13.07.2015 Views

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download File - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่่่18วารสาร หู คอ จมูก และ ใบหน้าปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2552บทนำาการศึกษาปัจจัยทางคลินิกที่พยากรณ์ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจการหยุดหายใจขณะหลับที ่เกิดจากการอุดกั ้นทางเดินหายใจ (obstructive sleep apnea hypopnea syndrome: OSAHS) มีผลเสียต่อสุขภาพ เนื ่องจากระดับออกซิเจนที ่ลดลงขณะนอนหลับ ทำ าให้ประสิทธิภาพการนอนหลับลดลง ส่งผลให้มีอาการง่วงนอนในเวลากลางวันมากกว่าปกติ(Excessive daytime sleepiness) ซึ ่งมีผลต่อการตัดสินใจ ความจำ าและการคิดวิเคราะห์1 จากการศึกษาพบว่า OSAHS มีความสัมพันธ์กับการเกิดอุบัติเหตุในท้องถนน อุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมเนื ่องจากความง่วง 2 OSAHS ยังส่งผลกระทบทางอ้อมที ่ก่อให้เกิดปัญหาอื ่นๆ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาทางสังคม นอกจากนี ้ยังพบว่ามีความสัมพันธ์ของภาวะนี ้กับโรคหลายโรค เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตในปอดสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ภาวะเสื ่อมสมรถภาพทางเพศ 3 การศึกษาผู ้ที ่มีภาวะ OSAHS ของ Yaggi et al พบว่า มีความเสี ่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และเสียชีวิตมากกว่าบุคคลทั ่วไปถึง4สองเท่า (โดยปรับค่าความเสี ่ยงจากหลอดเลือดหัวใจแล้ว) เช่นเดียวกับการวิจัยของ Gami, A. ซึ ่งรายงานอุบัติการณ์การเสียชีวิตแบบฉับพลันในเวลากลางคืน พบว่าผู ้ที ่มีOSAHS มีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าบุคคลทั ่วไป 5 นอกจากนี ้ยังพบว่าภาวะOSAHS พบได้บ่อยในผู ้ป่วยที ่มีโรคทางเมตาบอลิกถึงร้อยละ 87 ในขณะที ่กลุ่มเปรียบเทียบที ่มีอายุเท่ากันพบโรคทางเมตาบอลิกเพียงร้อยละ 15 กลุ่มผู ้ป่วยที ่มีOSAHS มีโอกาสเป็นโรคทางเมตาบอลิกมากกว่าถึง 9 เท่า 6 โรคทางเมตาบอลิกทีพบบ่อยได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที 2 (diabetes mellitus type 2), glucose intolerance hyperinsulinemia, ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน และภาวะไขมันในเลือดสูง 7,8การศึกษาปัจจัยที ่ทำานายผู ้ที ่นอนกรนว่าจะมีภาวะ OSAHS หรือเป็นเพียงกลุ่มอาการแรงต้านของทางเดินหายใจส่วนบน (upper airway resistance syndrome) ยังมีผลการศึกษาที ่แตกต่างกัน จากการศึกษาของ Kyzer S พบว่าคนอ้วน ที ่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30 มีโอกาสที ่จะเกิดภาวะหยุด OSAHS ถึงสิบเท่า 9 ทั ้งนี ้ยังพบปัจจัยที ่ใช้ในการทำานายOSAHS อีกหลายอย่าง ได้แก่ เพศชาย สูงวัย ขนาดคอใหญ่ (neck circumference) ความหนาของเอว เทียบกับสะโพก(waist –hip ratio) การที ่มีขนาดทอนซิลโต ต่อมอดีนอยด์โต ลิ ้นใหญ่ เพดานอ่อนหย่อน ลิ ้นไก่มีขนาดใหญ่ยาว มีการอุดกั ้นในจมูก หรือแม้แต่ค่าความง่วงในเวลากลางวัน (Epworth sleepiness scale) การยืนยันว่ามีการหยุดหายใจจากคู่นอน (partner report apnea) 10-17 การวินิจฉัย OSAHS ที ่ดีที ่สุดและเป็นที ่ยอมรับกันทั ่วไปคือการตรวจด้วยเครื ่องตรวจประสิทธิภาพการนอนแบบทั ้งคืน (overnight polysomnogram: PSG) แต่การตรวจดังกล่าวต้องอาศัยเวลา ใช้บุคลากรทีผ่านการฝึกฝนเฉพาะทาง และมีค่าใช้จ่ายสูง การศึกษาปัจจัยทางคลินิกที ่สามารถทำ านายภาวะ OSAHS ได้ จะมีประโยชน์ต่อการนำ ามาใช้ตรวจคัดกรองเพื ่อค้นหา และคัดกรองเฉพาะประชากรกลุ่มเสี ่ยงเข้ารับการตรวจด้วยเครื ่อง PSG เป็นการลดเวลา ภาระงานและค่าใช้จ่ายได้ นอกจากนี ้ปัจจัยทางคลินิกที ่สามารถทำ านายภาวะ OSAHS เป็นข้อมูลที ่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ การสาธารณสุข และผู ้ที ่อยู่ในกลุ่มเสี ่ยง ในการดูแล ป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษาปัจจัยทางคลินิกที่ใช้ทำานายภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ (OSAHS) ในกลุ่มผู้ที่นอนกรน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!