13.07.2015 Views

สผ. สรุปสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ปี 2548 และ แนวทางการดำเนินงานปี 2549

สผ. สรุปสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ปี 2548 และ แนวทางการดำเนินงานปี 2549

สผ. สรุปสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ปี 2548 และ แนวทางการดำเนินงานปี 2549

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>สผ</strong> . สรุปสถานการณสิ่งแวดลอม ป <strong>2548</strong>&แนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>จัดทําโดยสํานักงานเลขานุการกรมสํานักงานนโยบาย<strong>และ</strong>แผนทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอม


- 6 -กองสิ่งแวดลอมชุมชน<strong>และ</strong>พื้นที่เฉพาะ [กชพ.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>อํานาจหนาที่1. เสนอแนะนโยบาย มาตรการ <strong>และ</strong>แผนการจัดการสิ่งแวดลอม โดยโครงสรางพื้นฐานในชุมชนเมือง<strong>และ</strong>ชนบทพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม <strong>และ</strong>พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ<strong>และ</strong>อุตสาหกรรม ทั้งในระดับประเทศ<strong>และ</strong>ภูมิภาค2. กําหนดแนวทาง<strong>และ</strong>แผนหลักการจัดการพื้นที่สีเขียว <strong>และ</strong>พื้นที่นันทนาการในชุมชนเมือง<strong>และ</strong>ชนบท3. กลั่นกรองใหความเห็น<strong>และ</strong>ขอเสนอแนะตอโครงการหรือกิจกรรมทั้งของรัฐ<strong>และ</strong>เอกชนที่มีผลตอคุณภาพสิ่งแวดลอมชุมชน พื้นที่สีเขียว การนันทนาการ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ<strong>และ</strong>อุตสาหกรรมตลอดจนเสนอแนะองคกรบริหาร<strong>และ</strong>การจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน ทั้งในระดับชาติ ภูมิภาค <strong>และ</strong>ทองถิ่น4. วิเคราะห ติดตาม ประสานงาน<strong>และ</strong>ประเมินผลการดําเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย5. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมายการดําเนินงานที่ผานมาในป พ.ศ.<strong>2548</strong>1. งานดานการจัดทําแผน แนวทาง <strong>และ</strong>ขอเสนอแนะ1.1 แผนการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนอยางบูรณาการในพื้นที่เกาะสมุย เกาะพะงัน <strong>และ</strong>เกาะแตนจังหวัดสุราษฏรธานี1.2 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดระเบียบปาย1.3 การจัดทํายุทธศาสตร <strong>และ</strong>แผนปฏิบัติราชการ 4 ป เฉพาะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมชุมชนเปนตน2. งานดานการจัดทํามาตรการ<strong>และ</strong>กลไกการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน2.1 การกําหนดเขตพื้นที่<strong>และ</strong>มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ตามมาตรา 43 44 <strong>และ</strong>45 ของ พรบ.สงเสริม<strong>และ</strong>รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535- โครงการตอเนื่องจากปกอน ไดแก รางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอม บริเวณจังหวัดกระบี่ <strong>และ</strong>พังงา- โครงการที่เริ่มในป <strong>2548</strong>1) สํารวจ<strong>และ</strong>จัดลําดับพื้นที่ที่เขาขายเปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม2) พื้นที่บริเวณหนองหาร จังหวัดสกลนคร


- 7 -3) พื้นที่บริเวณอําเภอสมุทรสงคราม สมุทรสาคร2.2 การติดตามตรวจสอบการดําเนินงานตามมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมที่ไดดําเนินการประกาศไปแลว 4 พื้นที่คือ1) ปาดูนลําพัน จังหวัดมหาสารคาม2) เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี3) จังหวัดภูเก็ต <strong>และ</strong>4) หมูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่2.3 งานสํารวจ<strong>และ</strong>ชี้แจงขอรองเรียนเกี่ยวกับประกาศพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม เชน ของนายสิกรณ ภูมิกําจร นางนุจรินทร อังธนดิลก การสรางกําแพงกันคลื่นบริเวณหาดทายเหมืองโดย อบต.ทายเหมือง จังหวัดพังงา2.4 การพัฒนาระบบฐานขอมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อการวางแผน<strong>และ</strong>การบริหารจัดการ3. งานโครงการ (ดานสิ่งแวดลอมชุมชน<strong>และ</strong>พื้นที่สีเขียว)3.1 โครงการนํารองแนวคิดใหมสูการเปนเมืองสีเขียว เปนการพัฒนาตนแบบ<strong>และ</strong>แนวคิดที่ควรปฏิบัติเพื่อการพลิกฟนคืนพื้นที่สีเขียวสูเมือง3.2 โครงการ Eco-city (เศรษฐนิเวศธานี) เพื่อเปนตนแบบการบริหารจัดการชุมชนในลักษณะที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยการประหยัดพลังงาน<strong>และ</strong>ลดปญหามลพิษ3.3 โครงการวางแผน<strong>และ</strong>วางผังการใชประโยชนที่ดินศูนยราชการในเมืองหลัก<strong>และ</strong>เมืองรองจํานวน 32 จังหวัด สําหรับจังหวัดที่เหลือจะอยูความรับผิดชอบของฝายเลขานุการ ที่ตั้งอยูที่กระทรวงมหาดไทย4. การจัดทําโครงการบูรณาการฟนฟูพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัยจาก “สึนามิ” บริเวณชายฝงทะเลอันดามันรวมกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่ง กชพ.รับผิดชอบจํานวน 3 โครงการ ไดแก4.1 การจัดทําประกาศเขตพื้นที่คุมครองในพื้นที่จังหวัดระนอง ตรัง สตูล <strong>และ</strong>การปรับปรุงประกาศเขตพื้นที่คุมครองในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต กระบี่ <strong>และ</strong>พังงา4.2 การจัดทําแผนฟนฟูชุมชน<strong>และ</strong>ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่พิบัติภัยสึนามิ4.3 การจัดทําแนวทางการพัฒนาเชิงพื้นที่ในพื้นที่ชายทะเลที่ประสบธรณีพิบัติภัยซึ่งทั้ง 3 โครงการ ดําเนินการเสร็จสิ้น<strong>และ</strong>ตั้งแตเดือนกันยายน <strong>2548</strong> <strong>และ</strong>มีการดําเนินการตอเนื่องบาง ทั้งในป <strong>2548</strong> <strong>และ</strong>ป <strong>2549</strong> ดังตัวอยาง- รางประกาศเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณประสบภัยสึนามิ ไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการกฤษฎีกา <strong>และ</strong>จะเสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีผลบังคับใชตอไป- แผนฟนฟูสิ่งแวดลอมชุมชน ซึ่งดําเนินการใน 4 หมูบาน ไดมีการตอยอดโดย<strong>สผ</strong>.รวมกับสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย นําไปรวมประชุมกับชาวบานที่หมูบานแหลมตุกแก จ.ภูเก็ตเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม <strong>2548</strong> <strong>และ</strong>มีการรวมคิดโครงการที่ควรดําเนินการตอไป- การวางแนวทางพัฒนาเชิงพื้นที่ ไดนําขอเสนอแนะจุดที่ตั้งโรงเรียนบริเวณบานทะเลนอกจ.ระนองใหแกทองถิ่น<strong>และ</strong>แนวทางการตั้งชุมชนบริเวณเกาะพีพีดอนรวมกับอพท.<strong>และ</strong>กรมโยธาธิการ<strong>และ</strong>ผังเมือง


