง เสนอแนะนโยบายการจัดเก็บภาษีอากรตอกระทรวงการคลัง และสาม ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมายกรมสรรพากร ณ วันนี้ จึงไดมีการปฏิรูปโครงสรางองคกรใหสอดคลองกับภารกิจ และพัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน สามารถใหบริการประชาชนดวยระบบงานที่เปนมาตรฐานสากล เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมใหกาวหนาอยางยั่งยืน ภายใตวิสัยทัศน (VISION) วา “ระบบงานมาตรฐานสากล เพื่อบริการประชาชน และเก็บภาษีทั่วถึง เปนธรรม” และพันธกิจ (MISSION) วา“ จัดเก็บภาษีอากรใหไดตามประมาณการ ใหบริการและสรางความสมัครใจในการเสียภาษี เสนอแนะการใชนโยบายทางภาษีอากรอยางทั่วถึง เปนธรรมสามารถใชเปนกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการแขงขันของประเทศตอกระทรวงการคลัง” ถาหากพิจารณาจากสถิติการจัดเก็บภาษียอนหลังไป ปรากฏวากรมสรรพากรรับผิดชอบการจัดเก็บภาษีสูงเปนอันดับหนึ่งของหนวยงานจัดเก็บรายได และมีเปาหมายประมาณการภาษีที่ตองจัดเก็บสูงขึ้นทุกปมาโดยตลอด ภายใตปจจัยตาง ๆ รอบดานในทางตรงและทางออม และการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจของประเทศไปในทิศทางไมวาเปนบวกหรือเปนลบก็ตาม กรมสรรพากรก็ตองดําเนินการบริหารกลยุทธกอบกูวิกฤตและชวยฟนฟูเศรษฐกิจใหสามารถจัดเก็บภาษีไดตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ โดยผลงานการจัดเก็บภาษีในปงบประมาณ 2547 ที่ผานมารวมทั้งสิ้น 722,236 ลานบาท สูงกวาประมาณการที่ตั้งไว 608,000 ลานบาทคิดเปนรอยละ 27.05 และในปงบประมาณ 2548 นี้ ก็ไดตั้งเปาประมาณการไวสูงถึง820,000 ลานบาทความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 43


ในปจจุบันนี้เปนที่ยอมรับกันแลววาโลกไดเจริญกาวหนาเขาสูเศรษฐกิจใหมที่เปนยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศแลว เนื่องจากการเกิดขึ้นและเติบโตอยางมหัศจรรยของระบบเครือขายคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตนั้นไดทําใหขอจํากัดของสภาพทางภูมิศาสตรของโลกถูกขจัดทลายไปโดยสิ้นเชิง การติดตอสื่อสารระหวางกันสามารถเชื่อมโยงเขาถึงกันไดทั่วโลกอยางสะดวกรวดเร็วจนกลายเปนสภาวะของโลกไรพรมแดน หรือที่นิยมเรียกขานกันวา “โลกาภิวัตน ”(Globalization) ผลพวงของการประยุกตใชอินเทอรเน็ตอยางกวางขวางทั้งในชีวิตประจําวันและในการดําเนินธุรกิจโดยใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเปนสื่อระหวางผูซื้อและผูขาย ชวยใหเกิดกระบวนการซื้อขายผานอินเทอรเน็ตไดดวยความสะดวกรวดเร็วและประหยัดกวาวิธีการซื้อขายแบบดั้งเดิม โดยกระบวนการแบบนี้เราเรียกวา “อีคอมเมิรช” (e-Commerce) หรือ “พาณิชยอิเล็กทรอนิกส” ซึ่งไดจําแนกแยกยอยออกไปไดเปนหลายลักษณะ ไดแก การทําธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางหนวยธุรกิจกับผูบริโภค (Business toCustomer : B2C) หรือการทําธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางหนวยธุรกิจดวยกันเอง (Business to Business : B2B) ในปจจุบันประเทศตางๆ ในเอเชีย รวมถึงประเทศไทยก็ไดใชแนวคิดเหลานี้มาประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจ ไมวาจะเปนแบบB2C และ B2B ก็ตาม บทบาทของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสก็สามารถตอบสนองความตองการทางการตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ชวยใหการดําเนินธุรกิจมีชองทางและรายไดที่เติบโตเพิ่มมากขึ้น ปรากฏการณของโลกาภิวัตน (Globalization)และเศรษฐกิจยุคใหม (New Economy) ที่เกิดขึ้นแพรขยายไปทั่วโลกดวยพลวัตรของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and CommunicationTechnology: ICT) ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการคาจากรูปแบบเดิมสูการคาแบบออนไลนผานเครือขายอินเทอรเน็ต จนกลายเปนที่นิยมแพรหลายอยางกวางขวาง สงผลกระทบใหผูประกอบการธุรกิจทั่วโลกเรงปรับตัวและพัฒนารูปแบบ44 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


การดําเนินธุรกิจดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสกันมากขึ้น นัยสําคัญของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่เขามามีบทบาทอยางกวางขวางทั้งภาครัฐบาลและเอกชน และมีความเกี่ยวของกับการบริหารจัดการ การเงิน สถิติ การตลาด กฎหมาย วิทยาการคอมพิวเตอร และพาณิชยศาสตร สงผลใหโครงสรางทางเศรษฐกิจของโลกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเปนอันมาก ซึ่งนายอัลวิน ทอฟเลอร นักเศรษฐศาสตรระดับโลกไดนิยามระบบเศรษฐกิจและสังคมในยุคนี้ไววาเปน “ยุคคลื่นลูกที่สาม” (The Thirdwaves) ดวยเหตุนี้หนวยงานองคกรตางๆ จึงตองปรับตัวใหถูกทิศทางอยางรวดเร็วเพื่อใหอยูรอดและตามทันกระแสของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (e-Business) ทั้งหลายที่กําลังถาโถมเขาสูระบบเศรษฐกิจและสังคมของทุกประเทศทั่วโลก กรมสรรพากรตระหนักในแนวโนมของสถานการณและความสําคัญในเรื่องพาณิชยอิเล็กทรอนิกสนี้เปนอยางดี บริบทสําคัญดังกลาวนี้ยอมทาทายตอบทบาทภารกิจของการเปนหนวยงานจัดเก็บภาษีหลักของกระทรวงการคลังและประเทศไทย จําเปนที่จะตองรักษาเสถียรภาพและความแข็งแกรงในดานการคลังและระบบเศรษฐกิจโดยขยายฐานภาษีใหทั่วถึงเปนธรรมและยั่งยืน จึงไดมีการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนแกนนําสําหรับการบริหารจัดการและการใหบริการผูเสียภาษีอยางครบวงจร พัฒนาปรับปรุงกระบวนการทํางานใหสอดคลองกับระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การคาระหวางประเทศ และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและซับซอนอยางตอเนื่องภายใตสภาพแวดลอมใหมเชนนี้กรมสรรพากรไดปรับกระบวนทัศนใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงและภารกิจที่เพิ่มมากขึ้น โดยใชทฤษฎีการวิเคราะหงานแบบ SWOTAnalysis เพื่อกําหนดเปนยุทธศาสตรกรมสรรพากร ในระยะ 5 ป พ.ศ. 2547-2551มุงเนนใหประชาชนเปนศูนยกลาง และใหบริการที่ดี ดวยระบบงานที่มาตรฐานสากลเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ จัดเก็บภาษีอยางทั่วถึงเปนธรรม และสรางรายไดภาษีของประเทศอยางยั่งยืนตอไป นัยสําคัญของยุทธศาสตรกรมสรรพากรจะผลักดันใหกรมสรรพากรเคลื่อนที่เขาสูทิศทางในอนาคตดวยความพรอมอยางเต็มที่ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 45


