13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

26วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2552ระเบียบการวิจัยได้ทำาตามแผนภูมิ ดังนี้ผู้ป่วยได้รับการซักประวัติการเจ็บป่วย, การใช้ยาปฏิชีวนะ, การตรวจร่างกาย(N = 22)มีประวัติได้รับยาปฏิชีวนะภายใน 7 วันก่อนมาโรงพยาบาล(N = 2)ผู้ป่วยได้รับการตรวจเพาะเชื้อจากกระแสเลือดก่อนผ่าตัด(N = 20)พบเชื้อในกระแสเลือด คัดออกจากการศึกษา(N = 0) (N = 0)ผ่าตัดต่อมทอนซิลด้วยวิธีใช้เครื่องจี้ไฟฟ้า(N = 20)แผนภูมิที่ 1 แสดงระเบียบวิธีการวิจัยตรวจเพาะเชื้อจากแกนกลางต่อมทอนซิลและผู้ป่วยได้รับการตรวจเพาะเชื้อจากกระแสเลือดหลังผ่าตัดทันที(N = 20)วิเคราะห์หาความชุกของเชื้อที่พบ, ความไวต่อยาปฏิชีวนะแต่ละชนิดนำาข้อมูลมาวิเคราะห์ผล และศึกษายาปฏิชีวนะที่เหมาะสมกับเชื้อที่พบ โดยใช้ percentileผลการวิจัยผู้ป่วยที่เข้าสู่การวิจัย 20 คน เป็นผู้ป่วยเด็ก 4คน ผู้ป่วยผู้ใหญ่ 16 คนเชื้อที่มีความชุกสูงจากการตรวจเพาะเชื้อจากแกนกลางเนื้อทอนซิลคือ P. aeruginosa (35%, 7 ใน20 คน), S. aureus (25%, 5 ใน 20 คน), S. pyogenes(20%,4 ใน 20 คน)/ K. pneumoniae(20%,4 ใน 20 คน)/ P. mirabilis (20%, 4 ใน 20 คน)และ Enterobacter spp. (10%, 2 ใน 20 คน) ตามลำาดับ (รูปที่ 1)8765432104S. pyogenes5Staph.aureusBacteriology7Pseudo.aeruginosa4 4KlebsiellapneumoniaeProteusmirabilis2Enterobacterspp.รูปที่ 1 แสดงเชื้อแบคทีเรียที่เพาะได้จากแกนกลางของต่อมทอนซิล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!