- 8 -5. งานประสานงานดานตางประเทศ5.1 เปน Focal Point ในคณะทํางานอาเซียน เรื่อง ASEAN Working Group on EnvironmentallySustainable Cities เปนการจัดทําแนวทางใน 3 เรื่อง คือ Clean Air Clean Water <strong>และ</strong> Clean Landโดยมีเมืองในประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ เขารวมโครงการ 24 เมือง สําหรับประเทศไทยเสนอ4 เมือง คือ กรุงเทพมหานคร เทศบาลนครเชียงใหม เทศบาลนครภูเก็ต <strong>และ</strong>เทศบาลเมืองกระบี่5.2 ประสานงานใหขอมูลดานสิ่งแวดลอมชุมชนกับหนวยงานตางๆ เชน โครงการ Urban EnvironmentalManagement ของประเทศเดนมารก โครงการ Urban Environmental Management ของประเทศเยอรมนี การศึกษาเพื่อวางแผนพัฒนาศูนยชุมชนรองลาดกระบัง เปนความชวยเหลือจากญี่ปุน เปนตน6. เปนผูแทน <strong>สผ</strong>.ในคณะกรรมการของหนวยงานตางๆ เชน- คณะกรรมการควบคุมอาคาร- คณะกรรมการผังเมืองประเภทตางๆของกรมโยธาธิการ<strong>และ</strong>ผังเมือง- คณะกรรมการติดตามความกาวหนาโครงการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม ของกระทรวงมหาดไทย(รมช.เสริมศักดิ์ พงศพานิช เปนประธาน)- คณะกรรมการกําหนดนโยบายการจัดทําผังแมบทการใชประโยชนที่ราชพัสดุ(รมช.ไชยยศ สะสมทรัพย เปนประธาน)- คณะกรรมการพัฒนากรุงเทพมหานคร<strong>และ</strong>ปริมณฑลของสํานักนายกรัฐมนตรี (รมว.สุรนันทรเวชชาชีวะ เปนประธาน)เปนตน7. ทําหนาที่ฝายเลขานุการของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการของ<strong>สผ</strong>.- คณะอนุกรรมการการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน- คณะอนุกรรมการ Ecocity- คณะอนุกรรมการพิจารณาการจัดการพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม- คณะอนุกรรมการการจัดการมลทัศน(ภายใตคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ)- คณะอนุกรรมการพิจารณาการใชที่ดินของหนวยราชการในเขตกรุงเทพมหานคร<strong>และ</strong>เมืองหลัก ภายใตคณะกรรมการจัดระบบศูนยราชการซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน8. ปฏิบัติงานตามขอสั่งการของผูบริหาร <strong>สผ</strong>./ทส. <strong>และ</strong>งานที่ไดรับการประสานจากหนวยงานอื่น/ ภาคประชาชนสวนใหญเปนการเสนอขอคิดเห็นเบื้องตนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมชุมชน เชน- การจัดสรางพิพิธภัณฑธรรมชาติบริเวณบางกะเจา จ.สมุทรปราการ- การพัฒนา<strong>และ</strong>ปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณโดยรอบแหลงน้ําธรรมชาติหนองระหาน จ.พิษณุโลก <strong>และ</strong>บึงขยอง จ.กาฬสินธุ- การกําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมบริเวณแควนอย-แควใหญ จ.กาญจนบุรี- โครงการสนามบินสุวรรณภูมิ จ.สมุทรปราการ- โครงการหัวหินเมืองในฝน จ.ประจวบคีรีขันธเปนตน