นี้ขึ้นอยูกับวิสัยทัศนของผูบริหารตั้งแตในอดีตถึงปจจุบันไดสรางแนวทางยุทธศาสตรที่สําคัญไวแกกรมสรรพากรในหลายดานและปจจัยหลายสวนประกอบเขาดวยกัน ทําใหสามารถเจริญกาวหนาเติบโตอยางยั่งยืนสามารถปฏิบัติภารกิจยิ่งใหญไดสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดมา อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรวมมือของผูเสียภาษี และการมีสวนรวมในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมสรรพากร ปจจัยทั้งหลายนี้ไดหลอมรวมใหเกิดความสําเร็จรวมกันของผูบริหาร ขาราชการ และลูกจางกรมสรรพากรเปนอันมาก โดยมีหลักประกันที่สามารถยืนยันไดในคุณภาพและความสําเร็จไดอยางดี อาทิ ในระดับโลกไดรับรางวัลชนะเลิศประเภทธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ จากผลงาน “ยุทธศาสตรสรรพากรอิเล็กทรอนิกส : หนึ่งในการปฏิวัติบริหารจัดการภาษีอากร” (e-Revenue Strategies : A Revolution in TaxAdministration) ในงาน eASIA Award ซึ่งจัดโดย Asia Pacific Council for TradeFacilitation and Electronic Business (AFACT) รวมกับกระทรวงกิจการเศรษฐกิจ ที่ประเทศไตหวัน และในระดับประเทศอีกหลายรายการ คือ (1) การไดรับรางวัล ชนะเลิศประเภทโครงการบริการประชาชนแบบออนไลนดีเดน ในโครงการยื่นแบบและชําระภาษีผาน อินเทอรเน็ต (2) รางวัลชนะเลิศประเภท โครงการไอทีเพื่อการบริหารองคกรดีเดน ในโครงการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบน เครือขายรัษฎากร (Intranet) แกนนําเพิ่ม ประสิทธิภาพขององคกร (3) รางวัลชมเชยประเภทโครงการความรวมมือดีเดนดานไอที ในโครงการระบบบัญชีและการนําเงินสงคลังดวยระบบคอมพิวเตอร และ (4) รางวัล ผูบริหารไอทีดีเดนสําหรับ นายศุภรัตน ควัฒนกุล ปลัดกระทรวงการคลัง (อดีตอธิบดีกรมสรรพากร) ซึ่งเปนผูที่ผลักดันการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมสรรพากรไปสูความเปนสรรพากรอิเล็กทรอนิกส (e-Revenue) เพื่อใหบริการประชาชนและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภายในองคกร ซึ่งนับเปนเกียรติยศและภาคภูมิใจใน ความสําเร็จเสมือนเปนดัชนีมาตรฐานสากลที่ตองรักษาไวและยกระดับใหสูงขึ้นตอไปใน46 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


อนาคต ภายใตวิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมสรรพากร วา “มุงพัฒนากรมสรรพากรใหเปน e- Revenue โดยเนนการใช ICT สําหรับบริหารจัดการภายในองคกรและการติดตอใหบริการกับผูเสียภาษีและหนวยงาน ภายนอก”กรมสรรพากร มีวิสัยทัศนที่จะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงไปสูองคกรสารสนเทศอยางสมบูรณ แบบ (InformationOrganization) ภายใตการทํางานที่มีโครงสรางเปนเครือขายการสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส เพื่อสนองความตองการของผูเสียภาษีอากร และพยายามนําเอาจุดเดนขององคกรจากอดีตและปจจุบันมาผสมผสานกันไดอยางเหมาะสมระดับหนึ่งในสภาพแวดลอมของสังคมโลกในยุคปจจุบัน ซึ่งอาจจะมีลักษณะของการประยุกตใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตในรูปแบบของการดําเนินงานระหวางกรมสรรพากรกับผูเสียภาษี (Government to Customer : G2C) และการดําเนินงานระหวางกรมสรรพากรกับหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ (Government to Government : G2G)โดยอาศัยแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศเปนหลักในการดําเนินนโยบายใหบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคและความตองการที่ไดกําหนดไวอยางเปนรูปธรรมระบบสารสนเทศของกรมสรรพากรมีองคประกอบที่สําคัญดังนี้ดานระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณ (Hardware) กรมสรรพากรมีฮารดแวรที่ประกอบดวย เครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรม (Mainframe) เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย(Server) เครื่องคอมพิวเตอร (PC) และอุปกรณตอพวงที่จัดซื้อมาตั้งแตป พ.ศ. 2534และมีการจัดหาทดแทนตามระยะเวลาดานระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Network) กรมสรรพากรมีระบบเครือขายคอมพิวเตอรในการสื่อสารเชื่อมโยงขอมูลจากสวนกลางไปยังสํานักงานสรรพากรตางๆทั่วประเทศ ไดแก สํานักงานสรรพากรภาค 12 แหง สํานักงานสรรพากรพื้นที่ 96 แหงและสํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา 848 แหงความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 47


