13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

56วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2552ความสอดคล้องของการตรวจพบต่อมนำา้เหลืองอักเสบชนิดแกรนูโลม่า โดยหัตถการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กจากตารางที่ 2-3 พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยวิธี FNA พบ granulomatous lymphadenitis จำานวน270 ราย ที่มีผลตรวจชิ้นเนื้อจำานวน 69 ราย ซึ่งในจำานวนนี้มีผลตรวจชิ้นเนื้อพบรอยโรค granulomatous จำานวน53 ราย (76.81%) พบรอยโรค non-granulomatous 16 ราย (ร้อยละ 23.19) ส่วนผลการตรวจด้วยวิธี FNAที่พบ non – granulomatous lymphadenitis จำานวน 173 ราย มีการตรวจชิ้นเนื้อจำานวน 73 ราย ในจำานวนนี้พบรอยโรค granulomatous จำานวน 26 ราย (ร้อยละ 35.62) และรอยโรค non-granulomatous จำานวน47 ราย (ร้อยละ 64.38) เมื่อรวมผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจชิ้นเนื้อได้ทั้งสิ้น 142 ราย ในจำานวนนี้พบรอยโรคgranulomatous 79 ราย (ร้อยละ 55.63) และรอยโรค non-granulomatous 63 ราย (ร้อยละ 44.37) เมื่อจำาแนกผู้ป่วยที่ตัดชิ้นเนื้อตรวจทางจุลพยาธิวิทยา 142 ราย เป็นกลุ่มรอยโรค granulomatous และ non-granulomatousเทียบกับช่วงอายุทุก 10 ปี นำาผลที่ได้มาแสดงดังแผนภูมิที่ 1รูปที่ 1 : กราฟแสดงอายุ เปรียบเทียบ granulomatous เทียบกับ non –granulomatous lymphadenitis จากการตัดชิ้นเนื้อตรวจทางจุลพยาธิวิทยา 142 รายHistopathology3530252015Features GranulomatousNon Granulomatous10501-10 11-20 21-30 31-40 41-50 51-60 >60จากรูปที่ 1 พบว่า ในผู้ป่วยที่ตัดชิ้นเนื้อตรวจทางจุลพยาธิวิทยาเป็น granulomatous lymphadenitis พบมากในช่วงอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 40 ปี จึงทำาการศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของการพบ granulomatouslymphadenitisและ non - granulomatous lymphadenitis ในช่วงอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 40 ปี กับช่วงอายุมากกว่า 40 ปี ทั้งยังศึกษาเปรียบเทียบในเพศชายและเพศหญิง ดังตารางที่ 4

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!