13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

24วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2552การศึกษาปัจจัยทางคลินิกที่พยากรณ์ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจลักษณะกลุ่มตัวอย่าง AHI< 5(%) AHI≥ 5(%)Unadjusted OROR 95% CI p valueDyslipidemia :No 20(42.55) 27(57.45) 1 1Yes 10(26.32) 28(73.68) 2.07 0.82-5.23 0.117Drinking :No 23(35.38) 42(64.62) 1 1Yes 7(35.00) 13(65.00) 1.02 0.356-2.91 0.975การมี Tonsil Grade3-4 ,เป็นโรคเบาหวาน(DM), สูบบุหรี่ พบว่า100 % ของกลุ่มตัวอย่างมี AHI ≥5 และมีขนาดตัวอย่างประชากรในแต่ละกลุ่มน้อย ไม่สามารถหาขนาดของความสัมพันธ์ทางสถิติ3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ backward stepwise multivariate regression analysisโดยนำาตัวแปรที่มีค่า p < 0.2 มาพิจารณาเป็นปัจจัยที่อาจมีผลต่อการเกิด OSAHS พบว่ามีปัจจัยที่ถูกนำามาวิเคราะห์ 9 ปัจจัย ได้แก่ เพศ ค่าดัชนีมวลกาย ขนาดรอบคอ การคาดว่าจะหยุดหายใจ ค่าความง่วง ขนาดของลิ้นไก่ ระดับของ mallampati การปัสสาวะกลางคืน และภาวะไขมันในโลหิตสูง ผลการวิเคราะห์พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติได้แก่ ขนาดรอบคอที่มากกว่าหรือเท่ากับ 15 นิ้ว mallampati grade 3-4การปัสสาวะกลางคืน ภาวะไขมันในโลหิตสูง ขณะที่ค่าดัชนีมวลกายที่มากกว่าหรือเท่ากับ30 หากคิดแยกจากขนาดรอบคอที่มากกว่าหรือเท่ากับ 15 นิ้ว จะไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติแต่เมื่อพิจารณาการเกิดโรคในทางคลินิกแล้วการมีขนาดรอบคอที่มากเป็นปัจจัยที่เป็นผลจากการมีค่าดัชนีมวลกายที่มากขึ้น จึงไม่ควรตัดปัจจัยเรื่องขนาดของรอบคอออกจากค่าดัชนีมวลกายอย่างอิสระ ผลการวิเคราะห์พบความสัมพันธ์ที่มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ p = 0.006 โดยในกลุ่มที่มี BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 30 มีโอกาสเกิด OSAHS 25.72 เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มที่มี BMI น้อยกว่า 25 (95%CI 1.96-337.93) ขนาดรอบคอที่มากกว่าหรือเท่ากับ 15 นิ้ว มีโอกาสเกิด OSAHS8.26 เท่าเทียบกับกลุ่มที่ขนาดรอบคอน้อยกว่า 15 นิ้ว (p =0.018 ,95%CI 1.24-54.86) mallampati grade 3-4มีโอกาสเกิด OSAHS 6.18 เท่าเทียบกับกลุ่มที่ mallampati grade 1-2 (p = 0.022, 95%CI 1.16-33.03) การปัสสาวะกลางคืนมีโอกาสเกิด OSAHS 45.91 เท่าเทียบกับกลุ่มที่ไม่ปัสสาวะกลางคืน (p< 0.001 ,95%CI 3.81-552.73) ไขมันในโลหิตสูงมีโอกาสเกิด OSAHS 7.95 เท่าเทียบกับกลุ่มที่ไขมันปกติ (p = 0.008 ,95%CI 1.48-42.59) (ตารางที่ 3)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!