13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่52วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2552วิธีการศึกษาการศึกษาวิจัยครั ้งนี ้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา แบบย้อนหลัง (retrospective descriptive study)ได้รับการพิจารณาและอนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาและควบคุมการวิจัยในคนของกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว โดยศึกษาข้อมูลจากสมุดบันทึกรายงานผลทางเซลล์วิทยาต่อมนำ า้เหลืองโดยวิธีการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กตั ้งแต่ วันที่1 มกราคม 2542 ถึง 31 ธันวาคม 2552 และตรวจสอบข้อมูลจากสมุดบันทึกรายงานผลชิ ้นเนื ้อทางจุลพยาธิวิทยาเพื ่อ ค้นหารายชื ่อผู ้ป่วยรายเดียวกันกับที ่ส่งตรวจวินิจฉัยทางเซลล์วิทยาต่อมนำ า้เหลืองที ่ได้รับการเจาะดูดด้วยเข็มเล็ก โดยทำาการทบทวนสไลด์ในรายที่พบว่ามีปัญหาในการวินิจฉัย กรณีที่ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกที่สงสัยวัณโรคต่อมนำา้เหลือง เช่น มีไข้เวลากลางคืน ไอเรื้อรัง นำา้หนักลด แต่ผลการตรวจทางพยาธิไม่สอดคล้องการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กกระทำาโดยใช้เข็ม No.23 10 และกระบอกฉีดยาขนาด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรและเมื่อได้สิ่งที่ดูดได้ให้ fix ทันทีด้วย 95% ethyl alcohol และย้อมด้วย haematoxylin และ eosin (H/E) การอ่านผลว่าเป็นแกรนูโลม่า โดยพบลักษณะเป็น 3 ประเภท ได้แก่ clusters of epithelioid cell, clusters of epithelioidcell with necrosis , caceous necrosis ทำาการบันทึกข้อมูลทั้งทางเซลล์วิทยา จุลพยาธิวิทยาชิ้นเนื้อ โดยจำาแนกตามเพศและอายุการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ จำานวนกลุ่มตัวอย่าง คำานวณโดยสูตรn = Z 2 a/ PQ 11เมื่อd 2Z a/= ค่ามาตรฐานตามตาราง Z ( standard normal distribution ) ตามค่า α ( Type I error ) ที่ 0.05P = อุบัติการณ์ ( incidence ) การพบรอยโรคแกรนูโลม่าในชิ้นเนื้อของผู้ป่วยที่ได้รับการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กพบรอยโรคแกรนูโลม่า จากการทบทวนวรรณกรรมในอดีตโดย Koo V และคณะ 12 พบว่าอุบัติการณ์ การพบรอยโรคแกรนูโลม่าในชิ้นเนื้อ เท่ากับ ร้อยละ 78 ( P=0.78 ) Q = 1- P , Q = 0.22d = ช่วงกว้างของความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ผู้วิจัยกำาหนดให้มีค่าความผิดพลาดสูงสุดที่ยอมให้เกิดได้ไม่เกินร้อยละ 10 ด้วยความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ดังนั้น d = 0.1n = (1.96) 2 (0.78) (0.22) / 0.01 = 66เกณฑ์การคัดเข้าความสอดคล้องของการตรวจพบต่อมนำา้เหลืองอักเสบชนิดแกรนูโลม่า โดยหัตถการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กผู ้ป่วยที ่มีต่อมนำ า้เหลืองโตได้รับการวินิจฉัยโดยหัตถการเจาะดูดด้วยเข็มเล็กและตัดชิ ้นเนื ้อตรวจทางจุลพยาธิวิทยา ย้อมสี H/E ณ กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ระหว่างวันที 1 มกราคม 2542ถึง 31 ธันวาคม 2552 ที ่มีข้อมูลในสมุดบันทึกรายงานผล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!