ดานโปรแกรมระบบงานคอมพิวเตอร (Computer System Program) กรมสรรพากรมีการพัฒนาโปรแกรมระบบคอมพิวเตอรที่ประกอบดวย ระบบภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ระบบภาษีเงินไดนิติบุคคล ระบบภาษีมูลคาเพิ่ม ระบบภาษีธุรกิจเฉพาะระบบเลขประจําตัวผูเสียภาษีอากร ระบบการยื่นแบบแสดงรายการผานอินเทอรเน็ตระบบกํากับดูแลผูเสียภาษีโดยใกลชิดเปนรายผูประกอบการและเปนปจจุบัน ระบบตรวจสอบภาษี ระบบเรงรัดภาษี รวมถึงระบบงานเอกสารตางๆ และระบบเครือขายรัษฎากรซึ่งเปนอินทราเน็ตของกรมสรรพากร นอกจากนี้ยังมีระบบงานติดตอประสานงานกับภายนอก เชน ระบบอินเทอรเน็ตประกอบดวย ประมวลรัษฎากรฉบับอิเล็กทรอนิกส ขอมูลขาวสารดานภาษีรัษฎากร (e-Taxinfo) ระบบงานประสานขอมูลจากภายนอก เชน ขอมูลการนําเขาสงออกจากกรมศุลกากร ขอมูลภาษีสรรพสามิตจากกรมสรรพสามิต ขอมูลตรวจสอบรายการประวัติบุคคลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เปนตนการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and CommunicationTechnology) หรือเรียกยอวา “ICT” นั้น สามารถชวยในการทํางานใหเกิดความรวดเร็ว ความถูกตอง ความแมนยํา และสรางภาพลักษณที่ดีและทันสมัยใหแกองคการ โดยอดีตที่ผานมาในชวงกอนป พ.ศ. 2520 กรมสรรพากรนั้นเปนหนวยงานราชการอันดับเริ่มแรกที่มีการใชเครื่องจักรประมวลผลขอมูลในการบันทึกขอมูลและสถิติการจัดเก็บภาษีอากรประเภทตางๆ และมีปริมาณขอมูลเปนจํานวนมาก โดยการใช ไอทีในชวงเริ่มตนนั้นมีการแบงปนการใชทรัพยากรเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรมรวมกันของศูนยคอมพิวเตอรกระทรวงการคลัง ไดแก กรมสรรพากร กรมศุลกากรกรมสรรพสามิต และองคการเชื้อเพลิงในสมัยนั้น ตอมาเทคโนโลยีสารสนเทศไดมีความกาวหนาขึ้นอยางรวดเร็ว จากการมีเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (PersonalComputer) ที่ทํางานในลักษณะตามลําพัง (Stand Alone) มาเปนการเชื่อมโยงระบบ48 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


เครือขาย (Network) สามารถทํางานประสานกันไดแบบออนไลน พัฒนาตอมาจนกลายเปนสถาปตยกรรมเครือขายคอมพิวเตอร (Client Server) และในปจจุบันที่มีการใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตกันอยางแพรหลายกวางขวาง กรมสรรพากรไดปรับตัวปรับโครงสรางองคกรและหนวยงานมาหลายครั้ง พัฒนาการบทบาทหนวยงาน ICT ขนาดเล็กขยายเปนหนวยงาน ICT ขนาดใหญตามลําดับตั้งแต งานประมวลผลและสถิติศูนยกรรมวิธีแบบแสดงรายการภาษี กองกรรมวิธีแบบแสดงรายการภาษี และลาสุดก็คือ สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในระบบอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ตแบบกระจายศูนย (Decentralized) และรวมศูนย(Centralized) อยูมากมายทั่วทุกจังหวัดและทุกภาคของประเทศยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมสรรพากรยุทธศาสตรที่ 1 ของยุทธศาสตรกรมสรรพากร คือ การใช IT เปนแกนนําผลักดันองคกร มีเปาประสงคสําคัญเพื่อใหกรมสรรพากรเปนผูนําการใช IT และมีระบบงานมาตรฐานสากล ทําใหผูเสียภาษีไดรับบริการที่ดี รวดเร็ว ดวยตนทุนที่ต่ําลงสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยสอดคลองกับประเด็นของยุทธศาสตรกระทรวงการคลัง (ยุทธศาสตรที่ 3) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน และ (ยุทธศาสตรที่ 4) เพิ่มประสิทธิภาพความทันสมัยและความโปรงใสในการทํางาน โดยมีตัวชี้วัดเปาประสงค ไดแก ผลการจัดเก็บภาษีอากรตามประมาณการจํานวนระบบไอที/บริการ e-Service ที่พัฒนาขึ้นใหม การกํากับดูแลผูเสียภาษีและใหบริการผูเสียภาษีเปนรายผูประกอบการผานระบบงานคอมพิวเตอรแบบตามรอบภาษีออนไลน เปนตน ซึ่งกรมสรรพากรไดกําหนดกรอบของการพัฒนาไอทีที่สําคัญไว 4ประการ ดังนี้ความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 49


1. การพัฒนาโครงขายพื้นฐานทางดาน ICT ของกรมสรรพากร ใหมีประสิทธิภาพ มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น• ยุทธศาสตรนี้ ประกอบดวยแผนงาน ไดแก โครงการเพิ่มประสิทธิภาพโครงขายพื้นฐานทางดาน ICT กรมสรรพากร เพื่อการบริหารจัดเก็บภาษีอากร และการใหบริการผูเสียภาษี, โครงการบริหารจัดการเครือขายสื่อสารขอมูล, โครงการปรับปรุงระบบเครือขายสื่อสารเปนกิกะบิต และใหรองรับกับระบบงานในอนาคต, โครงการจัดหาระบบ Enterprise Application Integration (EAI) เพื่อรองรับสถาปตยกรรมแบบHub & Spoke, โครงการจัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรและซอฟตแวรสําหรับระบบงานสํารวจ, โครงการจัดหาอุปกรณและซอฟตแวรเพื่อใชในการประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานดานไอที สําหรับบริการผูเสียภาษีประชาชน, โครงการจัดหาอุปกรณเพื่อสนับสนุนการนําเสนอขาวสารทางเว็บเพจ, โครงการจัดทําระบบรักษาความปลอดภัยสําหรับระบบงานภาษีสรรพากร, โครงการจัดซื้ออุปกรณเพื่อปรับปรุงระบบเครือขายและระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรของกรมสรรพากร เพื่อรองรับการขยายงานในอนาคต, โครงการจัดหาอุปกรณและซอฟตแวรสําหรับการสรางแบบแสดงรายการและแบบพิมพ, โครงการจัดหาอุปกรณศูนยสอบบัญชีภาษีอากรอิเล็กทรอนิกส,โครงการจัดหาอุปกรณเครือขายเพื่อรองรับวงจรสื่อสัญญาณสํารอง,โครงการจัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรพรอมซอฟตแวร เพื่อการยื่นแบบและชําระแบบภ.ง.ด. 90, 91 ผานเครือขายอินเทอรเน็ต และโครงการจัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสํานักการยื่นแบบทางอินเทอรเน็ตของกรมสรรพากร เปนตน2. การพัฒนาความพรอมของเจาหนาที่ใหมีความสามารถใช ICT ที่เหมาะสมและมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น• ยุทธศาสตรนี้ ประกอบดวยแผนงาน ไดแก โครงการจัดตั้งศูนยฝกอบรม IT ประจําภาค, โครงการระบบ e-learning, โครงการพัฒนาบุคลากรและระบบงานดานสารสนเทศ, โครงการจัดหาอุปกรณและซอฟตแวรสําหรับการติดตอสื่อสารทางไกล, โครงการพัฒนาบุคลากรดานการศึกษาตอระดับปริญญาโท และโครงการจัดหาอุปกรณ สําหรับประชุมทางไกล (Video Conference)50 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


3. นําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตใชเพิ่มเพื่อพัฒนาระดับบริหารจัดการภายในและระดับบริการ และติดตอหนวยงานภายนอก• ยุทธศาสตรนี้ ประกอบดวยแผนงาน ไดแก โครงการพัฒนาระบบเอกสารราชการดวยระบบอิเล็กทรอนิกส, โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานคลัง, โครงการพัฒนาระบบงานหองสมุดอัตโนมัติ, โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานบุคคล, โครงการพัฒนาระบบถายภาพ (Scan) แบบยื่นรายการภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย, โครงการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของสํานักแผนภาษีเปนสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (e-Office), โครงการพัฒนาระบบคนหาแบบแสดงรายการภาษี ของศูนยเอกสารกลาง, โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานอุทธรณภาษีอากร, โครงการพัฒนาระบบงานควบคุมผูตรวจสอบและรับรองบัญชี,โครงการพัฒนาระบบงานการติดตามและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทีมสํารวจ, โครงการพัฒนาระบบงานตรวจสอบคืนภาษีมูลคาเพิ่ม, โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลบัญชีอําเภอบนเครือขายรัษฎากร, โครงการขยายระบบกํากับดูแลโดยใกลชิดเปนรายผูประกอบการและเปนปจจุบัน, โครงการปรับปรุงระบบงานคืนภาษีมูลคาเพิ่มใหนักทองเที่ยว, โครงการพัฒนาระบบคลังขอมูลขยายเต็มระบบสําหรับใชงานทั่วประเทศ, โครงการพัฒนาระบบงานภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา,โครงการพัฒนาระบบงานภาษีเงินไดนิติบุคคล, โครงการพัฒนาระบบงานภาษีเงินมูลคาเพิ่ม, โครงการพัฒนาระบบงานภาษีธุรกิจเฉพาะ, โครงการพัฒนาระบบเลขประจําตัวผูเสียภาษี, โครงการพัฒนาระบบงานภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จายโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารดวยระบบตนทุนแบบฐานกิจกรรม, โครงการแยกฐานขอมูลผูเสียภาษีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และโครงการจัดจางขยายการพัฒนาระบบงานเลขประจําตัวผูเสียภาษีอากร (TIN) เพื่อรองรับเลขประจําตัว 13 หลัก เปนตนความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 51


4. มุงเนนในเรื่องการยกระดับการบริการใหสูงขึ้นไปจนถึงระดับIntegrated Service โดยยึดถือประชาชนเปนหลัก• ยุทธศาสตรนี้ ประกอบดวยแผนงาน ไดแก โครงการพัฒนาระบบงานการรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส, โครงการพัฒนาระบบการยื่นแบบแสดงรายการทางไกล, โครงการจัดทําระบบ Mobile Unit, โครงการใหบริการขอมูลภาษีสรรพากรทางอิเล็กทรอนิกส (Interactive Call Center), โครงการยื่นแบบแสดงรายการผานเครือขายอินเทอรเน็ต, โครงการจัดทําโปรแกรมสําเร็จรูปใหผูประกอบการ เพื่อใชในการยื่นแบบแสดงรายการผานอินเทอรเน็ต และโครงการใหบริการผูเสียภาษีคัดคนขอมูลภาษีผานอินเทอรเน็ต เปนตนแนวทางการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเพื่ อการพั ฒนานโยบายพาณิ ชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยใหมีความพรอม มีเอกภาพและมีทิศทางที่ชัดเจน กรมสรรพากรไดกําหนดแนวทางการพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเปนดังนี้1. กรมสรรพากรจะสนับสนุนและดําเนินการในมาตรการตางๆ ที่จะเอื้ออํานวยตอกิจกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของภาคเอกชนและผูบริโภค โดยมีเปาประสงคใหผูประกอบการไทยสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน (Competitiveness) ในเวทีการคาโลก และสรางความมั่นใจ (Trust andConfidence) ใหเกิดขึ้นทั้งในสวนของผูประกอบการและผูบริโภคทั้งภายในและระหวางประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลจะใหความสําคัญในลําดับตนสําหรับการสรางโครงสรางทางกฎหมาย (Legal Infrastructure) และการรักษาความมั่นคงปลอดภัย (Security)ในการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส โดยเรงรัดการดําเนินการและจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนตอกระบวนการสงเสริมการพัฒนาดังกลาวอยางเพียงพอและทันการณ52 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