- 9 -แนวทางการดําเนินงานในป <strong>2549</strong>1. งานดานการจัดทําแผน แนวทาง <strong>และ</strong>ขอเสนอแนะ1.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการแกไขปญหาปาย1.2 การจัดทําแผนการจัดการพื้นที่สีเขียวที่สมบูรณทางดานระบบนิเวศอยางยั่งยืน2. งานดานการจัดทํามาตรการ<strong>และ</strong>กลไกการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน2.1 การพัฒนาระบบฐานขอมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อการวางแผน<strong>และ</strong>การบริหารจัดการ2.2 การจัดทําศูนยขอมูล <strong>และ</strong>เสริมสรางศักยภาพการดําเนินงานดานพื้นที่สีเขียวของทองถิ่น2.3 การติดตามผลการดําเนินงานดานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว<strong>และ</strong>รายงานผลตอคณะรัฐบาล2.4 การกําหนดเขตพื้นที่<strong>และ</strong>มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ซึ่งจะดําเนินการใน 4 พื้นที่ คือ 1) พื้นที่สวนสมจ.เชียงใหม 2) พื้นที่ชายฝงทะเลภาคกลาง <strong>และ</strong>ภาคตะวันออก 3) พื้นที่แหลงน้ําขนาดใหญ 4) พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา ซึ่งงานดังกลาวใชเปนตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป งบประมาณ พ.ศ.<strong>2549</strong> ของ <strong>สผ</strong>.2.5 การติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม จะดําเนินการติดตามพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ <strong>และ</strong>การปรับปรุงประกาศพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม บริเวณพื้นที่ที่ประสบธรณีพิบัติภัย โดยจะปรับปรุงในรางประกาศฯ 3 จังหวัด คือจังหวัดระนอง ตรัง <strong>และ</strong>สตูล เพื่อการประกาศใชในระยะตอไป3. งานโครงการดานสิ่งแวดลอมชุมชน<strong>และ</strong>พื้นที่สีเขียว3.1 โครงการจัดทําแผนการจัดการพื้นที่สีเขียวที่สมบูรณทางดานระบบนิเวศอยางยั่งยืน3.2 โครงการ Ecocity (เศรษฐกิจเวศธานี) เพื่อเปนตนแบบการบริหารจัดการชุมชนแบบเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยการประหยัดพลังงาน<strong>และ</strong>ลดปญหามลพิษ3.3 โครงการวางแผน<strong>และ</strong>วางผังการใชประโยชนที่ดินศูนยราชการในเมืองหลัก<strong>และ</strong>เมืองรองจํานวน 32 จังหวัด4. งานประสานงานดานตางประเทศ4.1 เปน Focal Point ในคณะทํางานอาเซียน เรื่อง ASEAN Working Group on EnvironmentallySustainable Cities เปนการจัดทําแนวทางใน 3 เรื่อง คือ Clean Air , Clean Water <strong>และ</strong> CleanLand โดยมีเมืองในประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ เขารวมโครงการ 24 เมือง สําหรับประเทศไทยเสนอ 4 เมือง คือ กรุงเทพมหานคร เทศบาลนครเชียงใหม เทศบาลนครภูเก็ต<strong>และ</strong>เทศบาลเมืองกระบี่4.2 ประสานงานใหขอมูลดานสิ่งแวดลอมชุมชนกับหนวยงานตางๆ เชน โครงการ Urban EnvironmentalManagement ของประเทศเดนมารก โครงการ Urban Environmental Management ของประเทศเยอรมนี การศึกษาเพื่อวางแผนพัฒนาศูนยชุมชนรองลาดกระบัง เปนความชวยเหลือจากประเทศญี่ปุน เปนตน5. เปนผูแทน <strong>สผ</strong>.ในคณะกรรมการของหนวยงานตางๆ เชน คณะกรรมการควบคุมอาคาร คณะกรรมการผังเมืองประเภทตางๆของโยธาธิการ<strong>และ</strong>ผังเมือง- คณะกรรมการติดตามความกาวหนาของโครงการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม ของกระทรวงมหาดไทย


- 10 -(รมช.เสริมศักดิ์ พงศพานิช เปนประธาน)- คณะกรรมการกําหนดนโยบายการจัดทําผังแมบทการใชประโยชนที่ราชพัสดุ(รมช.ไชยยศ สะสมทรัพย เปนประธาน)- คณะกรรมการพัฒนากรุงเทพมหานคร<strong>และ</strong>ปริมณฑลของสํานักนายกรัฐมนตรี (รมว.สุรนันทรเวชชาชีวะ เปนประธาน)เปนตน6. ทําหนาที่ฝายเลขานุการของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการของ<strong>สผ</strong>.- คณะอนุกรรมการการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน- คณะอนุกรรมการ Ecocity- คณะอนุกรรมการพิจารณาการจัดการพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม- คณะอนุกรรมการการจัดการมลทัศน (ภายใตคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ)- คณะอนุกรรมการพิจารณาการใชที่ดินของหนวยราชการในเขตกรุงเทพมหานคร<strong>และ</strong>เมืองหลัก ภายใตคณะกรรมการจัดระบบศูนยราชการ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน7. ปฏิบัติงานตามขอสั่งการของผูบริหาร <strong>สผ</strong>./ทส.สวนใหญเปนการเสนอ ขอคิดเห็นเบื้องตนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมชุมชน เชน- การกําหนดเขตพื้นที่คุมครองบริเวณเกาะชาง จ.ตราด


- 11 -กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ<strong>และ</strong>ศิลปกรรม [กอศ.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>งานตามพันธกิจ1. จัดทํานโยบาย แผน แผนแมบทแผนการจัดการแผนปฏิบัติการในการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติสิ่งแวดลอมศิลปกรรม เชน จัดทําแนวทาง<strong>และ</strong>มาตรการการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติอันควรอนุรักษของทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนลาง) แผนแมบท<strong>และ</strong>ผังแมบทการอนุรักษ<strong>และ</strong>พัฒนาบริเวณเมืองเกานานมติ ครม. 20 ก.ย. 48 ยุทธศาสตรกรุงรัตนโกสินทร<strong>และ</strong>เมืองเกา มติ ครม. 4 ม.ค. 48แผนที่ชุมชนเมืองเกานาน ถวายสมเด็จพระเทพฯ 28 ก.ค. 482. เสนอแนะแนวทาง<strong>และ</strong>มาตรการ ในการการแกไขปญหา การบริหารจัดการ การพัฒนาที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เสนอแนะมาตรการการจูงใจใหเกิดการมีสวนรวม3. ดําเนินงานตามพันธกรณีตามอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกทางวัฒนธรรม<strong>และ</strong>ทางธรรมชาติของโลก3.1 การนําเสนอพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น - เขาใหญ ซึ่งไดขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 25473.2 รวมพิจารณา / ประสานติดตามโครงการที่เกิดขึ้นในแหลงมรดกโลก เชน โครงการอางเก็บน้ําหวยโสมง การตัดถนนสายบางประอิน-นครราชสีมา โครงการพัฒนาอุทยานแหงชาติเขาใหญภายใตการดําเนินงานของสิ่งแวดลอมภาคที่ 7 ฯลฯ4. ประสาน สงเสริม สนับสนุนการเสริมสรางศักยภาพของทองถิ่น <strong>และ</strong>เครือขาย4.1 การดําเนินงานของหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ<strong>และ</strong>ศิลปกรรมทองถิ่น4.2 การประชุมคณะกรรมการกลาง/คณะกรรมการบริหาร/การประชุมประจําปสมัมชาองคกรอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ<strong>และ</strong>ศิลปกรรมทองถิ่น5. งานคณะกรรมการ/ อนุกรรมการ5.1 คณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก- แนวทาง<strong>และ</strong>แผนการจัดการในพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น – เขาใหญ- การจัดทําบัญชีเบื้องตนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม<strong>และ</strong>ทางธรรมชาติ<strong>และ</strong>การจัดทําเอกสารรายละเอียดทางวิชาการ เพื่อเสนอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก5.2 คณะกรรมการอนุรักษ<strong>และ</strong>พัฒนากรุงรัตนโกสินทร <strong>และ</strong>เมืองเกา 3 ครั้ง 2 เรื่อง5.3 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง<strong>และ</strong>พิจารณาแผนการดําเนินงานในพื้นที่เมืองเกา4 ครั้ง 5 เรื่อง


