13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

THAI JOURNAL OTOLARYNGOLOGY HEAD NECK SURGERYVol 10 No.3 : July - Sep. 200919ข) Canal skin elevation เมื่อลง incision แล้วก็เริ่มเลาะ canal skin ออกด้วย duck bill(ส่วนมากนิยมใช้ของ stoz ตามแบบของ Austin เพราะปลายเครื่องมือมีขนาดพอดีไม่ใหญ่เกินไป ไม่เล็กเกินไปและมีความคมพอเหมาะ) พร้อมกับ suction ขนาดเล็ก (ขนาดเข็มเบอร์ 20-21 หรือ Baron suction No.3) (รูปที่ 5)รูปที่ 5 แสดง Canal skin elevationEAC = external ear canal, A = fibrous annulus,P = perforation, CSF = canal skin flapค) Elevation of skin from tympanic membrane remnantช่วงนี้เป็นช่วงสำาคัญ และพลาดกันมากที่สุด คือทำาเอา fibrous annulus หลุดจาก sulcus และ/หรือ เลาะskin จาก tympanic membrane ออกไม่หมดซึ่งจะสร้างความยุ่งยากในการเลาะผิวหนัง และเกิดโรคแทรกซ้อน (iatrogenic cholesteatoma) ได้Canal skin เชื่อมกับ skin บน tympanic membrane จุดเชื่อมต่ออยู่บน fibrous annulus ซึ่งยึด skin ไว้แน่นกว่าที่อื่นๆ และตัว fibrous annulus ก็มีแนวโน้มจะหลุดจาก sulcus ได้ง่าย โดยเฉพาะด้านหลังการเลาะ skin ออกจาก fibrous annulus ให้ใช้ duck bill ค่อยๆดันผิวหนังออกไปอย่างช้าๆโดยมากจะเห็นแพทย์ประจำาบ้านพยายามเข้าจากทางด้านหลังโดยใช้ duck bill ดันไปข้างหน้า หากผิวหนังติดแน่นมาก fibrous annulus จะหลุดตามแรงของการดันของ duck bill ดังนั้น หากต้องการเข้าทางด้านหลังควรใช้ duckbill ดันขึ้นลงจะดีกว่าดันไปข้างหน้า เพราะการดันขึ้นลงมีผลให้ fibrous annulus หลุดได้น้อยกว่าผมนิยมเลาะ skin ออกจาก fibrous annulus บริเวณ postero-inferior คือการใช้ duck billดันไปด้านหน้าได้เลยเพราะทิศทางแรงขนานกับ fibrous annulus ในบริเวณนี้มันจึงไม่หลุดจาก sulcus ได้ง่ายเมื่อเลาะได้แล้วจึงเลาะขึ้นข้างบนและไปด้านหน้าต่อไป (รูปที่ 6)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!