2. กรมสรรพากรจะเรงปฏิรูประบบราชการโดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกสและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) ที่มีประสิทธิภาพในการบริหารรัฐกิจและใหบริการแกประชาชน ซึ่งจะเปนการสรางตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกสใหกับภาคเอกชนในรูปของธุรกรรมระหวางภาคธุรกิจกับภาครัฐ(B2G)3. กรมสรรพากรจะสนับสนุนและอํานวยความสะดวก (Facilitation) ใหกับกิจกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางภาคธุรกิจ และพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางผูประกอบการกับผูบริโภค4. กรมสรรพากรจะพัฒนาระบบฐานขอมูล และศึกษานโยบายและแนวทางการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส ในระดับสากลเพื่อรักษาผลประโยชนของประเทศในเวทีเจรจาและความรวมมือทางการคาระดับโลก ระดับภูมิภาค ตลอดจนระดับทวิภาคีและพหุภาคีในเชิงรุกการจัดเก็บภาษีสรรพากรยุคธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสหรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกสการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (e-Transaction) หรือพาณิ ชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) ของกลุมธุรกิจตางๆ ในประเทศไทยทั้งในระดับ LTOและ SME ไดมีความนิยมแพรหลายมากขึ้นในปจจุบัน และจะมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นในแตละป โดยกรมสรรพากรนั้นไดใชหลักเกณฑและวิธีการทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษีสรรพากรพาณิชยอิเล็กทรอนิกสและหลักเกณฑและวิธีการในการประกอบธุรกิจการพาณิชยแบบปกติเปนเชนเดียวกัน กลาวคือ ในระบบการจัดเก็บภาษีอากรนั้นจะใชหลักแหลงรายได และหลักถิ่นที่อยู เปนหลักเกณฑสําคัญในการจัดเก็บภาษีอากรปจจุบันการทําธุรกรรมทางธุรกิจ ไมวาจะเปนการซื้อขายสินคาหรือใหบริการไมวาจะทําธุรกิจในประเทศหรือตางประเทศทั่วโลก ถามีการทําธุรกรรมทางระบบอินเทอรเน็ตแลวคูคาสามารถใชอินเทอรเน็ตในการทําการคาไดทั่วโลกตลอดเวลา 24ชั่วโมง ในเวลาอันรวดเร็วและเสียคาใชจายนอย แมผูซื้อผูขายจะอยูคนละประเทศความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 53


ก็ตามซึ่งเรียกวาการคาที่ไรพรมแดน ปญหาการจัดเก็บภาษีที่ตามมาก็คือ ประเทศใดหรือรัฐใดเปนผูมีหนาที่จัดเก็บภาษีกับผูที่ทําธุรกิจบนระบบอินเทอรเน็ต สําหรับประเทศไทยนั้นธุรกรรมสวนใหญที่เกิดขึ้นจะเปนธุรกรรมที่เกิดจาการซื้อสินคาและบริการเสียมากกวา ปญหาทางดานภาษีของกรมสรรพากรก็คือ ผูเสียภาษีซึ่งเปนบุคคลที่อยูตางประเทศจะตองเสียภาษีใหกับประเทศไทยหรือไมคําตอบในเรื่องนี้ก็คือผูที่มีหนาที่เสียภาษีหรือไมอยางไรนั้นใหเปนไปตามกฎหมายของประเทศไทยซึ่งก็คือกฎหมายประมวลรัษฎากรที่กรมสรรพากรใชอํานาจจัดเก็บประกอบกับกฎหมายที่เปนอนุสัญญาระหวางประเทศ ซึ่งไดแกอนุสัญญาระหวางประเทศเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนและการปองกันการเลี่ยงการรัษฎากรในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินได ซึ่งประทศไทยไดรวมลงนามตกลงกันซึ่งขณะนี้มีอยูเกือบ50 ประเทศแลวการจัดเก็บภาษีจากการขายสินคาผานอินเทอรเน็ตลักษณะของสินคาที่มีการซื้อขายกันนั้นมี 2 ลักษณะ ไดแก สินคาที่มีลักษณะทางกายภาพกับสินคาที่ไมมีลักษณะกายภาพ สินคาที่มีลักษณะทางกายภาพเชน อุปกรณคอมพิวเตอร หนังสือ ยา เครื่องใชสํานักงานเปนตน สินคาที่ไมมีลักษณะทางกายภาพเชน การดาวนโหลดโปรแกรมคอมพิวเตอร วีดิโอเกมส ภาพยนตรเพลงมิวสิควีดิโอผานเครือขายอินเทอรเน็ต โดยไมมีการจัดสงสินคาเปนหีบหอใหผูซื้อ การเสียภาษีตามประมวลรัษฎากรกรณีที่ผูซื้อและผูขายอยูในประเทศไทยเสียภาษีปกติคือภาษีเงินไดและภาษีมูลคาเพิ่มจากเงินไดที่ไดรับในประเทศไทยแตถาหากเปนกรณีที่ผูขายอยูตางประเทศจะเสียภาษีอยางไรนั้นสามารถแยกประเด็นไดดังนี้1. กรณีสินคาที่มีลักษณะทางกายภาพการจัดเก็บภาษีใชหลักถิ่นที่อยูคือประเทศถิ่นที่อยูของบุคคลผูขายตางประเทศเทานั้นที่สามารถเก็บภาษีไดสวนประเทศแหลงเงินไดหรือประเทศผูซื้ออยางประเทศไทยไมอาจเก็บภาษีได แตถาหากพิจารณาในเรื่องอนุสัญญาภาษีซอน54 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


ถาบริษัทผูขายเปนผูมีถิ่นที่อยูในประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซอนกับประเทศไทยเงินไดจากการขายสินคาที่มีลักษณะทางกายภาพเขาลักษณะเปนกําไรจากธุรกิจ ตามอนุสัญญาภาษีซอนประเทศไทยซึ่งเปนประเทศแหลงเงินได จะเก็บภาษีไดตอเมื่อผูขายในประเทศดังกลาวมีสถานประกอบการถาวรในประเทศไทย การพิจารณาในเรื่องสถานประกอบการถาวรเชน เว็บไซต หรือ เว็บเพจ ไมถือเปนสถานประกอบการถาวร แตสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการแกเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆทํางานเฉพาะเจาะจงในเครือขาย (Server Network) เปนคอมพิวเตอรหลักที่ทําหนาที่เปนศูนยกลางของระบบในการจัดเก็บและใหบริการเขาถึงไฟลขอมูลตางๆ กับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นที่เชื่อมตอเปนระบบ ตามความเห็นของคณะกรรมการวาดวยการคลังขององคการเพื่อประสานงานและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization forEconomic Co-operation and Development หรือ OECD) เซิรฟเวอรอาจเปนสถานประกอบการได หากเซิรฟเวอรที่ควบคุมเว็บไซตเปนอุปกรณชิ้นหนึ่งซึ่งจําเปนตองมีสถานที่ตั้งทางกายภาพ จึงอาจเปนสถานที่ประกอบธุรกิจประจําของวิสาหกิจที่ดําเนินกิจกรรมนั้น หากปรากฏวาอุปกรณนั้นไดติดตั้งอยูเปนประจํา2. กรณีสินคาที่ไมมีลักษณะทางกายภาพกรณีเงินไดจากการขายสินคาประเภทสินคาที่มีการดาวนโหลดโปรแกรมคอมพิวเตอร เพลง เกมส เปนตน ตามประมวลรัษฎากร ถือเปนเงินไดจากคาสิทธิ์ตามมาตรา 40(3) และเปนการใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์แกผูอื่น ตามมาตรา15(4) แหงพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 การชําระภาษีถาหากผูขายเปนผูประกอบการตางประเทศ ซึ่งมิไดประกอบการในประเทศไทย ผูชําระเงินในประเทศไทยมีหนาที่ตองหักภาษีเงินไดนิติบุคคล ณ ที่จายในอัตรารอยละ 15 และนําสงกรมสรรพากร ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาโดยใชแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด. 54ภายใน 7 วันนับแตวันสิ้นเดือนที่มีการจายเงินตามมาตรา 70 แหงประมวลรัษฎากรหรือสามารถยานผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตทางเว็บไซตของกรมสรรพากรhttp://www.rd.go.th เรื่องกําหนดการยื่นแบบแสดงรายการภาษี การชําระภาษีและสถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี ใหมี่การยื่นแบบทางอินเทอรเน็ตและมีการนําสงความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 55


เงินภาษีโดยวิธีโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมสรรพากรผานระบบอิเล็กทรอนิกส เงินไดจากคาลิขสิทธิ์ถึงแมผูขายจะเปนผูมีถิ่นที่อยูในประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซอนกับประเทศไทย ก็ไมไดรับยกเวนภาษีเงินไดไมวาจะเปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลจะเสียภาษีในอัตรารอยละ 5 หรือรอยละ 10 ขึ้นอยูกับขอตกลงของแตละประเทศการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผานทางอินเทอรเน็ต1. การใหบริการผานระบบอินเทอรเน็ต (e-Service)ผูเสียภาษีสามารถยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชําระภาษีผานอินเทอรเน็ตทางเว็บไซตกรมสรรพากรที่ http://www.rd.go.th ไดทุกประเภทภาษี ในทุกเวลา และทุกแหงที่สามารถเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ตได โดยสามารถทําไดดวยตนเองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุด สําหรับปภาษี 2546 ผูเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสามารถยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด.91 และขอคืนภาษีผานอินเทอรเน็ตทางเว็บไซตhttp://www.rd.go.th ไดทุกแหงทั่วโลก จึงเปนการประหยัดตนทุนและลดระยะเวลาในการดําเนินการทั้งในดานผูเสียภาษีและกรมสรรพากรเอง เพิ่มชองทางการชําระผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส ผูเสียภาษีที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชําระภาษีผานอินเทอรเน็ตทางเว็บไซตกรมสรรพากรที่ http://www.rd.go.th สามารถเลือกชองทางการชําระภาษีไดเชน ชําระผานเครื่องฝากถอน-ถอนเงินอัตโนมัติ(เอทีเอ็ม) เฉพาะภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาการชําระผานระบบ e-Payment หรือชําระผานระบบ Tele-Banking56 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


และชําระผานระบบ Mobile Phone รวมทั้งชําระทางอินเทอรเน็ต ชําระผานเคานเตอรเซอรวิส ของธนาคาร และชําระโดย Pay at postกรมสรรพากรไดพัฒนาระบบงานในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีผานทางอินเทอรเน็ต ซึ่งผูเสียภาษีสามารถยื่นแบบแสดงรายการภาษีผานอินเทอรเน็ต โดยสํานักบริหารการเสียภาษีทางอิเล็กทรอนิกส กรมสรรพากร เปนผูรับผิดชอบดูแลการจัดเก็บภาษีประเภทตางๆ ไดแก ภ.พ.30, ภ.พ.36, ภ.ธ40, ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.2,ภ.ง.ด.3, ภ.ง.ด.50, ภ.ง.ด.51, ภ.ง.ด.52, ภ.ง.ด.53, ภ.ง.ด.54 และ ภ.ง.ด.55 ในดานการชําระเงินก็สามารถเลือกใชบริการจากธนาคารพาณิชยที่เขารวมโครงการ ดังนี้ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)ธนาคารเอเชีย จํากัด (มหาชน)ธนาคารซิตี้แบงก จํากัดธนาคารมิซูโฮ คอรปอเรต จํากัดธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้งคอรปอเรชั่นธนาคารดอยซแบงก จํากัด2. คืนเงินภาษีอากรการคืนเงินภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา กรมสรรพากรนําไอทีมาใชสั่งพิมพเช็คอัตโนมัติ เมื่อประมวลผลเสร็จ และจัดสงทางไปรษณียในนามของผูเสียภาษี นอกจากนี้ในปภาษี 2546 เปนตนไปผูเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่ยื่นแบบแสดงรายการภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด.91 และขอคืนภาษีผานอินเทอรเน็ตจะไดรับคืนภายใน 1 เดือนดวย สวนการคืนภาษีมูลคาเพิ่มนั้นไดปรับปรุงวิธีการจายคืนภาษีมูลคาเพิ่ม กรณีประกอบสงออกที่ดี ที่ยื่นแบบ ภ.พ.30 ทางอินเทอรเน็ต โดยจะนําเขาบัญชีเงินฝากความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 57