- 12 -5.4 คณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ<strong>และ</strong>ศิลปกรรมประชุมรวมทั้ง 8 ครั้ง 8 เรื่อง5.5 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง<strong>และ</strong>พิจารณาแผนการดําเนินงานในพื้นที่ กรุงรัตนโกสินทร 2 ครั้งงานตามยุทธศาสตร1. ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา1.1 แนวทาง<strong>และ</strong>มาตรการการกําหนดเขตอนุรักษ<strong>และ</strong>คุมครองสิ่งแวดลอมศิลปกรรม ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง1.2 แนวทางการจัดการอนุรักษพัฒนาฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอมประเภทถ้ําในพื้นที่ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา2. ยุทธศาสตรการอนุรักษ<strong>และ</strong>พัฒนาเมืองเกา พ.ศ. <strong>2548</strong>-2552แนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>งานตามภาระกิจมรดกโลก ป 491. ศึกษาเพื่อการประกาศเขตอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรม ลําปาง ขอนแกน นครราชสีมา ตรัง ลพบุรี2. ประสาน<strong>และ</strong>เตรียมการจัดทํารายงานติดตามผลการดําเนินงานในแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม<strong>และ</strong>ธรรมชาติ / การจัดทํารายละเอียดแหลงมรดกทางวัฒนธรรม<strong>และ</strong>ธรรมชาติตามบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tenative Lists) ที่เหลืออีก 9 แหลงไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบ เสนอไปยังศูนยมรดกโลก3. ประกาศเขตพื้นที่เมืองเกานาน<strong>และ</strong>เมืองเกาอีก 9 เกาเมือง


- 13 -กองบริหารจัดการที่ดิน [กบด.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>ในรอบป พ.ศ. <strong>2548</strong> กบด. ในฐานะฝายเลขาธิการคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ (คจช.)ไดนําเสนอเรื่องที่สําคัญเขาสูการพิจารณาของ คจช. ดังนี้1. การถอนสภาพที่ดินสาธารณประโยชนในโครงการวางทอกาซธรรมชาติ<strong>และ</strong>โรงงานแยกกาซไทย-มาเลเซีย อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา โดย คจช. ไดมีมติอนุมัติใหถอนสภาพทางสาธารณประโยชนเนื้อที่ประมาณ 6-1-99 ไร บริเวณพื้นที่กอสรางโรงงานแยกกาซในโครงการวางทอกาซธรรมชาติ<strong>และ</strong>โรงงานแยกกาซไทย- มาเลเซีย เพื่อนําไปจัดหาผลประโยชน ตามมาตรา 10 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน โดยการแลกเปลี่ยนกับที่ดินของเอกชนได2. แผนงานปรับปรุงองคกรบริหารจัดการที่ดิน กบด. ไดดําเนินการตามแผนงานเพื่อแกไขปญหาที่ดินของชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2546 ในสวนของแผนงานปรับปรุงองคกรบริหารจัดการที่ดิน โดยไดมีการยกรางพระราชบัญญัติคณะกรรมนโยบายที่ดิน พ.ศ. ... ใหมีองคกรบริหารจัดการที่ดินระดับชาติ ซึ่ง คจช. ไดมีมติมอบใหนายโกสินทร เกษทอง ผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงมหาดไทย เปนประธานในการทบทวนรางพระราชบัญญัติดังกลาว ขณะนี้อยูระหวางดําเนินการเพื่อสงรางให คณะกรรมการชุดที่ 1 ซึ่งมี นายศิริ เกวลินสฤษดิ์ เปนประธาน ในการพิจารณากอนเสนอคณะรัฐมนตรี3. การดําเนินการเพื่อขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ 2530 เนื่องจากในการดําเนินงานเพื่อสงวนหวงหามปาชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรี มีปญหาในเรื่องแนวเขตปาชุมชนไมชัดเจน<strong>และ</strong>มีการทับซอนกับพื้นที่ปฏิรูปที่ดิน กบด.ในฐานะฝายเลขาธิการฯ<strong>และ</strong>หนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแกกรมที่ดิน ส.ป.ก. กรมพัฒนาที่ดิน กรมปาไม <strong>และ</strong>กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา<strong>และ</strong>พันธุพืช ไดรวมกันพิจารณาดําเนินการดังนี้1. ตรวจสอบ<strong>และ</strong>รวบรวมมติคณะรัฐมนตรีที่ใหจัดพื้นที่เปนปาชุมชน จํานวนเนื้อที่ <strong>และ</strong>ที่ตั้งปาชุมชนทั้งหมด2. สรุปรวบรวมผลดําเนินการสํารวจรังวัดพื้นที่ปาชุมชน รวมทั้งปญหาอุปสรรคในการดําเนินการของหนวยงาน เพื่อขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรีทุกฉบับที่เกี่ยวของ เพื่อใหการแกไขปญหาเบ็ดเสร็จในคราวเดียวกัน ขณะนี้อยูระหวางดําเนินการของหนวยงานนอกจากนี้ ในรอบปที่ผานมา กบด. ไดรับมอบหมายจาก ทส.ใหเปนหนวยงานประสานงานในการดําเนินการในเรื่องเกี่ยวกับที่ดิน ไดแก


1. การจัดทําแผนที่ แสดงขอบเขตที่ดินของรัฐทุกประเภท ใน มาตราสวน 1:50000 <strong>และ</strong>1:40002. การปรับปรุงแนวเขตพื้นที่ปาไม (Reshape)3. การจัดทํายุทธศาสตรการจัดที่ดินทํากินใหแกประชาชน4. การประสานงาน ในการจัดทําอําเภอตนแบบ( อําเภออาจสามารถ จังหวัดรอยเอ็ด)ในการบูรณาการแกไขปญหาความยากจน ตามนโยบายของรัฐบาล- 14 -


