13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

44วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2552จากการศึกษาพบลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณจมูกและไซนัสในผู ้ป่วยที ่มีอาการปวดบริเวณใบหน้าและผู ้ป่วยที ่ไม่มีอาการปวดบริเวณใบหน้า ดังตารางที ่2ตารางที ่ 2 แสดงจำานวนผู ้ป่วยจำาแนกตามลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพรายการ กลุมผูปวยที่ปวดใบหนา (%) กลุมผูปวยที่ไมมีปวดใบหนา (%) p-value Odds ratio(26 คน) (60 คน)DNS* 4(15.4%) 1(1.7%) 0.046 0.359CB-MT* 15(57.7%) 36(60%) 1 0.909CB-ST* 6(23.1%) 14(23.3%) 1 0.986AG* 18(69.2%) 32(53.3%) 0.257 1.969Para-MT** 2(7.7%) 4(6.7%) 1 1.167HC* 7(26.9%) 17(28.3%) 1 0.932Sup.T* 8(30.8%) 4(6.7%) 0.009 6.222Dou.MT** 0 2(3.3%) 1 0On.cell* 14(53.8%) 34(56.7%) 0.996 0.892DNS : contact deviated nasal septum, CB-MT : concha bullosa of middle turbinate, CB-ST : conchabullosa of superior turbinate, AG : Agger nasi cell, Para-MT : paradoxical middle turbinate, HC :Haller cell, Sup.T : supremeพบว่า กลุ่มที ่มีอาการปวดบริเวณใบหน้า มีโอกาสพบความแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูก และไซนัสได้แก่ concha bullosa ของ middle turbinate, concha bullosa ของ superior turbinate, Haller cell, Onodicell น้อยกว่ากลุ่มที ่ไม่มีอาการปวดบริเวณใบหน้า แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่พบ ผนังกั ้นจมูกคด, Aggernasi, paradoxical middle turbinate และ supreme turbinate มากกว่ากลุ่มที ่ไม่มีอาการปวดบริเวณใบหน้า โดยความแตกต่างของความชุกของผนังกั ้นจมูกคด และ supreme turbinate ในสองกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ าคัญทางสถิติบทวิจารณ์ขวัญชนก บุญศรารักษพงศ์ พ.บ., สายสวาท ไชยเศรษฐ พ.บ., ไพลิน เลิศทำานองธรรมอาการปวดบริเวณใบหน้า เป็นหนึ ่งในอาการที ่ยากที ่สุดที ่แพทย์หูคอจมูกต้องรักษา โดยมีการอธิบายต่างๆ เช่นStammberger และคณะ 8 อธิบายว่ากลไกที ่ทำ าให้เกิดอาการปวดใบหน้า อาจเป็นสาเหตุจากพยาธิสภาพของเยื ่อบุผิวในจมูกและไซนัส ซึ ่งสัมพันธ์กับโรคภูมิแพ้และ vasomotor rhinitis สารก่อภูมิแพ้ และสารระคายเคืองทำ าให้เกิดการอักเสบ เกิดการบวมของเยื ่อบุผิวในจมูก ทำาให้เกิดการอุดตันของรูเปิดของไซนัส เมื ่อรูเปิดของไซนัสถูกอุดตันและมีการคั ่งของสารคัดหลั ่งในไซนัส ทำาให้เกิดอาการปวดใบหน้าขึ ้น การแปรปรวนทางกายภาพของ Agger nasi cells,middle turbinate, uncinate process, Haller cells หรือ ผนังกั ้นจมูกคด ก็น่าจะเป็นสาเหตุของโรคของไซนัส และอาการปวดใบหน้า ซึ ่งแม้ว่าอาการปวดใบหน้า หรือ ปวดศีรษะจะเป็นอาการที ่พบบ่อยในผู ้ป่วยที ่มีการอักเสบภายใน9ช่องจมูก หรือไซนัส แต่ผู ้ป่วยก็อาจมาด้วยอาการปวดโดยที ่ไม่มีการอักเสบติดเชื ้อได้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!