ของผูขอคืนโดยตรง ซึ่งเปนการลดขั้นตอนไมตองถอนเงินผานสํานักสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ)3. บริการกฎหมาย ขอมูลขาวสาร e-Tax info และการใหบริการดาวนโหลดแบบแสดงรายการกรมสรรพากรไดเปดบริการกฎหมายขอมูลขาวสารที่เปนอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบOnline Real Time ใหผูเสียภาษีทั่วไปสามารถบริการผานทางอินเทอรเน็ต e-Taxinfo และหรือผานทาง e-Mail ไดทันที โดยผูเสียภาษีที่เปนสมาชิกไมเสียคาใชจายแตอยางใด ทําใหผูเสียภาษีสามารถรับทราบกฎหมาย ขอมูลขาวสารตางๆ โดยไมตองมาที่กรมสรรพากรไดตลอดเวลาพรอมกันทั่วประเทศ นอกจากนี้ผูเสียภาษีสามารถติดตอกับหนวยงานสรรพากรในรูป e-form เพื่อใชยื่นผานอินเทอรเน็ตได 365 วัน จากนโยบายสูการปฏิบัติที่ผานมา กรมสรรพามีนโยบายที่จะพัฒนาระบบงานบริการอยางตอเนื่องเพื่อบริการประชาชนอยางดีที่สุด โดยการอํานวยความสะดวกอยางรวดเร็ว และเปนมาตรฐานสากล ดังนี้1. ใหบริการคัดคนขอมูลการเสียภาษีของตัวเองทางอินเทอรเน็ต2. ใหใชเลขประจําตัวแหงชาติกับผูเสียภาษีทุกประเภท3. ใหบริการขอเลขประจําตัวผูเสียภาษีออนไลนทุกประเภท4. ขยายการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีทาอินเทอรเน็ต ใหครอบคลุมทุกประเภทภาษี5. ปรับปรุงระบบคืนเงินภาษีมูลคาเพิ่มผานระบบธนาคารใหผูขอคืนประเทศจากสวนกลางเพียงจุดเดียว6. ขยายชองทางการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีทางไปรษณีย7. ปรับปรุงระบบฐานขอมูลผูเสียภาษี และเชื่อมโยงขอมูลแบบออนไลนกับหนวยงานอื่นเพื่อนํามาใชในการบริหารงานและการบริการผูเสียภาษี58 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


ทิศทางและแนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต1. กรมสรรพากร จะสรางยุทธศาสตรในเชิงปองกัน (Security Strategy)สําหรับเรื่องที่สําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะตองบรรจุไวในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศกรมสรรพากร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2546-2548) เพื่อที่จะรองรับการพัฒนานโยบายความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศกรมสรรพากร โดยเริ่มตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนไป เพื่อที่จะสามารถปรับใหคลองตัวและสอดคลองกับสถานการณไดในระยะที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง2. กรมสรรพากร จะมุงไปสูการปฏิรูปเชิงกลยุทธของหลักการพื้นฐานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส ที่มีหลักการพื้นฐาน 4 ประการ คือ หนึ่ง การยึดถือประชาชนเปนหลัก สอง การใหความสําคัญกับความรู สาม การทํางานรวมกันภายในหนวยงานของรัฐบาล และ สี่ การรวมมือกับภาคเอกชน โดยจะกําหนดนโยบายของกรมสรรพากรยุคอิเล็กทรอนิกส (e-Revenue) มีความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลยุคอิเล็กทรอนิกส (e-Government) ที่มีประสิทธิภาพในการบริหารรัฐกิจและใหบริการแกประชาชน นอกจากนี้จะสนับสนุนและอํานวยความสะดวก (Facilitation) ใหกับกิจกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจอยางเต็มที่3. กรมสรรพากร จะสนับสนุนและดําเนินการในมาตรการตางๆ ที่จะเอื้ออํานวยตอกิจกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของภาครัฐและภาคเอกชนและผูเสียภาษีอากร โดยมีเปาประสงคในการสรางความมั่นใจ (Trust and Confidence) ใหเกิดขึ้นทั้งในสวนของผูเสียภาษีอากร รวมทั้งจะใหความสําคัญในลําดับตนสําหรับการสรางโครงสรางทางกฎหมาย (Legal Infrastructure) และการรักษาความมั่นคงปลอดภัย (Security) ในการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส โดยเรงรัดการดําเนินการและจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนตอกระบวนการสงเสริมการพัฒนาดังกลาวอยางเพียงพอและทันการณความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 59


บทสรุปการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ถือเปนยุทธศาสตรทางการคา (National Trade Strategy) ที่สําคัญของประเทศไทย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 และ 10 ที่จะรองรับการพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศที่สามารถปรับใหคลองตัวและสอดคลองกับสถานการณไดในระยะที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง ทั้งนี้โดยสงเสริมใหมีการจัดทําแผนพาณิชยอิเล็กทรอนิกสรายสาขาที่จะเอื้อตอการสงออก การคาบริการ และการบริโภคภายในประเทศกรมสรรพากรเปนหนวยงานราชการระดับแนวหนาที่พัฒนาและบูรณาการดาน ICT อยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองตามกรอบนโยบายพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ป ค.ศ. 2001-2002 (ฉบับที่ 1) และนโยบาย IT 2010 (ฉบับที่ 2)ในการยกระดับประเทศไทยใหเปนสังคมและมีเศรษฐกิจที่อยูบนพื้นฐานของความรูทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม และเปนองคกรนํารองตามนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) ในภารกิจหลักดานการบริหารงานจัดเก็บภาษีอากร และการใหบริการแกประชาชนผูเสียภาษีอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งในแตละปนั้นจะมีการกําหนดเปาประมาณการเพิ่มขึ้นทุกปตามลําดับ ในภารกิจของกรมสรรพากรที่บริหารจัดการ ควบคุม ดูแล และบริการอํานวยความสะดวกใหแกผูเสียภาษี ภายใตพันธกิจและยุทธศาสตรของการปฏิบัติและดําเนินการตามโครงสรางหนวยงานราชการกรมสรรพากร มีการพัฒนาการดานตางๆ มาโดยตลอดเปนเวลายาวนาน ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน เปนตัวเรงใหมีการเปลี่ยนแปลงการทํางานของกรมสรรพากรดวยการประยุกตใชงานระบบสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น เนนที่นําเทคโนโลยีมาใชในการตัดสินใจ และใหบริการ เนนที่ตัวประชาชนและความรูเปนหลัก มีการใชทรัพยากรสารสนเทศเปนแกนหลัก เพื่อพัฒนาระบบงานใหรองรับการบริหารงานขององคกรอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก ระบบการจัดการฐานขอมูลขนาดใหญ (Database Management System), ระบบงานดานภาษีอากร (Tax Applications) และระบบงานผานเครือขายอินเทอรเน็ต (Web60 • ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ


Applications) ผลักดันใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ และเปนหนวยงานรัฐที่สรางชื่อเสียงใหแกประเทศไทยเปนที่ประจักษและกาวไปสูระดับโลกงานดานระบบสารสนเทศของกรมสรรพากรในปจจุบันอยูในหนาที่ความรับผิดชอบ ของ สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมสรรพากร ซึ่งเปนหนวยงานหลักในการวางแผนงานและกําหนดนโยบายดานสารสนเทศขององคกรทั้งหมดทั่วประเทศการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรในลักษณะดังกลาวนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีระบบบริหารจัดการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีมีความเปนมาตรฐานในระดับที่เพียงพอและเชื่อถือได ในขณะนี้กรมสรรพากรกําลังบริหารจัดการในสวนนี้ เพื่อเปนหลักประกันในดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเปนไปอยางมีความพรอมมีเอกภาพ มีทิศทางที่ชัดเจน และมีความมั่นคงปลอดภัยอยางเต็มที่ จึงกําหนดแนวทางการพัฒนาดานความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหการดําเนินนโยบายพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงกําหนดใหมีกลยุทธการพัฒนาในดานระบบภาษีอากร คือ ศึกษาแนวโนมของระบบการคาและผลกระทบอันอาจเกิดขึ้นกับการจัดเก็บรายไดของรัฐ ทั้งนี้โครงสรางภาษีในอนาคตอันเกี่ยวเนื่องกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสจะยืนอยูบนพื้นฐานของความสม่ําเสมอ(Consistency), ความเป นธรรม (Non-discrimination) และความเป นกลาง(Neutrality) โดยรักษาสมดุลระหวางรายไดที่รัฐพึงจัดเก็บเพื่อทํานุบํารุงบานเมืองและประชาชนกับการสงเสริมใหเกิดการพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสอยางกวางขวางนอกจากนี้ยังตองปรับตัวอยูตลอดเวลา เพื่อใหสามารถทันสถานการณและพัฒนาขีดความสามารถจัดการกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีประสิทธิภาพและเชื่อถือได ตรวจสอบ ศึกษาและมีจุดยืนที่ชัดเจนในเวทีเจรจาทางดานภาษีพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระหวางประเทศเพื่อรักษาผลประโยชนของประเทศอยางเต็มความสามารถและในมิติของเศรษฐกิจระหวางประเทศที่เกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซอนระหวางประเทศ (Double Taxation) และขอตกลงการคาระหวางประเทศ (FTA) ที่ประเทศไทยไดลงนามขอตกลงกับประเทศตางๆความเชื่อมั่นในการชําระเงิน “ในระบบดิจิทัล” • 61


ภาคผนวกแหลงขอมูลอางอิง1. หนังสือ “สาระนารู การแลกเปลี่ยนเงิน” โดย สํานักกลยุทธและกํากับการแลกเปลี่ยนเงินสายตลาดการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย ป 25462. หนังสือ “พิชัยสงคราม E-Commerce” โดย นภดล กมลวิลาศเสถียร จัดพิมพโดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) ป 25443. Website- www.ictlaw.thaigov.net/ictlaws.html- www.ecommerce.or.th- www.amlo.go.th


ริเริ่มสนับสนุนการจัดทําโดยคณะอนุกรรมการสงเสริมและสนับสนุนการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสของผูประกอบการและภาครัฐ ภายใตคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร1. นายมนู อรดีดลเชษฐ ที่ปรึกษา2. รองศาสตราจารยครรชิต มาลัยวงศ ประธานอนุกรรมการ3. นางสาววิลาวรรณ วนดุรงควรรณ อนุกรรมการ4. นางเจริญศรี มิตรภานนท อนุกรรมการ5. นายอาณัติ ลีมัคเดช อนุกรรมการ6. นางสาวสิบพร ถาวรฉันท อนุกรรมการ7. ผูแทนกระทรวงพาณิชย(นายวุฒิไกร ลีวีระพันธุ) อนุกรรมการ8. ผูแทนกรมสรรพากร(นายธวัช นิ่มนวลศรี) อนุกรรมการ9. ผูแทนกรมสงเสริมอุตสาหกรรม อนุกรรมการ10. ผูแทนสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย อนุกรรมการ(นายคมสัน เหลาศิลปเจริญ)12. นายสมนึก คีรีโต อนุกรรมการและเลขานุการ13.นางสาวธันวดี สุเนตนันท อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ14. ผูแทนศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ


สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติที่ปรึกษา• ศาสตราจารย ดร.ศักรินทร ภูมิรัตนผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ• ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูลผูอํานวยศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส• ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุลผูชวยผูอํานวยศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติผูชวยเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสทีมงาน1. นางสุรางคณา วายุภาพ หัวหนาสํานักงาน2. นางสาวกนกอร ฉวาง ผูชวยนักวิจัย3. นางสาวพรพักตร สถิตเวโรจน ผูชวยนักวิจัย4. นายปฏิวัติ อุนเรือน ผูชวยนักวิจัย5. นางสาวปยธิดา ปลอดทอง ผูชวยนักวิจัย6. นางสาวญาณิศา ธีระบัญชร ผูชวยนักวิจัย7. นางสาวอุทัยวรรณ จิตตศิริ ผูชวยนักวิจัย8. นายปริญญา สุวรรณชินกุล นักวิเคราะหโครงการ9. นางสาวอิศราวัชร ปางพฤฒินันท เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป10. นางสาวรจนา ล้ําเลิศ เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป


‡Õ° “√‡º¬·æ√à°√–∑√«ß‡∑§‚π‚≈¬’ “√ π‡∑»·≈–°“√ ◊ËÕ “√√Ë«¡°—∫”π—°ß“π‡≈¢“πÿ°“√§≥–°√√¡°“√∏ÿ√°√√¡∑“ßÕ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° å»Ÿπ¬å‡∑§‚π‚≈¬’Õ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° å·≈–§Õ¡æ‘«‡µÕ√å·Ààß“µ‘”π—°ß“πæ—≤π“«‘∑¬“»“ µ√å·≈–‡∑§‚π‚≈¬’·Ààß“µ‘°√–∑√«ß«‘∑¬“»“ µ√å·≈–‡∑§‚π‚≈¬’73/1 ∂ππæ√–√“¡∑’Ë 6 ‡¢µ√“‡∑«’ °√ÿ߇∑æœ 10400‚∑√»—æ∑å 02-644-8150..9 µàÕ 670‚∑√ “√ 02-644-6653Ministry of Information and Communication TechnologyandElectronic Transactions Commission SecretariatNational Electronics and Computer Technology CenterNationnal Science and Technology Development AgencyMinistry of Science and Technology73/1 Rama VI Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400, THAILANDTel. +66 (0)2-644-8150..9 ext. 670Fax. +66 (0)2-644-6653ISBN 974-229-722-3http://www.mict.go.th/http://www.nectec.or.th/http://www.etcommission.go.th/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!