- 15 -สํานักงานวิเคราะหผลกระทบ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอม [สวผ.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>ไดมีการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม รวม 957 ฉบับ <strong>และ</strong>ไดจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการผูชํานาญการการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ รวม 6 ดานไดแก อุตสาหกรรม พลังงาน เหมืองแร ปโตรเลียม คมนาคม โรงแรม<strong>และ</strong>แหลงน้ํา <strong>และ</strong>คณะกรรมการดานโครงการสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ<strong>และ</strong>โครงการรวมกับเอกชนดานคมนาคม <strong>และ</strong>ดานพลังงาน ซึ่งประธานใน 2 คณะกรรมการไดรับการแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ โดยปที่ผานมามีการจัดประชุม 155 ครั้งนอกเหนือจากการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมแลว การดําเนินการบริหารจัดการดานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ไดดําเนินการ ดังนี้1. การมอบอํานาจใหกับจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดที่ไดมีการประกาศเปนเขตพื้นที่คุมครองดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไดแก จังหวัดภูเก็ต กระบี่ พัทยา ชลบุรี เพชรบุรี <strong>และ</strong>จังหวัดประจวบคิรีขันธ ซึ่งคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ไดมีประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ.<strong>2548</strong>) เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม <strong>2548</strong>เรื่องหลักเกณฑ<strong>และ</strong>วิธีการแตงตั้งคณะกรรมการผูชํานาญการ การพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ในเขตพื้นที่คุมครองดานสิ่งแวดลอม ในปจจุบันไดมีการแตงตั้ง<strong>และ</strong>การพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ ่งแวดลอมไปแลวในบางจังหวัด เชน จังหวัดเพชรบุรี อยางไรก็ตาม สํานักงานนโยบาย<strong>และ</strong>แผนทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอม ยังเปนผูดูแลในภาพรวมทั้งหมด2. การใชมาตรการดานกฎหมาย เพื่อใหโครงการที่ไดมีการดําเนินการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมแลว <strong>และ</strong>เปนเจาของโครงการประเภทเดียวกัน สามารถใชกลไกทางกฎหมายเพื่อใหการดําเนินการดานสิ่งแวดลอมเปนไปดวยความรวดเร็ว สํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ไดนําเสนอใหมีการใชมาตร 46 (3) ตาม พรบ.สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 สําหรับโครงการบานเอื้ออาทรของการเคหะแหงชาติ ใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเห็นชอบ <strong>และ</strong>รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอมไดลงนามในประกาศ เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม <strong>2548</strong> <strong>และ</strong>ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม <strong>2548</strong>3. การดําเนินการเพื่อใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ มาตร 56 วรรคสอง “การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอคุณภาพสิ่งแวดลอมจะกระทํามิได เวนแตจะศึกษา<strong>และ</strong>ประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมทั้งใหองคการอิสระ ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอม<strong>และ</strong>ผูแทนสถาบันอุดมศึกษา ที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอมเพื่อความเห็นประกอบกอนที่มีการดําเนินการ


- 16 -ดังกลาว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” สวผ. ไดดําเนินวาจางมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อศึกษากิจกรรมที่จะกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางรุนแรง <strong>และ</strong>เปนโครงการที่ไมอยูในประเภท<strong>และ</strong>ขนาดที่จะตองจัดทํารายงานตามประกาศกระทรวงฯ สวนความชัดเจนเกี่ยวกับองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมนั้น กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมเปนผูดําเนินการ4. การพัฒนาระบบวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม4.1 เพื่อใหสอดคลองกับการพัฒนาที่เปน globalisation สวผ. จึงไดเตรียมการกําหนดขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยกระบวนการมีสวนรวม เพื่อลดปญหาการขัดแยงในการใชทรัพยากรสิ่งแวดลอม โดยรวมมือกับธนาคารโลก4.2 ศึกษาประเภทหรือกิจกรรมที่จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเพิ่มเติมนอกเหนือจาก 22 ประเภท/ขนาดที่ประกาศบังคับใชไปแลว โดย Tarket group ไดแก โครงการอุตสาหกรรมประเภทตาง ๆ เชน การผลิตสุรา แอลกอฮอร การจัดการขยะหรือน้ําเสียรวมโครงสรางที่ใชปองกันตลิ่ง เชน Sea wall, groin, offshore breakwaterแนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>ในแตละกลุมงานจะมีเปาหมายที่ชัดเจน นอกเหนือจากการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งไดแก กลุมบริการชุมชน จะดําเนินการกําหนดขอบเขตการศึกษาที่จะใหความชัดเจนในการกอสรางอาคารขนาดใหญในพื้นที่จํากัด โดยเฉพาะเชนบริเวณถนนสุขมวิท หรือที่อยูอาศัยเขตอื่น ๆ ดานอุตสาหกรรมพิจารณาทบทวนในเรื่องของการปลดปลอยของเสียในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ดานคมนาคม จะกําหนดขอบเขตของทาเรือที่เหมาะสมสําหรับการรองรับขนาดของเรือที่จะใชบริการ รวมทั้งขอมูลหรือเกณฑที่เหมาะสมที่ใชเปนเกณฑในการประกาศขนาดโครงการ โครงการพัฒนาแหลงน้ํา จะศึกษาขอบเขตการศึกษาผลกระทบจากการพัฒนาใด ๆ ในพื้นที่ชุมน้ํา โครงการสรางกําแพง ริมชายฝง groin เปนตนในดานเทคนิคเพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาทางวิชาการดานสิ่งแวดลอม สวผ. จะมุงไปในการวางแผนเปนขั้นตอนกอนที่จะถึงขั้นตอน EIA ไดแก การศึกษา SEA (Strategic Environmental Assessment) รวมทั้ง การพัฒนารูปแบบการศึกษาผลกระทบดานสังคม (Social Impact Assessment) ผลกระทบดานสุขภาพ (Health ImpactAssessment) เพื่อนํามาผนวกในการกําหนดแนวทางการศึกษา EIA ตอไป<strong>และ</strong>เนื่องจากการประกาศประเภท<strong>และ</strong>ขนาดของโครงการที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม เสนอใหสํานักงานฯ พิจารณากอนดําเนินโครงการนั้น จะตองอาศัย พรบ. ของหนวยงานผูอนุญาตกิจกรรมแตละกิจกรรม ไมวากรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมการขนสงทางน้ํา<strong>และ</strong>พาณิชยนาวี กรมพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐาน<strong>และ</strong>การเหมืองแร การนิคมอุตสาหกรรม เปนตน ดังนั้น สวผ. จะประสานกับหนวยงานตางใหมากขึ้นเพื่อใหการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเปนไปดวยดีสําหรับในดานความรวมมือกับตางประเทศ สวผ. ไดรับความไววางใจจากรัฐบาลภูฐาน ใหจัดการฝกอบรมใหกับเจาหนาที่ระดับสูงประมาณ 15 คน ในเดือนมกราคมนี้ โดยที่ผานมานั้น สวผ. ไดเคยบรรยายใหกับผูเชี่ยวชาญจากประเทศนี้มากอนแลว 1 ครั้ง สวนการนําหลักการของขอตกลงตาง ๆ สวผ. จะไดนําเสนอขอคิดเห็นใหกับคณะกรรมการผูชํานาญการการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม นํามาประกอบในการพัฒนาโครงการตามความเหมาะสม


