13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

46วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2552การผ่าตัด Submandibular Gland Excision ; 10 ปี ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ณปฎล ตั้งจาตุรนต์รัศมี ; พบ*การผ่าตัด Submandibular gland excision เป็นหัตถการอีกอย่างหนึ่งที่แพทย์หู คอ จมูกทำามาก โดยมีข้อบ่งชี้แตกต่างกันไป ในปัจจุบันการผ่าตัด submandibular gland excision แบบดั้งเดิมยังเป็นวิธีมาตรฐานแม้จะมีรายงานถึงความสำาเร็จในการทำา endoscopic submandibular gland excision ก็ตามผู้วิจัยได้ทำาการศึกษาแบบ retrospective reviews แฟ้มประวัติผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด submandibular glandexcision ในภาควิชาโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งแต่มกราคม 2542 –ธันวาคม 2551 ; รวมเป็นเวลา 10 ปีได้จำานวนผู้ป่วยทั้งหมด 35 ราย พบว่ามีการกระจายของเพศ ชาย : หญิง = 1:2 ข้างที่ทำาผ่าตัดไม่แตกต่างกัน (1:1) พบการผ่าตัดมากที่สุดในช่วงผู้ใหญ่-วัยกลางคน(20-50 ปี) ผลการตรวจชื้นเนื้อพบว่ามีอัตราส่วน benign : malignant =6:1 โดยต่อมนำา้ลายอักเสบเรื้อรังยังเป็นสาเหตุที่พบได้มากที่สุด การเลือกชนิดของ drain ไม่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลหรือภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด แต่พบว่าในกลุ่มผู้ป่วย malignancy จะมีระยะเวลาการทำาผ่าตัด และ ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานกว่ากลุ่ม benign อย่างชัดเจน อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับที่น้อยมากคำาสำาคัญ : การผ่าตัด submandibular gland excision, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, ต่อมนำา้ลายอักเสบเรื้อรัง* ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!