- 17 -สํานักงานกองทุนสิ่งแวดลอม [สกส.]แนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>1. การจัดทํา<strong>และ</strong>ปฏิบัติตามแผนกลยุทธการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดลอมเชิงรุกสืบเนื่องจากป <strong>2548</strong> คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดลอม ไดเห็นชอบกับแนวทางการบริหารกองทุนสิ่งแวดลอมเชิงรุก ซึ่งเปนขอเสนอแนะ<strong>และ</strong>มาตรการเชิงนโยบาย เพื่อการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนเปาหมายการจัดสรรเงินกู <strong>และ</strong>เงินอุดหนุนในลักษณะที่มีเงินหมุนเวียนคืนกลับ ควบคูไปกับการประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>สรางเครือขายดานสิ่งแวดลอม สํานักงานฯ จึงไดยกรางแผนกลยุทธการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดลอมเชิงรุกขึ้นเพื่อใหเกิดความชัดเจนในการดําเนินงานตามกรอบนโยบายของแนวทางเชิงรุก โดยจะแบงเปนแผนการดําเนินงานในระยะสั้น (1 ป) <strong>และ</strong>ระยะยาว (2-3 ป)1.1 ระยะสั้น จะเนนมาตรการจูงใจใหภาคเอกชนเขาถึงเงินกูจากกองทุน โดยนอกจากจะมีการวางแผนการตลาด <strong>และ</strong>ประชาสัมพันธกองทุนสิ่งแวดลอมใหเปนที่รูจักแลว จะมีการสรางมาตรการจูงใจ หลายประการ อาทิเชน การใหคําปรึกษาทางวิชาการ การสนับสนุนคาธรรมเนียมในการค้ําประกันเงินกูกับบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม1.2 ระยะยาว จะเปนการปรับโครงสรางองคกรบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ ขณะนี้รางแผนฯดังกลาว ซึ่งเปนตัวชี้วัดผลการดําเนินตามระบบการประเมินผลของกระทรวงการคลังไดรับความเห็นชอบจากคณะทํางานประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนแลว โดยคาดวาจะนําเสนอเพื่อรับฟงความเห็นจากผูเกี่ยวของ ในเดือนมกราคม <strong>2549</strong> กอนที่จะนําเสนอคณะกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณาตอไป2. การวางแผนการตลาดเชิงรุกเพื่อการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดลอมการวางแผนการตลาดเชิงรุก จะนําแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดลอมเชิงรุก มาเปนกรอบในการดําเนินการ โดยจะมีการวิเคราะหเชิงยุทธศาสตร<strong>และ</strong>กําหนดแผนการตลาดยุคใหม ที่ใหความสําคัญกับการตลาดแบบการบริหารความตองการ (Demand Management System) ซึ่งเปนการตลาดที่มุงสรางคุณคา (Value Chain)ของสินคาใหเกิดการยอมรับมากขึ้น3. การสรรหาผูจัดการกองทุนสิ่งแวดลอมรายใหม แทนบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยขณะนี้สํานักงานฯ อยูระหวางการทาบทามสถาบันการเงินของรัฐ 2 แหง เพื่อทําหนาที่ผูจัดการกองทุนสิ่งแวดลอม ในสวนเงินกูภาคเอกชนที่เปนโรงงานอุตสาหกรรมแทนบรรษัทฯ คือ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง<strong>และ</strong>ขนาดยอมแหงประเทศไทย (SME Bank) <strong>และ</strong>ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) คาดวาภายในป <strong>2549</strong> นี้


- 18 -สํานักงานฯ จะสามารถเสนอรายชื่อสถาบันการเงินของรัฐตอคณะกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณา <strong>และ</strong>มอบหมายหนาที่ผูจัดการเงินกูตอไป4.การจัดอบรมการเขียนโครงการขององคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมที่จะขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอมเนื่องจากในแตละปมีองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอม เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนเปนจํานวนมาก<strong>และ</strong>กวาครึ่งหนึ่งของโครงการที่เสนอไมอยูในกรอบที่กองทุนใหการสนับสนุนได หรือบางครั้งตองมีการประสานงานเพื่อปรับแกไขขอเสนอโครงการใหมีความสมบูรณหลายครั้ง โดยใชระยะเวลานานนับป ดังนั้น เพื่อใหกระบวนการวิเคราะหโครงการในเบื้องตน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ลดระยะเวลา <strong>และ</strong>ขั้นตอน การดําเนินงานสํานักงานฯ จึงกําหนดที่จะจัดอบรมการเขียนโครงการใหแกองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอม เพื่อสรางความรูความเขาใจ ใหถูกตองเปนไปในทิศทางเดียวกัน5. การประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>การสรางเครือขายในการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดลอมภายใตแนวทางการบริหารกองทุนสิ่งแวดลอมเชิงรุกในมาตรการดานการใชจายเงินไดกําหนดใหดําเนินการประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>ขยายฐานการใหบริการเงินกูแก อปท.สถาบันภาคเอกชน <strong>และ</strong>ธุรกิจขนาดกลาง<strong>และ</strong>ขนาดยอมสกส. จึงไดจัดทําขอบเขตการดําเนินโครงการสัมมนา<strong>และ</strong>สรางเครือขายความรวมมือดานการจัดการสิ่งแวดลอมโดยมีวัตถุประสงค เพี่อประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>เปดตลาดเงินกูกองทุน ใหกับกลุมเปาหมายที่เปนผู ประกอบการที่ประสงคจะจัดการมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิต หรือจะปรับปรุงระบบการจัดการมลพิษหรือระบบการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเปนการดําเนินการรวมกับองคกร/หนวยงานเครือขาย ในขณะเดียวกัน ยังไดจัดทําขอบเขตการดําเนินโครงการวาจางที่ปรึกษาเพื่อจัดทํากรอบแนวคิด แผนงาน รูปแบบ <strong>และ</strong>วิธีการประชาสัมพันธ เพื่อการสงเสริมการตลาดเชิงรุกของกองทุน สําหรับใชเปนกรอบการดําเนินการดานการประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>การตลาดเชิงรุกของกองทุนในอีก 3 ปขางหนา (พ.ศ. 2550 – 2552) ใหเปนไปในทิศทางที่ถูกตอง<strong>และ</strong>มีประสิทธิภาพ


- 19 -กองติดตามประเมินผล[กตป.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>การติดตามประเมินผล การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอมในภาพรวมของประเทศโดยมี ผลงานดังนี้1. รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมของประเทศ (ทุกป) <strong>และ</strong> ของภูมิภาคอาเซี่ยน (3 ป)2. รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมภูมิภาคอาเซี่ยน3. การจัดทําหนังสือ 1 ป สึนามิ การฟนคืนทรัพยากรธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอมในพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัย4. วารสารธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอม5. การติดตามประเมินผล <strong>และ</strong>จัดทําเปนรายงานผลการดําเนินงานตามกรอบแผนจัดการ5 ปนําเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ<strong>และ</strong>เปนแนวทางนําไปสูการจัดทําแผนจัดการฉบับใหม6. การจัดทํา<strong>และ</strong>พัฒนาตัวชี้วัดนโยบาย<strong>และ</strong>แผน 20 ป เพื่อเปนเครื่องมือติดตามประเมินผล7. การติดตามการดําเนินงานของ <strong>สผ</strong>. ตามขอสั่งการตางๆ ของรัฐมนตรี จากการประชุมผูบริหาร ทส.<strong>และ</strong>การมอบนโยบาย / ติดตามการดําเนินงานของ ทส. ภายใตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 / การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ <strong>และ</strong>นโยบายรัฐบาล8. การจัดทํารายงานประจําปของ <strong>สผ</strong>. ซึ่งไดมีการทํางานภายใตคณะทํางานจากกองตางๆ9. การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของรัฐตอสาธารณะรายปของ ทส.10. ในกลุมงานฐานขอมูลจะมีภารกิจในการดําเนินงานทางดาน ICT ของ <strong>สผ</strong>. ทั้งเรื่อง HardwareSoftware บุคลากร รวมทั้งเปนศูนยเรื่องของขอมูล GIS ผลงานจะเปนเรื่องของการบริการขอมูลทางวิชาการ ทางเทคนิค ซึ่งบุคลากรใน <strong>สผ</strong>. จะคาดหวังการใหบริการจากตรงนี้มาก (กตป. ก็ไดพยายามทําเต็มที่) ผลงาน- จัดทําระเบียบการใชคอมพิวเตอร- แผนแมบท ICT ของ <strong>สผ</strong>. เพื่อเปนกรอบการดําเนินงานดานไอที ในชวงป 2550-2553- การปรับปรุง website ใหทันสมัย<strong>และ</strong>เปนปจจุบัน- การทดลองประชุมอิเล็กทรอนิกส เพื่อลดปริมาณการใชกระดาษ


- 20 -แนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>ป <strong>2549</strong> ในเนื้องานจะยังคงเดิม แตกระบวนการทํางานจะปรับเปลี่ยน เพื่อเปาหมายของงานที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้1. การบูรณาการของเนื้องาน จากขอมูลของกลุมฐานขอมูล กลุมนโยบาย <strong>และ</strong>กลุมสถานการณ โดยกระบวนการทํางานจะมีการพูดคุยกันในเนื้องานในภาพรวมการออกภาคสนามเพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจน ถูกตองนําไปสูการนําเสนอขอเสนอแนะเชิงนโยบายไดรวดเร็ว การทํา Focus group ทั้งภายใน<strong>และ</strong>ภายนอก <strong>สผ</strong>. การหาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพของบุคลากร1. การวางระบบงานใหเกิดความรวดเร็ว ถูกตอง โดยเชื่อมโยงกับ O.C. ที่หนาหอง ล<strong>สผ</strong>.<strong>และ</strong>พัฒนาระบบงานใหมเพื่อตอบสนองนโยบาย เชน e-service / ศูนยบริการประชาชน2. การประชาสัมพันธในการจัดทําวารสารธรรมชาติ<strong>และ</strong>สิ่งแวดลอมของประเทศไทยรายงาน<strong>และ</strong> เอกสารตางๆที่เกี่ยวของ3. การรณรงคใหบุคลากรของ <strong>สผ</strong>. ใชประโยชนจาก IT ในทุกๆดาน การจัดทําสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมจะตองมีการนําเสนอผูบริหารเปนระยะตางๆ ตามประเด็นปญหาในแตละ ชวงเวลา <strong>และ</strong>มีการนําเสนอรายงานสถานการณตอประชาชนผานทาง website <strong>สผ</strong>. ประชาสัมพันธ<strong>และ</strong>รายงานสถานการณผานทางวารสาร N&E รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยเพื่อเปนฐานความรูในการจัดทํารายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหาร


- 21 -สํานักความหลากหลายทางชีวภาพ[สลช.]อํานาจหนาที่ เนนการดําเนินงานตามพันธกรณีการดําเนินงานป <strong>2548</strong>การดําเนินงานที่ผานมาในป พ.ศ.<strong>2548</strong>1. รางกฎหมาย 2 ฉบับ ไดแก1.1 พระราชบัญญัติวาดวยความปลอดภัยทางชีวภาพ1.2 รางระเบียบ กอช. วาดวยการเขาถึงทรัพยากรชีวภาพ<strong>และ</strong>การแบงบันผล2. red data2.1 สถานภาพสัตวกระดูกสันหลังใกลสูญพันธุ2.2 สถานภาพพืชใกลสูญพันธุ3. พิธีสารคารตเฮนาวาดวยความปลอดภัยทางชีวภาพ3.1 ภาคยานวัติ 10 พฤศจิกายน <strong>2548</strong>่3.2 บังคับใช 8 กุมภาพันธ <strong>2549</strong>4. อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ํา การประชุมสมัชชาภาคีสมัยที 9 วันที่ 7-15 พฤศจิกายน <strong>2548</strong> บังคับใช8 กุมภาพันธ <strong>2549</strong>5. อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ5.1 การประชุม SGSTTAID 7-11 กุมภาพันธ <strong>2548</strong> ประเทศไทยเปนเจาภาพ5.2 การประชุม WGABS-3 14-18 กุมภาพันธ <strong>2548</strong> ประเทศไทยเปนเจาภาพ5.3 การประชุม WGPA-1 13-17 มิถุนายน <strong>2548</strong> สงผูแทนไทยเขารวมประชุม5.4 การประชุม WGPA-1 5-9 กันยายน <strong>2548</strong> สงผูแทนไทยเขารวมประชุม5.5 การประชุม LIABILITY & REDRESS 12-14 ตุลาคม <strong>2548</strong> ผูแทนไทยไดรับเลือก5.6 การประชุม BUSINESS & BD 3-5 พฤศจิกายน <strong>2548</strong> ผู แทนไทยไดรับเลือก6. กองทุนสิ่งแวดลอมโลก ดําเนินรวมกับ UNDP จัดทํา Proposal ขอรับทุน 4 เรื่อง7. inventories + training – จัดจาง+ดําเนินงานรวมกับมก.ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพใน hotspot<strong>และ</strong> bia 7ระบบนิเวศ <strong>และ</strong>อบรมบุคลากรที่เกี่ยวของ8. national report 3 – จัดทํา<strong>และ</strong>เสนอตอเลขาธิการอนุสัญญาฯ9. กอช.


- 22 -แนวทางการดําเนินงานในป <strong>2549</strong>1. invasive alien species – ศึกษาเสนทางแพรระบาด <strong>และ</strong>วางกลไก ปองกัน ควบคุม กําจัด2. biosafety – ดําเนินโครงการเสริมสรางสมรรถนะ <strong>และ</strong>จัดทํากรอบการดําเนินงานระดับชาติ3. wetlands – ประกาศ ramsar site เพิ่ม <strong>และ</strong>ทบทวน wetlands inventories4. chm + bch – กลไกเผยแพรขอมูลขาวสารความหลากหลายทางชีวภาพ <strong>และ</strong>ความปลอดภัยทางชีวภาพ5. gspc – ดําเนินงานตามแผนกลยุทธกองอนุรักษพืชทั่วโลก6. gti – ปรับปรุงขอมูลนักอนุกรมวิธาน7. bd+business partnership – เก็บขอมูลภาคธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวของ8. bd+climate change – ศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอความหลากหลายทางชีวภาพ9. cop – 8 + cop – map 3 เขารวมประชุมที่ประเทศบราซิล 13 -31 มีนาคม <strong>2549</strong>10.NRSAP - 3


- 23 -สํานักงานเลขานุการกรม[สลก.]การดําเนินงานป <strong>2548</strong>สลก. ไดดําเนินการสนับสนุนการดําเนินงาน <strong>และ</strong>อํานวยความสะดวกใหกอง/สํานักในดานตางๆ ดังนี้1. งานสารบรรณ อาคาร สถานที่ <strong>และ</strong>ยานพาหนะ1.1 ใชระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมตอกับ ทส.1.2 ปรับปรุงภูมิทัศน สภาพแวดลอมในการทํางานของสํานักงานฯ1.3. จัดระบบจราจรภายในสํานักงานฯ1.4. ปรับปรุงระบบโทรศัพทสํานักงานฯ2. ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ2.1 มีการจายเงินเดือน<strong>และ</strong>คาจางประจํา โดยระบบการจายตรง ซึ่งสามารถเบิกจายเงินเดือนไดกอน3 วันทําการสุดทายของเดือน2.2 บริหารการเงินการคลังดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS)2.3 มีการจัดซื้อสินคา<strong>และ</strong>บริการดวยอิเล็กทรอนิกส (e-shopping)2.4 ดําเนินการดานการเงินในโครงการจัดหาแหลงน้ําสําหรับผูอุปโภคบริโภค3. การบริหารงานบุคคล3.1 สรรหา<strong>และ</strong>คัดเลือกขาราชการ<strong>และ</strong>พนักงานราชการ3.2 จัดการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ3.3 จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการ <strong>สผ</strong>. ประจําป <strong>2548</strong>-25523.4 ดําเนินการพัฒนาบุคลากรของสํานักงานทั้งทางดานคุณธรรม จริยธรรม <strong>และ</strong>ดานวิชาการ 20 หลักสูตร4. ดําเนินงานดานแผนงาน/งบประมาณ1. จัดทําแผนการปฏิบัติงาน/เงิน ประจําปงบประมาณลงในระบบ BIS: BudgetInformation System <strong>และ</strong>รายงานผลทุกไตรมาสโดยผานระบบ GFMIS2. พัฒนาระบบติดตามประเมินผลภายในสํานักงานฯ


- 24 -5. ดําเนินการเกี่ยวกับการประชาสัมพันธการเผยแพรกิจกรรมความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับนโยบาย<strong>และ</strong> ผลงาน1. จัดตั้ง<strong>และ</strong>เปดบริการหองสมุดของ <strong>สผ</strong>.2. จัดทําสื่อเผยแพร-ประชาสัมพันธ โครงการ/กิจกรรมผานสื่อทุกแขนง3. จัดนิทรรศการใหความรู <strong>และ</strong>กิจกรรมนันทนาการในวันสําคัญตางๆแนวทางการดําเนินงานป <strong>2549</strong>1. พัฒนาหองสมุด ใหมีระบบการจัดการเนื้อหาของหนังสือ<strong>และ</strong>ขอมูลสื่อตาง ๆ ในรูปแบบฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส (e-content)2. จัดทําแผนการจัดการความรูเพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร3. นําระบบโปรแกรมระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรมซึ่งสํานักงาน กพ. ไดพัฒนาขึ้นมา นํามาปรับใชเพื่อใหมีระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลที่ใชเปน ฐานในการวางแผน<strong>และ</strong> การบริหารทรัพยากร บุคคลของสวนราชการ4. ดําเนินการในระบบติดตามประเมินผลโครงการของทส (e-project tracking)5. จัดระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส เพื่อลดปริมาณการใชกระดาษ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!